ปฏิรูปภาษี โดยคุณกิติพงศ์ (Baker) Sep2010

Page 1

ปฏิ รปู ประเทศไทย: ต้องปฏิ รปู ภาษี กิตพิ งศ์ อุรพีพฒ ั นพงศ์ บทความในตอนทีแ่ ล้วผมได้เขียนถึงเรือ่ งประเด็นการปฏิรปู ภาษีของประเทศไทยว่าจะต้องมีการ ดำาเนินการอย่างเร่งด่วนและทีจ่ ะต้องมีการปฏิรปู ระบบภาษีของประเทศครัง้ ใหญ่เพือ่ ให้สอดรับกับแผน ปฏิรปู ประเทศไทยและแผนปรองดองของนายกรัฐมนตรี อภิสทิ ธ์ เวชชาชีวะ ในการลดช่องว่างระหว่าง คนชัน้ กลางและบรรดาประชาชนผูม้ รี ายได้น้อย ผมเชือ่ ว่ากระทรวงการคลังได้เคยมีการศึกษาการปฏิรปู ภาษีทงั ้ ระบบอยูแ่ ล้ว แม้วา่ ในขณะนี้กม็ คี วามพยายามทีจ่ ะมีการปรับปรุงกฎหมายสรรพสามิต กฎหมาย ศุลกากร ผมคิดว่าเป็ นการปรับปรุงเพือ่ การบริหารจัดการมากกว่าเป็ นการปรับปรุงปฏิรปู โครงสร้างภาษี อย่างแท้จริง ส่วนภาษีประมวลรัษฎากรก็ได้มคี ณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำาการศึกษา การยกร่างประมวลรัษฎากรเพือ่ ให้ชดั เจนและง่ายและแก้ไขบางประเด็น แต่ไม่ได้ปรับปรุงระบบภาษีทงั ้ ระบบ แต่เป็ นการปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งตามประเด็นทีม่ กี ารให้รฐั บาลพิจารณา ปญั หาการปฏิรปู ภาษีเป็ นเรือ่ งทีร่ ฐั บาลจะต้องให้ความสนใจอย่างเต็มทีแ่ ละกำาหนดระยะเวลาให้ แล้วเสร็จอย่างชัดเจนและต้องทำาไปพร้อมกับปฏิรปู ประเทศและควรทำาให้แล้วเสร็จก่อนการเลือกตัง้ ใน ปี 2554 ดังนัน้ การตัง้ คณะกรรมการปฏิรปู ภาษีของประเทศทัง้ ระบบจึงมีความจำาเป็ นอย่างเร่งด่วนที่ รัฐบาลนายกรัฐมนตรีอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ จะต้องดำาเนินการจัดตัง้ และกำาหนดแผนการให้ชดั เจนว่าจะ ทำาได้อย่างไรให้แล้วเสร็จทันในรัฐบาลนี้ภายในเวลาเท่าใด โดยต้องมีเป้าหมายว่าการปฏิรปู ภาษีนนั ้ จะ ต้องสร้างระบบกฎหมายทีเ่ ป็ นธรรมและสามารถนำารายได้มาสูป่ ระเทศเพือ่ นำาไปพัฒนาด้านการศึกษา สาธารณสุข และโครงสร้างประเทศพร้อมกระจายให้กบั ประชาชนท้องถิน่ หรือชุมชนได้อย่างแท้จริง ต้องมีการเสริมสร้างวัฒนธรรมการสมัครใจเสียภาษีทุกภาคส่วนว่าเป็ นหน้าทีท่ งั ้ กฎหมายและจริยธรรม อัตราภาษีตอ้ งเป็ นธรรมทีส่ ามารถสร้างความเข้มแข็งให้กบั ประเทศทัง้ ประชาชนและธุรกิจเพือ่ สร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยได้อย่างจริงจัง แม้วา่ จะมีการยุบสภาหรือเลือกตัง้ ในปี 2554 รัฐบาลก็อาจสมควรพิจารณาออกเป็ นพระราชกำาหนดก่อนการยุบสภาได้เพือ่ ให้สามารถปฏิรปู ภาษี ได้จริงจัง โดยต้องไม่คดิ ถึงผลประโยชน์การเลือกตัง้ ในระยะสัน้ โดยผมขอตัง้ ประเด็นใหญ่ ๆ ประกอบการพิจารณาดังนี้ (ผมต้องขอออกตัวก่อนว่า ข้อเสนอการ ปฏิรปู ภาษีของผมนัน้ มาจากประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพและการสอนหนังสือและในฐานะผูเ้ สีย ภาษี อาจไม่มที ฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาสนับสนุน ประเด็นใหญ่คอื ภาษีทรัพย์สนิ ภาษีเงินได้และภาษี ศุลกากร 1. รัฐบาลจะต้องพยายามผลักดันกฎหมายทรัพย์สนิ (ร่าง พรบ. ภาษีทด่ี นิ และสิง่ ปลูกสร้าง) ให้นำาไปสูก่ ระบวนการบังคับใช้โดยเร็วโดยควรจะต้องเร่งรัดให้กฎหมายนี้มผี ลภายในระยะเวลาอันใกล้น้ี

1


โดยจะต้องมีการปรับร่างกฎหมายให้ชดั เจนโดยออกกฎหมายลำาดับรองให้พร้อมเพือ่ ให้ทราบว่ามีป ญั หา เช่นไร ทัง้ นี้ รัฐบาลจะต้องปรับโครงสร้างพืน้ ฐานของข้อมูล ของทุน มูลค่าของทรัพย์สนิ ต่าง ๆ ให้อยูใ่ น ระบบกลางทีส่ ามารถตรวจสอบได้ (โดยผมจะได้นำาร่างกฎหมายมาวิเคราะห์ในโอกาสต่อไป) 2.

การปฏิรปู ภาษีเงินได้

ผมได้เคยเขียนบทความไว้หลายปี มาแล้วว่า นับแต่มปี ระมวลรัษฎากรตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2482 ประเทศไทยยังไม่เคยมีการปฏิรปู ภาษีเงินได้ครัง้ ใหญ่ ๆ เลย ยกเว้นกรณีภาษีมลู ค่าเพิม่ เมือ่ ปี พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ ประเทศไทยก็ยงั คงประสบปญั หาทีม่ อี ยู่ ผูเ้ สียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาน้อย แม้จะเพิม่ ขึน้ มากเมื่อเทียบกับสมัยก่อน ผมเคยได้รบั ทราบว่ามีผยู้ น่ื แบบเสียภาษีเงินได้ประมาณ 10 ล้านแบบ และเมือ่ เร็ว ๆ นี้รองนายรัฐมนตรี ดร. ไตรรงค์ สุวรรณคีรี ได้เปิ ดเผยว่ามีผเู้ สียภาษีเงินได้ (หมายถึงผูท้ ย่ี ่นื เสียภาษีโดยไม่ได้ขอคืนภาษีทเ่ี สียไปทัง้ หมดมีเพียง 6 ล้านคน ทัง้ ๆ ทีเ่ ราควรมีอตั รา ผูเ้ สียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่น้อยกว่า 13 ล้านคน (โดยเทียบจาก 20% ของอัตราประชากร) ถ้าถามว่า ทำาไมคนไม่อยากเสียภาษี คำาตอบคือ บุคคลเหล่านี้รายได้ลดลง มีผหู้ นีภาษีมากขึน้ หรือ ผูเ้ สียภาษีรสู้ กึ ว่าไม่เป็ นธรรมและอยูใ่ นอัตราภาษีสงู อีกทัง้ การหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนก็ไม่สะท้อน ภาพความเป็ นจริง และผูเ้ สียภาษีไม่รสู้ กึ ว่าเขาได้รบั อะไรคืนจากรัฐบาล หรือมีสทิ ธิอะไรเป็ นพิเศษ โดยเมือ่ เปรียบเทียบภาพรวมทัง้ หมดกับภาษีเงินได้ในภูมภิ าค เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และฮ่องกง ภาษีเงินได้ของผูม้ เี งินได้และบริษทั เราเสียภาษีในอัตราสูงกว่าเพื่อนบ้าน สำาหรับภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลก็เช่นกัน ประเทศไทยมีบริษทั กว่า 300,000 บริษทั รายได้ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีเ่ ป็ นของบริษทั จดทะเบียนกว่าร้อยละ 25-30 มาจากบริษทั จดทะเบียน กว่า 500 บริษทั ก็แสดงว่าเรามีบริษทั ทีข่ าดทุนแล้วไม่เสียภาษีให้รฐั เป็ นจำานวนมาก กลายเป็ นผู้ ประกอบการหรือผูม้ รี ายได้สว่ นน้อยต้องรับผิดชอบนำาเงินผูเ้ สียภาษีสว่ นน้อยมาอุม้ คนส่วนใหญ่ การ ปฏิรปู จึงจะต้องทำาให้ฐานภาษีมากขึน้ แต่อตั ราภาษีลดลงพร้อมทัง้ ทุกคนอยากจะเสียเพราะไม่คมุ้ กับ การหลบหลีก 2.1

ภาษีเงิ นได้บคุ คลธรรมดา 2.1.1 ลดอัตราภาษีเงินได้หรือเพิม่ ค่าใช้จ่ายให้ผเู้ สียภาษีและให้สทิ ธิ ประโยชน์ผเู้ สียภาษีเพือ่ เป็ นแรงจูงใจ

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทยนัน้ เรียกเก็บภาษีแบบ “อัตรา ก้าวหน้า” ขึน้ อยูก่ บั เงินได้ ในอดีตทีผ่ า่ นมารัฐบาลก็ได้มกี ารยกเว้นอัตราภาษีสาำ หรับผูม้ เี งินได้ขนั ้ ต่าำ โดยการลดไม่เก็บภาษีผมู้ เี งินได้หลังหักรายจ่ายแล้วในช่วง 100,000 บาท คือ ร้อยละ 5 และใครทีม่ เี งิน ได้สุทธิเกิน 100,000 บาท ก็เก็บในอัตราร้อยละ 10, 20, 30 และ 37 ตามลำาดับ สำาหรับประเทศไทยถ้า หากเราดูอตั ราภาษี อัตราก็ยงั สูงอยูแ่ ละยิง่ พิจารณาจากการหักค่าใช้จ่าย ซึง่ ไม่สะท้อนความจริงด้วย จึง ไม่อยากเสียภาษี ผมเชือ่ ว่าหากลดอัตราภาษีลงก็จะช่วยให้คนเข้าระบบมากขึน้ รวมทัง้ หากมีรายจ่าย 2


จริงก็หกั ได้ ก็จะทำาให้คนเข้าระบบภาษีมากขึน้ และผูเ้ สียภาษีจะเป็ นผูต้ รวจสอบภาษีให้รฐั บาลโดยการขอ ใบเสร็จจากผูป้ ระกอบการ ผมคิดว่า ควรมีการพิจารณาให้เสียภาษีในอัตราเดียว (flat rate) กำาลังเป็ นที่ นิยมในต่างประเทศแทนการเก็บอัตราภาษีกา้ วหน้าโดยหลักทีว่ ่าใครได้รบั รายได้มากต้องเสียภาษีมากน่า จะเป็ นแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ดา้ นการเงิน แต่ในปจั จุบนั มักจะมีคาำ ถามเสมอว่า การทำาเช่นนี้ เป็ นธรรมจริงหรือเปล่า เพราะทำาให้คนอยู่นอกระบบภาษีไม่อยากเสียภาษี ในประเทศไทยคนยิง่ รวย มากก็ยงิ่ หาทางเสียภาษีให้น้อยลง อาจจะเป็ นการหลบหลีกภาษีหรือวางแผนภาษีโดยการจัดตัง้ บริษทั ขึน้ มาในลักษณะ Tax Shelter โดยนำารายจ่ายมาหักได้ คนทีม่ รี ายได้สงู มีความรูส้ กึ ว่า การเสียภาษีใน อัตราสูง ๆ แต่วา่ ตนเองและครอบครัวไม่ได้รบั ประโยชน์อะไรเลยจากภาครัฐ ไม่วา่ จะเป็ นเรือ่ งของการ ศึกษา การพยาบาล หรือการดูแลเมื่อแก่เกษียณในระยะยาว ยังมีการเก็บอัตรายิง่ มีเงินได้สงู ก็ยงิ่ เสีย ภาษีในอัตราสูงขึน้ นัน้ จึงเป็ นช่องทางทำาให้ผมู้ เี งินได้เหล่านัน้ ต้องหาทางวางแผนภาษีหรือหลบหลีกภาษี ให้เสียภาษีให้น้อยลงโดยการจัดตัง้ บริษทั ลงทุนและสร้าง tax shelter ขึน้ และรัฐบาลก็ตอ้ งทุ่มกำาลังมา ตรวจสอบการหลบหลีกภาษีเป็ นการเสียงบประมาณ การพิจารณาเรียกเก็บภาษีในอัตรา flat rate ให้อยูใ่ นอัตราไม่สงู มากนัก โดย เมือ่ เปรียบเทียบกับผูม้ เี งินได้ในภูมภิ าคใกล้เคียงกัน เช่น สิงคโปร์และฮ่องกงในอัตรา 2-20% มาเลเซีย (2-30%) ซึง่ ในประเทศเหล่านี้ยงั หักรายจ่ายได้มากกว่าในประเทศไทยเช่นกัน ประเทศไทยอาจต้องคิด นอกกรอบและให้สอดคล้องและแข่งขันกับประเทศเหล่านัน้ ได้ อีกทัง้ จะทำาให้คนเข้ามาอยูใ่ นระบบภาษี มากเท่าใด นอกจากนัน้ ผมเห็นว่าการให้เสียภาษี การยืน่ แบบ น่าจะเป็ นการบังคับยืน่ แบบทุกคน (เพือ่ ได้ขอ้ มูลครบถ้วน) ส่วนใครทีต่ อ้ งอยูใ่ นข่ายต้องเสียภาษีนนั ้ ก็ขน้ึ อยูก่ บั จำานวนรายได้ ซึง่ ในการดำาเนิน การดังกล่าวก็คงจะต้องมีการคิดให้รอบคอบว่า ควรเก็บในอัตราใด ผมคิดว่า 20% (น่าจะเหมาะสมในการ ให้สทิ ธิแก่พนักงานของสำานักงานปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค (ROH) ให้เสียภาษีในอัตรา 15% ถึง 8 ปี) ถ้าเรา สามารถเก็บภาษีในอัตราทีเ่ หมาะสม แต่มผี เู้ สียภาษีมากขึน้ ก็ยอ่ มจะมาชดเชยกับภาษีสว่ นทีข่ าดไปได้ หรือไม่ รวมทัง้ รัฐบาลควรพิจารณาให้สทิ ธิประโยชน์แก่ผยู้ ่นื แบบเสียภาษีเงินได้ เช่น การให้กเู้ งิน ดอกเบีย้ กูจ้ ากสถาบันการเงินของรัฐหรือการได้สทิ ธิซอ้ื ทรัพย์สนิ จากการเคหะในราคาถูก การให้สทิ ธิประโยชน์รกั ษาพยาบาลหรือกรณีเกิดทุกขภัยหรือความเสียหาย รัฐบาลก็อาจจะช่วยเหลือผู้ เสียภาษีในจำานวนเงินทีม่ ากกว่าปกติได้ การมีขอ้ มูลทีค่ รบถ้วนของผูเ้ สียภาษี รัฐบาลก็จะสามารถให้ ความช่วยเหลือได้ตรงและได้มากกว่าการให้ความช่วยเหลือเป็ นการทัวไปได้ ่ อนั เป็ นการแสดงว่าผูเ้ สีย ภาษีมสี ทิ ธิพเิ ศษกว่าผูไ้ ม่เสียภาษีอนั จะเป็ นการจูงใจให้คนอยากเสียภาษีได้

3


2.1.2 การปรับปรุงอัตราค่าลดหย่อนและอนุญาตให้หกั ค่าใช้จ่ายตามความเป็ น จริ งในปัจจุบนั โดยอาจกำาหนดอัตราสูงสุดเป็ นร้อยละของเงิ นได้ ปจั จุบนั นี้เงินได้บุคคลธรรมดาทีเ่ ป็ นค่าจ้างนัน้ ให้นำาค่าใช้จ่ายจำานวนไม่เกิน 100,000 บาท และค่าลดหย่อนคนทีเ่ ป็ นโสดก็จะหักได้ไม่เกิน 30,000 บาท ต่อคน หากกรณีผมู้ บี ุตรก็ สามารถหักค่าลดหย่อนได้ไม่เกินคนละ 15,000 บาท สำาหรับบุตรไม่เกิน 3 คน ท่านผูอ้ ่านลองดูสคิ รับว่า จำานวนเงินค่าใช้จ่ายเหล่านี้สะท้อนความเป็ นจริงหรือไม่ ผมจึงขอเสนอให้พจิ ารณารายจ่ายต่อไปนี้ให้หกั เป็ นค่าใช้จ่ายหรือค่าลดหย่อนได้ โดยสะท้อนความเป็ นจริงและหลักการเพือ่ ให้บรรลุนโยบายของรัฐบาล ในแต่ละขัน้ ผมมีความเห็นว่า การพิจารณาหักค่าใช้จ่ายตามความเป็ นจริงแล้ว อาจกำาหนดอัตราสูงสุด ไว้ (เช่น ไม่เกินร้อยละ 20 ของรายได้) ผมมีความเห็นว่าก็จะช่วยให้รฐั เก็บภาษีได้มากขึน้ และผลจะ ทำาให้ผมู้ เี งินได้ได้รบั ความคุม้ ครองหรือใช้สทิ ธิในการวางแผนการเงินในอนาคตของตนเองได้ โดย รัฐบาลอาจไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายเหล่านี้โดยนำาค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบไปช่วยผูม้ รี ายได้น้อยได้อกี ทัง้ ผูเ้ สียภาษีกลุม่ นี้ยงั สามารถเป็ นตัวแทนการเก็บภาษีให้รฐั บาลมากขึน้ และเป็ นการช่วยเหลือธุรกิจตาม นโยบายของรัฐบาลได้ เช่น (1) ค่าเช่า หากผูม้ เี งินได้สามารถนำาค่าเช่ามาหักเป็ นค่าใช้จ่ายได้ (แต่อาจ จะมีการจำากัดวงเงิน) รัฐบาลก็ยงั เก็บภาษีจากผูใ้ ห้เช่าได้อกี เพราะปจั จุบนั ผูเ้ ช่าก็ไม่ตอ้ งการใบเสร็จ (เพือ่ นำามาหักรายจ่าย) และยังมีขอ้ มูลเรือ่ งมูลค่าของทรัพย์สนิ ได้อกี ด้วย ดูตวั อย่างตอนท้ายถึงวงจร การเก็บภาษี (2) ค่าดอกเบีย้ เงินกูส้ าำ หรับบ้านหลังแรกโดยไม่ควรจำากัดวงเงิน อันจะ เป็ นการช่วยส่งเสริมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ แต่อาจกำาหนดให้สอดคล้องกับรายได้วา่ บ้านไม่ควรเกิน วงเงินเท่าใดต่ออัตราส่วนรายได้ (3)

เพิม่ อัตราเบีย้ ประกันชีวติ และนโยบายการออม

(4) กรณีการหักรายจ่ายเกีย่ วกับการลงทุนด้านการศึกษา การอบรม ไม่วา่ จะเป็ นการซือ้ หนังสือ การเข้ารับการฝึกอบรมของบุคคลธรรมดาซึง่ ต้องการขวนขวายความรูข้ องบุคคล ธรรมดา ปจั จุบนั ค่าใช้จ่าย การศึกษา หรือการบริจาค หนังสือต่าง ๆ ปจั จุบนั ทางกรมสรรพากรให้หกั ได้ 2 เท่า ให้แก่บริษทั ในการส่งพนักงานไปพัฒนาเพือ่ ศึกษาหรือการเข้ารับการฝึกอบรม แต่สาำ หรับ บุคคลธรรมดาเหล่านัน้ ทีไ่ ม่ได้เป็ นลูกจ้าง แต่เป็ นอาชีพอิสระ จะไม่มสี ทิ ธินำาค่าเรียน ค่าเข้าอบรมดัง กล่าวมาหักเป็ นค่าลดหย่อนหรือค่าใช้จ่ายได้ (5) ค่ารักษาพยาบาลก็ควรจะให้หกั เป็ นค่าใช้จ่ายเพราะหากซือ้ ประกันไม่ ต้องเสีย แต่การรักษาพยาบาลก็ควรหักเป็ นค่าใช้จ่ายได้ เป็ นการให้สวัสดิการโดยตรง 4


(6) ค่าใช้จ่ายพิเศษ เช่น ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ้าน การเดินทางท่องเทีย่ ว ในประเทศ (ทีร่ ฐั บาลเสนอมาตรการหักรายจ่ายปจั จุบนั ) เพือ่ ส่งเสริมธุรกิจการท่องเทีย่ วในปจั จุบนั เป็ นต้น ประเด็นเรือ่ งการหักรายจ่ายตามความเป็ นจริงข้างต้นจะทำาให้เกิดระบบทีเ่ ป็ น ธรรมเพราะการหักรายจ่ายตามจริง ผูเ้ สียภาษีจะทำาหน้าทีแ่ ทนกรมสรรพากรในการขอใบเสร็จรับเงิน หรือใบกำากับภาษี ทางกรมสรรพากรก็สามารถไปเรียกเก็บภาษีจากผูร้ บั จะทำาให้มวี ฏั จักรทีค่ รบวงจร ผูม้ รี ายได้ทุกคนก็จะต้องเข้ามาอยูใ่ นระบบภาษีมากขึน้ แทนทีจ่ ะส่งเสริมให้ขอใบเสร็จรับเงินหรือใบ กำากับภาษีเพือ่ ให้นำามาชิงโชค การหักค่าใช้จ่ายข้างต้นอาจมีการจำากัดจำานวน (สูงสุด) ไม่เกินร้อยละ 20 ของเงินได้ กล่าวคือ ใครมีเงินได้มากก็ควรหักค่าใช้จ่ายหรือค่าลดหย่อนได้มาก เพือ่ ให้สอดคล้องกับ ความเป็ นจริง) ผมอยากขอให้ท่านพิจารณาการเก็บภาษีวงจรต่อไปนี้วา่ แบบไหนน่ าจะดีกว่ากัน

กรณี รายจ่ายที่มีใบเสร็จหักค่าใช้จ่ายได้

เก็บภาษีเ 50 บาท

ผูม้ เี งินได้

นายจ้าง

ขอใบเสร็จ รายจ่าย 50 บาท ผูม้ เี งินได้ 50 บาท

เก็บภาษี 50 [บาท

กรม สรรพากร

กรณี นี้ผ้มู ีเงิ นได้ไม่ขอใบเสร็จ

รายรับ 100 บาท

นายจ้าง

ภาษี 80 บาท (หลังหักค่าใช้จา่ ย ค่าลดหย่อน)

ผูม้ เี งินได้

ภาษี

รายจ่ายทีไ่ ม่มใี บเสร็จ (ค่าเช่า ค่าซ่อมแซมบ้าน นอกระบบ 20

ภาษีเก็บไม่ได้ ผูม้ เี งินได้ 5

* กรณีกรมสรรพากรเก็บภาษีได้ 80 บาท แต่ไม่สามารถเก็บภาษีจากผูอ้ ยูน่ อกระบบได้


จากแผนภูมขิ า้ งต้นวงจรการเก็บภาษี ผมเห็นว่าจะทำาให้รฐั บาลสามารถเก็บ ภาษีจากผูอ้ ยูน่ อกระบบภาษีได้มากขึน้ ด้วยการทีผ่ มู้ เี งินได้ขอใบเสร็จมาหักเป็ นค่าใช้จ่าย (แต่อาจ กำาหนดอัตราขัน้ สูงสำาหรับเงินได้บางประเภท) และอาจนำามาถึงการยกเลิกค่าใช้จ่ายทีเ่ ป็ นการเหมา สำาหรับเงินได้บางประเภท (ซึง่ ทำาให้ระบบภาษีผดิ เพีย้ นไปพอสมควร) และจะทำาให้บุคคลเข้ามาอยูใ่ น ระบบภาษีมากขึน้ และรัฐจะเก็บภาษีได้ในระยะยาว โดยให้ผมู้ เี งินได้ทาำ หน้าทีต่ วั แทนเก็บภาษีให้กบั รัฐบาล นอกจากนี้ กรณีธุรกิจบางประเภททีอ่ ยูน่ อกระบบภาษีอาจเสนอให้มกี ารให้ผซู้ อ้ื สินค้า บริการ สามารถขอคูปองสลากชิงโชคทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องไปซือ้ จากกรมสรรพากรเพื่อแจกให้กบั ลูกค้าตามจำานวนเงินเพื่อตรวจรางวัล ก็จะทำาให้การตรวจสอบรายได้ของผูข้ ายอาหารหรือสินค้าได้มาก ขึน้ ซึง่ ประเทศจีนก็ได้นำามาใช้และประเทศไทยเองก็อาจจะเหมาะสมกับวิธกี ารนี้ เช่น ภาษีรายได้จาก การขายอาหารหรือสินค้าบางอย่างแทนทีก่ ารกรอกใบกำากับภาษีชงิ โชค 2.1.3 เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากการขายหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ของผูล้ งทุน ระยะสัน้ เมือ่ เร็ว ๆ นี้มแี นวคิดจากนักศึกษาวิทยาลัยตลาดทุนเสนอให้มกี ารเเก็บภาษีเงิน ได้จากผูล้ งทุนทีเ่ ป็ นบุคคลธรรมดาในตลาดหลักทรัพย์ฯ ผมเองก็ได้เคยเสนอให้ยกเลิกการยกเว้นภาษี เงินได้ของผูข้ ายหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ (ซึง่ มีอยูแ่ ค่ 300,000 คน) โดยให้เรียกเก็บในอัตราต่าำ และ สามารถหักผลขาดทุนเป็ นรายจ่าย โดยให้บริษทั หลักทรัพย์ฯ เป็ นผูด้ แู ล แต่ยงั คงยกเว้นแก่ผถู้ อื หุน้ ใน ลักษณะลงทุนระยะยาว เช่น กองทุนรวม การถือหุน้ อย่างน้อย 12 เดือน ผมยังคงยืนยันความเห็นนี้ เพราะผมเชือ่ ว่า เงินส่วนนี้รฐั บาลก็สามารถนำาไปชดเชยค่าภาษีสว่ นทีข่ าดเพราะเท่าทีด่ กู นั ก็จะพบว่า จะ มีการซือ้ ขายหลักทรัพย์กนั ประมาณวันละ 10,000-20,000 ล้านบาท ถ้าคิดง่าย ๆ ว่า ปีหนึ่งมีการซือ้ ขายกันประมาณ 200 วัน ก็จะมียอดซือ้ ขายกันประมาณเดือนละ 400,000 บาท ถ้าหากเราคิดเฉลีย่ อัตราภาษีในอัตราง่าย ๆ ร้อยละ 5 รวมทัง้ ให้หกั ผลขาดทุนได้ เฉลีย่ แล้วก็จะได้เงินประมาณ 20,000 ล้านบาท หักกลบผลขาดทุนทีผ่ เู้ สียภาษีนำามาหักก็อาจจะมีเงินได้ประมาณปี ละ 10,000 ล้านบาท อย่าง สบาย ๆ ประเด็นเหล่านี้อาจจะมีผลกระทบต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ในระยะสัน้ และอาจจะเป็ นการลดกระแส ความไม่พอใจของคนในสังคมไทยได้เช่นกัน การกำาหนดหลักเกณฑ์กาำ กับทำาได้ไม่ยากโดยรัฐบาลอาจ ให้บริษทั หลักทรัพย์ชว่ ยเก็บและจ่ายค่าใช้จ่ายให้กบั บริษทั หลักทรัพย์ตามจำานวนภาษีทเ่ี ก็บได้เป็ น 2-5% ของภาษี 2.1.4 พิจารณาปรับปรุงเพิม่ อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ นัน้ ให้ไม่เกิน 10% โดยต้องพิจารณา ลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิตบิ ุคคลลงให้สอดคล้องด้วยและต้องให้ผมู้ รี ายได้น้อยได้รบั ผลก ระทบจากภาษีมลู ค่าเพิม่ น้อยทีส่ ุด เช่น อาจให้คงอัตราเดิมสำาหรับสินค้าทีจ่ าำ เป็ นหรือยกเว้นกรณีการซือ้

6


สินค้าอุปโภคบริโภคไม่เกินจำานวนทีก่ ฎหมายกำาหนดและเพิม่ อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ สำาหรับสินค้าหรือ บริการทีไ่ ม่จาำ เป็ น 2.2

ภาษีเงิ นได้นิติบคุ คล

กรณีภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลก็คล้าย ๆ กับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะปจั จุบนั มี บริษทั ทีเ่ สียภาษีเงินได้น้อย (หลายบริษทั ได้รบั ประโยชน์จากสิทธิภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนซึง่ ได้รบั การยกเว้นภาษี) ต้องยอมรับว่าการลดอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องทำาควบคูก่ บั การลด อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผมจึงขอเสนอให้รฐั บาลพิจารณาดังนี้ 2.2.1 ลดอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลและเก็บภาษีเงินได้บริษทั BOI โดยเริม่ จากบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ก่อน ลดอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลให้เหลือในอัตราทีแ่ ข่งขันกับฮ่องกงหรือสิงคโปร์ได้ เช่น ค่อย ๆ ลดอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจาก 30% ลงเป็ น 27% 25% และ 20% ในทีส่ ุดโดยใช้เวลา 4 ปี ในขณะเดียวกันก็ควรจะคงให้อตั ราภาษีสาำ หรับบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้แตกต่าง กับบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียน กล่าวคือ ควรลดภาษีบริษทั จดทะเบียนให้เหลือ 25% 22% 20% และ 18% โดยใช้เวลา 4 ปี ตามลำาดับ เพือ่ จะให้สอดคล้องกับนโยบายการให้บริษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลัก ทรัพย์ฯ มากขึน้ เพราะหากไม่มสี ทิ ธิประโยชน์ทางภาษีเพือ่ จูงใจแล้ว กิจการก็ไม่อยากจะเข้าไป จดทะเบียนเพราะมีขอ้ กำาหนดกฎเกณฑ์ทต่ี อ้ งปฏิบตั ติ ามอย่างมากมาย การส่งเสริมเช่นนี้กจ็ ะทำาให้ ตลาดทุนเข้มแข็ง ปจั จุบนั มาตรการการส่งเสริมสิทธิประโยชน์สาำ นักงานภูมภิ าค (ROH) จะทำาให้บริษทั ไทยทีล่ งทุนต่างประเทศจะเสียภาษีอยูใ่ นอัตราร้อยละ 20 หากมีการวางแผนภาษีทด่ี ี ผมเชือ่ ว่า หากทุก บริษทั เสียภาษี จำานวนเงินภาษีทร่ี ฐั บาลจะเก็บได้กจ็ ะมากขึน้ เช่นเดียวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา รวมทัง้ กรณีการลดสิทธิประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้ BOI ลง โดยอาจเก็บในอัตราต่าำ กว่าปกติ เช่น เริม่ จาก 10% ก่อน ก็จะทำาให้รฐั เก็บภาษีเพิม่ มากขึน้ โดยเริม่ จากธุรกิจใหม่ ไม่กระทบของเดิม 2.2.2 การหักค่าใช้จ่ายเพิม่ จากการลงทุนเพือ่ การวิจยั และพัฒนาและพัฒนาสังคมหรือ ตามนโยบายพิเศษ การหักค่าใช้จ่ายในการลงทุนด้านการวิจยั และพัฒนาหรือความรับผิดชอบต่อ สังคม และการลงทุนใหม่ โดยลักษณะการทีใ่ ห้เอกชนมีบทบาทส่งเสริมธุรกิจเพือ่ สังคมและการศึกษา เช่น การหักค่าใช้จ่ายในการวิจยั และพัฒนา (R.D.) (ซึง่ ปจั จุบนั ก็มอี ยูแ่ ต่มเี งือ่ นไขมาก) หรือการนำาค่าใช้ จ่ายเพือ่ การศึกษาและสังคมให้มากกว่า 2% ของรายรับ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้เอกชนมีบทบาทในการพัฒนา สังคม แข่งขัน แบ่งปนั การเรียนรู้ และมีความรับผิดชอบต่อสังคมโดยตรง แต่ตอ้ งกำาหนดเงือ่ นไขและวิธี

7


การทีโ่ ปร่งใสตรวจสอบได้เพราะปจั จุบนั การให้รฐั บาลเข้าไปส่งเสริมธุรกิจในเชิงลึกหรือลงทุนเพือ่ ยก ระดับการศึกษาของประชาชนและผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมก็ยงั ขาดประสิทธิภาพ การให้เอกชนมีบทบาท ในการส่งเสริมและมีความรับผิดชอบต่อสังคมหรือทีเ่ รียกว่า CSR (Corporate Social Responsibility) ให้ มีบทบาทอย่างแท้จริง รวมตลอดถึงการให้หกั ค่าใช้จ่ายค่าเสือ่ มราคาได้ในอัตราพิเศษสำาหรับการขยาย การลงทุนใหม่ในธุรกิจทีร่ ฐั บาลกำาหนดเป็ นนโยบาย เช่น กรณีบริษทั BOI อาจไม่ยกเว้นภาษี แต่ให้หกั รายจ่ายบางอย่างตามนโยบาย เช่น การถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือการฝึกอบรมคนไทยหรือค่าใช้จ่ายที่ จ่ายในประเทศไทยในบางเรือ่ งให้มากกว่าอัตราปกติหรืออัตราเร่งเพือ่ ให้ภาษีสุทธิอาจจะอยูใ่ นอัตราที่ ยอมรับได้ เช่น 10-20% โดยในระยะแรกอาจแทบไม่ตอ้ งเสียภาษีกไ็ ด้ 2.2.3 การแก้ไขเรื่องภาษีของการควบกิจการ รวมถึงการใช้ผลขาดทุนของบริษทั ควบ กิจการได้ รวมทัง้ การให้กลุม่ บริษทั สามารถยืน่ เสียภาษีรวมโดยใช้ผลขาดทุนของบริษทั ในเครือเพือ่ สร้างความเข้มแข็งให้ธุรกิจไทย (ซึง่ อยูใ่ นระหว่างการศึกษาของคณะกรรมการพัฒนาตลาดทุน) 2.2.4 การกำาหนดมาตรฐานทางบัญชีภาษีอากรและมาตรฐานทางบัญชีให้สอดคล้อง กัน 2.2.5 กำาหนดให้บริษทั ทีเ่ สียภาษีเงินได้หรือมีกาำ ไรเท่านัน้ ทีจ่ ะได้รบั สิทธิในการยืน่ ประมูลงานของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจได้ โดยขึน้ อยูก่ บั ประเภทของงานและผลกำาไรต่อรายรับอันจะส่ง ผลให้บริษทั ทำางบการเงินทีต่ รงไปตรงมาและโปร่งใสเพือ่ รับงานจากหน่วยงานของรัฐ 2.2.6 ลดอัตราหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายให้อยูใ่ นอัตราเดียวกันและมีกลไกการคืนภาษีท่ี รวดเร็ว 2.2.7 เพิม่ มาตรการนิรโทษกรรมก่อนใช้กฎหมายใหม่และต้องมีโทษทีร่ นุ แรงหากยัง คงพบว่ามีการหนีภาษี 3.

ภาษีศลุ กากร 3.1

แก้ไขกฎหมายศุลกากรให้เป็ นไปตามแนวทางของนานาชาติ

3.2 ต้องแก้ไขโดยยกเลิกโทษทางอาญาบางเรือ่ งออกไปโดยเฉพาะกรณีทผ่ี ปู้ ระกอบ การไม่ได้จงใจหลีกเลีย่ ง แต่อาจเป็ นเรือ่ งความเข้าใจผิดโดยให้เป็ นเรือ่ งทางแพ่ง ทีส่ าำ คัญควรพิจารณา ยกเลิกเงินสินบนและรางวัลเพราะปจั จุบนั เป็ นช่องทางการทุจริตทัง้ โดยชอบและไม่ชอบด้วยกฎหมาย เงินสินบนรางวัลนำาจับจะตกเป็ นของเจ้าหน้าที่ 55% รัฐบาลได้เงินเพียง 15% และผูถ้ กู ประเมินนำามาหัก

8


เป็ นรายจ่ายได้ (ผมเคยเขียนบทความเรือ่ งนี้มาแล้วและเสนอให้ไม่ควรให้หกั รายจ่ายได้หากเป็ นการ กระทำาผิดอาญาโดยจงใจ) 3.3

การลดอัตราภาษีศุลกากรสำาหรับสินค้าฟุม่ เฟื อยบางประเภทเพือ่ ส่งเสริมให้เป็ น ศูนย์กลางการช็อปปิ้งและท่องเทีย่ ว

ในการทีจ่ ะให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วและช็อปปิ้งและป้องกัน เงินตราออกนอกประเทศจากผูท้ ไ่ี ปลงทุน จึงสมควรให้มกี ารพิจารณาการลดอัตราสินค้าฟุม่ เฟือยเพือ่ ให้ เมืองไทยเป็ นศูนย์กลางการช็อปปิ้ง เช่น ฮ่องกงและสิงคโปร์ โดยการจะลดอัตราภาษีขาเข้าลงแทนทีจ่ ะ มีการปล่อยให้มกี ารหนีภาษีสาำ หรับอภิสทิ ธิ ์ชน เช่น ไวน์ ในสิงคโปร์เก็บภาษีในอัตราขวดละ 10 เหรียญ ไม่วา่ มูลค่าไวน์จะราคาเท่าใดหรือของ Brandname ทีม่ รี าคาสูง ก็ควรจะไปลดภาษีลงให้ใกล้เคียงกับต่าง ประเทศเพราะหากบริษทั เหล่านัน้ กำาไรก็ตอ้ งเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลอยู่ดเี พราะของเหล่านี้มขี ายในเมือง ไทยก็ขายได้ถกู กว่าสิงคโปร์และฮ่องกงเพราะค่าเช่าและต้นทุนถูกกว่า 2 ประเทศนี้มาก และจะยังมีการ จ้างแรงงาน การเช่าทรัพย์สนิ จากเจ้าของศูนย์การค้าได้ อันจะเป็ นการครบวงจรทางเศรษฐกิจ ปจั จุบนั ระหว่างเงินได้จากศุลกากรไม่ควรจะเป็ นรายได้หลัก แต่รฐั บาลควร คิดถึงผลกระทบอื่น ๆ ในระยะยาว ไม่วา่ จะเป็ นหน่วยผลพลอยได้จากเงินได้จากการจ้างงาน และธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์และท่องเทีย่ ว แต่การกำาหนดเงือ่ นไขสินค้าฟุม่ เฟือย คงจะต้องดูถงึ ราคาสินค้าว่าเป็ น ของ Brandname จริงหรือไม่เพือ่ คุม้ ครองผูผ้ ลิตในประเทศเช่นเดียวกับประเทศมาเลเซีย บทสรุป บทความนี้ผมอาจไม่มที ฤษฎีทางวิชาการสนับสนุน แต่ผมคิดว่าอย่างน้อยข้อมูลหรือข้อเสนอที่ เสนอนี้จะเป็ นประโยชน์ในการศึกษาข้อดีขอ้ เสียของมาตรการแต่ละมาตรการโดยเฉพาะย่อมต้องมีผไู้ ด้ และเสียในการปฏิรปู ภาษี แต่ทุกอย่างจะต้องพิจารณาโดยเอาประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นทีต่ งั ้ โดย ไม่ถอื เอาประโยชน์ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น หากลดภาษีกระทรวงการคลังก็อาจ เก็บภาษีน้อยลงในระยะแรกแต่ในระยะยาว อาจเก็บภาษีทงั ้ ทางตรงและทางอ้อมได้มากขึน้ ผมจึงขอ วิงวอนคนไทยทุกคนให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการปฏิรปู ภาษีและรัฐบาลต้องรับเป็ นเจ้าภาพในการดำาเนิน การต่อไปอย่างรีบด่วนต่อไป.

9


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.