007 แนวคิดว่าด้วยการจัดการทรัพยากรร่

Page 1

ชุดหนังสือ การสำรวจองคความรูเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย àÃ×่ͧ

á¹Ç¤Ô´Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ: »ÃÐʺ¡Òó ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È áÅÐá¹Ç¤Ô´ã¹»ÃÐà·Èä·Â ISBN: 978-616-7374-23-9

ที่ปรึกษา : นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย ยุวดี คาดการณไกล บรรณาธิการ : ปกปอง จันวิทย กองบรรณาธิการ : สกลฤทธิ์ จันทรพุม ภัทชา ดวงกลัด หนังสือชุดนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการการสำรวจ องคความรูเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย โดยคณะทำงานเครือขายวิชาการเพื่อการปฏิรูป คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป จัดพิมพและเผยแพรโดย สำนักงานปฏิรูป (สปร.) 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำราศนราดูร ซอยติวานนท 14 ถนนติวานนท อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท 0 2965 9531-3 โทรสาร 0 2965 9534 www.reform.or.th


á¹Ç¤Ô´Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ:

»ÃÐʺ¡Òó ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È áÅÐá¹Ç¤Ô´ã¹»ÃÐà·Èä·Â โดย ชล บุนนาค คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Ph.D. Researcher Institute for Environmental Studies Faculty of Earth and Life Sciences (FALW) VU University Amsterdam


º·¹Ó แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม (CommonPool Resources) เปนแนวคิดที่ไดรับการพิสูจนแลววา มีความสำคัญอยางยิ่งในโลกและในประเทศไทย เห็นได จากการทีคณะ ่ กรรมการรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ได เลือก Elinor Ostrom นัก วิชาการ ชั้น แนว หนา ใน ประเด็น นี้ ขึ้น รับ รางวัล โน เบล สาขา เศรษฐศาสตร ใน ป 2009 นอกจากนี้ ประเด็นนี้มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น


4

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ในระดับโลกเนื่องดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่ง เปน สมบัติ สาธารณะ ใน ระดับ โลก และ ความ จำกัด ของทรัพยากรที่มีมากขึ้นทุกขณะในหลายพื้นที่ ความ จำกัดสวนหนึ่งอาจมาจากความตองการที่มากเกินกวา ทรัพยากรที่มีอยู ในขณะเดียวกันความจำกัดก็อาจมา จากการดูแลทรัพยากรทีไม ่ ดีพอจนทำใหระบบทรัพยากร (Resource System) ที่ทำการผลิตทรัพยากรนั้นเสื่อม สภาพลง การจัดการทรัพยากรที่ดี ซึ่งสงผลจำกัดความ ตองการใชทรัพยากรใหเหมาะสมกับความสามารถใน การผลิตทรัพยากรของระบบการผลิตทรัพยากร หรือ การเพิม่ ความสามารถในการผลิตของระบบทรัพยากร จึง เปนสิง่ ทีจำเป ่ นเพือ่ ใหทรัพยากรสามารถถูกใชประโยชน ไดอยางยั่งยืน ความจำกัดของทรัพยากรดังกลาวก็เกิดขึน้ เชนกัน ใน ประเทศไทย ทรัพยากร สวน หนึ่ง เปน ทรัพยากร ที่ เกี่ยวของ กับวิถี ชีวิต และ ความ เปน อยู ของ ผูคน จำนวน มาก โดยเฉพาะผูมีรายไดนอยที่มีที่ดินทางการเกษตร ไม มาก และ พึ่งพา ทรัพยากรธรรมชาติ ใกล ตัว ใน ดาน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

5

อาหารและรายไดบางสวน ทรัพยากรดังกลาวไดแก ปา หรือปาชายเลน ที่ดินทำกิน ทรัพยากรน้ำ เปนตน ใน อดีต ประเทศไทยใชวิธจัี ดการทรัพยากรเหลานีอย ้ างนอย 3 ลักษณะ คือ 1) รัฐเปนผูจัดการดูแลทรัพยากรรวม เหลานีเ้ อง เชน มีการจัดตัง้ เขตปาสงวนเพือ่ อนุรกั ษปาไม และทรัพยากรอืน่ ๆ ภายในปา โดยกันมิใหมีผูใด  เขาไปใช ประโยชนใดๆ จากปาไดเลย เปนตน 2) รัฐใหสัมปทาน กับเอกชนในการใชประโยชนและดูแลทรัพยากร 3) ผู ใชทรัพยากรเปน ผูกำหนดกติกาในการใชและการดูแล ทรัพยากรเหลานั้นเอง เชน กรณีของปาชุมชน หรือการ จัดการน้ำระหวางหมูบานที่ใชแหลงน้ำรวมกัน อยางไร ก็ ดี ใน ปจจุบัน ผล การ ดำเนิน การ เพื่อ จัดการทรัพยากรและอนุรักษของ 2 วิธีแรกนั้นเปนที่ ประจักษแลววาไมมประสิ ี ทธิภาพในการดูแลและจัดการ ทรัพยากรดังที่เห็นไดจากการเสื่อมโทรมลงของสภาพ แวดลอม และ ทรัพยากร ใน ประเทศไทย เชน พื้นที่ ปา สภาพน้ำ เปนตน การจัดการในลักษณะที่ 3 นั้นยังไมได รับการยอมรับอยางเปนทางการจากภาครัฐมากนัก และ


6

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

มักนำไปสูการ  เกิดขอพิพาทระหวางภาครัฐและชาวบาน บอยครั้ง เนื่องจากปญหาเรื่องการทับซอนระหวางที่ดิน ทำกินหรือบริเวณทรัพยากรที่ชาวบานใชดำรงชีวิตกับ พืน้ ทีถู่ กประกาศใหเปนของรัฐ เชน เขตปาสงวน เปนตน หรือมีการใหโฉนดทีด่ นิ กับเอกชนรายอืน่ ทับซอนกับพืน้ ที่ ดังกลาว ปญหานีส้ งผลตอความสามารถในการดำรงชีวติ ของ ชาว บาน และ เกี่ยว โยง กับ ประเด็น ความ เปน ธรรม ในสังคม ปจจุบันปญหาเหลานี้ก็ยังคงอยู ภาครัฐยังคง ไม สามารถหา วิธี การ จัดการ ทรัพยากร ที่ เหมาะ สม คือ สามารถ ตอบ ทั้ง โจทย เรื่อง การ อนุรักษ และ โจทย เรื่อง ความเปนธรรมและความเหลื่อมล้ำในสังคมได องค ความ รู ใน การ จัดการ สมบัติ สาธารณะ จึง มี ความ จำเปน อยาง ยิ่ง เพื่อ รักษา ทรัพยากรธรรมชาติ อัน เปน สมบัติ สาธารณะ ให ยัง ดำรง อยู ได และ เพื่อ ให ชาวบานทีเป ่ นผูใช  และพึง่ พิงทรัพยากรธรรมชาติสามารถ ใชทรัพยากรดังกลาวเพื่อยังชีพไดอยางยั่งยืน ซึ่งจะเปน จุดเริ่มที่จะลดความเหลื่อมล้ำและสรางความเปนธรรม ในสังคมใหมากขึ้นได ความเขาใจและการประยุกตใช


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

7

องคความรูดานนี้อยางเหมาะสมของภาคสวนตางๆ ที่ เกี่ยวของนาจะทำใหการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอัน เปนทรัพยากรรวมนั้นเปนไปอยางเปนธรรม สันติ และ ยั่งยืนได รายงานนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสรางฐานองคความรู เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร เพื่อเปนขอมูลและองค ความ รู ให ภาค สวน ที่ เกี่ยวของ ทำความ เขาใจ และ นำ ไปประยุกตใช โดยจะทำการสำรวจสภาพแนวคิดและ ประสบการณ จาก ต า ง ประเทศ และ สถานการณ และ สภาพปญหาในประเทศไทย อยางไรก็ดี ในบทความนี้ จะ ไม กลาว ถึง ประเด็น เรื่อง ความ เปน ธรรม และ ความ เหลื่อมล้ำในสังคมที่เกี่ยวของกับประเด็นความไมเปน ธรรมในการ ถือครองสิทธิ์เหนือทรัพยากร เพราะเปน อีกประเด็นหนึ่งที่เปนประเด็นใหญและมีความสำคัญที่ สำคัญไดรับการพิจารณาศึกษาเปนการเฉพาะแยกไป จากบทความนี้ บทความนี้จะเรียงลำดับหัวขอการนำเสนอดังนี้ สองหัวขอแรกจะพิจารณาแนวคิดของ Elinor Ostrom


8

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตรจากการเปนผูน ำ ในการพัฒนากรอบการวิเคราะหเกีย่ วกับพฤติกรรมรวม หมูที่เกิดขึ้นดวยตนเอง (Self-Organizing Collective Action) ในการจัดการทรัพยากรรวม (Common-Pool Resources) ผลงานของเธอในป 1990 อันเปนหนังสือ เลมหลักที่นำมาสูการไดรับรางวัลโนเบล และผลงานใน ป 2010 อันเปนปาฐกถาที่เธอกลาวในพิธีมอบรางวัล โนเบล เปนงานที่มีพื้นฐานมาจากการสำรวจกรณีศึกษา จาก ทวีป ตางๆ ทั่ว โลก และ นำ กรณี ตางๆ เหลานั้น มาสกัดเพือ่ หากรอบการวิเคราะหและทฤษฎีเพือ่ อธิบาย พฤติกรรมการจัดการทรัพยากร ผูเขียนเห็นวามีความ เหมาะ สม ที่ จะ นำ มา เปน ฐาน องค ความ รู สำหรับ การ จัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย หัวขอที่ 1 กลาว ถึงองคความรูดั้งเดิมในการจัดการทรัพยากรรวมและ แนวคิดของ Ostrom ที่ไมเห็นดวยกับองคความรูเดิม ดังกลาว และองคความรูใหม  ที่ Ostrom นำเสนอ หัวขอ ที่ 2 นำเสนอประสบการณจากตางประเทศ โดยเฉพาะ หลักการจัดการทรัพยากรรวมที่ Ostrom สกัดไดจากการ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

9

ศึกษากรณีศึกษาตางๆ ทั่วโลก ในตอนทายของหัวขอนี้ ไดนำเสนอแนวการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร รวมในปจจุบันใหทราบกันพอสังเขปอีกดวย จาก นั้ น หั ว ข อ ที่ 3 จะ นำ เสนอ แนวคิ ด การ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยโดยพยายามสรุป แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร ดัง กลาว จาก การ สำรวจ ขอเขียนเชิงวิชาการ ทั้งวิทยานิพนธ บทความวิชาการ หรือบทความที่อยูบนเว็บไซตขององคกรที่ทำงานเกี่ยว กับการจัดการทรัพยากร รวมถึงขาวตางๆ จากนั้นจึง นำ แนวคิด ดังกลาว มา เปรียบ เทียบ กับ แนวคิด จากตาง ประเทศในหัวขอกอนเพือ่ พิจารณาวามีความเหมือนหรือ ตางกันอยางไร เกี่ยวของกันอยางไร อนึ่ง การจัดการ ทรัพยากร ชุมชน กับ การ จัดการ ทรัพยากร รวม นั้น ไมใช สิ่ง เดียวกัน แต เหตุ ที่ เรียก แนวคิด จาก การ สำรวจ งาน วิชาการในประเทศไทยวาเปนการจัดการทรัพยากรชุมชน ก็เพราะวา งานแทบทั้งหมดที่ไมใชงานเชิงเทคนิคเกี่ยว กับการชลประทาน วิศวกรรม หรือผังเมืองจะมุงเนนไป ที่การจัดการทรัพยากรโดยชุมชน ตางจากงานลักษณะ


10

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

นี้ในตางประเทศที่จะมีการศึกษาการจัดการทรัพยากร รวมเขตชุมชนเมืองหรือเขตอุตสาหกรรมโดยความรวม มือ ของ กลุม ผู ใช ทรัพยากร ดวย พูด อีกอยาง หนึ่ง ก็ คือ ในบทความนี้แนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชน ก็คือ แนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมที่มีชุมชนเปนตัวละคร หลักในการจัดการทรัพยากรนั่นเอง หัวขอที่สี่ เปนการ สรุปและตั้งขอสังเกตและขอเสนอแนะเกี่ยวกับแนวคิด การจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย การศึกษาเพิ่ม เติม และแนวทางในการนำแนวคิดที่ไดนำเสนอมาไปใช พอสังเขป

1. ·ŒÒ·ÒÂͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙŒ´Ñ้§à´ÔÁ㹡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡Ã Elinor Ostrom เปนนักวิชาการในสาขาระบบการ จัดการทางเศรษฐกิจ (Economic Governance) ประจำ อยูที่ Indiana University และ Arizona State Univer-


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

11

sity ประเทศสหรัฐอเมริกา เว็บไซตอยางเปนทางการ ของรางวัลโนเบลสรุปใจความสำคัญของคุณประโยชนที่ Ostrom มีตอวงวิชาการเศรษฐศาสตรวา เธอได ‘ทาทาย องคความรูดั ง้ เดิมโดยการแสดงใหเห็นวาระบบกรรมสิทธิ์ ชุ ม ชน สามารถ จั ด การ ทรั พ ยากร ร ว ม ได สำเร็ จ โดย ปราศจากการควบคุมโดยอำนาจจากสวนกลาง หรือการ ทำใหทรัพยากรรวมกลายเปนทรัพยสนิ เอกชนไดอยางไร’ (Nobelprize.org) เนื้อหาในหัวขอนี้จะนำเสนอแนวคิด การจัดการทรัพยากรรวมของ Ostrom เพื่อใหเกิดความ เขาใจในแนวคิดดังกลาว โดยนำเสนอใหเห็นวา องคความ รูดั้งเดิมคืออะไร และสิ่งที่เธอนำเสนอนั้นคืออะไร 1.1 ÅѡɳТͧ·ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ (Common-Pool Resources)

ในทางเศรษฐศาสตร สินคาที่ไดรับการพิจารณา อยู บ อ ย ครั้ ง ใน ทฤษฎี ทาง เศรษฐศาสตร คื อ สิ น ค า เอกชน (Private Goods) และสินคาสาธารณะ (Public


12

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

Goods) สิ น ค า เอกชน คื อ สิ น ค า ที่ มี ลั ก ษณะ สำคั ญ 2 ประการคือเปนสินคาที่สามารถกีดกันได (Excludable) และ ต อ ง มี การ แข ง ขั น กั น เพื่ อ ให ได มา ซึ่ ง การ บริ โ ภค (Rivalrous) เพราะ การ บริ โ ภค สิ น ค้ า หน่ ว ย หนึ่ ง จะ ลด ความสามารถในการบริโภคของคนถัดไปเนื่องจาก จำนวนสินคาลดนอยลง ลักษณะ 2 ประการนี้ทำให สินคาเอกชนสามารถถูกจัดสรรโดยตลาดได เพราะผู ผลิต สามารถ ขาย สินคา ให แก ผู ซื้อ และ กีดกัน ผู ที่ ไม ได ซื้อออกจากการบริโภคได ผูบริโภคก็ตองแขงขันกันและ แสดง ความ ยินดี จาย เพื่อ ให ได มา ซึ่ง สินคา หากอยู ใน ตลาดแขงขันสมบูรณ ราคาที่แสดงในตลาดก็จะแสดง ตนทุนที่แทจริงของสินคาและระดับความยินดีจายของ ผูบริโภค สวน สินคา สาธารณะ มี ลักษณะ ตรง กัน ขาม กับ สินคาเอกชน กลาวคือ ไมสามารถกีดกันได (Non-excludable) และไมจำเปนตองแขงขันเพื่อใหไดมาซึ่งการ บริโภค (Non-rivalrous) ลักษณะดังกลาวทำใหตลาดลม


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

13

เหลว (Market Failure) คือ ไมมการ ี ผลิตและแลกเปลีย่ น ซื้อขายกันโดยเอกชน เพราะผูผลิตขาดแรงจูงใจในการ ผลิต เนือ่ งจาก เมือ่ ผลิตแลวไมสามารถกีดกันคนทีไม ่ ซือ้ จากการบริโภคได ผูบริโภคก็ไมยินดีจาย เพราะสามารถ บริโภคฟรีได ตัวอยางของสินคาสาธารณะ เชน บริการ การปองกันประเทศ สภาพแวดลอมทีดี่ เปนตน เมือ่ เปน เชนนี้รัฐจึงตองเขาแทรกแซงดวยการเปน ผูผลิตสินคา สาธารณะนีเอง ้ และบังคับใหเอกชนรับภาระรายจายผาน กลไกภาษีและกลไกอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทรัพยากรรวม (Common-pool Resources) เปน ประเภท ของ สินคา ทาง เศรษฐศาสตร อีก ลักษณะ หนึ่ง มีลักษณะบางประการเหมือนสินคาเอกชน และ บางประการเหมือนสินคาสาธารณะ กลาวคือ ทรัพยากร รวมมีลักษณะกีดกันไดยากมาก เนื่องจากขอบเขตของ ทรัพยากรมีขนาดใหญ (แตใชวาจะเปนไปไมได ขึ้นอยู กับ กติกา การ ใช และ เทคโนโลยี) ใน ขณะ เดียวกัน ตัว ทรัพยากรเองมีลักษณะตองแขงขันเพื่อใหไดมาซึ่งการ บริโภค (Rivalrous) ยิง่ บริโภคหรือเก็บเกีย่ วมาก จำนวน


14

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ทรัพยากรทีใช ่ ไดก็จะนอยลงเรือ่ ยๆ (ในงานของ Ostrom ใชคำวา Subtractability คือเมื่อใชแลวสามารถลดลง ได) ตัวอยางของทรัพยากรรวม ไดแก ปาและทรัพยากร จากปา ปลาชนิดตางๆ น้ำ เปนตน ฉะนั้น ปญหาอัน เกิดจากการที่มีผูใชทรัพยากรมากไป และปญหาการใช ทรัพยากรเกินพอดี จึงเปนปญหาของการใชประโยชน ในทรัพยากรรวม ขณะเดียวกัน ผูใชก็ไมมีแรงจูงใจที่จะ ดูแลรักษา เพราะไมสามารถกีดกันคนอืน่ ทีไม ่ ไดรวมแบง ปนตนทุนการดูแลรักษาจากการใชทรัพยากรได อนึ่ง จุดสำคัญที่แบงแยกทรัพยากรรวมกับสินคาสาธารณะก็ คือปญหาการใชทรัพยากรเกินพอดีนั่นเอง เพราะสินคา สาธารณะนั้น คน สามารถ บริโภค รวม กัน ได ใน ขณะ ที่ ทรัพยากรรวมนัน้ เมือ่ มีคนบริโภคตัวทรัพยากรแลวทำให ทรัพยากรที่เหลืออยูลดลง อนึง่ Ostrom (1990)ไดชีประเด็ ้ นทีน่ าสนใจเอาไว วา ผูคนมักจะสับสนระหวางทรัพยากรรวม (Commonpool resources) กับทรัพยากรทีเป ่ นกรรมสิทธิส์ วนรวม (Common Property Resources) กลาวคือ ทรัพยากร


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

15

รวมเปนสินคาทางเศรษฐศาสตรที่มีลักษณะเฉพาะดังที่ ไดกลาวไปแลว ในขณะที่คำวากรรมสิทธิ์สวนรวมเปน เรื่องของกรรมสิทธิ์เหนือสินคานั้น คือ สินคาเอกชนอาจ จะอยูภาย  ใตกรรมสิทธิส์ วนรวมก็ได หรือ ทรัพยากรรวม อาจจะตกเปนกรรมสิทธิ์ของเอกชนก็ไดเชนกัน การเอา สองคำนี้มารวมกันเปน ‘ทรัพยากรที่เปนกรรมสิทธิ์สวน รวม’ อาจทำใหสับสนเมื่อตองการวิเคราะหทรัพยากร รวมที่อยูภายใตระบบกรรมสิทธิ์ประเภทอื่นดวย

1.2 ÍÐää×ͤÇÒÁÃÙŒ´Ñ้§à´ÔÁà¡Õ่ÂǡѺ¡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡Ã

ความรูดั ง้ เดิมเกีย่ วกับการจัดการทรัพยากรอยูบน  ฐานความเชือ่ ทีว่ า หากปลอยใหทรัพยากรธรรมชาติถูกใช ไปโดยไมมีการควบคุมจากรัฐ หรือมีการมอบกรรมสิทธิ์ เหนือทรัพยากรนั้นใหแกเอกชน ทรัพยากรธรรมชาตินั้น จะถูกใชจนหมดสิ้นเพราะไมมีใครสนใจดูแลรักษา และ


16

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ผูใ ชแตละคนก็จะพยายามใชประโยชนจากทรัพยากรนัน้ ใหมากที่สุดเทาที่เปนไปได เพราะไมรูวาหากเฝารอถึง อนาคตแลว วันขางหนาจะมีทรัพยากรนัน้ ใหใชประโยชน อีกหรือไม แนวคิดนี้เรียกสั้นๆ วา ‘โศกนาฏกรรมของ ทรัพยากรรวม’ (The Tragedy of the Commons) ผู ที่ นำ เสนอ แนวคิด นี้ จน เปน ที่ สนใจ และ อางอิง กันอยางกวางขวางคือ Garrett Hardin ในป 1968 Hardin ยกตัวอยางคลาสสิกของกรณีทุงหญาเลี้ยงสัตว ที่เปดกวางใหทุกคนเขามาใชได (Open Access to All) หลักการเบื้องตนของเรื่องนี้ก็คือ คนเลี้ยงสัตวแตละคน จะไดประโยชนโดยตรงจากทุงหญา แตจะตองแบกรับ ตนทุนจากการใหสัตวเขามากินหญามากเกินไปในภาย หลัง เพราะทุง หญาเสือ่ มสภาพลงจากการถูกใชประโยชน ซึ่งคนเลี้ยงสัตวทุกคนตองแบกรับตนทุนดังกลาวเทาๆ กัน ฉะนั้น หากเราสมมุติวาคนเลี้ยงสัตวมีเหตุมีผลทาง เศรษฐศาสตร ก็ยอมนำสัตวเขามากินหญาใหมากที่สุด เทาที่จะเปนไปไดกอนที่ทุงหญาจะเสื่อมโทรมลง ทาย ที่สุด ทุงหญาก็ถูกใชประโยชนเกินศักยภาพที่ทุงหญาจะ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

17

รับไหว และเสื่อมสภาพลงอยางรวดเร็วเกินควร มิใชเพียง Hardin เทานัน้ ทีเห็ ่ นแนวโนมของการใช ทรัพยากรจะเปนไปในลักษณะนี้ นักปรัชญาในอดีตอยาง เชน Aristotle หรือ Thomas Hobbs หรือนักวิชาการ ใน ชวง ทศวรรษ ที่ 1970-80 ก็ มี ความ เห็น ในทำนอง เดียวกัน กลาวคือ หากมีคนจำนวนหนึ่งสามารถเขาถึง ทรัพยากร รวม ได อยาง เสรี ปริมาณ ทรัพยากร ที่ ถูก ใช ประโยชนจะมากเกินกวาระดับที่เหมาะสมและนำไปสู การสูญสลายของทรัพยากรนั้นเปนแน (Clark 1976, 1980; Dasgupta and Heal 1979; Gordon 1954 อางอิงจาก Ostrom 1990) นอกจากนี้ แนวคิดนี้ถูกนำ ไปใชอธิบายปรากฏการณตางๆ ทีเป ่ นโศกนาฏกรรมของ ทรัพยากรชนิดตางๆ เชน ฝน ไมฟน จนถึงปญหาความ รวมมือระหวางประเทศ คำ อธิบาย ทาง เศรษฐศาสตร ของ ปรากฏการณ นี้มักใชทฤษฎีเกม (Game Theory) กรณี Prisoner Dilemma (PD) กลาวคือ ในสถานการณทีผู่ ต องหา 2 คน ที่รวมมือกันกระทำความผิดและถูกตำรวจสืบสวนแบบ


18

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

แยกหอง แตละคนมีทางเลือก 2 ทาง คือ จะสารภาพ หรือไมสารภาพ ทางเลือกที่ดีที่สุดคือ ไมสารภาพทั้งคู เพราะตำรวจจะไมสามารถเอาเรือ่ งไดหรืออยางนอยก็ได รับโทษสถานเบา แตถาหากคนใดคนหนึ่งสารภาพ คนที่ สารภาพจะไดรับโทษสถานเบาในขณะคนที่ไมสารภาพ จะไดรับโทษอยางหนัก และหากสารภาพทัง้ คู ก็จะไดรับ โทษหนักเชนกัน แตนอยกวากรณีทีไม ่ สารภาพแตอีกฝาย หนึ่งสารภาพ ในกรณีที่ตางฝายไมสามารถสื่อสารกันได ตางฝายตางตองเลือกที่จะสารภาพแนนอน เพราะตาง ฝายตางไมรูวาอีกฝายจะสารภาพหรือไม หากตนเลือก ที่จะไมสารภาพอาจไดรับโทษหนักได เมื่อทั้งสองฝาย สารภาพ ทั้งคูก็ตองรับโทษสถานหนัก แทนที่จะไดรับ โทษสถานเบาหากไมสารภาพทั้งคู ใน กรณี การ จัดสรร ทรัพยากร รวม Hardin ยก ตัวอยางวา สมมุติวามีคนเลี้ยงสัตว 2 คน แตละคนมีฝูง สัตวของตน ทุงหญามีศักยภาพในการรองรับฝกสัตวได L ตัว ฉะนั้น ถาใหพอดี แตละคนควรจะเลี้ยงสัตว L/2 ตัว ไดผลผลิตคนละ 10 หนวย ก็จะทำใหสามารถใช


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

19

ทุง หญานีเลี ้ ย้ งสัตวไดตอไปเรือ่ ยๆ แตหากคนหนึง่ เลือกที่ จะเลีย้ ง L/2 ตัว แตอีกคนกลับเพิม่ จำนวนมากขึน้ เรือ่ ยๆ ประโยชน ก็ จะ ตก อยู กับ คน นั้น สมมุติ วา 11 หนวย ในขณะที่คนที่เลี้ยง L/2 ก็จะไมไดประโยชน พรอมทั้ง เสียทุงหญาไปดวย สมมุติวา −1 หนวย และทายที่สุด หากทัง้ สองคนตางเลือกทีจะ ่ เลีย้ งสัตวมากทีส่ ดุ ทีเป ่ นไป ได ทั้งสองคนจะไมไดผลผลิตอะไรเลย (0 หนวย) หาก คนเลีย้ งสัตวทัง้ สองคนไมสามารถเจรจาตกลงกันได ตาง คนตางยอมเลีย้ งสัตวใหมากทีส่ ดุ เพราะไมรวู าอีกฝายจะ หักหลังดวยการเลี้ยงสัตวเพิ่มมากขึ้นหรือไมและเทาใด สิง่ นีถื้ อเปน ความขัดกันของความมีเหตุมีผล (Dilemma of Rationality) คือ การกระทำอยางมีเหตุมีผลในระดับ ปจเจกกลายเปนความไมมีเหตุผลเลยหากมองในระดับ สังคมสวนรวม ซึ่งทางเลือกที่มีเหตุมีผล ไดแก แตละคน เลือกเลี้ยงสัตว L/2 ตัว สาร ที่มา จาก แนวคิด นี้ ทำให ผู กำหนด นโยบาย หลงเขาใจวา ไมควรปลอยใหทรัพยากรเปนทรัพยสิน สาธารณะไดเลย เพราะปจเจกชนจะตกอยูภาย  ใตกับดัก


20

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ของความมีเหตุมีผลและจะใชประโยชนจากทรัพยากรจน สูญไปอยางแนนอน วิธีการเดียวสำหรับการดูแลจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติคือ การแทรกแซงและควบคุมจาก ภายนอก ผานกลไกอยางนอย 2 ประการ คือ 1) การ ดูแลควบคุมโดยตรงจากรัฐ หรือ 2) การใหสัมปทาน กับเอกชน สำหรับวิธีการแรก การควบคุมโดยรัฐนั้นมาจาก ความเชื่อที่วาหากเราปลอยใหปจเจกชน ผูใชทรัพยากร ทำการใชทรัพยากรโดยไมมีการควบคุม ทรัพยากรจะ ถูก ใช จน หมด สิ้น ฉะนั้น รัฐ ควร จะ มี บทบาท เปน แรง บังคับจากภายนอกใหปจเจกชนเลือกทางเลือกทีถู่ กตอง และลงโทษหากมีการทำผิดกติกา อยางไรก็ดี แนวคิดนี้ อยูบนฐานความเชื่อวารัฐมีขอมูลสมบูรณและสามารถ บังคับใชกฎกติกาไดอยางแมนยำและทั่วถึง ซึ่งในความ เปน จริง แลว หา เปน เชน นั้น ไม เพราะ รัฐ คอน ขาง ออน ประสิทธิภาพ ใน การ บังคับ ใช กติกา และ ใน บาง กรณี กลับลงโทษคนที่ทำตามกติกา ในขณะที่ไมสามารถจับ และ ลงโทษ คน ที่ ไม ทำตา มก ติ กา ได ทาย ที่สุด แลว จึง


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

21

ไมมี คน ทำตา มก ติ กา และ ทรัพยากร ก็ ตก อยู ใน สภาพ เปดกวาง ไมมีกรรมสิทธิ์ และจบลงดวยโศกนาฏกรรม ขางตนเชนเดิม สวน วิธี การ ที่ สอง หรือ การ ให สัมปทาน นั้น ก็ คือ การที่รัฐแกปญหาของทรัพยากรรวมโดยการทำให กลาย เปน สินคา เอกชน โดย การ มอบ สิทธิ์ ให แก เอกชน หนึ่ง (บุคคล หรือบริษัทเอกชน) ใหทำการใชประโยชน และ ดูแล รักษา ไป เลย โดย เชื่อวา เมื่อ กลาย เปน สินคา ของเอกชนแลว เอกชนจะมีแรงจูงใจในการดูแลรักษา ระบบทรัพยากรนั้นใหอยูในสภาพดี การใหสัมปทานมี ขอดีตรงที่ตัดปญหาของทรัพยากรรวมไปได แตขอเสีย คือ หากธรรมชาติของทรัพยากรรวมมีความไมแนนอน ก็เปนหนาที่ของเอกชนที่จะตองแขงกับธรรมชาติแทน เชน ทุง หญาเลีย้ งสัตวถูกแบงเปนสองสวนใหคนเลีย้ งสัตว แตละคน แตทุงเลี้ยงสัตวนี้บางฤดูฝงหนึ่งมีหญา ฝงหนึ่ง แหงแลงสลับกันไป ถาปไหนรายใดโชครายที่พื้นที่ของ ตนแหงแลงก็อาจขาดทุนจนไมสามารถเลี้ยงสัตวไดอีก นอกจากนี้ ประสบการณจริงในประเทศตางๆ ก็พิสูจน


22

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ใหเห็นแลววา การใหสัมปทาน หรือแมแตการดูแลโดย รัฐเอง ก็ไมไดชวยใหการอนุรักษทรัพยากรรวมเปนไป อยางมีประสิทธิภาพแตอยางใด

1.3 ÁØÁÁͧãËÁ‹áÅÐÊÔ่§·Õ่à¡Ô´¢Ö้¹¨ÃÔ§ã¹ÀҤʹÒÁ

องค ความ รู ดั้ ง เดิ ม นั้ น ตั้ ง อยู บน ข อ สมมุ ติ บาง ประการของวิชาเศรษฐศาสตร ไดแก ความมีเหตุมีผล ในทางเศรษฐศาสตร (Rationality) ความสมบูรณของ ขอมูลขาวสาร (Perfect Information) ความสัมพันธ ของการกระทำของผูคน รวมถึงความแนนอนคงที่ของ สภาพ แวดลอม (Certainty) เปนตน กลาว โดย สรุป องค ความ รู ดั้งเดิม ดาน นี้ เชื่อ วา ผู ใช ทรัพยากร มี เหตุ มี ผล ใน ทาง เศรษฐศาสตร หาก การก ระ ทำ ใด ทำให ได ประโยชนมากกวาตนทุน เขายอมเลือกทีจะ ่ กระทำสิง่ นัน้ การกระทำของแตละคนแยกขาดออกจากกันไมสัมพันธ กัน ขอมูลขาวสารมีความสมบูรณ สภาพแวดลอมที่คน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

23

เหลานี้อาศัยและกระทำการตางๆ นั้นมีความแนนอน หากพิจารณาภายใตเงือ่ นไขเหลานี้ โศกนาฏกรรม ของทรัพยากรรวมก็จะเกิดขึน้ ปจเจกชนผูใช  ทรัพยากรจะ ไมสามารถหลุดออกจากกับดักของความขัดกันของความ มีเหตุมีผลได การแทรกแซงจากภายนอกไมวาจะจากรัฐ นักวิชาการ หรือนักพัฒนา จึงเปนสิ่งจำเปน การควบคุม ดูแลจากรัฐก็จะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสามารถ บังคับใชกฎกติกาการใชทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ เอกชนที่ไดรับสัมปทานก็จะใชประโยชนจากทรัพยากร และดูแลระบบทรัพยากรตามที่ไดสัญญากันไว อยางไรก็ดี ตลอดชวงเวลาที่ผานมา นักวิชาการ จำนวนมากในหลากหลายสาขาใหความสนใจศึกษาวา แทจริงแลว ผูใชทรัพยากรตกอยูภายใตกับดักของความ มี เหตุ มี ผล จริง หรือ ไม งาน ศึกษา จำนวน มาก เกี่ยว กับ การจัดการทรัพยากรขนาดเล็กและขนาดกลางพบวา ใน หลายกรณี ผูใชทรัพยากรสามารถจัดการทรัพยากรรวม ไดอยางมีประสิทธิภาพ Schlager (1994 อางอิงจาก Ostrom 2010) และการจัดการทรัพยากรโดยภาครัฐ


24

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

จะ มี ประสิทธิภาพ ต่ำ กวา การ จัดการ โดย องคกร ชุมชน Blomquist และคณะ (1994 อางอิงจาก Ostrom 2010) พบวา โครงสรางการจัดการทรัพยากรรวมที่ออกแบบ โดยผูใช  เองมีแนวโนมทีจะ ่ มีประสิทธิภาพมากกวาเชนกัน อยางไรก็ดี เนือ่ งจากกรณีศึกษาเหลานีกระจั ้ ดกระจายอยู ตามสาขาตางๆ และไมมการ ี รวบรวม กรณีโศกนาฏกรรม จึงไดรับความสนใจมากกวา จนกระทั่งหลังป 1986 หลังการประชุมวิชาการของ National Academy of Sciences ในสหรัฐอเมริกาในหัวขอเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรกรรมสิทธิร์ วม (Panel on Common Property Resource Management) ทีมของ Ostrom ที่ Indiana University จึงไดทำการรวบรวมกรณีศึกษาเหลานี้จาก หลากหลายสาขาและสังเคราะหกรณีศึกษาเหลานี้ งาน ของ Ostrom ก็อยูบนฐานของชุดขอมูลนี้เชนกัน Ostrom (1990) เห็นวาสภาพความเปนจริงเชิง ประจักษแตกตางอยางมากกับองคความรูดั้งเดิมเพราะ องคความรูดั้งเดิมนั้นมีขอสมมุติเกี่ยวกับปจเจกชนและ สถานการณที่ปจเจกชนเผชิญที่แคบเกินไป กลาวคือ ผู


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

25

ใช ทรัพยากร อยู ใน สภาพ แวดลอม ที่ ไม แนนอน มี การ เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ พวกเขายังมีเหตุ มีผลจำกัด เนื่องจาก มีความรูเกี่ยวกับสภาพแวดลอม และผูใช  ทรัพยากรคนอืน่ อยางจำกัด แตเพราะวาพวกเขา เรียนรูได  และพยายามทีจะ ่ หาทางออกทีดี่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เมือ่ มีโอกาส ฉะนั้น ผูใชทรัพยากรในชุมชนเดียวกันและอยู กับทรัพยากรมานานยอมมีความรูเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ และ ผูคน ที่ มาก พอ จะ มี แนว โนม ที่ จะ สามารถ จัดการ ทรัพยากร รวม ได อยาง มี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ขึ้น อยู กับ สถานการณที่ผูใชทรัพยากรเหลานั้นกำลังเผชิญอยูดวย หากพวกเขากำลังเผชิญสภาวะวิกฤติทางดานเศรษฐกิจ สังคมเปนการสวนตัว เขาอาจตัดสินใจไมดูแลทรัพยากร และเลือกทางเลือกทีจะ ่ ใชทรัพยากรอยางสิน้ เปลืองแทน ก็ได หรือพูดอีกอยางหนึ่งคือ ถาอัตราคิดลด (Discount Rate) ในการใชทรัพยากรของผูใชทรัพยากรสูงขึ้นก็อาจ จะ ทำให พวก เขา เลือก ที่ จะ ใช ทรัพยากร อยาง ไม ยั่งยืน แทนที่ จะ รวม กัน ใช ประโยชน จาก ทรัพยากร ใน แบบ ที่ ยั่งยืนกวา


26

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

นอกจากนี้ ผูใชทรัพยากรยังมีพฤติกรรมที่มีแนว โนมจะปฏิบัติตามบรรทัดฐาน (Norm) ของชุมชนที่ตน อยู ดวย บรรทัดฐาน เปน มาตรการ ที่ กำกับ พฤติกรรม ของผูใชทรัพยากรวาสิ่งใดคือสิ่งที่ถูก ควรทำ ควรอยูใน ชุดทางเลือกของการกระทำที่จะเลือกทำ สิ่งใดเปนสิ่งที่ ผิด ไมควรทำ ไมควรอยูในชุดทางเลือกของการกระทำ เลย การมีพฤติกรรมที่สอดคลองกับบรรทัดฐานนี้ทำให เห็นวาหากมีการตัง้ กฎกติกาบางอยางขึน้ และชุมชนผูใช  ทรัพยากรนัน้ มีบรรทัดฐานทีให ่ ความสำคัญกับการรักษา คำพูด ปฏิบตั ตาม ิ กติกา ก็มีความเปนไปไดวาหากกติกา ที่รางขึ้นมามีประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากร การ จัดการนั้นก็มีโอกาสที่จะสัมฤทธิ์ผลมาก แตหากชุมชน มีบรรทัดฐานในแบบทีหา ่ ประโยชนใสตัวและฉวยโอกาส ก็ยากที่การจัดการทรัพยากรจะสัมฤทธิ์ผลได เมื่อผูใช ทรัพยากรปฏิบัติตามกฎเปนเวลานานเขามีโอกาสที่จะ รับเอากติกานั้นเขามาเปนบรรทัดฐานภายในตัวของเขา (Internal Norm) อยางไรก็ดี เปนความจริงที่ในทุกๆ สังคม ยอม มี ทั้งคน ดี และ คน ไม ดี กลไก การ ตรวจ ตรา


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

27

(Monitoring) และการลงโทษทางสังคม (Social Sanction) จึงมีบทบาทมากในการทำใหการจัดการทรัพยากร มีประสิทธิภาพ พูดอีกแบบหนึ่งคือ Ostrom ไดขยายขอสมมุติ เกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชทรัพยากรใหกวางขึ้นไปกวา ขอ สมมุติ เกี่ยว กับ พฤติกรรม มนุษย ใน เศรษฐศาสตร กระแสหลักมาตรฐาน โดยการตัดสินใจทำสิ่งตางๆ ของ ปจเจกชนมิไดเปน ผลมาจากการเทียบกันระหวางผลได และ ตนทุน ที่ เปน เงื่อนไข และ อัตรา คิด ลด สวน บุคคล เทานั้น ยังมีบรรทัดฐานภายใน และการเรียนรูจากผล ของการกระทำที่จะชวยทำใหขอมูลเกี่ยวกับตนทุนและ ผล ไดที่ คาด หวัง ได จาก การก ระ ทำ ชัดเจน ขึ้น หรือ นำ ไปสูการสรางทางเลือกใหมที่จะใหผลดีกวาไดดวย ดัง แผนภาพที่ 1 ที่แสดงขางลางนี้


28

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 1: กระบวนการตัดสินใจของปจเจกชน External world Internal world

Expected benefits

Choice of strategies

Internal norms Discount rate

Outcomes

Expected costs

·Õ่ÁÒ: Ostrom 1990 หนา 37

การ ทดลอง ใน หอง ทดลอง และ ภาค สนาม จริงๆ ก็พบวา ปจเจกชนสามารถแกไขปญหาความขัดกันของ ความมีเหตุมีผลได การสื่อสารกันตอหนาเพื่อนัดแนะ หรือตกลงกติกามีสวนชวยในการแกไขปญหานี้ นอกจาก นี้ ผูเขารวมการทดลองยังยินดีแบงทรัพยากรสวนหนึ่ง เพื่อการตรวจตราดูแลและลงโทษใหความรวมมือเปน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

29

ไป ตาม ที่ ตกลง กัน อีก ดวย หาก ผู เขา รวม การ ทดลอง มี ลักษณะ ตาม ขอ สมมุติ ของ องค ความ รู ดั้งเดิม ยอม มี พฤติกรรมในทางตรงกันขาม คือไมยินดีแบงทรัพยากร เพื่อ ตรวจ ตรา และ จะ หัก หลัง ตั้งแต เริ่ม ตน Ostrom (2010) เห็นวา พฤติกรรมแบบ Prisoner Dilemma (PD) นั้นเปนเพียงกรณีพิเศษที่จะเกิดขึ้นเมื่อปจเจกชน ไมรูจักกันและไมสามารถสื่อสารกันได ซึ่งหากพวกเขา สามารถ สื่อสาร กัน ได เขา ยอม สามารถ ออกแบบ และ สรางขอตกลงที่จะทำใหพวกเขาไดผลประโยชนรวมกัน เพิ่มขึ้นได ยิ่งไปกวานั้นการทดลองภาคสนามยังพบวา การ บังคับ ใช กติกา ที่มา จาก ภายนอก จะ มี ผล ลด ความ รวมมือกันโดยสมัครใจของชุมชนอีกดวย สภาพแวดลอมที่ผูใชทรัพยากรเผชิญยังมีความ สลับซับซอนและมีความเชื่อมโยงกันทั้งในเชิงนิเวศและ ในเชิงสังคม การกระทำหนึ่งๆ ของผูใชทรัพยากรยอม สงผลกระทบกับบริบทตางๆ ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ระบบทรัพยากร และตัวทรัพยากรเอง จาก แผนภาพ ที่ 2 การ ปฏิ สั ม พั น ธ และ ผลลั พ ธ ของ ผู ใช


30

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ทรัพยากรจะสงผลตอทั้งระบบทรัพยากร (Resource System) ตัวทรัพยากร (Resource Unit) ระบบการ จัดการ และตัวผูใช สิ่งตางๆ เหลานี้จะสงผลยอนกลับ ไปทีการ ่ ปฏิสมั พันธและผลลัพธของการกระทำนัน้ ๆ ใน ขณะเดียวกันการปฏิสัมพันธและผลของการกระทำนี้ยัง มีความเชื่อมโยงกับบริบทที่ใหญกวานั้นคือ ระบบนิเวศ ที่ทรัพยากรตั้งอยูหรือเกี่ยวของดวย และบริบททางดาน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ซึง่ ความเปลีย่ นแปลงในบริบท ที่ใหญกวาทั้งสองนี้ก็ยอมสงผลตอการจัดการทรัพยากร อยางเลี่ยงไมได


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

31

á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 2: สถานการณการจัดการทรัพยากรตั้งอยู

ในระบบนิเวศและสังคมที่กวางกวา Social, economics, and political settings (S)

Resource system (RS)

Governance system (GS)

Action Situation Interactions (I)

Outcomes (O)

Users (U)

Resource units (RU)

Feedback

Direct casual link Related ecosystems (ECO)

·Õ่ÁÒ: Ostrom 2010 หนา 663

จากมุมมองใหมดังกลาวทำให Ostrom (1990, 2010) ย้ำวา การจัดการทรัพยากรนั้นสามารถเปนไป ได และมีประสิทธิภาพดีกวา หากการจัดการและกฎ กติกาในการจัดการนัน้ ดำเนินการโดยผูใช  ทรัพยากรอยาง


32

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

สมัครใจเอง ทั้งนี้เนื่องจากในความเปนจริง คนสามารถ รวมมือกันเพื่อใหบรรลุเปาหมายรวมที่ดีสำหรับทุกฝาย ไดหากมีโอกาสไดคุยกัน และเนื่องจากผูใชทรัพยากร มี ความ รู ใน เชิง พื้นที่ ของ ระบบ นิเวศ และ รูจัก กับ ผู ใช ทรัพยากรคนอื่น ทำใหสามารถออกแบบกติกาที่เปนที่ ยอมรับและเหมาะกับบริบทในพื้นที่ดวย อย า งไร ก็ ดี ไม จำเป น เสมอ ไป ที่ การ จั ด การ ทรัพยากรโดยชุมชนจะตองมีประสิทธิภาพหรือสัมฤทธิ์ ผลเสมอไป การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนทีล่ มเหลวก็มี ใหเห็นไมนอย สิ่งที่ Ostrom ศึกษาก็คือ อะไรเปนปจจัย ทีทำให ่ การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนผูใช  ทรัพยากรนัน้ สำเร็จและดำรงอยูไดนาน อันจะเปนประเด็นหลักใน หัวขอถัดไป อนึ่ง คุณูปการของ Ostrom ในเชิงวิชาการ นัน้ มิใชเพียงกรอบการวิเคราะหและบทเรียนทีได ่ จากการ เรียนรูกรณีศึกษาที่จะกลาวตอไปนี้เทานั้น แตเธอยังได เสนอกรอบการวิเคราะหและคาดการณการเปลีย่ นแปลง เชิง สถาบัน (Institutional Change) ของ ชุมชน ผู ใช ทรัพยากร และประเด็นดานวิธีวิทยา (Methodology)


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

33

เอา ไว อีก ดวย อยางไร ก็ ดี บทความ นี้ จะ ไม พิจารณา ใน 2 ประเด็นหลังเนื่องจากเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับ นักวิชาการที่จะทำการศึกษาเรื่องนี้มากกวาจะที่จะเปน ประโยชนในเชิงการใหความรูทั่วไปและเชิงนโยบาย

2. »ÃÐʺ¡Òó ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È Ostrom ไดศึกษาชุมชนผูใช  ทรัพยากรจำนวนมาก จากทั่วโลกพรอมสกัดบทเรียนเปนองคความรูที่สำคัญ ผูเขียนขอนำเอาองคความรูและหลักการที่ Ostrom ได นำเสนอไวในหนังสือและบทความของเธอในป 1990 และ 2010 มานำเสนอ โดยจะกลาวถึงความรูพื้นฐาน เกี่ยว กับ การ จัดการ ทรัพยากร ตาม ดวย ความ เขาใจ เกี่ยว กับ ระดับ ตางๆ ของ กฎ กติกา ที่ เกี่ยวของ กับ การ จัดการทรัพยากร ประเภทของกรรมสิทธิ์ในการจัดการ ทรัพยากร และหลักการในการออกแบบกติกาวาดวย การจัดการทรัพยากร ซึง่ เปนบทเรียนสรุปจากกรณีศึกษา


34

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ตางๆ ในตอนทายจะกลาวถึงแนวโนมของการศึกษาดาน นี้ ซึ่งกำลังมุงไปใหความสำคัญกับเรื่องความสามารถใน การกลับสูสภาพ  เดิม (Resilience) และความสามารถใน การปรับตัว (Adaptive Capacity)

2.1 Åѡɳо×้¹°Ò¹áÅÐμÑÇÅФ÷Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº ·ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁáÅСÒèѴ¡ÒÃ

ทรัพยากรรวมที่ Ostrom สนใจศึกษาและกลาว ถึงในรายงานนี้เปนทรัพยากรรวมที่สามารถเกิดขึ้นใหม ได (Renewable) ตัวทฤษฎีไมไดพูดถึงทรัพยากรที่ใช แลวหมดไป (Non-renewable) ทีด่ นิ ทำกินและปาชุมชน จัดอยูในสวนของทรัพยากรรวมที่เกิดขึ้นใหมได กลาว คือ ที่ดินทำกินนั้นเปนทรัพยากรที่เกิดขึ้นใหม ไดหาก พิจารณาในแงของหนาดินและสารอาหารที่จำเปนตอ การเจริญเติบโตของพืช หรือพูดรวมๆ คือผลิตภาพของ ผืนดินในการสรางผลิตผลทางการเกษตรนัน่ เอง สวนปา


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

35

นั้นคอนขางชัดเจนวาเปนทรัพยากรรวมที่เกิดขึ้นใหม ลั ก ษณะ สำคั ญ ประการ หนึ่ ง ที่ เกี่ ย วข อ ง กั บ ทรัพยากร รวม ที่ เกิด ขึ้น ใหม ได และ เกี่ยวของ กับ การ จัดการทรัพยากร ก็คือ ทรัพยากรรวมมีองคประกอบ สำคัญ 2 ประการ คือ ระบบทรัพยากร (Resource System) กับตัวทรัพยากรเองที่คนเก็บเกี่ยวไปใชเพื่อ การบริโภค (Resource Unit) ระบบทรัพยากรมีลักษณะ เปน Stock ของทรัพยากรที่จะตองดำรงอยูเพื่อใหเกิด การผลิตตัวทรัพยากรออกมาได เชน จำนวนปลาในฝูง ทีจะ ่ ทำใหอัตราการเกิดของปลาคงทีหรื ่ อเพิม่ ขึน้ ปาชาย เลนและพืชทีเกี ่ ย่ วของทีจะ ่ เปนระบบอนุบาลใหชาวบาน สามารถเก็บเกี่ยวไมฟนและสัตวน้ำตางๆ ในบริเวณปา ชายเลน สวนตัวทรัพยากรมีลักษณะเปน Flow ทีม่ าจาก ระบบทรัพยากร สวนนีคื้ อสวนทีชาว ่ บานจะเก็บเกีย่ ว ยก ตัวอยางเชน ในกรณีของปาชายเลน การทีชาว ่ บานไปรวม กันดูแลรักษา ปกรัว้ แตงกิง่ คือการดูแลระบบทรัพยากร ในขณะทีการ ่ กำหนดกติกาการเก็บเกีย่ วเปนเรือ่ งของการ กำหนดกติกาทีเกี ่ ย่ วกับตัวทรัพยากร ระบบทรัพยากรกับ


36

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ตัวทรัพยากรไมจำเปนจะตองเปนสิ่งเดียวกันก็ได ผูที่เกี่ยวของกับการจัดการและใชประโยชนจาก ทรัพยากร รวม มี อยู หลาย ตำแหนง แตละ ตำแหนง มี บทบาทแตกตางกันไป บางคนอาจจะมีหลายบทบาท ก็ได บทบาทดังกลาวเชน - ‘ผูใช’ (Appropriator) ในที่นี้หมายถึงผูเก็บเกี่ยว ตัวทรัพยากรไปเพือ่ ใชประโยชน อาจจะหมายถึงคนเลีย้ ง สัตว ชาวประมง ผูใชน้ำชลประทาน หรือใครก็ตามที่ใช ตัวทรัพยากรจากระบบทรัพยากร ผูใชทรัพยากรอาจใช ทรัพยากรทีเก็ ่ บเกีย่ วไดเพือ่ การบริโภคหรือการผลิตของ ตน หรือจะถายโอนกรรมสิทธิให ์ แกคนอืน่ ตอไป ขอบเขต ของผูใช  ทรัพยากรในทฤษฎีของ Ostrom นีไม ้ ครอบคลุม ถึงผูใชทรัพยากรที่มีอำนาจในตลาดสินคาและบริการ หรือมีผลตอสิ่งแวดลอมนอกบริบทของทรัพยากรรวม ที่พิจารณา - ‘ผูจัดการ’ (Provider) คือ ผูเปนเจาภาพจัดการ ใหเกิดการจัดการทรัพยากร อาจจะเปนผูใชเอง เปนรัฐ เปน NGO ทีเป ่ นผูประสาน  งานใหเกิดการออกกฎกติกา


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

37

การบำรุงรักษาระบบทรัพยากร - ‘ผูผลิต’ (Producer) คือ ผูทำหนาที่จริงในการ สราง ซอม ทำนุบำรุงระบบทรัพยากร ผูจัดการและผูใช อาจจะเปนคนคนเดียวกันหรือไมก็ได สิ่ง ที่ ควร เนน ย้ำ ก็ คือ ผู ใช ทรัพยากร สามารถ ใช ระบบ ทรัพยากร รวม กัน ได เชน ชาว บาน ทั้ง หมูบาน สามารถ ใช ป า ชุ ม ชน ร ว ม กั น ได แต ไม สามารถ ใช ตั ว ทรัพยากรรวมกันได เชน ถานาย ก ตัดไมไปทำฟนแลว ไมที่ถูกตัดไปนั้นก็ถูกใชไปแลว นาย ข ไมสามารถตัดไม ตนนั้นมาทำฟนไดอีก เนือ่ งจากตัวทรัพยากรนัน้ ไมสามารถถูกผลิตออก มาไดหากไมมีระบบทรัพยากร ฉะนั้น การดูแลรักษา ระบบทรัพยากรจึงเปนสิง่ สำคัญทีควร ่ ทำ อยางไรก็ดี คน ยอมขาดแรงจูงใจที่จะดูแลรักษาระบบทรัพยากร หาก ไมสามารถกีดกันคนที่ไมไดมี สวนรวมกับการแบงเบา ภาระการดูแลรักษาจากการใชทรัพยากรในระบบได ใน แงนี้ระบบทรัพยากรมีลักษณะเหมือนสินคาสาธารณะ ใน ระดับ ชุมชน ที่ เผชิญ ปญหา การ กีดกัน ผู ใช ประโยชน


38

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ในขณะเดียวกัน ตัวทรัพยากรที่ถูกใชประโยชนก็จำเปน ตองมีการจัดการที่เปนธรรมเชนกัน เพราะเนื่องจากตัว ทรัพยากรจะมีลักษณะเหมือนกับสินคาเอกชนมากกวา การ จัดสรร ตัว ทรัพยากร ที่ ไม เปน ธรรม ก็ สง ผล ตอ แรง จูงใจของผูใช  ทรัพยากรในการมีสวนรวมบำรุงรักษาระบบ ทรัพยากรเชนกัน แตกลไกในการจัดสรรตัวทรัพยากรก็มี ความแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิสังคม

2.2 ¡®¡μÔ¡Ò㹡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡêØÁª¹

จากกรณีศึกษาตางๆ พบวา กติกาในการจัดการ ทรัพยากรชุมชนนั้นมีความซับซอนในตัวของมัน กลาว คือ กติกามีอยูอยางนอย 3 ระดับ ไดแก 1) กติการะดับปฏิบัติการ (Operational Rules) คือ กติกาทีผู่ ใช  ทรัพยากรจะตองเผชิญทุกๆ วัน เปนกติกา ที่กำหนดวา ผูใชทรัพยากรสามารถใชเครื่องมืออะไรใน การใชประโยชนจากทรัพยากร ใชประโยชนไดเมื่อใด ใน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

39

ปริมาณเทาไร เปนตน 2) กติกากำกับทางเลือกรวม (Collective-Choice Rules) เปนก ติ กา ที่ ใช โดย ผู ใช ทรัพยากร ผู มี อำนาจ ภายนอก หรือเจาหนาทีใน ่ การออกนโยบายวาทรัพยากร จะถูกบริหารจัดการอยางไร กติการะดับนี้จะมีผลทาง ออมตอกติกาในระดับปฏิบัติการ 3) กติการะดับธรรมนูญ (Constitutional Rules) เปนกติกาที่กำหนดวาใครบางที่มีสิทธิ์เขามามีสวนรวม ในการกำหนดกติกากำกับทางเลือกรวมบาง และกติกา ที่ใชในการออกแบบและสรางกติกากำกับทางเลือกรวม นอกจากนี้ ยังมีผลทางออมเชนกัน ลักษณะของสิทธิ์ที่สืบเนื่องมาจากกติกาขางตน นัน้ จากกรณีศึกษาตางๆ Ostrom พบวาสามารถจำแนก สิทธิ์ในการจัดการทรัพยากรออกเปน 5 ประเภท ดังนี้ 1) สิทธิ์ในการเขาใชทรัพยากร (Access) 2) สิทธิ์ในการใชประโยชนจากระบบทรัพยากร (Withdrawal) 3) สิทธิในการจัดการ (Management) คือ สิทธิ์


40

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ทีอนุ ่ ญาตใหผูมี สิทธิสามารถ ์ ปรับเปลีย่ นสภาพของระบบ ทรัพยากรได รวมถึงกำหนดรูปแบบการใชประโยชนจาก ทรัพยากรดวย 4) สิทธิ์ ใน การ กีดกัน (Exclusion) คือ สิทธิ์ ที่ กำหนด ว า ใคร สามารถ เข า ใช ประโยชน จาก ระบบ ทรัพยากรไดหรือไมได 5) สิทธิ์ในการขายหรือใหยืมสิทธิ์ทั้ง 4 ประเภท กอนหนานี้ ซึ่งสิทธิแตละประเภทนั้น ผูกำหนดอาจไม จำเปนตองเปนกลุมเดียวกันก็ได เชน สิทธิบางประเภท ชุมชนอาจเปน ผูกำหนด ในขณะที่สิทธิอีกประเภทอาจ ถูกกำหนดโดยเจาหนาที่ รัฐ เปนตน

2.3 ËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻ¡μÔ¡Ò㹡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂÒ¡Ã (Design Principle)

Ostrom พยายาม ค น หา กฎ กติ ก า สากล บาง ประการจากกรณีศึกษาเพื่ออธิบายวา เพราะเหตุใดการ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

41

จัดการทรัพยากรของชุมชนผูใชทรัพยากรในพื้นที่ตางๆ จึงประสบความสำเร็จ อยางไรก็ดี ความพยายามไมเปน ผล เธอจึงเปลีย่ นโจทยมาทำความเขาใจและหาลักษณะ รวม ใน เชิง สถาบัน ของ ชุมชน ผู ใช ทรัพยากร ที่ ประสบ ความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร ซึ่งมีลักษณะคงทน ถาวรและยั่งยืน ลักษณะรวมที่วานี้ เรียกวา หลักการ ออกแบบกติกา (Design Principle) เธอนำเสนอหลักนี้ ใน Ostrom (1990 และ 2005) และไดรับการพัฒนาตอ จากนักวิชาการรุน หลัง (Cox, Arnold, and VillamayorTomas 2009 - อางอิงจาก Ostrom 2010 หนา 653) หลักการออกแบบกติกามีทั้งสิ้น 8 ประการ ไดแก ประการแรก ความชัดเจนของขอบเขต (Boundaries) ขอบเขตในที่นี้มี 2 สวนคือ 1) ขอบเขตเกี่ยวกับผูใช คือ ชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร สามารถแยกแยะกันเองในชุมชนไดวาใครคือคนที่มีหรือ ไมมสิี ทธิใน ์ ทรัพยากรนัน้ และ 2) ขอบเขตของทรัพยากร คือ ทรัพยากรที่ถูกจัดการนั้นมีขอบเขตชัดเจน สามารถ แยกแยะไดระหวางขอบเขตของระบบทรัพยากรที่ชุมชน


42

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ดูแลกับระบบนิเวศเชิงสังคมที่ใหญกวานั้น ประการที่สอง ความสอดคลอง (Congruence) มี 2 สวนเชนกัน คือ 1) ความสอดคลองระหวางกติกา วาดวยการใชประโยชนจากทรัพยากร และบำรุงรักษา ระบบทรัพยากรกับเงื่อนไขทางสังคมและสิ่งแวดลอมใน พื้นที่ 2) ความสอดคลองกันระหวางประโยชนที่สมาชิก จะไดตองสอดคลองกับตนทุนที่ลงไปดวย ประการที่สาม คนสวนใหญที่ไดรับผลจากการ จัดการ ทรัพยากร มี สิทธิ์ รวม ตัดสิน ใจ และ ปรับปรุง กฎ กติกา ใน การ จัดการ ทรัพยากร (Collective Choice Arrangements) ประการที่สี่ การสอดสองดูแล (Monitoring) มี 2 สวนดังนี้คือ 1) มีการสอดสองดูแลพฤติกรรมการ ใช ประโยชน จาก ทรัพยากร และ การ บำรุง รักษา ระบบ ทรัพยากรของผูใช  ทรัพยากรวาเปนไปตามกติกาทีวาง ่ ไว หรือไม และ 2) มีการสอดสองดูแลสภาพของทรัพยากร อยางสม่ำเสมอ ประการที่หา การลงโทษอยางคอยเปนคอยไป


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

43

(Graduated Sanctions) คือ หากสอดสองดูแลแลว พบผูกระทำผิด การลงโทษในครั้งแรกๆ จะคอนขางเบา มาก ในขณะที่การลงโทษผูกระทำผิดละเมิดกฎซ้ำซาก จะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ประการ ที่ หก มี กลไก ใน การ จั ด การ ความ ขั ด แยง (Conflict Resolution Mechanisms) ชุมชนที่ ประสบความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรจะมีกลไก ในการจัดการความขัดแยงระหวางผูใช  กันเองหรือผูใช  กับ เจาหนาที่รัฐที่รวดเร็วและมีตนทุนต่ำ ประการ ที่ เจ็ด รัฐบาล รับ รู และ ให สิทธิ์ แก ผู ใช ทรัพยากรในการวางกติกาการใชและจัดการทรัพยากร (Minimal Recognition of Rights) ประการที่แปด กติกาและการจัดการทรัพยากร เชื่อมโยงและสอดคลองกับระบบที่ใหญกวา (Nested Enterprises) ทั้งนี้เนื่องจากระบบทรัพยากรและการ จัดการทรัพยากรเองก็ตัง้ อยูและ  เชือ่ มโยงกับระบบนิเวศ เชิงสังคมที่ใหญกวานั้น ระบบการจัดการและกติกาจึง จำเปนตองสอดคลองกับระบบที่ใหญกวา


44

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

จะ เห็ น ได ว า หลั ก การ 2 ข อ แรก สะท อ น ว า การ จัดการ ทรัพยากร ที่ ประสบ ความ สำเร็จ จะ มี ความ ชัดเจนในแงของผูใชและทรัพยากรที่จะถูกดูแล มีความ เหมาะสมกับสภาพของทรัพยากรและเปนธรรมกับผูใช ทรัพยากรที่เปนทั้งผูดูแลและผูไดรับผลประโยชนจาก ทรัพยากร ปจจัยที่ทำใหเกิดสิ่งเหลานี้ไดคือ ความรูทอง ถิ่น ซึ่งผูใชทรัพยากรมีเกี่ยวกับระบบทรัพยากรและผูใช ทรัพยากรคนอื่นๆ นั่นเอง หลัก การ ขอ 3 ที่ ให ผู ใช มี สวน รวม ใน การ ปรับ กฎกติกาสะทอนวา ชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการ จัดการเปดโอกาสใหผูใชทรัพยากรใชความรูที่มีในการ ปรับกติกาใหมีความชัดเจน เหมาะสมและเปนธรรม หลัก การขอ 3 นี้เชื่อมโยงกับหลักการขอ 7 คือการไดรับการ ยอมรับจากรัฐ หากรัฐไมยอมรับสิทธิ์และไมเปดโอกาส ใหผูใช  กำหนดกติกาไดเอง จะทำใหการจัดการทรัพยากร ไม สามารถ ปรับ ตัว ได ตาม การ เปลี่ยนแปลง ของ สภาพ เศรษฐกิจและสังคม ณ ขณะนั้น ซึ่งจุดนี้เปนสาเหตุให ชุมชนหลายแหงทีเคย ่ จัดการทรัพยากรไดดีประสบความ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

45

ลมเหลวในภายหลัง (Ostrom 1990 บทที่ 5) กติกาขอ 4 ถึง 6 เกี่ยวของกับการสอดสองดูแล การลงโทษ และกลไกในการจัดการความขัดแยง ซึง่ แสดง ใหเห็นวา การทีคน ่ จะตัดสินใจรวมกันลงมือลงแรงบริหาร จัดการทรัพยากรรวมนั้นตองเกิดจากความเชื่อใจกันวา อีกฝายหนึ่งจะไมผิดสัญญา กติกา 3 ขอนี้ทำใหคนใน ชุมชน สามารถ เชื่อ ใจ กัน ได วา สมาชิก จะ ทำตา มกติ กา และเนื่องดวยผูคุมกติกามักเปน ผูใชดวยกันและมีความ รูเกี่ยวกับผูใชคนอื่นๆ หากมีการละเมิดกติกาขึ้นครั้ง แรก ซึ่งอาจจะเกิดจากเหตุจำเปนในชีวิตบางประการ การลงโทษแบบคอยเปนคอยไปก็จะทำใหผูละเมิ  ดภายใต ในเงื่อนไขเชนนี้ไมเดือดรอนจนเกินไปอีกดวย กลไกการ จัดการความขัดแยงทีต่ นทุนต่ำยังทำใหการตรวจตราและ ลงโทษผูละเมิ  ดกฎเปนไปไดโดยงาย นอกจากนี้ หากเกิด ความขัดแยงขึ้นก็จะไมทำใหบานปลายจนกระทบความ สัมพันธในชุมชนและความไวเนื้อเชื่อใจกัน กรณีศึกษาที่การจัดการทรัพยากรประสบความ สำเร็ จ และ คงทน ต อ การ เปลี่ ย นแปลง ภายนอก นั้ น มี


46

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ลักษณะกฎกติกาที่สอดคลองกับหลักการขางตนทุกขอ ในขณะที่ กรณีศึกษาทีขาด ่ กลไกการจัดการความขัดแยง ไมไดรับการยอมรับจากรัฐ และไมไดเชื่อมโยงกับระบบ นิเวศ เชิง สังคมที่ ใหญ กวา จะมี ความ เปราะบาง ตอ การ เปลี่ยนแปลงและเสี่ยงตอการลมสลาย สวนกรณีศึกษา ที่ลมเหลวมีลักษณะสอดคลองกับหลักการขางตนเพียง 1 หรือ 2 ขอเทานั้น (Ostrom 1990; ตาราง 5.2 หนา 180) ขอสังเกตที่ผูเขียนเห็นวานาสนใจก็คือ แมในกรณี ศึกษาที่การจัดการทรัพยากรไดรับการยอมรับจากรัฐ มี กลไกการจัดการความขัดแยงที่ดี และผูใชทรัพยากรมี สวนรวมกับการ กำหนดกติกา แตขาดความชัดเจนใน เรื่องของพื้นที่และสมาชิก กติกาที่สอดคลองกับสภาพ แวดลอม การกระจายผลประโยชนที่เปนธรรม และการ ตรวจตราและลงโทษทีมี่ ประสิทธิภาพ ก็สามารถลมเหลว ไดเชนกัน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

47

2.4 á¹Ç⹌Á¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàÃ×่ͧ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡà ËÇÁã¹»˜¨¨ØºÑ¹

ในป 2003 Ostrom ไดเขียนบทความชิน้ หนึง่ รวม กับ Thomas Dietz และ Paul C. Stern เรือ่ ง Struggle to Govern the Commons ลงในวารสารวิชาการ Science บทความ นี้ เปน หนึ่ง ใน บทความ ที่ มี ผู อางอิง มาก ที่สุด บทความหนึ่งเมื่อคนหาบทความวิชาการใน Google Scholar ดวยคำสำคัญ Adaptive Capacity (ความ สามารถในการปรับตัว) และ Resilience (ความยืดหยุน หรือความสามารถในการคืนสูสภาพปกติ) การศึกษา ในชวงหลังจากบทความนี้ตีพิมพ วงวิชาการเรื่องการ จัดการทรัพยากรรวมหันมาใหความสำคัญกับประเด็น ศึกษาวา ชุมชน ผูใชทรัพยากรจะสามารถรักษาระบบ การจัดการของตนเอาไวในสภาพแวดลอมทางนิเวศเชิง สังคมที่ผัน ผวนเชนปจจุบันไดอยางไร ยกตัวอยางเชน International Human Dimensions Program on Global


48

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

Environmental Change (IHDP) เครือขายนานาชาติที่ ศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ กับมนุษยไดทำการวิจัยอยางเปนระบบโดยอาศัยความ รวม มือ จาก นัก วิจัย ใน สถาบันวิจัย และ มหาวิทยาลัย หลายแหงทั่วโลก ก็ถือเอาเรื่อง Adaptive Capacity และ Resilience เปนหนึ่งวิธีคิดพื้นฐานในประเด็นที่ เกี่ยวกับสถาบันการจัดการสิ่งแวดลอม (โครงการวิจัย Institutional Dimensions of Global Environmental Change (IDGEC) ตีพิมพในป 2008 (Young, King and Schroeder 2008) และโครงการที่กำลังดำเนินอยู ในปจจุบนั คือ โครงการวิจยั Earth System Governance (Biermann et al. 2009) ผูเขียนเห็นวาควรนำประเด็น เรื่องนี้รวมไวในรายงานนี้ดวยพอสังเขป โดยสรุปเนื้อหา ของบทความที่ไดอางถึงขางตน ในสวนที่เกี่ยวของกับ ประเด็นเชิงนโยบาย ประเด็นหลักของการศึกษานีก็้ คือ นักวิชาการเริม่ ตระหนักวาความสำเร็จของการจัดการทรัพยากรรวมมี โอกาสเกิดขึ้นนอย มีเพียงบางพื้นที่เทานั้นที่มีลักษณะ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

49

ตรง ตาม เงื่อนไข แหง ความ สำเร็จ เชน การ สอด สอง ดูแลการใช และการไดมาซึ่งขอมูลเกี่ยวกับสภาพของ ทรัพยากรมีตนทุนต่ำ การเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรและ การเปลี่ยนแปลงในเชิงประชากร เทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมที่เกี่ยวของกับผูใชทรัพยากรเปนไปในอัตราที่ ไมเร็วเกินไป ทุนทางสังคมยังคงสามารถดำรงอยูได มี ตนทุนในการกีดกันคนภายนอกต่ำ และผูใชสนับสนุน และทำตามกติกา นอกจากนี้ ความกดดันทางเศรษฐกิจ ที่มาจากภายนอกชุมชน เชน ความตองการของตลาด โลกตอทรัพยากรรวมชนิดหนึ่งเพิ่มสูงขึ้น เปนตน หรือ กติกาหรือเงือ่ นไขทางเศรษฐกิจโดยรอบทีเปลี ่ ย่ นไปก็สง ผลรบกวน ทำใหการรักษาระบบการจัดการทรัพยากร ของชุมชนผูใชทรัพยากรเปนไปไดยาก ฉะนั้น ประเด็น ทีสำคั ่ ญตอจากประเด็นศึกษาวาดวยปจจัยทีทำให ่ ชุมชน ผูใช  ทรัพยากรหนึง่ ๆ สามารถจัดการทรัพยากรไดสำเร็จ คือประเด็นศึกษาวาดวยปจจัยทีทำให ่ ชุมชนสามารถปรับ ตัวและอยูรอดในระบบนิเวศเชิงสังคมที่ซับซอนตอไปได ซึ่งไดแก


50

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

1) ระบบ การ จัดการ ตอง มี ขอมูล ที่ ดี เกี่ยว กับ ระบบ ทรัพยากร และ รู วา ตัว ระบบ ได รับ ผลก ระ ทบ จากการปฏิสัมพันธกับมนุษยอยางไร มีความ ผัน ผวน อยางไร นอกจากนี้ ยังตองมีขอมูลเกี่ยวกับคานิยมของ ผูใชทรัพยากรในภาพรวมดวย ทั้งนี้ในการปรับตัวอาจ จำเปน จะ ตอง เลือก ละทิ้ง บาง สิ่ง ที่ เคย ทำ มา การ รู วา คนใหความสำคัญกับอะไรทำใหผูจัดการระบบสามารถ ตัดสินใจไดดีขึ้น 2) ระบบ การ จัดการ ตอง สามารถ จัดการ ความ ขัดแยงที่จะเกิดขึ้นได ความขัดแยงเปนเรื่องที่เลี่ยงไมได เมือ่ จำเปนตองมีการเลือกใชทรัพยากรในสภาพแวดลอม หนึ่งๆ เพราะความตองการของผูใชอาจขัดกัน ระบบ ตองสามารถจัดการความขัดแยงไดดวยตนทุนที่ต่ำ และ หากเปนไปได แตละฝายอาจจะสามารถเรียนรูรวมกัน และชวยกันหาทางออกในการปรับระบบใหดำรงอยูตอ ไปไดดวย อนึ่ง การใชอำนาจรัฐอาจไมสามารถแกไขขอ ขัดแยงได ทางออกหนึ่งๆ จะมีความเหมาะสมกับบริบท หนึง่ ๆ ผูจั ดการทรัพยากรอาจจะตองทดลองหาทางออก


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

51

หลายๆ ทางเพื่อใหไดทางออกที่เหมาะสม 3) ระบบ ตอง เหนี่ยว นำ ให เกิด การ ปฏิบัติ ตาม กฎ ให ได ซึ่ง ใน สวน นี้ จำเปน ตอง อาศัย การ จัดการ ที่ มี ประสิทธิภาพ การ เหนี่ยว นำ ให ปฏิบัติ ตาม กฎ ทำได หลายวิธี ทัง้ วิธการ ี สัง่ การและควบคุม (Command and Control) โดยรัฐ ซึ่งจะมีประสิทธิภาพหากองคกรของ รัฐมีทรัพยากรที่เพียงพอและแรงจูงใจที่จะบังคับใชกฎ นั้น ในหลายบริบท วิธีการนี้ขาดประสิทธิภาพ การใช เครื่องมือทางการเงินและกลไกตลาดก็เปนอีกแนวทาง หนึ่ง ที่ สราง แรง จูงใจ ให ผู ใช ทรัพยากร ปฏิบัติ ตาม ได อยางไร ก็ดี วิธีการนี้ใชไดกับสิ่งที่สามารถซื้อขายแลก เปลี่ยน กัน ได เทานั้น เชน สิทธิ์ ใน การ ปลอย มลภาวะ เปนตน แตทรัพยากรรวมอีกหลายอยางจำเปนตองใช ระบบการจัดการชุมชนเขามาชวย บริบททีต่ างกันมีความ เหมาะสมที่จะใชระบบการจัดการแบบตางๆ ขางตนใน สัดสวนที่แตกตางกัน 4) ระบบตองไดรับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชิงเทคโนโลยีและสถาบันอยางสม่ำเสมอ ทัง้ นีเนื ้ อ่ งจาก


52

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

เทคโนโลยี ใน การ ใช ทรัพยากร พัฒนา ขึ้น อยาง ไม หยุด ยั้ ง ระบบ การ จั ด การ ทรั พ ยากร จึ ง มี ความ จำเป น ที่ จะ ตอง รู เทา ทัน และ สามารถ ปรับ ตัว ให เหมาะ สม กับ เทคโนโลยี การ ใช ทรัพยากร ที่ พัฒนา ขึ้น ดวย อาจ จะ ตอง นำ เทคโนโลยี ใหมๆ เขา มา ชวย ใน การ ดูแล รักษา ทรัพยากร กติกาจำเปนตองปรับปรุงอยางตอเนื่องเพื่อ ใหครอบคลุมการใชเทคโนโลยีใหมๆ ดังกลาว 5) ระบบ ตองเต รี ยม ตัว รับมือ การ เปลี่ยนแปลง โดยเปดใหกติกามีความยืดหยุนมากกวามีความเขมงวด แมวาในบางบริบทอาจจะไมเหมาะสมในระยะสั้น แต ใน ระยะ ยาว การ มี กติกา ที่ ยืดหยุน จะ ทำให ระบบ การ จัดการสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดลอมไดสะดวกขึ้น เพือ่ ใหไดมาซึง่ เงือ่ นไขทีจำเป ่ น 5 ประการขางตน บทความนี้ไดนำเสนอยุทธศาสตร 3 ประการ ไดแก ประการแรก ควรจะมีการกระตุนใหเกิดการแลก เปลีย่ นเรียนรูระหว  างผูใช  ทรัพยากร นักวิทยาศาสตร ภาค รัฐ และผูอื่นที่เกี่ยวของกับการจัดการระบบทรัพยากร


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

53

ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในพื้นที่และการปฏิสัมพันธ กันระหวางคนกับระบบสิง่ แวดลอมนัน้ มีความสำคัญและ ควรนำมาใชในการแลกเปลีย่ นเรียนรู การสนทนาเหลานี้ จะเปนการสรางทุนสังคมใหเกิดขึน้ ระหวางผูเกี  ย่ วของ ซึง่ จะเปนปจจัยทำใหระบบทรัพยากรพรอมที่จะปรับตัว ประการ ที่ สอง การ ออกแบบ โครงสราง สถาบัน (Institutional Arrangement) ที่รองรับกับความซับซอน ของระบบและเชื่อมโยงกับสถาบันอื่นๆ และระบบนิเวศ ที่เกี่ยวของ ประการที่สาม รูปแบบการจัดการไมจำเปนตอง มี เพียง แบบ เดียว แต อาจ เปนการ ผสม ผสาน ระหวาง การจัดการโดยชุมชนกับกลไกตลาด หรือแบบรวมศูนย เหมือนกลไกของรัฐ แตเปาประสงคก็คือทำใหผูใชมีแรง จูงใจทีจะ ่ ปฏิบตั ตาม ิ กติกา แบงปนขอมูลความรู และชวย กันสอดสองดูแลทรัพยากรและการใชทรัพยากร


54

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

3. á¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡ÃËÇÁ ã¹»ÃÐà·Èä·ÂáÅСÒÃà»ÃÕºà·Õº¡Ñº á¹Ç¤Ô´¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·È แนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย นั้ น มี อยู อย า ง น อ ย 2 แนวคิ ด ที่ กำลั ง ดำเนิ น อยู ใน สังคมไทย แนวคิดหนึ่งเชื่อวาการจัดการทรัพยากรที่มี ประสิทธิภาพคือการทำใหทรัพยากรอยูภาย  ใตกรรมสิทธิ์ ไมของรัฐก็ของเอกชน อีกกระแสหนึ่งคือ การจัดการ ทรัพยากรโดยชุมชน ทรัพยากรเปนกรรมสิทธิ์รวมของ ชุมชน กระแส แรก มี ความ สอดคลอง กับ แนวคิด ดั้งเดิม ของการจัดการทรัพยากร ตัวอยางที่เห็นไดชัด เชน การ ประกาศเขตปาสงวนอนุรักษพันธุสัตวปา และพื้นที่ปา ของรัฐอืน่ ๆ ระบบชลประทาน การใหสัมปทานปาไมกับ บริษัทเอกชน เปนตน อยางไรก็ดี แนวคิดนี้ไดรับความ นิยมในสังคมนอยลงไปมากแลว เพราะไดพิสูจนชัดวา


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

55

ในหลายกรณี เชนการดูแลทรัพยากรปาชายเลน วาการ ดำเนินการของรัฐไมมีประสิทธิภาพมากพอ และการให สัมปทานกับเอกชนก็ทำใหสภาพปาชายเลนเสื่อมโทรม เนื่องจาก รัฐ ไมมี ทรัพยากร และ แรง จูงใจ มาก พอที่ จะ บังคับ สัญญา สัมปทาน ให เอกชน ดูแล ทรัพยากร ตาม สัญญา ในขณะเดียวกัน กระแสการจัดการทรัพยากร โดยชุมชนก็มีความสำคัญขึ้นเปนลำดับ ทั้งนี้เนื่องจาก ประสบการณในหลายพื้นที่พิสูจนใหเห็นแลววา ชุมชน สามารถจัดการทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ ทัง้ ใน แงการดูแลทรัพยากร (ชาญยุทธ สุดทองคง และพรเทพ วิรัชวงศ 2548, Sahirathai 1998, Sudtongkong and Webb 2008) และการกระจายผลประโยชนจาก ทรัพยากร (เบญจภา ชุติมา 2546) การจัดการทรัพยากรแตละประเภทนั้นมีสัดสวน แนวคิดที่ไดรับความนิยมแตกตางกัน ยกตัวอยางเชน กรณี การ จัดการ ปา สัดสวน ความ นิยม ใน กระแส การ จัดการทรัพยากรโดยชุมชนมีมากกวากระแสการจัดการ โดยรัฐ ความนิยมดังกลาวเห็นไดจากการเคลื่อนไหวใน


56

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

วงกวางของเครือขายปาชุมชนทั่วประเทศ นักวิชาการ และ นัก พัฒนา จำนวน มาก สนับสนุน แนวคิด ปา ชุมชน และการลดบทบาทของรัฐจากทีรวม ่ ศูนยอำนาจการดูแล ปาไวแตเพียงองคกรเดียวมากระจายลงไปสูทองถิ่นโดย เฉพาะในระดับชุมชนใหมากขึ้น (สำรวม บุญลน 2553, ผูจั ดการ 2551) ในขณะทีประเด็ ่ นเรือ่ งการจัดการน้ำ ยัง ใหความสำคัญของภาครัฐอยู (ทินกร เหลือลน 2548, วรศักดิ์ บุญพวง คมศักดิ์ สุระผัด และนัฐพงศ สิทธิวงศ 2544) พรอมกับรูปแบบการจัดการน้ำโดยชุมชนผูใช  น้ำ (เบญจภา ชุติมา 2546) ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาด (Scale) ของพื้นที่ที่พิจารณา อยางไรก็ดีการใชเครื่องมือในการ จัดการ ทรัพยากร ที่ ไม เหมาะ กับ ขนาด พื้นที่ และสภาพ ปญหาก็อาจเปนบอเกิดของปญหาใหมได (ดวงพร ภูแ กว 2548) ในกรณีของการจัดการทรัพยากรชายฝงทะเล หรือทรัพยากรทางน้ำ ความรวมมือของชุมชนกับรัฐนั้น เปนปจจัยที่ทำใหการจัดการและดูแลทรัพยากรประสบ ความสำเร็จได ความรวมมือของรัฐกับชุมชนมีรูปแบบ ตั้งแต รัฐ ยอมรับ กติกา ของ ชุมชน และ รัฐ ให ความ ชวย


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

57

เหลือในการบังคับใชกฎเมื่อมีเหตุขัดแยงที่เกี่ยวของกับ กฎหมาย (ชาญยุทธ สุดทองคง และพรเทพ วิรัชวงศ 2548, สุภาพ สังขไพฑูรย 2548) ความแตกตางทางดานแนวคิดเกีย่ วกับการจัดการ ทรัพยากรรวมเปนหนึง่ ในสาเหตุสำคัญของความขัดแยง ระหวางรัฐกับผูใชทรัพยากรในทองถิ่นหนึ่งๆ แมทั้งภาค รัฐและเอกชนจะเริ่มเห็นความสำคัญของการรวมมือกัน ในดานตางๆ ในการอนุรกั ษทรัพยากร และไดรวมมือกัน แลวในหลายพืน้ ที่ แตก็ยังมีอีกหลายพืน้ ทีที่ ยั่ งคงมีความ ขัดแยงอยูและสภาพปญหาก็แตกตางกันตามลักษณะ ของ ทรัพยากร อีก ดวย (ตัวอยาง งาน เพื่อ ความ เขาใจ เรื่องความขัดแยงในการจัดการทรัพยากร เชน งานของ เลิศชาย ศิริชัย 2548 และ 2549 เปนตน) ถึงแมวาการจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย จะมีอยู 2 แนวทางดังที่ไดกลาวไปแลว หัวขอนี้จะให ความ สนใจ เฉพาะ แนวคิด ที่ เนน การ จัดการ ทรัพยากร โดยชุมชนมากกวา เพราะแนวคิดการจัดการทรัพยากร โดยรัฐนั้นมีลักษณะไมตางกันมากกับความรูดั้งเดิมใน


58

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

การจัดการทรัพยากรที่ไดนำเสนอไปแลวขางตน กลาว คือ อยูบนฐานคิดที่เชื่อวาคนไมสามารถรวมมือกันใน การดูแลรักษาหรือจัดการการใชทรัพยากรรวมได แตจะ แยงกันใชทรัพยากรจนกระทั่งทรัพยากรหมดหรือเสื่อม สภาพไป รัฐจึงตองเขามาทำหนาที่จัดการดวย นอกจาก นี้ แนวคิดการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนในประเทศไทย ยังมีความนาสนใจเปนพิเศษ เพราะมีที่มาที่ไปและราย ละเอียดบางประการทีแตก ่ ตางจากแนวคิดของ Ostrom ที่ไดนำเสนอไปแลวในหัวขอที่ 1 และ 2 หัวขอนี้จะนำเสนอแนวคิดการจัดการทรัพยากร รวมในประเทศไทยที่สรุปไดจากการสำรวจขอมูลและ งานวิชาการตางๆ ทัง้ วิทยานิพนธ บทความวิชาการ และ บทความตามเว็บไซตขององคกรที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การจัดการทรัพยากรรวมตางๆ ครอบคลุมการจัดการปา น้ำ ที่ดิน และทรัพยากรชายฝงทะเล อยางไรก็ดี เนื่อง ดวยความจำกัดของพืน้ ทีนำ ่ เสนอ หัวขอนีจะ ้ ไมสรุปและ นำเสนอเนื้อหาของแตละงาน แตจะนำเสนอความคิด เกีย่ วกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมในประเทศไทย


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

59

ที่สรุปไดจากงานวิชาการเหลานั้น (หัวขอ 3.1) พรอม ทั้งจะทำการเปรียบเทียบแนวคิดดังกลาวกับแนวคิดการ จัดการทรัพยากรรวมจากตางประเทศทีได ่ นำเสนอไปใน หัวขอกอน (หัวขอ 3.2)

3.1 á¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡Ãâ´ÂªØÁª¹ã¹ »ÃÐà·Èä·Â

แนวคิ ด การ จั ด การ ทรั พ ยากร โดย ชุ ม ชน ใน ประเทศไทย ไม ได มี การ ศึกษา เชิง ทฤษฎี ในวง วิชาการ หาก แต เกิด ขึ้น และ พัฒนา จาก การ ปฏิบัติ จริง ใน พื้นที่ ของชาวบานและหนวยงานทั้งภาครัฐและองคกรพัฒนา เอกชน (Non-governmental Organizations) จากการ ปฏิบัติ ตางๆ เหลา นั้น เรา สามารถ สืบ สาว ไป ถึง ฐาน ความคิดอันเปนทีม่ าของกิจกรรมเหลานัน้ ได ซึง่ เปนหนึง่ ในทางเลือกของการอธิบายแนวคิดการจัดการทรัพยากร โดยชุมชนในประเทศไทย


60

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ลักษณะสำคัญของแนวคิดดังกลาวคือ มีเรื่องวิถี ชีวิต ของ ชาว บาน และ การ แก ปญหา ความ ยากจน เปน แกนกลาง และเชื่อมโยงกับเรื่องวัฒนธรรมชุมชนทอง ถิ่น การมีสวนรวมของสมาชิกชุมชน การสรางเครือขาย แลกเปลี่ยนเรียนรู เศรษฐกิจพอเพียง และสิทธิชุมชน การ เยียวยา ปญหา ความ ยากจน และ รักษา วิถี ชีวิต ของ ชาวบานดูจะเปนจุดประสงคหลักของการที่ชุมชนจะเขา มามีสวนรวมกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยูในพื้นที่ ซึ่ง ชุมชนก็ไดใชประโยชนจากทรัพยากรในการดำรงชีวติ ใน ขณะเดียวกันก็ตองดูแลระบบทรัพยากรใหอยูในสภาพ ดีเชนกัน เพื่อใชประโยชนจากทรัพยากรดังกลาวตอไป (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2546) เปนไปได มากวาแนวคิดดังกลาวไดรับอิทธิพลมาจากองคกรพัฒนา เอกชนตางๆ ที่เนนเรื่องการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งเพื่อ แก ปญหา ความ ยากจน เชน มูลนิธิ พัฒนา ชนบท แหง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป หรือสภาคาทอลิก แหงประเทศไทย เปนตน (อานันท กาญจนพันธุ 2543) เครือ่ งมือทีองค ่ กรพัฒนาเอกชนใชตัง้ แตชวงทีทำ ่ ประเด็น


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

61

แกไข ปญหา ความ ยากจน แต ยัง ไม ได เชื่อม โยง ถึง เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือเรื่องวัฒนธรรม ชุมชนทองถิ่น และการสรางเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรู ในขณะเดียวกันแนวคิดการทำเกษตรยั่งยืนและเกษตร ผสม ผสานตางๆ ได ประสาน เขา กับ แนวคิด เศรษฐกิจ พอเพียงที่ถูกนำเสนอในสังคมไทยในชวง 10 ปใหหลัง นี้ไดเปนอยางดี á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 3: แนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน

ประเทศไทย ÊÔ·¸ÔªØÁª¹

ÇѲ¹¸ÃÃÁªØÁª¹·ŒÍ§¶Ô่¹

»˜ÞËÒ¤ÇÒÁÂÒ¡¨¹ áÅзÃѾÂҡøÃÃÁªÒμÔ

¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ

àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

¡ÒÃáÅ¡à»ÅÕ่¹àÃÕ¹ÃÙŒ


62

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

แนวคิดเรือ่ งวัฒนธรรมชุมชนทองถิน่ เปนแนวคิดที่ มีความเกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม และการแกปญหาความยากจน การสงเสริม เรื่องวัฒนธรรมทองถิ่นสงผลเรื่องอัตลักษณของชุมชน เมื่อคนในชุมชนมีความภูมิใจในอัตลักษณของตน และ รูส กึ วามีเรือ่ งราวทีเป ่ นภูมหลั ิ งรวมกัน ชุมชนจะสามารถ รวม ตัว กัน ได งาย ขึ้น ดวย ความ รูสึก เปน พวก เดียวกัน และ ควร ชวย เหลือ เกื้อกูล กัน ฉลาด ชาย รมิ ตา นนท อานันท กาญจนพันธุ และสัณฐิตา กาญจนพันธุ (2536) ยั ง มอง เรื่ อ ง วั ฒนธรรม ชุ ม ชน ท อ ง ถิ่ น ใน การ จั ด การ ทรัพยากรเปนเรื่องของมุมมองตอโลกที่มีลักษณะเปน องครวมและเปนธรรมชาติ มีการปฏิสัมพันธอยางเปน ระบบ และ ซับ ซอน มุม มอง ดัง กลาว เปน ฐาน การ มอง ความสัมพันธและวิธีการปฏิสัมพันธระหวางคนกับคน และคนกับสิ่งแวดลอม ซึ่งฉลาดชายและคณะ (2536) มองวา วิถีชีวิตแบบพออยูพอกิน และมุงรักษาความ อุดมสมบูรณของระบบทรัพยากรรอบๆ เปนผลมาจาก มุมมองตอโลกดังกลาว นอกจากนี้ มุมมองดังกลาวยัง


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

63

เปนฐานของการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของกับ ธรรมชาติ ของ ระบบ ทรัพยากร และ ทรัพยากร ใน พื้นที่ ซึ่งแมจะไมไดผานกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร แบบมาตรฐาน การทีองค ่ ความรูเหล  านีผ้ านกาลเวลามา และยังสามารถใชไดก็อาจเปนเครือ่ งยืนยันความถูกตอง ขององคความรูเหลานี้ระดับหนึ่ง การ มี ส ว น ร ว ม เป น แนวคิ ด สำคั ญ อี ก ประการ หนึ่งที่มาพรอมกับแนวปฏิบัติขององคกรพัฒนาเอกชน ตั้งแตชวงมุงเนนการแกปญหาความยากจนและสงเสริม ชุมชนเขมแข็ง (ดิเรก เครือจันลิ 2545) การมีสวนรวม ที่วานี้ครอบคลุมตั้งแตการเปนสมาชิกชุมชนและปฏิบัติ ตาม กติกา ของ ชุมชน รวม ลงแรง และ สละ เวลา ใน การ ดำเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมอนุรักษ และมี สวนรวมในการกำหนดกฎกติกาและการตัดสินใจทีสำคั ่ ญ เกี่ยวกับการดำเนินการเพื่ออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในชุมชน หากเปนไปได ชุมชนควรจะมี สวนรวมในการเขาไปกำหนดนโยบายระดับภูมิภาคหรือ ระดับชาติทีจะ ่ สงผลตอการจัดการทรัพยากรของเขาดวย


64

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

การมีสวนรวมของสมาชิกชุมชนในการจัดการทรัพยากร ระดับชุมชน และการมีสวนรวมของชุมชนในการกำหนด กติการะดับภูมิภาคและระดับชาติ จะทำใหเกิดความ รูสึก เปน เจาของ และ กระตุน ให เกิด ความ รวม มือ และ ปฏิบัติตามกติกามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การมีสวนรวม ยังชวยใหการจัดการทรัพยากรใชประโยชนจากภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่นไดเต็มที่อีกดวย ผานกลไกการเรียนรูชุมชน การเรียนรูชุ มชนเปนอีกแนวคิดทีเป ่ นองคประกอบ หนึง่ ของการจัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย เปน ทัง้ เครือ่ งมือในการเรียนรู และเครือ่ งมือในการสรางการมี สวนรวมของชุมชน การเรียนรูชุ มชนมักจะทำเปนลักษณะ ของเครือขายเรียนรูรวมกันระดับปจเจกชนในหมูบาน โดยการทำเวทีและมีวิทยากรกระบวนการทัง้ ทีเป ่ นคนใน หมูบ า นหรือเจาหนาทีจาก ่ องคกรพัฒนาเอกชนเขาไปจัด กระบวนการ บาง แหง จะ เปน ลักษณะ ของ การ ทำ วิจัย ชุมชน ซึ่งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ใหการ สนับสนุน ซึ่ง การ วิจัย ใน ลักษณะ นี้ มัก จะ ดึง เอา คนใน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

65

ชุมชนเขามามีสวนรวมดวย นอกจากนี้ ยังมีเครือขาย เรียนรูในระดับระหวางหมูบาน และขามพื้นที่ในระดับ จั ง หวั ด และ ระดั บ ประเทศ อี ก ด ว ย เครื อ ข า ย เรี ย น รู ระหวางหมูบานนั้นมีประโยชนทั้งในแงการแลกเปลี่ยน ประสบการณ และ วิธี การ แก ปญหา ที่ ตน เผชิญ ใน พื้นที่ และ ใน แง ของ การ ให กำลัง ใจ กัน และ กัน ใน การ ทำงาน สิ่งแวดลอม ตอ ไป การ มี เครือ ขาย ระหวาง หมูบาน ยัง ทำใหการบริหารจัดการระบบทรัพยากรที่มีความเชื่อม โยงกันเปนไปอยางมีประสิทธิภาพดวย ยกตัวอยางเชน เครือขายชุมชนบริเวณลุมน้ำปะเหลียน ซึ่งเปนเครือขาย ของหมูบานกวา 40 หมูบาน ประสานงานโดยสมาคม หยาดฝน เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู ตลอดแมน้ำปะเหลียน ตั้งแตเขตปาตนน้ำ ที่ราบลุมน้ำ จืดปาสาคู ที่ราบลุมน้ำกรอยปาชายเลน และเขตชายฝง ทะเล เปนตน (ปทมาวดี ซูซูกิ และชล บุนนาค 2549) ใน ระดับ ประเทศ ก็ มี การ จัด ทำ เวที ใน ลักษณะ สมัชชา ที่ รวบรวม เอา เครือ ขาย ชาว บาน นัก วิชาการ ขาราชการ สมัชชาทีเพิ ่ ง่ เกิดขึน้ คือ สมัชชาปาชุมชนระดับ


66

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ประเทศ ซึ่งในเวทีก็มีการพูดคุยถึงสถานการณโลกและ สิง่ ทีเครื ่ อขายและคนทีทำงาน ่ เกีย่ วกับการจัดการปาควร จะเตรียมพรอมรับมือเชนกัน (ThaiNGO.org 2551) แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเปนอีกแนวคิดหนึง่ ทีมั่ ก จะมาคูกับการจัดการทรัพยากรชุมชน แตเดิมการแกไข ปญหาความยากจนขององคกรพัฒนาเอกชนมักจะดึง เอาวิธีการทำการเกษตรแบบยังชีพ เกษตรอินทรีย และ เกษตรผสมผสานแบบตางๆ เขามาเปนเครื่องมือในการ จัดการ กับปญหาความยากจน โดยมุงเนนใหชาวบาน สามารถพึ่งตนเองไดกอน ตอมาหลังจากแนวความคิด เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดถูก นำเสนอและเปนทีรู่ จ กั แนวคิดนีก็้ กลายเปนแนวคิดทีเป ่ น ฐานของการปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรชุมชนตอมา เศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนฐานคิดทีครอบคลุ ่ ม เกษตร แบบ ยังชีพ ที่ กลาว ขาง ตน เอา ไว ดวย ใน ขณะ เดียวกันก็ไดนำเสนอและใหความสำคัญกับปจจัยอื่นที่ จะ เปน ประโยชน ตอ การ ปฏิบัติ ตน ของ ชาว บาน ใน การ ดำรงชีวิตและการจัดการทรัพยากร เชน เรื่องของความ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

67

มีเหตุมีผล ความพอประมาณ การเตรียมพรอมกับความ เสีย่ งและเหตุไมคาดฝน (มีภูมคิ มุ กัน) พรอมทัง้ เนนเรือ่ ง ของคุณธรรมและการใชความรูอีกดวย (อภิชัย พันธเสน 2549, อภีษฎา คุณาพรธรรม 2551) ในทางหนึ่งเรา อาจมองไดวา ชาวบานสวนหนึง่ ทีสามารถ ่ บริหารจัดการ ทรัพยากรไดเปนอยางดี และใชชีวิตรวมกับธรรมชาติได อยางกลมกลืน ก็ดำเนินวิถชี​ี วติ สอดคลองกับวิถเศรษฐกิ ี จ พอเพียงอยูแล  ว แตการทีมี่ แนวคิดนีสรุ ้ ปเปนหลักการให เห็นชัดเจนมากขึน้ ก็สามารถเปนเครือ่ งชวยเตือนชาวบาน เกี่ยวกับสิ่งที่ควรพิจารณาได งานวิชาการบางชิน้ เชือ่ มโยงการจัดการทรัพยากร ชุมชน กับ เรื่อง สิทธิ มนุษย ชน และ สิทธิ ชุมชน ใน แง ที่ วา ชุมชน ควร จะ มี สิทธิ เขา ถึง ฐาน ทรัพยากร ที่ ตน ดูแล มา หลาย ชั่ ว คน และ ใช ฐาน ทรั พ ยากร ใน การ ดำรง ชีวิต ประเด็นนี้กลายเปนประเด็นสำคัญในการจัดการ ทรัพยากร ชุมชน เพราะ วา ชาว บาน จำนวน มาก ได รับ ผลกระทบจากปญหาที่ดินทำกินมีกรรมสิทธิ์ทับซอนกับ ทีด่ นิ ของรัฐ โดยเฉพาะทีด่ นิ ปาสงวน เขตรักษาพันธุสั ตว


68

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ปา และเขตอื่นๆ เกี่ยวกับการอนุรักษปาไม หรือในบาง กรณีโฉนดที่ดินที่ราชการออกใหเอกชนกลับไปทับกับ พืน้ ทีทำ ่ กินทีชุ่ มชนหนึง่ ใชสอยมาหลายชัว่ คน สิทธิชุมชน มีความสำคัญตอการจัดการทรัพยากรชุมชนที่มุงใชการ จัดการทรัพยากรเปนเครื่องมือในการอนุรักษทรัพยากร และแกปญหาความยากจน ทั้งนี้เปนเพราะชุมชนตองมี สิทธิ์ที่จะใชประโยชนจากทรัพยากรที่เขาดูแล เขาจึงมี แรงจูงใจที่จะรวมกันดูแลทรัพยากรนั้น ยิ่งถาทำใหเขา ไดประโยชนโดยตรง เชน เปนแหลงรายไดยังชีพสำคัญ ชาวบานก็จะชวยกันดูแลทรัพยากรโดยไมจำเปนตองมี การจางวานใดๆ (เพ็ญพิชญา เตียว 2546, ปทมาวดี ซูซูกิ และชล บุนนาค 2549) นอกจากนี้ สิทธิชุมชนยังเปนเครื่องสนับสนุนให ชุมชนสามารถจัดการทรัพยากรที่เขาดูแลไดอยางเต็ม ที่ อีก ดวย เพราะ เขา มี สิทธิ ที่ จะ บังคับ ใช กติกา ชุมชน เหนือทรัพยากรนั้นๆ ไดอยางเต็มที่ หากชุมชนไมได รับสิทธิที่เปนทางการจากรัฐ เขาจะไมสามารถบังคับ ใชกติกานั้นกับคนนอกชุมชนไดและไมสามารถปองกัน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

69

การเขามาหาประโยชนแบบไมยั่งยืนจากคนนอกชุมชน ได การไมสามารถบังคับใชกติกานั้นมิไดสงผลตอสภาพ ของ ทรัพยากร เทานั้น แต ยัง สง ผล ตอ การ ตัดสิน ใจ ที่ จะทำตามกติกาของสมาชิกในชุมชนอีกดวย กลาวคือ สมาชิกในชุมชนจะมีแรงจูงใจในการทำตามกติกานอยลง เพราะเห็นวาชุมชนชวยกันดูแลไป คนอื่นที่ไมเกี่ยวของ ก็ยังเขามาใชไดอยูดี สงผลใหอาจเกิดการตัดสินใจที่จะ ใชประโยชนจากทรัพยากรเพียงอยางเดียวโดยไมชวย ลงแรงได (Free Riding Problem) ในบางพื้นที่การเขา มาของเอกชนภายนอกทำใหชุมชนรวมตัวกันเพือ่ ตอตาน และขับไลคนนอกซึ่งอาจนำไปสูการใชความรุนแรงได เนือ่ งจากกลไกของรัฐไมยอมรับสิทธิชุมชน ทำใหการยุติ ขอขัดแยงไมสามารถทำผานกระบวนการตามกฎหมาย ได แตหากชุมชนมีสิทธิเหนือทรัพยากรดังกลาว เขาจะ สามารถ ใช กระบวนการ ทาง กฎหมาย ใน การ ยุติ ขอ ขัด แยงไดงายขึ้น ความพยายามผลักดันพระราชบัญญัติปา ชุมชนที่เคลื่อนไหวขึ้นมาจากเครือขายชาวบานเอง หรือ เสียงสนับสนุนนโยบายโฉนดชุมชนของรัฐบาลในชวงนีน้ า


70

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

จะเปนตัวสะทอนถึงความสำคัญของสิทธิชุมชนในการ จัดการทรัพยากรไดเปนอยางดี โดย สรุป แลว แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร โดย ชุมชน ใน ประเทศไทย เปน แนวคิด ที่ มี รากฐาน มา จาก กิจกรรม การ พัฒนา เพื่อ แกไข ปญหา ความ ยากจน ของ ชาวบานในพืน้ ทีใกล ่ เคียงระบบทรัพยากรหนึง่ ๆ และเพือ่ ดูแลรักษาระบบทรัพยากรนั้นดวย แนวคิด วัฒนธรรม ชุมชนทองถิน่ การมีสวนรวม การเรียนรูชุ มชน เศรษฐกิจ พอเพียง และสิทธิชุมชน เปนแนวคิดที่เปนฐานของการ ปฏิบัติในการอนุรักษทรัพยากรของชุมชนและเครือขาย ที่จัดการทรัพยากรชุมชน ในหัวขอถัดไป แนวคิดการ จัดการทรัพยากรรวมในตางประเทศจะถูกนำมาเปรียบ เทียบกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชน 2 แนวคิด นีมี้ จุดรวมหลายประการ แตในขณะเดียวกันก็มีจุดทีต่ าง กันเชนกันเนื่องดวยบริบทที่ตางกัน การนำ 2 แนวคิดนี้ มาเปรียบเทียบกันจะชวยใหเรามองทัง้ 2 แนวคิดไดรอบ ดานมากขึ้น


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

71

3.2 à»ÃÕºà·Õºá¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡà ËÇÁã¹μ‹Ò§»ÃÐà·ÈáÅÐá¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂҡêØÁª¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â

แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร รวม ของ Ostrom มีทั้งความแตกตางและความเหมือนกันกับแนวคิดการ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย จุดเริ่มของทั้ง 2 แนวคิด มี ความ แตกตาง กัน ทำให แนวคิด ที่ ถูก สรุป ออกมาหรือสะทอนออกมาในกิจกรรมที่สำคัญในการ จัดการทรัพยากรมีความแตกตางกัน อยางไรก็ดี ในความ แตกตางนัน้ ก็มีความสอดคลองกันในหลายประการแมจะ มีการใชคำหรือจัดหมวดหมูแตกตางกันก็ตาม จุดเริ่มของแนวคิดการจัดการทรัพยากรรวมของ Ostrom มาจากจุดประสงคทางวิชาการที่ตองการจะ ทำความเขาใจปรากฏการณทีเกิ ่ ดขึน้ จริงในโลก ซึง่ ขัดกับ ทฤษฎีดัง้ เดิมทางสังคมศาสตรทีอธิ ่ บายพฤติกรรมมนุษย ในขณะแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย เกิดขึ้นจากบทเรียนและประสบการณขององคกรพัฒนา


72

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

เอกชนและชาวบานทีดำเนิ ่ นการจัดการทรัพยากรชุมชน มาเปนเวลานาน ผนวกกับลักษณะปญหาทีองค ่ กรพัฒนา เอกชนตองการจะแกไขเยียวยาดวย ความแตกตางดานจุดเริม่ ตนของแนวคิดทำใหการ มุงเนนใหความสำคัญแตกตางกัน แนวคิดของ Ostrom จะเนนการอธิบายพฤติกรรมการรวมมือในการจัดการ ทรั พ ยากร ร ว ม พร อ ม ทั้ ง ถก เถี ย ง กั บ แนวคิ ด ดั้ ง เดิ ม ที่ อธิบาย วาการ รวม มือ กัน ใน การ จัดการ ทรัพยากร รวม ของ ผู ใช ทรัพยากร นั้น เปน ไป ไม ได นอกจาก นี้ เธอ ยัง พยายามอธิบายวา สถาบันการจัดการทรัพยากรรวมที่ ประสบความสำเร็จมีลักษณะเปนเชนไร แนวคิดของการ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยในอีกทางหนึ่งจะ เนนไปในทางแนวคิดพื้นฐานที่จะทำใหเปาหมายทั้งการ จัดการทรัพยากรและการแกปญหาความยากจนสามารถ บรรลุไปได แนวคิดตางๆ ที่ไดนำเสนอไปในหัวขอที่แลว เปน เสมือน เครื่อง มือ ใน ทาง ปฏิบัติ เพื่อ ใหการ จัดการ ทรัพยากรของชาวบานเกิดขึน้ และดำเนินไปได พรอมทัง้ บรรลุเปาหมายไปในเวลาเดียวกัน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

73

á¼¹ÀÒ¾·Õ่ 4: ความเกีย่ วเนือ่ งกันของแนวคิดการจัดการ

ทรัพยากรชุมชนในประเทศไทย และ หลักการออกแบบ กติกาในการจัดการทรัพยากรของ Ostrom Ostrom’s Design Principles á¹Ç¤Ô´¡ÒèѴ¡Òà ·ÃѾÂҡêØÁª¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â

• Boundaries • Congruence

• ÇѲ¹¸ÃÃÁªØÁª¹·ŒÍ§¶Ô่¹ • Collective Choice Arrangement • ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ • Monitoring • à¤Ã×Í¢‹ÒÂáÅ¡à»ÅÕ่¹àÃÕ¹ÃÙŒ • Graduated Sanction • àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ • Conflict Resolution Mechanism • ÊÔ·¸ÔªØÁª¹

• Minimal Recognition of Rights • Nested Enterprises

หาก นำ หลัก การ ออกแบบ กติกา ใน การ จัดการ ทรัพยากร (Design Principle) ที่นำเสนอไปในหัวขอที่ 2.3 มาเชือ่ มโยงกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน ประเทศไทยจะพบวา แนวคิดของประเทศไทยมีลักษณะ เป น เหมื อ น เครื่ อ ง มื อ ที่ ทำให ลั ก ษณะ และ กติ ก า การ จัดการทรัพยากรชุมชนดำเนินไปตามหลักการออกแบบ


74

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

กติกาดังกลาว วัฒนธรรม ชุมชน ทอง ถิ่น ซึ่ง ครอบคลุม ถึง เรื่อง อัต ลักษณ การ เอื้อเฟอ เผื่อ แผ ทุน สังคม วัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น องคความรูและภูมิปญญาชาวบาน นา จะมีสวนชวยใหการกำหนดเขตของทรัพยากรและผูที จะ ่ มีสิทธิใชทรัพยากรมีความชัดเจน (Boundaries) กติกา ที่กำหนดขึ้นมีความสอดคลองกับลักษณะทางธรรมชาติ ของทรัพยากร (Congruence) นอกจากนัน้ ยังอาจมีสวน ชวยในกลไกการจัดการความขัดแยง (Conflict Resolution Mechanism) และการลงโทษแบบคอยเปนคอยไป (Graduated Sanctions) ผานทุนสังคมที่มีในชุมชนได กลไก การ มี ส ว น ร ว ม จะ ช ว ย เติ ม เต็ ม หลั ก การ ออกแบบ ที่ เกี่ยวของ กับ ความ สอดคลอง ของ กติกา กับ ลักษณะทางธรรมชาติ (Congruence) การมีสวนรวมใน การกำหนดกติกา (Collective Choice Arrangement) การสอดสองดูแลทรัพยากร (Monitoring) และสงเสริม กลไกการจัดการความขัดแยงใหมีความเปนธรรมมากขึน้ (Conflict Resolution Mechanism)


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

75

เครื อ ข า ย แลก เปลี่ ย น เรี ย น รู เป น กลไก ส ง ผ า น ขอมูลทีจำเป ่ นเพือ่ ทำใหกติกาสอดคลองกับลักษณะของ ธรรมชาติของทรัพยากรและผูใช  มากขึน้ (Congruence) ใน ขณะ เดียวกัน ก็ สง เสริม โครงสราง กติกา ให มี ความ สอดคลองและเชื่อมโยงกับระบบที่ใหญกวา (Nested Enterprises) ตัวอยาง ที่ เห็น ได ชัด คือ เครือ ขาย แลก เปลีย่ นเรียนรูระดั  บลุม น้ำ หรือสมัชชาปาชุมชนระดับชาติ ที่เชื่อมประสานชาวบาน NGO นักวิชาการ ขาราชการ และ ภาค เอกชน ที่ เกี่ยวของ มา แลก เปลี่ยน เรียน รู และ กำหนดทิศทางรวมกัน เปนตน สวน แนวคิด และ การ ผลัก ดัน เรื่อง สิทธิ ชุมชน จะ มีสวนสำคัญที่จะทำใหชุมชนไดรับการยอมรับในกติกา ชุมชนจากรัฐ (Minimal Recognition of Rights) จุดหนึ่งที่มีความแตกตางชัดเจนและดูจะหาจุด เชื่อม โยง ได ลำบาก ระหวาง แนวคิด ของ Ostrom กับ แนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยก็คือ แนวคิด เศรษฐกิจ พอ เพียง เรา อาจม อง ได วา แนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงทีเน ่ นเรือ่ งการใชความรูและ  ภูมคิ มุ กัน


76

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

อาจ มี ความ เชื่อม โยง กับ ประเด็น เรื่อง โครงสราง กติกา ที่ สอดคลอง เชื่อม โยง กับ ระบบ ที่ ใหญ กวา (Nested Enterprise) ได แตก็ไมชัดเจนนัก จุดที่ผูเขียนคิดวามี ความชัดเจนทีแนวคิ ่ ดเศรษฐกิจพอเพียงมีอิทธิพลตอการ จัดการทรัพยากรชุมชนในประเทศไทยคือการทีเศรษฐกิ ่ จ พอเพียงเปนแนวคิดที่เปนฐานของการผลิตและบริโภค เพื่อใหตนเองอยูได (หลักเรื่องความพอประมาณและ ความมีเหตุผล) โดยไมเบียดเบียนคนหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (เงือ่ นไขคุณธรรม) มิใชบริโภคเพือ่ ใหไดความพอใจสูงสุด หรือมุงใชประโยชนจากทรัพยากรโดยคำนึงถึงแตรายได สูงสุดหรือกำไรสูงสุดสวนตน ในแงนี้เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวคิดที่มีอิทธิพลตอบรรทัดฐานภายในตัวของผูใช ทรัพยากรใหใชประโยชนจากทรัพยากรอยางพอดี เทา ที่จำเปน ซึ่งหากผูใชทรัพยากรมีวิธีคิดเชนนี้ก็จะทำให ปญหาการละเมิดกติกา และใชทรัพยากรจนเกินพอดี แกไขไดงายขึ้นหรือเปนปญหานอยลง นอกจากนี้ ยังจะ สงผลตอการแกไขปญหาความยากจนอีกดวย เพราะ เศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมพฤติกรรมการกินอยูที่มุงให


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

77

สามารถ ยังชีพ ได กอน แลว จึง คอย พัฒนา ไป ใน ระดับ ที่ กาวหนามากขึ้น สงผลใหรายจายของครัวเรือนลดลง และเพิ่มโอกาสที่จะมีเงินเก็บเพื่อใชลงทุนหรือใชในยาม ฉุกเฉินไดมากขึ้น ความแตกตางอีกจุดหนึง่ จากการสำรวจงานศึกษา ตางๆ คือ แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร ชุมชน ใน เมือง ไทย ขาด การ ตั้ง คำถาม และ ศึกษา อยาง ลึก ซึ้ง เกี่ยว กับ แนวคิดการจัดการทรัพยากรแบบดั้งเดิมในประเทศไทย วามีลักษณะเปนอยางไร ขอเสียเปนอยางไร ทั้งในทาง ปฏิบตั และ ิ ทางทฤษฎี จึงอาจทำใหขาดขอมูลความรูที จะ ่ นำไปคัดคานการดำเนินนโยบายจัดการทรัพยากรแบบ เดิม ในขณะเดียวกัน การศึกษาการจัดการทรัพยากร ชุมชน ยัง มี แนว โนม จะ เนน ย้ำ ถึง ความ สำเร็จ ของ การ จัดการทรัพยากรโดยชุมชน แตละเลยกรณีที่การจัดการ ลมเหลว ทำใหอาจไมสามารถชี้ชัดไปไดวา เหตุใดบาง กรณีการจัดการโดยชุมชนจึงลมเหลว และปจจัยที่ทำให ลมเหลวคืออะไร ทำอยางไรจึงจะปองกันความลมเหลว ได กระทัง่ การศึกษาในระดับกรณีศึกษา (Case Studies)


78

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

ก็ยังหาไดยากยิง่ จึงทำใหการสรุปในระดับแนวคิดยิง่ เปน ไปไดยากยิ่งขึ้น สิ่งนี้ตางจากแนวคิดของ Ostrom ที่มา จากการศึกษากรณีศึกษาที่หลากหลาย ทั้งที่สำเร็จและ ลมเหลว โดย สรุป แลว แนวคิด การ จัดการ ทรัพยากร โดย ชุมชนในประเทศไทย แมจะมีความแตกตางจากแนวคิด ของ Ostrom อยูในบางระดับ แตโดยสาระสำคัญแลวก็ มีความสอดคลองกับแนวคิดที่ Ostrom นำเสนอ โดย เฉพาะ ใน เชิง ของ แนวคิด ที่ เกี่ยวของ กับ วิธี การ จัดการ ทรั พ ยากร หนึ่ ง ๆ แนวคิ ด ของ ไทย จะ มี ลั ก ษณะ เป น เครื่องมือเพื่อนำไปสูลักษณะของกติกาที่สงผลใหการ จัดการ ทรัพยากร ประสบ ความ สำเร็จ ตาม ที่ Ostrom นำ เสนอ ความ แตก ตาง ดัง กลาว เกิด จาก จุด ประสงค ของ การ พัฒนา แนวคิด และ แนว ปฏิบัติ เกี่ยว กับจัดการ ทรั พ ยากร นั้ น ไม เหมื อ น กั น ดั ง ที่ กล า ว มา แล ว ข อ ดี ประการหนึ่งของแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน ประเทศไทยคือ แนวคิดดังกลาวสามารถเปนฐานสำหรับ การปฏิบตั จริ ิ งทัง้ ในระดับชุมชนและระดับปจเจกชน (สืบ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

79

เนื่องจากแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง) อยางไรก็ดี ในแง การศึกษาเกีย่ วกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรชุมชนใน ประเทศไทยควรจะมีการศึกษากรณีทีล่ มเหลวและปจจัย ทีส่ งผลตอความลมเหลวนัน้ ใหมากขึน้ เพือ่ เปนประโยชน ในการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแล และสนับสนุนการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนตอไป

4. ¢ŒÍÊѧà¡μáÅТŒÍàʹÍá¹Ð ขอสังเกตประการหนึ่งจากการศึกษางานวิชาการ ในประเทศไทยที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรรวมนั้น เมื่อประเด็นมีความเกี่ยวของกับระดับชุมชน ชุมชนมัก จะถูกชูโรงใหเปนตัวละครหลักที่มีความสำคัญอยางยิ่ง เสมือนสันนิษฐานไวตัง้ แตตนแลววา หากใหชุมชนจัดการ ทรัพยากรดวยตนเองแลว จะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพราะพวกเขาไดดำเนินการจัดการทรัพยากรนั้นๆ มา นานแลว และเปนวิถีชีวิตของเขา


80

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

อยางไรก็ดี เมื่อไดศึกษางานของ Ostrom และ งานทีเกี ่ ย่ วของกับสถาบันดานการจัดการทรัพยากรและ สิง่ แวดลอมในปจจุบนั แลว พบวา การฝากความคาดหวัง ไวกับชุมชนเพียงสถาบันเดียวคอนขางมีความเสี่ยงตอ การที่ชุมชนอาจจะไมสามารถปรับตัวไดดีพอในโลกที่ สภาพสิง่ แวดลอมและบริบทเชิงสังคมเศรษฐกิจการเมือง มีการเปลีย่ นแปลงอยูอย  างตอเนือ่ ง การพิจารณาบทบาท ของตัวละครอื่นๆ ในการจัดการทรัพยากรเปนสิ่งที่งาน วิชาการไทยควรจะใหความสำคัญมากขึ้น และควรจะ พิจารณา ถึง ลักษณะ ของ โครงสราง สถาบัน การ จัดการ สิง่ แวดลอมทีมี่ ความเชือ่ มโยงกันทัง้ ในระดับเดียวกันและ ตางระดับกันใหมากขึ้น เพื่อใหทราบถึงลักษณะที่ควร จะเปนและแนวปฏิบัติที่ควรจะทำเพื่อทำใหการจัดการ สิ่งแวดลอมโดยเฉพาะในระดับทองถิ่นสามารถปรับตัว ใหทันกับสถานการณโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วได นอกจาก นี้ จาก บท เรียน จาก ตาง ประเทศ พบ วา การจัดการทรัพยากรรวมหนึ่งๆ ไมจำเปนจะตอง มี วิ ธี การ จั ด การ เพี ย ง แบบ เดี ยว เท า นั้ น แต สามารถ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

81

ผสม ผสานระหวาง ระบบ ตลาด การ ทำงาน รวม กัน ใน ชุมชน หรือระบบการแนวตั้งแบบรัฐ เขาไวดวยกันให เหมาะกับลักษณะการจัดการทรัพยากรประเภทหนึ่งๆ ในพื้นที่หนึ่งๆ ได ผูเขียนคิดวาการศึกษาประเด็นนี้ ใน ประเทศไทย ยัง มี อยู นอย มาก งาน สวน ใหญ มัก จะ คอนขางใหความสำคัญกับชุมชนมากเปนพิเศษ งานศึกษาในบางพื้นที่ เชน กรณีหมูบานแหลม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ที่ทำการอนุรักษหอยนางรม และปาชายเลน (ปทมาวดีและชล 2549) ก็มีวิธีการ จัดการทรัพยากรและกระจายผลประโยชนของทรัพยากร ผานกลไกหลายลักษณะ ยกตัวอยางเชน การบำรุงรักษา แนวเขตอนุรกั ษหอยนางรม การทำนุบำรุงปาชายเลนโดย การแตงสางปลูกเสริม และการสอดสองดูแลทรัพยากร และการใชทรัพยากรจะเปนลักษณะการทำงานรวมกันใน ชุมชน ในขณะที่เมื่อถึงวันจับหอยนางรมประจำป (บาง ปจัดเปนเทศกาลหอยนางรม) คณะกรรมการอนุรักษ หอยนางรมจะจับหอยนางรมขึ้นมาและขายทั้งแบบสด และ แปรรูป ใน ราคา ถูก ให แก ชาว บาน เปน หลัก ใน แง


82

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

นี้คณะ กรรมการ อนุรักษฯใชกลไกตลาด ใน การ จัดสรร หอย ให คนใน หมูบาน ไดรู ถึง ประโยชน ของ การอนุรักษ หอยนางรม เงินที่ไดจากการขายหอยประจำปจะถูกนำ มาใชเปนกองทุนสวัสดิการสังคมของหมูบาน ใหทุนการ ศึกษา ชวยงานศพ และกิจกรรมอืน่ ๆ ของหมูบ า น โดยมี กรรมการพิจารณาจัดสรรทุนเปนกรณีๆ ไป ซึ่งอาจมอง ไดวาเปนการใชกลไกแบบแนวตั้งแบบรัฐ เปนตน หากมี การศึกษามากขึน้ กรณีเหลานีก็้ อาจสามารถเปนบทเรียน ทีจะ ่ เปนประโยชนในเชิงวิชาการ ในการกำหนดนโยบาย หรือในทางปฏิบัติในทองถิ่นอื่นๆ ตอไป อยางไรก็ดี แมจะยังไมไดมีการศึกษาตามที่ตั้งขอ สังเกตไวขางตน แนวคิดของ Ostrom และแนวคิดการ จัดการทรัพยากรชุมชนที่ถูกนำเสนอไวในบทความนี้ก็ อาจสามารถนำไปพัฒนาและใชประโยชนในเชิงนโยบาย และ ใน การ ปฏิบัติ ได หลัก การ ออกแบบ กติกา ใน การ จัดการทรัพยากร (Design Principles - หัวขอ 2.3) สามารถนำมาปรับใชเปนมาตรวัดหรือขอเสนอแนะเกีย่ ว กับลักษณะพืน้ ฐานของลักษณะกติกาทีควร ่ จะเปนในการ


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

83

จัดการทรัพยากรหนึ่งๆ ในพื้นที่หนึ่งๆ ได การจำแนก ประเภทของสิทธิ์ (หัวขอ 2.2) ทำใหเห็นไดวาสิทธิแต ์ ละ แบบอาจจะมีผูใหสิทธิ์หรือรับรองสิทธิ์แตกตางกันก็ได เชน สิทธิ์ประเภทหนึ่งอาจใหชุมชนตัดสินใจปรับเปลี่ยน หรือมอบสิทธิ์นั้นใหแกผูใชทรัพยากรไดเอง ในขณะที่ สิทธิประเภท ์ อืน่ อาจจะจำเปนตองผานการกลัน่ กรองของ คณะกรรมการรวมหลายฝาย เชน นักวิชาการ องคกร พัฒนาเอกชน ขาราชการ เครือขายชุมชนอื่นๆ เปนตน การจำแนกแยกแยะประเภทสิทธิ์ลักษณะนี้อาจชวยให ประเด็น ขัด แยง ระหวาง รัฐ กับ ชุมชน เกี่ยว กับ สิทธิ์ ของ ชุมชนในการจัดการทรัพยากรมีความชัดเจนและหาจุด ทีลงตั ่ วไดงายขึน้ ก็ได เพราะคำถามจะเปลีย่ นจาก ‘จะให สิทธิชุ์ มชนในการจัดการหรือไม’ มาเปน ‘สิทธิส์ วนไหนจะ ใหแกชุมชนและสิทธิส์ วนไหนจะตองมีการกลัน่ กรองและ พิจารณาจากรัฐหรือหนวยงานอื่นๆ ประกอบดวย’ ในทายที่สุด งานของ Ostrom และการจัดการ ทรัพยากรรวมที่ประสบความสำเร็จทั้งในประเทศไทย และ ตาง ประเทศ เปน สิ่ง ที่ ทำให โลก ยัง มี ความ หวัง อยู


84

ชล บุนนาค

แนวคิดวาดวยการจัดการทรัพยากรรวม:

วา แนวคิดที่เชื่อวา คนไมสามารถรวมมือกันได มุงแต หาประโยชนจากการลงแรงของคนอื่น และใชประโยชน จากทรัพยากรรวมอยางไมยั้งคิดจนกระทั่งสูญสิ้นไป ไม เปนจริงเสมอไป หากผูใชทรัพยากรสามารถสื่อสารกัน และ ตกลง กติกา เพื่อ ประโยชน ใน ระยะ ยาว รวม กัน ได การจัดการอนุรักษและใชประโยชนจากระบบทรัพยากร อยางยั่งยืนก็สามารถเปนไปได ระบบตลาดและกลไก รัฐไมจำเปนตองเปนผูรายในการจัดการทรัพยากรเสมอ ไป ในขณะเดียวกันวิธีการทำงานแบบชุมชนก็ไมจำเปน ตองเปนพระเอกเสมอไป บทเรียนจากตางประเทศและ ในประเทศไทย เอง ตาง ชี้ ให เห็นวา การ เลือก ใช เครื่อง มือ หรือ สวน ผสม ของ เครื่อง มือ แบบ ตางๆ ให เหมาะ กับ บริบท เชิง นิเวศ และ สังคม และ ผูคน ของ แตละ พื้นที่ จะ ชวย ใหการ จัดการ ทรัพยากร รวม และ การก ระ จาย ผล ประโยชน ของ การ จัดการ ทรัพยากร เปน ไป อยาง มี ประสิทธิภาพและเปนธรรมมากขึน้ ความรวมมือของภาค สวนตางๆ ไมเฉพาะชุมชนผูใชทรัพยากร แตรวมถึงนัก วิชาการ ขาราชการ องคกรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน


ประสบการณจากตางประเทศ และแนวคิดในประเทศไทย

85

ทีเกี ่ ย่ วของ จะทำใหการจัดการทรัพยากรเปนไปไดอยาง ยัง่ ยืนและสามารถปรับตัวใหเขากับการเปลีย่ นแปลงของ โลกยุคในปจจุบันได


ºÃóҹءÃÁ ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ Biermann, Frank, Mitchele M. Betsill, Joyeeta Gupta, Norichika Kanie, Louis Lebel, Diana Liverman, Heike Schroeder, and Bernd Siebenhüner. 2009. Earth System Governance: People, Places and the Planet. Science and Implementation Plan of the Earth System Governance Project. , Earth System Governance Report 1, IHDP Report 20 Bonn, IHDP: The Earth System Governance Project. Dietz, Thomas, Elinor Ostrom, and Paul C. Stern. 2003. “The Struggle to Govern the Commons”. Science, Special section: Tragedy of the Commons?-Review. Vol. 302. p.1907-1012.


Hardin, Garrett. 1968. “The Tragedy of the Commons”. Science, 162(3859): 1243-48. Ostrom, Elinor. 1990. Governing the Commons: The Evolution of Institutions for Collective Action. Cambridge, UK: Cambridge University Press. Ostrom, Elinor. 2005. Understanding Institutional Diversity. Princeton, NJ: Princeton University Press. Ostrom, Elinor. 2010. “Beyond Markets and States: Polycentric Governance of Complex Economic Systems.” American Economic Review. Vol. 100 (June 2010) p.641-672 Sathirathai, Suthawan. 1998. “Economic Valuation of Mangroves and the Role of Local Communities in


the Conservation of Natural Resources: Case Study of Surat Thani, South of Thailand. Research Report.” http://203.116.43.77/publications/research1/ACF9E. html Sudtongkong, Chanyut, and Edward L. Webb. 2008. “Outcome of State- vs. Community-Based Mangrove Management in Southern Thailand”. Ecology and Society. Vol.13 Issue 2. Young, Oran R., Leslie A. King, and Heike Schroeder. 2008. Institutions and Environmental Change: Principal Findings, Applications, and Research Frontiers. Cambridge, US: MIT Press.


ÀÒÉÒä·Â ฉลาด ชาย รมิ ตา นนท, อานันท กาญ จน พันธ, สัณฐ ตา กาญ จน พันธุ. 2536. รายงาน การ วิจัย เรื่อง ปา ชุมชน ใน ประเทศไทย: แนวทางการพัฒนา, เลม 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา ชาญยุทธ สุดทองคง และพรเทพ วิรชั วงศ. 2548. การจัดการ ทรัพยากรชายฝง โดยชุมชน กรณีศึกษาปาชายเลนชุมชนบาน ทุงตะเซะ จังหวัดตรัง. รายงานวิจัย: คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี การ ประมง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราช มงคล ศรีวิชัย ดวงพร ภูแกว 2548. การจัดการทรัพยากรน้ำ: กรณีศึกษา บาน ปง ไคร อำเภอ แมริม จังหวัด เชียงใหม. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตร มหา บัณฑิต สาขา วิชาการ จัดการ มนุษย กับ สิ่งแวดลอม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.


ดิเรก เครือจินลิ 2545. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติของ เครือขายลุมน้ำแมแรก ตำบลทาผา อำเภอแมแจม จังหวัด เชียงใหม. วิทยานิพนธ ศึกษา ศาสตร มหา บัณฑิต สาขา วิชาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ทินกร เหลือลน. 2548. การจัดการทรัพยากรน้ำลุมน้ำลำ เซบายตอนบน. วิทยานิพนธ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมชลประทาน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เบญจภา ชุติมา. 2546. การจัดการทรัพยากรน้ำในระดับลุม น้ำและการกระจายประโยชนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรลุม น้ำแมวาง จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหา บัณฑิต (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปทมาวดี ซูซูกิ และชล บุนนาค 2552. โครงสรางอำนาจ ในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของไทย. ใน เศรษฐศาสตรการเมืองและสถาบันสำนักทาพระจันทร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ Openbooks.


วรศักดิ์ บุญพวง, คมศักดิ์ สุระผัด และ นัฐพงศ สิทธิวงศ. 2544. การจัดการทรัพยากรน้ำผิวดินเพือ่ การอุปโภคบริโภค ในลุมน้ำแควนอย. การศึกษาคนควาดวยตนเอง วท.ม. (การ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) มหาวิทยาลัย นเรศวร เลิศ ชาย ศิริชัย 2548. การ เคลื่อนไหว ของ ประชาชน กับ อำนาจในการจัดการทรัพยากร เอกสารประกอบการสัมมนา เวทีนโยบายสาธารณะเพื่อการจัดการทรัพยากรอยางเปน ธรรม และ ยั่ง ยืน: กรณี การ จัดการ พื้นที่ ชุม น้ำ วัน ที่ 19 ธันวาคม 2548 โรงแรมเกษศิริ จ.ศรีสะเกษ เลิ ศ ชาย ศิ ริ ชั ย 2549. ขบวนการ เคลื่ อ นไหว เพื่ อ สร า ง เศรษฐกิจแบบพอเพียงของชุมชนในเขต ปาชายเลนลุมน้ำ ปะเหลียน จังหวัด ตรัง. เอกสาร ทาง วิชาการ เสนอ มูลนิธิ ธรรมรัฐ


สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2546. สรุปการประชุม สัมมนา “การเมืองภาคประชาชนกับความเปนธรรมทางสังคม และการแกไขปญหาความยากจน” วันเสารที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 ณ หอประชุมแหงชาติสิริกิติ์ จัดโดยสำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย เว็บไซต http://www.tdri.or.th/ poverty/4.TRF.pdf (ดูเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ 2554) สุภาพ สังขไพฑูรย 2548 อภีษฎา คุณาพรธรรม. 2551. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่ง แวดลอม ของ เครือ ขาย องคกร ชุมชน: กรณี ศึกษา กลุม อนุรักษ และ พัฒนา ปา ชาย เลน บาน เปร็ ด ใน จังหวัด ตราด. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อานันท กาญจนพันธุ (บรรณาธิการ) 2543. “พลวัตของ ชุมชนในการจัดการทรัพยากร สถานการณในประเทศไทย”. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย


อภิชยั พันธเสน (บรรณาธิการ) 2549. สังเคราะหองคความรู เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย พิมพครั้งที่ 3 àÇ็ºä«μ áÅТ‹ÒÇ "Elinor Ostrom - Biographical". Nobelprize.org. 10 Mar 2011 http://nobelprize.org/nobel_prizes/economics/ laureates/2009/ostrom.html ผู้ จั ด การ. 2551. “สสส.หนุ น “ป่ า ชุ ม ชน” ยั่ ง ยื น ” หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์. http://www.thaihealth. or.th/healthcontent/article/5679 เพ็ญพิชญา เตียว. 2546. “ธนาคารไขกุง กามกรามสรางการมีสวน รวมในชุมชน” หนังสือพิมพไทยรัฐ. ประจำวันที่ 13 ตุลาคม 2546. http://www.environnet.in.th/index.php?view=article&catid=2 6&id=69&format=pdf&option=com_content&Itemid=19


สำรวม บุญลน. 2553. “ปาชุมชนตนแบบเฉลิมพระเกียรติ เมื่อทองถิ่นขอมีบทบาทกับการอนุรักษ” หนังสือพิมพคมชัด ลึก, ภูมิภาค-ประชาคมทองถิ่น: ขาวทั่วไป. วันพฤหัสบดี ที่ 9 กันยายน 2553. http://www.komchadluek. net/detail/20100909/72573/ป า ชุ ม ชน ต น แบบ เฉลิมพระเกียรติ เมื่อ ทอง ถิ่น ขอ มี บทบาท กับ การ อนุรักษ. html “สมั ช ชา ป า ชุ ม ชน ทาง เลื อ ก ทาง รอด ของ สั ง คม ไทย”. ThaiNGO.org 29 ตุลาคม 2551 http://www.thaingo. org/story/thidamon_recorf2.htm


ดำเนินการผลิต เปนไท พับลิชชิ่ง 0 2736 9918 waymagazine@yahoo.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.