007 การออกแบบระบบสวัสดิการถ้วนหน้าภา

Page 1

การออกแบบระบบสวัสดิการถ้วนหน้าภายในปี 2560 (กรอบแผนปฏิบัติการการจัดสวัสดิการถ้วนหน้า ปี 2560) โดย ก า รสนั บ สนุ น ข อ ง : กร ะท รว ง ก า รพั ฒน า สั ง คม แ ล ะค ว าม มั่ น ค งข อ งม นุ ษย์ สานั ก ง าน ก อ งทุ นสนั บ สนุ น ก า ร สร้ า ง เสริ ม สุ ข ภ า พ นาเสนอโดย: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กันยายน 2553

1


แนวทางการออกแบบสวัสดิการถ้วนหน้า 2560 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

9. 10.

ดูแลคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย เป็นสวัสดิการที่ตรงความต้องการประชาชน ถ้วนหน้าในสวัสดิการที่สาคัญสาหรับทุกคน แม้จะรั่วไหลไปสู่คนไม่จน ถ้วนหน้าแต่ไม่ซ้าซ้อน มีความเท่าเทียมกันในสิทธิประโยชน์/เงินสมทบ ดูแลคนจนและผู้ด้อยโอกาสเป็นพิเศษ เน้นโครงการที่มีส่วนช่วยลดความเหลื่อมล้าในระยะยาว งบประมาณรัฐรองรับได้ โดยอาจต้องปฏิรูปโครงสร้างภาษีถ้าจาเป็น สังคมสวัสดิการ...ร่วมด้วยช่วยกัน อาจขยายความคุ้มครองถึงคนไร้รัฐและต่างด้าวในบางกรณี 2


ศึกษา หลักการ/ แนวทาง

ระดมความคิดเห็น 1-4

สอบถามความเห็น ประชาชน/กรรมการจังหจัด

ตรวจสอบความซาซ้อน/ความเท่าเทียมกันของสิทธิ์หรือเงินสมทบ

คานวณงบประมาณ ระดมความเห็น 5

ระบบสวัสดิการถ้วนหน้า 3


Priority สวัสดิการ: ความเห็นประชาชน ร้อยละผู้เลือกสวัสดิการแต่ละประเภทว่าสาคัญเป็นอันดับแรก การรักษาพยาบาล การลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน เช่น ถนน ทางด่วน สะพาน โทรศัพท์ อินเตอร์เนต ฯลฯ

เมือง 15.3 28.7 4.2

ชนบท 13.7 15.6 3.5

รวม 14.3 19.9 3.7

การรักษาสิง่ แวดล้อม ลดมลพิษ อนุรักษ์ธรรมชาติ

1.8

0.9

1.2

การรักษาความสงบเรียบร้อยในประเทศ เช่น แก้ปัญหายาเสพติด โจร ผู้ร้าย

7.7

5.9

6.5

ช่วยเหลือคนแก่/คนพิการทีย่ ากจน

11.3

17.0

15.1

แก้ปัญหาหนี้สนิ คนจนหรือคนรายได้นอ้ ย

10.9

16.6

14.7

แจกเงินคนจน/คนทีม่ ีรายได้น้อย

4.7

6.6

5.9

ช่วยเหลือเรื่องที่อยู่อาศัยสาหรับคนจน คนทีม่ ีรายได้น้อย

4.7

4.2

4.3

ให้บริการของรัฐบางประเภทฟรี เช่น รถไฟ รถเมล์ ไฟฟ้า น้าประปา

7.4

6.1

6.5

การประกันราคาพืชผลการเกษตร

4.3

14.0

10.7

การควบคุมราคาสินค้า เช่น ราคาน้ามัน

8.3 1.0

5.8 0.7

6.6 0.8

1.1

1.0

1.1

ประเภทสวัสดิการ การศึกษา/ฝึกอาชีพ พัฒนาฝีมอื แรงงาน

อื่นๆ ไม่รู้ ไม่ตอบ

ที่มา: การสารวจโดยสานักงานสถิติแห่งชาติ เมษายน 2553

4


ข้อเสนอระบบสวัสดิการถ้วนหน้า จากเกิดจนตาย และงบประมาณรายโครงการ 5


สวัสดิการที่พึงปรารถนา

สถานะปัจจุบัน

ตั้งครรภ์ -แม่และเด็กได้รับการดูแลสุขภาพครรภ์ คลอด -ได้รับการทาคลอดที่ได้มาตรฐาน ปลอดภัย หลังคลอด -ได้รับการชดเชยรายได้ระหว่างดูแลทารก

• ถ้วนหน้าแล้วภายใต้ UC, สิทธิ

ก่อนวัย เรียน

-ได้รับการดูแลโภชนาการ อนามัย - พัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน

• ศูนย์เด็กเล็กดูแล แต่ยังไม่ถว้ นหน้า และ อาจมีปัญหาคุณภาพ บางแห่งเสียเงิน

อนุบาล

- พัฒนาการทางกาย สติปัญญา อารมณ์ และจิตใจ

ประถม ศึกษา

- พัฒนาการทางกาย สติปัญญา(วิชาการ) และอารมณ์ - เรียนฟรีในทุกกิจกรรมการศึกษา

มัธยม ศึกษา

- พัฒนาการทางกาย สติปัญญา(วิชาการ) และอารมณ์ - เรียนฟรีในทุกกิจกรรมการศึกษา - ด้รับการแนะแนวที่เหมาะกับรายบุคคลตั้งแต่ ม.ต้น

• ถ้วนหน้าภายใต้โครงการเรียนฟรี 15 ปี • แต่เด็กยากจนยังมีปัญหาเข้าไม่ถึง การศึกษาแท้จริง (ค่าครองชีพ ค่าเดินทาง) • คุณภาพการศึกษาน่ากังวล • การแนะแนวการศึกษายังไม่ดีพอ

อุดม ศึกษา

- วิชาการ เน้นทักษะอาชีพ - พัฒนาการทางกายและอารมณ์ - เตรียมตัวเข้าตลาดแรงงาน - เงินกู้เพื่อการศึกษา (เฉพาะกิจกรรมการศึกษา)

แรก เกิด

ราชการ ประกันสังคม • เงินสงเคราะห์บุตร (0-6 ปี) ประกันสังคม • ชดเชยรายได้ยังไม่ถ้วนหน้า

- ผู้เรียนแบ่งรับภาระ ไม่ฟรี - แต่มีสิทธิ์กู้เงินเรียน - นักศึกษายากจนเข้าไม่ถึง (ขาดค่า ครองชีพ)

หมายเหตุ: ข้อความสีแดงขีดเส้นใต้ คือสวัสดิการที่ยังไม่ถ้วนหน้า/หรือไม่เจาะจงอย่างที่ควรเป็น

6


สวัสดิการที่พึงปรารถนา

-จัดหางานและฝึกฝีมือแรงงาน วัย ทางาน

-ประกันว่างงาน -เงินชดเชยการเลิกจ้าง -ช่วยเหลือผู้เกษียณก่อนกาหนดโดยไม่สมัครใจ -ที่อยู่อาศัยตามอัตภาพ -ค่าครองชีพกรณีป่วยเรื้อรังจนทางานไม่ได้ -มีความปลอดภัยในที่ทางาน -ค่าครองชีพ

วัยชรา -การดูแลทางกาย อารมณ์ และจิตใจ

สถานะปัจจุบัน

-ถ้วนหน้า โดยกรมการจัดหางานและกรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน แต่มีปัญหาในทางปฎิบัติบ้าง - ประกันว่างงานมีเฉพาะแรงงานในระบบ แรงงานนอก ระบบไม่มีสวัสดิการนี้ -ยังไม่มีแบบเป็นทางการ -บ้านเอื้ออาทร/บ้านมั่นคง ยังไม่ถ้วนหน้า -ถ้วนหน้าเฉพาะแรงงานในระบบ (ประกันสังคม: กรณีทุพลภาพ ) -ยังมีปัญหาในการบังคับใช้/ปฎิบัติ -ถ้วนหน้าภายใต้โครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ -แต่ไม่เพียงพอสาหรับกลุ่มที่ยากจน+อยู่ในภาวะพึ่งพิง -ถ้วนหน้าสาหรับข้าราชการ (บาเหน็จ/บานาญ) และ แรงงานในระบบ (ประกันสังคม: แต่รัฐไม่ได้สมทบ) -แรงงานนอกระบบมีม.40 (แต่เข้าร่วมน้อยมาก) - ถ้วนหน้าแล้วภายใต้ UC, สิทธิราชการ ประกันสังคม -ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (อปท. ) สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ (พม.) ยังไม่ถ้วนหน้า

หมายเหตุ: ข้อความสีแดงขีดเส้นใต้ คือสวัสดิการที่ยังไม่ถ้วนหน้า/หรือไม่เจาะจงอย่างที่ควรเป็น

7


สวัสดิการที่พึงปรารถนา -จัดหางานและ ฝึกอาชีพ

วัยชรา (ต่อ) เสีย ชีวิต

-Extra Care/long term care สาหรับผู้สูงอายุ -ได้รับการอานวยความสะดวกในการดาเนินชีวิต ตามปกติ

สถานะปัจจุบัน -ถ้วนหน้า โดยกรมการจัดหางานและกรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน แต่มีปัญหาในทางปฎิบัติ -ยังไม่มีแบบเป็นทางการ -นอกเหนือจากเบี้ยชราภาพ เช่น รถเมล์ รถไฟฟรี ทางเดิน ทางเท้า ยังไม่ถ้วนหน้า

-บริการจัดการศพ

-ถ้วนหน้าภายใต้โครงการเงินสงเคราะห์การจัดการศพ (พม.)ให้แก่ผู้สูงอายุที่อายุ 60 ปีขึ้นไป และแรงงานในระบบ ภายใต้โครงการประกันสังคม (กรณีเสียชีวิต) - และให้กับผู้ที่อายุต่ากว่า 60 ปีที่ยากจน (พม)

-ค่าครองชีพ

- ถ้วนหน้าภายใต้โครงการเบี้ยยังชีพผู้พิการ แต่ยังไม่ เพียงพอสาหรับผู้พิการที่ยากจน+อยู่ในภาวะพึ่งพิง - ด้านสุขภาพถ้วนหน้าแล้วภายใต้ UC, สิทธิราชการ ประกันสังคม แต่เรื่องอื่นยังไม่ถ้วนหน้า (เช่นสถาน สงเคราะห์ผู้พิการ (พม.) ) - ถ้วนหน้า โดยกรมการจัดหางานและกรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน แต่มีปัญหาในทางปฎิบัติ - ยังไม่มี extra care - นอกเหนือจากเบี้ยผู้พิการ เช่น รถเมล์ รถไฟฟรี อย่างอื่น เช่น ทางเดิน ทางเท้า ยังไม่ถ้วนหน้า

-การดูแลทางกาย อารมณ์ และจิตใจ

ผู้พิการ -จัดหางานและ ฝึกอาชีพ -Extra Care สาหรับคนพิการ -ได้รับการอานวยความสะดวกในการดาเนินชีวิต ตามปกติ

หมายเหตุ: ข้อความสีแดงขีดเส้นใต้ คือสวัสดิการที่ยังไม่ถ้วนหน้า/หรือไม่เจาะจงอย่างที่ควรเป็น

8


แนวทางประมาณการงบประมาณ  ใช้แนวคิด Total Spending (welfare spending + overhead) เพื่อให้สะท้อนภาระรวมที่แท้จริง

(จริง ๆ อาจมี (dis)economy of scale ได้)  ภาระงบประมาณภาครัฐประกอบด้วย   

งบประมาณปกติสาหรับสวัสดิการสังคม การศึกษา ฝึกฝีมือแรงงาน สุขภาพ งบประมาณส่วนเพิ่มสาหรับขยายโครงการเดิมให้เป็นถ้วนหน้า งบประมาณส่วนเพิ่มสาหรับเพิ่มโครงการถ้วนหน้าใหม่ งบประมาณส่วนเพิ่มสาหรับเพิ่มโครงการเจาะจงใหม่ (คนจน ด้อยโอกาส)

 เงินสมทบโครงการเดิมเข้ากองทุนที่มีอยู่แล้วนับรวมอยู่ในงบปกติ

 ความรับผิดชอบทางการเงินของภาคส่วนอื่น (ครัวเรือน ธุรกิจเอกชน) อยู่ระหว่างสรุปตัวเลข  การประมาณการนี้เป็นกรณีถ้วนหน้าซึ่งอาจสูงกว่าการเพิกจ่ายจริง เนื่องจากการไม่ใช้สิทธิ์  งบประมาณที่นาเสนอจากนี้ไป เป็นงบประมาณ ‘ส่วนเพิ่ม’ ไม่รวมงบปกติที่ใช้ในโครงการ

เดิม

9


สวัสดิการเด็กเล็ก นักเรียน นักศึกษา  สวัสดิการส่วนใหญ่มีลักษณะถ้วนหน้าอยูแ่ ล้ว (เช่นบารุงครรภ์ คลอดบุตร เรียนฟรี นมโรงเรียนเด็กเล็กถึง

ชั้นประถม)  ขยายโครงการเดิมทีย่ ังไม่ถ้วนหน้า 

เงินช่วยเหลือบุตร/สงเคราะห์บุตร ให้เมื่อแจ้งเกิดจานวน 350 บาท/เดือน 6 ปี  ยกเว้นผู้ประกันตนประกันสังคม เพราะรัฐจ่ายสมทบอย่างเดียวให้อยู่แล้ว หรือยกเลิกสิทธิประโยชน์นี้ในประกันสังคมแล้วรัฐ จ่ายถ้วนหน้า

เพิ่มศูนย์เด็กเล็กให้ถ้วนหน้า (พิจารณาคุณภาพการดูแลเด็กเล็กด้วย โดยเฉพาะด้านพัฒนาการ อารมณ์) 

  

ให้ท้องถิ่นขยายจานวนศุนย์ให้เพียงพอ ไม่คิดค่าบริการ ยกเว้นถ้ามี extra service ก็สามารถระดมเงินแบบสมัครใจจากพ่อ แม่ได้ กาหนดให้ธุรกิจรายใหญ่ non-SME (ด้านจานวนลูกจ้าง) ต้องจัดศูนย์เด็กเล็กในพืน้ ที่ แล้วอาจให้ tax deduction บางศูนย์ทมี่ ีลกั ษณะอนุบาลแล้ว ควรเปลีย่ นเป็นโรงเรียนอนุบาลเพือ่ ให้ได้งบเรียนฟรี ภายใต้สมมติฐานที่ว่าเด็กทุกคนมาใช้บริการ แต่หากมาไม่ครบทุกคนก็ให้ศูนย์เสนอแผนนาเงินที่เหลือไปพัฒนาคุณภาพ ด้านพัฒนาการเด็กเล็ก (หากไม่มีกค็ ืนเงินให้แก่สานักงบประมาณ)

(ล้านบาท) เงินสงเคราะห์บุตร (นอกระบบ) เด็กที่ได้รับเงินสงเคราะห์ (คน) ขยายจานวนศูนย์เด็กเล็ก จานวนเด็กที่รับดูแลในศูนย์ (คน)

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

4,094

6,996

9,807

13,537

17,227

18,888

18,594

974,849

1,665,770

2,334,945

3,223,131

4,101,727

4,497,213

4,427,099

9,854

8,805

7,965

7,419

7,051

6,821

6,452

5,969,654

5,828,932

5,719,374

5,639,256

5,581,696

5,507,892

5,422,020

10


สวัสดิการเด็กเล็ก นักเรียน นักศึกษา (ต่อ)  ขยายโครงการเดิมที่ยังไม่ถ้วนหน้า (ต่อ) 

เพิ่มอาหารกลางวันเด็กเล็กถึงชั้นประถมศึกษาจาก coverage 60% เป็นถ้วนหน้า (ระดับมัธยมยังคงไม่ให้ แต่จะ ดูแลนักเรียนยากจนเป็นการเจาะจงต่างหาก) มีระบบสมัครใจให้สามารถเลือกรับ/ไม่รับอาหารกลางวันได้ (หลักการบริจาคให้สังคม) เงินส่วนที่เหลือโรงเรียน นาไปใช้เรื่องอื่นได้ เช่นพัฒนาคุณภาพการศึกษา

 เพิ่มโครงการลักษณะเจาะจงนักเรียนยากจน รายได้น้อย  ให้ฟรี เฉพาะนักเรียนยากจน 

เงินช่วยค่าครองชีพ (ทุกระดับชั้น) ซึ่งรวมค่าเดินทางและอืน่ ๆ (เป็นแรงจูงใจให้สง่ ลูกมาเรียน)

ปรับโครงการเงินให้กู้ยืมเพิ่อการศึกษา (กยศ./กรอ.) เฉพาะระดับมัธยมปลาย  

ผู้ได้รับเงินช่วยค่าครองชีพ ไม่มีสิทธิกู้ กยศ. ผู้กู้ กยศ. จึงเป็นผูม้ ีรายได้น้อยที่ไม่ยากจน ได้สิทธิ์กู้แต่ไม่ได้ฟรี กยศ./กรอ. ระดับอุดมศึกษาคงไว้เหมือนเดิม

(ล้านบาท) รายจ่ายเพื่ออาหารกลางวันถ้วนหน้าประถม จานวนนักเรียนประถมศึกษาที่ได้รับอาหารกลางวันเพิ่ม (คน) รายจ่ายเพื่อค่าครองชีพนักเรียนยากจนถึงมัธยมปลาย จานวนนักเรียนยากจน (คน)

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 8,411 8,542 8,653 8,740 8,802 8,835 8,813 3,079,100 3,050,688 3,015,072 2,971,272 2,919,056 2,858,836 2,782,124 11,862 10,869 10,804 11,213 11,575 11,985 12,468 491,923

443,265

433,009

440,912

446,153

11

455,295 470,309


สวัสดิการเด็กเล็ก นักเรียน นักศึกษา  การเพิ่มความครอบคลุมและคุณภาพการศึกษา  ตรงกับความต้องการประชาชน ซึ่งให้ความสาคัญอันดับต้น ๆ (อันดับ 1-2)  เพิ่มความครอบคลุมของการศึกษา  ขยายการศึกษานอกระบบ ตามอัธยาศัย  อุดหนุนโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้น  เพิ่มการสนับสนุนนักเรียนชนกลุ่มน้อย ไร้สัญชาติ ต่างด้าว  เพิ่มคุณภาพการศึกษา โดย  เพิ่มผลสัมฤทธิ์การศึกษา  เพิ่มคุณภาพครู ด้วยการอบรม และสร้างแรงจูงใจสาหรับครูคูณภาพ  เพิ่มงบประมาณรายหัวต่อนักเรียนทั้งระบบ เพื่อให้มีการเรียนฟรีที่แท้จริงมากขึ้น

12


เพิ่มความครอบคลุมและคุณภาพการศึกษา 2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

ขยายการศึกษานอกระบบ

5,854

6,331

6,542

7,032

7,679

7,911

7,765

ขยายการศึกษาตามอัธยาศัย

16,840

3,233

3,676

22,323

9,101

9,926

10,694

เพิ่มอุดหนุนโรงเรียนเล็ก

2,317

2,317

2,317

2,317

2,317

2,317

2,317

เพิ่มนักเรียนชนกลุ่มน้อย

2,961

2,960

2,951

2,929

2,896

2,868

2,842

เพิ่มผลสัมฤทธิ์การเรียน

2,961

2,960

2,951

2,929

2,896

2,868

2,842

อบรมเพื่อเพิ่มคุณภาพครู

7,539

7,539

7,539

7,539

7,539

7,539

7,539

เพิ่มเงินเดือนครูคุณภาพ

198

218

240

264

290

319

351

เพิ่มรายจ่ายต่อหัว รร. รัฐ

27,993

28,258

28,412

28,426

28,290

28,292

28,504

เพิ่มรายจ่ายต่อหัว รร. เอกชน

8,559

9,275

9,994

10,663

11,322

12,029

12,729

13


สวัสดิการแรงงาน

 บริการจัดหางานและฝึกฝีมือแรงงาน  การจัดหางานและฝึกฝีมือแรงงานแก่แรงงานทั้งหมด (อาจรวมถึงแรงงานต่างด้าว)  อาจต้องปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นที่ต้องการของแรงงานมากขึ้น   

 

ให้แรงงานรวมรายชื่อกัน (20+ คน) เพื่อขอให้ทางการฝึกฝีมือแรงงานในเรื่องที่ต้องการ สถานประกอบการสามารถ request ได้เช่นกัน โดยให้แรงงานลงชื่อรับรองความสมัครใจในการฝึก ประชาสัมพันธ์ให้แรงงานรับรูเ้ ป็นการทั่วไป เช่นใน TV ช่วง prime time

และขยายพื้นที่ให้ครอบคลุม ควรให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วม คานวณงบประมาณที่ต้องใช้โดย Demand จากแรงงานที่มีการศึกษาไม่เกินมัธยมต้น  

ตั้งเป้าหมายว่าในแต่ละปีมกี ารอบรมแรงงานร้อยละ 20 ของแรงงานระดับการศึกษาไม่เกินมัธยมต้น เพิ่มความรับผิดชอบภาคเอกชน (สถานประกอบการ) ตาม พรบ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมอื แรงงาน 2545

(ล้านบาท) งบตามแนวโน้มปกติ ภาครัฐ เอกชน จานวนผู้ได้รับการฝึกฝีมือ(แนวโน้มปกติ)(คน) ส่วนเพิ่ม : ฝึกฝีมือแรงงานมัธยมต้น + ต่างด้าว ภาครัฐ เอกชน จานวนผู้ได้รับการฝึกฝีมือ(เป้าหมาย) (คน)

2554 22,206 20,560 1,646 4,513,811 25,049 19,913 5,136 4,795,279

2555 23,538 21,868 1,670 4,770,956 26,408 21,194 5,214 5,336,775

2556 21,074 19,375 1,699 5,029,345 31,146 23,549 7,597 5,882,205

2557 22,570 20,850 1,720 5,280,299 32,574 24,924 7,649 6,420,855

2558 24,107 22,375 1,731 5,528,388 34,027 26,351 7,676 6,957,241

2559 25,696 23,956 1,741 5,774,557 35,535 27,836 7,699 7,492,087

2560 27,361 25,612 1,749 6,023,189 37,123 29,401 7,722 8,030,919

14


สวัสดิการแรงงาน  การขยายประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบ ควรขยายสวัสดิการสาหรับวัยทางานไปสู่แรงงานนอกระบบ โดยสร้างแรงจูงใจให้แรงงาน นอกระบบเข้าร่วมประกันสังคมมากขึน้ ด้วยการสมทบของภาครัฐ และเพื่อความเป็นธรรมต่อ แรงงานนอกระบบ เพราะรัฐสมทบให้แรงงานในระบบ  ในกรณีแรงงานนอกระบบที่ยากจน รัฐอาจสมทบฝ่ายเดียวหรือสมทบแทนก็ได้ (ใช้งบ สวัสดิการเติมเต็มชีวิต  สมมติว่าแรงงานเข้าสู่ประกันสังคม ม. 40 อย่างช้า ๆ โดยคิดเป็นจานวน 35% ในปี 2560 

ขยายประกันสังคม ม. 40 รัฐสมทบเท่ากับแรงงาน รัฐสมทบสองเท่าของแรงงาน จานวนแรงงานที่เข้า ม.40 (พันคน)

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

0

4,442

8,837

13,156

17,377

21,494

25,495

29,400

0

8,883

17,674

26,312

34,754

42,989

50,991

58,799

2,630,002

3,915,546

0

1,321,932

5,171,669

6,397,130

7,587,875

8,749,921

15


สวัสดิการชราภาพ: ค่าครองชีพ  สวัสดิการค่าครองชีพสาหรับผู้สูงอายุมีหลายโครงการ ประกอบด้วย บานาญ

ข้าราชการ บานาญประกันสังคม (ม. 33,39 และ 40 (ใหม่) เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุถ้วนหน้า กอช. สวัสดิการชาวนา และสวัสดิการชุมชน  เสี่ยงต่อความซ้าซ้อนและความไม่เท่าเทียมในการจ่ายเงินสมทบ (รัฐสมทบใน กอช. สวัสดิการชุมชน สวัสดิการชาวนา, ที่เหลือรัฐไม่สมทบ)  เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุถ้วนหน้า • •

500 บาทต่อเดือนเป็นค่าครองชีพพื้นฐาน รัฐจ่ายให้กับทุกคน (ถ้วนหน้า) ประชาชนไม่ต้องสมทบ ไม่พอสาหรับค่าครองชีพพื้นฐาน (ต่ากว่าเส้นความยากจนประมาณ 3 เท่า)

 โครงการที่เหลือถือเป็นสวัสดิการส่วนเพิ่ม เพื่อให้สามารถดารงชีพขั้นต่าได้  แต่มีปัญหาความไม่เท่าเทียมกันและซ้าซ้อน

16


สวัสดิการชราภาพ: Extra Care • เสนอให้เพิ่มให้ค่าครองชีพแก่ผู้สูงอายุที่ยากจนทุกคน • • •

ประมาณจานวนผู้สูงอายุอาศัยในครอบครัวยากจน ปี 2552-2560 เพิ่มเงินค่าครองชีพให้จาก 500 บาทจนเท่าเส้นความยากจน เพิ่มงบประมาณอีกร้อยละ 25 เผื่อกรณีหาตัวคนจนไม่เจอ

• เสนอให้เพิ่มค่าครองชีพแก่ผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง (ต้องมีคนดูแล ช่วยตัวเองไม่ได้) ทุกคน  ประมาณจานวนผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง ปี 2552-2560 (การสารวจ NSO)

 งบประมาณต่อหัวใช้งานวิจัยของคุณหมอลัดดา ปรับด้วยเงินเฟ้อ (ล้านบาท) เบี้ยยังชีพพื้นฐาน (500 บาท/คน) หากเบิกครบ 100% เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุยากจน เบี้ยยังชีพพึ่งพิง กอช. (เฉพาะเงินสมทบภาครัฐ) จานวนผู้สูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพพื้นฐาน (คน) จานวนผู้สูงอายุยากจน (คน) จานวนผู้สูงอายุพึ่งพิง (คน)

2554 7,145 2,131 2,101 4,929 5,953,834 499,844 42,868

2555 7,408

2556 7,708

3,572 5,314 3,813 5,668 5,706 8,484 6,172,970 6,423,580 438,668 77,779

419,319 115,624

2557 8,048

2558 8,424

2559 8,769

2560 9,153

8,127 11,401 13,772 14,956 8,284 11,149 12,896 13,461 14,627 23,450 32,857 43,462 6,706,300 7,019,969 7,307,550 7,627,682 421,106 168,999

423,073 227,447

424,073 263,072

425,129 274,597

17


สวัสดิการชราภาพ: การดูแลคนแก่  มี institutional care เป็นด่านสุดท้ายสาหรับผู้สูงอายุไม่มีคนดูแล (ซึ่งไม่จาเป้นต้องถ้วน หน้าเพราะเพิ่มเบี้ย extra care เพื่อให้สามารถดูแลตัวเองได้ระดับหนึ่งแล้ว)  ใช้งบปกติ ไม่จัดสรรเพิ่ม  งบ Extra care อาจนามาจัดสรรเพื่อสร้าง long-term care สาหรับผู้สูงอายุก็ได้

 เงินสงเคราะห์การจัดการศพแก่ผท ู้ ี่อายุ 60 ปีขึ้นไป แต่ถ้าต่ากว่า 60 ปีให้เฉพาะผู้ที่

ยากจน (mean-test)  เพิ่มงบประมาณตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นไป เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ (ล้านบาท) สงเคราะห์การจัดการศพ (พม.) จานวนผู้ได้รับค่าจัดการศพ (คน)

2553 44

2554 569

2555 537

2556 507

2557 475

2558 440

2559 550

2560 491

270,613 255,757 241,472 226,007 209,444 261,932 233,600 270,613

18


สวัสดิการชราภาพ: อื่น ๆ  บริการที่อานวยความสะดวก/รองรับให้ผู้สูงอายุให้สามารถเข้าถึง social

service ได้  จัดหางานและฝึกฝีมือแรงงานที่เหมาะสมแก่สภาพร่างกายผู้สูงอายุ (รวมอยู่ ในงบฝึกฝีมือแรงงานที่เสนอไปแล้ว)  ทั้งนี้รัฐควรให้ความสาคัญในการศึกษาวิจัยหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัด สวัสดิการต่างๆ เพื่อรองรับต่อการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ

19


ความซ้าซ้อนและไม่เท่าเทียม ของสวัสดิการค่าครองชีพผู้สูงอายุ 

ตัวอย่างคือค่าครองชีพผู้สูงอายุ โครงการ เบี้ยยังชีพ บานาญ ขรก. ประกันสังคม ม.33,39,40 กอช. กองทุนสวัสดิการชาวนา กองทุนสวัสดิการชุมชน

 

รัฐสมทบ Y (ถ้วนหน้า) Y

Y Y Y

ประชาชนสมทบ Y Y Y Y

ประชาชนบางกลุ่มสามารถรับสวัสดิการได้มากกว่าหนึ่งโครงการ และได้รับประโยชน์จากเงินสมทบภาครัฐมากกว่าหนึ่งครั้งเช่นกัน เช่น กองทุนสวัสดิการชาวนา กองทุน สวัสดิการชุมชน กอช. เงินสมทบแต่ละโครงการมีสัดส่วนไม่เท่ากัน เช่นกองทุนสวัสดิการชาวนา รัฐสมทบ 2 เท่า เกิดความไม่เท่าเทียม กองทุนสวัสดิการชาวนา/ชุมชน ให้สวัสดิการซ้าซ้อนกับโครงการอื่นอีกหลายโครงการ เช่นคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร เจ็บป่วย เป็นต้น

20


สวัสดิการผู้พิการ ด้อยโอกาส  เบี้ยยังชีพผู้พิการ 500 บาทต่อเดือนเป็นค่าครองชีพพื้นฐาน • เพิ่มให้แก่ผู้พิการที่ยากจน (เท่ากับเส้นยากจน) • เพิ่มให้แก่ผู้พิการรุนแรงหรืออยู่ในภาวะพึ่งพิง (ต้องมีคนดูแล ช่วยตัวเองไม่ได้) • ผู้พิการยากจนอาจ overlap กับผูพ ้ ิการในภาวะพึ่งพิงได้ ไม่ถือว่าซ้าซ้อน •

(ล้านบาท) เบี้ยยังชีพพิการทั่วไป (งบปกติ) เบี้ยยังชีพพิการยากจน perfect targeting เบี้ยยังชีพพิการพึ่งพิง จานวนผู้พิการที่รับเบี้ยยังชีพทั่วไป (คน) จานวนผู้พิการยากจน (คน) จานวนผู้พิการพึ่งพิง (topup) (คน)

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

5,032

5,055

5,080

5,107

5,134

5,153

5,170

391

688

987

1,390

1,796

2,003

2,010

2,213

3,890

5,586

7,861

10,161

11,330

11,368

838,587 30,223 39,715

842,492 53,136 69,826

846,708 76,288 100,250

851,155 107,365 141,087

855,741 138,784 182,376

858,754 154,747 203,353

861,642 155,268 204,037

21


สวัสดิการผู้พิการ ด้อยโอกาส  สถานดูแลผู้พิการ/ด้อยโอกาส • มี institutional care เป็นกลไกช่วยเหลือให้แก่ผู้พิการ/ด้อยโอกาสที่

ครอบครัวดูแลไม่ไหว (ซึ่งไม่จาเป็นต้องถ้วนหน้าเพราะเพิ่มเบี้ย extra care เพื่อให้สามารถดูแลตัวเองได้ระดับหนึ่งแล้ว) • การมีส่วนร่วมของภาคส่วนอื่น เช่น Community-based Rehabilitation (CBR) โดยชุมชน • extra care/respite care เพื่อดูแลกันเองในกลุ่มผู้พิการ/ด้อยโอกาส

22


สวัสดิการรักษาพยาบาล  ปรับให้มีความถ้วนหน้าสาหรับคนไทยครบ 100% 

ปัจจุบันครอบคลุม 95%

 เพิ่มความครอบคลุมให้กับ ชนกลุ่มน้อยไม่ได้สัญชาติไทย คนไร้รัฐ/ผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร  แรงงานข้ามชาติ (รวมผู้ติดตาม) และแรงงานข้ามชาติระดับล่าง ผู้หนีภัยจากการสู้รบ 

 อาจเพิ่มสวัสดิการให้ถึงระดับ OECD (5% ของ GDP) ถ้างบประมาณพอ ปรับความถ้วนหน้าเป็น 100% คนไร้รัฐ ชนกลุ่มน้อย ต่างด้าว ผู้อพยพภัยสงคราม OECD Standard จานวนคนไทย (ยังไม่มีสิทธิ) จานวนคนไร้รัฐ ชนกลุ่มน้อย จานวนต่างด้าว ผู้อพยพภัยสงคราม

2554 7,052 1,447 5,067 107,178 4,964,574 537,915 1,883,485

2555 7,490 1,537 5,380 122,804 4,964,574 537,915 1,883,485

2556 8,277 1,698 5,944 158,263 4,964,574 537,915 1,883,485

2557 9,130 1,872 6,555 163,910 4,964,574 537,915 1,883,485

2558 10,059 2,062 7,219 169,459 4,964,574 537,915 1,883,485

2559 11,047 2,268 7,940 175,742 4,964,574 537,915 1,883,485

2560 12,124 2,492 8,725 182,008 4,964,574 537,915 1,883,485

23


สวัสดิการที่อยู่อาศัย  ให้ผู้มีรายได้น้อยสามารถมีที่อยู่อาศัยตามอัตภาพด้วยค่าใช้จ่ายที่

เหมาะสม (เช่า/ซื้อ) ในทาเลที่เอื้อต่อการทางาน

 ดาเนินการผ่านโครงการบ้านมั่นคงและการจัดหาบ้านสาหรับผู้มีรายได้น้อยของ

การเคหะแห่งชาติ

โครงการบ้านมั่นคง ตัง้ เป้าหมายให้สามารถทาโครงการได้ครบถ้วน 5,266 ชุมชนภายใน ระยะเวลา 10 ปี โดยใช้งบประมาณ 80,000 บาทต่อครัวเรือน (ปรับด้วยเงินเฟ้อ) 2553

โครงการบ้านมั่นคง

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

1,432

1,468

1,505

1,543

1,581

1,621

1,661

24


สวัสดิการเติมเต็มชีวิต  เป็นสวัสดิการใหม่ แนวคิดคือจัดสรรงบประมาณสาหรับช่วยเหลือคนจนในรูป

cash/in-kind transfers  อาจมีเงื่อนไขในการรับ transfer (conditional transfers) เช่นผูกกับเงินช่วยเหลือ นักเรียนยากจน  การคานวณ ใช้แนวคิด Poverty Gap คือคานวณเม็ดเงินที่ต้องใช้เพื่อ ‘เติม’ รายได้ให้กับคนจนถึงระดับเส้น ความยากจน  และอาจเพิ่มจานวนคนอีก 25% เพื่อป้องกันปัญหาการ targeting ไม่ทั่วถึง  ยังไม่ได้หักด้วยสวัสดิการอื่น ๆ ที่ได้รับไปก่อนหน้าแล้ว เช่นเงินสงเคราะห์บต ุ ร นมและ อาหารกลางวันโรงเรียน เบี้ยยังชีพคนจน เป็นต้น 

25


สวัสดิการเติมเต็มชีวิต (ต่อ)  การบริหารจัดการ จัดสรรงบประมาณในระดับ Macro ตามสัดส่วนจานวนคนจนในจังหวัด/อาเภอ/ตาบล โดยใช้ ฐานข้อมูล Poverty Map ของสานักงานสถิติแห่งชาติ (มีความเป็นวิทยาศาสตร์)  ในระดับพื้นที่ (micro) ให้ ชุมชน เป็นองค์การหลัก เนื่องจากรู้จักผู้คนในพื้นที่ว่าใครจนมาก จนน้อย และมีหน่วยงานกลาง เพื่อทาการ ‘ตรวจเช็ค’ คนจนที่ตกหล่นจากระบบปกติ (รวมทั้ง กลไกชุมชนด้วย) โดยใช้ social workers อาชีพ เสริมด้วย อพม. อพส. อสม. หรือ NGOs  จัดสรรงบประมาณเพื่อ (ก) สร้างระบบฐานข้อมูลคนจน (ข) อบรมนักสังคมสงเคราะห์และ ผู้ช่วยเพื่อเข้าถึงคนจนและผู้ด้อยโอกาสเป็นราย ๆ แล้วให้ความช่วยเหลือแบบครบวงจร 

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

100% Poverty Line

-

23,255

20,857

20,361

20,870

21,391

21,926

22,474

125% Poverty Line

-

29,069

26,071

25,451

26,087

26,739

27,408

28,093

แนวทาง Poverty Gap

26


การสร้างเสริมสังคมสวัสดิการ  สังคมสวัสดิการคือการที่ภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมรับผิดชอบให้บริการสวัสดิการ มิใช่เพียงภาครัฐเท่านั้น  ภาครัฐสามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดสังคมสวัสดิการได้ เช่นลดภาษีองค์กรลักษณะ Social

Enterprises หรือการสร้างจิตสานึกการให้บริการสวัสดิการแก่ประชาชน โดยเริ่มจากเยาวชน  อย่างไรก็ตาม แนวคิดสังคมสวัสดิการยังไม่เป็นที่เข้าใจถ่องแท้ ต้องมีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง  ประเด็นประชาสัมพันธ์ 

สิทธิในสวัสดิการถ้วนหน้าใหม่ (ทั้งสวัสดิการเดิมทีย่ ังไม่ถ้วนหน้า กับสวัสดิการใหม่)

วิธีการเข้าถึงและใช้สิทธิ์

รณรงค์ให้องค์กรธุรกิจ มูลนิธิ และองค์กรอืน่ ๆ ร่วมให้บริการสวัสดิการสังคม 2553

กองทุนยุวชนจิตอาสา กองทุนส่งเสริมสังคมสวัสดิการและ Social Enterprises ประชาสัมพันธ์

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

-

2,600

2,600

2,600

2,600

2,600

2,600

2,600

-

3,000

3,000

3,000

3,000

3,000

3,000

3,000

-

300

308

315

323

331

339

348

27


สวัสดิการอื่น ๆ  กองทุนสวัสดิการชุมชน  มีศักยภาพสูงในการเข้าถึงคนจนในท้องถิน ่

 ถือเป็นการสร้างสังคมสวัสดิการ โดยรัฐใช้การสมทบเป็นตัวกระตุน ้ ระยะสั้น

 กองทุนสวัสดิการชาวนา/ประกันราคาพืชผล  เป็นแนวคิดสวัสดิการตามกลุ่มอาชีพ ซึ่งมีปัญหาหลายประการ เช่น  ผู้ได้ประโยชน์อาจไม่ใช่ผู้ด้อยโอกาสหรือยากจน

 เสี่ยงต่อความซ้าซ้อนกับระบบปกติสูง  มักเกิดจากแรงกดดันทางการเมือง (กลุม ่ อาชีพมีการรวมตัวกันเหนียวแน่น)  เมื่อเกิดแล้วเลิกยาก (ตัวอย่างประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศที่ให้สวัสดิการกับเกษตรกร)

28


สวัสดิการอื่น ๆ  การแก้ปัญหาหนี้สินเกษตรกร คนจน หนี้นอกระบบ  

มักเป็นการแก้ปัญหาปลายเหตุ ในระยะยาวควรใช้แนวทาง microfinance for the poor เช่นธนาคารคนจน

 การอุดหนุนสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า รถเมล์ รถไฟ)  

สอดคล้องกับแนวคิดช่วยคนจนแบบ self-targeting คืออุดหนุนการบริโภคของผู้มีรายได้น้อย มีข้อเสียคือเป็นการบิดเบือนกลไกราคา ควรใช้ในระยะสั้นเท่านั้น ในระยะยาวควรทดแทนด้วยระบบ poverty targeting ที่ดี (สวัสดิการเติมเต็มชีวิต)

(ล้านบาท) สวัสดิการชุมชน (เฉพาะที่รัฐสมทบแล้ว) สวัสดิการชาวนา (เฉพาะส่วนรัฐสมทบ) แก้ปัญหาหนี้สิน (เฉพาะกองทุนฟื้นฟู) ประกันราคาพืชผล อุดหนุนสาธารณูปโภค

2553

2554 1,383 19,716 3,200 40,000 17,205

2555 2,152 20,209 3,555 40,000 17,205

2556 1,396 20,714 3,581 40,000 17,205

2557 908 21,232 3,607 40,000 17,205

2558 215 21,763 3,634 40,000 17,205

2559 215 22,307 3,661 40,000 17,205

2560 215 22,865 3,690 40,000 17,205

29


สวัสดิการที่ยังไม่รวมคานวณ  การขยายประกันสังคม ม. 33 สู่คู่สมรสและบุตร  แนวคิดและตัวเลขยังไม่นิ่ง เสี่ยงต่อความซ้าซ้อนกับระบบอื่น

 เพิ่มประกันรายได้สาหรับแรงงานนอกระบบ  คณิตศาสตร์ประกันภัยยังไม่ชัดเจน

 ต้องระวังการ abuse system จนเป็นภาระต่องบประมาณ รวมทั้งลด

แรงจูงใจในการทางาน

30


ประมาณการงบประมาณรัฐ สาหรับทางเลือกระบบสวัสดิการ ต่าง ๆ 31


แนวทางเลือกสวัสดิการ (ถ้วนหน้า)  ควรให้ความสาคัญสูง (high priority) กับการพัฒนาเด็กและเยาวชน

และการดูแลผู้สูงอายุ/ผู้พิการ  ในส่วนการศึกษา เน้นความครอบคลุมที่ทั่วถึงและคุณภาพก่อน  ริเริ่มการขยายประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบอย่างจริงจัง โดยรัฐควร สมทบด้วย  รัฐสร้างแรงจูงใจให้เกิดสังคมสวัสดิการ  สวัสดิการที่มีลักษณะซ้าซ้อน บิดเบือนกลไกราคา จะมี priority ต่ากว่า 32


ทางเลือกสวัสดิการ สวัสดิการ

สวัสดิการเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ ไม่รวมเบี้ยยังชีพยากจนและพึ่งพิงผู้สูงอายุ/พิการ รวมเบี้ยยังชีพยากจนและพึ่งพิงผู้สูงอายุ/พิการ นักเรียน/นักศึกษา อาหารกลางนักเรียนประถมถ้วนหน้า เงินช่วยค่าครองชีพนักเรียนยากจนทุกคน เพิ่มความครอบคุลมและคุณภาพการศึกษา ขยายการศึกษานอกระบบ ขยายการศึกษาตามอัธยาศัย เพิ่มอุดหนุนโรงเรียนเล็ก เพิ่มนักเรียนชนกลุม่ น้อย เพิ่มผลสัมฤทธิ์การเรียน อบรมเพื่อเพิ่มคุณภาพครู เพิ่มเงินเดือนครูคุณภาพ เพิ่มรายจ่ายต่อหัว รร. รัฐ เพิ่มรายจ่ายต่อหัว รร. เอกชน

1

ชุดสวัสดิการ 2

3

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

33


ทางเลือกสวัสดิการ สวัสดิการ

แรงงาน ฝึกฝีมือตามความต้องการของแรงงาน (20% of แรงงานมัธยมต้น) ขยายประกันสังคม ม. 40 (รัฐสมทบเท่ากับแรงงาน) ขยายประกันสังคม ม. 40 (รัฐสมทบสองเท่าของแรงงาน) รักษาพยาบาล คนไทยถ้วนหน้า 100% คนไร้รัฐ ชนกลุ่มน้อย แรงงานต่างด้าว+ผู้ติดตาม ผู้หนีภยั สงคราม สวัสดิการเติมเต็มชีวิต แนวทาง (ก): Poverty Gap (100% Poverty Line) แนวทาง (ก): Poverty Gap (125% Poverty Line)

ชุดสวัสดิการ 1

2

3

X X

X X

X X

X

X X

X X X

X

X

X

34


ทางเลือกสวัสดิการ ชุดสวัสดิการ

สวัสดิการ

สวัสดิการที่อยู่อาศัย โครงการบ้านมั่นคง สวัสดิการชุมชน สวัสดิการชาวนา ประกันราคาพืชผล แก้ปัญหาหนี้สินเกษตรกร อุดหนุนสาธารณูปโภค กองทุนยุวชนจิตอาสา กองทุนส่งเสริมสังคมสวัสดิการและ Social Enterprises งบประชาสัมพันธ์สังคมสวัสดิการ

1

2

3

X

X

X

X

X

X X

X X X X

X

X

X

X

X

X

X

X

35


ประมาณการงบประมาณภาครัฐ 2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

งบประมาณ (ล้านบาท) แนวโน้มปกติ

1,127,104 1,132,905 1,187,430 1,178,453 1,236,883 1,316,501 1,386,101 1,463,293

ส่วนเพิ่มชุดสวัสดิการ 1

-

144,031

138,692

148,966

179,703

177,766

188,447

197,165

ส่วนเพิ่มชุดสวัสดิการ 2

-

194,680

194,939

211,716

251,543

259,296

276,518

288,304

ส่วนเพิ่มชุดสวัสดิการ 3

-

284,310

290,125

312,316

357,519

370,611

393,127

410,189

-

-

-

-

-

-

-

-

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 1

11.3

11.9

11.6

10.9

10.9

10.8

10.7

10.6

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 2

11.3

12.4

12.1

11.4

11.5

11.4

11.3

11.2

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 3

11.3

13.2

12.9

12.2

12.3

12.2

12.1

11.9

-

-

-

-

-

-

-

-

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 1

11.4

12.2

12.2

11.8

12.1

12.2

12.4

12.6

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 2

11.4

12.7

12.7

12.3

12.7

12.9

13.1

13.3

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 3

11.4

13.6

13.6

13.2

13.6

13.8

14.0

14.2

% GDP (Growth 4%, เงินเฟ้อ 2.5%)

% GDP (Growth 2.5%, เงินเฟ้อ 1.5%)

36


ร้อยละของ GDP

(growth 4%, inflation rate 2.5%) 14.0

12.0

10.0

8.0

6.0

4.0

2.0

-

2553

2554

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 1

2555

2556

2557

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 2

2558

2559

2560

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 3

งบปกติ

37


เปรียบเทียบกับรายได้ภาครัฐ (%GDP) 25.0

รายได้รัฐที่เหลือ

20.0

15.0

8.6

7.1

6.5

5.5

6.9

5.5

6.2

7.1

7.2

7.5

7.7

8.0

เพิ่ม สวัสดิการชุด 3 เพิ่ม สวัสดิการชุด 2

10.0

เพิ่ม สวัสดิการชุด 1

5.0

งบปกติ กรณีฐาน -

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

ในช่วงแรก (2554-57/58 งบประมาณด้านอื่นจะถูกจากัด

38


ร้อยละของ GDP

(growth 2.5%, inflation rate 1.5%) 16.0 14.0 12.0 10.0 8.0 6.0 4.0 2.0 -

2553

2554

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 1

2555

2556

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 2

2557

2558

2559

งบปกติ+ชุดสวัสดิการ 3

และหากเศรษฐกิจขยายตัวช้า ปัญหางบประมาณลงทุนด้านอืน่ ยิ่งรุนแรง

2560

งบปกติ

39


ข้อสังเกตงบประมาณภาครัฐ  ตัวเลขงบประมาณบางส่วนยังเป็นตัวเลขเบื้องต้น  ข้อสรุปเบื้องต้น

 หากเศรษฐกิจโตได้ 4% สัดส่วนรายจ่ายสวัสดิการต่อ GDP คงตัวหรือลดลง แสดงว่าเศรษฐกิจ

ไทยน่าจะรับภาระสวัสดิการถ้วนหน้าขั้นพื้นฐานเพิ่มได้จานวนหนึ่ง สาเหตุหลักเพราะ งบประมาณปกติด้านการศึกษามีแนวโน้มลดลงตามจานวนนักเรียน แต่อาจมีปัญหาในระยะ 3-4 ปีแรกที่รายจ่ายด้านอื่นจะถูกจากัด  ต้องมีการจัดการในเรื่องต่อไปนี้

รัฐบาลต้องสามารถจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกับความต้องการได้ เช่นลดสัดส่วนงบด้านการศึกษาเมื่อ ความจาเป็นลดลง และเพิ่มในส่วนอื่นเช่นสวัสดิการผู้สูงอายุ พิการ แรงงานนอกระบบ  การลงทุนด้านเศรษฐกิจ (ซึ่งจะถูกเบียดบังด้วยงบสวัสดิการ) ควรใช้แนวทาง PPP (ร่วมทุนเอกชน) มากขึ้น  ต้องระวังสวัสดิการหลายประเภทที่เป็นภาระ ซ้าซ้อน บิดเบือนกลไกตลาด จะก่อให้เกิดปัญหางบประมาณ ในอนาคตได้ โดยเฉพาะหากอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่า 

 รัฐอาจมีความจาเป็นต้องปรับโครงสร้างภาษีบางประการ เช่นการขยายฐานภาษี เพิ่ม VAT ลด

ผลประโยชน์ BOI

40


ข้อสังเกตงบประมาณภาครัฐ  ควรเร่งส่งเสริม Economic Growth เช่น

รัฐบาลควรลงทุนใน R&D ไม่ต่ากว่า 2% ของ GDP

• ผลพลอยได้คือช่วยให้ช่องว่างระหว่าง ค่าตอบแทนแรงงานและทุนห่างน้อยลง

ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยให้รับผลประโยชน์จาก FTA/AEC มากขึ้น

เช่น Regional Economic Corridor ต่าง ๆ

ข้อควรระวัง  หนี้สาธารณะอาจปรับสูงขึ้นได้แม้เศรษฐกิจโต 4% เพราะฐานหนี้ปัจจุบันสูง (อยู่ระหว่าง ศึกษาเพิ่มเติม)  สวัสดิการที่ยังไม่รวมคานวณ เช่น สวัสดิการที่อยู่อาศัย การเพิ่มประกันว่างงานสาหรับ แรงงานนอกระบบ (อยู่ระหว่างศึกษา คาดว่าเป็นภาระต่อระบบสูง) หากรวมแล้ว ข้อสรุปอาจ เปลี่ยนไป  นอกจากนี้กองทุนบางกองทุนอาจประสบปัญหาการเงิน (เช่นกองทุนประกันสังคมส่วนชรา ภาพ) รัฐอาจต้องเข้าช่วยเหลือทางการเงิน

41


42


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.