Safety week53 final20120629 lo

Page 1





สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน ในโอกาสการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันที่ ๘ – ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ เป็นกิจกรรมที่ส�ำคัญ และมีความหมายยิ่งที่กระทรวงแรงงานจัดให้มีขึ้น อย่างต่อเนือ่ งเป็นประจ�ำทุกปี โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ รณรงค์ให้ทกุ ภาคส่วนทัง้ ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ นายจ้าง และลูกจ้าง รวมทั้งคนท�ำงานจากทุกสาขาอาชีพเกิดจิตส�ำนึกความปลอดภัยในการท�ำงาน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักที่จะ ควบคุม ป้องกันอันตรายต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากการท�ำงาน ทั้งนี้เพื่อให้ปลอดจากอุบัติเหตุ อุบัติภัย การบาดเจ็บ หรือ โรคเนื่องจากการท�ำงาน เพราะปัญหาที่เกิดจากการประสบอันตรายของลูกจ้างจะมีผลกระทบโดยตรงต่อสถานะของ ครอบครัว ขวัญ และก�ำลังใจของเพื่อนร่วมงาน เชื่อมโยงไปถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการประกอบกิจการ และยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคมโดยรวมของประเทศด้วย ผมในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ขอยืนยันว่ากระทรวงแรงงานจะมุ่งให้ความส�ำคัญในการดูแล ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของผู้ใช้แรงงานอย่างจริงจัง ทั้งลูกจ้างที่อยู่ในข่ายคุ้มครองกองทุนเงินทดแทนกว่า ๘ ล้านคน จากสถานประกอบกิจการทั้งหมดเกือบ ๓๙๐,๐๐๐ แห่ง และผู้ที่อยู่ในก�ำลังแรงงาน ซึ่งมีทั้งผู้ประกอบ อาชีพในภาคอุตสาหกรรม ผู้รอฤดูกาล ผู้ว่างงาน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ และผู้ที่เตรียมพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน ทั่วประเทศอีกกว่า ๓๘ ล้านคน เพราะถ้าเราไม่สร้างระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่มีประสิทธิภาพ คนเหล่านี้ก็จะขาดหลักประกันความมั่นคงในชีวิต ต้องท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม อยู่ในสภาพเสี่ยงต่อ การเกิดอุบัติเหตุและโรคจากการท�ำงาน นอกจากนี้กระทรวงแรงงานจะเป็นหน่วยงานหลัก ในการบูรณาการแผนงาน ด้านความปลอดภัยของทุกภาคส่วนสู่การปฏิบัติ เพื่อให้การขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดี” บังเกิดผลเป็นรูปธรรมโดยการมีส่วนร่วมจากทุกองค์กรตามเจตนารมณ์ของรัฐบาลที่มุ่งหวังให้ ทุกภาคส่วนมีเป้าหมายร่วมกันในการน�ำพาเศรษฐกิจไทย สูก่ ารแข่งขันทางการค้าเสรี ภายในปี ๒๕๕๙ อย่างมัน่ คงต่อไป ผมขอแสดงความยินดีในความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทุกฝ่ายในการจัดงาน และขอขอบคุณ ทุกท่านที่มีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ในครั้งนี้

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 3


สารบัญ สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน ก�ำหนดการพิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ค�ำกล่าวรายงานของปลัดกระทรวงแรงงาน นายสมชาย ชุ่มรัตน์ ค�ำกล่าวเปิดและปาฐกถาพิเศษของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ก�ำหนดการพิธีมอบรางวัลการประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน ค�ำกล่าวรายงานของ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ค�ำกล่าวในพิธีมอบรางวัลการประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ประมวลภาพพิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ และพิธีมอบรางวัล ก�ำหนดการสัมมนาวิชาการ ประมวลภาพสัมมนาวิชาการ

สรุปค�ำบรรยายสัมมนาวิชาการ

แผนทีก่ ารขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ (Road Map) ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ท�ำอย่างไร... เพื่อรองรับแผนที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระเบียบวาระแห่งชาติให้บรรลุเป้าหมาย แนวปฏิบัติตามหลักการความรับผิดชอบต่อสังคม ISO ๒๖๐๐๐ : Social Responsibility นักอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับการมีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) คู่มือระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตามแนวปฏิบัติขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO-OSHMS) มาตรฐานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย Safety Culture การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร นวัตกรรม เพื่อการยกระดับความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ ชุดการเรียนรู้ เครื่องมือฝึกอบรมด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย แพทย์อาชีวเวชศาสตร์และพยาบาลอาชีวอนามัยกับการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ สถาบันการศึกษา ร่วมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อแรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดี การป้องกันและประสานงานแผนเพื่อลดความรุนแรงจากอุบัติภัยสารเคมี กฎหมายฉบับใหม่ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของกระทรวงแรงงาน เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน�้ำ การออกแบบการยศาสตร์เชิงสร้างสรรค์

หน้า ๓ ๖ ๗ ๙ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๒๔ ๓๐ ๓๓ ๓๘ ๔๐ ๔๒ ๔๙ ๕๘ ๖๔ ๗๐ ๗๔ ๗๖ ๗๙ ๘๐ ๘๖ ๑๐๓


ประชาพิจารณ์ ร่างประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน�ำ้ การน�ำเสนอผลงานวิชาการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ประมวลภาพกิจกรรม

ประมวลภาพนิทรรศการสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ประมวลภาพกิจกรรมเวทีกลาง Safety Rally การประกวดทีมฉุกเฉินในสถานประกอบกิจการ การประกวดวาดภาพความปลอดภัย

หน้า ๑๐๕ ๑๑๕ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๖ ๑๒๗

สรุปผลการประกวด

รายชื่อสถานประกอบกิจการ คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน รายชื่อสถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลดีเด่น ๑-๔ ปี คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ได้รับรางวัลระดับประเทศ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศ รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย (Best Practice) ผลการประกวดทีมฉุกเฉินในสถานประกอบกิจการ ผลการประกวดวาดภาพ

๑๓๐ ๑๓๙ ๑๔๔ ๑๔๔ ๑๔๖ ๑๕๑ ๑๕๓

สรุปการประเมินผลการจัดงาน

๑๖๐

สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานภาคตะวันตก จังหวัดราชบุรี สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานภาคใต้ จังหวัดสงขลา

๑๖๖ ๑๗๐ ๑๗๔ ๑๘๔ ๑๙๑

คำ�สั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานที่ ๑๔/๒๕๕๓ ๒๖/๒๕๕๓ คำ�สั่งกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานที่ ๒๐๐/๒๕๕๓ และ ๒๘๘/๒๕๕๓

๒๐๒ ๒๓๙

สรุปการประเมินผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๓ สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน ๕ ภูมิภาค ปี พ.ศ. ๒๕๕๓

คำ�สั่งคณะกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำ�งาน


ก�ำหนดการพิธีเปิด งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันพฤหัสบดีที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ลงทะเบียน ณ Grand Hall ชั้น ๒ ๐๙.๔๕ น. ผู้ร่วมพิธีเปิดงานพร้อมกันในห้อง Grand Hall ชั้น ๒ ๑๐.๐๐ น. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ถึงบริเวณพิธี - Opening Show ชุด We are CSR (ความยาว ๕ นาที) - พิธีกรกล่าวต้อนรับประธาน และแขกผู้มีเกียรติ - ชมวีดิทัศน์ “แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม” (ความยาว ๗ นาที) - ปลัดกระทรวงแรงงาน กล่าวรายงาน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ท�ำพิธีเปิดงาน และปาฐกถาพิเศษ เรื่อง“ความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพลักษณ์ธุรกิจไทยในเวทีการค้าโลก” - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มอบรางวัลแก่สถานประกอบกิจการ ทีผ่ า่ นเกณฑ์ดเี ด่นด้านความปลอดภัยฯ ระดับประเทศติดต่อกัน ๕ ปีขนึ้ ไป จ�ำนวน ๑๘๒ แห่ง - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รับมอบของที่ระลึก จากปลัดกระทรวงแรงงาน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ถ่ายภาพร่วมกับผู้บริหารระดับสูงของ กระทรวงแรงงาน และผู้มีเกียรติ ๑๑.๑๐ - ๑๑.๓๐ น. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน พร้อมคณะผู้จัดงาน ท�ำพิธีเปิดนิทรรศการ ณ Event Hall ชั้น ๑ / ร่วมเดินชมงานในส่วนต่างๆ

6 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


คำ�กล่าวรายงานปลัดกระทรวงแรงงาน นายสมชาย ชุ่มรัตน์ ในพิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันพฤหัสบดีที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร เรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในนามของผู้จัดงานขอขอบคุณ ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานเป็นอย่างสูง ที่ได้กรุณาสละเวลามาเป็น ประธานในพิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ในวันนี้ การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ เป็นการด�ำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงแรงงานด�ำเนินการจัดงานดังกล่าวต่อเนื่องทุกปี ซึ่งในปีนี้นับเป็นครั้งที่ ๒๔ จัดขึ้นระหว่างวัน ที่ ๘ - ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ภายใต้ชื่องาน “แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม”  วัตถุประสงค์ เพือ่ รณรงค์ให้ทกุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐ และเอกชน แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการตระหนัก ถึงความส�ำคัญของความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของคนท�ำงานทุกสาขาอาชีพ สร้างเสริมและแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้เพื่อการพัฒนาการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในปัจจุบัน รวม ทั้งเพื่อทบทวนบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการน�ำนโยบาย “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ที่รัฐบาล ได้ประกาศให้เป็นระเบียบวาระแห่งชาติ ลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สถานการณ์ด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน ของประเทศในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา พบว่าในแต่ละปีลูกจ้าง ต้องประสบอันตรายจากการท�ำงานเฉลี่ยกว่าปีละ ๑๙๐,๐๐๐ คนต่อปี ในจ�ำนวนนี้มีผู้เสียชีวิตเฉลี่ยปีละ ๗๓๓ ราย ส�ำนักงานประกันสังคมต้องจ่ายเงินทดแทนกว่าปีละ ๑,๖๐๐ ล้านบาท เป็นที่น่ายินดีว่าในปี ๒๕๕๒ ที่ผ่านมา มีลูกจ้าง ประสบอันตรายจากการท�ำงานรวมทุกกรณี ๑๔๙,๔๓๖ ราย ซึ่งลดลงต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ ๒๑.๓๕ ประเภทกิจการที่มี การประสบอันตรายสูง ๓ ล�ำดับแรก ได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ การค้า และการก่อสร้าง โดยสาเหตุของการประสบอันตรายสูง ๓ ล�ำดับแรก ได้แก่วัตถุสิ่งของบาด/ทิ่มแทง วัตถุสิ่งของกระแทก/ ชน และวัตถุ หรือสารเคมี กระเด็นเข้าตา ส�ำหรับอวัยวะ ทีม่ กี ารประสบอันตรายสูง ๓ ล�ำดับแรก ได้แก่ นิว้ มือ ตา และมือ ตามล�ำดับ ปัญหาเหล่านี้ เป็นโจทย์ทกี่ ระทรวงแรงงานได้พยายามท�ำทุกวิถที างเพือ่ หาวิธกี ารควบคุมป้องกันอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งนี้ได้มีการก�ำหนดพันธกิจทั้งในเชิงการป้องกันและการแก้ไข โดยใช้มาตรการทางกฎหมายคู่ขนานไปกับมาตรการ ด้านการส่งเสริมจูงใจ ได้แก่ ๑. การตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการที่มีการประสบอันตรายสูง โดยประสานความร่วมมือ ใช้ข้อมูลการประสบอันตรายและเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงานจากส�ำนักงานประกันสังคม ๒. จัดให้มกี ารฝึกอบรม/สัมมนา ให้ความรูด้ า้ นความปลอดภัยแก่นายจ้างลูกจ้างและเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย ในการท�ำงานตลอดทั้งปี

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 7


๓. ด�ำเนินคดีแก่ผู้ฝ่าฝืนพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ อย่างเคร่งครัด โดยในปี ๒๕๕๒ ได้ด�ำเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง ๕๗๑ คดี เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน ๘,๓๘๓,๘๘๖ บาท ในจ�ำนวนนี้เป็นการด�ำเนิน คดีทางด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน ร้อยละ ๑๐.๑๕ ของจ�ำนวน คดีทั้งหมด ค่าปรับรวมกว่า ๒ ล้านบาท หรือ คิดเป็น ร้อยละ ๒๕ ของจ�ำนวนค่าปรับทั้งหมด ๔. กระทรวงแรงงานและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้เร่งรัดผลักดันร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพื่อเป็นกฎหมายแม่บทของการบริหารงานความปลอดภัยของ ประเทศ ล่าสุดเมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ กรรมาธิการวิสามัญ สภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ฉบับดังกล่าวครบทุกมาตราแล้ว ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรจะได้นำ� เข้าพิจารณาในวาระ ๒ และวาระ ๓ ต่อไป ๕. กระทรวงแรงงานได้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน และคณะอนุกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานระดับจังหวัดทุกจังหวัด เพื่อก�ำหนดมาตรการแก้ไข และป้องกันปัญหาด้านความปลอดภัย ๖. นอกจากมาตรการทางกฎหมายแล้ว กระทรวงแรงงานได้ดำ� เนินมาตรการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบ กิจการเกิดความตระหนัก และใส่ใจที่จะบริหารจัดการงานความปลอดภัยฯ ด้วยตนเอง โดยการสร้างแรงจูงใจให้ สถานประกอบกิจการสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ จัดให้มกี ารประกวดสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย ในการท�ำงาน โครงการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการท�ำงานให้เป็นศูนย์ โครงการความปลอดภัยสู่สถานศึกษา โครงการเฝ้าระวังสถานประกอบกิจการเพื่อลดการประสบอันตรายจากการท�ำงาน ซึ่งสามารถท�ำให้สถิติการประสบ อันตรายจากการท�ำงานมีแนวโน้มลดลงอย่างเป็นรูปธรรม การจัดงานในครั้งนี้มีกิจกรรมต่างๆ ประกอบด้วยการมอบรางวัลแก่สถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลดีเด่น ด้านความปลอดภัยในการท�ำงานระดับประเทศ ซึ่งในปีนี้มีจ�ำนวนทั้งสิ้น ๔๘๘ แห่ง การสัมมนาวิชาการ การจัด นิทรรศการ และกิจกรรมความปลอดภัยของหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และสถานประกอบกิจการต่างๆ ที่ประสบ ความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย รวมทั้งการประกวดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยที่น่าสนใจต่างๆ ในโอกาสนี้ กระผมขอเรียนเชิญท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน โปรดให้เกียรติท�ำพิธีเปิดงานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๒๔ และกล่าวปาฐกถาพิเศษเรือ่ ง “ความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพลักษณ์ ธุรกิจไทยในเวทีการค้าโลก” พร้อมทั้งมอบรางวัลแก่สถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลดีเด่นด้านความปลอดภัย ระดับประเทศติดต่อกันตั้งแต่ ๕ ปีขึ้นไปจ�ำนวน ๑๘๒ แห่ง จากนั้น ขอเรียนเชิญท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิดงานแสดงนิทรรศการ และเยี่ยมชมกิจกรรมบริเวณห้องแสดงนิทรรศการเป็นล�ำดับต่อไป เรียนเชิญครับ

8 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


คำ�กล่าวเปิดและปาฐกถาพิเศษ เรือ่ ง “ความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพลักษณ์ธรุ กิจไทยในเวทีการค้าโลก” ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน) ในพิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันพฤหัสบดีที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร ท่านปลัดกระทรวงแรงงาน ผู้บริหารและข้าราชการกระทรวงแรงงาน ผู้ประกอบการ พี่น้องผู้ใช้แรงงาน ผู้มีเกียรติทุกท่าน ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ฯพณฯนายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้ผมมาเป็นประธานในพิธีเปิดงานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ในวันนี้ ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดีกับสถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานระดับประเทศติดต่อกันตัง้ แต่ ๕ ปีขนึ้ ไป และขอขอบคุณ ทีท่ า่ นร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประเทศของเรา โดยเฉพาะในช่วงเวลานี้ ซึง่ เป็นช่วงเวลาทีป่ ระเทศ ชาติต้องการความร่วมมือ ร่วมใจสมัครสมานสามัคคีเป็นอย่างยิ่งที่จะน�ำพาประเทศให้ผ่านพ้นวิกฤตต่างๆ ที่เกิดขึ้น และพลิกฟื้นศักยภาพของประเทศให้มีความมั่นคงเพื่อความเป็นอยู่ที่ผาสุกของทุกท่านและทุกคนในชาติ ผมในฐานะรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงานต้องขอขอบคุณผูป้ ระกอบการทัง้ หลาย ทีร่ ว่ มกันฝ่าฟันปัญหาวิกฤต เศรษฐกิจ ประคับประคองการด�ำเนินกิจการของท่านมาจนทุกวันนี้ ซึง่ นับเป็นส่วนส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เศรษฐกิจของประเทศ เข้าสู่ภาวะที่สามารถกล่าวได้ว่าอยู่ในสภาวะที่ดี เพราะมีทั้งการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนที่จะกลับมาอยู่ที่ ร้อยละ ๑๐.๒ และการลดลงของจ�ำนวนผู้ว่างงาน โดยเฉพาะในครึ่งปีแรกของปีนี้ที่มีการเลิกจ้างลดลงถึงร้อยละ ๙๕.๑๗ เมื่อเปรียบเทียบกับในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ในขณะที่มูลค่าการส่งออกครึ่งปีแรกก็มีการขยายตัวได้ มากกว่าร้อยละ ๓๔ และมีแนวโน้มหรือทิศทางที่ดีมากในช่วงครึ่งปีหลัง การบริโภคภาคเอกชนในปี ๒๕๕๓ คาดว่า จะขยายตัวร้อยละ ๓.๖ จากปีก่อนที่หดตัวร้อยละ - ๑.๑ ท�ำให้กระทรวงการคลังได้ประกาศเป้าหมายของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP) จากเดิมร้อยละ ๔.๕ เป็นร้อยละ ๕.๕ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายนที่ผ่านมา แต่อย่างไรก็ตาม ในส่วนของการท่องเทีย่ วนัน้ เนือ่ งจากมีเหตุการณ์ความไม่สงบได้เกิดขึน้ ท�ำให้เราคาดการณ์วา่ รายได้จากการท่องเทีย่ ว อาจจะลดน้อยลง ดังนัน้ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตต่างๆ คงจะต้องมีบทบาทมากขึน้ ในการเป็นหัวขบวนกระตุน้ เศรษฐกิจ ในภาพรวมของประเทศต่อไป

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 9


ผมขอเรียนให้ทราบว่ารัฐบาลนี้ตระหนักเสมอว่า “แรงงาน” คือก�ำลังส�ำคัญของการพัฒนาและร่วมน�ำพา เศรษฐกิจของชาติไปสูก่ ารเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน รัฐบาลจึงได้ให้ความส�ำคัญแก่การส่งเสริมผูป้ ระกอบการไปพร้อมๆ กับการช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ใช้แรงงาน นอกจากนี้ ยังได้มีการเตรียมความพร้อมเพื่อให้แรงงานมี ความเข้มแข็งและมีความมัน่ คงปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ และได้มกี ารขับเคลือ่ นนโยบาย “แรงงานปลอดภัยและสุขอนามัยดี”  ให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยมีเป้าหมายให้พี่น้องผู้ใช้แรงงานท�ำงานในสภาพแวดล้อม ที่ได้มาตรฐาน ความปลอดภัย ลดอัตราการประสบอันตรายจากการท�ำงานให้น้อยลง สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการท�ำงาน และช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ของพี่น้องผู้ใช้แรงงานให้มากขึ้นเพราะปัญหาของผู้ใช้แรงงานไม่ได้มีอยู่เพียงปัญหา ด้านความปลอดภัยเท่านั้นแต่ยังมีปัญหาในด้านอื่นๆ อีกเป็นจ�ำนวนมากด้วย ท่านผู้มีเกียรติทั้งหลาย เรื่องความปลอดภัยในการท�ำงานนั้น ไม่เพียงแต่จะมีความส�ำคัญต่อผู้ใช้แรงงานเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้อง กับภาพลักษณ์ของประเทศด้วย เพราะทุกครั้งที่มี การเผยแพร่ข่าวอุบัติเหตุจากการท�ำงานออกไปสู่สายตาชาวโลก ไม่ว่าด้วยสาเหตุอะไรก็ตาม ก็จะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศด้วย ดังนั้น การที่เราคือทั้งหน่วยงานภาครัฐ และท่านผู้ประกอบการ ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาในเรื่องเหล่านี้อย่างจริงจัง ก็เชื่อมั่นว่าจะสามารถช่วยสร้างบรรยากาศ การลงทุนและพลิกฟื้นความเชื่อมั่นให้กลับคืนมาได้ ในเรื่องความปลอดภัยในการท�ำงานนี้ นอกจากการตระหนักรู้ถึงความส�ำคัญของปัญหา และเตรียมพร้อม ป้องกันไว้ล่วงหน้าแล้ว การมีวินัยในการท�ำงาน คือผู้ใช้แรงงานท�ำงานด้วยความระมัดระวัง และท�ำงานโดยยึดระเบียบ กฎเกณฑ์ ตลอดจนข้อห้ามต่างๆอย่างเคร่งครัด ก็เป็นสิ่งจ�ำเป็น เพราะการขาดวินัยคือความประมาท และเมื่อมี ความประมาทแล้วประตูด้านความไม่ปลอดภัยก็จะเปิดกว้างขึ้น เราจึงต้องช่วยกันปลูกฝังให้เกิดวินัยในการท� ำงาน ของฝ่ายต่างๆ ให้มากขึ้นด้วย ในขณะที่การป้องกันที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งก็คือการดูแล ท�ำนุบ�ำรุงเครื่องจักรและ อุปกรณ์ให้อยูใ่ นสภาพทีด่ อี ยูเ่ สมอ เพราะหลายครัง้ ความไม่ปลอดภัยทีเ่ กิดขึน้ ไม่ได้เกิดจากการขาดวินยั ของคนท�ำงาน แต่อาจจะเกิดจากปัญหาของเครื่องจักรและอุปกรณ์ได้เช่นกัน ผมต้องขอขอบคุณกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานและผู้จัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน แห่งชาติที่ได้น�ำเรื่องของความรับผิดชอบทางสังคม (CSR) มาเป็นประเด็นหลักของการจัดงานในปีนี้เพราะเรื่องนี้ เป็นเรื่องที่นานาประเทศทั่วโลกต่างให้ความส�ำคัญ และถือว่าเป็นตัวบ่งชี้ถึงการพัฒนาทางสังคมและคุณภาพชีวิต ในแต่ละประเทศด้วย โดยได้มกี ารหยิบยกเรือ่ งนีม้ าพิจารณาในเวทีระหว่างประเทศในหลายระดับไม่วา่ จะเป็นการประชุม ในระดับภูมิภาคอาเซียน(ASEAN) เอเชียแปซิฟิก (APEC) หรือการประชุมเอเชีย - ยุโรป (ASEM) ก็ตาม ประเด็นหลักของ CSR มีเรื่องมาตรฐานด้านแรงงานเป็นประเด็นส�ำคัญประการหนึ่ง โดยได้มีการก�ำหนด เงื่อนไขไว้ทั้งในเรื่องของการจ้างงานที่มีความมั่นคง เงื่อนไขในการท�ำงาน เรื่องของค่าตอบแทนและสวัสดิการ รายได้ที่มีความยุติธรรม การให้อิสระและสิทธิในการเจรจาต่อรอง และการให้ โอกาสในการพัฒนาศักยภาพโดยการ อบรมและการเสริมสมรรถนะ เป็นต้น ประเด็นส�ำคัญอีกเรื่องหนึ่ง ก็คือ เรื่องความปลอดภัยในการท�ำงานและการดูแลให้ผู้ปฏิบัติงานท�ำงานด้วย ความปลอดภัย ไม่ประสบอันตรายหรือมีความเสี่ยงในการเกิดโรคจากการท� ำงาน ซึ่งในความเป็นจริงแล้วเรื่อง ความปลอดภัยนี้ถือว่าเป็นความจ�ำเป็นพื้นฐานส�ำหรับทุกคนและทุกอาชีพ เพราะถ้าหากเราท�ำงานโดยไม่ค�ำนึงถึง ความปลอดภัย และเกิดปัญหาขึ้นมาแล้ว ก็จะท�ำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อผู้ใช้แรงงาน สถานประกอบการ และส่งผลไป ถึงการแข่งขันและการลงทุน อันหมายถึงความเข้มแข็งของประเทศต่อไป 10 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


จากที่ท่านปลัดกระทรวงแรงงานได้รายงานไปเมื่อสักครู่นี้ แสดงให้เห็นว่าในระยะหลังการประสบอันตราย จากการท�ำงานของผูใ้ ช้แรงงานของเราได้ลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ นัน่ เป็นสิง่ ทีด่ แี ละหมายถึงการลดลงของความสูญเสีย ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเราด้วย เราคงรู้สึกยินดีกันว่า ผู้ใช้แรงงานได้รับการดูแลเอาใจใส่ใน เรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานมากขึ้น ซึ่งหมายความว่าจะท�ำให้คนของเรามี ช่วงเวลาของการท�ำงานที่ยาวขึ้นโดยสุขภาพไม่เสีย ผมจึงขอขอบคุณองค์กรที่ได้ด�ำเนินงานด้วยความมีคุณธรรม ความรับผิดชอบ และเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานในองค์กร ซึ่งเป็นคุณงามความดีที่เราจะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ยั่งยืน ถาวรเพื่อสร้าง ภาพลักษณ์ ความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจในชื่อผลิตภัณฑ์ต่อไป ซึ่งเรื่องที่กล่าวมานี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากผูบ้ ริหารของสถานประกอบกิจการไม่เป็นผูน้ ำ� และไม่เป็นแบบอย่างทีด่ ี จึงหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าท่านผูม้ เี กียรติทงั้ หลาย จะให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งความปลอดภัยในการท�ำงาน มีความรับผิดชอบต่อสังคม และช่วยกันส่งเสริมภาพลักษณ์ของ ธุรกิจไทยให้ก้าวหน้าในเวทีการค้าโลกยิ่งๆ ขึ้นไป ท่านผู้มีเกียรติทั้งหลาย รัฐบาลพยายามแก้ไขปัญหาให้แก่พี่น้องประชาชนกลุ่มต่างๆเพื่อลดความเดือดร้อนที่เกิดจากผลกระทบ จากวิกฤตเศรษฐกิจ รวมทัง้ พีน่ อ้ งผูใ้ ช้แรงงานก็เป็นกลุม่ เป้าหมายหลักกลุม่ หนึง่ ด้วย โดยนอกจากรัฐบาลจะมีมาตรการ ช่วยเหลือเป็นการทัว่ ไปเช่นเดียวกับพีน่ อ้ งประชาชนสาขาอาชีพอืน่ ๆ แล้ว ยังมีมาตรการเฉพาะด้านเพือ่ บรรเทาผลกระทบ ในด้านต่างๆ ได้แก่ การแก้ไขปัญหาการว่างงานและชะลอการเลิกจ้าง การขยายระยะเวลาการได้รับเงินประโยชน์ ทดแทนกรณีเลิกจ้าง การจัดสวัสดิการให้แก่แรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายก�ำหนด การลดอัตราเงินสมทบกองทุน ประกันสังคม การเพิ่มประสิทธิภาพการคุ้มครองแรงงานทั้งระบบ การบริการจัดหางาน และการพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นต้น ส่วนในด้านความปลอดภัยในการท�ำงานได้มกี ารเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในสังคมไทยนอกเหนือจาก ในกลุ่มผู้ใช้แรงงานเพื่อให้การตระหนักและระมัดระวังในความปลอดภัยเป็นเรื่องที่อยู่ในจิตส�ำนึกและพฤติกรรมของ ทุกคนทุกอาชีพด้วย ผมขอเรียนว่ากระทรวงแรงงานจะเป็นเจ้าภาพหลักในการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี” การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑ และมาตรการส่งเสริมต่างๆ อย่างแข็งขันต่อไป โดยเฉพาะการผลักดันร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานเพื่อให้เป็นกฎหมายแม่บทของการบริหารงานความปลอดภัยของประเทศ ซึ่งในขณะนี้อยู่ในกระบวนการของ สภาผู้แทนราษฎรตามที่ท่านปลัดกระทรวงแรงงานได้รายงานมาแล้ว และขอให้ส่วนราชการ รวมทั้งรัฐวิสาหกิจและ ภาคเอกชน ช่วยกันพลิกฟื้นศักยภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ด้วยการดูแลให้แรงงาน มีความปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยดี ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตโดยทั่วกัน โดยรัฐบาลพร้อมที่จะให้การสนับสนุนในทุกๆ ด้าน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์และประโยชน์สุขร่วมกันของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ผู้ใช้แรงงานต่อไป ท้ายที่สุดนี้ ผมขออ�ำนวยพรให้การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ประสบผล ส�ำเร็จตามเจตนารมณ์ทุกประการ และขอให้ทุกท่านประสบแต่ความสุข ความเจริญ โดยทั่วกัน ขอบคุณครับ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 11


ก�ำหนดการพิธีมอบรางวัลการประกวดกิจกรรม ด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

๑๑.๐๐ - ๑๒.๔๕ น. ๑๒.๔๕ - ๑๓.๑๕ น. ๑๓.๑๕ - ๑๓.๓๐ น. ๑๓.๓๐ น. ๑๓.๓๐ – ๑๓.๓๕ น. ๑๓.๓๕ – ๑๔.๐๐ น.

ลงทะเบียนผู้เข้ารับรางวัล ณ Grand Hall ชั้น ๒ ซักซ้อมการรับรางวัลประเภทต่างๆ ผู้ร่วมพิธีมอบรางวัล พร้อมกันในห้อง Grand Hall ชั้น ๒ ชมวิดีทัศน์ “แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ประธานในพิธี ถึงบริเวณพิธี อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กล่าวรายงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน กล่าวประกาศเกียรติคุณ และมอบรางวัล การประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน - สถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ ๑-๔ ปี ๑๒๔ รางวัล - คณะกรรมการความปลอดภัยฯ ในสถานประกอบกิจการดีเด่น ๕ รางวัล - เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพดีเด่น ๙ รางวัล - รางวัลการประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ (Best Practice) ๑๘ รางวัล - รางวัลการประกวดทีมฉุกเฉินในสถานประกอบกิจการ ๑ รางวัล - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ถ่ายภาพร่วมกับผู้บริหารระดับสูงของ กระทรวงแรงงาน และผู้มีเกียรติ

12 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำกล่าวรายงาน ของ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ในพิธีมอบรางวัลการประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร เรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในนามของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ขอขอบพระคุณท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานเป็น อย่างยิ่ง ที่ได้กรุณาให้เกียรติมาเป็นประธานมอบรางวัลการประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท�ำงานในวันนี้ การประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท�ำงานเป็นกิจกรรมทีก่ รมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจัดให้ มีขึ้น เป็นส่วนหนึ่งของงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติมาโดยตลอด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ให้สถานประกอบกิจการ มีการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้ได้มาตรฐานตามระบบสากล และสอดคล้องกับกฎหมาย รวมทัง้ ให้บคุ ลากรทีท่ ำ� งานด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน นายจ้าง ลูกจ้าง นักเรียน นิสติ นักศึกษา และประชาชน มีสว่ นร่วมในกิจกรรมทีส่ ามารถสร้างและปลุกจิตส�ำนึกความปลอดภัยในการท�ำงานและในการ ใช้ชีวิตประจ�ำวัน ผ่านสื่อและรูปแบบกิจกรรมต่างๆ การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ นี้ ได้มีการประกวดกิจกรรมด้านความ ปลอดภัยในการท�ำงานหลายกิจกรรม ซึ่งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิได้พิจารณาตัดสินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ ๑. การประกวดสถานประกอบกิจการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มีสถานประกอบกิจการเข้าร่วมประกวด จ�ำนวน ๙๑๓ แห่ง ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ ๔๘๘ แห่ง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ๕ แห่ง และเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ระดับวิชาชีพ ๙ คน ๒. การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัยที่เป็นตัวอย่างได้ (Best Practice) มีผลงานเข้า ร่วมประกวดจ�ำนวน ๔๗ ผลงาน เป็นผลงานที่ได้รับรางวัลระดับดีเด่น ๒ ผลงาน และรางวัลระดับดี ๑๖ ผลงาน ๓. การประกวดวาดภาพความปลอดภัยมีนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเข้าร่วม แข่งขัน จ�ำนวน ๘๔ ราย ๔. การประกวดทีมปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน มีสถานประกอบกิจการส่งทีมปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินเข้าร่วมประกวด จ�ำนวน ๒๓ ทีม ผ่านการพิจารณาให้ได้รบั รางวัล ๖ ทีม เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ สถานประกอบกิจการ นายจ้าง ลูกจ้าง บุคลากร ด้านความปลอดภัย และผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมทีไ่ ด้รบั การพิจารณาให้ได้รบั รางวัลการประกวดกิจกรรมด้านความปลอดภัย ในการท�ำงาน ดังกล่าวข้างต้น ดิฉันขอเรียนเชิญท่านได้กรุณากล่าวประกาศเกียรติคุณ และให้เกียรติมอบรางวัลแก่ผู้ ชนะการประกวด โดยขออนุญาตให้พิธีกร เป็นผู้กล่าวเชิญผู้ขึ้นรับรางวัล ที่อยู่พร้อมกัน ณ ที่นี้แล้ว ขอเรียนเชิญท่านรัฐมนตรีค่ะ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 13


คำ�กล่าวในพิธีมอบรางวัลการประกวดกิจกรรม ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน) ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ วันเสาร์ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพมหานคร ท่านปลัดกระทรวงแรงงาน ท่านอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน ผมมีความยินดีและรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มาเป็นประธานในพิธีมอบรางวัลการประกวดกิจกรรมส่งเสริมความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ประจ�ำปี ๒๕๕๓ในวันนี้ การที่ กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ได้จดั ให้มพี ธิ มี อบรางวัลแก่ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย ในการท�ำงาน ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติครั้งนี้ นับว่าเป็นกิจกรรมที่มีความส�ำคัญและเป็น ประโยชน์อย่างมาก เพราะนอกจากเป็นการประชาสัมพันธ์ยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่สถานประกอบกิจการและผู้ที่ได้ รับรางวัลแล้ว ยังเป็นเครือ่ งแสดงให้เห็นถึงการมีสว่ นร่วมของท่านทัง้ หลาย ในการเป็นพลังขับเคลือ่ นระเบียบวาระแห่ง ชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ร่วมกับกระทรวงแรงงานอีกด้วย ต้องยอมรับว่าปัญหาความไม่ปลอดภัยในการท�ำงานทั้งที่ปรากฏเป็นข่าวหรือที่ไม่ปรากฏเป็นข่าว แต่มีข้อมูล ให้เรารับรู้อยู่บ่อยครั้ง ล้วนมีเหตุผลเบื้องลึกมาจากความไม่ระวัง ความไม่รู้ ความไม่กลัว ความไม่คาดคิดว่าจะเกิด เหตุอันตราย หรือความไม่เชื่อในมาตรการควบคุมป้องกันอันตรายที่ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็น เพราะเราไม่ได้ปลูกฝังคนของเราให้มีจิตส�ำนึกความปลอดภัยหรือสร้างให้มีทัศนคติด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน และการด�ำรงชีวิตอย่างถูกต้อง การจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน เป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วม มีความสนุกที่จะเรียนรู้ สามารถซึมซับความรู้ ความเข้าใจ สร้างทัศนคติที่ถูกต้อง และปลูกฝังให้เกิดส�ำนึก ความปลอดภัยได้อย่างง่ายๆ และบรรลุผล การทีท่ า่ นทัง้ หลายให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยใน การท�ำงานกับกระทรวงแรงงานในครัง้ นี้ นอกจากท่านจะได้มโี อกาสแสดงศักยภาพของท่านและเพือ่ นร่วมทีมจนประสบ ความส�ำเร็จได้รับรางวัลอันทรงเกียรติจาก ฯพณฯ ท่านนายกรัฐมนตรีแล้ว ผมคาดหวังว่าท่านจะได้น�ำประสบการณ์ที่ ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมนี้ ไปถ่ายทอดและประยุกต์ใช้กับเพื่อนร่วมงาน คนในครอบครัว และสังคม เพราะการที่ เราสามารถสร้างส�ำนึกความปลอดภัยให้เกิดแก่ลูกหลานและเพื่อนร่วมสังคมของเราได้อย่างทั่วถึง สถาบันครอบครัว และสังคมนั้นก็จะเป็นสังคมที่ปลอดภัยและมั่นคง ซึ่งจะส่งผลให้สังคมโดยรวมของประเทศมีความปลอดภัย มั่นคง และมีพลังเข้มแข็งพอทีจ่ ะฟันฝ่าวิกฤตต่างๆ สามารถพลิกฟืน้ ความรุง่ เรืองทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้กลับ คืนมาได้ในเวลาอันรวดเร็ว สุดท้ายนี้ ผมขอแสดงความยินดีและขอแสดงความชื่นชมกับความส�ำเร็จของท่านทั้งหลายอีกครั้งหนึ่ง ขอแสดงความยินดีครับ 14 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี



ประมวลภาพ

พิธีเปิดงานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงาน





สถานประกอบกิจการ ที ไ ่ ด้ ร บ ั รางวั ล สถานประกอบกิจการดีเด่นติดต่อกัน ๑๐ ปีขึ้นไป



พิแก่สธถานประกอบกิ ี ม อบรางวั ล จการดีเด่นฯ ทีไ่ ด้รบั รางวัลติดต่อกัน ๑-๔ ปี และผูช้ นะการประกวด กิจกรรมรณรงค์สง่ เสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน


ก�ำหนดการ สัมมนาวิชาการ


24 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

เวลา ห้องแกรนด์ฮอลล์ ๐๗.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ลงทะเบียนผู้เข้าสัมมนา ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. พิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ และการมอบรางวัลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. การอภิปรายหัวข้อ แผนที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (Road Map) ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี”  โดย ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายสุวรรณ สุขประเสริฐ ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง นายพนัส ไทยล้วน ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง รศ.ดร.เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมอภิปรายและด�ำเนินรายการ

๘ กรกฎาคม ๒๕๕๓

เรื่อง “ แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม “ ระหว่างวันที่ ๘ –๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

ก�ำหนดการสัมมนาวิชาการ งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔


แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 25

เวลา ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๑-๒๐๒ ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐น. ท�ำอย่างไร...เพื่อรองรับแผนที่ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระเบียบ วาระแห่งชาติให้บรรลุเป้าหมาย โดย • นายจรินทร์ งาดีสงวนนาม ผู้แทนนายจ้าง • นายชินโชติ แสงสังข์ ผู้แทนลูกจ้าง • ศ.นพ.พรชัย สิทธิศรัณย์กุล สมาพั น ธ์ อ าชี ว อนามั ย และ ความปลอดภัย • รศ.สราวุธ สุธรรมาสา ผู้ดำ� เนินรายการ

๙ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๓ คูม่ อื ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ตามแนวปฏิบตั ิ ขององค์ ก ารแรงงานระหว่ า ง ประเทศ (ILO-OSHMS ๒๐๐๑) โดย • ดร.ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล • นายสวินทร์ พงษ์เก่า สมาคมส่งเสริมความปลอดภัย และอนามั ย ในการท� ำ งาน (ประเทศไทย)

ห้องประชุม ๒๑๑-๒๑๓ Safety Culture.... การสร้าง วั ฒ นธรรมความปลอดภั ย ใน องค์กร โดย • นายวิชัย รายรัตน์ บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จ�ำกัด • นายกฤษฎา ชัยกุล บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ดร.สุพจน์ เด่นดวง คณะสังคมศาสตร์และ มนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมอภิปรายและด�ำเนินรายการ

ห้องประชุม ๒๑๔-๒๑๖ แพทย์อาชีวเวชศาสตร์และ พยาบาลอาชีวอนามัยกับการ ส่งเสริมสุขภาพในสถาน ประกอบกิจการ โดย • ผศ.ดร. อรวรรณ แก้วบุญชู สมาคมพยาบาลอาชีวอนามัย แห่งประเทศไทย • นายฤทธิ์ชาติ อินโสม สมาคมอาชี ว อนามั ย และ ความปลอดภัย • นพ.อดุลย์ บัณฑุกุล สมาคมโรคจากการประกอบ อาชีพและสิ่งแวดล้อม และร่วมอภิปรายผูด้ ำ� เนินรายการ


26 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๓ มาตรฐานด้ า นความปลอดภั ย และอาชีวอนามัย โดยสมาคม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ๑. เรื่ อ ง ข้ อ ก� ำ หนดในการ ควบคุ ม และรายงานผลการ ด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยในการท�ำงาน โดย นางสาวอิสสยา ด�ำรงเกียรติสกุล ๒. เรื่อง ข้อแนะน�ำในการเลือก อุปกรณ์ปอ้ งกันใบหน้าและดวงตา ๑๔.๔๕ - ๑๖.๐๐ น. นักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดย นางภัทรา แตรรัชตะกุล กับการมีสว่ นร่วมในการประเมิน ๓. เรือ่ ง ข้อแนะน�ำในการประเมิน ความเสี่ ย งโดย นายประกอบ ผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) เพชรรัตน์ โดย • นายสุคนธ์ เจียสกุล กรมอนามัย • รศ.ดร.วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์ ม.มหิดล • นายขรรชั ย เกรี ย งไกรอุ ด ม บริษัท ซีคอท จ�ำกัด • รศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ ร่วมอภิปรายและด�ำเนินรายการ

เวลา ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๑-๒๐๒ ๑๓.๐๐ - ๑๔.๓๐น. แนวปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การความ รับผิดชอบต่อสังคม ISO 26000 : Social Responsibility โดย • นายประกอบ เพชรรัตน์ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จ�ำกัด

ห้องประชุม ๒๑๑-๒๑๓ นวั ต กรรม...เพื่ อ การยกระดั บ ความปลอดภัยในสถานประกอบ กิจการ โดย • ผู้ได้รับรางวัล Best Practice (สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความ ปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้) • ดร.กรรณิกา แท่นค�ำ กรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ้ ม ครอง แรงงาน ผู้ดำ� เนินรายการ ชุดการเรียนรู้.....เครื่องมือฝึก อบรมด้ า นความปลอดภั ย และ อาชีวอนามัย โดย • รศ.สราวุธ สุธรรมาสา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • นางสาวสุวดี ทวีสุข กรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ้ ม ครอง แรงงาน ผู้ดำ� เนินรายการ

ห้องประชุม ๒๑๔-๒๑๖ สถาบันการศึกษา ร่วมพัฒนา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เ พื่ อ แรงงาน ปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี โดย • นายมังกร หริรักษ์ ที่ ป รึ ก ษาด้ า นนโยบายและ แผนส�ำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา • นายอาทิตย์ อิสโม ผูต้ รวจราชการกระทรวงแรงงาน • รศ.ดร.เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมอภิปราย และด�ำเนินรายการ


แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 27

เวลา ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๑-๒๐๒ ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐น. การป้องกันและการประสานแผนเพื่อลด ความรุนแรงจากอุบัติภัยสารเคมี โดย • นายสุเมธา วิเชียรเพชร กรมควบคุมมลพิษ • ผู้แทนนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด • นายจรินทร์ วีรโอฬารสิทธิ์ เลขาธิการ กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำ� ชัย ผู้ช่วยเลขาธิการสถาบันการแพทย์ ฉุกเฉินแห่งชาติ • นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • นางสาวกาญจนา กานต์วิโรจน์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ร่วมอภิปรายและด�ำเนินรายการ

๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๓ กฎหมายฉบับใหม่ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของ กระทรวงแรงงาน โดย • นายปกรณ์ เชนพูน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน

ห้องประชุม ๒๑๑-๒๑๓ การออกแบบการยศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ (Creative Ergonomics Solution) โดย • ผศ.นริศ เจริญพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • ดร.สกล ธีระวรัญญู คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • รศ.นท.สุทธิ์ ศรีบูรพา ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ •รศ.ดร.สืบศักดิ์ นันทวานิช สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • นางสาวสุดธิดา กรุงไกรวงศ์ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้ด�ำเนินรายการ (ภาคปฏิบัติการท�ำต้นแบบจ�ำลองทาง การยศาสตร์เชิงปฏิบตั กิ าร และการอภิปราย ผลการออกแบบการแก้ปัญหาการยศาสตร์ ของเครือ่ งมือในส�ำนักงานและในงาน อุตสาหกรรม ณ เวทีกลางห้องนิทรรศการ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.)


28 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

เวลา ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๑-๒๐๒ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐น. การมอบรางวัลสถานประกอบกิจการด้าน ความปลอดภัยฯ ที่ได้รับรางวัลติดต่อกัน ๑ - ๔ ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล

ห้องแกรนด์ฮอล์ล ๒๐๓ ประชาพิจารณ์... ร่างประกาศกรมสวัสดิการ และคุม้ ครองแรงงานตามกฎหมายเครือ่ งจักร ปั้นจั่น หม้อน�้ำ โดย • นายเกชา ธีระโกเมน สภาวิศวกร นายพิพัฒน์ นพทีปกังวาล กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน • นายมนต์ชัย ราบรื่นทวีสุข อนุกรรมการยกร่างกฎกระทรวงฯ • นายสุวรรณ สุขประเสริฐ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • รศ.วิชัย พฤกษ์ธาราธิกูล มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมอภิปรายและด�ำเนินรายการ

ห้องประชุม ๒๑๑-๒๑๓ ห้องฯ ๒๑๑-๒๑๒ ห้องฯ ๒๑๓ การน�ำเสนอผลงาน การน�ำเสนอผลงาน วิชาการความปลอดภัย วิชาการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย และอาชีวอนามัย โดย โดย • ผศ.ดร.ประมุข • ดร.สสิธร เทพตระการพร โอศิริ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย ผู้ด�ำเนินรายการ ธรรมศาสตร ผูด้ ำ� เนินรายการ


แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 29

สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานเกิน ๓ วัน กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรม ๑๗ แห่ง ในจังหวัด สมุทรปราการ โดย นางสาวบุปผา จันทรเสน จบการศึกษา ปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ การป้องกันความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง เนื่องจากการท�ำงานในโรงงานอิเล็กทรอนิกส์ โดย นางสาวกมลวรรณ สมณะ นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

๑๓.๔๕-๑๔.๓๐ น. ความเสี่ยงของระบบกล้ามเนื้อรวมโครงร่างและเนื้อเยื่อยึดเสริม ในกลุ่มพยาบาลและผู้ท�ำงานด้านขนย้ายสินค้าด้วยแรงงานในเขต กรุงเทพมหานคร โดย ผศ.ดร.พงษ์จันทร์ อยู่แพทย์

๑๕.๑๕-๑๖.๐๐ น.

สถานการณ์ของการเกิดอาการปวดเมื่อยล้ากล้ามเนื้อและกระดูก การสร้างระบบฐานข้อมูลเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี โครงร่างจากท่าทางการท�ำงานของพนักงานเย็บจักรอุตสาหกรรม (SDS) ในสถานประกอบการ กรณีศึกษาโรงงานเย็บจักรอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง จังหวัดปราจีนบุรี โดย นายไกรสร สวัสดิ์ไธสง นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย น.ส.สายฝน พุ่มพวง บริษัท วูเทคไทย จ�ำกัด จบการศึกษา ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

๑๔.๔๕-๑๕.๑๕ น. การเปรียบเทียบวิธีการประเมินการยกย้ายวัสดุด้วยแรงกาย โดย นางสาวอุมาพร ครองสกุลสุข ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล

ห้องประชุม ๒๑๓ การประเมินความเสี่ยงด้านเสียงของจากการประกอบอาชีพ : กรณีศึกษา โรงงานผลิตมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ กรุงเทพมหานคร โดย น.ส.รังสิยา โพธิ์ทอง นักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

เวลา ห้องประชุม ๒๑๑-๒๑๒ ๑๓.๐๐-๑๓.๔๕ น. การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงของลูกจ้างเกี่ยวกับปัญหาเส้นเอ็นและ เยื่อบุเส้นเอ็นอักเสบที่มืออันเนื่องจากการท�ำงาน โดย ผศ. น.พ. นิยม ละออปักษิน

การน�ำเสนอผลงานวิชาการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย วันที่ ๑๐กรกฎาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.


ประมวลภาพ

สั ม ม น า วิ ช า ก า ร



สรุปค�ำบรรยาย สัมมนาวิชาการ


แผนที่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (Road Map) ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” จากการที่ภาครัฐบาลได้เล็งเห็นปัญหาในเรื่องการประสบอันตรายอันเนื่องจากการท�ำงานของลูกจ้าง ท�ำให้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้รว่ มมือกันในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ (Road Map) ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี” ขึน้ และได้มกี ารเปิดเวทีให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้รว่ มอภิปรายเพือ่ หาแนวทางในการขับเคลือ่ น ยุทธศาสตร์นี้ ซึ่งในการอภิปรายมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ นายแพทย์สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ ซึ่งเป็นผู้แทนจากกระทรวงแรงงาน ได้กล่าวว่า แม้ว่าการที่ได้ดำ� เนินการ ขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติมาแล้วนั้น จะท�ำให้แนวโน้มลูกจ้างที่ประสบอันตรายอันเนื่องจากการท�ำงานลดลงจาก เดิม แต่การด�ำเนินงานนี้ก็ยังมีข้อบกพร่องที่จะต้องท�ำการแก้ไข คือ แผนการด�ำเนิน งานนั้นยังไม่สามารถสะท้อนเป้า หมายของแต่ละยุทธศาสตร์ได้ชัดเจน เช่น ยุทธศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องการพัฒนาการยกระดับการศึกษา ซึ่งจะจัดให้มี การจัดการอบรมให้ความรู้ทุกๆ ภาคส่วน หรือในยุทธศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องการส่งเสริมเครือข่ายด้านความปลอดภัย ที่จะต้องมีการจัดสัมนาอย่างน้อย ๑ หลักสูตรต่อปีในทุกเครือข่าย แต่ในเชิงการปฏิบัตินั้นกลับเป็นต่างฝ่ายต่างท�ำ ขาดการประสานงานร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีข้อเสนอในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ดังนี้ ๑. ภาครัฐต้องการให้ลูกจ้างมีจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย แต่ตัวผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลักดัน เช่น เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้บริหาร เป็นต้น ที่ซึ่งเป็นคนที่ส�ำคัญนั้นจะต้องให้ความส� ำคัญในเรื่องจิตส�ำนึก ด้านความปลอดภัยก่อนโดยการท�ำเป็นแบบอย่าง เมื่อนั้นผู้น�ำแรงงาน / สหภาพก็จะท�ำตาม และลูกจ้าง ก็จะปฏิบัติงานโดยอัตโนมัติ ซึ่งก็จะท�ำให้สถานประกอบการนั้นมีสภาพด้านความปลอดภัยที่ดีขึ้น ๒. ในส่วนของผู้ประกอบการรายย่อยยังไม่ค่อยเห็นความส� ำคัญในเรื่องความปลอดภัย ซึ่งอาจจะต้องมี มาตรการที่เข้มงวด เช่น สถานประกอบการใดไม่ท�ำตามกฎหมายถูกปรับให้เห็นว่าการลงทุนด้านความ ปลอดภัยนั้นคุ้มค่ากว่า และสถานประกอบการที่มีการด�ำเนินการด้านความปลอดภัยที่ดีก็ต้องมีรางวัล เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ท�ำดีต่อไป เป็นต้น ๓. สังคมควรที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันความปลอดภัยให้มากขึ้น คือ ยังไม่เคยมีพนักงานที่ท�ำงาน สัมผัสกับความเสีย่ งต่างๆ ออกมาเรียกร้องในเรือ่ งความไม่ปลอดภัยทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับตัวผูป้ ฏิบตั งิ านเอง นอกจากนี้ควรจะงดการสนับสนุนสถานประกอบการที่มีสภาพที่ไม่ปลอดภัยด้วย นายประสงค์ นรจิตร ซึ่งเป็นผู้แทนจากกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ให้ข้อเสนอไว้ว่า ยุทธศาสตร์ (Road Map) ระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” เป็นหน้าที่ของทุกคนทุกหน่วยงานต้องช่วยกันผลักดัน จึงจะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ และถ้าหากประชาคมอาเซียนหรือประชาคมโลกมีการเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรีขึ้น ประเทศไทยจะมีมาตรการในการรับมืออย่างไร เพราะว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นนี้ไม่ใช่เฉพาะแรงงานของเราเท่านั้นแต่จะ เป็นแรงงานต่างชาติด้วย ดังนั้นเราควรมีการวางแผนล่วงหน้าไว้ก่อนที่ปัญหานี้จะเกิดขึ้นมา นอกจากนี้แล้วปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีได้พัฒนาเดินหน้าอย่างต่อเนื่องทั้งที่เรายังขาดการตระหนักถึงความปลอดภัย ดังนั้นเราควรมีการพัฒนาใน ส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เทคโนโลยีก้าวไกล ความปลอดภัยต้องก้าวให้ทัน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 33


อาจารย์แน่งน้อย พัวพัฒนกุล ซึ่งเป็นผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวว่า ขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการ มีการปฏิรูปมาอย่างต่อเนื่อง โดยมี ๕ หน่วยงานหลักช่วยกันดูแลในการขับเคลื่อนการศึกษาให้พัฒนายิ่งขึ้น โดยมี สภาการศึกษาดูแลในทุกหลักสูตร เพื่อไปสู่วิสัยทัศน์ของกระทรวง ฯ คือ “คนไทยได้เรียนตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ” โดยกระทรวงศึกษาตั้งเป้าหมายว่า ๑. จะมีคนไทยยุคใหม่ คือ ต้องคิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น ๒. จะมีครูยุคใหม่ ซึ่งครูต้องมีประสิทธิภาพพร้อมทุกด้าน ๓. จะมีสถานศึกษาที่ดีพร้อม ทั้งสภาพแวดล้อม หลักสูตร และบุคลากร ๔. จะมีการบริหารจัดการแบบใหม่ โดยมีการกระจายอ�ำนาจไปสู่ ผู้ปกครอง อาจารย์ นักเรียน ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้อง ในด้านระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” นัน้ กระทรวงศึกษาธิการมี ๓ ยุทธศาสตร์ ที่ต้องด�ำเนินการ คือ ๑. การจัดองค์ความรู้ คือ มีการบูรณาการสอดแทรกความรู้ด้านความปลอดภัยเข้าไปในหลักสูตรทุกระดับ และมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะด้านความปลอดภัยในระดับอุดมศึกษา โดยมีทั้งในส่วนของภาครัฐ และเอกชน นอกจากนี้แล้วยังเปิดโอกาสให้คนทุกระดับสามารถเรียนได้อย่างอิสระ ๒. การส่งเสริมพัฒนาเครือข่าย การจัดให้มีส่วนร่วมของทั้งผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน ซึ่งในขณะนี้อาจ จะยังมีปัญหาอยู่บ้างก็ต้องปรับปรุงแก้ไขต่อไป ๓. การพัฒนาระบบสารสนเทศ ต้องมีการจัดระบบสารสนเทศในทุกเครือข่ายและทุกจังหวัดเพื่อการเข้าถึง ของข้อมูล คุณยุวดี จอมพิทักษ์ ซึ่งเป็นผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข ได้กล่าวไว้ว่า ในเรื่องการขับเคลื่อนระเบียบวาระ แห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” ทางกระทรวงสาธารณสุขได้กำ� หนดเป้าหมายไว้วา่ ประชาชนมีสขุ ภาพ ดี มีพฤติกรรมสุขภาพทีถ่ กู ต้อง รวมทัง้ มีสว่ นร่วมในการดูแลสุขภาพทีเ่ หมาะสม ปัญหาสุขภาพของประชาชนทีเ่ กิดจาก ภาระโรคภัยคุกคามและความรุนแรงลดลง และมีการวางกรอบแนวคิดไว้ว่า “ประชาชนสามารถแสดงบทบาท ในการ ดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยัง่ ยืน ด้วยความเต็มใจ มีจติ ส�ำนึก ที่ดี และมีศรัทธาในการพัฒนา” และในส่วนพันธกิจของกระทรวงสาธารณสุขนั้น มีดังนี้ ๑. พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านสุขภาพ ๒. ติดตามก�ำกับ ดูแลระบบสุขภาพ สร้างกลไกการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ๓. ออกกฎหมาย ก�ำหนดมาตรฐาน และก�ำกับดูแล ๔. จัดบริการสุขภาพเฉพาะทาง เฉพาะสาขา ๕. สร้างระบบการป้องกัน ควบคุม โรคและภัยสุขภาพ

34 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๖. ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคมในการมีส่วนร่วมสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพของประชาชน ด้านพฤติกรรมและส�ำนึกทางสุขภาพ ๗. ประสานเพื่อก�ำหนดนโยบายทิศทางการวิจัย การบริหารจัดการงานวิจัยสุขภาพเพื่อสนอง/เอื้อประโยชน์ ต่อระบบสุขภาพ โดยยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุขนั้นมีการแบ่งเป็น ๒ ระดับ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ระดับประชาชน ๑. การจัดการองค์ความรู้ด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย เช่น การจัดกิจกรรมรณรงค์ในวันแรงงาน แห่งชาติและงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ เป็นต้น ๒. การส่งเสริมและพัฒนาการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย เช่น การพัฒนาการเฝ้าระวัง ความเสี่ยงในการท�ำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ เป็นต้น ยุทธศาสตร์ระดับเครือข่าย ๑. การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย เช่น การพัฒนาคลินิกโรคจากการท�ำงานในโรงพยาบาลภาครัฐ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเงินทดแทน กระทรวงแรงงานบางส่วน เป็นต้น ๒. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สื่อสิ่งพิมพ์เรื่องโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมให้แก่หน่วยงาน เครือข่าย นอกจากนี้แล้วทางกระทรวงสาธารณสุข ได้มีการออกกฎหมาย คือ ประกาศกระทวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ ๒๕๕๓ ก�ำหนดชื่อหรือประเภทของสถานที่สาธารณะที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่และก�ำหนด ส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของสถานที่สาธารณะดังกล่าวเป็นเขตสูบบุหรี่หรือเขตปลอดบุหรี่ตาม พระราชบัญญัติ คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ ๒๕๓๕ ซึ่งมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ กฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยได้มีการก�ำหนดสถานที่ปลอดบุหรี่ ไว้ ๒ ประเภท คือ สถานที่ปลอดบุหรี่ประเภทที่ ๑ เป็นสถานที่ที่ต้องปลอดบุหรี่ทั้งหมด ๑. สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพทุกประเภท เช่น สถานีอนามัย โรงพยาบาล คลีนิก สถานอบไอน�ำ ้ อบสมุนไพร สปา นวดแผนไทย ๒. สถานศึกษาระดับต�ำ่ กว่าอุดมศึกษา ๓. สถานที่สาธารณะที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน เช่นโรงงาน ส�ำนักงาน ตลาด เป็นต้น ๔. ยานพาหนะและสถานที่ขนส่งสาธารณะ เช่น TAXI รถโดยสารประจ�ำทาง เป็นต้น ๕. ศาสนสถาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 35


สถานที่ปลอดบุหรี่ประเภทที่ ๒ เป็นสถานที่ที่ต้องปลอดบุหรี่แต่จัดหรือไม่จัดให้มีเขตสูบบุหรี่ก็ได้ ๑. สถานที่ราชการ ๒. สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ๓. ปั๊มน�้ำมัน ๔. สนามบินนานาชาติ - พื้นที่ส่วนที่เป็นอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างจะต้องเป็นเขตปลอดบุหรี่ ๑๐๐% - พื้นที่ส่วนที่ไม่ใช่อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอาจจะจัดหรือไม่จัดก็ได้ - กรณีที่มีการจัดเขตสูบบุหรี่จะต้องเป็นไปตามที่กฏหมายก�ำหนดคือ เงื่อนไขการจัดเขตสูบบุหรี่นอกอาคารสิ่งปลูกสร้าง - จะต้องไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า - ออก - จะต้องอยู่ในที่ลับตา - จะต้องไม่เป็นการรบกวนผู้อื่น ความรับผิดชอบของเจ้าของสถานที่สาธารณะและที่ทำ� งาน ๑. ต้องติดสติ๊กเกอร์เขตปลอดบุหรี่ตามที่กฏหมายก�ำหนด ๒. ต้องดูแลไม่ให้มีการสูบบุหรี่ในพื้นที่ ที่เป็นเขตปลอดบุหรี่ บทก�ำหนดโทษ ๑. เจ้าของสถานที่สาธารณะและที่ท�ำงานที่ไม่จัดเขตปลอดบุหรี่ไม่ติดสติ๊กเกอร์ปลอดบุหรี่ มีโทษปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๒. ผู้ที่ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตห้ามสูบบุหรี่ มีโทษปรับไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท นายสุวรรณ สุขประเสริฐ ซึ่งเป็นผู้แทนจากฝ่ายนายจ้าง ได้ให้มุมมองเกี่ยวกับงานด้านความปลอดภัยไว้ ดังนี้ ๑. ฝ่ายภาครัฐ ในเรือ่ งกฎหมายเมือ่ มีแล้วต้องมีการบังคับใช้อย่างจริงจัง ถ้าหากภาครัฐไม่ทำ� เป็นตัวอย่างฝ่ายอืน่ ๆ ก็ไม่มี ใครอยากจะท�ำ อีกทั้งถ้าให้เรื่องความปลอดภัยมีความส�ำคัญระดับชาติก็ต้องมีการสนับสนุนอย่างจริงจัง ไม่ว่าจะเป็น • ด้านงบประมาณต้องเพียงพอ • นโยบายความปลอดภัยต้องให้ความไว้ใจภาคปฏิบัติ และนโยบายต้องมีความต่อเนื่อง • การวางยุทธศาสตร์ควรให้ส่วนที่เกี่ยวข้องได้เข้าไปมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง • ควรสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ และมีการพัฒนาบุคลากร

36 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นอกจากนี้แล้วถ้าหากบริษัทใดไม่มีงบประมาณด้านความปลอดภัยก็ไม่สมควรที่จะอนุญาตให้มีการตั้ง บริษทั เพราะเมือ่ เปิดด�ำเนินการก็จะมีปญ ั หาในเรือ่ งความปลอดภัยได้ ดังนัน้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับงานความปลอดภัย นั้นเมื่อมีอ�ำนาจหน้าที่มากขึ้นก็ควรที่จะมีงบประมาณอย่างเพียงพอในการด�ำเนินงาน และต้องมีบุคลากรให้เพียงพอ ในการเข้าตรวจโรงงานด้วย เพื่อให้การปฏิบัติตามกฎหมายเป็นไปอย่างจริงจัง ๒. ฝ่ายนายจ้าง เจ้าของสถานประกอบการไม่ควรคิดว่าเรื่องความปลอดภัยเป็นสิ่งที่สิ้นเปลือง ท�ำแล้วไม่เกิดประโยชน์ ทั้งที่ในความจริงแล้วหากขาดความตระหนักในเรื่องความปลอภัยแล้วจะท�ำให้เกิดการสูญเสียหลายอย่าง เช่น เสียชื่อเสียง ไม่สามารถขายสินค้าได้ เสียทรัพย์สิน เป็นต้น ดังนั้นถ้าสภาพแวดล้อมในการท�ำงานปลอดภัย ลูกจ้าง ก็มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ก็จะส่งผลให้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพไปด้วย ๓. ฝ่ายลูกจ้าง ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าใจว่าร่างกายเราไม่สามารถท�ำงานโดยที่ไม่ต้องพักผ่อนได้ ดังนั้นต้องแบ่งเวลาท�ำงาน ให้เหมาะสม และควรที่จะปฏิเสธสภาพการท�ำงานที่เป็นอันตราย ดังนั้นควรที่จะต้องมีจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย อยู่เสมอด้วย นายพนัส ไทยล้วน ซึง่ เป็นผูแ้ ทนจากฝ่ายลูกจ้าง ได้กล่าวเกีย่ วกับเรือ่ งแผนยุทธศาสตร์ในงานความปลอดภัย ไว้ว่า แผนที่ดีนั้นควรจะถูกก�ำหนดขึ้นโดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง คือ ผู้บังคับใช้ ผู้ควบคุมการใช้ ผู้ปฏิบัติ / ด�ำเนินการ (นายจ้าง) และลูกจ้าง ดังนั้น การวางแผนยุทธศาสตร์ให้ประสบความส�ำเร็จนั้นต้องอ้างอิงจากความจริง ต้องดู สถานการณ์ บทบาท และหน้าที่ของลูกจ้างและนายจ้าง ซึ่งปัญหาในปัจจุบันนี้ที่พบมากในการบังคับใช้กฎหมายหรือ ข้อก�ำหนดต่างๆ คือ การที่ไม่สามารถท�ำตามที่กฎหมายบังคับไว้ได้ และการสมยอมของลูกจ้างซึ่งเป็นปัญหามาก ในตอนนี้ ส่วนหนึง่ นัน้ มาจากกระบวนการยุตธิ รรมนัน้ มีความล่าช้ามากจนกระทัง่ ลูกจ้างไม่สามารถทีจ่ ะต่อสูไ้ หว ดังนัน้ ก่อนที่จะให้ลูกจ้างมีความเข้มแข็งนั้นภาครัฐเองจะต้องมีความเข้มแข็ง จริงจัง และจริงใจก่อน ถ้าหากแผนปฏิบัตินั้น เป็นไปตามหลักความจริงแล้วทุกฝ่ายก็จะสามารถปฏิบัติได้อย่างเต็มใจแน่นอน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 37


ท�ำอย่างไร ... เพื่อรองรับแผนที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระเบียบวาระแห่งชาติให้บรรลุเป้าหมาย ระเบียบวาระแห่งชาติ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี นี้ เป็นยุทธศาสตร์ทที่ กุ ภาคส่วนมีความคาดหวังว่า เมื่อสามารถผลักดันระเบียบวาระแห่งชาติฯ นี้ได้แล้ว จะท�ำให้ระบบการท�ำงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในสถานประกอบการนั้นๆ จะมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ดังนั้นในการที่จะไปสู่เป้าหมายนี้ได้ ก็ต้องมีแนวทางการปฏิบัติ ที่ถูกต้องและเหมาะสม ศ.ดร.นพ.พรชัย สิทธิศรัณย์กุล จึงได้เสนอแนวทางในการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระเบียบวาระ แห่งชาติให้บรรลุเป้าหมายไว้ว่า ระเบียบนี้มี ๗ เป้าหมาย ๑๐ กลยุทธ์ ๔ ยุทธศาสตร์ และ๑๕ แผนงาน โดยปัจจัยที่จะ ท�ำให้เกิดการด�ำเนินการเพื่อความส�ำเร็จ ต้องประกอบไปด้วย คน เงิน วัสดุ / ครุภัณฑ์ และวิธีการ โดยในการสัมมนา นี้จะมุ่งเน้นไปที่คน และวิธีการข้อมูลเป็นหลัก ในส่วนของบุคลากรด้านอาชีวอนามัยนั้นยังมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการ ไม่ว่าจะในหรือนอก สถานประกอบการ ซึ่งบุคลากรเหล่านี้ต้องมีความรู้ความช�ำนาญในด้านต่างๆ ได้แก่ ๑. บุคลากรด้านอาชีวอนามัย นอกสถานประกอบการ • ด้านการให้บริการต่างๆ ด้านอาชีวอนามัย เช่น การตรวจสุขภาพเฉพาะ การตรวจสิ่งแวดล้อม • ด้านวิชาการ เช่น ผู้ที่มีความเข้าใจที่คอยให้คำ� ปรึกษา • ด้านการควบคุมก�ำกับให้เป็นไปตามกฎหมาย เช่น ความพร้อมของภาครัฐ (ส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น) ๒. บุคลากรด้านอาชีวอนามัย ในสถานประกอบการ • เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงาน/ พยาบาลและแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ ฯลฯ มีปริมาณไม่เพียง พอกับความต้องการตามกฎหมาย • นายจ้าง ซึ่งต้องเป็นประธานคณะกรรรมการปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานและเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหารนั้น ได้ให้ความส�ำคัญและมีส่วนร่วมในงาน ความปลอดภัยค่อนข้างน้อย • ลูกจ้าง/คนงาน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ทีอ่ ยูใ่ นคณะกรรรมการปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน และเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างานนั้น มีความตระหนักถึง บทบาท หน้าที่ในการปกป้องสิทธิของตนเองสามารถท�ำได้น้อยมาก ดังนั้น ควรที่จะต้องเพิ่มจ�ำนวนและพัฒนาคุณภาพบุคลากรด้านอาชีวอนามัยให้มีปริมาณที่เพียงพอต่อ ความต้องการ โดยในระยะยาวนั้นต้องเน้นไปที่การเพิ่มศักยภาพในการผลิตปริญญา / วิชาชีพส่วนในระยะสั้นต้องเน้น ไปเฉพาะเรื่อง เช่น กฎหมาย ปัญหาเฉพาะเรื่อง เป็นต้น อีกทั้งองค์กรที่มีหน้าที่ดูแลก�ำกับคุณภาพ / มาตรฐานหรือ สภาวิชาชีพต้องมีอย่างเพียงพอและต้องท�ำงานอย่างเต็มที่ทั้งในด้านบทบาทและหน้าที่รับผิดชอบ นอกจากนี้แล้ว ยังต้องมีการวิจัยก�ำหนดแผนพัฒนาก�ำลังคน / บุคลากร ทั้งรัฐ / เอกชน 38 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ส�ำหรับในส่วนของข้อมูลนั้น ก็มีปัญหาต่างๆ มากมาย ซึ่งเราต้องจัดการอย่างมีระบบ ซึ่งข้อมูลที่ได้นั้น ก็มาจากหลายๆ ส่วน คือ อุบัติเหตุในสถานประกอบการ ข้อมูลจากส�ำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข หรือ การประสบอันตรายในงาน ซึ่งก็มีวัตถุประสงค์และการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน นายจรินทร์ งาดีสงวนนาม ซึ่งเป็นผู้แทนจากฝ่ายนายจ้าง ได้ให้แนวทางไว้ว่าในเรื่องกฎหมายเมื่อมีแล้วต้อง มีการบังคับใช้อย่างจริงจัง จึงจะท�ำให้รู้ว่าหากไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษอย่างไร ส่งผลกระทบต่อสถานประกอบการแค่ ไหน จนท�ำให้เกิดการละเลยหน้าที่รับผิดชอบได้ โดยที่ไม่ได้รับบทลงโทษเลยและในการวางกฎระเบียบต่างๆ นั้นต้อง พึงนึกถึงสภาพความเป็นไปได้ในการน�ำมาใช้ได้จริงด้วย ถ้าหากภาครัฐมีการด�ำเนินการอย่างมีระบบและชัดเจนว่าต้อง ท�ำอะไร อย่างไร เมือ่ ไร และทีไ่ หน ก็จะสามารถท�ำให้สถานประกอบการต่างๆ หาจุดยืนในการทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ได้อย่างถูกต้อง ด้านนายชินโชติ สิทธิศรัลย์กุล ซึ่งเป็นผู้แทนจากฝ่ายลูกจ้าง ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ว่า ในการวางแผนนั้น ต้องอ้างอิงจากความจริง ต้องดูสถานการณ์ บทบาท และหน้าที่ของลูกจ้างและนายจ้าง ซึ่งปัญหาในปัจจุบันนี้ ที่พบมากในการบังคับใช้กฎหมายหรือข้อก�ำหนดต่างๆ คือ การที่ไม่สามารถท�ำตามที่กฎหมายบังคับไว้ได้ กฎหมาย ได้ให้สิทธิกับลูกจ้างมากมายแต่ในสภาพความเป็นจริงนั้น ลูกจ้างแทบจะไม่ได้รับประโยชน์หรือสิ่งที่ควรจะได้ตาม กฎหมายจากการออกกฎหมายนั้นๆ เลย

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 39


แนวปฏิบัติตามหลักการความรับผิดชอบต่อสังคม ISO ๒๖๐๐๐ : Social Responsibility ปัจจุบันถือว่าเป็นยุคโลกาภิวัฒน์มีการพัฒนาของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ซึ่งการมุ่งเน้นใช้เพียงเทคโนโลยี เพียงอย่างเดียวโดยที่ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ก็จะท�ำให้เกิดผลกระทบกับทุกส่วน รวมทั้งการเกิด ผลกระทบกับสังคมด้วย เพราะถ้าเทคโนโลยีมคี วามก้าวหน้าแล้วสังคมสามารถปรับตัวได้ ก็จะท�ำให้เกิดการยอมรับทีด่ ี จากสังคม ดังนั้นในการด�ำเนินการในงานต่างๆ นั้นต้องยึดถือเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมว่าเป็นหนึ่งในหน้าที่ด้วย นายประกอบ เพชรรัตน์ ได้กล่าวว่า ความรับผิดชอบต่อสังคมมีสิ่งที่เราต้องพิจารณาอยู่ ๓ ประเด็นหลักๆ คือ องค์กร สังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขอบข่ายของ ISO ๒๖๐๐๐ ISO ๒๖๐๐๐ นี้ต้องใช้ได้กับองค์กรทุกประเภท ซึ่งอย่างน้อยต้องสอดคล้องกับกฎหมายที่ก�ำหนดและส่ง เสริมแนวทางปฏิบัติอื่นๆ ที่มีมาก่อนหน้า แต่ไม่ใช่มาตรฐานระบบการบริหารงาน และไม่มีจุดมุ่งหมายให้น�ำไปใช้ใน การรับรอง ซึ่งความรับผิดชอบต่อสังคมมีรายละเอียด ดังนี้ - แนวคิดและค�ำนิยาม - ความเป็นมา แนวโน้ม และคุณลักษณะของความรับผิดชอบต่อสังคม - หลักการ และแนวทางปฏิบัติ - หัวข้อหลักและประเด็นต่างๆ - การน�ำไปประยุกต์ใช้แบบบูรณาการ โดยการชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสื่อสารผลการด�ำเนินงาน และ การส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเกิดการอยู่เย็นเป็นสุข หลักการของความรับผิดชอบต่อสังคม ๑. ความรับผิดชอบ คือ การรับผิดชอบในการสร้างผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร ๒. ความโปร่งใส คือ ความโปร่งใสในการตัดสินใจ และกิจกรรมต่างๆ ที่สร้างผลกระทบ ๓. ความมีจริยธรรม คือ ด�ำเนินการที่มีคุณธรรมและจริยธรรมตลอดเวลา ๔. การรับฟังผูท้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสีย คือ ให้ความสนใจ และตอบสนองต่อผลประโยชน์ของผูท้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ๕. การเคารพต่อหลักนิติธรรม คือ เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ๖. การยอมรับในมาตรฐานสากล คือ เคารพข้อก� ำหนดและแนวปฏิบัติสากล ในขณะที่ยังเคารพต่อ หลักยุติธรรม ๗. การเคารพต่อสิทธิมนุษยชน คือ เคารพต่อสิทธิมนุษยชนและให้ความส�ำคัญและความเท่าเทียมกัน

40 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


การปฏิบัติตามหลักความรับผิดชอบต่อสังคมมีประโยชน์ ดังนี้ • ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความรอบคอบ โดยมีความเข้าใจต่อ - ความคาดหวังของสังคม - โอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคม - ความเสี่ยงต่างๆ หากไม่มีความรับผิดชอบต่อสังคม • ช่วยปรับปรุง - แนวปฏิบัติต่อการบริหารความเสี่ยง - การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ความน่าเชือ่ ถือ และ ความเป็นธรรมในการประสานงาน โดยการรับผิดชอบต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ทางการเมือง การแข่งขันที่เป็นธรรม และปลอดจากการทุจริต - ความปลอดภัยและสุขลักษณะของคนงานทัง้ ชายและหญิง ท�ำให้องค์กรสามารถสรรหา (รับสมัครบรรจุ) จูงใจ และรักษาลูกจ้างของตนไว้ได้ - ช่วยสร้างเสริมชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรต่อสาธารณชน - ความจงรักภักดี ขวัญ และ ก�ำลังใจของลูกจ้าง ดังนัน้ ความรับผิดชอบต่อสังคม คือ ความรับผิดชอบต่อผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการตัดสินใจและกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่ทำ� อย่างโปร่งใส และมีคุณธรรม/จริยธรรม ซึ่งสามารถช่วยส่งเสริมการพัฒนา อย่างยั่งยืนของสังคม การค�ำนึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดย การบูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการด�ำเนินธุรกิจและผู้ที่เกี่ยวข้อง

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 41


นักอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับการมีส่วนร่วม ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนั้น เป็นงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการที่ต้องคอยดูแลสุขภาพอนามัยของ ผู้ประกอบอาชีพหรือผู้ปฏิบัติงานให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเรื่องของสุขภาพนั้นเป็นเรื่องที่สำ� คัญส�ำหรับ ผู้ประกอบอาชีพ ส�ำหรับนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัยก็สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบ ทางสุขภาพ (HIA) ได้ดังนี้ นายสุคนธ์ เจียสกุล นักวิชาการสาธารณสุข ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพตามความหมาย ขององค์การอนามัยโลก คือ กระบวนการ วิธีการ และเครื่องมือที่หลากหลาย ที่ใช้เพื่อการคาดการณ์ถึงผลกระทบ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากนโยบาย แผน แผนงานหรือโครงการ ทีม่ ตี อ่ สุขภาพอนามัยของประชาชน และการกระจายของผลกระทบ ในกลุม่ ประชากร และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะก�ำหนดถึงกิจกรรมทีเ่ หมาะสมในการจัดการผลกระทบเหล่านัน้ ซึ่งตามประกาศ คสช. ได้ให้ความหมายไว้ว่า “กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของสังคมในการวิเคราะห์และคาดการณ์ ผลกระทบทัง้ ทางบวกและทางลบต่อสุขภาพของประชาชนทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากนโยบาย โครงการหรือกิจกรรม อย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง หากด�ำเนินการในช่วงเวลาและพื้นที่เดียวกัน โดยมีการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่หลากหลาย และมีกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม เพื่อสนับสนุนให้เกิดการตัดสินใจที่จะเป็นผลดีต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว” ซึ่งหลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ มีดังนี้ • ใช้หลักความเข้าใจทางสุขภาพ/องค์รวม/ปัจจัยก�ำหนดสุขภาพ/ความเชือ่ มโยงของการพัฒนา สิง่ แวดล้อม และสุขภาพ • ใช้หลักพิจารณาด้วยเหตุและผลเปรียบเทียบจากหลักฐานวิทยาศาสตร์/ข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ • มุ่งให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืนที่อาศัยหลักของผลกระทบระยะสั้น ระยะยาว • อาศัยการมีส่วนร่วมในการพิจารณาจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ • ใช้หลักการประเมินจากโครงร่าง/ข้อเสนอพิจารณาผลที่อาจจะเกิดผลกระทบ ต่อสมาชิกในชุมชนทุกคน หรือเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง/ให้ความส�ำคัญต่อกลุ่มอ่อนด้อย ส�ำหรับประเทศไทยจะมีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพนั้นในกรณีที่มีโครงการหรือกิจกรรมที่อาจจะมีเกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงฯ กรณีนโยบายสาธารณะ กรณีทปี่ ระชาชนร้องขอให้ทำ� การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเพื่อเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยท้องถิ่น ซึ่งขั้นตอนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพนั้น มี ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. การกลั่นกรอง เป็นการระบุสิ่งคุกคามสุขภาพ/พื้นที่/ประชากรอ่อนไหว ๒. การก�ำหนดขอบเขตการศึกษา การทีม่ ดี ลุ ยภาพระหว่างวิชาการของผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับความกังวลของผูม้ สี ว่ นได้เสียเพือ่ ให้ เห็นประเด็นชัดเจนว่าควรประเมินอะไร รวมทั้งกลไกการตรวจสอบ 42 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓. ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จะมีความครอบคลุมสุขภาพ ๔ มิติ ใช้หลักฐานเชิงปริมาณและคุณภาพ คาดการณ์ผลกระทบที่ เกิดขึน้ ในอนาคต ในกรณีไม่มขี อ้ มูลและองค์ความรูจ้ ากการศึกษาในประเทศควรใช้ขอ้ มูลและองค์ความรู้ จากต่างประเทศ ๔. การจัดท�ำข้อเสนอแนะ ครอบคลุมประเด็น และการมีส่วนร่วมของภาคส่วนให้ครบ ๕. การติดตามประเมินผล ตรวจสอบความถูกต้องแม่นย�ำของการประเมิน ประเมินมาตรการลดผลกระทบได้ถูกน�ำไปปฏิบัติ หรือไม่ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพนี้ค่อนข้างเป็นเครื่องมือที่ดีในการที่จะสะท้อนผลกระทบที่เกิดขึ้น กับผูท้ เี่ กีย่ วข้องในด้านสุขภาพ แต่อย่างไรก็ตามการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพนี้ ก็ยงั คงมีขอ้ จ�ำกัดในการด�ำเนินงาน ด้วยเช่นกัน ๑. HIA เป็นของใหม่ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะมีจำ� กัด • ผลกระทบต่อสุขภาพต้องดูทั้งในสถานประกอบการและชุมชน • มีเครื่องมือที่หลากหลายต้องเรียนรู้ร่วมกัน • มุมมองของหน่วยงานรัฐ + ผู้ก�ำกับกฎเกณฑ์ต่างกัน • ประชาชนตื่นตัวเรื่อง สิทธิ ๒. ข้อมูลข้อเท็จจริง • ข้อมูลในเชิงพื้นที่ • ข้อมูลเฉพาะโรคที่อาจสัมพันธ์กับมลพิษ เป็นรายงานกลุ่มโรค • ข้อมูลเฉพาะส�ำหรับพื้นที่ตั้งโครงการ ๓. หลักเกณฑ์/แนวทาง/วิธีการ/เงื่อนไข ข้อก�ำหนด • สาระ / รายละเอียด • เงื่อนไขเวลา • ข้อมูล/ข้อเท็จจริง • ผลประโยชน์ทับซ้อน / ความไม่เชื่อใจ • กติกาที่เจ้าของโครงการ/กิจการเป็นผู้ว่าจ้างผู้ช�ำนาญการจัดท�ำ • ต้องไม่ให้ความส�ำคัญเฉพาะผู้ประกอบการ+คนงาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 43


๔. ผู้จัดท�ำรายงาน : • ความรู้และสมรรถนะ/ความเชี่ยวชาญ • ทัศนะคติและทักษะเฉพาะฯ • ต้องให้ความส�ำคัญต่อผู้ได้รับผลกระทบทุกส่วน/กลุ่มผู้อ่อนไหว ๕. ผู้พิจารณารายงาน • ความรู้ความสามารถและความพร้อมของหน่วยงาน เจ้าหน้าที่ และฝ่ายเลขานุการฯ • ความรู้ / ความเชี่ยวชาญ ทัศนะและมุมมองของ คชก. ๖. ประชาชนและชุมชน • ระดับการรับรู้และความไว้วางใจ การมีส่วนร่วม ความตื่นตัว และความเข้มแข็ง • ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนะและความคาดหวังของคนในชุมชน • ความสามารถในการสนับสนุน ขับเคลื่อนกระบวนการ/สะท้อนคุณค่า ๗. ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ระบบและกลไกสนับสนุนที่มีประสิทธิผล • ท่าทีและการมีส่วนร่วมในกระบวนการ รศ.ดร.วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์ กล่าวไว้ว่า เรื่องสุขภาพเป็นเรื่องที่สำ� คัญและเป็นเรื่องที่ใหญ่ไม่สามารถท�ำได้ โดยหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง ดังนั้นในการพิจารณาการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพนั้นควรที่จะต้องประเมินเป็น การสื่อสารเยี่ยม และจัดการดี จึงจะท�ำให้การประเมินนี้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์นั้นๆ นายขรรชัย เกรียงไกรอุดม ได้กล่าวว่า หลักการการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ต้องเริ่มด้วยการกลั่น กรองโครงการ ซึ่งเป็นการศึกษาข้อมูลของโครงการ ได้แก่ ที่ตั้ง สภาพแวดล้อมโดยรอบ ขั้นตอนการพัฒนาโครงการ กิจกรรมโครงการ มลพิษหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการ และประชากรที่อาจได้รับผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของกิจกรรมของโครงการ และพิจารณาประเด็นสิ่งคุกคามสุขภาพที่คาดว่ามีผล กระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ แยกตามระยะการด�ำเนินงานของโครงการ ได้แก่ ระยะก่อสร้าง และระยะด�ำเนินการ ส�ำหรับขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบสุขภาพเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาก�ำหนด ขอบเขตและแนวทางในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในประเด็นของผลกระทบที่มีความส�ำคัญยิ่งขึ้น โดยต้องจัด ให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของสาธารณชนด้วย

44 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ปัจจัยก�ำหนดสุขภาพตามแนวทางของ สผ. ๑. การเปลี่ยนแปลงสภาพและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ๒. การผลิต ขนส่ง และการจัดเก็บวัตถุอันตราย ๓. การก�ำเนิดและการปล่อยของเสียและสิ่งคุกคามสุขภาพ ๔. การรับสัมผัสต่อมลพิษและสิ่งคุกคามสุขภาพ ๕. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่ออาชีพ การจ้างงาน และสภาพการท�ำงานในท้องถิ่น ๖. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของประชาชน และชุมชน ๗. การเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ที่มีความส�ำคัญหรือมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ๘. ผลกระทบทีเ่ ฉพาะเจาะจงหรือมีความรุนแรงเป็นพิษต่อประชาชนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ เช่น เด็ก ผูพ้ กิ าร ผูส้ งู อายุ ๙. ทรัพยากรและความพร้อมของภาคสาธารณสุข ส�ำหรับวัตถุประสงค์ของการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เป็นการวิเคราะห์และประเมินลักษณะของ ผลกระทบและระดับของผลกระทบทางสุขภาพ หรือขนาดของความเสี่ยง/ความรุนแรงในการได้รับผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นทั้งทางบวกและทางลบโดยประมวลข้อมูลและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และน�ำมาจัดระดับความส�ำคัญของผลกระทบ เพื่อเป็นข้อมูลในการก�ำหนดมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบ ผลกระทบทางสุขภาพ ประโยชน์ของการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ส�ำหรับประชาชน ๑. ประชาชน ได้แสดงข้อคิดเห็น ข้อห่วงกังวล รวมถึงข้อเสนอแนะต่อการด�ำเนินโครงการของภาคอุตสาหกรรม เพื่อน�ำไปสู่การจัดท�ำนโยบายด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบอย่างแท้จริง ๒. ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบของโครงการ เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมจัดหาแนวทางใน การป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ๓. ให้ภาครัฐรับรู้ถึงสภาพปัญหา และระดับความรุนแรงของผลกระทบทางสุขภาพที่เกิดขึ้นกับประชาชนใน พื้นที่ เพื่อร่วมกับภาคอุตสาหกรรมในการหาแนวทางป้องกันแก้ไข และลดผลกระทบ พร้อมทั้งเยียวยา แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ประโยชน์ของการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ส�ำหรับพนักงาน ทราบถึงระดับของผลกระทบทางสุขภาพของพนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่โรงงาน โดยท�ำการประเมินด้าน คุณภาพอากาศ ระดับเสียง สภาพแวดล้อมและอุบัติเหตุจากการท�ำงาน รวมถึงความต้องการ / การเข้าถึงระบบบริการ สุขภาพเพื่อจัดหาแนวทางในการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบทางสุขภาพ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 45


ปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงาน ๑. การตีความหมายเกีย่ วกับโครงการรุนแรงทีจ่ ะต้องมีการจัดท�ำการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ๒. การนิยาม ความหมาย การตีความเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสุขภาพตาม ประกาศของกระทรวงทรัพยากรฯ ฉบับวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ ๓. ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ๔. การจั ด เวที รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชนในส่ ว นของการเปิ ด เผยข้ อ มู ล รายละเอี ย ดโครงการ ตามประกาศ ฯ ที่ให้เผยแพร่ผ่านช่องทางการสื่อสารสาธารณะ ควรระบุให้ชัดเจนว่าช่องทางการสื่อสาร ประเภทไหน เป็นช่องทางที่ถูกต้องตามประกาศฯ ๕. ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของข้อมูลทางด้านสุขภาพที่น� ำมาใช้ประกอบการประเมินผลกระทบ ทางสุขภาพ ๖. บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ รวมทั้งงาน วัย หรือข้อมูลเกี่ยวกับ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพมีน้อย ๗. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในขั้นตอนกระบวนการศึกษาและประเมิน ผลกระทบทางสุขภาพ ๘. การแสดงความคิดเห็นของประชาชนส่วนใหญ่จะแสดงความคิดเห็นในภาพรวมมากกว่ารายโครงการ ๙. ผลกระทบทางสุขภาพที่ประชาชนได้รับ เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นในภาพรวม จากปัจจัยหลายส่วนที่ เชื่อมโยงกัน ท�ำให้ไม่สามารถแยกปัญหาออกเป็นส่วนๆ ได้ รศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ ได้อภิปรายในหัวข้อนีว้ า่ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพนัน้ คือ กระบวนการ วิเคราะห์นโยบายสาธารณะ แผนงาน หรือโครงการทีม่ ผี ลกระทบต่อสุขภาพทัง้ เชิงบวกและเชิงลบ ทัง้ ในระดับประเทศและ ท้องถิ่น ซึ่งในการประเมินนั้นมีการประยุกต์องค์ความรู้ด้านการประเมินความเสี่ยง ระบาดวิทยา ผลกระทบด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ก่อนที่จะเริ่มต้นด�ำเนินการโครงการใดๆ เพื่อเสนอแผนงานหรือปรับปรุงการด�ำเนินการ ให้มีการป้องกันผลทางลบ และส่งเสริมสุขภาพที่ดีของมนุษย์ โดยสามารถที่จะเรียนรู้ร่วมกันในสังคมที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ทุกฝ่ายได้ร่วมกันพิจารณาถึงผลกระทบทางสุขภาพและมีการใช้แนวทางและเครื่องมือที่หลากหลายในการระบุ และคาดการณ์ผลกระทบทางสุขภาพทีอ่ าจจะเกิดขึน้ หรือเกิดขึน้ แล้วกับประชาชนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ เนือ่ งจากการด�ำเนิน นโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ เพือ่ ตัดสินใจเลือกทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับการสร้างเสริม และคุ้มครองสุขภาพของทุกคนในสังคม ในด้านของกฎหมายก็ได้ระบุไว้ในหลายส่วน เช่น ในเรื่องการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระท�ำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มี กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน หรือการก�ำหนดประเภทและขนาดของโครงการ ที่ต้องจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมกับการก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และ

46 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


แนวทางในการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม โดยให้สำ� นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมเป็นผูบ้ งั คับใช้กฎหมาย หรือเมือ่ มีกรณีทจี่ ะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึน้ หน่วยงานของ รัฐที่มีข้อมูลต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบ เป็นต้น ุ ค่าหรือความส�ำคัญของผลกระทบ ดังนัน้ หากไม่มกี ารประเมินผลกระทบต่อสุขภาพนัน้ ก็จะท�ำให้ขาดการให้คณ ที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพของประชาชน ขาดการรวบรวม และน�ำเสนอข้อมูลหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบทางสุขภาพ ขาดการน�ำศักยภาพและทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ประโยชน์ และท�ำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน อาจกระทบกระเทือนต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของประชาชนกลุ่มที่ได้รับผลกระทบ และที่ส�ำคัญคือขาดความเป็น ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาลได้ วัตถุประสงค์ของการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ • เพื่อกระตุ้นให้ผู้ตัดสินใจเห็นคุณค่า และให้ความส�ำคัญกับการสร้างเสริมและการคุ้มครองสุขภาพของ ประชาชน • เพื่อน�ำเสนอ ข้อมูล หลักฐาน อย่างเป็นระบบ และน่าเชื่อถือ ส�ำหรับใช้ในการตัดสินใจที่จะเป็นประโยชน์ ต่อสุขภาพของประชาชน • เพื่อเสนอทางเลือกและข้อเสนอแนะในการด�ำเนินงาน ในการสร้างเสริมสุขภาพ และลดภัยคุกคาม หรือ ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชน • เพื่อระดมศักยภาพและทรัพยากรในชุมชนร่วมกับภาคส่วนอื่นๆในสังคม เพื่อการสร้างเสริมและคุ้มครอง สุขภาพของประชาชน • เพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของประชาชน • เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อสนับสนุนให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์และผลกระทบต่อสาธารณะ จากปัญหาการท�ำการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการขาดการมีส่วนร่วมจาก ผู้มีส่วนได้เสีย การที่ประเด็นการประเมินไม่ครอบคลุมผลกระทบต่อสุขภาพที่แท้จริง ความห่วงกังวลของผู้ได้รับผล กระทบไม่ได้น�ำเข้ามาสู่กระบวนการประเมิน องค์ความรู้ท้องถิ่นไม่ได้ถูกน�ำมาสู่กระบวนการประเมินด้วยเหตุผลที่ว่า ไม่มีความเป็นวิชาการเพียงพอ และมีการก�ำหนดประเภทและขนาดของโครงการที่จะต้องท�ำการประเมินผลกระทบสิ่ง แวดล้อมไว้จำ� กัด ท�ำให้หลายโครงการที่มีผลกระทบต่อชุมชนไม่เข้าข่ายต้องท�ำการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ซึ่ง จากการที่ทราบปัญหาเหล่านี้แล้ว สิ่งที่ต้องพิจารณาในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ คือ ๑. ลักษณะของงาน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการประเมินผลกระทบทาง สุขภาพส�ำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ๒. ประเภทของผู้ประเมิน แบ่งเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ผู้ชำ� นาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและผู้เชี่ยวชาญการศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อมเฉพาะด้าน (ผู้ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ) แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 47


๓. คุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพ - ผู้ช�ำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามการก�ำหนดของพระราชบัญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๓๕ ส่วนที่ ๔ มาตรา ๕๑ - ผู้เชี่ยวชาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเฉพาะด้านต้องส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาล อาชีวอนามัย อาชีวเวชศาสตร์ เวชศาสตร์ชุมชน ระบาดวิทยา หรือพิษวิทยา หรือเทียบเท่า และสามารถหาแนวทางการพัฒนาระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพได้ ๒ แนวคิด ดังนี้ ๑. แนวคิดจากการประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น แคนาดา นิวซีแลนด์ ข้อดีคือการมีกฎหมาย รองรับชัดเจน มีอำ� นาจหรือผลในการตัดสินใจ ลดการซ�ำ้ ซ้อนของการด�ำเนินงาน ส่วนข้อด้อย คือ เป็นการประเมิน ระดับโครงการฯ และเกี่ยวข้องกับผลกระทบทางสุขภาพอันเนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ๒. แนวคิดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ เช่น เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ มีข้อดี คือสามารถน�ำไปใช้ในขอบเขต ที่กว้างกว่า ตั้งแต่นโยบายระดับรัฐ ไปจนถึงท้องถิ่น สามารถน�ำไปใช้ได้กับผลกระทบทางสุขภาพทั้งที่เกิดจากปัจจัย ทางกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เพราะไม่จำ� เป็นต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้ ส่วนข้อด้อย คือ ไม่มี การระบุบังคับใช้ และไม่มีอ�ำนาจการตัดสินใจ หรือการอนุมัติโครงการที่ชัดเจนตามกฎหมาย ในส่วนของขั้นตอน และหลักการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ มี ๕ ขั้นตอน คือ ๑) การกลั่นกรองโครงการ ๒) การก�ำหนดขอบเขตการศึกษา ๓) การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ๔) การพิจารณารายงานและการตัดสินใจ ๕) การติดตามตรวจสอบและประเมินผล

48 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


คู่มือระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตามแนวปฏิบัติขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO-OSHMS) จากการที่ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ ได้ มี ค วามเห็ น ร่ ว มกั น ว่ า ควรที่ จ ะน� ำ คู ่ มื อ ระบบการจั ด การความปลอดภั ย และอาชีวอนามัยมาใช้ เพื่อเป็นประโยชน์ในระบบการท�ำงานด้านความปลอดภัยของประเทศไทย ซึ่งคู่มือระบบ การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตามแนวปฏิบัติขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO-OSHMS) มีรายละเอียดดังนี้ ดร.ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล ได้กล่าวไว้ว่า ILO คือยุทธศาสตร์โลกที่เกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ซึ่งถ้าเราไม่ให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจนเกิดการประสบอันตราย ก็จะท�ำให้เกิดผลกระทบ หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นภาพลักษณ์ของประเทศ แรงกดดันขององค์การระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ การกีดกันทางการค้า และความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม จึงได้มีการน�ำยุทธศาสตร์โลก (ILO : OSH Strategy) นี้ขึ้นเสนอในการประชุมยุทธศาสตร์โลกด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยที่เมืองเจนีวา จากสภาพปัญหาด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย คือ การขาดวัฒนธรรมความปลอดภัย การขาดการ เอาใจใส่ของผู้กำ� หนดนโยบาย การที่มีหลายภาคส่วนที่ไม่มีผู้แทนในเวทีระหว่างประเทศ เช่น ผู้ประกอบอาชีพอิสระ สถานประกอบกิจการขนาดเล็ก และแรงงานนอกระบบ เป็นต้น และการมีทรัพยากรจ�ำกัดในการพัฒนาความปลอดภัย และสุขภาพในสถานประกอบกิจการ ดังนั้น ILOหรือยุทธศาสตร์โลกนี้จะช่วยสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย การดูแล สิทธิในเรื่องความปลอดภัย ช่วยในการยึดหลักการป้องกัน และเพื่อให้การด�ำเนินการเป็นระบบ ยุทธศาสตร์โลกด้านความปลอดภัยมี ๒ เสาหลัก คือ เสาหลักที่ ๑ การสร้างและรักษาวัฒนธรรมความปลอดภัยระดับชาติ เช่น - ให้มีการยอมรับว่า คนงานมีสิทธิด้านความปลอดภัย สุขภาพ และสภาพแวดล้อมในทุกระดับ - ให้หน่วยงานของรัฐ นายจ้างและลูกจ้างเข้ามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการท�ำให้เกิดความปลอดภัย สุขภาพ และสภาพแวดล้อมที่ดี ซึง่ ปัจจัยพืน้ ฐานของวัฒนธรรมความปลอดภัยและสุขภาพ มีดงั นี้ ทุกคนในองค์กรต้องมีความเชือ่ ว่าเขามีสทิ ธิ ในสถานทีท่ ำ� งานทีป่ ลอดภัยและมีสขุ ภาวะ แต่ละคนต้องยอมรับในความรับผิดชอบทีจ่ ะดูแลความปลอดภัยและสุขภาพ ของตนเอง และทุกคนต้องเชื่อว่าตนมีหน้าที่ในการคุ้มครองความปลอดภัยและสุขภาพของผู้อื่น เสาหลักที่ ๒ การจัดให้มีระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในองค์การ มี ๕ องค์ประกอบ คือนโยบาย การจัดการ การวางแผนและการน�ำไปปฏิบัติ การประเมินผล และการด�ำเนินการปรับปรุง

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 49


ส�ำหรับแนวปฏิบัติระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. ท�ำให้เกิดการคุ้มครองคนงานจากอันตราย ๒. ในระดับประเทศ นั้นสามารถใช้ในการจัดท�ำกรอบงานระดับชาติ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการ ด�ำเนินการโดยสมัครใจ และใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาแนวปฏิบตั ริ ะดับชาติ และใช้เป็นแนวปฏิบตั ิ ปรับเฉพาะองค์กร ๓. ในระดับองค์กรนั้นสามารถใช้เป็นแนวทางในการบูรณาการองค์ประกอบของระบบจัดการ OSH และเป็นการจูงใจให้สมาชิกขององค์กรใช้หลักการและวิธีการจัดการ OSH ส่วนกรอบงานระดับชาติของระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมี ๓ กรอบงาน คือ ๑. นโยบายแห่งชาติ (National policy) ๒. แนวปฏิบัติระดับชาติ (National guidelines) ๓. แนวปฏิบัติปรับเฉพาะองค์กร (Tailored guidelines) องค์ประกอบของระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในองค์กร มีดังนี้ ๑. นโยบาย (Policy) ๑.๑ นโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๑.๒ การมีส่วนร่วมของคนงาน • นายจ้างต้องจัดมาตรการในการมีส่วนร่วมของคนงาน • ผู้แทนลูกจ้างด้านความปลอดภัยได้รับการปรึกษาหารือ • จัดสรรเวลาและทรัพยากรให้ลูกจ้าง • จัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย ๒. การจัดการ (Organizing) ๒.๑ หน้าที่และความรับผิดชอบ ๒.๒ สมรรถนะและการฝึกอบรม ๒.๓ การจัดท�ำเอกสารระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ๒.๔ การสื่อสาร ๓. การวางแผนและการน�ำไปปฏิบัติ (Planning and implementation) ๓.๑ การทบทวนเบื้องต้น ๓.๒ การวางแผนและการพัฒนาระบบ และน�ำไปปฏิบัติ ๓.๓ วัตถุประสงค์ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๓.๔ การป้องกันอันตราย

50 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓.๔.๑ มาตรการในการป้องกันและควบคุม ๓.๔.๒ การจัดการการเปลี่ยนแปลง ๓.๔.๓ การป้องกันการเตรียมความพร้อม และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ๓.๔.๔ การจัดซื้อ ๓.๔.๕ การจ้างเหมา ๔. การประเมินผล (Evaluation) ๔.๑ การเฝ้าติดตามและการวัดผลการปฏิบัติงาน ๔.๒ การสอบสวนการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย โรค และ อุบัติการณ์จากการท�ำงาน และผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๔.๓ การตรวจสอบ ๔.๔ การทบทวนการจัดการ ๕. การด�ำเนินการปรับปรุง (Action for improvement) ๕.๑ การด�ำเนินการป้องกันและแก้ไข ๕.๒ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ั หาการประสบอันตราย ส�ำหรับสถานการณ์การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทยนัน้ มีปญ จากการท�ำงานทั้งที่กระทรวงแรงงานได้ผลักดันให้มีกฎหมายความปลอดภัยถึง ๑๒ ฉบับ เพื่อเป็นกลไกการบริหาร จัดการความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ แต่กฎหมายเหล่านั้นก็ยังขาดความสมบูรณ์ตามกรอบของระบบการ จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ดังนั้นกระทรวงแรงงานจึงพยายามผลักดันให้มีการร่างกฎหมายเพื่อให้สถาน ประกอบกิจการมีระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตามแนวทางของ ILO-OSHMS ๒๐๐๑ ขึ้น ซึ่ง ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของกระทรวงแรงงานนัน้ ประกอบไปด้วย ๑. นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ๑.๑ นายจ้างต้องให้ผู้แทนลูกจ้างมีส่วนร่วมในการจัดท�ำนโยบายฯ ๑.๒ ท�ำเป็นหนังสือพร้อมทัง้ ลงนามรับรองนโยบายนัน้ และให้เผยแพร่โดยปิดประกาศในทีเ่ ปิดเผย ๑.๓ ต้องสนับสนุนโดยจัดสรรเวลาและทรัพยากร เพื่อให้น�ำนโยบายไปสู่การน�ำระบบไปปฏิบัติ ๒. การจัดการองค์กรด้านความปลอดภัยฯ ๒.๑ นายจ้างต้องเป็นผู้น�ำในการจัดท�ำระบบการจัดการด้านความปลอดภัย ฯ และแต่งตั้งลูกจ้าง ระดับบริหารอาวุโสเพื่อท�ำหน้าที่ ในการควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของระบบการจัดการ ด้านความปลอดภัย ฯ การรายงานผลการด�ำเนินงานของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย ฯ ต่อนายจ้างและการส่งเสริมให้ลกู จ้างทุกคนมีสว่ นร่วมในการด�ำเนินการของระบบการจัดการ ด้านความปลอดภัยฯ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 51


๒.๒ นายจ้างต้องจัดให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่ลูกจ้าง ดังนี้ - มีการฝึกอบรมหรือสอนงานแก่ลกู จ้างใหม่ ลูกจ้างทีเ่ ปลีย่ นหน้าทีก่ ารปฏิบตั งิ านหรือ ไปท�ำงาน ณ สถานที่อื่นที่อาจเกิดอันตรายเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน - มีการฝึกอบรมความสามารถเฉพาะเพื่อให้ลูกจ้างมีความรู้ ประสบการณ์และทักษะ ที่เพียงพอในการปฏิบัติงานเฉพาะด้าน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน - มีการฝึกอบรมทบทวนให้แก่ลูกจ้างเป็นระยะๆ ทั้งนี้ให้นายจ้างจัดให้มีการประเมิน ผลการฝึกอบรมลูกจ้างทุกคน ๒.๓ นายจ้างต้องจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการท�ำงานและเอกสารแสดง ขั้นตอนการท�ำงานที่ปลอดภัยเพื่อให้ลูกจ้างปฏิบัติงานในหน้าที่ให้เกิดความปลอดภัย และ มีการควบคุมลูกจ้างให้มีการปฏิบัติตามคู่มือและเอกสารนั้น ๒.๔ นายจ้างต้องจัดให้มีการจัดท�ำเอกสาร การบันทึกเอกสารซึ่งอาจอยู่ในรูปสื่ออิเล็คทรอนิกส์ การจัดเก็บ การค้นหา การทบทวนและการปรับปรุงเอกสารในระบบการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และลูกจ้างต้องสามารถเข้าถึง ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับสภาพแวดล้อมในการท�ำงานและสุขภาพอนามัยได้ รวมทัง้ ต้องมีระบบ การรักษาความลับส่วนบุคคลที่จำ� เป็นด้วย ๓. แผนการด�ำเนินงานและการน�ำไปปฏิบัติ ๓.๑ นายจ้างจะต้องจัดให้มีการชี้บ่ง ประเมินอันตรายและความเสี่ยงต่อสุขภาพและความ ปลอดภัยที่เกิดขึ้นจากการท�ำงานและสภาพแวดล้อมในการท�ำงานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และต้องจัดท�ำมาตรการในการป้องกันอันตรายและควบคุมความเสี่ยงตามสภาพของงาน ๓.๒ นายจ้างต้องจัดให้มีการเฝ้าระวังสภาพแวดล้อมในการท�ำงานและการเฝ้าระวังสุขภาพของ ลูกจ้างโดยผู้ที่มีความสามารถเฉพาะจากภายในหรือภายนอกสถานประกอบกิจการ ๓.๓ นายจ้างต้องจัดท�ำแผนป้องกัน และเตรียมความพร้อม ส�ำหรับตอบโต้เหตุฉุกเฉินตาม ความเสี่ยงของสถานประกอบกิจการ ๓.๔ นายจ้างต้องจัดให้มีการฝึกซ้อมแผนป้องกัน และเตรียมความพร้อมส�ำหรับตอบโต้เหตุ ฉุกเฉิน อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ๓.๕ กรณีทสี่ ถานประกอบกิจการจ�ำเป็นต้องมีผรู้ บั เหมาเข้ามาท�ำงานให้นายจ้างจัดท�ำข้อก�ำหนด ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้ผู้รับเหมาปฏิบัติและ ใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินและคัดเลือกผู้รับเหมา ๓.๖ นายจ้างต้องจัดให้มีระบบการสอบสวนหาสาเหตุของการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ และเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากการท�ำงาน รวมทั้งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน ของลูกจ้าง และต้องก�ำหนดมาตรการการป้องกัน เพื่อมิให้เกิดเหตุซำ�้ อีก

52 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๔. การประเมินผลและการทบทวนการจัดการ ๔.๑ นายจ้างต้องจัดท�ำเกณฑ์การชีว้ ดั ผลการปฏิบตั งิ านทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพและจัดท�ำ ขั้นตอนการประเมินผล รวมทั้งด�ำเนินการตามขั้นตอนนั้น ๔.๒ นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจประเมินระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยผู้มีความสามารถเฉพาะ จากภายในหรือภายนอกสถานประกอบกิจการซึ่งเป็นอิสระจากกิจกรรมที่ถูกตรวจสอบ และแจ้งผลการตรวจประเมินเพื่อ การพัฒนาระบบให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ๔.๓ นายจ้างต้องจัดให้มกี ารทบทวนการจัดการ โดยบุคคลทีน่ ายจ้างแต่งตัง้ ร่วมกับคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานในสถานประกอบกิจการ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ๔.๔ นายจ้างต้องเก็บบันทึกผลการตรวจประเมินระบบ และบันทึกการทบทวนการจัดการไว้ใน สถานประกอบกิจการ ๕. การด�ำเนินการปรับปรุง นายจ้างต้องจัดให้มแี ผนงาน และการด�ำเนินการส�ำหรับการปรับปรุงทุกองค์ประกอบในระบบ เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานในระบบ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของสถานประกอบ กิจการ ในส่วนของกฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน(ฉบับที่..) พ.ศ. ๒๕๕๓นั้นจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ดังนี้ ๑. จะมีการบังคับใช้เมื่อพ้นก�ำหนด ๑๘๐ วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๒. มีการเพิ่มความเป็นหมวด ๑/๑ ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน ข้อ ๒๒/๑ ถึงข้อ ๒๒/๔ แห่งกฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการ จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยหมวด ๑/๑ ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน มีรายละเอียดข้อ ๒๒/๑ ถึงข้อ ๒๒/๔ ดังนี้ ข้อ ๒๒/๑ สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๕๐ คนขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มีระบบ การจัดการด้านความปลอดภัยในการท�ำงานของสถานประกอบกิจการ อย่างน้อยต้องประกอบด้วย (๑) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (๒) โครงสร้ า งการบริ ห ารด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการท�ำงาน (๓) แผนงานด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท�ำ งาน และการน�ำไปปฏิบัติ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 53


(๔) การประเมิ น และทบทวนการจั ด การด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (๕) การด�ำเนินการปรับปรุงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน ข้อ ๒๒/๓ ให้นายจ้างจัดท�ำเอกสารเกีย่ วกับการจัดให้มรี ะบบการจัดการด้านความปลอดภัย ในการท�ำงานตามข้อ ๒๒/๑ เก็บไว้ในสถานประกอบกิจการเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปีนับแต่วัน จัดท�ำ และพร้อมที่จะให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบ ข้อ ๒๒/๔ ให้นายจ้างจัดให้ลกู จ้างสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบการจัดการ ด้านความปลอดภัยในการท�ำงานได้ ส�ำหรับมาตรฐาน JISHA OSHMS Standards ๒๐๐๖ (Amendment ๒) ของประเทศ ญี่ปุ่นนั้น ก็จะประกอบไปด้วย ๑. Occupational safety and health (OSH) policy ๒. Incorporation of workers’ opinions in OSH measures ๓. Establishment of an OSHMS implementation structure ๔. Documentation ๕. Records ๖. Risk assessment and control measures ๗. Establishment of safety and health objectives ๘. Formulation of safety and health plan ๙. Implementation of the occupational safety and health plan, etc. ๑๐. Responses to emergency ๑๑. Routine monitoring, improvement, etc. ๑๒. Investigation of causes of industrial accidents ๑๓. System audit ๑๔. Management Review ๑๕. Effects resulting from the implementation and operation of the OSHMS

54 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นอกจากนีแ้ ล้วนายสวินทร์ พงษ์เก่า ยังได้กล่าวถึงเรือ่ งโครงสร้างและการจัดท�ำเอกสารในระบบ ILO-OSHMS ๒๐๐๑ โดยรายละเอียดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS ๒๐๐๑นัน้ มีรายละเอียดดังนีค้ อื วัตถุประสงค์ของระบบการจัดการฯ - เพื่อการคุ้มครองคนงานจากอันตราย การบาดเจ็บ การเจ็บป่วย และการเสียชีวิตจากการท�ำงาน - เพื่อใช้ในการจัดท�ำกรอบงานระดับชาติส�ำหรับระบบการจัดการ OSH ซึ่งมักจะสนับสนุนโดย กฎหมาย - เพือ่ ใช้เป็นแนวทางส�ำหรับการจัดท�ำมาตรฐานโดยสมัครใจ เพือ่ ให้เกิดการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและ มาตรฐานซึ่งน�ำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง - เพื่อบูรณาการทุกส่วนของระบบการจัดการ OSH ในองค์กรให้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายและการ จัดการ - เพื่อจูงใจสมาชิกขององค์กร ในการประยุกต์หลักการและวิธีการจัดการ OSH ที่เหมาะสม ในการ ปรับปรุงการด�ำเนินงาน OSH อย่างต่อเนื่อง องค์ประกอบหลักของระบบการจัดการฯ

1.

4

การนำไปปฏิบัติ (4 เรื่อง)

. การดำเนินการ ปรับปรุง การประเมินผล (4 เรื่อง) (2 เรื่อง)

อยาง

ตรวจส

3. การวางแผนและ

ป ร ุง

การ

อบ

การจัดการ (4 เรื่อง)

ตอเนื่อง

2.

นโยบาย (2 เรื่อง)

5.

1.1 นโยบายความปลอดภัย / อาชีวอนามัย 1.2 การมีสวนรวมของพนักงาน 2.1 หนาที่ความรับผิดชอบและตรวจสอบได 2.2 ความรู ความสามารถและการฝกอบรม 2.3 การจัดทำเอกสารความปลอดภัย / อาชีวอนามัย 2.4 การสื่อสาร

ร ป ร า ก

ับ

3.1 การทบทวนเบื้องตน 3.2 การวางแผน พัฒนา นำไปปฏิบัติ 3.3 การจัดทำเอกสารความปลอดภัย / อาชีวอนามัย 3.4 การปองกันอันตราย (5 มาตรการ) 4.1 การตรวจติดตามและการวัดผลการปฏิบัติงาน 4.2 การตรวจสอบอุบัติการณและผลกระทบ ตอความปลอดภัย / อาชีวอนามัย 4.3 การตรวจสอบ 4.4 การทบทวนการจัดการ 5.1 การปรับปรุงอยางตอเนื่อง 5.2 การปองกันและแกไข

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 55


และระบบความปลอดภัยในองค์กร มี ๓ ส่วนคือ ระบบความปลอดภัยพื้นฐาน ระบบความปลอดภัย รองรับความเสีย่ ง และระบบความปลอดภัยตามกฎหมายก�ำหนด ส่วนความสัมพันธ์ของระบบการจัดการในองค์กร ดังนี้

ระบบการจัดการ คุณภาพ

ระบบการจัดการ ความปลอดภัย

ระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม

นอกจากนี้แล้ว ๓ สิ่งที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จได้ คือระบบความปลอดภัย บทบาทฝ่ายบริหาร และ ความร่วมมือของพนักงาน ประโยชน์ของการท�ำระบบเอกสาร คือ - เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร - เป็นคู่มือส�ำหรับการฝึกอบรมของหน่วยงานเอง - เพื่อเป็นคู่มือใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงาน - เพื่อให้ระบบการท�ำงานเป็นไปด้วยความต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินผลการปฏิบัติงาน - เป็นการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้อีกทาง โครงสร้างของเอกสารมี ๔ ระดับ ดังนี้ ระดับที่ ๑ คู่มือ (Manual) เป็นเอกสารที่แสดงการด�ำเนินการของระบบการบริหารงานคุณภาพ อย่ า งสมเหตุ ผ ลภายในองค์ ก ร เนื้ อ หาจะกล่ า วถึ ง นโยบายการจั ด การและวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องแต่ ล ะข้ อ ก� ำ หนด สรุปย่อเกี่ยวกับองค์กร ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ อธิบายอย่างย่อว่าหัวข้อมาตรฐาน และอ้างถึง เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

56 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ระดับที่ ๒ คู่มือขั้นตอน การด�ำเนินงาน (Procedure) จะแปลงนโยบายในคู่มือคุณภาพมาปฏิบัติและ จัดท�ำเอกสาร เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ดังนัน้ จะมีการอธิบายอย่างละเอียดเกีย่ วกับ การด�ำเนินงานของระบบคุณภาพ ตั้งแต่ ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การจัดการ ซึ่งระเบียบปฎิบัติของระบบการจัดการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS ๒๐๐๑ มี ๑๕ ข้อ คือ SP๐๑. ความสามารถเฉพาะและการฝึกอบรม SP๐๒. การจัดท�ำเอกสาร SP๐๓. การสื่อสาร SP๐๔. การด�ำเนินการตามกฎหมาย SPO๕. การทบทวนสถานะเบื้องต้น SP๐๖. การตั้งวัตถุประสงค์ความปลอดภัย SP๐๗. การประเมินความเสี่ยง SP๐๘. การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน SP๐๙. การจัดซื้อจัดหา SP๑๐. การจ้างเหมา SP๑๑. การเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อม SP๑๒. การสอบสวนอุบัติเหตุ SP๑๓. การตรวจประเมิน SP๑๔. การทบทวนการจัดการ SP๑๕. การแก้ไขป้องกัน ระดับที่ ๓ วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction) แสดงรายละเอียดของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งเน้นในการอธิบายวิธีการปฏิบัติโดยความละเอียดของงานขึ้นอยู่กับคุณภาพของงานที่จะต้องท�ำ เพื่อควบคุม ให้ผู้ปฏิบัติทำ� ตามได้อย่างถูกต้องทุกครั้ง และลดโอกาสเกิดปัญหาต่างๆ ขึ้นได้ด้วย ระดับที่ ๔ เอกสารสนับสนุน (Supporting Document) มีความส�ำคัญในการใช้อ้างอิงในการท�ำงานถึง เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องมาตรฐานทางวิศวกรรม คู่มือการตรวจสอบ มาตรฐานสากลต่างๆ เป็นต้น

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 57


มาตรฐานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในปัจจุบันนี้ประเทศไทยก็เริ่มมีมาตรฐานเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมาตรฐานเหล่านี้ สามารถที่จะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถท�ำงานได้ง่ายขึ้น มีระบบระเบียบมากขึ้น ซึ่งมาตรฐาน ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้

ข้อก�ำหนดในการควบคุมและรายงานผลการด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการท�ำงาน นางสาวอิสสยา ด�ำรงเกียรติสกุล ได้อธิบายในเรื่องข้อก�ำหนดในการควบคุมและรายงานผลการด�ำเนินงาน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงาน ไว้ว่า เนือ่ งจากการรายงานผลการด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงานในปัจจุบนั นัน้ มีปญ ั หา หลายอย่าง เช่น ไม่มมี าตรฐาน/ข้อแนะน�ำทีช่ ดั เจน สถานทีท่ ำ� งานนัน้ ไม่ได้จำ� กัดอยูเ่ พียงในสถานประกอบกิจการเท่านัน้ ขาดระบบการจัดการ/โปรแกรม สถิตผิ ลการด�ำเนินงานไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ ข้อมูลทีม่ ไี ม่ครอบคลุมทุกกิจกรรม ไม่สมบูรณ์ ไม่ถกู ต้องท�ำให้ยากต่อการเปรียบเทียบ ดังนัน้ จึงได้มกี ารร่างมาตรฐานนีข้ นึ้ มาเพือ่ ช่วยให้เกิดความชัดเจน ในการท�ำงานมากยิ่งขึ้น โดยรายละเอียดของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมีดังนี้ ขอบข่ายของมาตรฐาน ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ ใช้สำ� หรับให้คำ� แนะน�ำและก�ำหนดหลักการส�ำคัญในการวัดผล การควบคุม การรายงาน และการรวบรวมข้อมูล การด�ำเนินงานในสถานประกอบกิจการและองค์กรทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงาน และ องค์กรจะสามารถเข้าใจถึงผลการด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและ พัฒนาระบบการจัดการ ให้มีมาตรฐานดียิ่งขึ้น สามารถเปรียบเทียบผลการด�ำเนินงาน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทั้งภายในและนอก องค์กรได้ ๑.๒ การน�ำไปใช้ ข้อก�ำหนดนี้ใช้เป็นแนวทางให้สถานประกอบกิจการ น�ำไปวัด ผลการด�ำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย เพือ่ ประโยชน์ในการปรับปรุง ระบบการบริหารงานของสถานประกอบกิจการและองค์กรอย่างต่อเนือ่ ง และส่งเสริม การปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงแรงงานเรือ่ งก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รวมทั้ง มาตรฐาน ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

58 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นิยาม สถานประกอบกิจการ (Operating Unit) หมายถึง ที่ท�ำงานของนายจ้างแต่ละแห่งที่ประกอบกิจการแยกออก ไปตามล�ำพังเป็นหน่วยๆ และมีลูกจ้างท�ำงานอยู่ องค์กร (Organisation) หมายถึง หน่วยธุรกิจใหญ่ที่ประกอบไปด้วยสถานประกอบกิจการย่อยๆ ซึ่งมีการ ด�ำเนินงานภายใต้หลักการด�ำเนินธุรกิจเดียวกัน ลูกจ้าง (Worker) หมายถึง ผู้ที่ตกลงท�ำงานให้นายจ้างโดยได้รับค่าจ้างเป็นผลตอบแทน พนักงาน (Employee) หมายถึง ลูกจ้างที่ถูกว่าจ้างให้ทำ� งานโดยตรงจากสถานประกอบกิจการ พนักงานรับเหมา (Contracted Staff) หมายถึง ลูกจ้างของบริษัทรับเหมา ที่ถูกว่าจ้างให้เข้ามาท�ำงานกับ สถานประกอบกิจการ/องค์กร บริษัทรับเหมา (Contractor) หมายถึง สถานประกอบกิจการที่ประกอบธุรกิจจัดหา ลูกจ้างเข้ามาท�ำงานหรือ ให้บริการ (สร้าง ซ่อมแซม บ�ำรุงรักษา รักษาความปลอดภัย ท�ำความสะอาด เป็นต้น) แก่สถานประกอบกิจการหนึ่ง โดยมีสัญญาว่าจ้างที่มากกว่าสามเดือน บุคคลที่สาม (Third Party) หมายถึง บุคคลหรือสถานประกอบกิจการอื่นที่มิได้อยู่ภายใต้การควบคุมการ ด�ำเนินงานของสถานประกอบกิจการ องค์กรหรือบริษัทรับเหมา ส�ำหรับการวัดผลการด�ำเนินงานในระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถแสดงได้ดงั แผนภาพที่ ๑ นโยบาย Policy

การพัฒนานโยบาย

การจัดการขององคกร Organising การตรวจประเมิน Audit

แผนงานและการปฏิบัติ Planing and Implementing การวัดผลการดำเนินงาน Performance Measuring การทบทวนผลการดำเนินงาน Performance Review

ขอมูลยอนกลับเพื่อ ผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น

ภาพที่ 1 การวัดผลการดำเนินงานในระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 59


ซึง่ ในการวัดผลการด�ำเนินงานในระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนี้ จะท�ำให้ได้ขอ้ มูลจากการวัดผล การด�ำเนินงานที่มีประโยชน์อย่างมาก คือ • ท�ำให้มีข้อมูลผลการด�ำเนินงานของระบบในเชิงปฏิบัติ • สามารถชี้บ่งได้ว่าพื้นที่ใดต้องมีการปรับปรุงเพิ่มเติม • เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • ให้มีการรับฟังข้อคิดเห็นและการจูงใจ ส�ำหรับการวัดผลการด�ำเนินการในระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนั้นสามารถวัดได้หลายอย่าง เช่น การวัดผลความล้มเหลว การวัดวัฒนธรรม การวัดความก้าวหน้าเทียบกับแผนงานและเป้าหมาย และการวัดการ จัดการบริหารและระบบควบคุมความเสี่ยง เป็นต้นซึ่งข้อมูลที่สามารถน�ำมาใช้เป็นตัววัดผลการด�ำเนินงานได้ต้องมี ลักษณะ ดังต่อไปนี้ • ความเกี่ยวข้อง (Relevance) • ความสม�่ำเสมอ (Consistency) • ความโปร่งใส (Transparency) • ความถูกต้อง (Accuracy) • ความสมบูรณ์ (Completeness) ดังนั้นระบบการจัดการข้อมูลจึงมีขั้นตอนการจัดการข้อมูลด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ดังนี้ ๑) มีกระบวนการควบคุม ตรวจสอบ และทวนสอบอย่างเหมาะสม เพือ่ ค้นหาความผิดพลาด การละเว้น การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจและมั่นใจว่าข้อมูล มีความถูกต้อง ๒) มีการมอบหมายงานและความรับผิดชอบต่างๆ ให้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการทบทวนข้อมูล กับผู้บังคับบัญชาตามสายงานตามโครงสร้างการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย โดยถือว่าการ รายงานข้อมูลด้านนี้เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชาตามสายงานด้วยเพื่อให้มั่นใจว่าการรายงานข้อมูล ด้านนี้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ ๓) นิยามที่ใช้และขอบเขตของการจัดการข้อมูลและการรายงานให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดในช่วงระยะ เวลารายงาน

มาตรฐานข้อแนะน�ำในการเลือกใช้ อุปกรณ์ปกป้องดวงตา และ ใบหน้า ส�ำหรับเรื่องมาตรฐานข้อแนะน�ำในการเลือกใช้ อุปกรณ์ปกป้องดวงตา และใบหน้านั้น นางปานรดา เธอร์การ์ ได้อธิบายและให้ข้อแนะน�ำ ไว้ว่า ขอบเขตของมาตรฐาน ข้อมูลในมาตรฐานนีเ้ ป็นการให้รายละเอียดเกีย่ วกับประเภทของอุปกรณ์ปกป้องดวงตา การใช้งาน ปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการเลือกอุปกรณ์ปกป้องดวงตาให้เหมาะสมกับการใช้งาน รวมถึงค�ำแนะน�ำในการเลือกอุปกรณ์ แต่ละประเภทด้วย นอกจากนั้นยังให้ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับ อันตรายต่างๆ ที่เป็นสาเหตุการบาดเจ็บของดวงตา สิ่งที่องค์กรจ�ำเป็นต้องท�ำเพื่อให้การปกป้องดวงตาของบุคลากร ในการท�ำงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 60 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ชนิดของการปกป้องในดวงตา และใบหน้า มีดังนี้ • การป้องกันเพื่อเพิ่มความแข็งแรงเบื้องต้น • การป้องกันงานที่ใช้แรงพลังงานต�่ำ • การป้องกันงานที่ใช้แรงพลังงานปานกลาง • การป้องกันงานที่ใช้แรงพลังงานสูง • การป้องกันงานที่เกี่ยวกับโลหะร้อนหรือโลหะเหลว • การป้องกันงานที่มีการกระเซ็นของของเหลว • การป้องกันงานที่เกิดสะเก็ดชิ้นใหญ่ • การป้องกันงานเกี่ยวกับแก๊สและสารระเหยต่างๆ • การป้องกันงานที่เกี่ยวกับรังสี ที่ไม่แตกตัว • การป้องกันงานที่เกี่ยวกับเลเซอร์ • การป้องกันงานที่เกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า คุณสมบัติของอุปกรณ์ปกป้องดวงตา และใบหน้า ๑. การทดสอบแรงกระแทก ต้องมีประสิทธิภาพการป้องกันแรงกระแทกที่ได้จากกรอบของแว่นครอบกัน รอบดวงตา และแผ่นกันรอบด้านของแว่นตา ๒. การทดสอบงานโลหะหลอมละลาย ซึ่งอุปกรณ์ป้องกันดวงตาที่ใส่ในงานประเภทที่เกี่ยวข้องกับโลหะ หลอมละลาย ส่วนครอบป้องกันดวงตา จะถูกติดตัง้ บริเวณใบหน้าลงไป อาจท�ำให้การทดสอบดูการกระเซ็น ของโลหะเหลว ๓. อุณหภูมิ ในการทดสอบอุณหภูมิตามมาตรฐาน ไม่รวมความร้อนที่เกิดจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ หรือในกรณีเกิดอุณหภูมิแปรเปลี่ยนสุดขั้ว ๔. การประเมินประสิทธิภาพการป้องกันดวงตาต่อของเหลว แก๊ส และฝุ่นละอองชนิดต่างๆ ๕. การประเมินเพิ่มเติมที่ระบุไว้ตามมาตรฐานอุปกรณ์การใช้งานป้องกันดวงตา ใบหน้า ล�ำคอ ในงานเชื่อม ที่อาจเกิดแสงประกายวาบ (non-ionizing radiation) รูปแบบของอุปกรณ์ปกป้องดวงตาและใบหน้า มีดังนี้ ๑. แว่นตาแบบ spectacles รวมถึง แผ่นป้องกันดวงตาและแว่นครอบแว่นตา ๒. แว่นครอบตา ๓. อุปกรณ์คลุมศีรษะที่ติดตั้งแผ่นกระบังหน้า หรือติดแผ่นกระบังเฉพาะส่วนการมอง ๔. กระบังกันหน้าแบบมือจับ ๕. ส่วนปกป้องดวงตาที่ติดตั้งประกอบกับอุปกรณ์ป้องกันอื่นๆ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 61


การเลือกใช้อุปกรณ์ปกป้องดวงตาที่เหมาะสม ในการเลือกใช้อปุ กรณ์ปกป้องดวงตา ให้เหมาะสมกับสภาพความเสีย่ งในการปฏิบตั งิ านนัน้ มีประเด็นพืน้ ฐาน ที่ควรน�ำมาประกอบการพิจารณา คือ ประเภทของอันตราย ผู้ปฏิบัติงาน และสภาพงาน ซึ่งในการเลือกใช้อุปกรณ์ ปกป้องดวงตา สิง่ ทีต่ อ้ งค�ำนึงถึง คือ ต้องสามารถใช้กบั อุปกรณ์ปอ้ งกันร่างกายอืน่ ๆ เช่น หมวกนิรภัย อุปกรณ์ปอ้ งกัน หู หรืออุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ โดยไม่มีข้อบกพร่องใดๆ เพราะหากเกิดจุดที่ไม่สามารถเข้ากับอุปกรณ์ป้องกันที่ ต้องสวมใส่ในการปฏิบัติงานนั้น แม้เพียงเล็กน้อย ย่อมน�ำไปสู่ความเสี่ยงอย่างใดอย่างหนึ่งตามด้านล่างนี้ คือ • ระดับของประสิทธิภาพการปกป้องของอุปกรณ์ป้องกันดวงตา ต�่ำกว่าสมรรถนะที่ควรเป็นของมัน • ท�ำให้อุปกรณ์ปกป้องร่างกายชนิดนั้นหมดประสิทธิภาพการป้องกันไปด้วย ปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นและแนวทางการแก้ไข ตัวอย่างเช่น แว่นตาอาจจะไม่แนบสนิทเข้ากับอวัยวะที่สวม ใส่ จึงต้องเลือกใช้แว่นครอบตา แบบรูปถ้วย ที่มีขนาดเล็กลง หรือเลือกใช้กระบังหน้า แทนก็ได้ หรือการที่ส่วนบนของ อุปกรณ์หน้ากากกรองฝุ่น อาจท�ำให้การใส่อุปกรณ์ป้องกันดวงตาไม่แนบสนิท ช่วงส่วนบนดั้งจมูก อาจมีช่องให้สาร เคมี หรือฝุ่นที่เป็นอันตรายเล็ดลอดเข้าไปในอุปกรณ์หน้ากากป้องกันได้ ควรพิจารณาเลือกอุปกรณ์ป้องกันประเภท อื่นแทนที่ให้ความแนบสนิทกับใบหน้าเวลาสวมใส่ การดูแลและบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ปกป้องดวงตา ๑. ควรได้รับการตรวจสอบดูแล ท�ำความสะอาดซ่อมแซม (ตามความเหมาะสม) และเก็บรักษาอย่างถูกวิธี เพื่อรักษาประสิทธิภาพการปกป้องให้อยู่ระดับเดิม ๒. ควรมีการจัดท�ำเอกสารแนะน�ำกระบวนการตรวจสอบอุปกรณ์ปอ้ งกันดวงตา ทัง้ ก่อนและหลังการใช้อย่าง ถูกต้องเป็นระบบ อุปกรณ์ที่เสื่อมสภาพเสียหาย หรือ เกินอายุงานที่ระบุไว้ ควรได้รับการเปลี่ยน เพื่อการ ใช้งานป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เกณฑ์การประเมินอุปกรณ์ว่าจ�ำเป็นต้องเปลื่ยนหรือไม่ ๓. เลนส์ ควรตรวจสอบเพราะเป็นอุปกรณ์ส�ำคัญในการมองเห็นของอุปกรณ์ป้องกันดวงตาทุกประเภท เลนส์ไม่ควรมีแผลขูดขีด หรือร่องรอยใดๆ ที่แสดงการถูกขัดสี ขีดข่วน สภาพสีไม่ควรเปลี่ยนจากเดิม และเลนส์ต้องติดแน่นอยู่ในสภาพเดิม ๔. ส่วนประกอบของแว่น ทุกส่วนของแว่นตาแบบนี้ควรได้รับการตรวจสอบว่าอยู่ในสภาพไม่บิดเบี้ยว เสียรูป และยังให้ความกระชับพอดีเมื่อสวมใส่ ขาแว่นที่สามารถปรับได้ ต้องตรวจดูทุกครั้ง หมุดเกี่ยว ระหว่างกรอบด้านหน้าและส่วนข้าง อยู่ในสภาพปกติไม่หลุดหลวม หากเป็นรุ่นที่มีแผงกั้นแสงด้านข้าง ส่วนยางรัดรอบศีรษะ ควรตรวจสภาพยางว่า ยังสามารถปรับเข้าเลื่อนออกได้คล่อง และยังอยู่ในสภาพดี ๕. ส่วนเบ้าครอบตา ควรอยู่ในสภาพปกติ ไม่บิดเบี้ยวเสียรูปทรง ๖. ท�ำความสะอาดตามค�ำแนะน�ำทีร่ ะบุไว้ในเอกสารคูม่ อื การใช้งานอุปกรณ์ทบี่ ริษทั ผูผ้ ลิตจัดให้การซ่อมหรือ เปลี่ยนอะไหล่ ควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในคู่มือการใช้งานอุปกรณ์จากบริษัทผู้ผลิต การพิจารณาเปลี่ยน หรือซ่อมชิ้นส่วนของอุปกรณ์ปกป้องดวงตา ต้องค�ำนึงถึงประเด็นความปลอดภัยเป็นส�ำคัญ ๗. ก่อนการแจกจ่ายอุปกรณ์ปกป้องดวงตาเพือ่ การใช้งาน ควรเก็บอุปกรณ์ไว้ในกล่อง หรือหีบห่อของบริษทั ผู้ผลิต เพื่อป้องกันฝุ่น น�้ำมัน และแดด ความร้อน หรือความเย็นที่มากเกินไป

62 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ข้อแนะน�ำในการประเมินความเสี่ยง ส�ำหรับในหัวข้อการแนะน�ำการประเมินความเสีย่ งนี้ ถือว่าเป็นเรือ่ งหนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญในงานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยมาก ซึ่งนายประกอบ เพชรรัตน์ ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินความเสี่ยง มีวัตถุประสงค์หลักของการประเมินความเสี่ยง เพื่อตัดสินใจว่าแผนงาน หรือการ ควบคุมที่มีอยู่เพียงพอหรือไม่ โดยมีเจตนารมณ์ให้ความเสี่ยงต้องถูกควบคุมก่อนที่อันตรายจะเกิดขึ้น องค์กร ควรจะตระหนักว่าการประเมินความเสี่ยงเป็นรากฐานที่ส�ำคัญของการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเชิงรุก ซึ่งเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ การประเมินความเสี่ยงมีพื้นฐานอยู่ที่การเปิดโอกาสให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ ตกลงร่วมกันในการประเมินความเสี่ยง ความเสีย่ ง คือ เหตุการณ์ การกระท�ำใดๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ภายใต้สถานการณ์ทไี่ ม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบ หรือสร้าง ความเสียหาย หรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุความส�ำเร็จต่อการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ทั้งใน ระดับองค์การ ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลได้ โดยขัน้ ตอนการประเมินความเสีย่ งประกอบด้วย ๓ ขัน้ ตอนพืน้ ฐาน คือ ๑. ชี้บ่งอันตรายต่างๆ ซึ่งมีแนวทางในการพิจารณาอันตรายทีอาจจะเกิดขึ้น อาจท�ำโดยการตั้งค�ำถามในระหว่างการปฏิบัติงาน ว่ามีแหล่งที่ทำ� ให้เกิดอันตรายหรือไม่ ใครหรืออะไรจะได้รับอันตราย หรืออันตรายจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ๒.ประมาณระดับความเสี่ยงของอันตรายแต่ละอย่าง ซึ่งแนวทางการประมาณระดับความเสี่ยง การประมาณระดับความเสี่ยงแยกเป็น ๒ ส่วน คือการประมาณค่า ความรุนแรง และความเป็นไปได้ของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น ๓. ตัดสินว่าความเสี่ยงนั้นยอมรับได้หรือไม่ เป็นวิธีการประมาณระดับความเสี่ยง เพื่อตัดสินว่าความเสี่ยงยอมรับได้หรือไม่ให้พิจารณาจากการประมาณ ความรุนแรงของความเสียหายและความเป็นไปได้ของอันตรายที่อาจเกิดขึ้น หรือโอกาสที่จะเกิด ดังนั้น ถ้าเราสามารถบริหารความเสี่ยงได้ก็จะสามารถควบคุมการเกิดอันตรายได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งการบริหาร ความเสี่ยง คือ การบริหารปัจจัย และควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการ การด�ำเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละ โอกาส ที่องค์การจะเกิดความเสียหาย เพื่อให้ระดับและขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับ ที่องค์การยอมรับได้ประเมินได้ ควบคุมและตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยค�ำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายขององค์การ เป็นส�ำคัญ ซึ่งปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงนั้น ได้แก่ ระบบงานขององค์กร บุคลากร สภาพแวดล้มในการท�ำงาน เป็นต้น ในส่วนแหล่งที่มาของความเสี่ยง มี ๒ แหล่งใหญ่ คือ ความเสี่ยง ภายในองค์กร เช่น สถานที่ทำ� งานที่ไม่ ปลอดภัย วัฒนธรรมองค์กรที่ไม่เอื้อต่อการสร้างประสิทธิภาพการท�ำงาน การฝึกอบรมพนักงานที่ไม่เพียงพอ เป็นต้น และความเสี่ยงภายนอกองค์กร เช่น การเปลี่ยนแปลงในกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นต้น โดยเรามี ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงอย่างง่าย ๕ ข้อ ได้แก่ ๑. การก�ำหนดวัตถุประสงค์ ๒. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ๓. การประเมินความเสี่ยง(Risk Assessment) ๔. การสร้างแผนจัดการ(Risk Management Planning) ๕. การติดตามสอบทาน (Monitoring & Review) แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 63


Safety Culture การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร

โดย ผู้แทนบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ผู้แทนบริษัท สตาร์ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด ดร.สุพจน์ เด่นดวง (คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ม.มหิดล)

วัฒนธรรมความปลอดภัย เอสซีจี ๓๕ ปี กับการพัฒนาความปลอดภัยของ เอสซีจี เริ่มตั้งแต่การให้ความรู้, สร้างให้เกิดความตระหนัก, มีระบบความปลอดภัย และสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยให้เกิดขึ้น เพื่อให้เกิด การปราศจากบาดเจ็บ และเจ็บป่วย จากการท�ำงานอย่างยั่งยืน ดัง Vision ของเอสซีจี SCG Safety Principle • การท�ำ CSR • การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (Uncompromised) • การบริหารแบบมีส่วนร่วม Safety Slogan ปัญหาที่พบ เรื่อง แบบ เวลา สตางค์ แต่เราก็พยายามหาทางออกเพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์ในขณะนั้น ในเรื่องของ Safety อย่างเช่น Uncompromised, Think Safe Work Safe, Cary Together, คิดก่อนท�ำ ปัญหา ด้านความปลอดภัย ก็คือการสื่อสารจากผู้บริหารมาสู่พนักงาน ท�ำอย่างไรเราจะให้มีการสื่อสารที่รับรู้ ชัดเจน ทั่วถึง และมีการปฏิบัติตาม SCG Safety Framework พูดถึงเรื่อง Safety ๘๐% และเรื่องกฎหมาย ข้อก�ำหนดอื่นๆ ๒๐% ๔-๕ ปีมาแล้วทีเ่ ราเริม่ ท�ำการประเมิน SPAP หรือ Safety Performance Assessment Program มีการประเมิน ออกเป็น ๕ ระดับ ถ้ามีระบบได้ระดับ ๓ แต่ไม่สามารถบรรลุ Zero Accident ได้ ถ้าไม่มีระบบให้ระดับ ๒ ถ้าไม่มีเลย ก็ระดับ ๑ ส่วนระดับ ๔ มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุ Zero Accident แต่ถ้าระดับ ๕ มั่นใจว่าบรรลุแน่นอน Framework จะมี ๑๐ หัวข้อ มี ๒ หัวข้อเท่านั้นที่สำ� คัญที่สุด คือ ข้อ ๐ กับข้อ ๙ ข้อ ๐ ก็คือ Leadership Commitment เป็นส่วนส�ำคัญที่ต้องท�ำให้เห็นภาพว่า ความปลอดภัยเป็นสิ่งที่ต้องด�ำเนินการ เป็นบทบาทที่ผู้บริหาร ระดับสูงต้องแสดงบทบาทส�ำคัญให้เห็นความปลอดภัย ทุกคนต้องมีบทบาทหลักเกือ้ กูลความปลอดภัย ส่วนข้อ ๙ คือ Behavior ที่จะเป็นตัวสร้าง Attitude

64 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


Safety Improvement บทบาทของผู้จัดการโรงงาน SCG มีหน้าที่ Drive Recognize ยอมรับ ตระหนัก ให้เขาเห็นว่าผู้บริหาร ให้ความส�ำคัญ การปรับปรุงด้านระบบ TPM ผู้บริหารเข้าไปดู ให้กำ� ลังใจ แนะทิศทาง ท�ำโครงการร่วม SCS (Contractor Safety Certified) สอนท�ำโครงการ นโยบาย แผนงาน การประเมิน สอนเขาท�ำโครงการ ยังมีกิจกรรม Safety Talk ตลอด แต่เริ่มไม่ Formal เป็นปฏิญาณ สร้าง Alert ตอนเช้า วัฒนธรรมความปลอดภัย (Safety Culture) หัวหน้าต้องเป็น Lead คงค�ำว่า Uncompromised Caring ปัญหาคือหลายๆ คนแคร์คนอื่น แต่ไม่รู้จะท�ำยังไง บอกยังไง เพราะไม่ใช่ญาติ เป็นต้น Caring Billboard ผู้บริหารต้องเห็นว่าความปลอดภัยเป็นเรื่องต้องท�ำ เช่น ที่บริษัทมีผู้จัดการฝ่ายซ่อมบ�ำรุง เวลาที่เขาส่งเมลล์ จะมีสโลแกน ให้ก�ำลังใจ ขอบคุณ ตลอด หัวหน้างานจากบนลงล่างต้องเชื่อมต่อกันได้ตลอด Safety Talk เพื่อสร้างบรรยากาศให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน Caring Card ให้เขาเข้าใจว่า Caring คือการแสดงออก เป็นจุดเริ่มต้น มีสถิติแสดงให้เห็นตัวเลขด้วย Think Safe Work Safe ใน ๑๒ เดือน เราจะมีการรณรงค์ทุกเดือน ตามช่วงสถานการณ์ ในช่วงเดือนมกราคม จะเริ่มก�ำหนดว่าแต่ละ เดือนต้องท�ำอะไรบ้าง ต้องพัฒนาไม่ให้มีการ Rotate งานบ่อย เพื่อให้สร้างวัฒนธรรมได้อย่างต่อเนื่อง มีการเพิ่ม สวัสดิการต่างๆ ให้พนักงาน BBS ใช้ Caring ผ่านกระบวนการ BBS ให้หัวหน้า Observe ผู้ปฏิบัติงาน สร้างวิธีการพูดกับพนักงาน เช่น Caring สร้างบรรยากาศ ให้ค�ำแนะน�ำ สร้างการมีส่วนร่วม Personal ACTS (Personal Safe) • Acting • Coaching สอนงาน ดู สังเกต แนะน�ำ ว่าถูกต้องหรือไม่ แนะน�ำ ให้ความช่วยเหลือ • Thinking ความปลอดภัยของตัวเขา ให้เขาเกิดการ Remind • Seeing พยายามสร้างวัฒนธรรม แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 65


ค�ำถาม ๑. TPM คืออะไร เน้นกระบวนการบริหารจัดการโรงงาน เน้นการปรับปรุงดูแลเครือ่ งจักร ให้พร้อมใช้ ปลอดภัย ไม่มี Breakdown เป็น Known how จากญี่ปุ่น ส่วนในเรื่องของ Safety ก็เป็นส่วนหนึ่ง คือดูแลเรื่องความปลอดภัยไม่ให้บาดเจ็บ และ เจ็บป่วย เช่น การท�ำ ๕ส ๒. ท�ำอย่างไรให้พนักงานไม่รู้สึกต่อต้านในการเข้าไปสังเกต SCG ท�ำ Observation มีทั้งผู้ถูกสังเกต รู้ และไม่รู้ แต่ผู้สังเกตอย่าจดเด็ดขาด เข้าไปสังเกตพฤติกรรมที่ สนใจ ว่าเขาท�ำถูก หรือไม่ถูก คุยด้วยใจ เพิ่มให้เกิด Known, Believe, Fill, Act ตามล�ำดับ ไม่บอกว่าเขาถูกหรือไม่ ถูก แต่ให้ถามว่าเขารู้ไหม แล้วรู้ทำ� ไมไม่ท�ำ เราก็เข้าไป Help เขา ปรับได้ไหม เรามีกระบวนการช่วยเหลือน่าจะช่วยใน เรื่องการต่อต้านได้ เช่น เขารู้ว่าต้องใช้ แต่อาจไม่รู้ว่าประโยชน์ของมันคืออะไร หรืออุปกรณ์ไม่ดี เขาติดอะไรตรงไหน แล้วค่อยหาทางช่วยเหลือ ต้องปรับตรงไหน คุณกฤษดา ชัยกุล ถ้าเราจะประสบความส�ำเร็จเราต้องเชือ่ ความเชือ่ ในเรือ่ งความปลอดภัย ถึงจะประสบความส�ำเร็จได้ ถ้าไม่เชือ่ ก็ไม่ส�ำเร็จ ความปลอดภัยไม่ใช่ การให้การศึกษา ไม่ใช่กฎหมาย ไม่ใช่หลัก ๓E และไม่ใช่ Unsafe Act & Condition จริงๆ แล้วทุกอย่างอยู่ที่ตัวเราเอง ความคาดหวัง ความสุขที่ท�ำงาน ที่บ้าน ท�ำงานปลอดภัย ประสบผลส�ำเร็จ ไม่พูดถึงเรื่องผลก�ำไร ต้องพูดถึงต้องคุยเรื่อง ตัวเขา สิ่งที่เขารัก สิ่งรอบๆตัว IIF (Incident Injury Free) ไม่ใช่ o Injury จะประสบความส�ำเร็จถ้า ต้องถามคนในองค์กร เวลาตั้งเป้าไม่ตั้งเป็นตัวเลข ค�ำว่า No One Get Heart คือไม่มีใครอยากบาดเจ็บหรอก แนวคิดพื้นฐาน Safety Culture • ความสัมพันธ์ที่ดี • เริ่มต้นที่ตัวเองและดูแลคนรอบข้าง • กล้าเตือน กล้าบอก • ให้ความส�ำคัญทั้งนอกงานและในงาน เพราะ ๘๐-๙๐% ของอุบัติเหตุมาจากนอกงานมีผลต่อการท�ำงาน มากด้วย

66 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


แนวทางเกิด Safety Culture • ต้องให้กับทุกคน • Caring • ต้องมั่นใจว่าจะไม่เกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ • ท�ำให้เขารูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ขององค์กร ให้คำ� แนะน�ำ ยกย่อง ชมเชย ท�ำให้เขารูส้ กึ ว่าเป็นสมาชิกขององค์กร สังคมขององค์กรมีลักษณะอย่างไร • รู้สึกว่าทุกคนเป็นครอบครัวเดียวกัน • Caring ทุกวัน ทุกโอกาส • มีการสนทนาให้เกิดความปลอดภัยทั้งในงานและนอกงาน หัวหน้างานต้องตั้งค�ำถาม ไม่ใช่ Safety Talk ที่พูดคนเดียว ต้องท�ำทุกวันให้เกิด relationship • ให้ความปลอดภัย • เมื่อเกิดอุบัติเหตุไม่ตำ� หนิ แต่ช่วยหาแนวทาง • ต้องให้ความส�ำคัญกับ Near miss วิสัยทัศน์ ของ SPRC SPRC เป็นโรงกลั่นน�้ำมัน ตั้งอยู่ในนิคมมาบตาพุด ระยอง วิสัยทัศน์ของเราคือ one family สิ่งที่เราภูมิใจ • วัฒนธรรมความเอื้ออาทรจากใจ • ความสัมพันธ์เป็นรากฐานของความส�ำเร็จ แต่กฎระเบียบท�ำให้ดีขึ้น อย่าออกกฎระเบียบที่ลงโทษมาก มากเกินไป ถ้าไม่จ�ำเป็น Our believe เชื่อว่าอุบัติเหตุสามารถป้องกันได้ และสามารถบรรลุเป้าหมายการท�ำงานที่ปราศจากอุบัติเหตุและการ บาดเจ็บได้ สิ่งที่เรายอมรับวันนี้ แต่อาจไม่ยอมรับในอนาคต เช่น การสร้างตึก Rockefeller ในอดีตยอมรับให้มีคนตายได้ ๒๐ คนต่อการสร้างตึก ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ แต่ปัจจุบันไม่ยอมรับ Our Principles • ท�ำงานอย่างปลอดภัย ถ้าไม่ปลอดภัยไม่ทำ� • มีเวลาในการท�ำงานอย่างถูกต้องเสมอ • ความปลอดภัยนอกงานมีความส�ำคัญเท่ากับความปลอดภัยในงาน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 67


เส้นทางการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยของ SPRC ๑๕ ปีมาแล้ว ตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ เราสร้างมาตรฐานการออกแบบใส่ใจความปลอดภัยทุกระบบ แต่ก็ยังเกิด อุบัติเหตุเรื่อยๆ ปี ๒๕๔๓ ได้มีการบูรณาการระบบการจัดการความปลอดภัย สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม ช่วงผลิตปกติ ไม่เกิดอุบัติเหตุ แต่เกิดอุบัติเหตุช่วงซ่อมบ�ำรุงมาก ปี ๒๕๔๘ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยบนถนนสาย IIF ไม่พูดถึง System, Rule & Regulation มากเลย Safety หรือ IIF ไม่มีที่สิ้นสุด อุปสรรค ๑. ความเห็นความคิดไม่ถูกต้อง ๒. พฤติกรรมไม่ก่อให้เกิดความเอื้ออาทรและใส่ใจ ๓. ระบบการจัดการด้านความปลอดภัย ไม่สอดคล้องกับธุรกิจของบริษทั ยุง่ ยาก เข้าใจยาก หลงไปในระบบ ISO An Integral Approach Interio Individual

Group

Exterior จิตใจ

Behavior

ค�ำนิยมร่วมกัน

Rule & Regulation

ท�ำงานต้องท�ำด้วยหัวใจ ด้วยจิตใจ และสติ ISO ผลักดันให้ทำ� Train the trainer ตรวจตาม Procedure น่าเบื่อหน่าย

Heart & Mine Pull กระตุ้นให้ทำ� สร้างกลุ่มคนที่มีความเชื่อ Fun & Pleasant Provider

ห่วงใย กลับบ้านปลอดภัย รับผิดชอบ กระตือรือร้น เลือกที่ท�ำตามกฎความปลอดภัยไม่ใช่เพราะต้องท�ำ หากเห็นอะไรไม่ปลอดภัยต้องน�ำประเด็นมาพูดคุยกัน 68 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


วัฒนธรรมความปลอดภัยในการท�ำงาน ดร.สุพจน์ เด่นดวง (คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) ความส�ำคัญของแรงงาน โรงงานต้องให้ความรู้ เพราะความมั่งคั่งมาจาก ความรู้ ความสามารถ ทักษะ จากตัวคนเอง แต่การพัฒนา ประเทศของเรา มันท�ำให้คนของเราเอง ไม่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ พันธมิตรทั่วโลก การเคลื่อนไหวในส่วนของความปลอดภัย แนวคิดเชิงวัฒนธรรมความปลอดภัย ต้องเปลี่ยน และต้องเปลี่ยนให้ได้ ความปลอดภัยของสังคม คือ ความปลอดภัยที่แท้จริง ค�ำถาม ท�ำอย่างไรที่จะเปลี่ยนแนวคิด หนึ่งเราต้องเข้าใจตัวเขาก่อน ว่าเป็นอย่างไร ต้องให้ประสบการณ์กับเขา อธิบาย เตือน เราเป็นห่วงเขา ปฏิบัติ ตัวกับเขาในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ให้เขามีประสบการณ์ แต่ไม่ใช่ให้เขาบาดเจ็บ โดยมีคนรอบข้างเป็นกัลยาณมิตร กับเขาเยอะๆ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 69


นวัตกรรม เพือ่ การยกระดับความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ โดยผู้ได้รับรางวัล Best Practice (สิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้) ดร.กรรณิกา แท่นค�ำ (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน) วัตถุประสงค์ ๑. คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ด้านความปลอดภัย ๒. ต้องใช้งานได้จริง ๓. น�ำมาใช้ต้องปลอดภัย ๔. จะต้องเอาเป็นตัวอย่างได้ คือได้แรงบันดาลใจ ไม่ใช่ copy กรรมการตัดสินมี ๓ ส่วน ๑. อาจารย์มหาวิทยาลัย ๒. โรงงาน ๓. ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน เกณฑ์ (เต็ม ๑๐๐ คะแนน) ๑. เพิ่มความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย และการยศาสตร์ ๒. คิดริเริ่มสร้างสรรค์ (คิดใหม่ได้คะแนนมากกว่า) ๓. ความเป็นไปได้ในการน�ำผลงานไปใช้ ๔. การใช้หลักวิชาการในการปรับปรุง ๕. ความยากง่ายในการใช้งาน ๖. ความชัดเจนของข้อมูล และการน�ำเสนอ (๓ คะแนน) ๗. ประสิทธิภาพ ค่าใช้จ่าย ความคุ้มทุน มี ๔๗ ผลงาน ที่เข้ามาคัดเลือกรอบแรก ดู VDO และ file wording รูปภาพ ผลงานที่ได้คะแนนมากกว่า ๖๐ คะแนน จะผ่านการคัดเลือกรอบแรก ซึ่งผ่านการคัดเลือกรอบแรก ๒๑ ผลงาน ตรวจสิ่งประดิษฐ์ที่สถานที่จริง กุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม และท�ำการคัดเลือกรอบตัดสิน ได้ Best ๒ ผลงาน ตกหล่นไป ๖ ผลงาน และได้ Good ๑๖ ผลงาน คือ ๘๐ คะแนนได้รับโล่รางวัล ถ้าน้อยกว่า ๘๐ คะแนน ได้ Good ต่อไปจะให้แต่ละผลงานขึ้นมา present ๑๐ นาที จาก VDO และ PowerPoint Presentation 70 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


Best Practice ๑. ผลงาน “การปรับปรุงสภาพการยศาสตร์ “กลเม็ดจากกลไก” เพื่อหลีกเลี่ยงการยกกล่องชิ้นส่วน” คุณสราวุธ บุญจันทร์ จาก โตโยต้า โรงงานเกตเวย์ บริษัทมีเกณฑ์การพิจารณาเรื่อง Ergonomic โดย range A คือต้องด�ำเนินการแก้ไขทันที B คือต้องรับการ แก้ไขให้ถาวร บริษัทได้เก็บสถิติการปวดเมื่อยจากการท�ำงาน ปัญหาเกิดจากการยกกล่องชิ้นส่วนของพนักงาน เราไม่สามารถแก้ในทางด้าน Material ได้ เพราะน�้ำหนักกล่องยังคงเท่าเดิม เราจึงคิดจะแก้ไขในส่วนของ Machine กลเม็ดของกลไก การขับเคลื่อนของรถส่งชิ้นส่วน บวกกลไก บวกแรงโน้มถ่วงของโลก เนื่องจากหัวหน้าให้ความส�ำคัญ ประหยัดพลังงานด้วย จึงใช้หลัก คานงัด, คานดีด, รอก, สลิง เป็นระบบ กลไกทั้งหมด ไม่ใช้ไฟฟ้า เพื่อลดความปวดเมื่อยของพนักงานหลังจากการปรับปรุงแล้ว พนักงานไม่ต้องยกอีกแล้ว ขับรถอย่างเดียว ๒. ผลงาน “เมตตานารี” บริษัทมงคลสมัย จ�ำกัด (โรงงานสุรา จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลิตเหล้าขาว ส่งขายในภาคเหนือตอนล่าง ภาคอีสาน ๑๙ จังหวัด) เนื่องจากบริษัทมีแรงงานหญิงเยอะ ปัญหา เกิดจากกระบวนการเทียบกล่องสุราส�ำเร็จรูปลงบนพาเลท ๘๐๐๐ กล่องต่อวัน ท�ำงาน ๘ คน เฉลี่ยคนละ ๑๐๐๐ กล่องต่อวัน ปัญหาคือ พนักงานปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เมื่อก่อนเราใช้เข็มขัดพยุงหลัง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ หน้าร้อนใส่ก็ไม่ดีเหงื่อออกเยอะ อึดอัด และพนักงานของเรารับเข้ามาตั้งแต่อายุไม่เยอะ จนตอนนี้อยู่กันมาก็อายุ มากขึ้น ๔๕ ขึ้นไป ก่อนหน้านี้เราได้ไปดูงาน เครื่องพาเลทไทเซอร์ ซึ่งราคา ๑๐ ล้านบาท โดยไม่ใช้คนท�ำงานเลย และดูงาน ในเครื่องไทยเบฟ ซึ่งมงคลสมัยก็เป็นบริษัทลูก แต่งบประมาณที่ใช้ค่อนข้างสูงมาก เราจึงด�ำเนินการท�ำเครือ่ งเมตตานารี โดยใช้งบประมาณ ๕๕,๐๐๐ บาท (เครือ่ งกล ๓๐,๐๐๐ ไฟฟ้า ๒๕,๐๐๐) โดยใช้เหล็กเก่าที่มีในบริษัทมาท�ำเครื่องนี้

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 71


๓. ผลงาน “เครื่องเจาะสี กระป๋องสเปรย์” (Paint Spray Can Puncher) คุณนิกร ควรเอี่ยม ฝ่ายซ่อมบ�ำรุง บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ ต้องขอบคุณผู้บริหารที่น�ำ TPM และ Kaizen เข้ามาร่วมท�ำกิจกรรม ที่บริษัทก่อนน�ำกระป๋องสีออกไปโดยบริษัทผู้รับก�ำจัด จ�ำเป็นต้องเจาะกระป๋องก่อนทิ้ง เพราะไม่อย่างนั้น จะถูกปรับจากบริษัทผู้รับก�ำจัด ซึ่งเราเคยถูกปรับมาแล้ว ปัญหา ก่อนที่เราจะท�ำ Kaizen คือ a. ไม่ปลอดภัย เจาะเองสีพุ่งใส่ถ้ามันยังไม่หมด b. สีไหลไปทั่วควบคุมไม่ได้ c. ถูกปรับถ้าไม่ได้เจาะระบายแรงดันออกก่อน d. บางกระป๋องที่ยังไม่หมดยังใช้งานได้ ถ้าน�ำไปเจาะจะท�ำให้เราสูญเสียโดยไม่จ�ำเป็น เพราะเครื่องนี้จะ ช่วยให้เราทราบว่ากระป๋องสเปรย์ยังใช้ได้ต่อหรือไม่ โดยใช้ตุ้มถ่วงน�้ำหนัก ๑๙๓ กรัม ถ้าเกินกระป๋องสเปรย์ ก็จะตกออกมาด้านล่าง ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ต่อให้หมดก่อนน�ำมาทิ้ง หลังจากที่เราท�ำ Kaizen ช่วยลดเวลา และได้เงินคืนด้วย ปัจจุบันเราได้ด�ำเนินการท�ำ Kaizen ต่อไป เรามีเครื่อง Puncher (เจาะ) และเครื่อง Pressing (บีบอัด) แยกกันสองเครื่อง เราจะน�ำมาร่วมกันให้เป็นเครื่องเดียว ๔. ผลงาน “อุปกรณ์แปรงขัดท�ำความสะอาดรางไฟเครน” บริษัทสหวิริยาสตีลอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) อ.บางสะพาน จ.ประจวบฯ ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนรายแรกของไทย ปัญหา เครนราง ด้านบนต้องมีการท�ำความสะอาด เมื่อก่อนให้พนักงานขึ้นไปท�ำความสะอาดด้านบนซึ่งไม่ ปลอดภัย เนื่องจากมีกระแสไฟฟ้า ๓๘๐ โวลต์ จึงได้คดิ ค้นอุปกรณ์แปรงขัดท�ำความสะอาดรางไฟเครนขึน้ โดยหากต้องการท�ำความสะอาด จะให้พนักงานขึน้ ไปติดตั้งอุปกรณ์ชุดแปรงท�ำความสะอาดด้านบนก่อน หลังจากนั้นก็ให้แปรงท�ำความสะอาดเอง โดยที่คนไม่ต้องขึ้นไป ๕. ผลงาน “รถส่งงานอัตโนมัติ” (AGV Robot) บริษัทซันโย เซมิคอนดักเตอร์ ประเทศไทย ผลิต IC และ Transistor ก่อนปรับปรุง พนักงานต้องเข็นรถส่งของจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง ๘๐ กิโลกรัม ๘ เที่ยวต่อวัน ปัญหา ก็คือ เส้นทางในการขนส่งแคบมาก ของบนรถบังสายตาพนักงาน และรถเข็นมักเชี่ยวชนข้างทาง พนักงานปวดเมื่อย จากการเข็นรถ เราจึงจัดท�ำรถส่งงานอัตโนมัติ เพือ่ ให้ทำ� งานได้เองโดยไม่ตอ้ งมีพนักงานเข็น มีการใส่โปรแกรมบังคับให้รถวิง่ ตรงเส้นทาง หยุดเมื่อมีสิ่งกีดขวาง และเมื่อถึงจุดหมายสามารถหยุดได้เอง งบประมาณที่จัดท�ำรถส่งงานอัตโนมัติ ๗๗,๐๐๐ บาท

72 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๖. ผลงาน “รถเข็นขวดไฮโดรเจน” คุณวันชัย แสงอบ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ.ล�ำปาง (กฟผ.) กระบวนการผลิตไฟฟ้า ต้องใช้ Boiler, Turbine, Condenser, Generator เนื่องจากกระบวนการผลิตไฟฟ้า แอมป์ทำ� ให้เกิดความร้อน ก๊าซน�ำ้ หนักเบาจะท�ำให้ระบายความร้อนดี เช่น ก๊าซไฮโดรเจน ที่โรงไฟฟ้าใช้ใน H๒ Cooler ประมาณ ๑๐ ขวดต่อสัปดาห์ ใช้เพลาในการขับเคลื่อน ความดันประมาณ ๓ บาร์ ในการขนย้ายถัง การเอียงได้มมุ ปกติของเราถังจะหนัก ๕ kg แต่ถา้ เอียงมากขึน้ ถังจะหนัก ๘.๕ kg ใช้กฎของ กระทรวงสาธารณสุข ยกยืดสุดสองมือ ๕ kg เท่ากับยกได้ข้างละ ๒.๕ kg ถ้าถังเอียงมาก หรือเกิดการสะดุดเหมือน ตอนที่เราท�ำการเคลื่อนย้ายถังด้วยพนักงานเอง จะท�ำให้ถังหนักขึ้น และเราต้องใช้แรงในการยกมากขึ้น เราจึงท�ำแผ่นเพลทครึ่งวงกลม และชุดจับ Camp ๒ ชุด กลไกยิ่งถังหนักมากมันก็จะเกาะได้มากขึ้น สามารถน�ำรถเข็นไปใช้ยกถังก๊าซอื่นๆ ได้ เพราะขนาดของถังใกล้เคียงกัน สนใจติดต่อ คุณวันชัย ๐๕๔๒๕๒๒๗๐-๑ , ๐๕๔๒๕๒๒๘๐-๑

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 73


ชุดการเรียนรู้ เครื่องมือฝึกอบรมด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย โดย รศ.สราวุธ สุธรรมาสา (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช) น.ส.สุวดี ทวีสุข (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน)

เครื่องมือในการฝึกอบรมนี้ ผู้จะท�ำการอบรมสามารถศึกษาท�ำ on the job training หรือน�ำไป Safety Talk ก็ได้ มีทั้งหมด ๖ ชุดการเรียนรู้ ๑. สารเคมี ๒. เสียงดัง ความร้อน ๓. เออร์โกโนมิก ๔. เครื่องจักร ๕. งานก่อสร้าง ๖. การปฐมพยาบาล ในชุดการเรียนรู้ จะมี DVD + เล่ม ซึง่ ทัง้ สองอย่างข้อมูลเดียวกัน สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ที่ website ของกรม ยกตัวอย่างในเรื่องของสารเคมี ใน File DVD ก็จะมีในส่วนของ file document แบ่งเป็น chapter ต่างๆ , คณะผู้จัดท�ำ, กิตติกรรมประกาศ, ค�ำแนะน�ำวิธดี ำ� เนินการ, สารบัญ, แผนการสอน, PowerPoint Presentation, เอกสารประกอบการบรรยาย, แบบทดสอบ ก่อนและหลังเรียน (ส�ำหรับวิทยากร/ส�ำหรับผู้อบรม) แผนการสอน ๑. หัวข้อการอบรม “อันตรายของสารเคมี” ๒. วัตถุประสงค์ a. เพื่อให้ทราบประเภทของสารเคมี b. เพื่อให้ทราบอันตรายต่อสุขภาพ c. เพื่อให้ทราบอันตรายต่อความปลอดภัย ๓. ระยะเวลาในการฝึกอบรม ๓๕ นาที ๔. สิ่งที่ใช้ในการสอน ๕. ขั้นตอนการเตรียมตัวของวิทยากร ๖. วิธีการสอนและกิจกรรมที่ใช้ ๗. ขั้นตอนการบรรยาย จะบอกเลยตั้งแต่ว่า ล�ำดับที่เท่าไหร่ บรรยายหัวข้ออะไร สไลด์ที่เท่าไหร่ ระยะเวลา การบรรยายในสไลด์นี้ วิธีสอน เป็นการเตรียมการให้วิทยากร PowerPoint Presentation ไม่เน้นตัวหนังสือมาก มีรูปภาพประกอบ รวมทั้ง VDO 74 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


เอกสาร Back up วิทยากรจะใช้หรือไม่ก็ได้ ส�ำหรับผู้มีความพร้อมทางวิชาการแล้วอาจไม่จำ� เป็นต้องใช้ก็ได้ แบบทดสอบ มีข้อสอบ และเฉลยส�ำหรับวิทยากร ค�ำถามจากผู้เข้าอบรม ๑. Pretest กับ Posttest เหมือนกันไหม ไม่ซำ�้ กัน แต่วัดตัวเดียวกัน แต่ค�ำถามไม่เหมือนกัน ๒. ใช้อบรมให้กับใคร ควรใช้กับพนักงาน แต่ไม่เหมาะกับ Safety หรือคนที่ท�ำงานด้านนี้อยู่แล้ว ๓. ปรับสไลด์พรีเซนต์ได้ไหม ใช้เพื่อประโยชน์สามารถด�ำเนินการปรับได้ แต่อย่าเอา Logo ของสถาบันออก เพื่อเป็นเกียรติ ไม่ขัดข้องถ้าน�ำไปใช้เพื่อความปลอดภัย ๔. วัดการเรียนรู้แค่ไหน วัดความจ�ำ ซึ่งเป็นการวัดระดับต�ำ่ สุด ๕. สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ที่ไหน ดาวน์โหลดไฟล์ได้จากเวปไซต์ แต่ไฟล์หนักอาจจะโหลดยาก หรืออาจไปที่ศูนย์ความปลอดภัยแรงงาน ของแต่ละพื้นที่ แต่ทางสถาบันขอเวลาสักพัก อย่าลืมส่งค�ำแนะน�ำ ส่งแบบประเมินกลับมา เพื่อการ ปรับปรุง แต่บังคับว่าผู้นำ� ไปใช้ต้องมา Train ก่อน ๖. ท�ำไมไม่มีด้านไฟฟ้า อยากให้มีเพิ่ม ค่อนข้างเข้าใจยาก จินตนาการ เพราะกระแสมองไม่เห็น เกิดความไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้ แต่ถ้ามี ข้อเสนอเราก็จะลองพิจารณา อาจมีการจัดท�ำชุดการเรียนรู้เพิ่มเติม ๗. หัวข้อการอบรมแต่ละหัวข้อ ระยะเวลาต่างกันไหม ต่างกัน และเราสามารถปรับแต่งสไลด์ได้ ๘. ใครเหมาะจะเป็นวิทยากร ไม่จำ� เป็นต้องเป็น จป.วิชาชีพก็ได้ อาจเหมาะกับ จป.ทุกระดับ วิชาชีพ เทคนิคขัน้ สูง บริหาร หัวหน้างาน ที่มีความรู้ ๙. ที่ไซต์ก่อสร้าง ไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม เช่น โปรเจคเตอร์ เป็นต้น จะท�ำไงดี เอาหนังสือไป copy แล้วใช้อธิบายเป็นแผ่นก็ได้ ๑๐. หัวข้อเออร์โกโนมิกส์ มีแนวไหนบ้าง ก็มีเออร์โกโนมิกส์ในส�ำนักงาน ขับรถ ๑๑. ชุดการเรียนรู้ดาวน์โหลดได้ที่ไหน www.oshthai.org ๑๒. หัวข้อต่างๆ ในหนึ่งวันสามารถอบรมได้มากแค่ไหน แล้วแต่ความสามารถของ User รวมทั้งหมดใช้เวลาเท่าไหร่ขึ้นอยู่กับหัวข้อนั้นๆ ไม่เท่ากัน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 75


แพทย์อาชีวเวชศาสตร์และพยาบาลอาชีวอนามัย กับการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ ส�ำหรับเรือ่ งการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการนัน้ ถือว่าเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญมาก เนือ่ งจากผูป้ ฏิบตั งิ าน นั้นมีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบทางสุภาพอันเนื่องจากการท�ำงานได้มาก ดังนั้น สวัสดิการด้านสุขภาพที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ซึ่งในการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการนั้น มีรายละเอียดดังนี้ น.พ.อดุลย์ บัณฑุกุล ได้กล่าวในหัวข้อเรื่อง ความร่วมมือและบทบาทด้านสุขภาพในสถานประกอบการไว้ ว่างานบริการอาชีวอนามัยควรมีอยู่ในทุกสถานประกอบการ ทั้งขนาดเล็ก,ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ซึ่งงานบริการ อาชีวอนามัยควรมีการร่วมมือกันท�ำงานเพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ท�ำงานอย่างมีความสุขใน สภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ปราศจากอุบัติเหตุและโรค และด�ำรงชีวิตในสังคมโดยมีสถานะที่เหมาะสม โดยมีการ ร่วมมือกันใน ๓ ส่วน คือ ๑. เจ้าหน้าที่อาชีวอนามัย ดูแลในส่วนป้องกัน ๒. พยาบาลประจ�ำสถานประกอบการ ดูแลในส่วนของการเฝ้าระวัง ๓. แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ดูแลด้านการวินิจฉัยและการฟื้นฟู ปัจจัยที่ทำ� ให้เกิดโรคมี ๓ ปัจจัยคือ สิ่งคุกคาม สัมผัสและโรค ซึ่งทั้ง ๓ ปัจจัยนี้ถ้าครบวงจรอาการจึงจะฟ้อง ออกมา แต่ถ้าตัดวงจรใดวงจรหนึ่งออกไปก็จะไม่มีอาการฟ้องออกมา หน้าที่ของแพทย์ด้านอาชีวเวชศาสตร์ ๑. สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยแบบเบ็ดเสร็จได้ ๒. สามารถวินัจฉัยโรคจากการท�ำงานได้ ซึ่งจะมีความแตกต่างจากแพทย์แขนงอื่นๆ ๓. สามารถให้การรักษา,ฟื้นฟูและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อาชีวอนามัย ๔. สามารถประเมินความสูญเสียได้ โดดเด่นที่สุด ๕. ให้ความรู้ด้านกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน การเฝ้าระวังทางสุขภาพ การตรวจสุขภาพถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในการเฝ้าระวังทางสุขภาพ ซึ่งการตรวจสุขภาพนั้นมี ๒ แบบ คือ ๑. ตรวจสุขภาพทั่วไป ซึ่งจะมีการสัมภาษณ์ประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ เลือกสรรแล้ว ๒. ตรวจสุขภาพตามความเสีย่ งนัน้ มีคา่ ใช้จา่ ยมากกว่าท�ำให้สถานประกอบการส่วนใหญ่ยงั ไม่ให้ความส�ำคัญ ซึ่งในระยะยาวมีความส�ำคัญมากกว่า เช่น

76 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


• • • • •

การตรวจร่างกายก่อนเข้าท�ำงาน การตรวจร่างกายระหว่างท�ำงาน การตรวจร่างกายเพื่อเปลี่ยนงาน การตรวจร่างกายหลังจากเจ็บป่วยมาระยะเวลาหนึ่งก่อนกลับเข้าท�ำงาน การตรวจร่างกายก่อนออกจากงาน

วัตถุประสงค์ของการตรวจร่างกาย ๑. เพื่อค้นหาความผิดปกติตั้งแต่เริ่มแรก และป้องกันคนท�ำงานจากการเป็นโรคจากการท�ำงาน ๒. เพื่อตรวจประสิทธิภาพของมาตรการป้องกันที่มีอยู่ ๓. เพี่อให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยแก่คนท�ำงาน จากสภาพการท�ำงานในปัจจุบันนั้นท�ำให้ลูกจ้างมีความเสี่ยงกับสุขภาพได้ ดังนั้นกลุ่มคนที่เสี่ยง เช่น พนักงานเข้าใหม่ พนักงานที่ท�ำงานมานานแล้ว พนักงานสูงอายุ พนักงานที่มีความเบี่ยงเบนทางสุขภาพ พนักงาน มีครรภ์ พนักงานที่มีโรคเรื้อรัง และพนักงานที่แข็งแรงมาก ดังนั้นเมื่อมีการตรวจสุขภาพสิ่งที่แพทย์ควรให้ความเห็น ภายหลังการตรวจร่างกาย คือ ๑. คนนั้นมีสภาพร่างกายเหมาะสมกับอาชีพที่จะท�ำหรือไม่ ; หรือ ๒. คนนั้นมีสภาพร่างกายเหมาะสมกับอาชีพที่จะท�ำแต่จะต้องมีมาตรการป้องกันให้เหมาะสม เช่น การใช้ เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล มีสุขอนามัยที่ดี ๓. คนนัน้ ควรหยุดท�ำงานในอาชีพนัน้ ๆ ชัว่ คราว เช่น ให้รอเปลีย่ นงาน หรือให้หยุดงานจนมีการตรวจร่างกาย ซ�ำ้ อีกครั้งว่าเหมาะกับการท�ำงานจึงกลับเข้าท�ำงาน ๔. คนนั้นควรหยุดท�ำงานนี้ถาวร เช่น ให้ทำ� งานอื่น แนวทางการวินิจฉัยโรคจากการท�ำงาน • มีโรคเกิดขึ้นจริง • มีสารเคมีหรือกระบวนการที่ท�ำให้เกิดโรคอยู่ในสถานที่ทำ� งานของผู้ป่วยนั้น • มีการสัมผัสสิ่งคุกคามนั้น ซึ่งจะได้จากการซักประวัติการท�ำงาน การเก็บตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อม จากตัวผู้ป่วย • มีล�ำดับก่อนหลังในการเกิดโรค ได้แก่มีการสัมผัสก่อน จึงจะมีอาการ • การสัมผัสนัน้ มีระยะเวลานานพอ หรือมีความเข้มข้นพอทีจ่ ะท�ำให้เกิดโรค โดยดูจากข้อมูลทางระบาดวิทยา การเก็บตัวอย่างพิเศษอื่นๆ • มีข้อมูลทางวิทยาการระบาดสนับสนุน • ได้ท�ำการวินิจฉัยแยกสาเหตุของโรคที่เกิดนอกเหนือจากการท�ำงานแล้ว

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 77


• ได้พิจารณาปัจจัยอื่นๆ ที่สนับสนุนหรือคัดค้าน เช่น อาการของโรคอาจดีขึ้นเมื่อไม่มีการสัมผัส หรือ เมื่อผู้ป่วยหยุดงาน มีการใช้เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลหรือไม่มีการใช้ • น�ำปัจจัยทั้งหมดมาพิจารณาเพื่อวินิจฉัย ความยากของการวินิจฉัยโรคจากการท�ำงาน • โรคจากการท�ำงาน การท�ำงานเป็นปัจจัยเดียวที่ทำ� ให้เกิดโรค ถ้าไม่มีปัจจัยนี้ไม่เกิดโรค • โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการท�ำงาน การท�ำงานเป็นปัจจัยส�ำคัญปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้เกิดโรคหรือมีการแสดง อาการของโรคขึ้น ถ้าไม่มีปัจจัยนี้ ในที่สุดก็จะเป็นโรคได้เช่นกัน ดังนั้น แพทย์อาชีวเวชศาสตร์จึงเป็นบทบาทหนึ่งเพื่อเสริมบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ นอกจาก นี้แล้วยังมีบทบาทด้านการวินิจฉัยและรักษาโรคจากการท�ำงาน และสุดท้ายเป็นบทบาทด้านการประเมินการสูญเสีย นายฤทธิ์ชาติ อินโสม ได้กล่าวว่า สถานประกอบการส่วนใหญ่ยังให้ความส�ำคัญในงานด้านสุขภาพน้อย ท�ำให้มักเกิดปัญหาด้านสุขภาพกับพนักงาน และในการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนั้นต้องมีเจ้าหน้าที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง เช่น เจ้าหน้าที่อาชีวอนามัย พยาบาล และแพทย์ เป็นต้น ซึ่งในการเกิดปัญหาสุขภาพนั้นจะเกิดจาก ปัจจัยเสี่ยง ๕ อย่าง คือ ด้านเคมี ด้านชีวภาพ ด้านกายภาพ ด้านจิตวิทยา และด้านการยศาสตร์ ดังนั้นในการจัดการ ด้านอาชีวอนามัยจะเน้น ๔ องค์ประกอบที่สำ� คัญ คือ การเฝ้าระวัง การป้องกัน การรักษา และการฟื้นฟู ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของลูกจ้างได้ ดังนั้นจึงควรพิจารณาหามาตรการที่เหมาะสม รศ.ดร.อรวรรณ แก้วบุญชู ได้อธิบายในเรื่องพยาบาลอาชีวอนามัยกับการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบ การ ไว้ว่า พยาบาลอาชีวอนามัย คือ พยาบาลที่มีหน้าที่ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ ซึ่งต้องมี คุณสมบัติ คือ ต้องเป็นพยาบาลวิชาชีพหรือพยาบาลเทคนิคที่มีประสบการณ์และยังต้องผ่านการอบรมพยาบาลอาชีว อนามัยอย่างต�ำ ่ ๖๐ ชั่วโมง โดยมีบทบาท ดังนี้ • ก�ำหนดแผนงานโครงการ ด�ำเนินงานสุขภาพ และความปลอดภัยรวมถึงประเมินผล โดยการมีส่วนร่วม ของพนักงาน • ประสานงาน ร่วมมือ ร่วมบริหารจัดการในการเฝ้าระวังสุขภาพอนามัยของลูกจ้างต่อฝ่ายบริหารของสถาน ประกอบการ • จัดหน่วยงานพยาบาล ให้ได้มาตรฐานและคุณภาพและสะดวกในการให้บริการและการปฏิบัติการของ พยาบาล • ให้บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และป้องกันอันตราย การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟู สมรรถภาพของลูกจ้าง • ให้ค�ำปรึกษา และจัดการรายกรณี • จัดเก็บข้อมูลและระบบรายงานการตรวจสุขภาพ

78 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


สถาบันการศึกษา ร่วมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อแรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดี เนื่ อ งจากสถาบั น การศึ ก ษาเป็ น สถาบั น ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ในการปลู ก ฝั ง ให้ เ ยาวชนมี จิ ต ส� ำ นึ ก เกี่ ย วกั บ ความปลอดภัย ดังนั้นในการปลูกฝังเรื่องความปลอดภัยนั้นจึงต้องเริ่มจากสถานศึกษา นายอาทิตย์ อีสโม ได้เสนอไว้วา่ อุบัตเิ หตุจากการท�ำงานส่วนใหญ่เกิดจากคน ซึง่ กระทรวงศึกษาธิการก็ท�ำงาน เกี่ยวกับคนตัง้ แต่ระดับประถมศึกษาจนกระทัง่ อุดมศึกษา หลังจากนัน้ เมือ่ เข้าสูว่ ัยแรงงานกระทรวงแรงงานก็จะเข้ามา ดูแลรับผิดชอบต่อไป ถ้าหากจะคอยดูแลคนตอนทีเ่ ข้าสูว่ ยั แรงงานนัน้ ก็ยอ่ มเปรียบเสมือนเป็นการแก้ปญ ั หาทีป่ ลายเหตุ ท�ำให้การที่จะท�ำให้วัยแรงงานนั้นมีจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัยยิ่งเป็นไปได้ยาก นอกจากนี้แล้วบุคลากรของภาครัฐ ยังมีไม่เพียงพอที่จะสามารถเข้าไปควบคุมดูแลทุกสถานประกอบการให้มีมาตรการที่เหมาะสมในการดูแลแรงงานได้ ดังนั้นจึงควรปลูกฝังเริ่มตั้งแต่สถาบันการศึกษาเพื่อให้เติบโตมาเป็นแรงงานที่มีคุณภาพ และมีจิตส�ำนึกด้านความ ปลอดภัย ด้านนายพีรพล พูนทวี ซึ่งเป็นตัวแทนในส่วนของการศึกษาในด้านอาชีวศึกษา ซึ่งได้กล่าวว่า บทบาทของ อาชีวศึกษานั้นมี ๕ บทบาท คือ ๑. ด�ำเนินการในการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนทั้งในและนอกระบบ ๒. สร้างประสบการณ์,ปลูกจิตส�ำนึกในการให้บริการทางสังคม ๓. เน้นเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วนให้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาการศึกษา ๔. ขยายบทบาทหน้าที่ให้กับผู้เรียน ผู้มีงานท�ำ หรือผู้ที่ต้องการพัฒนาศักยภาพ ๕. สร้าง พัฒนา เผยแพร่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ส�ำหรับด้านอาชีวศึกษานั้นก็ได้มีการสอดแทรกความปลอดภัยให้กับนักศึกษา โดยเฉพาะในสาขาวิชาที่ ได้มีการเปิดการเรียนการสอนที่ค่อนข้างมีความเป็นอันตราย เช่น ซ่อมบ�ำรุง เครื่องมือกล โลหะการ ไฟฟ้า และ ก่อสร้าง เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นสาขาที่มีความเป็นอันตราย ดังนั้นในการเรียนการสอนต้องสอดแทรกรายละเอียด เกี่ยวกับความปลอดภัยเข้าไป เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนอย่างปลอดภัย และสามารถที่จะไปเป็นแรงงานที่มีคุณภาพที่ด ี ซึ่งในรูปแบบการสอดแทรกเรื่องความปลอดภัยไปในหลักสูตร ดังนี้ การฝึกให้ท�ำงานจนเกิดความช�ำนาญ และทักษะ การฝึกให้มีความตรงต่อเวลา เป็นคนดี มีวินัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย และจิตวิสัยในความปลอดภัย ในการท�ำงาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 79


การป้องกันและประสานงานแผน เพื่อลดความรุนแรงจากอุบัติภัยสารเคมี เนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งท�ำให้ในภาคอุตสาหกรรมได้ขยายตัว เพิ่มขึ้นด้วย ดังนั้นเกิดการใช้สารเคมีในวงกว้างมากขึ้น โดยผู้ใช้บางคนก็ไม่มีความรู้ ความเข้าใจเพียงพอในการ ที่ท�ำงานหรือใช้สารเคมีนั้นๆ ให้เกิดความปลอดภัยกับตัวเอง กล่าวคือ คนที่มีความรู้ความเข้าใจมักจะไม่ได้ใช้ ส่วนผู้ที่ใช้มักจะไม่มีความรู้เพียงพอ ดังนั้น ควรที่จะมีการวางแผนในการท�ำงานกับสารเคมีอย่างเป็นระบบมากขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ดังนี้ นายจรินทร์ วีรโอฬารสิทธิ์ ได้กล่าวไว้ว่าการป้องกันและการประสานแผนเพื่อลดความรุนแรงจากอุบัติภัย สารเคมีนั้นมีหัวข้อหลักๆ คือ ๑. การเตรียมการและอุปสรรคในการป้องกันอุบัติภัยสารเคมี สามารถประเมินได้จาก ๔ หัวข้อหลักคือ การประเมินอันตรายสารเคมีที่เกี่ยวข้อง การประเมินภาชนะบรรจุสารเคมี การประเมินการป้องกันอัคคี ภัยและสิ่งแวดล้อม และการประเมินแผนระงับเหตุฉุกเฉิน ซึ่งอันตรายจากสารเคมีนั้นมีทั้งทางตรง คือ การติดไฟ การระเบิด และความเป็นพิษ เป็นต้น และอันตรายจากคุณสมบัตขิ องสารเคมี คือ การท�ำปฏิกริ ยิ า กับสารเคมีอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงในสภาวะที่ไม่เสถียร และการระเบิดเมื่อสัมผัสกับวัสดุอื่น เป็นต้น ๒. การควบคุมความรุนแรงจากอุบัติภัยสารเคมี ควรที่จะมีการจัดเตรียมวัสดุดูดซับ อุปกรณ์เก็บกู้ อุปกรณ์ ระงับเหตุ และแผนฉุกเฉิน เป็นต้น นายประทีป เอ่งฉ้วน ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ได้กล่าวไว้ว่า การป้องกันและการ ประสานงานเพื่อลดความรุนแรงจากอุบัติภัยสารเคมีมีจุดประสงค์เพื่อการด�ำเนินการเพื่อป้องกันมิให้เกิดภัยร้ายแรง ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวติ ทรัพย์สนิ และผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม หรือหากเกิดอุบตั เิ หตุ/อุบตั ภิ ยั ขึน้ มาแล้วให้สามารถ ควบคุมบรรเทาอันตรายหรือลดความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ โดยมีองค์ประกอบหลัก คือ ๑. การป้องกัน เช่น การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย การตรวจสอบ ก�ำกับดูแล การวิเคราะห์และประเมิน ความเสี่ยง แผนงานลด และควบคุมความเสี่ยง จิตส�ำนึก และความตระหนักในเรื่องความปลอดภัยของ ผู้เกี่ยวข้อง ๒. การวางแผน เช่น การสร้างทีม การรวบรวม การประเมินพื้นที่เสี่ยง การระดมทรัพยากร การเขียนแผน และการขั้นตอนการปฏิบัติ ๓. การเตรียมความพร้อม เช่น การฝึกอบรม การตรวจสอบความพร้อมอุปกรณ์/เครื่องมือ การฝึกซ้อมแผน และฐานข้อมูลด้านความปลอดภัย ๔. การโต้ตอบ/การระงับเหตุฉุกเฉิน โดยเป็นการค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติช่วยชีวิต การด�ำเนิน การระงับภัยที่เกิดขึ้นให้ยุติโดยเร็ว การลดความรุนแรง จ�ำกัดขอบเขตให้เหลือน้อยที่สุดและการด�ำเนิน การฟื้นฟู

80 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นายภากุละ อาวัชนากร จากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้กล่าวไว้ว่า ภัยที่เกิดจากสารเคมีและ วัตถุอันตราย หมายถึง ภัยที่เกิดจากสารเคมีและวัตถุอันตรายรั่วไหล เพลิงไหม้และการระเบิด ซึ่งเกี่ยวข้องกับ สถานที่ที่มีการเก็บ การใช้ การบรรจุ และการขนส่ง ทั้งที่เคลื่อนที่ได้และไม่ได้ ซึ่งสารเคมีและวัตถุอันตราย หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจจะเป็นวัตถุที่ระเบิดได้/ก๊าซ/ของเหลวไวไฟ/ของแข็งไวไฟ/สารออกซิไดซ์และ สารเปอร์ออกไซด์อนิ ทรีย/์ สารมีพษิ และสารติดเชือ้ โรค/วัสดุกมั มันตรังสี/สารกัดกร่อน/สารหรือวัตถุอนื่ ทีอ่ าจเป็นอันตราย นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงอาวุธเคมีและอาวุธชีวภาพด้วย ส�ำหรับแผนยุทธศาสตร์การจัดการสารเคมีแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) นี้มีวิสัยทัศน์ คือ สังคม ปลอดภัยจากอันตรายด้านสารเคมี สู่การพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน และแข่งขันได้ในระดับสากล โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ • เพื่อบริหารจัดการสารเคมีอย่างเป็นระบบครบวงจร • เพื่อบูรณาการท�ำงานของทุกภาคส่วนในการจัดการสารเคมี • เพือ่ เสริมสร้างศักยภาพชุมชน/เครือข่ายภาคประชาชนให้มสี ว่ นร่วมในการบริหารจัดการสารเคมีอย่างยัง่ ยืน เป้าหมาย คือ • มีระบบบริหารจัดการสารเคมีที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีระบบการด�ำเนินงานด้านเกษตร/ด้านอุตสาหกรรมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม • ชุมชน / เครือข่ายภาคประชาชนมีความเข็มแข็ง/มีส่วนร่วมในการจัดการสารเคมีอย่างปลอดภัย ส่วนของแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้เหตุฉุกเฉินสารเคมีและวัตถุอันตรายภายใต้แผนยุทธศาสตร์การ จัดการสารเคมีแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔) นั้นเน้นการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินขณะเกิดเหตุและ ด้านการบรรเทาและฟื้นฟูหลังเกิดภัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. พัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย ๒. ก�ำหนดหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงานหลัก ๑๐ หน่วยงาน และหน่วยงานสนับสนุน ๒๒ หน่วยงาน ในการเข้าระงับเหตุที่เกิดขึ้นขณะเกิดเหตุและหลังเกิดเหตุ (ระยะยาว) เพื่อให้เป็นระบบครบวงจรในการช่วยเหลือ ผู้ที่รับผลกระทบจากสารเคมี ในส่วนการท�ำงานนี้จะประกอบด้วยระบบต่างๆ ๑๐ ระบบ ดังนี้ ๑. กลุ่มตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ๑. การรับแจ้งเหตุ ๒. การระงับเหตุฉุกเฉินด้านสารเคมี ๓. การควบคุมพื้นที่เกิดเหตุ ๔. การอพยพและดูแลประชาชนออกจากพื้นที่เกิดเหตุ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 81


๒. กลุ่มบรรเทา/ฟื้นฟู/ป้องกันสิ่งแวดล้อม ๕. การดูแลความเป็นอยู่ของประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ๖. การดูแลผลกระทบของคนงาน ๗. การรักษาเยียวยา ๘. การควบคุมและการเฝ้าระวังผลกระทบ ต่อสุขภาพประชาชน ๙. การควบคุมการแพร่กระจายและเฝ้าระวัง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ๑๐. การสนับสนุนและประสานเครือข่ายข้อมูล ซึง่ มีเกณฑ์ในการประเมินในเชิงความส�ำเร็จของแผนงาน/โครงการ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การจัดการสารเคมี ฉบับที่ ๓ มี ๕ ระดับ ๑. ระดับความส�ำเร็จดีเยี่ยม • แผนงาน / โครงการที่ดำ� เนินการเสร็จตามเวลาที่กำ� หนดในแผนฯ ฉบับที่ ๓ / มีการน�ำไปปรับปรุง / ต่อยอด ๒. ระดับความส�ำเร็จดี • แผนงาน / โครงการที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จตามเวลาที่กำ� หนดตามแผนฯ ฉบับที่ ๓ ๓. ระดับความส�ำเร็จปกติ • แผนงาน / โครงการที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินงานตามแผนฯ ฉบับที่ ๓ ๔. ระดับความส�ำเร็จที่ควรปรับปรุง • แผนงาน / โครงการที่ยังไม่เริ่มด�ำเนินการตามแผนฯ ฉบับที่ ๓ ปัญหาอุปสรรค • ด้ า นงบประมาณของบางหน่วยงาน ท�ำให้ บ างแผนงาน / โครงการต้ อ งยกเลิ ก ไป / หรื อ เลื่ อ นเวลา ด�ำเนินการ / หรือปรับลดงบประมาณ • สถานการณ์การจัดการสารเคมีในประเทศช่วงระยะเวลา ๓ ปีที่ผ่านมา มีปัญหาซับซ้อนมากขึ้น เช่น ปัญหาการรัว่ ไหลสารมลพิษในเขตนิคมฯ มาบตาพุด จังหวัดระยอง ปัญหาอุบตั ภิ ยั จากการระเบิดของสารเคมี ในท่าเรือ แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ปัญหาการลักลอบทิง้ สารเคมีที่ จังหวัดสระบุรี ท�ำให้บางหน่วยงานต้อง ปรับเปลี่ยนแผนงาน/โครงการไปด�ำเนินงานที่เร่งด่วนกว่า • ปัญหาการด�ำเนินงานตามกฎหมายในการจัดการสารเคมีบางฉบับ ล่าช้า เช่น พรบ.วัตถุอันตราย ๒๕๓๕ พรบ.คุ้มครองแรงงาน ๒๕๔๑ เป็นต้น ท�ำให้การออกกฎกระทรวง/ประกาศ ที่มีความจ�ำเป็นเร่งด่วนใน การบังคับใช้ไม่สามารถด�ำเนินต่อไปได้ • ปัญหาจากกฎหมาย/พันธกรณี/ข้อตกลง/กติกาสากล การจัดการสารเคมีระหว่างประเทศเข้มข้นมากขึ้น เช่น อนุสัญญาสตอกโฮล์ม อนุสัญญาบาเซล ว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของเสียอันตราย และก�ำจัด ระบบสากล GHS และกฎหมายของ EU ว่าด้วยการจัดการสารเคมีมีความเข้มข้นมากขึ้น ท�ำให้ เกิดปัญหาในการออกกฎหมายที่ใช้ในประเทศได้ยากขึ้น 82 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ • ทบทวนแผนปฏิบัติการฯ อย่างต่อเนื่อง • ติดตามผลการด�ำเนินงานตามแผนอย่างจริงจัง • สร้างเครือข่ายในการท�ำงานให้หลากหลายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ หุ้นส่วนในเชิงพื้นที่ให้ครอบคลุมภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง • สือ่ สารความส�ำเร็จการด�ำเนินงานตามแผนฯ ฉบับที่ ๓ ผ่านช่องทางต่างๆ ให้สงั คมทราบ และใช้ประโยชน์ ตามความเหมาะสม • เข้าไปสนับสนุนการด�ำเนินงานในพื้นที่ที่มีความวิกฤตมากยิ่งขึ้น เช่น กรณีมาบตาพุด แหลมฉบัง รวมทั้ง การท�ำ Lesson Learn ส�ำหรับแผนหลักการป้องกันอุบตั ภิ ยั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ นัน้ ได้มกี ารให้ทกุ ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องเข้ามา มีส่วนร่วม คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน องค์กรระหว่างประเทศ และองค์การสาธารณกุศล ซึ่งมีจุดเน้น ในการยกร่างแผนหลักการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ คือ • การเสริมสร้างการเรียนรู้ สร้างความตระหนัก และพฤติกรรมความปลอดภัย ให้เกิดขึ้นในวิถีชีวิต ประจ�ำวันของประชาชน • การมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนทีจ่ ะร่วมกันสร้าง “วัฒนธรรมความปลอดภัย” ให้เกิดขึน้ ในสังคมไทย • การป้องกันอุบัติภัยที่เกิดจากการกระท�ำของคน • การสร้ า งมาตรฐาน / ระบบความปลอดภั ย ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในเคหสถาน สาธารณสถาน โรงงาน สถานประกอบการและสถานที่ทำ� งาน • เป็นกรอบแนวทางหลักให้หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องน�ำไปสู่การปฏิบัติในรูปของแผนปฏิบัติการ • การฝึกซ้อมแผนอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยในรายละเอียดในแผนหลักการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติฉบับนี้ จะประกอบไปด้วย ๔ บท คือ บทที่ ๑ สถานการณ์และแนวโน้ม ประกอบด้วย สถานการณ์และแนวโน้มของอุบัติภัย การแสดงข้อมูล สถิติ อุบัติภัย / ความสูญเสีย ผลการ ด�ำเนินงานป้องกันอุบัติภัยที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๕๐) ปัจจัยและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานป้องกัน อุบัติภัย ในอนาคต และการวิเคราะห์จุดแข็ง / จุดอ่อน / โอกาส / ภัยอุปสรรค บทที่ ๒ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมายและหน่วยงานรับผิดชอบ วิสัยทัศน์ คือ “บุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีวัฒนธรรมความปลอดภัยในวิถีชีวิต ได้รับหลักประกัน ในชีวติ และทรัพย์สนิ ตลอดจนสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ภายใต้ระบบการป้องกันอุบตั ภิ ยั ทีเ่ ป็นองค์รวมมีประสิทธิภาพครอบคลุม ทุกมิติ ทุกพื้นที่ ด้วยความร่วมมือของภาครัฐและภาคีเครือข่ายทุกระดับในสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศ”

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 83


บทที่ ๓ ยุทธศาสตร์และแนวทางการป้องกันอุบัติภัย ซึ่งประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ คือ ๑. การส่งเสริมการป้องกันอุบัติภัย ๒. การพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกัน ๓. การเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอุบัติภัย ๔. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีต่างๆ ๕. การบังคับใช้และปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ ๖. การบริหารจัดการ บทที่ ๔ การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล จะให้ความส�ำคัญกับการสร้างความรู้ความเข้าใจในสาระส�ำคัญของแผนต่อทุกภาคส่วน การก�ำหนดแผนงาน / โครงการทีส่ นองตอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบการประสานงานทีท่ กุ ฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบ การสร้างความเข้มแข็ง ทางวิชาการโดยเฉพาะการวิจยั ทุกปัจจัยทุกสาเหตุทเี่ กีย่ วข้องอย่างเป็นองค์รวม รวมถึงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ การฝึก ซ้อมแผน ดังนั้น สรุปแล้วการป้องกันและการประสานเพื่อลดความรุนแรงจากอุบัติภัยสารเคมี คือ ๑. ก่อนเกิดภัย (การป้องกันและลดผลกระทบ) - การจัดท�ำแผน/มาตรการที่ชัดเจน - การฝึกซ้อมแผนอย่างสม�่ำเสมอ - การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เครื่องจักรกล ยานพาหนะและเครื่องมืออุปกรณ์ที่มี ประสิทธิภาพอย่างเพียงพอ - การสร้างความตระหนัก ปลูกจิตส�ำนึกและวัฒนธรรมความปลอดภัยในวิถีชีวิต ๒. ขณะเกิดภัย (การบรรเทา) ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน - ศูนย์อำ� นวยการเฉพาะกิจ - การระดมสรรพก�ำลังและประสานความร่วมมืออย่างมีเอกภาพและบูรณาการทุกภาคส่วน - ระบบอ�ำนวยการและการบัญชาการเป็นไปไปตามระดับความรุนแรงของภัย - การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในภาวะวิกฤต/การกู้ชีพกู้ภัย ๓. หลังเกิดภัย (การฟื้นฟูบูรณะ) ในระยะเร่งด่วน ระยะปานกลาง และระยะยาว - การบรรเทาทุกข์อย่างรวดเร็วและทั่วถึง - การฟื้นฟูสภาพจิตใจ - การส�ำรวจสภาพความเสียหาย และจัดท�ำแผนฟื้นฟูบูรณะ - การรักษาสภาวะแวดล้อมให้ปลอดภัยจากมลพิษ นายสุเมธา วิเชียรเพชร ได้กล่าวว่าในการเกิดเหตุอันตรายจากสารเคมีนั้นมักพบปัญหาหลายๆ อย่าง เช่น การแจ้งเตือนช้า การประสานงานช้า คุณภาพภาชนะบรรจุ ไม่รู้ว่าเป็นสารพิษอะไร เป็นต้น ดังนั้นต้องหาหลักเกณฑ์ ที่สามารถปฏิบัติได้เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ และสภาพปัญหาในปัจจุบันให้มากที่สุด ซึ่งหลักๆ แล้วมักเกิดจาก การที่ไม่มีระบบบัญชาการ บทบาทหน้าที่ไม่ชัดเจน ขาดความพร้อม ขาดความรู้ การประสานงาน ที่ไม่ดี และการที่ไม่มีสัญญาณเตือน เป็นต้น ดังนั้น ถ้ามีหลักเกณฑ์ที่เหมาะที่สามารถปฏิบัติได้ ก็จะท�ำให้อันตราย จากสารเคมีที่จะเกิดขึ้นนั้นหมดไป 84 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิรคิ ำ� ชัย ได้กล่าวเรือ่ งการกูภ้ ยั และการกูช้ พี ไว้วา่ “การกูช้ พี ” หรือ “การช่วยฟืน้ คืนชีพ” คือ ปฏิบตั กิ ารช่วยชีวติ คนทีห่ วั ใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน โดยใช้แรงมือกดหน้าอก และเป่าลมเข้าทางปาก ซึง่ ไม่ต้องใช้อุปกรณ์การแพทย์ใดๆ ซึ่งก็ได้มี พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการการแพทย์ ฉุกเฉิน และสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ขึ้นแล้ว เพื่อบริหารจัดการเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน ประสาน งานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐและเอกชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิ์ในการเข้าถึงระบบ การแพทย์ฉุกเฉินอย่างทั่วถึง เท่าเทียม มีคุณภาพมาตรฐาน โดยได้รับความช่วยเหลือ ให้ได้รับความปลอดภัย ลดการ สูญเสียชีวิตและความพิการ ซึ่งเป้าหมายบริการการแพทย์ฉุกเฉินในปี ๒๕๕๒- ๒๕๕๕ คือ ๑. ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินระดับวิกฤตและเร่งด่วนอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ได้รับการช่วยเหลือหรือส่งด้วยระบบการ บริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลที่ได้มาตรฐาน ๒. อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินลดลงจากปี ๒๕๕๑ อย่างน้อยร้อยละ ๑๕ นอกจากนี้ ในปัจจุบนั นีอ้ บุ ตั ภิ ยั จากสารเคมีได้เกิดมากขึน้ ซึง่ ขัน้ ตอนการกูภ้ ยั ในกรณีทเี่ ป็นวัสดุอนั ตรายหรือ สารพิษจึงมีความส�ำคัญ เพราะหากใช้วิธีที่ไม่ถูกต้องก็มีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ - หาข้อมูล ว่าเป็นสารเคมี วัตถุอันตราย ชนิดประเภทใด - ความปลอดภัย ของเจ้าหน้าที่กู้ภัยและประชาชนบริเวณที่เกิดเหตุ - แบ่งเขตท�ำงาน เขตปลอดภัย เขตอพยพ เขตอันตราย - จัดทีมเข้ากู้ภัย - จัดทีมสนับสนุน - การอพยพหนีภัย - การเก็บ และท�ำลายสารวัตถุมีพิษที่หกรั่วไหล - ล้างเช็ดช�ำระร่างกาย และเสื้อผ้า ให้กับผู้รับสารพิษ - ติดตามช่วยเหลือและสนับสนุน หาข้อมูลของเทคนิคเพิ่มเติม ซึ่งการเข้าไปในพื้นที่ที่มีสารเคมีนั้น ต้องมีวิธีการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง คือ - เข้าสถานที่เกิดเหตุจากด้านเหนือลม - ไม่อยู่ในบริเวณที่มีสาร-วัตถุหกรั่วไหล หมอก ควัน ไอพิษ - หาชนิด ประเภทของวัสดุที่เกิดอุบตั ิเหตุโดย ตัวเลข ๔ หลัก ป้ายสัญลักษณ์ หรือ กลุ่มอักษรต่างๆ เพื่อหาข้อมูลในเบื้องต้นเพื่อเป็นแนวทางปฎิบัติต่อไป - ปิดกั้นพื้นที่ห้ามผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าใกล้เด็ดขาด - ติดต่อขอความช่วยเหลือสนับสนุนเพิ่มเติม - พิจารณาแก้ไขสถานะการณ์ ตามความเหมาะสม และสภาพการณ์ที่เอื้ออ�ำนวย ซึ่งถ้าหากเกิดอุบัติภัยเกี่ยวกับสารเคมีขึ้นแล้วรู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ก็จะท�ำให้ความสูญเสียที่เกิดขึ้นลดลงได้ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 85


กฎหมายฉบับใหม่ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของกระทรวงแรงงาน เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน�ำ้ กฎกระทรวง ก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน�้ำ พ.ศ. ๒๕๕๒ ค�ำชี้แจง กระทรวงแรงงานได้อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๐๓ แห่งพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ บังคับใช้เมื่อพ้นเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับฎีกา เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๓๘ ก วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๒) ผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นไป ๑. ขอบเขตใช้บังคับ ใช้บังคับกับนายจ้าง ซึ่งมีลูกจ้างท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน�้ำ ตั้งแต่ ๑ คนขึ้นไป “เครื่องจักร” หมายความว่า สิ่งที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้นส� ำหรับก่อก�ำเนิดพลังงานเปลี่ยนหรือ แปลงสภาพพลังงาน หรือส่งพลังงาน ทั้งนี้ ด้วยก�ำลังน�้ำ ไอน�้ำ เชื้อเพลิง ลม ก๊าซ ไฟฟ้า หรือพลังงานอื่น และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ์ ล้อตุนก�ำลัง รอก สายพาน เพลา เฟือง หรือสิ่งอื่นที่ท�ำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งเครื่องมือกล ้ ซึ่งจะต้องปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดในบททั่วไป และข้อก�ำหนดเฉพาะของ ทั้งนี้ หมายรวมถึงปั้นจั่น และหม้อน�ำ แต่ละเครื่องจักรนั้นควบคู่กันไปด้วย “การตรวจสอบ” หมายความว่า การตรวจพิจารณาความเรียบร้อยของชิ้นส่วนหรือกลไกการท�ำงานของ เครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน�้ำ ตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือของผู้ผลิต “การทดสอบ” หมายความว่า การตรวจสอบและทดลองใช้งานชิน้ ส่วนอุปกรณ์หรือกลไกการท�ำงานของอุปกรณ์ เพื่อความถูกต้องโดยวิศวกร “วิศวกร” หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วย วิศวกร

86 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ลักษณะงานหรือมาตรฐานตามกฎกระทรวง หมวด ๑ เครื่องจักร ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ส่วนที่ ๒ เครื่องปั๊มโลหะ ส่วนที่ ๓ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า และเครื่องเชื่อมก๊าซ ส่วนที่ ๔ รถยก ส่วนที่ ๕ ลิฟต์ หมวด ๒ ปั้นจั่น หมวด ๓ หม้อน�ำ้ หมวด ๔ การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หมวด ๑ เครื่องจักร ส่วนที่ ๑ บททั่วไป : เมื่อนายจ้างมีการใช้เครื่องจักร ต้องปฏิบัติดังนี้ ๑.๑ นายจ้างควบคุมดูแลให้ลูกจ้างซึ่งท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร (๑) สวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย รัดกุม และไม่รุ่งริ่ง (๒) ไม่สวมใส่เครื่องประดับที่อาจเกี่ยวโยงกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดได้ (๓) รวบผมที่ปล่อยยาวเกินสมควรหรือท�ำอย่างหนึ่งอย่างใดให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย (๔) ในบริเวณที่มีการติดตั้ง การซ่อมแซม หรือการตรวจสอบเครื่องจักรหรือเครื่องป้องกันอันตราย จากเครือ่ งจักร นายจ้างต้องติดป้ายแสดงการด�ำเนินการดังกล่าว โดยใช้เครือ่ งหมายหรือข้อความ ทีเ่ ข้าใจง่ายและเห็นได้ชดั เจน รวมทัง้ จัดให้มรี ะบบ วิธกี าร หรืออุปกรณ์ปอ้ งกันมิให้เครือ่ งจักรนัน้ ท�ำงาน และให้แขวนป้ายแสดงเครือ่ งหมายหรือสัญลักษณ์หา้ มเปิดสวิตช์ไว้ทสี่ วิตช์ของเครือ่ งจักรด้วย (๕) การประกอบ การติดตั้ง การซ่อมแซม และการใช้งานเครื่องจักร นายจ้างต้องจัดให้มีวิศวกรเป็น ผูร้ บั รองตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีอ่ ธิบดีประกาศก�ำหนด ๑ (ข้อ ๕) และเก็บหลักฐานให้พนักงาน ตรวจแรงงานตรวจสอบได้ (๖) นายจ้างต้องดูแลให้ลูกจ้างซึ่งท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ตรวจสอบเครื่องจักรนั้นให้อยู่ในสภาพ ใช้การได้ดแี ละปลอดภัย ตามระยะเวลาการใช้งานทีเ่ หมาะสม และจัดให้มกี ารตรวจรับรองประจ�ำปี ตามชนิดและประเภทที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๒ (ข้อ ๖) (๗) ห้ามมิให้นายจ้างใช้หรือยอมให้ลกู จ้างใช้เครือ่ งจักรท�ำ งานเกินพิกดั หรือขีดความสามารถทีผ่ ผู้ ลิต ก�ำหนด (๘) เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเจีย เครื่องตัด เครื่องไส หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้โดย สภาพ นายจ้างต้องประกาศก�ำหนดวิธีการท�ำงานของลูกจ้าง ติดไว้บริเวณที่ลูกจ้างท�ำงาน (๙) ในกรณีทใี่ ห้ลกู จ้างท�ำงานเกีย่ วกับเครือ่ งปัม๊ โลหะ เครือ่ งเชือ่ มไฟฟ้า เครือ่ งเชือ่ มก๊าซ รถยก หรือ เครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้โดยสภาพตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๓ (ข้อ ๙) นายจ้าง ต้องใช้ลกู จ้างทีม่ คี วามช�ำนาญในการใช้เครือ่ งจักรนัน้ และผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๔ (ข้อ ๙) (๑๐) นายจ้างต้องดูแลให้พื้นบริเวณรอบเครื่องจักรอยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 87


๑.๒ การดูแลเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างได้รับอันตรายจากการท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร (๑) เครือ่ งจักรทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้าต้องมีระบบหรือวิธกี ารป้องกันกระแสไฟฟ้ารัว่ เข้าตัวบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง หรือเครื่องจักร และต้องต่อสายดิน (๒) เครื่องจักรที่ใช้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเข้าเครื่องจักรต้องเดินลงมาจากที่สูง กรณีเดินบนพื้นดิน หรือฝังดินต้องใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่แข็งแรงและปลอดภัย (๓) เครื่องจักรชนิดอัตโนมัติ ต้องมีสีเครื่องหมายปิด-เปิด ที่สวิตช์อัตโนมัติตามหลักสากล และมี เครื่องป้องกันมิให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดกระทบสวิตช์ อันเป็นเหตุให้เครื่องจักรท�ำงาน (๔) เครื่องจักรที่มีการถ่ายทอดพลังงานโดยใช้เพลา สายพาน รอก เครื่องอุปกรณ์ ล้อตุนก�ำลัง ต้องมีตะแกรงหรือที่ครอบปิดคลุมส่วนที่หมุนได้และส่วนส่งถ่ายก�ำลังให้มิดชิด (๕) เครื่องจักรที่มีใบเลื่อยวงเดือนต้องจัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรนั้น (๖) เครื่องจักรที่ใช้เป็นเครื่องลับ ฝน หรือแต่งผิวโลหะ ต้องมีเครื่องปิดบังประกายไฟหรือเศษวัตถุ ในขณะใช้งาน (๗) เครื่องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปพลาสติกหรือวัสดุอื่นโดยลักษณะฉีด เป่า หรือวิธีการอื่นต้องมี เครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรนั้น (๘) นายจ้างต้องบ�ำรุงรักษาและดูแลเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่สามารถ ป้องกันอันตรายได้ (๙) นายจ้างต้องจัดให้ทางเดินเข้าออกจากพื้นที่ส�ำหรับปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักรมีความกว้าง ไม่น้อยกว่า๘๐ เซนติเมตร (๑๐) นายจ้างต้องจัดท�ำรัว้ คอกกัน้ หรือเส้นแสดงเขตอันตราย ณ บริเวณทีต่ งั้ ของเครือ่ งจักร ให้ลกู จ้าง เห็นได้ชัดเจน และต้องดูแลไม่ให้ลูกจ้างซึ่งไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณดังกล่าว (๑๑) นายจ้างต้องติดตั้งเครื่องป้องกันวัสดุตกหล่นบริเวณสายพานล�ำเลียง เพื่อให้เกิดความปลอดภัย แก่ลูกจ้าง และต้องมีสวิตช์ฉุกเฉินที่สามารถหยุดการท�ำงานของสายพานได้ทันทีติดตั้งไว้ใน ต�ำแหน่งที่เห็นชัดเจน (๑๒) นายจ้างต้องไม่ยินยอมให้บุคคลซึ่งไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณเส้นทางสายพานล�ำเลียง (๑๓) นายจ้างต้องไม่ติดตั้งเครื่องจักรที่ควบคุมโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ในบริเวณ พื้นที่ที่มีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำจนอาจมีผลท�ำให้การท�ำงานของเครื่องจักรผิดปกติและก่อให้เกิด อันตรายต่อลูกจ้าง สรุปมาตรการที่ต้องด�ำเนินการ • คู่มือ/ขั้นตอนวิธีการท�ำงาน • การแต่งกายของลูกจ้างต้องรัดกุม ไม่สวมใส่เครื่องประดับ • ป้าย หรือ เครื่องหมายเตือนต่างๆ และเครื่องป้องกันอันตรายของเครื่องจักรครบถ้วนไม่ช�ำรุด • การซ่อมบ�ำรุง หรือ การตรวจสอบ/รับรองต่างๆ 88 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ส่วนที่ ๒ เครื่องปั๊มโลหะ “เครื่องปั๊มโลหะ” หมายความว่า เครื่องจักรที่ใช้ส�ำหรับการปั๊ม ตัด อัด เฉือน หรือขึ้นรูปชิ้นส่วนโลหะหรือ วัสดุอื่น ๑.๓ การท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องปั๊มโลหะต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) นายจ้างต้องจัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ • ที่ครอบปิดคลุมบริเวณที่อาจเป็นอันตราย • อุปกรณ์ที่สามารถหยุดเครื่องปั๊มโลหะได้ทันที เมื่อส่วนของร่างกายเข้าใกล้บริเวณ ที่อาจเป็นอันตราย • อุปกรณ์อนื่ ทีส่ ามารถป้องกันมิให้สว่ นของร่างกายเข้าไปในบริเวณทีอ่ าจเป็นอันตราย (๒) เครื่องปั๊มโลหะที่ใช้มือป้อนวัสดุ ให้ใช้สวิตช์แบบต้องกดพร้อมกันทั้งสองมือเครื่องจึงท�ำงาน และสวิตช์ต้องห่างกันไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร (๓) เครื่องปั๊มโลหะที่ใช้เท้าเหยียบ ให้มีที่พักเท้าโดยมีที่ครอบป้องกันมิให้ลูกจ้างเหยียบโดยไม่ตั้งใจ และต้องดูแลมิให้แผ่นที่ใช้เท้าเหยียบอยู่ในลักษณะที่ลื่นไถลได้ (๔) เครื่องปั๊มโลหะที่ใช้คันโยก ให้ใช้คันโยกที่มีความมั่นคงแข็งแรงและมีสลักบนคันโยกที่สามารถ ป้องกันมิให้เครื่องท�ำงานด้วยเหตุบังเอิญได้ (๕) เครือ่ งปัม๊ โลหะทีใ่ ช้นำ�้ หนักเหวีย่ ง ให้ตดิ ตัง้ ตุม้ น�ำ้ หนักเหวีย่ งไว้สงู กว่าศีรษะผูป้ ฏิบตั งิ านพอสมควร และต้องไม่มีสายไฟฟ้าอยู่ในรัศมีของน�้ำหนักเหวี่ยง (๖) ห้ามนายจ้างดัดแปลง แก้ไข หรือปล่อยให้ลูกจ้างเปลี่ยนแปลงสมรรถนะของเครื่องปั๊มโลหะหรือ เครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร เว้นแต่ได้รับการรับรองจากวิศวกร และเก็บผลการรับรอง ไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ (๗) นายจ้างต้องติดตั้งเครื่องปั๊มโลหะในพื้นที่ที่มั่นคง แข็งแรง และไม่ก่อให้เกิดการสั่นสะเทือน สรุปการท�ำงานกับเครื่องปั๊มโลหะ • ขั้นตอนและวิธีการท�ำงานตามชนิดของเครื่องจักร • การตรวจสอบสภาพของเครื่องจักร • เครื่องป้องกันอันตรายของเครื่องจักร • ลูกจ้างต้องได้รับการสอนงานหรืออบรมจนสามารถท�ำงานกับเครื่องจักรได้อย่างปลอดภัย

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 89


ส่วนที่ ๓ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า และเครื่องเชื่อมก๊าซ ๑.๔ การท�ำงานกับเครื่องเชื่อมไฟฟ้าและเครื่องเชื่อมก๊าซ ต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) จัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ติดตั้งไว้ในบริเวณใกล้เคียงที่สามารถน�ำมาใช้ดับเพลิง ได้ทันที (๒) จัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้ลูกจ้างสวมใส่ (๓) จัดบริเวณที่ปฏิบัติงานมิให้มีวัสดุที่ติดไฟง่ายวางอยู่ (๔) จัดให้มีฉากกั้นหรืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายอื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายจากประกายไฟ และแสงจ้า (๕) นายจ้างต้องควบคุมดูแลมิให้ลกู จ้างหรือผูซ้ งึ่ ไม่เกีย่ วข้องเข้าไปในบริเวณทีม่ กี ารท�ำงานด้วยเครือ่ ง เชื่อมไฟฟ้าหรือเครื่องเชื่อมก๊าซ (๖) นายจ้างต้องจัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัยและควบคุมดูแลให้ลูกจ้างปฏิบัติโดยเคร่งครัด เมื่อใช้เครื่องเชื่อมไฟฟ้าหรือเครื่องเชื่อมก๊าซในบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิด เพลิงไหม้ หรือไฟลามจากก๊าซ น�้ำมัน หรือวัตถุไวไฟอื่น ๑.๕ การท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องเชื่อม นายจ้างต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) จัดให้มีการต่อสายดินกับโครงโลหะของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าที่ต่อจากอุปกรณ์การเชื่อม (๒) จัดสถานที่ปฏิบัติงานให้มีแสงสว่างและการระบายอากาศอย่างเหมาะสม (๓) จัดให้มีการใช้สายดิน สายเชื่อม หัวจับสายดิน และหัวจับลวดเชื่อม ตามขนาดและมาตรฐาน ที่ผู้ผลิตก�ำหนดไว้ (๔) จัดสายไฟฟ้าและสายดินให้ห่างจากการบดทับของยานพาหนะ น�้ำ หรือที่ชื้นแฉะ หากไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ ต้องจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันความเสียหายข้างต้น เว้นแต่งานที่ต้องปฏิบัติใต้นำ�้ ๑.๖ เครื่องเชื่อมก๊าซ นายจ้างต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ติดตัง้ และตรวจสอบอุปกรณ์ควบคุมความดันและมาตรวัดความดันทีเ่ หมาะสมถูกต้องกับชนิดของก๊าซ (๒) ตรวจสอบการรั่วไหล การหลุดหลวม การสึกหรอของอุปกรณ์ หรือสภาพที่ไม่ปลอดภัยทุกครั้ง หากพบว่าไม่ปลอดภัยต้องท�ำการแก้ไข (๓) จัดท�ำเครือ่ งหมาย สี หรือสัญลักษณ์ทที่ อ่ ส่งก๊าซ หัวเชือ่ ม หรือหัวตัด ให้เป็นแบบและชนิดเดียวกัน (๔) ในการต่อถังบรรจุก๊าซไวไฟหลายถังเข้าด้วยกัน นายจ้างต้องจัดให้มีอุปกรณ์กันเปลวไฟย้อนกลับ ติดไว้ระหว่างหัวต่อกับอุปกรณ์ควบคุมการลดก�ำลังดัน (๕) นายจ้างต้องจัดสถานที่เก็บก๊าซไวไฟให้อยู่ในพื้นที่ที่มีการระบายอากาศดี ไม่มีความสั่นสะเทือน และปลอดภัยจากการติดไฟหรือห่างจากแหล่งก่อให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ (๖) นายจ้างต้องติดตัง้ กลอุปกรณ์นริ ภัยแบบระบายไว้ทถี่ งั บรรจุกา๊ ซทุกถังและดูแลให้อยูใ่ นสภาพพร้อม ใช้งานได้อย่างปลอดภัย (๗) นายจ้างต้องดูแลถังบรรจุกา๊ ซทุกชนิดให้อยูใ่ นสภาพทีป่ ลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม กรณีที่ไม่มีมาตรฐานดังกล่าวให้เป็นไปตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด 90 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


สรุปการท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องเชื่อม • จัดท�ำขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานในการท�ำงานกับเครื่องเชื่อม • จัดท�ำมาตรการป้องกันอันตรายในการท�ำงานกับเครื่องเชื่อม • ตรวจสอบอุปกรณ์และเครื่องป้องกันอันตรายของเครื่องเชื่อม • ส�ำรวจพื้นที่ปฏิบัติงานให้มีความปลอดภัย ส่วนที่ ๔ รถยก “รถยก” หมายความว่า รถที่ติดตั้งอุปกรณ์ใช้ส�ำหรับการยกหรือเคลื่อนย้ายสิ่งของ ๑.๗ การท�ำงานเกี่ยวกับรถยก ต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) จัดให้มีโครงหลังคาที่มั่นคงแข็งแรง สามารถป้องกันอันตรายจากวัสดุตกหล่นได้ (๒) จัดท�ำป้ายบอกพิกัดน�้ำหนักยกให้ตรงกับความสามารถในการยกสิ่งของได้ โดยปลอดภัยติดไว้ ที่รถยกเพื่อให้ลูกจ้างเห็นได้ชัดเจน (๓) ตรวจสอบรถยกให้มสี ภาพใช้งานได้อย่างปลอดภัยก่อนการใช้งานทุกครัง้ และเก็บผลการตรวจสอบ ไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ (๔) จัดให้มีสัญญาณเสียงหรือแสงไฟเตือนภัยในขณะท�ำงานตามความเหมาะสมของการใช้งาน (๕) ห้ามนายจ้างท�ำการดัดแปลงหรือกระท�ำการใดที่มีผลท�ำให้ความปลอดภัยในการท�ำงานของ รถยกลดลง (๖) นายจ้างต้องก�ำหนดเส้นทางและตีเส้นช่องทางเดินรถยกในอาคารหรือบริเวณทีม่ กี ารใช้รถยกเป็น ประจ�ำ (๗) นายจ้างต้องติดตั้งกระจกนูนหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายกันไว้ที่บริเวณทางแยกหรือทางโค้ง ที่มองไม่เห็นเส้นทางข้างหน้า (๘) นายจ้างต้องจัดให้พื้นเส้นทางเดินรถยกมีความมั่นคงแข็งแรงและสามารถรองรับน�ำ้ หนักรถรวม ทั้งน�้ำหนักบรรทุกของรถยกได้อย่างปลอดภัย (๙) นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างที่ผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๕ (ข้อ ๓๖) ท�ำหน้าที่เป็นผู้ขับรถยก (๑๐) นายจ้างต้องควบคุมดูแลมิให้ลกู จ้างน�ำรถยกไปใช้ปฏิบตั งิ านใกล้สายไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าทีม่ ี กระแสไฟฟ้าใกล้กว่าระยะห่างทีป่ ลอดภัยตามทีก่ ำ� หนดไว้ในมาตรฐานของการไฟฟ้าในท้องถิน่ นัน้ กรณีทไี่ ม่มมี าตรฐานดังกล่าว ให้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (๑๑) นายจ้างต้องควบคุมดูแลมิให้บุคคลอื่นโดยสารไปกับรถยก (๑๒) นายจ้างต้องจัดให้มีคู่มือการใช้ การตรวจสอบ และการบ�ำรุงรักษารถยกให้ลูกจ้างได้ศึกษาและ ปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการท�ำงาน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 91


สรุปมาตรการท�ำงานกับรถยก • จัดท�ำขั้นตอนปฏิบัติงานกับรถยก • ลูกจ้างที่ท�ำหน้าที่ขับต้องผ่านการอบรม • ตรวจสอบสภาพรถยกและอุปกรณ์ส่วนควบให้สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย • มีเส้นทางส�ำหรับรถยก ส่วนที่ ๕ ลิฟต์ ๑.๘ การท�ำงานเกี่ยวกับลิฟต์ ต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) จัดท�ำค�ำแนะน�ำอธิบายการใช้ลิฟต์และการขอความช่วยเหลือติดไว้ในห้องลิฟต์ (๒) จัดท�ำค�ำแนะน�ำอธิบายการให้ความช่วยเหลือ ติดไว้ในห้องจักรกลและห้องผู้ดูแลลิฟต์ (๓) จัดท�ำข้อห้ามใช้ลิฟต์ ติดไว้ที่ข้างประตูลิฟต์ด้านนอกทุกชั้น (๔) จัดให้มกี ารตรวจสอบลิฟต์กอ่ นการใช้งานทุกวัน หากส่วนใดช�ำรุดเสียหายต้องซ่อมแซมให้เรียบร้อย ก่อนใช้งาน (๕) จัดให้มีมาตรการป้องกันอันตรายและติดป้ายห้ามใช้ลิฟต์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นได้ชัดเจนในระหว่าง ที่มีการซ่อมบ�ำรุง การตรวจสอบ หรือการทดสอบลิฟต์ ๑.๙ ลิฟต์ที่ใช้ต้องมีรายละเอียดคุณลักษณะ ดังนี้ (๑) ติดตั้งไว้ในที่มั่นคง แข็งแรง และเหมาะสม (๒) มีป้ายบอกพิกัดน�ำ้ หนักหรือจ�ำนวนคนโดยสารได้อย่างปลอดภัย (๓) มีมาตรการป้องกันมิให้ลิฟต์เคลื่อนที่ ในกรณีที่ประตูลิฟต์ยังไม่ปิด (๔) มีระบบไฟส่องสว่างฉุกเฉินและมีระบบระบายอากาศทีเ่ พียงพอภายในห้องโดยสารของลิฟต์ ในกรณี ที่กระแสไฟฟ้าดับ (๕) มีระบบแสงหรือเสียงเตือน ในกรณีที่มีการใช้ลิฟต์บรรทุกน�้ำหนักเกินพิกัดที่ผู้ผลิตก�ำหนด (๖) มีอุปกรณ์ตัดระบบการท�ำงานของลิฟต์เมื่อมีการใช้ลิฟต์บรรทุกน�้ำหนักเกินพิกัดที่ผู้ผลิตก�ำหนด (๗) ในการประกอบ การติดตัง้ การทดสอบ การใช้ การซ่อมบ�ำรุง และการตรวจสอบลิฟต์ นายจ้างต้อง ปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะของลิฟต์แต่ละประเภทหรือคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตก�ำหนดไว้ หากไม่มีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคู่มือการใช้งานดังกล่าว นายจ้างต้องปฏิบัติตามรายละเอียด คุณลักษณะหรือคู่มือการใช้งานที่วิศวกรได้กำ� หนดขึ้นเป็นหนังสือ และเก็บผลการตรวจสอบและ การทดสอบไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ (๘) นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจสอบและการทดสอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของลิฟต์โดยวิศวกรอย่าง น้อยปีละหนึ่งครั้ง ทั้งนี้ การทดสอบการรับน�้ำหนักของลิฟต์ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ ของ น�้ำหนักการใช้งานสูงสุด

92 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


สรุปการท�ำงานกับลิฟต์ • จัดท�ำขั้นตอนวิธีการท�ำงานและการใช้งานของลิฟต์ • จัดท�ำป้ายบอกพิกัดน�ำ้ หนักบรรทุก • ตรวจสอบระบบความปลอดภัยต่างๆ ของลิฟต์ • มีการตรวจสอบโดยวิศวกร หมวด ๒ ปั้นจั่น • ชนิดอยู่กับที่ (Stationary Crane) - ปั้นจั่นหอสูง tower crane - ปั่นจั่นเหนือศีรษะ overhead crane - ปั้นจั่นขาสูง gantry crane - derrick crane • ชนิดเคลื่อนที่ (mobile crane) - ปั้นจั่นล้อยาง truck crane - ปั้นจั่นล้อตีนตะขาบ crawler crane - รถบรรทุกติดเครน boom truck crane “ปั้นจั่น” หมายความว่า เครื่องจักรที่ใช้ยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่งและเคลื่อนย้ายสิ่งของเหล่านั้นในลักษณะ แขวนลอยไปตามแนวราบ และให้หมายความรวมถึงเครื่องจักรประเภทรอกที่ใช้ยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่งด้วย “ลวดสลิง” หมายความว่า เชือกทีท่ ำ� ด้วยเส้นลวดหลายเส้นทีต่ เี กลียวหรือพันกันรอบแกนชัน้ เดียวหรือหลายชัน้ “ค่าความปลอดภัย” (Safety Factor) หมายความว่า อัตราส่วนระหว่างแรงดึงที่ลวดสลิงและอุปกรณ์ประกอบ การยกรับได้สูงสุดต่อแรงดึงของลวดสลิงและอุปกรณ์ประกอบการยกที่อนุญาตให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัย “ผู้บังคับปั้นจั่น” หมายความว่า ผู้ซึ่งมีหน้าที่บังคับการท�ำงานของปั้นจั่นให้ทำ� งานตามความต้องการ ๒.๑ การท�ำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น นายจ้างต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ในการประกอบ การทดสอบ การใช้ การซ่อมบ�ำรุง และการตรวจสอบปัน้ จัน่ หรืออุปกรณ์อนื่ ทีน่ �ำมา ใช้กบั ปัน้ จัน่ นายจ้างต้องปฏิบตั ติ ามรายละเอียดคุณลักษณะหรือคูม่ อื การใช้งานทีผ่ ผู้ ลิตก�ำหนดไว้ หากไม่มีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคู่มือการใช้งานดังกล่าว นายจ้างต้องปฏิบัติตามรายละเอียด คุณลักษณะหรือคู่มือการใช้งานที่วิศวกรได้กำ� หนดขึ้นเป็นหนังสือ (๒) นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบและการตรวจสอบการติดตั้งปั้นจั่น ตามรายละเอียดคุณลักษณะ และคู่มือการใช้งานของผู้ผลิตโดยวิศวกรก่อนการใช้งาน และจัดท�ำรายงานการตรวจสอบและการ ทดสอบ ซึง่ มีลายมือชือ่ วิศวกรรับรอง เก็บไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ในกรณีทมี่ กี าร หยุดใช้งานปั้นจั่นตั้งแต่หกเดือนขึ้นไป ก่อนน�ำมาใช้งานใหม่นายจ้างต้องด�ำเนินการตาม (๑) ๒.๒ จัดให้มีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นปีละไม่น้อยกว่า ๑ ครั้งตามประเภทและลักษณะ ของงาน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๖ (ข้อ ๕๐) แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 93


๒.๓ ในกรณีที่ให้ลูกจ้างท�ำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น นายจ้างต้องด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ควบคุมให้มีลวดสลิงเหลืออยู่ในม้วนลวดสลิงไม่น้อยกว่าสองรอบ ตลอดเวลาที่ปั้นจั่นท�ำงาน (๒) จัดให้มีชุดล็อกป้องกันลวดสลิงหลุดจากตะขอ (safety latch) ของปั้นจั่น และท�ำการตรวจสอบให้ อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย (๓) จัดให้มีที่ครอบปิดหรือกั้นส่วนที่หมุนรอบตัวเอง ส่วนที่เคลื่อนไหวได้ หรือส่วนที่อาจเป็นอันตราย ของปัน้ จัน่ และให้สว่ นทีเ่ คลือ่ นทีข่ องปัน้ จัน่ หรือส่วนทีห่ มุนได้ของปัน้ จัน่ อยูห่ า่ งจากสิง่ ก่อสร้างหรือ วัตถุอื่นในระยะที่ปลอดภัย (๔) จัดให้มีบันไดพร้อมราวจับและโครงโลหะกันตก ส�ำหรับปั้นจั่นที่มีความสูงเกิน ๓ เมตร (๕) จัดให้มีพื้นชนิดกันลื่น ราวกันตก และแผงกันตกระดับพื้น ส�ำหรับปั้นจั่นชนิดที่ต้องมีการจัดท�ำพื้น และทางเดิน (๖) จัดให้มีเครื่องดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของปั้นจั่นและใช้การได้ที่ห้องบังคับปั้นจั่น (๗) ติดตั้งปั้นจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยมีวิศวกรเป็นผู้รับรอง ๒.๔ ในกรณีที่ให้ลูกจ้างท�ำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นที่ใช้เครื่องยนต์ นายจ้างต้องด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดให้มีที่ครอบปิดหรือฉนวนหุ้มท่อไอเสีย (๒) จัดให้มถี งั เก็บเชือ้ เพลิงและท่อส่งเชือ้ เพลิงติดตัง้ อยูใ่ นลักษณะทีจ่ ะไม่เกิดอันตรายเมือ่ เชือ้ เพลิงหก ล้น หรือรั่วออกมา (๓) จัดให้มีมาตรการในการเก็บและเคลื่อนย้ายเชื้อเพลิงส�ำรองด้วยความปลอดภัย ๒.๕ ต้องเคลื่อนย้ายวัตถุไวไฟออกจากบริเวณที่ใช้ปั้นจั่น กรณีไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้นายจ้างต้องจัดให้มี มาตรการป้องกันอันตรายที่เหมาะสมก่อนให้ลูกจ้างปฏิบัติงาน ๒.๖ ห้ามลูกจ้างใช้ปั้นจั่นที่ช�ำรุดเสียหายหรืออยู่ในสภาพที่ไม่ปลอดภัย ๒.๗ ห้ามดัดแปลงหรือแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่นหรือยินยอมให้ลูกจ้างหรือผู้อื่นกระท�ำการเช่นว่านั้น อันอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ถ้าจ�ำเป็นต้องดัดแปลงส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงสร้างทีม่ ผี ลต่อการรับน�้ำหนัก นายจ้างต้อง จัดให้มีการค�ำนวณทางวิศวกรรมพร้อมกับการทดสอบ ๒.๘ ต้องจัดให้มีสัญญาณเสียงและแสงไฟเตือนภัยตลอดเวลาที่ปั้นจั่นท�ำงานโดยติดตั้งไว้ให้เห็นได้ชัดเจน ๒.๙ในกรณีที่มีการซ่อมบ�ำรุงปั้นจั่น ต้องติดป้ายแสดงการซ่อมบ�ำรุงปั้นจั่นโดยใช้เครื่องหมายหรือข้อความ ที่เข้าใจง่ายและเห็นได้ชัดเจน รวมทั้งจัดให้มีระบบ วิธีการหรืออุปกรณ์ป้องกันมิให้ปั้นจั่นนั้นท�ำงาน และให้แขวนป้าย แสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ห้ามเปิดสวิตช์ไว้ที่สวิตช์ของปั้นจั่นด้วย ๒.๑๐ จัดให้มีป้ายบอกพิกัดน�้ำหนักยกไว้ที่ปั้นจั่นและรอกของตะขอติดค�ำเตือนให้ระวังอันตราย และติดตั้ง สัญญาณเตือนอันตรายให้ผู้บังคับปั้นจั่นทราบ ๒.๑๑ ต้องจัดท�ำเส้นแสดงเขตอันตราย เครื่องหมายแสดงเขตอันตราย หรือเครื่องกั้นเขตอันตราย ในเส้น ทางที่มีการใช้ปั้นจั่นเคลื่อนย้ายสิ่งของ

94 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๒.๑๒ จัดให้มคี มู่ อื การใช้สญ ั ญาณสือ่ สารระหว่างผูป้ ฏิบตั งิ าน ในกรณีทกี่ ารใช้สญ ั ญาณตามวรรคหนึง่ เป็นการ ใช้สัญญาณมือ นายจ้างต้องจัดให้มีรูปภาพ หรือคู่มือการใช้สัญญาณมือตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนดเห็นได้ชัดเจน ๗ (ข้อ ๖๐) ปั้นจั่นใกล้สายไฟฟ้า ต้องให้ลูกจ้างปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ๒.๑๓ ในกรณีที่ให้ลูกจ้างใช้ปั้นจั่นใกล้สายไฟฟ้า ต้องควบคุมดูแลให้ลูกจ้างปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีทใี่ ช้ปน้ั จัน่ ยกวัสดุ ให้ระยะห่างระหว่างสายไฟฟ้ากับส่วนหนึง่ ส่วนใดของปัน้ จัน่ หรือส่วนหนึง่ ส่วนใดของวัสดุที่ปั้นจั่นก�ำลังยก เป็นดังต่อไปนี้ (ก) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน ๕๐ กิโลโวลต์ ต้องห่างไม่น้อยกว่า ๓ เมตร (ข) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกิน ๕๐ กิโลโวลต์ ต้องห่างเพิ่มขึ้นจากระยะห่างตาม (ก) อีก ๑ เซนติเมตรต่อแรงดันไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ๑ กิโลโวลต์ (๒) ในกรณีทเี่ คลือ่ นย้ายปัน้ จัน่ ชนิดเคลือ่ นที่ โดยไม่ยกวัสดุและไม่ลดแขนปัน้ จัน่ ลงให้ระยะห่างระหว่าง ส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่นกับสายไฟฟ้า เป็นดังต่อไปนี้ (ก) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน ๕๐ กิโลโวลต์ ต้องห่างไม่น้อยกว่า ๑.๒๕ เมตร (ข) สายไฟฟ้าทีม่ แี รงดันไฟฟ้าเกิน ๕๐ กิโลโวลต์ แต่ไม่เกิน ๓๔๕ กิโลโวลต์ตอ้ งห่างไม่นอ้ ยกว่า ๓ เมตร (ค) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกิน ๓๔๕ กิโลโวลต์ ต้องห่างไม่น้อยกว่า ๕ เมตร ๒.๑๔ ในกรณีทมี่ กี ารติดตัง้ ปัน้ จัน่ หรือใช้ปน้ั จัน่ ใกล้เสาส่งคลืน่ โทรคมนาคม ก่อนให้ลกู จ้างท�ำงานนายจ้างต้อง จัดให้มีการตรวจสอบการเกิดประจุไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ ถ้าพบว่ามีประจุไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ ให้นายจ้างต่อสายตัวน�ำกับปั้นจั่น หรือวัสดุทจี่ ะยกเพือ่ ให้ประจุไฟฟ้าไหลลงดิน ทัง้ นีใ้ ห้เป็นไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒.๑๕ ต้องประกาศก�ำหนดวิธกี ารท�ำงานเกีย่ วกับปัน้ จัน่ ของลูกจ้าง ติดไว้บริเวณทีล่ กู จ้างท�ำงาน โดยอย่างน้อย ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้งาน การซ่อมบ�ำรุง และการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ๒.๑๖ ต้องจัดให้มีคู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่นให้ลูกจ้างได้ศึกษา และปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการ ท�ำงาน ๒.๑๗ ในกรณีที่ผู้บังคับปั้นจั่นไม่สามารถมองเห็นจุดที่ทำ� การยกสิ่งของหรือเคลื่อนย้ายวัสดุ นายจ้างต้องจัด ให้มีผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่นตลอดระยะเวลาที่มีการใช้งาน ๒.๑๘ จัดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ ปั้นจั่น ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการท�ำงานเกี่ยวกับ ปั้นจั่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๘ (ข้อ ๖๖)

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 95


ปั้นจั่นเหนือศีรษะและปั้นจั่นขาสูง ๒.๑๙ ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่บนรางหรือปั้นจั่นที่มีรางล้อเลื่อนที่อยู่บนแขนปั้นจั่น ต้องจัดให้มีสวิตช์หยุดการ ท�ำงานของปั้นจั่นได้โดยอัตโนมัติ และให้มีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองข้างของรางด้วย ๒.๒๐ นายจ้างต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีสิ่งกีดขวางการเลื่อนของล้อหรือแขนของปั้นจั่น ปั้นจั่นหอสูง ๒.๒๑ ในกรณีที่ลูกจ้างปฏิบัติงานบนแขนปั้นจั่น นายจ้างต้องจัดให้มีราวกันตกไว้ ณ บริเวณที่ปฏิบัติงาน ๒.๒๒ ต้องจัดให้มีตารางการยกสิ่งของ ซึ่งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับน�ำ้ หนักสิ่งของ มุมองศา และระยะของ แขนที่ทำ� การยก ติดไว้ในบริเวณที่ผู้บังคับปั้นจั่นเห็นได้ชัดเจน ๒.๒๓ ในกรณีที่ให้ลูกจ้างท�ำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นหอสูง นายจ้างต้องจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันมิให้แนวของแขน ต่อตามที่ผู้ผลิตปั้นจั่นออกแบบไว้ เคลื่อนตกจากแนวเดิมเกินกว่า ๕ องศา รถปั้นจั่นและเรือปั้นจั่น ๒.๒๔ นายจ้างที่ติดตั้งปั้นจั่นบนรถ เรือ แพ โป๊ะ หรือพาหนะลอยน�ำ้ อย่างอื่น ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) ยึดปั้นจั่นไว้กับรถ เรือ แพ โป๊ะ หรือพาหนะลอยน�้ำอย่างอื่น ให้มั่นคง โดยวิศวกรเป็นผู้รับรอง (๒) จัดให้มปี า้ ยบอกพิกดั น�้ำหนักยกให้ตรงตามความสามารถในการยกสิง่ ของได้โดยปลอดภัย โดยน�ำ้ หนักของปั้นจั่นรวมกับพิกัดน�ำ้ หนักยกจะต้องไม่เกินระวางบรรทุกเต็มที่ของรถเรือ แพ โป๊ะ หรือ พาหนะลอยน�้ำอย่างอื่น ๒.๒๕ ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงานเกี่ยวกับรถปั้นจั่น เรือปั้นจั่น หรือติดตั้งปั้นจั่นบนรถ เรือ แพ โป๊ะ หรือพาหนะลอยน�้ำอย่างอื่น นายจ้างต้องจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันมิให้แนวของแขนต่อตามที่ผู้ผลิตปั้นจั่นออกแบบไว้ เคลื่อนตกจากแนวเดิมเกินกว่า ๕ องศา ๒.๒๖ นายจ้างต้องจัดให้มีตารางการยกสิ่งของ ซึ่งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับน�ำ้ หนักสิ่งของ มุมองศา และ ระยะของแขนที่ทำ� การยก ติดไว้ในบริเวณที่ผู้บังคับปั้นจั่นเห็นได้ชัดเจน อุปกรณ์ที่ใช้เกี่ยวกับปั้นจั่น ๒.๒๗ ห้ามให้มีการใช้ลวดสลิงที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (๑) ลวดสลิงที่ลวดเส้นนอกสึกไปตั้งแต่ ๑ ใน ๓ ของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นลวด (๒) ลวดสลิงทีข่ มวด ถูกบดกระแทก แตกเกลียวหรือช�ำรุด ซึง่ ท�ำให้ประสิทธิภาพในการใช้งานของลวด สลิงลดลง (๓) ลวดสลิงมีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงเกินร้อยละ ๕ ของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม (๔) ลวดสลิงถูกความร้อนท�ำลายหรือเป็นสนิมมากจนเห็นได้ชัดเจน (๕) ลวดสลิงถูกกัดกร่อนช�ำรุดมากจนเห็นได้ชัดเจน

96 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


(๖) ลวดสลิงเคลื่อนที่ที่มีเส้นลวดใน ๑ ช่วงเกลียว ขาดตั้งแต่ ๓ เส้นขึ้นไปในเกลียว เดียวกันหรือขาด ตั้งแต่ ๖ เส้นขึ้นไปในหลายช่วงเกลียวรวมกัน (๗) ลวดสลิงยึดโยงที่มีเส้นลวดขาดตรงข้อต่อตั้งแต่ ๒ เส้นขึ้นไปใน ๑ ช่วงเกลียว ๒.๒๘ ห้ามใช้ลวดสลิงที่มีค่าความปลอดภัยน้อยกว่าที่ก�ำหนดไว้ ดังต่อไปนี้ (๑) ลวดสลิงเคลื่อนที่ ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๖ (๒) ลวดสลิงยึดโยง ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๓.๕ ๒.๒๙ ห้ามใช้รอกทีม่ อี ตั ราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกหรือล้อใดๆ กับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวด สลิงที่พันน้อยกว่าที่กำ� หนดไว้ ดังต่อไปนี้ (๑) ๑๘ ต่อ ๑ ส�ำหรับรอกปลายแขนปั้นจั่น (๒) ๑๖ ต่อ ๑ ส�ำหรับรอกของตะขอ (๓) ๑๕ ต่อ ๑ ส�ำหรับรอกหลังแขนปั้นจั่น ๒.๓๐ ห้ามใช้อปุ กรณ์สำ� หรับการผูก มัด หรือยึดโยงวัสดุทมี่ คี า่ ความปลอดภัยน้อยกว่าทีก่ ำ� หนดไว้ ดังต่อไปนี้ (๑) ลวดสลิง ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๕ (๒) โซ่ ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๔ (๓) เชือก ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๕ (๔) ห่วงหรือตะขอ ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๓.๕ (๕) อุปกรณ์ส�ำหรับผูก มัด หรือยึดโยงอื่นนอกเหนือจากที่ก�ำหนดไว้ใน (๑) ถึง (๔) ต้องมีค่าความ ปลอดภัยไม่น้อยกว่า ๓.๕ ๒.๓๑ ต้องจัดหาวัสดุทมี่ คี วามทนทานและอ่อนตัวมารองรับบริเวณจุดทีม่ กี ารสัมผัสระหว่างอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการ ผูก มัด หรือยึดโยง และวัสดุที่ทำ� การยกเคลื่อนย้าย ๒.๓๒ ในการยกเคลือ่ นย้ายวัสดุ นายจ้างต้องให้ลกู จ้างผูก มัด หรือยึดโยงวัสดุโดยมีมมุ องศาระหว่างอุปกรณ์ ส�ำหรับการผูก มัด หรือยึดโยง และวัสดุที่จะท�ำการยกไม่น้อยกว่า ๔๕ องศา กรณีที่มีความจ�ำเป็นต้องท�ำการผูกมัด หรือยึดโยงด้วยมุมองศาทีน่ อ้ ยกว่าทีก่ �ำหนดไว้ นายจ้างต้องก�ำหนดให้มกี ารค�ำนวณแรงรับน�้ำหนักของอุปกรณ์ส�ำหรับ การผูก มัด หรือยึดโยงเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ๒.๓๓ ห้ามใช้ตะขอทีม่ ลี กั ษณะอย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้ เว้นแต่นายจ้างได้ท�ำการซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพ ทีใ่ ช้งานได้ และต้องมีการทดสอบการรับน�ำ้ หนักได้ไม่นอ้ ยกว่า ๑.๒๕ เท่าของน�ำ้ หนักสูงสุดทีอ่ นุญาตให้ใช้งานได้อย่าง ปลอดภัยโดยวิศวกร (๑) มีการบิดตัวของตะขอตั้งแต่ ๑๐ องศาขึ้นไป (๒) มีการถ่างออกของปากเกินร้อยละ ๕๐ (๓) มีการสึกหรอที่ท้องตะขอเกินร้อยละ ๑๐ (๔) มีการแตกหรือร้าวส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอ (๕) มีการเสียรูปทรงหรือสึกหรอของห่วงตะขอ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 97


สรุปการท�ำงานกับปั้นจั่น • ขั้นตอนและวิธีการท�ำงานของปั้นจั่น • ผู้ควบคุมปั้นจั่นต้องผ่านการอบรม • มีการตรวจสอบหรือทดสอบโดยวิศวกร • ป้ายบอกพิกัดน�ำ้ หนักยก • พื้นที่ปฏิบัติงานต้องมีความปลอดภัย จัดท�ำเครื่องหมายแสดงเขตอันตราย • ตรวจสอบระบบความปลอดภัยต่างๆ ของปั้นจั่น ปุ่มควบคุม • ปุ่มบังคับ กดแล้วปุ่มต้องไม่ค้าง ไม่มีสภาพแตกหรือช�ำรุด • ปุ่มหยุดฉุกเฉิน สามารถหยุดการท�ำงานได้ ชุดลิมิทสวิตช์ • กดปุ่มควบคุมให้สลิงเปล่าขึ้นจนสุด ลิมิทสวิตช์ต้องตัดการท�ำงาน • กดปุ่มควบคุมให้สลิงเปล่าลงจนสุด ลิมิทสวิตช์ต้องตัดการท�ำงาน สลิง โซ่ ตะขอ • สภาพสลิง/โซ่ สลิงต้องไม่แตก บิดงอ หรือโซ่ต้องไม่หมุนเป็นเกลียวหรือปม ขณะใช้งาน • สภาพตะขอ ไม่มีรอยแตกร้าว ชุดปิดปากตะขอ (safety latch) ไม่ชำ� รุดหรือหลุด สลิงยึดชุดควบคุม • สลิงยึดโยงชุดควบคุมต้องไม่ขาด สายไฟ • สภาพสายไฟสวิตช์ควบคุม ต้องไม่ช�ำรุด ฉนวนไม่แตกร้าว ระบบเตือน • สัญญาณเสียง ต้องมีเสียงดังเมื่อเริ่มท�ำงาน • สัญญาณแสง ต้องมีแสงวับวาบ • ป้าย บอกพิกัดน�ำ้ หนักยก หมวด ๓ หม้อน�้ำ “หม้อน�้ำ” หมายถึง ภาชนะปิดที่ผลิตน�ำ้ ร้อนหรือไอน�้ำที่มีความดันสูงกว่าบรรยากาศโดยใช้ความร้อนจากการ เผาไหม้ของเชื้อเพลิง หรือความร้อนจากพลังงานอื่น “ผู้ควบคุมหม้อน�้ำ” หมายถึง ผู้ซึ่งนายจ้างจัดให้มีหน้าที่ควบคุมการท�ำงานและการใช้หม้อน�ำ้

98 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


กฎกระทรวงนีม้ ใิ ห้ใช้บงั คับแก่หม้อน�้ำท�ำความร้อนทีใ่ ช้ผลิตไอน�้ำความดันไม่เกิน ๑ บาร์ หรือไอน�้ำอุณหภูมไิ ม่ เกินหนึ่ง ๑๒๐ องศาเซลเซียส หรือน�้ำร้อนความดันไม่เกิน ๑๐ บาร์ แบบท่อขดที่ไม่มีที่พักไอน�้ำ เว้นแต่ (๑) มีที่พักไอน�ำ้ และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกท่อน�ำ้ หรือหลอดน�ำ้ เกิน ๑๙ มิลลิเมตร (๒) มีความจุของน�ำ้ เกิน ๒๓ ลิตร (๓) มีอุณหภูมิของน�้ำเกิน ๑๗๗ องศาเซลเซียส (๔) มีไอน�้ำเกิดขึ้นในท่อน�้ำหรือหลอดน�้ำ การท�ำงานเกี่ยวกับหม้อน�้ำ นายจ้างต้องปฏิบัติดังนี้ ๓.๑ ต้องใช้หม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ทีม่ ีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มาตรฐาน ISO มาตรฐาน ASME มาตรฐาน JIS มาตรฐาน DIN มาตรฐาน TRD มาตรฐาน BS มาตรฐาน EN หรือมาตรฐานอื่น ที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๓.๒ เมือ่ มีการน�ำหม้อน�ำ้ ทีผ่ า่ นการใช้งานแล้วหรือหม้อน�ำ้ ทีย่ า้ ยทีต่ ดิ ตัง้ ต้องจัดให้วศิ วกรรับรองผลการทดสอบ ความดันที่อนุญาตให้ใช้ได้สูงสุดใหม่ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๙ (ข้อ ๘๔) และเก็บผลการ ทดสอบไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ มาตรฐานหม้อน�ำ้ ทั่วๆ ไป • ASME : American Society of Mechanical Engineers • ISO : International Organization for standardization • JIS : Japanese Industrial Standards • DIN : Deutsche institute fur Normung • TRD : Technical Rules for Steam Boiler • BS : British Standard ๓.๓ ในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุทมี่ ผี ลกระทบต่อการใช้งานของหม้อน�ำ้ ซึง่ อาจท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่ลกู จ้าง หรือเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง นายจ้างต้องแจ้งให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายทราบโดยทันที ๓.๔ จัดท�ำป้ายประกาศก�ำหนดวิธกี ารท�ำงานของลูกจ้างเกีย่ วกับการใช้หม้อน�ำ ้ การตรวจสอบอุปกรณ์ประกอบ และการแก้ไขข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ติดไว้บริเวณที่ลูกจ้างเห็นได้ชัดเจน ๓.๕ นายจ้างต้องจัดให้มีผู้ควบคุมหม้อน�้ำที่มีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑) ผ่านการอบรมตามหลักสูตรผูค้ วบคุมหม้อน�้ำจากสถาบันของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบัน อื่น ทั้งนี้ ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๑๐ (ข้อ๘๗(๑)) (๒) มีคุณวุฒิได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาช่างกลโรงงาน สาขาช่างยนต์ สาขาช่างเทคนิค อุตสาหกรรม สาขาช่างเทคนิคการผลิต หรือสาขาอื่นที่มีวิชาการเรียนภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เกี่ยวกับไอน�ำ ้ การเผาไหม้ ความร้อน การประหยัดพลังงาน หรือความแข็งแรงของวัสดุ รวมกัน ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 99


๓.๖ นายจ้างต้องใช้นำ�้ ส�ำหรับหม้อน�้ำที่มีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) น�้ำที่เข้าหม้อนํ้า (Boiler Feed Water) ต้องมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) และค่าความกระด้าง อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับชนิดและประเภทของหม้อน�ำ้ ตามหลักวิชาการด้านวิศวกรรม ้ (Boiler Water) ต้องมีคา่ ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) และมีตะกอนแขวนลอย (๒) น�ำ้ ทีใ่ ช้ภายในหม้อน�ำ และสารละลายอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับชนิดและประเภทของหม้อน�้ำตามหลักวิชาการด้าน วิศวกรรม ๓.๗ ในกรณีทนี่ ายจ้างให้ลกู จ้างท�ำการตรวจสอบหรือซ่อมแซมหม้อน�ำ ้ นายจ้างต้องจัดให้มกี ารระบายอากาศ เพื่อไล่ก๊าซพิษหรือก๊าซไวไฟตลอดเวลา การติดตั้ง การซ่อมบ�ำรุง การซ่อมแซม และการใช้ ๓.๘ ในการติดตั้งหม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบ นายจ้างต้องปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐาน ISO มาตรฐาน ASME มาตรฐาน JIS มาตรฐาน DIN มาตรฐาน TRD มาตรฐาน BS มาตรฐาน EN และตาม หลักวิชาการด้านวิศวกรรม ทั้งนี้ ต้องจัดให้มีวิศวกรเป็นผู้รับรองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๑๑ (ข้อ ๙๐) ๓.๙ ต้องจัดให้มีการซ่อมบ�ำรุงหรือการซ่อมแซมหม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบให้อยู่ในสภาพปลอดภัย ตลอดระยะเวลาที่ใช้งาน ทั้งนี้ ตามมาตรฐานและหลักวิชาการด้านวิศวกรรมตามข้อ ๓.๘ ๓.๑๐ ต้องจัดสถานที่ที่ติดตั้งหม้อน�ำ้ ให้มีลักษณะ ดังนี้ (๑) พื้นที่การท�ำงานและห้องหม้อน�ำ้ ต้องมีทางเข้าออกอย่างน้อย ๒ ทาง มีความกว้างอย่างน้อย ๖๐ เซนติเมตร ความสูงอย่างน้อย ๒ เมตร และปราศจากสิ่งกีดขวางทางเข้าออก (๒) ช่องเปิดทีพ่ นื้ ทีก่ ารท�ำงานต้องมีขอบกันตก และวัสดุกนั ลืน่ ทีพ่ นื้ ทีก่ ารท�ำงาน ขัน้ บันไดและพืน้ ต่างๆ (๓) พืน้ ทีก่ ารท�ำงานต้องมีแสงสว่างอย่างเพียงพอ เครือ่ งวัดต่างๆ และอุปกรณ์ประกอบต้องมีแสงสว่าง ให้เพียงพอที่จะอ่านค่าและควบคุมได้สะดวก (๔) ระบบไฟแสงสว่างฉุกเฉินส่องไปยังทางออก และเครื่องวัดต่างๆ รวมทั้งแผงควบคุมให้เห็นอย่าง ชัดเจนในกรณีไฟฟ้าดับ (๕) ทางเดินต้องไม่มสี งิ่ กีดขวาง ในกรณีทไี่ ม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ ต้องท�ำเครือ่ งหมาย ทาสีหรือใช้เทป สะท้อนแสง ติดไว้ให้เห็นได้อย่างชัดเจน (๖) ฐานรากที่ตั้งของหม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบที่มั่นคงแข็งแรงและทนต่อแรงดันและแรงกด การออกแบบและค�ำนวณให้เป็นไปตามหลักวิชาการด้านวิศวกรรม (๗) ปล่องควันและฐานที่มั่นคงแข็งแรง เป็นไปตามหลักวิชาการด้านวิศวกรรม (๘) จัดให้มีฉนวนกันความร้อนหุ้มหม้อน�้ำ ลิ้นจ่ายไอน�้ำ ท่อจ่ายไอน�้ำ ถังพักไอน�้ำ ถังเก็บน�้ำร้อน ปล่องไอเสีย ท่อทีต่ อ่ จากหม้อน�ำ ้ และอุปกรณ์ประกอบทีม่ คี วามร้อนซึง่ ติดตัง้ อยูใ่ นระดับหรือบริเวณ ที่ลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานอาจได้รับอันตรายได้

100 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓.๑๑ ในกรณีหม้อน�ำ้ ที่สูงเกิน ๓ เมตรจากพื้นถึงเปลือกหม้อน�้ำด้านบน นายจ้างต้องจัดท�ำบันไดและทางเดิน เพือ่ ให้ผคู้ วบคุมหม้อน�้ำซ่อมแซมหรือเดินได้สะดวกปลอดภัย พร้อมจัดให้มรี าวจับและขอบกันตก และพืน้ ทีก่ ารท�ำงาน ทุกชั้นจะต้องจัดให้มีทางเข้าออกอย่างน้อย ๒ ทาง การควบคุม ๓.๑๒ ต้องจัดให้มีการทดสอบและรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อน�ำ้ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยวิศวกร หรือผู้ได้รับอนุญาตพิเศษให้ทดสอบหม้อน�ำ้ ได้ แล้วแต่กรณีตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร แล้วเก็บเอกสารรับรองความ ปลอดภัยในการใช้หม้อน�ำ้ ไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ เว้นแต่หม้อน�ำ้ ทีม่ อี ตั ราการผลิตไอน�ำ้ เครือ่ งละตัง้ แต่ ๒๐ ตันต่อชั่วโมงขึ้นไปอาจขยายระยะเวลาการทดสอบและรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อน�ำ้ เกินกว่า ๑ ปี แต่ไม่ เกิน ๕ ปี หากปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๑๒ (ข้อ ๙๔) เอกสารรับรองความปลอดภัย ในการใช้หม้อน�้ำให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ๑๓ (ข้อ ๙๔ วรรค ๒) ้ ทีอ่ าจมีผลกระทบต่อความแข็ง ๓.๑๓ การซ่อมแซมหรือการดัดแปลงหม้อน�ำ้ หรือส่วนหนึง่ ส่วนใดของหม้อน�ำ แรงของหม้อน�้ำหรือความปลอดภัยในการใช้หม้อน�้ำ นายจ้างต้องจัดให้มีวิศวกรท�ำหน้าที่ออกแบบ ควบคุม ทดสอบ และรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อน�ำ้ ก่อนใช้งาน แล้วเก็บเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อน�ำ้ ไว้เพื่อ ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ สรุปการท�ำงานกับหม้อน�้ำ • ขั้นตอนและวิธีการท�ำงานในการควบคุมหม้อน�้ำ • ผู้ควบคุมต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด • มีการตรวจสอบอุปกรณ์นิรภัยของหม้อน�ำ้ • รับรองผลโดยวิศวกร • พื้นที่ปฏิบัติงานต้องปลอดภัย มีทางเข้าออก ๒ ทาง หม้อน�้ำที่สูงเกิน ๓ ม. ต้องมีทางเดินที่ไม่ลื่น มีราว กันตก พื้นทางเดินมีขอบกันตก (toe board) • มีแสงสว่างเพียงพอ ไฟฉุกเฉินต้องส่องไปยังแผงควบคุมและเกจวัดความดัน หมวด ๔ การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ๔.๑ ต้องจัดให้สภาพแวดล้อมในการท�ำงานของสถานประกอบกิจการอยูใ่ นลักษณะทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจ้าง หากนายจ้างไม่สามารถด�ำเนินการป้องกันแก้ไขอันตรายได้ นายจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่สามารถป้องกันอันตรายนั้นให้ลูกจ้างสวมใส่ ๔.๒ ต้องจัดและดูแลให้ลูกจ้างใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับ ประเภทและชนิดของงาน ตลอดเวลาที่ทำ� งาน ดังต่อไปนี้ (๑) งานเชือ่ มหรือตัดชิน้ งานด้วยไฟฟ้า ก๊าซ หรือพลังงานอืน่ ให้สวมถุงมือผ้าหรือถุงมือหนัง กระบังหน้า ลดแสงหรือแว่นตาลดแสง รองเท้านิรภัย และแผ่นปิดหน้าอกกันประกายไฟ (๒) งานลับ ฝน หรือแต่งผิวโลหะด้วยหินเจียระไน ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรือหน้ากากชนิดใส ถุงมือผ้า และรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 101


(๓) งานกลึงโลหะ งานกลึงไม้ งานไสโลหะ งานไสไม้ หรืองานตัดโลหะ ให้สวมแว่นตาชนิดใส หรือหน้ากากชนิดใส ถุงมือผ้า และรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น (๔) งานปั๊มโลหะ ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรือหน้ากากชนิดใส ถุงมือผ้า และรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น (๕) งานชุบโลหะ ให้สวมถุงมือยางและรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น (๖) งานพ่นสี ให้สวมที่กรองอากาศส�ำหรับใช้ครอบจมูกและปากกันสารเคมี ถุงมือผ้า และรองเท้า พื้นยางหุ้มส้น (๗) งานยก ขนย้าย หรือติดตั้ง ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือผ้า และรองเท้านิรภัย (๘) งานควบคุมเครื่องจักร ให้สวมหมวกนิรภัยและรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น (๙) งานปั้นจั่น ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือผ้าหรือถุงมือหนัง และรองเท้านิรภัย และในกรณีปั้นจั่น หอสูง ให้สวมใส่เข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพด้วย (๑๐) งานหม้อน�้ำ ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรือหน้ากากชนิดใส ปลั๊กลดเสียงหรือครอบหูลดเสียง ชุดป้องกันความร้อนหรืออุปกรณ์ป้องกันความร้อน และรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น นอกจากอุปกรณ์ที่ก�ำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้นายจ้างจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลอื่นให้ ลูกจ้างตามความเหมาะสมกับลักษณะงานและอันตรายที่อาจเกิดกับลูกจ้างด้วย ลูกจ้าง เครื่องจักร - ต้องได้มาตรฐาน - ต้องมีความช�ำนาญ - ต้องผ่านการอบรม - ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย - ต้องได้รับการตรวจสอบและทดสอบ - ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

102 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


การออกแบบการยศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ การยศาสตร์ เป็นเรื่องของการใช้ท่าทางที่เหมาะสมในการท�ำงาน ซึ่งเกิดจากการท�ำงานต่อเนื่องเป็นเวลานาน ดังนั้น เราควรหาวิธีการ หรือมาตรการที่เหมาะสมมาใช้ในการปฏิบัติเพื่อความปลอดภันในการท�ำงาน ในปัจจุบันอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรหรือสถานีงานไม่ได้ใช้หลักการยศาสตร์ในการออกแบบมีอยู่จ�ำนวน มาก เช่น คอมพิวเตอร์แบบพกพา หรืออุปกรณ์ที่ใช้งานด้วยมือต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นผู้ใช้งานส่วนใหญ่มักจะมีปัญหา ทางด้านการยศาสตร์ในการท�ำงาน ซึ่งประกอบด้วยระบบงาน ๔ ระบบคือ ๑. พนักงาน ๒. อุปกรณ์ (แป้นพิมพ์ เม้าส์ จอภาพ ฯลฯ) ๓. สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ๔. องค์ประกอบของงานที่ท�ำ (งานพิมพ์เอกสาร งานคีย์ข้อมูล ฯลฯ) โดยองค์ประกอบทั้งหมดนี้จะต้องมีความสัมพันธ์กัน ดังนั้นเราควรออกแบบ สร้างและปรับปรุงระบบงาน รวมถึงองค์ประกอบให้เหมาะสมกับบุคคล ปัญหาการยศาสตร์ที่เกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ สามารถจัดเป็นอันดับได้ดังนี้ ๑. ปัญหาการปวดหลังส่วนล่าง ๒. ปัญหาการปวดคอและไหล่ ๓. ปัญหาการปวดข้อมือ แขนและขา ทั้งนี้สาเหตุการเกิดปัญหาทางการยศาสตร์ก็มีหลายประการแต่สาเหตุหลักๆ อาจเกิดจากการแสดงออก ทางท่าทางที่ไม่ถูกหลัก ดังนั้นท่านั่งที่เหมาะสมในการท�ำงานหน้าคอมพิวเตอร์ ควรมีท่าทางดังนี้ • หัวตั้งตรง ก้มเล็กน้อย ระดับสายตาจะอยู่ระดับเดียวกับขอบด้านบนของจอคอมพิวเตอร์ • ระยะการมองจะอยู่ระดับประมาณ ๔๐-๖๐ เซนติเมตร • หลังตรงหรือเอนไปด้านหลังเล็กน้อย • นั่งโดยไม่บิดหรือเอี้ยวตัว • แขนท่อนบนห้อยลงขนานล�ำตัวและแขนท่อนล่างจะต้องขนานกับพื้น • ขาท่อนล่างตั้งฉากกับพื้นและขาท่อนบนขนานกับพื้น • เท้าทั้งสองข้างวางขนานกับพื้น

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 103


โดยส่วนใหญ่แล้ว การทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านมีทา่ นัง่ ทีไ่ ม่เหมาะสม มีสาเหตุ คืออุปกรณ์มกี ารออกแบบทีไ่ ม่ถกู ต้อง การปรับเบาะที่นั่งและจอภาพไม่เหมาะสมกับผู้ใช้งาน และพฤติกรรมการใช้งานมีลักษณะที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่ง ท้าวคางขณะท�ำงาน การนั่งขัดสมาธิบนเก้าอี้ เป็นต้น ส่วนท่านั่งในการใช้งาน Notebook ควรมีท่าทางดังนี้ ๑. หัวตั้งตรงและก้มเล็กน้อย ๒. ระยะห่างจากจอประมาณ ๓๘-๖๒ เซนติเมตร ๓. แขนท่อนบนยื่นไปข้างหน้าเล็กน้อย ๔. ไม่วางแขนบนพื้นโต๊ะ ๕. วาง Notebook ชิดขอบโต๊ะด้านหน้า ส�ำหรับอุปกรณ์เสริมที่จำ� เป็นต้องมีใช้ เพื่อให้การท�ำงานนั้นปลอดภัยกับผู้ทำ� งานมากยิ่งขึ้น คืออุปกรณ์ ที่ปรับระดับจอภาพ ปรับระดับแป้นพิมพ์และเม้าส์ เบาะรองนั่งเสริม ที่ส�ำหรับวางเอกสารและที่วางเท้า เป็นต้น นอกจากต้องมีท่าทางการท�ำงานที่ดีแล้วยังต้องปฏิบัติตัวขณะท�ำงานกับคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องด้วย ซึ่งข้อควรปฏิบัติ ในการท�ำงานอย่างเหมาะสมนั้น มีดังนี้ • ไม่ควรท�ำงานหน้าคอมพิวเตอร์นานเกิน ๒ ชั่วโมงติดต่อกัน • ท�ำงานอื่นสลับกับงานคอมพิวเตอร์ • ขณะพูดโทรศัพท์ไม่ควรท�ำงานคอมพิวเตอร์ • ถ้าจ�ำเป็นต้องพูดโทรศัพท์และท�ำงานไปด้วยให้ใช้อุปกรณ์เสริมเข้ามาช่วย • ถ้าต้องมองเอกสารเป็นเวลานานๆ ให้วางเอกสารบนที่วางและควรวางตรงหน้า • ระหว่างหยุดพักไม่ควรนั่งอยู่กับที่ แต่ให้พยายามเคลื่อนไหวร่างกาย

104 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ประชาพิจารณ์ ร่างประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ตามกฎหมาย เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน�้ำ โดย รศ.วิชัย พฤกษ์ธาราธิกุล และคณะ

เดิมกฎหมายมาจากประกาศกระทรวงมหาดไทย ๓ ฉบับ เครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน�้ำ ได้ท�ำการปรับปรุง จากประกาศเหล่านี้ ให้เป็นกฎกระทรวง ก็มีความคิดเห็นที่ไม่เห็นด้วย เพราะกฎกระทรวงควรเป็นกรอบใหญ่ แต่เอา รายละเอียดมาเป็นกฎกระทรวง จุดมุ่งหมาย ๑. เพื่อยกระดับความปลอดภัยให้เพิ่มขึ้น ๒. สามารถน�ำไปปฏิบัติได้ ๓. สอดคล้องกับนานาประเทศ ในส่วนของเครื่องจักร จะเป็นพวกที่มีอันตรายทั่วๆไป แต่ปั้นจั่นและหม้อน�้ำ เป็นเครื่องจักรที่มีอันตรายค่อน ข้างสูง แต่ทั้งหมดก็คือเครื่องจักร อาจออกกฎหมายลูกเป็นเครื่องจักรที่อันตรายสูงย่อยๆ อีกทีก็ได้หากมีเพิ่มเติม กระทรวงอุตสาหกรรม มีกฎหมายเกี่ยวกับหม้อน�้ำออกมาบังคับใช้แล้วประมาณ ๓-๔ ปีที่ผ่านมา กระทรวง แรงงานก็พยายามที่จะออกให้สอดคล้องกับกฎหมายเดิมที่เค้ามีอยู่ ไม่ชัดแย้งกัน เช่น ปั้นจั่นในกฎหมายเก่าให้ตรวจ ทุก ๓ เดือน แต่กฎหมายใหม่ ให้ตรวจปีละหนึ่งครั้ง ท�ำไม concept ก็คือ ถ้าความปลอดภัยไม่ลด ควรเพิ่มการตรวจ ในโรงงาน ลดการตรวจจากวิศวกรลง ปลายปีจะออกกฎหมายลูก อีก ๓-๔ ฉบับ และปีหน้าจะพยายามออกที่เหลือให้หมด ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา สถิติผู้ประสบอันตรายในปี ๒๕๕๒ สาเหตุจาก • เครื่องจักร ๖๒% (๙๓๑๕๑ ราย) • สาเหตุอื่นๆ ๓๘% (๔๖๒๘๕ ราย)

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 105


ข้อ ๕ ประเด็นที่ ๑ เครื่องจักรทั่วไป ด้านวิศวกรรม เช่น ประกอบ ติดตั้ง ซ่อมแซม ใช้งาน ด้านการจัดการ ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๒ ข้อ ๖ การตรวจสอบเครื่องจักร ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๓ ข้อ ๙ เกี่ยวกับผู้ปฏิบัติงาน ความช�ำนาญงาน ผ่านการอบรม การใช้เครื่องปั๊ม เครื่องเชื่อม อื่นๆ ตามที่อธิบดี ประกาศก�ำหนด ประเด็น ๔ ข้อ ๓๐ เครื่องเชื่อมไฟฟ้าและก๊าซ การดูแลถังบรรจุก๊าซ ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๕ ข้อ ๓๖ ผู้ขับขี่รถยกต้องผ่านการอบรม ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๖ ข้อ ๕๐ ปั้นจั่น การทดสอบปั้นจั่นปีละครั้ง ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๗ ข้อ ๖๐ ปั้นจั่น ต้องมีคู่มือการให้สัญญาณ ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๘ ข้อ ๖๖ ปั้นจั่น ผู้บังคับ, ผู้ยึดเกาะ, ผู้ควบคุม, ผู้ให้สัญญาณ ต้องผ่านการอบรม ทบทวนการปฏิบัติ (Refresh) ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๙ ข้อ ๘๓ หม้อน�้ำ มาตรฐานที่สากลก�ำหนด หรืออื่นๆ ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๑๐ ข้อ ๘๔ หม้อน�ำ ้ ที่ผ่านการใช้งานแล้วน�ำมาติดตั้งใหม่ ตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๑๑ ข้อ ๘๗ (๑) ผู้ควบคุมหม้อน�้ำต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งตามประกาศก� ำหนด และต้องผ่านการอบรม ตามประกาศก�ำหนด ประเด็น ๑๒ ข้อ ๙๐ ๘ มาตรการต้องมีวิศวกรรับรอง ตามอธิบดีประกาศก�ำหนด ประเด็น ๑๓ ข้อ ๙๔ การทดสอบ รับรอง ข้อยกเว้น ตามที่จะประกาศก�ำหนด มีทั้งหมด ๑๓ ประเด็น ที่จะประกาศก�ำหนดต่อไป

106 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๙๙.๙ % ไม่เคยใช้สญ ั ญาณมือ ส่วนใหญ่นา่ จะปฏิบตั ไิ ม่ได้กนั จึงน่าจะท�ำเป็นซีดี แต่ยงั หาเจ้าภาพไม่ได้ เจตนารมณ์ ของกฎหมาย น่าจะมีการท�ำประชาพิจารณ์ก่อน ในบ้านเรามีกฎหมายป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยมาหลายปีแล้ว ในการเป็นประเทศอุตสาหกรรมการเกษตร NIC ความปลอดภัยต่อสาธารณชน เรายังไม่มี กฎหมายแม่ Public Safety เช่น ปัน่ จัน่ ในการสร้างรางรถไฟฟ้า ความปลอดภัยในการท�ำงานต่อสาธารณะ ยังไม่มี วัตถุ อันตราย ไวไฟ รถวิ่งส่งใน กทม. ๒๔ ชม. สิ่งที่เกิดตามมาอาจรถคว�ำ ่ อันตราย และเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว ถ.เพชรบุรี รถ บรรทุกก๊าซระเบิด เครน วัตถุอันตราย วัตถุติดไฟ Public Safety ยังไม่มี กฎหมายแม่ แต่ก�ำลังผลักดันกฎหมายย่อย ถ้าถังก๊าซ ล้ม หัวข่วนอาจหลุด พุ่งเป็นตอปิโดเล็กๆ ได้ การประยุกต์ เช่น รถส่งน�ำ้ มันเบนซินล้างสะอาดแล้วแต่ก็มีผลได้เวลา เชื่อมแล้วอาจเกิดการระเบิด องค์ประกอบท�ำให้เกิดปัญหา ๑. เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ ๒. ตัวคน สองสิ่งนี้เป็นตัวหลักที่ทำ� ให้เกิดปัญหา สภาพแวดล้อมหรือสภาพการท�ำงานก็เป็นสิ่งส�ำคัญ เป็นตัวส่งเสริม ให้เกิดปัญหาได้เช่นกัน เครื่องจักรทั่วไป กลึง ไส กัด ตัด เจาะ เซาะร่อง คว้าน เครื่องจักรอันตราย ปั๊ม อัคคีภัยมักเกิดกับเครื่องเชื่อมก๊าซ และไฟฟ้า หินเจียร ก็เกิดประกายไฟเกิดอัคคีภัยได้ง่าย ข้อก�ำหนด ๓ ข้อ • วิศวกรขึ้นทะเบียน มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มีความช�ำนาญ ความรู้ตรงเฉพาะเรื่อง ไม่ต้องเป็นภาคี วิศวกร เป็นสามัญก็ได้ • การตรวจสอบ ตรวจด้วยสายตา เป็นต้น • การทดสอบ ทดลอง ท�ำงานจริง เช่น ทดสอบการยกน�้ำหนักจริง - การท�ำงานต้องมีการปกป้องลูกจ้าง - เมื่อมีการติดตั้ง ซ่อม ตรวจทดลอง ทดสอบประจ�ำปี นายจ้างต้องรับผิดชอบ - เอกสารเก็บไว้ที่โรงงานพร้อมตรวจ - Guard คือ เครื่องป้องกันอันตราย จะเป็นไม้อันเดียวก็ได้ - เครือ่ งเชือ่ มไฟฟ้า ก๊าซ จุดวาบไฟ ติดไฟง่าย เคมีทตี่ ดิ ไฟง่าย ฝุน่ ละออง ผ้าฝ้าย มีประกายไฟ ไหม้งา่ ย

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 107


สรุป อุบัติเหตุ ๖๒% จากเครื่องจักรเป็นสถิติที่น่ากลัว การตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ในโรงงานด�ำเนินการได้ การทดสอบ ต้องกระท�ำโดยวิศวกรที่มีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม การตรวจสอบ โดยวิศวกรรมเครื่องกล พิจารณาตรวจสอบ ตรวจอาคาร คนที่พิจารณาตรวจสอบ คือวุฒิวิศวกรเท่านั้น การตรวจสอบสภาพทั่วๆ ไป จะไม่เข้าข่ายพิจารณาตรวจสอบ ข้อ ๔ หรือ ๕ พิจารณาตรวจสอบทางด้าน ผู้ช�ำนาญการ มีวิเคราะห์ วินิจฉัย ให้วิศวกรเข้ามารับผิดชอบ เช่น รับรองงาน ทดสอบ หลายเรื่อง ให้สอดคล้องกับ การทดสอบระบบสากลทัว่ ๆ ไป และต้องผ่านการศึกษาตามหลักสูตรทีส่ ภาวิศวกรรมรับรอง คือ การสอบ อบรม ไม่ใช่ วิศวกรทั่วๆ ไป ปัจจุบัน มีวิศวกรที่จบมาแล้วได้แต่ใบปริญญา ๕๐% แต่สอบใบประกอบวิชาชีพจากสภาวิศวกรรมไม่ได้ ภาคี สามัญ วุฒิ การเลื่อนขั้นต้องมีการทดสอบ ปัจจุบันคนจบวิศวกรรม ทั้งหมดประมาณสามแสนคน สอบได้ใบอนุญาตประมาณหนึ่งแสนคน (ภาคี วุฒิ สามัญ) ทุกคนต้องปฏิบัติตามกรอบของสภาวิศวกร ซึ่งงานมี ๖ ลักษณะงาน วุฒิวิศวกรสามารถปฏิบัติงานได้ทั้ง ๖ ลักษณะ แต่ จรรยาบรรณ บอกว่า “วิศวกรต้องไม่ปฏิบัติงาน เกินความสามารถ ต้องปฏิบัติตามหลักวิชาการ กฎหมาย มาตรฐานวิศวกรรมที่เป็นที่ยอมรับ” สรุปว่า พิจารณาตรวจสอบ ไม่เท่ากับ การตรวจสอบ และการพิจารณาตรวจสอบต้องเป็นไปตามข้อก�ำหนด ของสภาวิศวกร โดยลักษณะงาน ๖ ลักษณะ ที่สามารถท�ำได้ งานลักษณะที่ ๕ คือ พิจารณาตรวจสอบเครื่องมือโดย ผู้ชำ� นาญการพิเศษ หรือวุฒิวิศวกร ปัจจุบัน มีวิศวกรระดับ ภาคี , สามัญ, วุฒิ ซึ่งมีวุฒิวิศวกรแค่ ๒% ของวิศวกรทั้งหมด วิศวกรสามแสนคน สอบใบประกอบวิชาชีพได้แค่หนึง่ แสนคน แต่อกี ทีเ่ หลือทีส่ อบไม่ผา่ น สามารถท�ำงานได้แต่ต�่ำกว่าทีส่ ภาวิศวกรก�ำหนด การทดสอบ เป็นสากลที่ทำ� อยู่แล้ว เน้น จรรยาบรรณ อาจไม่ใช่เป็นกฎหมาย อาจเป็นเรื่องของคนต้องการ กระท�ำด้วยจิตใจ แต่อาจไม่ผิดกฎหมาย แต่ผิดจรรยาบรรณ อาจโดนยึดใบประกอบวิชาชีพวิศวกร ท�ำงานด้านนี้อีก ไม่ได้ นอกจากงานด้านอื่น นายจ้าง อาจติดคุกถ้าไม่ปฏิบัติ ลูกจ้าง อาจเจ็บป่วยได้ถ้าไม่ระวัง เมือ่ ก่อนเรามีกฎหมายความปลอดภัย ๒๒ ฉบับ หลังๆ มี ๑๘ ฉบับ ในปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙ กระทรวงมหาดไทยแก้ไข ๘ ฉบับ แก้ไขไม่ทันอีก ๔ ฉบับ จึงเป็นกฎกระทรวง ๑๓ ฉบับ

108 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นายจ้างมี จป.วิชาชีพ เมือ่ ก่อนอาจไม่ได้ใช้งานจริง แต่ปจั จุบนั ต้องท�ำงานจริงมีหลายฝ่ายต้องเข้าไปตรวจตรา พนักงานตรวจความปลอดภัย ดูแลคุ้มครองแรงงาน ความปลอดภัย นักกฎหมาย นักอาชีวอนามัย วิศวกร ปัจจุบัน มีโรงงาน ๘๕๐,๐๐๐ แห่ง แต่มีพนักงานตรวจแรงงานแค่ ๕๐๐ ท่านเท่านั้น ฝ่ายนายจ้างอาจติดคุก ลูกจ้างอาจเจ็บ ตัว ในฐานะนายจ้างต้องยอมรับ ๕๓ ปี แล้วเรายังไม่มี พรบ. เลย เขมร ลาว เพื่อนบ้านเรามีแล้ว จป.ทุกระดับถ้าไม่ทำ� อาจติดคุกได้ ปั้นจั่น เครื่องจักร หม้อน�้ำ โรงงานใหญ่ กลาง เล็ก มีหมด เครน รถยก เชื่อมก๊าซและไฟฟ้า ควรยกเลิก ควรจะมีการทดสอบ ตรวจสอบจริงๆ Boiler กฎหมายของกระทรวงแรงงานก็มีกระทรวงอุตสาหกรรมก็มี ผู้ใช้งง โรงพยาบาล โรงเรียน ก็ใช้หม้อ น�ำ้ ในตึก ถ้าระเบิด ตึกอาจถล่ม ต้องดูว่าหม้อน�ำ้ แบบใด ความร้อนไม่เยอะแตกและระเบิดไม่แรง ใช้เชื้อเพลิงแบบไหน ถ้ามีก็ควรเลือกควรใช้หม้อน�ำ้ มักอยู่ใกล้ห้องครัว ซักรีด ห้องควบคุมไฟฟ้า ถ้าระเบิดอันตราย ตึกถล่ม ้ ให้มวี ฒ ุ บิ ตั ร มีหนังสือรับรองถูกต้อง ให้ผคู้ วบคุม จบ ปวส. มาควบคุมได้จริง ต้องจัดอบรมผูค้ วบคุมหม้อไอน�ำ ส�ำหรับโรงงานที่ลงทุน มาเช่าที่อยู่ เช่าเครื่องจักร พอเลิกกิจการก็กลับไป ผิดกฎหมาย เสี่ยงอันตราย ไม่ ต้องรับผิดชอบ โรงงาน ๑๔ ประเภท แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มงานได้แก่ กลุ่มประเภท ๑ ปิโตรเคมิคอล ประเภท ๒-๕ การผลิต, ปั๊มน�้ำมัน, ก่อสร้าง ประเภท ๖-๑๔ โรงแรม ในอนาคต จป.วิชาชีพ อาจไม่เกี่ยวกับโรงแรม แต่ต้องมี จป.หัวหน้างาน การเช่าสถานที่ควรท�ำอย่างไร ไม่ขัดต่อความสูญเสียแก่ผู้ให้เช่า และใครเป็นนายจ้าง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ถ้ามีพนักงานน้อยกว่า ๕๐ คน ต้องมี จป.บริหาร และหัวหน้างาน, ๕๐-๙๙ คน ต้องมี จป.เทคนิคขั้นสูง, ๑๐๐ คนขึ้นไป ต้องมี จป.วิชาชีพ ดังนั้น - ควรแจ้งเตือนผู้ประกอบการ เรื่องกฎหมายใหม่ - มอบให้ จป. ท�ำงาน - ปั้นจั่นแบบไหน ควรตรวจอย่างไร - กฎหมายกระทรวงอุตสาหกรรม และกฎหมายแรงงาน มีปัญหาความซ�ำ้ ซ้อนกัน - หม้อน�ำ้ อันตราย เชื้อเพลิงติดไฟ ระเบิด - โรงงาน ๑๔ ประเภท แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม ๑ ปิโตร, ๒ ผลิต, ๓ บริการ ควรพิจารณาด�ำเนินการแยกแบบ ประเภท

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 109


เช่น การทดสอบปั้นจั่น แบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ ๑. ถ้าใช้ในงานก่อสร้าง พิกัดยกไม่เกิน ๓ ตัน ทดสอบทุก ๖ เดือน แต่ถ้ามี ๓ ตันขึ้นไป ทดสอบ ทุก ๓ เดือน ตามกฎหมายเดิม ๒. นอกเหนือจากงานก่อสร้าง พิกัดยก ๑-๓ ตัน ทดสอบทุก ๑๒ เดือน หรือปีละครั้ง และพิกัดยก มากกว่า ๓ ตัน ทดสอบทุก ๖ เดือน ซึ่งกฎหมายเดิมไม่ว่าจะเป็นลักษณะใดตรวจทุก ๓ เดือน นายจ้างอาจจะมองว่า ดี ยืดหยุ่นได้ แต่ลูกจ้างอาจม องว่า เสี่ยงไป แต่การ Inspection ผู้ควบคุมปั้นจั่น ผู้ใช้งาน ต้อง Inspection เป็นรายวัน รายเดือน เราก�ำลังสร้าง รายละเอียดว่าวิศวกรต้องทดสอบอะไรบ้าง หลักสูตรอบรม ผู้ควบคุม อาจจะ ๑๒ ชั่วโมง ผู้ให้สัญญาณ ๖ ชั่วโมง ให้ผู้ประกอบการแต่ละแห่งสามารถ จัดได้ตามหลักสูตรก�ำหนด ๖ ชั่วโมงการเรียนรู้ แต่ตอนปฏิบัติ ก�ำหนด station ให้ ถ้าผ่าน ให้ใบรับรอง ไม่ต้องอบรม เช่น การขับรถยก มีแต่สนามทดสอบเลย ใช้รูปแบบของการขนส่งทางบก สัญญาณต่างๆ เราหาของเดิมที่มีมาปรับปรุงให้เหมาะสมขึ้น ๘๐% เหมือนในกฎหมายนี้ แต่ ๒๐% ต่างไป หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบปั้นจั่น ข้อ ๓ (๑) ในร่างประกาศกรม - ตรวจสอบ (Inspection) - ทดสอบ (Testing) งานก่อสร้าง - น้อยกว่า ๓ ตัน ๖ เดือนครั้ง - มากกว่า ๓ ตัน ๓ เดือนครั้ง แต่ไม่ทดสอบไม่ได้ ถ้านอกเหนือจากนี้ ๑ ครั้งต่อปี เพราะงานก่อสร้างมันเสี่ยงพอสมควร เพราะต้องย้ายไป ติดตั้งที่อื่นบ่อย อุบัติเหตุมากกว่าปั้นจั่นอยู่กับที่ในโรงงาน ข้อ ๓ (๒) ปั้นจั่นใช้งานอื่นๆ - ๑-๓ ตัน ปีละ ๑ ครั้ง - มากกว่า ๓ ตัน ทุก ๖ เดือน การเกิดอุบัติเหตุมากกว่า กรณีที่ผู้ผลิตไม่ได้ก�ำหนดน�้ำหนัก ต้องมีวิศวกรเครื่องกล เป็นไปตาม พรบ.วิศวกรรม มีใบอนุญาต ให้ขึ้น ทะเบียนกับกรม ว่ารู้เรื่องปั้นจั่นหรือไม่ เป็นผู้ก�ำหนดโดยมีหลักฐานตรวจสอบได้ การตรวจสอบปั้นจั่น รายละเอียดในท้ายประกาศนี้ ลงนามโดยวิศวกรเครื่องกล ที่ขึ้นทะเบียนกับกรม ข้อ ๓ (๔)

110 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ถ้าหยุดใช้งานเกิน ๖ เดือน ซ่อมแซมส่วนที่มีผลต่ออุปกรณ์ความปลอดภัยของปั้นจั่น เอาบู๊ทไปแก้ แตกร้าว รอก เพลา สลัก เปลี่ยนแล้ว ไม่ได้มาตรฐานไหม ต้องทดสอบตามรายละเอียด ข้อ ๓ (๕) การด�ำเนินการตรวจสอบต้องมีหลักฐานที่ชัดเจน โดยวิศวกรเครื่องกลขึ้นทะเบียนกับกรม การด�ำเนินการทดสอบ เอกสารหลักฐานที่ต้องมี - ถ่ายภาพวิศวกรท�ำการทดสอบ - แบบรับรองความปลอดภัย ปั้นจั่น อันเก่ามี คป.๑ คป.๒ อาจออกแบบฟอร์มใหม่รวมกัน - ใบประกอบวิชาชีพ วิศวกรรม (สภาวิศวกร) - ใบขึ้นทะเบียนผู้ทดสอบปั้นจั่น - รับรองส�ำเนาถูกต้อง ข้อ ๔ (๑-๒) วิธีการตรวจ - ทดสอบการรับน�ำ้ หนัก (Load test) • ถ้าเครื่องใหม่ ๑-๑.๒๕ เท่า ของพิกัดผู้ผลิตก�ำหนด Load test เช่น ยก ๑๐ ตัน ดูว่าได้ ไหม ลดลงไหม วิธีการใช้งานจริงก็ไม่ควรรับ Max Load เวลาท�ำงานจริง ผิดหลักปฏิบัติ • เครื่องเก่า ๑.๒๕ เท่าของการใช้งานสูงสุด แต่ไม่เกินกว่าที่ออกแบบไว้ น�ำ้ หนักที่ใช้ในการยก - น�้ำหนักจริง ที่เราใช้ยกเลยก็ได้ - น�้ำหนักจ�ำลอง (Load cell) การตรวจสอบแนวเชื่อม - พิจารณาด้วยตา เช่น รอยแตกร้าว รอยเชื่อม - ใช้สารแทรกซึม Liquid permit test ฉีดทิ้งไว้ ดูรอยแตก - ใช้คลื่นเสียง - ใช้คลื่นความถี่ ภาพในการทดสอบ - Load test - ส่วนประกอบที่ใช้ในการยก - รอก เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ - โซ่ สลิง - รางวิ่ง - ส่วนที่ส่งถ่ายก�ำลังยก เฟืองขับ บูเลย์ เฟืองโซ่ สายพาน - การสึกหรอ การหล่อลื่น - ตัวล็อค ปล่อยต้องนิ่ง - Limited Switch

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 111


- เบรก มีหลายชนิด (Dis-break ระบบไฟฟ้า, Drum-break ระบบ Mechanic) ดูความหลวมคลอนด้วย - รางล้อ รอบวิ่งบนล้อ ๔ ล้อ ต้องมี Diameter ใกล้เคียงกันมากสุด แตกต่างกันไม่เกิน ๐.๕ mm ถ้าเอียงอาจร่วงได้ทั้งเครน - Sling ปลายไม่น่าหลุด ยึดกับตัว Drum ห้ามเชื่อม ใช้สกรูยึดเท่านั้น ต้องมี Sling ม้วนอยู่ในรอบ อย่างน้อย ๒ รอบ การใช้เครื่องมืดวัด ให้ถูกต้อง เช่น วัดสลิงจากสันไปสัน Ten side matching ดูว่า Factor ตกไหม - Slide, Lock hones, Load test - ดูคาน แอ่นตัวเท่าไหร่ เกินกว่าค่าที่บริษัทผู้ผลิต design ไหม ไม่เกิน ๑:๘๐๐, ๑:๙๐๐ - ปั้นจั่น ขนาดใหญ่ ๆ ๓ เดือนครั้ง ที่ทำ� การทดสอบ Load test, เลื่อนรอกซ้าย ขวา ดูการยุบตัว เท่าไหร่ อาจใช้ piano wire ว่ามันแอ่นลงมากเท่าไหร่ ควรจะมีการตรวจสอบทีล่ ะเอียด จริงจังมากขึน้ ๓ เดือน ๖ เดือนครัง้ มีเหตุผลรองรับในการตรวจ และทดสอบ สภาวิศวกรรมควบคุม - โยธา - ไฟฟ้า - เครื่องกล - อุตสาหกรรมเหมืองแร่ - สิ่งแวดล้อม - เคมี ถ้าเป็น Sell ขายสินค้า ก็ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ปั้นจั่น กับเครื่องตอกเสาเข็ม ไม่เหมือนกัน ผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาต ได้รบั การทดสอบมาแล้ว ได้รบั การรับรองโดยสภาวิศวกร ว่าสามารถปฏิบตั วิ ชิ าชีพได้ถกู ต้อง เริ่มประชาพิจารณ์ คุณสุรศักดิ์ ซ่อนกลิ่น - รถปั้นจั่น มี Limited switch ซึ่งแบบฟอร์มตรวจเก่าไม่มีรายละเอียดนี้ - รูปแบบการให้สัญญาณ รถปั้นจั่น ทาวเวอร์เครน ไม่เห็นว่ารูปแบบไหน ไม่มีใครใช้ (ตอบว่า เบื้องต้น ได้บอกไปแล้วว่าคนใช้น้อยมากเพราะ ๙๙.๙% ไม่มีคนใช้) - ข้อ ๒,๓ (๗) เดิมทีประกาศกระทรวงมหาดไทย ก�ำหนดในโรงงานเท่านั้น ติดตั้งบนฐานที่มั่นคงโดยมี วิศวกรรับรอง (ตอบว่ารวมด้วยคือดูที่ตัวรถมั่นคงไหม) - เกณฑ์อบรม แต่เราเสียสตางค์ไปแล้วท�ำอย่างไร (ตอบว่า อาจจะมีการทดสอบเลย ไปสอบอย่างเดียว อบรมอาจ ไม่ตอ้ ง) - การสอบสอบสลิง เส้นเล็ก ๓ เส้นขาดใน ๑ ช่วงเกลียว แล้วลวดเส้นใหญ่ เทียบกันได้หรือไม่ - สัญญาณ riker ก�ำมือ เค้ารู้ก็คือหยุด แต่เท่าที่ดูในกฎหมายไม่เหมือนจะเกิดการสับสนไหม

112 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


อ.พิพัฒน์ ข้อเสนอแนะที่กล่าวมา จะรับไว้พิจารณา แบบตรวจอาจจะเพิ่มเติม Limited switch มีแน่นอนในของใหม่ กฎหมายเก่าไม่นำ� มาใช้แล้ว เราผลักภาระให้วิศวกรเป็นผู้รับผิดชอบมากขึ้น สหภาพแรงงานนิตสัน Forklift แรกใช้น�้ำมัน ปัจจุบันใช้ไฟฟ้าต้องชาร์ตแบตเตอรี่ และพัฒนามาใช้แก๊ส เข้าไปวิ่ง มีรถดีกว่านี้ไหม ที่ปลอดภัย (ก็ใช้งานได้ปลอดภัยระดับหนึ่ง) สภาอุตสาหกรรม - กฎหมายดีหมด ต้องมีการบังคับใช้จริงจัง ้ เราจะออกไม่ให้ขัดกับกระทรวงอุตสาหกรรม - คุณสมบัติของวิทยากรควบคุมหม้อน�ำ - ความซ�ำ้ ซ้อนของกระทรวงอุตสาหกรรมและแรงงาน ไปกันได้ไหม อ.วิชัย พรบ. ความปลอดภัย ออกเมื่อไหร่เราจะรวมให้ได้ ต้องช่วยกันผลักดัน วิศวกรตรวจเครนคือใคร ภาคี สามัญ ตรวจได้เลยแล้วแต่ขนาดของเครน แต่วิศวกรต้องขึ้นทะเบียน อบรม มีความรู้ ตรวจสอบได้จริง เครื่องจักรที่มีรอกน�ำ้ หนักยก ๕๐๐ กิโลกรัม ต้องทดสอบไหม ไม่ต้องทดสอบ เพราะต้องทดสอบถ้าพิกัดยก ๑-๓ ตัน แต่ถ้าใช้ในงานก่อสร้างต้องทดสอบ เพราะขนาดน้อย กว่า ๓ ตันต้องทดสอบทุกชนิด แต่การตรวจสอบ Inspection ต้องท�ำโดยผู้ใช้งานอยู่แล้วเป็นประจ�ำ ปั้นจั่นที่ใช้ในหน่วยราชการเข้าข่ายในกฎหมายนี้ไหม อ.พิพัฒน์ ตอบว่า ต้องดูว่าหน่วยราชการเป็นเจ้าของหรือเปล่า แรงงานก�ำกับราชการไม่ได้ ใช้ได้กับสถาน ประกอบกิจการเท่านั้น ถ้าเป็นผู้รับเหมาเอกชน จะเข้าข่ายตามกฎหมาย อ.มนต์ชัย เสริมว่า เครื่องจักรเพื่อความบันเทิง ก็ถือเป็นเครื่องจักรทั่วไป รถยกเล็ก ไม่ถือเป็นรถเครน ลิฟต์ค่อนข้างมาตรฐานอยู่แล้ว รถยกใช้อะไรเป็นเชื้อเพลิงก็แล้วแต่ ใช้กฎหมายนี้ ครอบคลุมหมด ถ้าเป็น Robot ก็เป็นเครื่องจักรชนิดหนึ่ง สมาคมผู้ผลิตหม้อน�ำ้ และถังแรงดัน ฝากอาจารย์ว่า อยากให้เชิญกลุ่มสมาคม เพราะไม่ได้รับข่าวสารมาก มีผู้ผลิตประมาณ ๕๐ ราย ข้อ ๙๐ แรงงาน และ ข้อ ๔, ๑๑, ๑๒ กรมโรงงาน อาจใช้แตกต่างไปBoiler มีทใี่ ห้ตรวจสอบเพือ่ รับรองมาตรฐานไหม มีมาตรฐาน Internal Standard ทั้งนั้น ผู้ผลิตรายย่อยอาจไม่มีมาตรฐานแบบนั้น มีที่ไหนรับรองมาตรฐานได้บ้าง แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 113


อ.เดชา กฎหมายความปลอดภัยของ Chiller เราไม่มีกฎหมาย ภาคีวิศวกรสามารถรับผิดชอบ Chiller ได้ ลิฟต์ ภาคีวิศวกร สามารถตรวจสอบปั้นจั่น เครื่องจักรได้ ประกาศกรม ๑๓ ฉบับ น่าจะขึ้น website เพื่อให้ประชาพิจารณ์ จะมีการน�ำขึ้น Website ให้ท�ำประชาพิจารณ์ต่อไป ค่าความปลอดภัย Sling ค่าความปลอดภัย ๖ เท่าแต่ใช้ ๕ เท่า (ตอบ อันนี้แล้วแต่บริษัทผู้ผลิต) ล็อคปากขอไม่มีได้ไหม ไม่มีไม่ได้ ทดสอบไม่ผ่านมีข้อบังคับอย่างไร วิศวกรไม่เซนต์ นายจ้างห้ามใช้ ถ้าฝ่าฝืนมีโทษ เตือน หยุด ถ้ายังไม่หยุดใช้งานก็มีปรับ แบบตรวจสอบปั้นจั่นอยู่กับที่ เคลื่อนที่ ต้องใช้อย่างไร ตอนนี้ใช้แบบเก่าไปก่อน จนกว่าจะมีกฎหมายมายกเลิก ปีละ ๑ ครั้งไปก่อนตามประกาศกรม ที่เหลือเราจะน�ำไปคุยในคณะกรรมการ และถ้าใช้ได้จริง เราจะประชุมเพื่อปรับแก้ต่อไป - Test Load ต้องทดสอบทุกครั้ง ๓ เดือน ๖ เดือนตามที่กฎหมายก�ำหนด - การเปลี่ยนสลิง ต้องทดสอบโดยวิศวกร - วิศวกรต้องผ่านการอบรม ให้ได้ใบวุฒบิ ตั ร ผ่านไม่ผา่ น ก็ให้วฒ ุ บิ ตั ร แต่ไม่ผา่ นยังตรวจไม่ได้จนกว่า จะสอบผ่าน - บางอย่างที่ไม่ต้องทดสอบ แต่ต้องมีการตรวจสอบเป็นปกติอยู่แล้วโดยผู้ใช้งาน - อบรมผู้ควบคุมหม้อไอน�ำ ้ แพง ฟรีได้ไหม (ไม่น่าจะได้) - การอบรมหัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัย อบรมเมือ่ ไหร่ (ตอบว่ายังไม่มี แต่เราก็แสดงเจตนารมณ์ ไปก่อนก็ได้ว่าเรามีหัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัยอยู่ แค่รอหลักสูตรอบรม) - การระบายอากาศ มีมาตรฐานหรือไม่ (เป็นตัวเลขไม่มี แค่เพียงพอเฉยๆ) - หัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัย เป็น จป.วิชาชีพ และเป็นเลขา คปอ. ด้วย ท�ำอย่างนี้ได้ไหม (กฎหมายไม่ได้ระบุว่าเป็นได้ไหม แต่วิธีปฏิบัติไม่ถูกต้อง) - ไม่ให้ลงลายมือชื่อถ้าตนเองไม่ได้ทำ � คนตรวจต้องเป็นคนท�ำเอง เช่นการตรวจปั้นจั่น ไม่ใช่ให้คน อื่นมาตรวจแล้วรอลงชื่อ

114 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


การน�ำเสนอผลงานวิชาการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การน�ำเสนอผลงานวิชาการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในครั้งนี้เป็นการน� ำเสนอผลงานของระดับ อุดมศึกษา ซึง่ เป็นการเปิดโอกาสและเปิดเวทีให้นกั ศึกษาได้มกี ารแสดงออกทางความคิดเกีย่ วกับวิชาการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ซึ่งมีหัวข้อดังต่อไปนี้ ๑) การเสนอผลงานวิชาการเรือ่ ง สถานการณ์ของการเกิดอาการปวดเมือ่ ยล้ากล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่างจาก ท่าทางการท�ำงานของพนักงานเย็บจักรอุตสาหกรรม :กรณีศกึ ษาโรงงานเย็บจักรอุตสาหกรรมแห่งหนึง่ จังหวัดปราจีนบุรี โดย น.ส.สายฝน พุ่มพวง น.ส.สุพัตรา มาพร น.ส.รัตธิญาพร กาลคลอด และ น.ส.วัชรีภรณ์ สุขรี ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ สถานการณ์ของการเกิดอาการปวดเมือ่ ยล้ากล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่างจากท่าทางการท�ำงานของพนักงานเย็บ จักรอุตสาหกรรม ในโรงงานเย็บจักรอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง จังหวัดปราจีนบุรี โดยส�ำรวจท่าทางการท�ำงานยืนเย็บจักร อุตสาหกรรมในแผนกเย็บจักรอุตสาหกรรมและประเมินความเสีย่ ง ซึง่ การศึกษาวิจยั ครัง้ นีไ้ ด้ใช้แบบสอบถามในการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างพนักงานเย็บจักรอุตสาหกรรม จ�ำนวน ๑๙๘ คน แบบสอบถามประกอบด้วย ๕ ส่วน คือข้อมูล ส่วนบุคคล พฤติกรรมสุขภาพ สถานทีท่ ำ� งาน ท่าทางการปฏิบตั งิ าน และแบบประเมินความรูส้ กึ ปวดเมือ่ ยล้ากล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่าง แบบประเมินความเสีย่ งจากท่าทางการท�ำงานของพนักงานท�ำการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ SPSS FOR WINDOW VERSION ๑๖ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ และสถิติเชิงพรรณาเป็นการหาค่า เฉลี่ยผลการศึกษาพบว่าท่าทางการท�ำงานของพนักงานแผนกเย็บจักรอุตสาหกรรม มีหลายท่าทาง เช่น ท่าทาง ยืนตรงใช้เข่าขวากดแป้นเย็บ ท่าทางใช้สองมือจับชิ้นงานดันเข้าจักร ท่าทางใช้มือเอื้อมหยิบชิ้นงานท่าทางก้มหลัง และบิดเอว โดยท่าทางเหล่านีม้ คี วามเสีย่ งต่อการเกิดอาการปวด เมือ้ ยล้ากล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่าง ในระดับความเสีย่ ง ปานกลาง ซึ่งหมายถึง มีความเสี่ยงต่อความปวดและเมื่อยล้ากล้ามเนื้อกระดูกโครงร่างต้องท�ำการปรับปรุงหรือ เปลีย่ นแปลงสถานทีท่ ำ� งาน ส่วนของร่างกายทีพ่ นักงานมีความรูส้ กึ ปวดโดยรวมสูงสุด ๓ อันดับแรก ได้แก่ เท้า / ข้อเท้าขวา คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๒ เท้า / ข้อเท้าซ้ายคิดเป็นร้อยละ ๖๘.๒ น่อง/ขาส่วนล่างขวา คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๗ และพนักงาน มีอาการเมื่อยล้าโดยรวมสูงสุด ๓ อันดับแรก ได้แก่ น่อง/ขาส่วนล่างซ้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๑ ส่วนคอ คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๔ ไหล่ซ้าย คิดเป็นร้อยละ ๕๐ ๒) การเสนอผลงานวิชาการเรื่อง ความเสี่ยงของระบบกล้ามเนื้อรวมโครงร่างและเนื้อเยื่อยึดเสริมในกลุ่ม พยาบาลและผู้ท�ำงานด้านขนย้ายสินค้าด้วยแรงกายในเขตกรุงเทพและจังหวัดใกล้เคียง โดยผศ.ดร.พงษ์จันทร์ อยู่ แพทย์และคณะ ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษา ได้ดังนี้ ๑. จากผลการศึกษาพบความสอดคล้องในการประเมินปัจจัยเสี่ยงจากงาน โดยใช้แบบสอบถาม SWI การตรวจประเมินความผิดปกติของระบบกระดูกและกระดูกกล้ามเนื้อ โดยแพทย์ช�ำนาญเฉพาะทางออร์โธพิดิกส์ และการประเมินความล้าทางสรีรวิทยาของร่างกาย โดยการวัดอัตราการเต้นชีพจรและความล้าของกล้ามเนื้อส่วนคอ ไหล่ หลังด้านล่าง

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 115


๒. การวิเคราะห์การบาดเจ็บระบบกล้ามเนือ้ รวมโครงร่างและเนือ้ เยือ่ ยึดเสริมจากการท�ำงาน จากการดูและซัก ประวัติพบ ๓๐ ใน ๗๕ ราย ที่มีอาการ ปวดหลัง และ รูปแบบการปวด จะเป็นรูปแบบเหมือนภูเขาคือเมื่อเริ่มท�ำงานใน ตอนเช้าจะยังไม่มีอาการปวด และ พอ สายๆ อาการปวดจะมากขึ้นจนใกล้พักเที่ยง และ หลังจากนั้นอาการปวดจะลด ลง ซึ่งจะเกิดจากลักษณะงานหรือการมีระบบ safety จากการตรวจร่างกายพบว่าปัญหาส่วนใหญ่เป็นที่หลัง ๒๘ ราย ที่ข้อมือ ๒ รายทั้งหมดสามารถท�ำงานในชีวิตประจ�ำวันได้ตามปกติ ส�ำหรับการวิเคราะห์เพือ่ ปรับปรุงและการแก้ไขต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบในรายบริษทั ส�ำหรับแนวทาง ในการปรับปรุงอย่างป็นรูปธรรมโดยรวม สรุปได้ดังนี้ ๑. ควรท�ำการศึกษาแผนผังการไหลของวัสดุ ผลิตภัณฑ์ ภายในบริษัท โดยค�ำนึงถึงน�้ำหนักของวัตถุ ขนาด และ ปริมาณร่วมด้วย ควรศึกษาเรื่องการออกแบบระบบขนส่งให้เหมาะสม สัมพันธ์และเชื่อมโยงกับระบบขนถ่าย และการเคลื่อนย้าย เพื่อ น�ำความรู้ที่ได้ไปสู่นโยบายหรือกฎหมายที่บังคับใช้ในสถานประกอบการ ๒. การจับยึดวัตถุสิ่งของทุกชนิด ควรให้อยู่ในช่วงระหว่างเข่า และ ระดับความสูงของสะโพก ๓. น�้ำหนักที่เหมาะสมของวัตถุส�ำหรับงานยกย้ายควรเป็นไปตามค่ามาตรฐานขององค์การนานาชาติด้าน ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการท�ำงานเช่นน�้ำหนักที่ยกโดยคนๆ เดียวไม่ควรเกิน ๒๓ กิโลกรัม ของที่ยก ไม่ควรห่างจากล�ำตัวเกิน ๒๕ เซนติเมตร วัตถุที่ยกไม่ควรต�ำ่ กว่าระดับเข่า ระยะทางยกในแนวดิ่งควรอยู่ในช่วงสะโพก และไม่เกินหัวไหล่ องศาในการเอี้ยวตัวควรอยู่ในช่วง ๐ - ๑๓๕ องศาควรมีที่จับยึดวัตถุที่มั่นคง และ ควรค�ำนึงถึง ความถี่และความหนักในการย้ายด้วย ๔. หลีกเลี่ยงการยกในท่าที่มีการบิดตัว หมุนตัว และ เอี้ยวตัว ๕. ของที่มีนำ�้ หนักมากควรจัดเก็บอยู่ในชั้นล่าง ๖. ใช้เครื่องช่วยยกวัตถุ ที่มีน�้ำหนักมาก หรือในงานที่มีลักษณะซ�ำ้ ๆ มากๆ ๗. พื้นที่ของอาคารที่ท�ำงานไม่ควรลื่น ๘. จัดระเบียบการจัดเก็บสินค้าอย่างเป็นระบบ ๙. จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสม เช่น รองเท้า ถุงมือ และ เครื่องผ่อนแรง ๑๐. หลีกเลี่ยงการท�ำงานที่มีแสงจ้าหรือแสงสะท้อนซึ่งส่งผลต่อสมรรถนะการมองเห็นและการยกย้ายที่มี ประสิทธิภาพ ๑๑. สร้างระบบการจัดการเกี่ยวกับ การบันทึก การเจ็บป่วย หรือ อุบัติเหตุ ทั้งที่มีลักษณะเล็กน้อยและรุนแรง และมีกระบวนการวิเคราะห์เพื่อติดตามอย่างสม�ำ่ เสมอ เช่น ลักษณะกิจกรรม ต�ำแหน่งงาน และขณะเกิดเหตุว่ายกย้าย วัตถุ ชนิด หรือประเภทใด ๑๒.ควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับการยกย้ายที่ปลอดภัยแก่พนักงาน และ ตัวพนักงานควรรักษาสมรรถภาพร่างกาย ให้แข็งแรงอยู่เสมอ

116 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓) การเสนอผลงานวิชาการเรื่อง การประเมินความเสี่ยงด้านเสียงของพนักงานจากการประกอบอาชีพ กรณี ศึกษา โรงงานผลิตมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยนางสาวรังสิยา โพธิท์ อง นักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การศึกษาภาคตัดขวางนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ประเมินความเสีย่ งด้านเสียงของพนักงานในโรงงงานผลิตมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบโดยวิธีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๔ ส่วน ส่วนแรก ส�ำรวจข้อมูลเบื้องต้นเพื่อจ�ำแนกลักษณะ งานที่สัมผัสเสียงและมีแหล่งก�ำเนิดเสียงคล้ายคลึงกัน ส่วนที่สองตรวจวัดระดับความดังเสียงในพื้นที่ปฏิบัติงาน เพือ่ ประเมินการสัมผัส ส่วนทีส่ ามศึกษาข้อมูลทุตยิ ภูมคิ อื รายงานผลการตรวจสุขภาพประจ�ำปี ๒๕๕๒ และบันทึกประวัติ พนักงานจากฝ่ายบุคคล เพือ่ ศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ ส่วนทีส่ ี่ น�ำผลการตรวจวัดความดังเสียงมาจัดระดับการสัมผัส และน�ำผลตรวจสมรรถภาพการได้ยินมาจัดระดับผลต่อสุขภาพหู โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน OSHA / NIOSH /  ACGIH และมาตรฐาน ANSI / NIOSH ตามล�ำดับ จากนั้นจึงน�ำมาประเมินขนาดความเสี่ยงเชิงคุณภาพและจัดล�ำดับ กลุ่มเสี่ยง การศึกษาพบว่า จ�ำแนกลักษณะงานผลิตมอเตอร์และฝาครอบมอเตอร์ที่สัมผัสเสียงและมีแหล่งก�ำเนิดเสียง คล้ายคลึงกันได้ ๑๐ กลุ่ม ผลการประเมินความเสี่ยงด้านเสียง พบว่า ลักษณะงานได้แก่ งานเป่าไล่น�้ำออกจาก ชิ้นงาน งานเจาะ เจียรเพลาข้อเหวี่ยงด้วยเครื่องอัตโนมัติ งานเพลาท�ำร่องเกลียว และงานเจียรลบคม พนักงานใน แต่ละกลุ่มมีความเสี่ยงอยู่ในระดับเดียวกันคือ ความเสี่ยงเล็กน้อย และอีก ๖ ลักษณะงาน ได้แก่ งานเป่าไล่เศษเหล็ก ออกจากชิ้นงาน งานปั๊มขึ้นรูปฝาครอบขนาดใหญ่ งานปั๊มขึ้นรูปฝาครอบขนาดเล็ก งานเชื่อมหูและอุดท่อทองแดง ด้วยมือ งานตัดแผ่นเหล็ก และงานเจาะรูตามแบบ พนักงานในแต่ละกลุ่มมีความเสี่ยงอยู่ในระดับแตกต่างกัน คือ ่ ปานกลาง และสูง แสดงว่ามาตรการป้องกันการสูญเสียการได้ยินที่มีอยู่มีประสิทธิภาพระดับ ความเสี่ยงเล็กน้อย ต�ำ หนึ่งแต่อาจไม่เพียงพอส�ำหรับพนักงานที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ต�่ำ (๕.๒%) ปานกลาง (๘.๓%) และสูง (๑.๐%) ควรมี มาตรการเพิ่มเติม เช่น การสื่อสารความเสี่ยง การอบรมการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียงที่ถูกต้อง การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการโยนชิ้นงาน การหาวัสดุซับเสียงมากั้นไม่ให้ชิ้นงานกระทบกับรางล�ำเลียงการปรับตั้งแรงดันของปืนลม ให้พอเหมาะกับลักษณะงาน ๔) การเสนอผลงานวิชาการเรื่อง สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานเกิน ๓ วัน กรณีศึกษาโรงงาน อุตสาหกรรม ๑๗ แห่ง ในจังหวัดสมุทรปราการ โดยนางสาวบุปผา จันทรเสน นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การศึกษาย้อนหลังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานเกินสามวันในช่วง พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๑ ของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมจ�ำนวน ๑๗ แห่ง ในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างพนักงานที่ ได้รบั อุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ หยุดงานเกินสามวันมีจำ� นวนทัง้ สิน้ ๙๖ คน โดยสุม่ แบบเฉพาะเจาะจงด�ำเนินการศึกษาโดยน�ำข้อมูล ทุตยิ ภูมคิ อื รายงานการสืบสวนอุบตั เิ หตุในช่วง พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๑ มาท�ำการวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ด้วยเทคนิค Fault Tree Analysis-FTA และใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลทั่วไปของโรงงานอุตสาหกรรม

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 117


ผลการศึกษาพบว่า โรงงานอุตสาหกรรมที่ศึกษาจ�ำแนกได้ ๘ ประเภท คือ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องแต่งกาย อาหารและอาหารสัตว์ เครื่องใช้ไฟฟ้า พลาสติก ไม้ ยานยนต์และสิ่งพิมพ์ มีขนาดใหญ่และกลาง (ร้อยละ ๖๔.๗ และ ๓๕.๓ ตามล�ำดับ) ได้รบั การรับรองมาตรฐานด้านสุขภาพ สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย (ร้อยละ ๖๔.๗, ๔๗.๑ และ ๑๗.๖ ตามล�ำดับ) มากกว่าครึง่ (ร้อยละ ๕๘.๘) มีการว่าจ้างเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานแบบผ่านการอบรม ๑๘๐ ชัว่ โมงและเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานทีถ่ กู ว่าจ้างมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบด้านความปลอดภัยอย่างเดียว (ร้อยละ๗๐.๖) เมื่อรวมสถิติการเกิดอุบัติเหตุในช่วงสามปีที่ผ่านมาของโรงงานที่ศึกษาทั้งหมดพบว่าพนักงานที่เกิดอุบัติเหตุถึง ขัน้ หยุดงานเกินสามวันมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งขณะทีจ่ ำ� นวนพนักงานทัง้ หมดก็เพิม่ ขึน้ เช่นกัน ส�ำหรับกลุม่ ตัวอย่าง พนักงานทีไ่ ด้รบั อุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ หยุดงานเกินสามวันขึน้ ไปพบว่า ร้อยละ ๗๖.๐ เป็นชาย อายุเฉลีย่ ๒๘.๖๒, SD ๗.๗๕ ปี อายุงานเฉลีย่ ๔.๒๑, SD ๕.๙๒ ปี ส่วนใหญ่เป็นพนักงานระดับปฏิบตั กิ ารและอยูฝ่ า่ ยการผลิต (ร้อยละ ๘๖.๕ และ ๗๕.๐ ตามล�ำดับ) สูญเสียวันท�ำงานเฉลีย่ ๑๖.๘, SD ๑๖.๘ วัน อุบตั เิ หตุสว่ นใหญ่เกิดในช่วงเวลา ๘.๐๑-๑๒.๕๙ น. และช่วงเดือน ตุลาคม - ธันวาคม (ร้อยละ ๓๐.๒ และ ๓๘.๕ ตามล�ำดับ) อุบตั เิ หตุสว่ นใหญ่เป็นวัตถุสงิ่ ของกระแทกชน (ร้อยละ ๒๘.๑) โดยนิว้ มือเป็นอวัยวะทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บมากทีส่ ดุ (ร้อยละ ๕๔.๒) ผลการวิเคราะห์สาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุดว้ ย FTA พบว่า เกิดจากการกระท�ำทีต่ ำ�่ กว่ามาตรฐานสามอันดับแรกคือ การใช้เครือ่ งจักรหรืออุปกรณ์อย่างไม่ระวัง การท�ำงานลัดขัน้ ตอน และการซ่อมแซม ปรับแต่ง และท�ำความสะอาดเครื่องจักรขณะท�ำงาน (ร้อยละ ๕๒.๘, ๓๔.๔ และ ๒๐.๘ ตามล�ำดับ) เกิดจากปัจจัยงานสามอันดับแรกได้แก่ การอบรมวิธกี ารปฏิบตั งิ านไม่ครอบคลุมพนักงานใหม่/พนักงานเปลีย่ นต�ำแหน่ง /  พนักงานรับเหมา การออกแบบเครื่องจักร/อุปกรณ์ไม่ได้ค� ำนึงถึงความปลอดภัยและกฏระเบียบความปลอดภัย ไม่เคร่งครัดและเกิดจากปัจจัยคนทีพ่ บมากทีส่ ดุ คือพนักงานขาดความช�ำนาญ (ร้อยละ ๑๐.๔) โดยชุดสาเหตุทที่ ำ� ให้เกิด อุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานเกินสามวันพบว่า การกระท�ำที่ต�่ำกว่ามาตรฐานสภาพการณ์ที่ต�่ำกว่ามารตรฐานและปัจจัยงาน (ร้อยละ ๕๙.๔) เป็นชุดสาเหตุที่ทำ� ให้เกิดอุบัติเหตุฯ มากกว่าชุดสาเหตุจากการกระท�ำที่ต�่ำกว่ามาตรฐาน ปัจจัยงาน และปัจจัยคน (ร้อยละ ๘.๓) ดังนั้นการจัดสรรอุปกรณ์ช่วยในการท�ำงานเพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายสัมผัสกับเครื่องจักร โดยตรงอย่างเพียงพอ การออกแบบเครื่องจักร / อุปกรณ์โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยตั้งแต่แรก การตรวจสอบ สภาพการท�ำงานก่อนเริม่ งานทุกครัง้ โดยหัวหน้างาน การให้ความรูเ้ กีย่ วกับความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งจักรอุปกรณ์ และการซ่อมบ�ำรุงเบื้องต้นอย่างเพียงพอแก่พนักงาน โดยเฉพาะพนักงานที่มีอายุไม่เกิน ๑ ปี (ร้อยละ ๓๓) รวมทั้ง การอบรมซ�ำ้ แก่พนักงานที่เคยผ่านการอบรม อาจน�ำไปสู่การลดความถี่ในการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานเกิน ๓ วัน ๕) การเสนอผลงานวิชาการเรื่อง การจัดท�ำระบบฐานข้อมูลเอกสารความปลอดภัยสารเคมี (MSDS) ของ บริษทั ไดชิน จ�ำกัด (นวนคร) โดยนายไกรสร สวัสดิไ์ ธสง นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ปัจจุบันการจัดท�ำระบบฐานข้อมูลที่ดีง่ายต่อการสืบค้นและน� ำไปใช้งานนับว่ามีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในโรงงานหรือบริษัทที่มีการใช้สารเคมีเป็นจ�ำนวนมาก การแสดงข้อมูลเอกสารความปลอดภัยของสาร เคมี (MSDS)ในรูปแบบของแฟ้มเอกสารเพียงอย่างเดียวท�ำให้ผู้ใช้งานหรือผู้ปฏิบัติงานประสบปัญหาในการสืบค้น ข้อมูลและเข้าถึงข้อมูลได้ยาก อีกทั้งการเพิ่มหรือลดจ�ำนวนของสารเคมีที่ใช้ในโรงงานหรือบริษัท ก่อให้เกิดความ ยุง่ ยากในการปรับปรุงแฟ้มเอกสารให้มคี วามเป็นปัจจุบนั ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดความสะดวกในการใช้งานแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านและ ผู้ดูแลระบบเอกสาร ผู้จัดท�ำจึงได้ออกแบบระบบฐานข้อมูลเอกสารความปลอดภัยสารเคมี ของบริษัท ไดซิน จ�ำกัด (นวนคร) ในรูปแบบของโปรแกรมสืบค้นจาก MS Office Access ๒๐๐๗ รูปแบบของโปรแกรมสืบค้นฐานข้อมูล MSDS ประกอบด้วยเมนู ๓ หลักได้แก่เมนูการสืบค้นสารเคมี เมนูการปรับปรุง / เปลีย่ นแปลงฐานข้อมูล (Update) และเมนูการบันทึกอุบตั เิ หตุจากสารเคมีโดยการสืบค้นฐานข้อมูลนัน้ สามารถเลือกรูปแบบการสืบค้นได้ทั้งหมด ๖ รูปแบบคือ การสืบค้นจากชื่อสารเคมี การสืบค้นจากหมายเลข การสืบค้นจากประเภทสารเคมี การสืบค้นจากส่วนผสมหลักของสารเคมี การสืบค้นจากการน�ำมาใช้ประโยชน์ และ การสืบค้นจากแผนกที่มีการน�ำสารเคมีมาใช้ 118 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ส�ำหรับเมนูการปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลได้ก�ำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูลที่มีความสะดวกและง่าย ต่อการใช้งาน เช่นเดียวกับเมนูการบันทึกอุบัติเหตุจากสารเคมีทีผู้ใช้งานเพียงกรอกข้อมูลอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ข้อมูล ก็จะถูกบันทึกและสามารถจัดพิมพ์ในรูปแบบกราฟได้ทันที ผลจากการทดลองใช้โปรแกรมสืบค้นฐานข้อมูล ของผู้ใช้แผนกความปลอดภัย บริษัท ไดซิน จ�ำกัด (นวนคร) พบว่ามีความพึงพอใจในการใช้งานมากกว่าร้อยละ ๖๐ ซึ่งแสดงถึงความส�ำเร็จในการพัฒนาโปรแกรม อย่างไรก็ตาม ควรมีการปรับปรุงในเรื่องรูปแบบความสวยงามให้มากขึ้นกว่าเดิม ๖) การเสนอผลงานวิชาการเรื่อง การให้ความรู้และปรับปรุงสภาพการท�ำงานเพื่อป้องกันความผิดปกติของ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างเนื่องจากการท�ำงานในโรงงานอิเล็กทรอนิกส์ โดย นางสาวกมลวรรณ สมณะ และ นางสาวลลิตา เด่นดวง นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้โครงการ ป้องกันความผิดปกติของระบบกล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่างเนือ่ งจากการท�ำงานใมแผนก Dic Born และ แผนก Driver จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นโครงการน�ำร่องในการสร้างความตระหนักรู้ ถึงสาเหตุ และวิธีการป้องกันความเจ็บปวดเมื่อยของ กล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่างอันเนือ่ งมาจากการท�ำงานและเพือ่ การปรับปรุง สภาพแวดล้อมการท�ำงานน�ำไปสูท่ า่ ทาง การท�ำงานในแผนก Dic Born และ แผนก Driver ให้ถูกต้องตามหลักกายศาสตร์ โดยคณะผู ้ จั ด ท� ำ ได้ ท� ำ การค้ น หาปํ ญ หาและสาเหตุ ที่ มี ผ ลต่ อ ความผิ ด ปกติ ข องระบบกล้ า มเนื้ อ และ กระดูกโครงร่างเนื่องจากการท�ำงาน จากการเดินส�ำรวจและสอบถามพนักงานผู้ปฎิบัติงานประเมินความปวด เมื่อยของพนักงานด้วย Body Discomfort จากนั้นได้ท�ำการประเมินสภาพแวดล้อมการท�ำงานด้วยแบบส�ำรวจ เพื่อปรับปรุงการท�ำงาน(Annex C) ตามมาตรฐาน ISO /TS ๒๐๖๔-๑ ประเมินความเสี่ยงของท่า ทางการท�ำงานด้วย Rapid Uppid Limp Assessment และ Rapid Entire Body Assessment น�ำไปสู่การ ปรับปรุงแก้ไขปัญหาโดยการจัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน และ การปรับปรุงแก้ไขสภาพการท�ำงาน ผลการประเมิน หลังด�ำเนินการพบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังการจัดการอบรมเพิ่มขึ้น ๑.๓ คะแนน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P<๐.๐๐๑) และสัดส่วนผูท้ ไี่ ด้คะแนน >๘๐ มีจำ� นวนเพิม่ ๙ คน (P= ๐.๐๐๔) ตลอดจนการปรับสภาพการท�ำงานเพือ่ น�ำไปสูท่ า่ ทาง การท�ำงานมีระดับคะแนนความเสี่ยงจากการประเมินด้วย Rapid Uppid Limp Assessment และ Rapid Entire Body Assessment ลดลงจากเดิม ทั้งนี้เพื่อให้ โครงการสมบูรณ์มากขึ้นควรมีการประเมินผลสถิติการข้ารับบริการจากห้องพยาบาลด้วยอาการ ปวดกระดูกและกล้ามเนื้อ และ การประเมินความปวดเมื่อยของพนักงานจากแบบทดสอบ Body Assessment เป็นระยะอย่างต่อเนือ่ งหลังจากสิน้ สุดโครงการแล้ว และ ควรมีการเก็บข้อมูลด้านปัจจัยส่วนบุคคลหรือปัจจัยหลายด้าน ที่สามารถส่งผลต่อความผิดปกติดังกล่าวได้ ๗) การเสนอผลงานวิชาการเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและผลการ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านเสียงของรถไฟฟ้าของระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ โดย นางสาวเนตร ชนก เจริญสุข นักศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างระดับเสียงจากผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และระดับ เสียงทีเ่ กิดขึน้ จริงทีไ่ ด้จากการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อมทางด้านเสียงของรถไฟฟ้าของระบบขนส่งมวลชน กรุงเทพ และเปรียบเทียบระหว่างระดับเสียงที่เกิดขึ้นจริง ในแต่ละสถานีตรวจวัด เพื่อที่จะหาแนวโน้มของเสียงที่ เกิดขึน้ ในแต่ละสถานีตรวจวัด รวมทัง้ เปรียบเทียบระดับเสียงทีเ่ กิดขึน้ จริงระหว่างในบริเวณภายนอกกับใต้สถานีรถไฟฟ้า โดยพิจารณาร่วมกับปริมาณการจราจร

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 119


ผลการศึกษาพบว่า สถานีตรวจวัดที่มีค่าเฉลี่ยเสียงจากการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมอยู่ใน เกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีจ�ำนวน ๔ สถานี คือสถานีตรวจวัดสถาบันการบิน พลเรือน สถานีตรวจวัดโรงเรียนแสงหิรญ ั สถานีตรวจวัดโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ และ สถานีตรวจวัดโรงเรียนกรุงเทพ คริสต์เตียน สถานีเหล่านี้ส่วนใหญ่มีแนวโน้มของระดับเสียงลดลง ยกเว้นสถานีตรวจวัดโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ซึ่งมี แนวโน้มของระดับเสียงเพิ่มขึ้น และสถานีตรวจวัดที่มีค่าระดับเสียงเกินเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มีจ�ำนวน ๒ สถานี คือ สถานีตรวจวัดหอแว่นสีลม และสถานีตรวจวัดอาคารไดมอนทาวเวอร์ ซึ่งมีแนวโน้มของระดับเสียงเพิ่มขึ้น ด้วยความเชื่อมั่น ๙๕ % เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างระดับเสียงที่เกิดขึ้นนี ้ กับปริมาณการจราจร พบว่า สถานีตรวจวัดหอแว่นสีลม (ใกล้กับสถานีศาลาแดง) และ สถานีตรวจวัดอาคารไดมอน ทาวเวอร์ (ใกล้กับสถานีช่องนนทรี) ที่ซึ่งมีค่าระดับเสียงเกินเกณฑ์นั้น มีปริมาณการจราจรเฉลี่ยค่อนข้างต�ำ ่ ส่วนสถานี ตรวจวัดที่มีค่าระดับเสียงอยู่ในเกณฑ์ที่กำ� หนดไว้ คือ สถานีตรวจวัดสถาบันการบินพลเรือน (ใกล้กับสถานีหมอชิต) สถานีตรวจวัดโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ (ใกล้กบั สถานีสรุ ศักดิ)์ และสถานีตรวจวัดโรงเรียนกรุงเทพคริสต์เตียน (ใกล้กบั สถานีสุรศักดิ์) ทั้งนี้สถานีหมอชิตและสถานีสุรศักดิ์ มีปริมาณการจราจรเฉลี่ยสูงสุดเป็น ๒ อันดับแรก แต่บริเวณ สถานีตรวจวัดโรงเรียนแสงหิรญ ั (ใกล้กบั สถานีออ่ นนุช) มีปริมาณการจราจรเฉลีย่ อยูใ่ นระดับปานกลาง ดังนัน้ ปริมาณ การจราจรไม่ใช่สาเหตุทสี่ ำ� คัญของการเกิดผลกระทบทางด้านเสียงในการด�ำเนินการของรถไฟฟ้าของระบบขนส่งมวลชน กรุงเทพ

120 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ประมวลภาพ และกิจกรรม


ประมวลภาพ

นิทรรศการสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงาน



ประมวลภาพ

กิจกรรมเวทีกลาง


Safety Rally


การประกวด ทีมฉุกเฉินในสถานประกอบกิจการ


การประกวด วาดภาพความปลอดภั ย



สรุปผล การประกวด


รายชื่อสถานประกอบกิจการ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน ระดับวิชาชีพที่ได้รับรางวัลระดับประเทศ ประจำ�ปี ๒๕๕๓ รายชื่อสถานประกอบกิจการ

จังหวัด

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๑๕ ปี จำ�นวน ๑ แห่ง ๑. บริษัท ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ง จำ�กัด

กรุงเทพมหานคร

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๑๔ ปี จำ�นวน ๑ แห่ง ๑. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมสุราษฎร์ธานี

สุราษฎร์ธานี

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๑๒ ปี จำ�นวน ๑ แห่ง ๓. บริษัท ปตท.เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) สาขาถนนไอ - ๔

ระยอง

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๑๑ ปี จำ�นวน ๓ แห่ง ๑. บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำ�กัด ๒. บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมลำ�ปาง ๓. บริษัท มากอตโต จำ�กัด

นครศรีธรรมราช ลำ�ปาง สระบุรี

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๑๐ ปี จำ�นวน ๑๑ แห่ง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนวชิราลงกรณ์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าน�้ำพอง บริษัท โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม จำ�กัด บริษัท ไทยโทเรซินเทติคส์ จำ�กัด โรงงานอยุธยา บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำ�กัด โรงงานพิษณุโลก บริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำ�กัด (มหาชน) โรงงานพิษณุโลก บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�ำ้ มันพิษณุโลก

130 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

กาญจนบุรี ขอนแก่น เชียงใหม่ พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก พิษณุโลก พิษณุโลก


๘. ๙. ๑๐. ๑๑.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จำ�กัด บริษัท นามิกิ พรีซิชั่น (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ลำ�พูนซิงเดนเก็น จำ�กัด

จังหวัด ระยอง ระยอง ลำ�พูน ลำ�พูน

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๙ ปี จำ�นวน ๒๑ แห่ง ๑. บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันพระโขนง ๒. บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำ�กัด (มหาชน) ๓. บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) สายงานระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ศูนย์ปฏิบัติการชลบุรี ๔. บริษัท พีเจ้น อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ๕. บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันเชียงใหม่ ๖. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ สำ�นักงานลำ�ภูรา ๗. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อีสาน จำ�กัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์โคกกรวด ๘. บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�ำ้ มันปากพนัง ๙. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมนครสวรรค์ ๑๐. บริษัท โตชิบาคอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ๑๑. บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันล�ำลูกกา ๑๒. บริษัท ฟาบริเนท จำ�กัด โรงงานโชคชัย ๑๓. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก ๑๔. บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันภูเก็ต ๑๕. บริษัท เซนต์โกเบน ซีคิวริท (ไทยแลนด์) จำ�กัด ๑๖. บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จำ�กัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์ลำ�พูน ๑๗. บริษัท อีเล็คโทรเซรามิคส์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด

กรุงเทพมหานคร ขอนแก่น ชลบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ ตรัง นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี พิษณุโลก ภูเก็ต ระยอง ลำ�พูน ลำ�พูน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 131


๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์นำ�้ บ้านพรุ บริษัท ลัคกี้เท็คซ์ (ไทย) จำ�กัด (มหาชน) โรงงาน ๑ บริษัท นวโลหะอุตสาหกรรม จำ�กัด บริษัท บี.พี. อาหารสัตว์ จำ�กัด

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๘ ปี จำ�นวน ๒๙ แห่ง ๑. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (โรงงานมีนบุรี ๑) ๒. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนท่าทุ่งนา ๓. บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำ�กัด โรงงานกำ�แพงเพชร ๔. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต ๔ (ขอนแก่น) ๖. บริษัท เชอร์รี่ เสรีนา จำ�กัด ๗. บริษัท ซันอิ (ประเทศไทย) จำ�กัด ๘. บริษัท ไซโก พรีซีซั่น (ประเทศไทย) จำ�กัด ๙. บริษัท เทยินโพลีเอสเตอร์ จำ�กัด ๑๐. บริษัท สแต็ทส์ ชิพแพ็ค (ประเทศไทย) จำ�กัด ๑๑. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าวังน้อย ๑๒. บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) สาขาเพชรบุรี ๑๓. บริษัท คาโปรแลคตัมไทย จำ�กัด (มหาชน) ๑๔. บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) สาขาถนนไอ-หนึ่ง สาขาท่าเทียบเรือ,สาขาคลังผลิตภัณฑ์ ๑๕. บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) สาขา ๑,๔ ๑๖. บริษัท ระยองโอเลฟินส์ จำ�กัด ๑๗. บริษัท สยามมิตซุย พีทีเอ จำ�กัด ๑๘. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต ๕ (ราชบุรี) ๑๙. บริษัท กรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จำ�กัด (โรงงาน ๑) 132 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

จังหวัด สงขลา สมุทรปราการ สระบุรี สระบุรี

กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี กำ�แพงเพชร ขอนแก่น ขอนแก่น ชลบุรี ชลบุรี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ราชบุรี ลพบุรี


๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท เอ็น เอ็ม บี-มินิแบไทย จำ�กัด บริษัท เอ็มอาร์ดี - อีซีซี จำ�กัด บริษัท โรงพยาบาลรักษ์สกล ดิเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมสงขลา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าพระนครใต้ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์นำ�้ มหาชัย บริษัท ยูเนี่ยนโฟรเซน โปรดักส์ จำ�กัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) กิจการธารเกษม บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันอุดรธานี

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๗ ปี จำ�นวน ๓๖ แห่ง ๑, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์ ๒, บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมขอนแก่น ๓. บริษัท วัฒนเวช จำ�กัด ๔. บริษัท สิริเวชจันทบุรี จำ�กัด (มหาชน) โรงพยาบาลสิริเวช ๕. บริษัท โจตันไทย จำ�กัด ๖. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (สาขาศรีราชา) โรงงานอาหารสัตว์ ศรีราชา ๗. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำ�นักงานประจำ�ฐานปฏิบัติงานจังหวัดเชียงใหม่ ๘. บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำ�กัด (เทสโก้-โลตัส สาขาเชียงใหม่-หางดง) ๙. โรงพยาบาลแมคคอร์มิค ๑๐. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าลำ�ตะคอง ชลภาวัฒนา ๑๑. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ สำ�นักงานประจำ�ฐานปฏิบัติงานจังหวัดนครสวรรค์ ๑๒. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการเขตนครหลวง ๑๓. บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำ�กัด (โรงงานข้าวบุรีรัมย์)

จังหวัด ลพบุรี ลำ�ปาง สกลนคร สงขลา สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสาคร สระบุรี สระบุรี อุดรธานี

กาญจนบุรี ขอนแก่น จันทบุรี จันทบุรี ชลบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ นครราชสีมา นครสวรรค์ นนทบุรี บุรีรัมย์

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 133


๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕. ๓๖.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท กรีนสปอต จำ�กัด สาขารังสิต บริษัท ไทยสแตนเลย์การไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำ�กัด โรงงานนวนคร บริษัท เอ็นอีซี อินฟรอนเทีย ไทย จำ�กัด บริษัท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) สาขาท่าอากาศยานภูเก็ต บริษัท ภูเก็ตอินเตอร์เนชั่นแนล ฮอสปิตอล จำ�กัด (โรงพยาบาลสิริโรจน์) บริษัท กรุงเทพซินธิติกส์ จำ�กัด บริษัท โตไก อิสเทิร์น รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท บีเอสทีอิลาสโตเมอร์ส จำ�กัด บริษัท ยางสังเคราะห์ไทย จำ�กัด บริษัท สยามโกชิ มานูแฟคเชอริ่ง จำ�กัด บริษัท ออโต้อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ สำ�นักงานประจำ�ฐานปฏิบัติงานลำ�ปาง บริษัท ไทย เอ็น เจ อาร์ จำ�กัด บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำ�กัด โรงงานเทพารักษ์ บริษัท ลัคกี้เท็คซ์ (ไทย) จำ�กัด (มหาชน) โรงงาน ๒ บริษัท สยาม พีวีเอส เคมิคอลส์ จำ�กัด บริษัท เอนไก ไทย จำ�กัด บริษัท โปรดักส์ ดีเวลลอปเม้นท์ เมนูแฟคเจอร์ริง จำ�กัด บริษัท ไทยเบเวอร์เรจแคน จำ�กัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) สาขาอุดรธานี บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังน้ำ�มันอุบลราชธานี

134 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

จังหวัด ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปราจีนบุรี ภูเก็ต ภูเก็ต ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ลำ�ปาง ลำ�พูน สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี อุดรธานี อุบลราชธานี


รายชื่อสถานประกอบกิจการ สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๖ ปี จำ�นวน ๒๙ แห่ง ๑. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (บางนา) ๒. บริษัท ไทยโทเรซินเทติคส์ จำ�กัดสาขาโรงงานกรุงเทพ ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔.

บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน) สาขารามอินทรา บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) อาคาร ปตท. สำ�นักงานใหญ่ บริษัท ไทยแอโรว์ จำ�กัด โรงงานฉะเชิงเทรา บริษัท ไทยซัมมิท มิทซูบะ อีเล็คทริค แมนูแฟ็คเจอริ่ง จำ�กัด บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังก๊าซเขาบ่อยา บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังก๊าซบ้านโรงโป๊ะ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันศรีราชา บริษัท โภคภัณฑ์อะควอเทค จำ�กัด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนภูมิพล การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานีไฟฟ้าแรงสูงนครราชสีมา ๑ บริษัท เดอะมอลล์ราชสีมา จำ�กัด บริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำ�กัด (มหาชน) โรงงานนครราชสีมา บริษัท สแปนชั่น (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์ท่าเรือ บริษัท เทยิน (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไทยแอโรว์ จำ�กัด โรงงานพิษณุโลก บริษัท ซูมิโตโม อิเล็คตริค ไวริ่ง ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (โรงงานอมตะ) บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จำ�กัด บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) โรงงานลพบุรี โรงพยาบาลเขลางค์นคร-ราม บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด โรงงานสำ�โรง บริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำ�กัด (มหาชน) โรงงานพระประแดง

จังหวัด กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ตาก นครราชสีมา นครราชสีมา นครราชสีมา นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก ระยอง ระยอง ลพบุรี ลำ�ปาง สมุทรปราการ สมุทรปราการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 135


๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท สยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำ�กัด การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ สำ�นักงานบ้านดอน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินีแบไทย จำ�กัด (โรงงานบางปะอิน) บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินีแบไทย จำ�กัด (โรงงานโรจนะ)

สถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศติดต่อกัน ๕ ปี จำ�นวน ๕๐ แห่ง ๑. บริษัท เค ไลน์ (ประเทศไทย) จำ�กัด สำ�นักงานใหญ่ ๒. บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที(ประเทศไทย)จำ�กัด สาขาพหลโยธิน ๒๑ ๓. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด สำ�นักงานใหญ่ทุ่งมหาเมฆ ๔. บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด (สาขาชิดลม) ๕. บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด (สาขาปิ่นเกล้า) ๖. บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด (สาขาพระราม ๒) ๗. บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด (สาขาพระราม ๓) ๘. บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด (สาขาลาดพร้าว) ๙. บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานใหญ่ ๑๐. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมบางจาก ๑๑. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนอุบลรัตน์ ๑๒. บริษัท บิ๊กซี แฟรี่ จำ�กัด ๑๓. บริษัท ซีอาร์ จันทบุรี (ประเทศไทย) จำ�กัด ๑๔. บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด โรงงานเวลโกรว์ ๑๕. บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทยเทรดดิ้ง จำ�กัด โรงงานเกตเวย์ ๑๖. บริษัท กรุงเทพชลกิจ จำ�กัด สำ�นักงานบางปะกง ๑๗. บริษัท ไทยซัมมิท ฮาร์เนส จำ�กัด (มหาชน) ๑๘. บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที (ประเทศไทย) จำ�กัด สาขาเชียงใหม่ ๑๙. บริษัท เลียร์คอร์ปอเรชั่นเซ้าท์อิสท์เอเชีย จำ�กัด 136 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

จังหวัด สระบุรี สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา

กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร ขอนแก่น ขอนแก่น จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ นครราชสีมา


๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕. ๓๖. ๓๗. ๓๘. ๓๙. ๔๐. ๔๑. ๔๒. ๔๓. ๔๔.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์กระจายสินค้า บางบัวทอง DC ๔ บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์กระจายสินค้า CDC ๑ บริษัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จำ�กัด บริษัท ซิงเดนเก็น (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ซี.พี. ค้าปลีกและการตลาด จำ�กัด กิจการอาหารสำ�เร็จรูปแช่เยือกแข็ง บริษัท โซนี่ ดีไวซ์ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์ (ทีซีซี) จำ�กัด โรงงานปทุมธานี บริษัท พานาโซนิค อีเล็คทริค เวิร์คส์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท ฟาบริเนท จำ�กัด โรงงานไพน์เฮิร์สท บริษัท ฟูจิคูระ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด นวนคร โรงงาน ๓ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด (สาขารังสิต) บริษัท ซี.พี.อินเตอร์เทรด จำ�กัด (โรงงานข้าววังแดง) บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินิแบไทย จำ�กัด (โรงงานอยุธยา) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด (ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก) บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำ�กัด (เทสโก้-โลตัส สาขาพิษณุโลก) บริษัท สุทธา ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (โรงแรมรอยัลไดมอน) บริษัท จอห์นสัน คอนโทรลส์ แอนด์ ซัมมิท อินทีเรียส์ จำ�กัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โรงงานอาหารแปรรูปสัตว์นำ�้ แกลง บริษัท ซาบิก อินโนเวทีฟ พลาสติคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ซูมิโตโม อิเล็คตริค ไวริ่ง ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (โรงงานสยามอีสเทิร์น) บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต ๓ (ระยอง) บริษัท อัทสุมิเท็ค (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท อูเบะไนล่อน (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด (โรงงานราชบุรี) บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จำ�กัด

จังหวัด นนทบุรี นนทบุรี นนทบุรี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก พิษณุโลก เพชรบุรี ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ราชบุรี ราชบุรี

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 137


๔๕. ๔๖. ๔๗. ๔๘. ๔๙. ๕๐.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท กรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จำ�กัด (โรงงาน ๒) บริษัท มินีแบ อีเลคโทรนิคส มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (โรงงานลพบุรี) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนน�้ำพุง บริษัท ซี.พี. อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด (โรงงานบางพลี) บริษัท ศูนย์บริการเหล็กสยาม จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

138 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

จังหวัด ลพบุรี ลพบุรี สกลนคร สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ


รายชื่อสถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลดีเด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ระดับประเทศ ๑ - ๔ ปี ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท กรุงเทพชลกิจ จำ�กัด สำ�นักงานบางนา บริษัท ควอลิตี้ ซับคอนแทร็คเตอร์ จำ�กัด บริษัท เซ็นคาร์ จำ�กัด บริษัท ซี.พี.พลาซ่า จำ�กัด (โรงแรมแกรน เมอร์เคียว ฟอร์จูน) บริษัท ซี.พี. พลาซ่า จำ�กัด (อาคารฟอร์จูน) บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด(มหาชน) ศูนย์กระจายสินค้าโชคชัยร่วมมิตร บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์กระจายสินค้า DC๕ (สุวรรณภูมิ) บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (โรงงานมีนบุรี ๒) บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (โรงงานหนองจอก) บริษัท ซี. พี. ค้าปลีกและการตลาด จำ�กัด กิจการเบเกอร์รี่ บริษัท ซี.พี. แลนด์ จำ�กัด บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ชุมสายโทรศัพท์หลัก - ทุ่งสองห้อง บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ชุมสายโทรศัพท์หลัก - ลาดหญ้า บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) สาขา เขตปฏิบัติการพื้นที่บางพลัด บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) หน่วยงานข่ายสายตอนนอกพื้นที่ ๓ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ฝ่ายบำ�รุงรักษาข่ายสายตอนใน ๓ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ชุมสายโทรศัพท์หลัก – พระโขนง บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ชุมสายโทรศัพท์หลัก - เพลินจิต บริษัท ทรู วิชั่นส์ เคเบิ้ล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทรู พรอพเพอร์ตีส์ จำ�กัด อาคารทรู ทาวเวอร์ บริษัท ทรู พรอพเพอร์ตีส์ จำ�กัด อาคารทรู ทาวเวอร์ ๒ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานใหญ่

จังหวัด กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 139


๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕. ๓๖. ๓๗. ๓๘. ๓๙. ๔๐. ๔๑. ๔๒. ๔๓. ๔๔. ๔๕. ๔๖. ๔๗. ๔๘.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ ธนาคารออมสิน (สำ�นักงานใหญ่) บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำ�กัด โรงงานบางชัน บริษัท นิปโป ซี แอนด์ดี จำ�กัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานใหญ่ บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที. (ประเทศไทย)จำ�กัด สาขาวงศ์สว่าง บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที. (ประเทศไทย) จำ�กัด สาขาสาทร บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที (ประเทศไทย)จำ�กัด สาขานวลจันทร์ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด( มหาชน) สาขาสุขาภิบาล ๓ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�ำ้ มันพระโขนง บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้งส์ จำ�กัด บริษัท ลินฟ้อกซ์ เอ็ม โลจิสติกส์ จำ�กัด บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด สาขารามอินทรา บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด สาขาสีลมคอมเพล็กซ์ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด สาขาบางนา บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน) สาขารัชดาภิเษก บริษัท โอกิฮาร่า (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท อาหารยอดคุณ จำ�กัด บริษัท ไทยโทเรเท็กซ์ไทล์มิลลส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยโทเร ซินเทติคส์ จำ�กัด (โรงงานนครปฐม) บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที (ประเทศไทย)จำ�กัด สาขานครปฐม บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) โรงงานนครปฐม บริษัท อินโดรามาโพลีเอสเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ฟาสโก้ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด (โรงงานนวนคร) บริษัท คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าด (ประเทศไทย)จำ�กัด

140 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

จังหวัด กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ปทุมธานี


๔๙. ๕๐. ๕๑. ๕๒. ๕๓. ๕๔. ๕๕. ๕๖. ๕๗. ๕๘. ๕๙. ๖๐. ๖๑. ๖๒. ๖๓. ๖๔. ๖๕. ๖๖. ๖๗. ๖๘. ๖๙. ๗๐. ๗๑. ๗๒. ๗๓. ๗๔.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำ�กัด บริษัท ไทยมิตชิ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) สาขารังสิต บริษัท ผลิตภัณฑ์วิศวไทย จำ�กัด บริษัท ฝาจีบ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท มูซาชิ ออโตพาร์ท จำ�กัด บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท สุราบางยี่ขัน จำ�กัด บริษัท สยามซานิทารีฟิตติ้งส์ จำ�กัด บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน) สาขารังสิต บริษัท อินเตอร์โปร์ไฟล์ จำ�กัด บริษัท เอเชียนสแตนเลย์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท เอส ซี จี (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท อาซาฮี อินเทค (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำ�กัด โรงงานปทุมธานี บริษัท เออิว่า (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท โฮยาเลนซ์ไทยแลนด์ จำ�กัด โรงงานปทุมธานี บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ซันโยเซมิคอนดักเตอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เทยิน คอร์ด (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ศูนย์ปฏิบัติการระบบท่อเขต ๒ บริษัท เปอริเอ้ วิทเทล (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท พานาโซนิค อีเล็คทริคเวิร์คส์ (อยุธยา) จำ�กัด บริษัท เบียร์ทิพ บริวเวอรี่ (๑๙๙๑) จำ�กัด บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล ประเทศไทย จำ�กัด บางปะอินสาขา ๑ บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จำ�กัด บางปะอินสาขา ๒

จังหวัด ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 141


๗๕. ๗๖. ๗๗. ๗๘. ๗๙. ๘๐. ๘๑. ๘๒. ๘๓. ๘๔. ๘๕. ๘๖. ๘๗. ๘๘. ๘๙. ๙๐. ๙๑. ๙๒. ๙๓. ๙๔. ๙๕. ๙๖. ๙๗. ๙๘. ๙๙.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท อีโนเว รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท อินโนแอค โตไก (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เอ็นโอเค พรีซิชั่น คอมโพเนนท์ (ประเทศไทย)จำ�กัด บริษัท โฮยาเลนซ์ ไทยแลนด์ จำ�กัด (โรงงานอยุธยา ๑) บริษัท โฮยาเลนซ์ ไทยแลนด์ จำ�กัด (โรงงานอยุธยา ๒) บริษัท เบทาโกร เซฟตี้มีทแพคกิ้ง จำ�กัด บริษัท บีทีจี พีคมิลล์ จำ�กัด บริษัท บี ฟู้ดส์ โปรดักส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด( มหาชน) สาขาลพบุรี บริษัท เบ็ทเทอร์ฟาร์ม่า จำ�กัด บริษัท สุรินทร์ ออมย่า เคมิคอล (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท อาหารเบทเทอร์ จำ�กัด (โรงงานลูกชิ้น ไส้กรอก) ลพบุรี บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ เบทาโกร โฟรเซ่นฟู้ดส์ (ประเทศไทย)จำ�กัด บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) ฝ่ายการพาณิชย์สินค้าและไปรษณียภัณฑ์ บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด บริษัท เค ไลน์ คอนเทนเนอร์เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน)โรงงานแปรสภาพขนเป็ด -ขนไก่ป่น บริษัท ไทยแอโรว์ จำ�กัด โรงงานบางพลี บริษัท ไทยซัมมิท เอนจิเนียริ่ง จำ�กัด บริษัท ทรงชัยปั่นทอ จำ�กัด บริษัท ไทย ฟู้ด โคทติ้งส์ จำ�กัด บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำ�กัด โรงงานบางปู บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จำ�กัด บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) โรงงานพระประแดง บริษัท บางกอกเทเลคอม จำ�กัด โรงงาน ๒

142 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี ลพบุรี ลพบุรี ลพบุรี ลพบุรี ลพบุรี ลพบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ


๑๐๐. ๑๐๑. ๑๐๒. ๑๐๓. ๑๐๔. ๑๐๕. ๑๐๖. ๑๐๗. ๑๐๘. ๑๐๙. ๑๑๐. ๑๑๑. ๑๑๒. ๑๑๓. ๑๑๔. ๑๑๕. ๑๑๖. ๑๑๗. ๑๑๘. ๑๑๙. ๑๒๐. ๑๒๑. ๑๒๒. ๑๒๓.

รายชื่อสถานประกอบกิจการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขาสถานีน�้ำมันสนามบินสุวรรณภูมิ บริษัท เพอร์เฟค คอมพาเนียน กรุ๊ป ขำ�กัด บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็คทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำ�กัด บริษัท สายไฟฟ้าไทย - ยาซากิ จำ�กัด สาขาพระประแดง บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำ�กัด โรงงานพระประแดง บริษัท อาหารเบทเทอร์ จำ�กัด สมุทรสาคร บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โรงงานอาหารแปรรูปสัตว์นำ�้ มหาชัย บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) ธุรกิจผลิตอาหารสำ�เร็จรูป บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) โรงฟักไข่ บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) ฟาร์มท่าคล้อ บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) ฟาร์มจำ�ปาหอม บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) ฟาร์มท่าศาลา บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์นำ�้ หนองแค บริษัท ซีพี - เมจิ จำ�กัด บริษัท เดอะสยามเซรามิค กรุ๊ฟ อินดัสทรีส์ จำ�กัด บริษัท ไทยคอนแทนเนอร์ จำ�กัด โรงงานสระบุรี บริษัท นวโลหะไทย จำ�กัด บริษัท บริดจสโตน เอ.ซี.ที (ประเทศไทย) จำ�กัด สาขาสระบุรี บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังน�้ำมันสระบุรี บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) โรงงานแก่งคอย บริษัท อิมเม็กซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท อินแตอร์เนชั่นแนล เพ็ทฟู้ด จำ�กัด

จังหวัด สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสาคร สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี สระบุรี

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 143


คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศ จำ�นวน ๕ แห่ง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด บริษัท โซนี่ ดีไวซ์ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด โรงงานราชบุรี บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์นำ�้ บ้านพรุ

กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี ปราจีนบุรี ราชบุรี สงขลา

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศจ�ำนวน ๙ คน ได้แก่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

นายวสันต์ โสภา บริษัท โภคภัณฑ์อะควอเท็ค จำ�กัด นายมนต์ชัย บรรจง บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด(มหาชน) ฟาร์มเจอาร์ ๒ และ ๓ นายธนพล อิทธิกูล บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด(มหาชน) โรงงานท่าเยี่ยม นายนพวัตติ ์ นิธิดำ�รงรัตน์ บริษัท การ์ดิแนลแฮลท์ ๒๒๒ (ประเทศไทย) จำ�กัด นายวีระยุทธ กุมชาติ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) โรงงานผลิตอาหารสัตว์นำ�้ บ้านพรุ นายสมภักดี นวลน้อย บริษัท ซี.พี.อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด นางสาวน้ำ�ฝน เกตุทอง บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) ธุรกิจผลิตอาหารสำ�เร็จรูป นายอาทิตย์ พลเที่ยง บริษัท บี.พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (โรงงานผลิตอาหารสัตว์หนองแค) นางสาวกุลวดี จุฑาเกตุ บริษัท กรุงเทพโปรดิ้วส จำ�กัด(มหาชน) โรงงานแปรรูปเนื้อไก่

144 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ชลบุรี ตราด นครราชสีมา ระยอง สงขลา สมุทรปราการ สระบุรี สระบุรี สระบุรี


รางวัลผลงาน สิ่งประดิษฐ์ ด้านความปลอดภัย


รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ ผลงานดีเด่น (Best Practice) รางวัลผลงานดีเด่น (Best Practice) จ�ำนวน ๒ ผลงาน ดังนี้

๑ ๑ ผลงานเรื่อง การปรับปรุงสภาพการยศาสตร์ด้วย “กลเม็ดจากกลไก” โดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (โรงงานเกตเวย์) จังหวัดฉะเชิงเทรา

๒ ๒ ผลงานเรื่อง “เครื่องเมตตานารี” โดย บริษัท มงคลสมัย จ�ำกัด จังหวัดอุตรดิตถ์


รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ ผลงานดี (Good Practice) รางวัลผลงานดี (Good Practice) จ�ำนวน ๑๖ ผลงาน ดังนี้

๑. ผลงานเรื่อง “ระบบควบคุมคอนโทรลแจ้งจุดกด สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้”

โดย บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร

๓. ผลงานเรื่อง “เครื่องปั้มปลายขา EXTEND-I”

โดย บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร

๒. ผลงานเรื่อง “เครื่องตัดรางหวาย”

โดย บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร

๔. ผลงานเรื่อง “เครื่องมือส�ำหรับยก Bearing (Work roll bearing lift)”

โดย บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ ผลงานดี (Good Practice)

๕. ผลงานเรื่อง “Stand พลิกถังน�้ำมัน ๒๐๐ ลิตร”

โดย บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

๗. ผลงานเรื่อง “FUNNY CAR”

๖. (Paint Spray Puncher)”

โดย บริษัท ไทยพลาสติกส์และเคมีภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง

โดย บริษัท ไทยพลาสติกส์และเคมีภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง

๘. ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ช่วยงานซ่อมบ�ำรุงชุดโคมไฟ บนหลังคาอาคารโรงงาน”

โดย บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ ผลงานดี (Good Practice) ๑๐

๙. ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ชุดแปรง ขัดท�ำความสะอาดรางไฟเครน”

๑๐. ผลงานเรื่อง “เครื่องมือกลตัดปะเก็น แบบตัดวงกลม”

โดย บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

๑๑

โดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนรัชชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

๑๒

๑๒. ผลงานเรื่อง “เบาะนั่งสไลด์ทำ� งานในตัวรถ” ๑๑. ผลงานเรื่อง “รถส่งงานอัตโนมัติ (Automatic Guided Vehicle)”

โดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (โรงงานเกตเวย์) จังหวัดฉะเชิงเทรา

โดย บริษัท ซันโยเซมิคอนดักเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ ผลงานดี (Good Practice) ๑๓

๑๓. ผลงานเรื่อง “หุ่นยนต์ส่งเครื่องยนต์อัตโนมัติ Automatic engine selector”

โดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (โรงงานประกอบเกตเวย์) จังหวัดฉะเชิงเทรา

๑๔

๑๔. ผลงานเรื่อง “กลไกอย่างงง่าย เพื่อเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่ของรถส่งชิ้นส่วน (Simple is the best)”

โดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (โรงงานประกอบเกตเวย์) จังหวัดฉะเชิงเทรา

๑๕

๑๖

๑๕. ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ช่วยผ่อนแรงในการยก Gauge บานพับประตู

โดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (โรงงานส�ำโรง) จังหวัดสมุทรปราการ

๑๖. ผลงานเรื่อง “รถเข็นขวดไฮโดรเจน”

โดย โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จังหวัดล�ำปาง


รางวัล ชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับ๑ รองชนะเลิศอันดับ๒ ชมเชย ๓ รางวัล

ชื่อทีม ERT Toyota BKP Fire and Rescue BKP Fire Killer Generation#2 ๑.ABPS ๒.TOP GUN TEAM ๓.ฟีนิกส์

บริษัท บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (จ.สมุทรปรการ) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) (จ.สระบุรี) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) (จ.สระบุรี) บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (จ.ชลบุรี) บริษัท ไทยสแตนเลย์การไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) (จ.ปทุมธานี) บริษัท อัคราไมนิ่ง จ�ำกัด (จ.พิจิตร)

ผลการประกวดทีมฉุกเฉิน ในสถานประกอบกิจการ

งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔



ผลการประกวดวาดภาพ

สัปดาห์ความปลอดภัยแห่งชาติครั้งที่ ๒๔ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓

๑ รางวัลชนะเลิศ

ด.ช. ณัฐชนนจ์ องค์ศิริพร โรงเรียนอโศกวิทย์อ่อนนุช

รางวัลชมเชย

ด.ญ.บัวชมพู สายบุญเรือน โรงเรียนบางชัน (ปลื้มวิทยานุสรณ์) แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 153


ผลการประกวดวาดภาพ

สัปดาห์ความปลอดภัยแห่งชาติครั้งที่ ๒๔ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓

รางวัลชมเชย

ด.ญ.สุภัทรา สุธรรมพงษ์ โรงเรียนบางชัน (ปลื้มวิทยานุสรณ์)

รางวัลชมเชย

ด.ช.พานทอง อาระยะธรรม โรงเรียนอโศกวิทย์อ่อนนุช

รางวัลชมเชย

ด.ญ.ลักษณาพร โมค�ำ โรงเรียนบางชัน (ปลื้มวิทยานุสรณ์) 154 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

รางวัลชมเชย

ด.ญ.ยามะธิดา แสงวงษ์ โรงเรียนพร้อมพรรณวิทยา


ผลการประกวดวาดภาพ

สัปดาห์ความปลอดภัยแห่งชาติครั้งที่ ๒๔ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖

๑ รางวัลชนะเลิศ

ด.ญ.พิยดา บุญทอง โรงเรียนวัดกระทุ่มเสือปลา

รางวัลชมเชย

ด.ญ.พิษิตา บุญเทียม โรงเรียนจินดาพงษ์

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 155


ผลการประกวดวาดภาพ

สัปดาห์ความปลอดภัยแห่งชาติครั้งที่ ๒๔ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖

รางวัลชมเชย

รางวัลชมเชย

ด.ญ.ธมนวรรณ เดชสุวรรณ โรงเรียนเทพอักษร

ด.ญ.ทิพยวัลย์ จันทร์หนู โรงเรียนเทพอักษร

รางวัลชมเชย

รางวัลชมเชย

ด.ญ.ธนพร อิ่มแก้ว โรงเรียนอนุบาลสามเสน 156 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ด.ญ.ดวงกมล ดวงนางรอง โรงเรียนวัดกระทุ่มเสือปลา


ผลการประกวดวาดภาพ

สัปดาห์ความปลอดภัยแห่งชาติครั้งที่ ๒๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓

๑ รางวัลชนะเลิศ

ด.ญ.อริสา รักอริยพงศ์ โรงเรียนปัญจทรัพย์

รางวัลชมเชย

ด.ช.ชลธิชา ทิพย์น้อยสง่า โรงเรียนปัญจทรัพย์

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 157


ผลการประกวดวาดภาพ

สัปดาห์ความปลอดภัยแห่งชาติครั้งที่ ๒๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓

รางวัลชมเชย

รางวัลชมเชย

ด.ช.วิสาข เรือนสอน โรงเรียนวัดกระทุ่มเสือปลา

ด.ช.อภิสิทธ์ สมทอง โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า

รางวัลชมเชย

ด.ญ.ทักษิณา สุวรรณทอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

158 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


สรุปการประเมินผล การจัดงาน


สรุปการประเมินผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ การประเมินผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๒๔ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ประเมิน ผลกระบวนการด�ำเนินงานของกิจกรรมหลักที่จัดในงานครั้งนี้ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงาน และค้นหาปัญหาอุปสรรคข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินงาน ข้อเสนอแนะของแต่ละกิจกรรมและประเมินผลส�ำเร็จของโครงการตามวัตถุประสงค์ ที่ก�ำหนดไว้ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกิจกรรมนั้น ๆ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป การประเมินผลครัง้ นีไ้ ด้ด�ำเนินการจัดเก็บข้อมูลจากผูเ้ ข้าร่วมงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ ๘–๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยวิธีการส�ำรวจด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มเป้าหมาย ก�ำหนดเป้าหมาย ในการแจกแบบสอบถามโดยภาพรวมทั้งสิ้น ๖,๕๒๐ ตัวอย่าง ได้รับกลับคืนจ�ำนวนทั้งสิ้น ๕,๖๐๑ ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ ๘๕.๙ สามารถสรุปผลการประเมินได้ดังนี้ ๑. การประเมินผลกิจกรรมหลักที่จัดในงาน ฯ และข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑.๑ กิจกรรมการสัมมนาวิชาการ จากการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนาวิชาการ จ�ำนวน ๓,๘๑๘ ตัวอย่าง พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนาโดยรวม ส่วนใหญ่เป็นลูกจ้าง/พนักงานระดับปฏิบัติการ ร้อยละ ๔๓.๐ รอง ลงมาเป็นกลุ่มเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ ร้อยละ ๒๓.๔ มีระดับการศึกษาที่จบสูงสุด คือ ระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๕๔.๕ ส�ำหรับความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการสัมมนาวิชาการนั้น โดยภาพรวมเห็นว่า วิทยากร/ผู้ร่วม สัมมนาสามารถบรรยายตรงตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ ๓.๙ อยู่ในระดับมาก โดยที่ เอกสารประกอบการสัมมนาจัดไว้อย่างพอเพียงและการได้แลกเปลีย่ นเรียนรูท้ างวิชาการกับวิทยากรหรือผูร้ ว่ มสัมมนา มีค่าคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด เท่ากับ ๓.๔ อยู่ในระดับปานกลาง มีผู้ให้ข้อเสนอแนะต่อการจัดกิจกรรมสัมมนาวิชาการ จ�ำนวน ๘๔๗ ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๒ ของ ตัวอย่างทั้งหมด ส่วนใหญ่เห็นว่ารูปแบบการสัมมนาควรจัดในลักษณะของการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการบริหาร งานด้านความปลอดภัยจากผูท้ ปี่ ระสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานหรือเป็นตัวอย่างทีด่ ใี กล้เคียงกับเห็นว่าควรจัดการ สัมมนาวิชาการในลักษณะของการประชุมเชิงปฏิบัติการที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมเรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง และหัวข้อ ของการสัมมนาควรเน้นหัวข้อที่เกิดประโยชน์และน�ำไปปฏิบัติได้จริง ร้อยละ ๙.๐, ๗.๖ และ ๗.๔ ตามล�ำดับ เมื่อพิจารณาแยกรายหัวข้อสัมมนา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการสัมมนา/อภิปราย/บรรยาย โดยภาพรวม ในหัวข้อท�ำอย่างไร...เพื่อรองรับแผนที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระเบียบวาระแห่งชาติให้บรรลุเป้าหมาย และการออกแบบการยศาสตร์เชิงสร้างสรรค์ (Creative Ergonomics Solution) มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ ๓.๙ อยูใ่ นระดับมาก โดยทีห่ วั ข้อนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับการมีสว่ นร่วมในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการสัมมนา/อภิปราย/บรรยาย โดยภาพรวมมีค่าคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด เท่ากับ ๓.๔ อยู่ในระดับปานกลาง

160 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการสัมมนา/อภิปราย/บรรยาย โดยภาพรวมในทุกหัวข้อ มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๗ อยู่ในระดับมาก กลุม่ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนาวิชาการ ให้ขอ้ เสนอแนะต่อการก�ำหนดหัวข้อการสัมมนา/อภิปราย/บรรยาย ที่ควรจัดให้มีในการจัดงานฯ ครั้งต่อไป จ�ำนวน ๗๑๙ ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๑ โดยหัวข้อที่เห็นควรจัดให้มี การสัมมนา/อภิปราย/บรรยาย ๕ ล�ำดับแรก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ๑. กฎหมายความปลอดภัยในการท�ำงาน ทั้งที่เป็นกฎหมายใหม่และเก่า การปฏิบัติงานที่สถานประกอบ กิจการต้องรู้และน�ำไปปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย ๒. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่าง ๆ เช่น การควบคุมอาคารสูง/อัคคีภัย/สารเคมี/ แรงงาน ๓. ระบบมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องในงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เช่น HIA, ISO ๒๖๐๐๐, OHSAS ๑๘๐๐๑, ISO ๑๔๐๐๑ ๔. แนวทางการการบังคับใช้กฎหมายเพื่อความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๕. กฎหมาย/บทลงโทษผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย ๑.๒ กระบวนการด�ำเนินงานในภาพรวมของการจัดงาน กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท� ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ส่วนใหญ่มีที่ตั้งของ หน่วยงาน/ที่อยู่ อยู่ในเขตปริมณฑล ร้อยละ ๔๔.๖ มาจากหน่วยงานที่เป็นกิจการประเภทผลิตภัณฑ์เคมีน�้ำมัน ปิโตรเลียม/พลาสติก/กระดาษ ร้อยละ ๑๒.๖ มีขนาดคนงานตั้งแต่ ๕๐๐ คนขึ้นไป ร้อยละ ๔๒.๖ เมื่อพิจารณา ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย ๓๖.๔ ปี จบการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๕๖.๙ โดยประเภทของกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ข้าร่วมงานเป็นลูกจ้าง/พนักงานระดับปฏิบตั กิ าร ร้อยละ ๔๐.๒ ไม่เคย เข้าร่วมงานฯ ในครั้งที่ผ่านมา ร้อยละ ๕๑.๑ โดยกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักเรียน/นักศึกษา ไม่เคยเข้าร่วมงานมากที่สุด ร้อยละ ๘๐.๒ ส�ำหรับผู้ที่เคยเข้าร่วมงานพบว่าจ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมงานฯ มากที่สุด คือ ๑-๓ ครั้ง ร้อยละ ๖๕.๘ และมีการน�ำเอาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์มากถึง ร้อยละ ๙๗.๘ แหล่ง/สื่อที่ให้ข้อมูลข่าวสารการจัดงานครั้งนี้แก่ ผู้เข้าร่วมงาน ส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลจากหน่วยงานของตนเอง ร้อยละ ๕๐.๔ เหตุผลส�ำคัญที่สุดที่ทำ� ให้ตัดสินใจเข้า ร่วมงานของกลุ่มตัวอย่าง พบว่าสนใจเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานมากที่สุด ร้อยละ ๔๓.๑ ความต้องการสถานที่ที่ให้มีการจัดงานฯ พบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้มีการจัดงานฯ ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค มากที่สุด ร้อยละ ๕๗.๓ โดยที่ประเภทกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมงาน สถานที่ตั้งของหน่วยงาน ของผู้เข้าร่วมงาน มีความสัมพันธ์กับสถานที่ที่ต้องการให้มีการจัดงานฯ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ การเข้าร่วมงาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างได้เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาวิชาการมากที่สุด ร้อยละ ๙๒.๒ ของจ�ำนวน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด รองลงมา คือ การเข้าชมนิทรรศการแสดงผลงานวิชาการของภาคเอกชน ร้อยละ ๘๗.๒ ส�ำหรับ การน�ำไปใช้ประโยชน์ พบว่า ทุกกิจกรรมมีการน�ำไปใช้ประโยชน์อยู่ในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยระหว่าง ๓.๕-๓.๘ โดยกิจกรรมการสัมมนาวิชาการ การประกวดสถานประกอบกิจการดีเด่น การประกวดการจัดบอร์ดความปลอดภัยใน การท�ำงาน มีค่าคะแนนเฉลี่ยของการน�ำไปใช้ประโยชน์สูงสุด เท่ากับ ๓.๘ โดยประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงาน ส่วนใหญ่เห็นว่ามีประโยชน์ในด้านท�ำให้เกิดความตระหนัก โดยคิดว่าการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ส่งผลต่อการมีสขุ ภาพอนามัยทีด่ ขี องลูกจ้างมากทีส่ ดุ (มีคา่ คะแนนเฉลีย่ เท่ากับ ๔.๑) ส่วนข้อที่ผู้เข้าร่วมงานคิดว่าได้รับประโยชน์น้อยกว่าข้ออื่น ๆ ก็คือ การได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน (มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๕) แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 161


๑.๓ ความคิดเห็นของผู้จัดนิทรรศการและผู้จัดแสดงสินค้า ในการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้จัดนิทรรศการและผู้แสดงสินค้า จ� ำนวน ๑๑๓ แห่ง ต่อการด�ำเนินงาน ของผู้จัดงาน ส่วนใหญ่เห็นว่าการก�ำหนดสถานที่ในการจัดนิทรรศการ/การแสดงสินค้า มีความเหมาะสมมากที่สุด ร้อยละ ๘๖.๗ ของจ�ำนวนผูต้ อบแบบสอบถามทัง้ หมด รองลงมาเป็นการประสานการด�ำเนินการจัดนิทรรศการ/การแสดง สินค้า รูปแบบการจัดนิทรรศการ/แสดงสินค้า และ ราคาค่าคูหานิทรรศการ ร้อยละ ๘๓.๒, ๘๒.๓, ๘๐.๕ ตามล�ำดับ ๒. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงาน กลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมงานฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อสถานที่จัดงาน (แสง เสียง บรรยากาศรอบ ๆ สถานที่) ความสะดวกในการเดินทางเข้าร่วมงาน ช่วงเวลาและจ�ำนวนวันของการจัดงาน กิจกรรมการสัมมนาวิชาการ การจัดนิทรรศการความปลอดภัยและการจัดให้มีการประกวดสถานประกอบกิจการด้านความปลอดภัย มากที่สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๗ (อยู่ในระดับมาก) โดยที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดในด้านการอ� ำนวยความสะดวก (จุดทีพ่ กั /สถานทีร่ บั ประทานอาหาร) มีคา่ คะแนนเฉลีย่ เท่ากับ ๓.๑ (อยูใ่ นระดับปานกลาง) โดยรูปแบบการจัดงานครัง้ นีใ้ น ภาพรวม กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๖ ๓. ผลส�ำเร็จของโครงการตามวัตถุประสงค์ที่กำ� หนดไว้ จากวัตถุประสงค์ของการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ สามารถก�ำหนด ออกมาเป็นผลผลิตของการจัดงานได้ ๔ ผลผลิตหลัก ซึ่งผลการประเมินมีดังนี้ ผลผลิตที่ ๑ การที่ผู้เข้าร่วมงานได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ องค์ความรู้ของการด�ำเนินงาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (ผลส�ำเร็จอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก) จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน ๑,๖๗๐ ตัวอย่าง ตามแบบสอบถามชุดที่ ๑ (ภาพรวมของการจัดงาน) ในประเด็นของการได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน พบว่า มีค่า คะแนนเฉลีย่ ของระดับความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก และเมือ่ สอบถามกลุม่ ตัวอย่างทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนา จ�ำนวน ๓,๘๑๘ ตัวอย่าง ตามแบบสอบถามชุดที่ ๒ (การเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ) ในประเด็นเดียวกัน คือการได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาการกับวิทยากรหรือผู้ร่วมสัมมนา พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นต่อประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงาน ในกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน พบว่า กลุ่มผู้บริหารมีค่าคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นต่อการได้เรียนรู้เรื่องความ ปลอดภัยในการท�ำงานผ่านกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงาน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลผลิตที่ ๒ การน�ำองค์ความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการเข้าร่วมงานไปประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน/ในสถานประกอบกิจการ (ผลส�ำเร็จอยู่ในระดับมาก) จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน ๑,๖๗๐ ตัวอย่าง ตามแบบสอบถามแบบสอบถามชุดที่ ๑ (ภาพรวม ของการจัดงาน) และกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนา จ�ำนวน ๓,๘๑๘ ตัวอย่าง ตามแบบสอบถามชุดที่ ๒ (การเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ) ในประเด็นของการน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน/ในสถานประกอบกิจการ มีค่าคะแนนเฉลี่ยระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก

162 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ผลผลิตที่ ๓ การกระตุ้นและย�้ำเตือนจิตส�ำนึกของผู้เข้าร่วมงานให้เกิดความตระหนักต่อความปลอดภัยใน การท�ำงาน (ผลส�ำเร็จอยู่ในระดับมาก) จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน ๑,๖๗๐ ตัวอย่าง ตามแบบสอบถามชุดที่ ๑ (ภาพรวมของการจัดงาน) ในประเด็นของการให้ความส�ำคัญกับการเข้าร่วมงาน การได้รับการกระตุ้นและย�ำ้ เตือนจิตส�ำนึกให้เกิดความตระหนัก ต่อความปลอดภัยในการท�ำงาน การได้รับความรู้และความตระหนักเพิ่มมากขึ้น พบว่าทุกข้อมีค่าคะแนนเฉลี่ยระดับ ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าคะแนนเฉลีย่ ความคิดเห็นต่อประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการเข้าร่วมงานใน กลุม่ ผูบ้ ริหารและกลุม่ ผูป้ ฏิบตั งิ าน พบว่ากลุม่ ผูบ้ ริหารมีคา่ คะแนนเฉลีย่ ความคิดเห็นต่อการได้รบั ความรูแ้ ละเกิดความ ตระหนัก ด้านความปลอดภัยในการท�ำงานเพิ่มมากขึ้น น้อยกว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงาน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลผลิตที่ ๔ การรับรู้เป้าหมายของวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี”รวมถึงแนวคิดของ ความรับผิดชอบต่อสังคม (ผลส�ำเร็จอยู่ในระดับมาก) จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน ๑,๖๗๐ ตัวอย่าง ตามแบบสอบถามชุดที่ ๑ (ภาพรวมของการจัดงาน) ในประเด็นของการรับรู้เป้าหมายของวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และจากการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าคะแนนเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมสัมมนา ในหัวข้อ แนวทางปฏิบัติ ตามหลักการความรับผิดชอบต่อสังคม ISO ๒๖๐๐๐: Social Responsibility ในกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน พบว่า กลุ่มผู้บริหารเห็นว่าภายหลังการสัมมนาได้รับความรู้ตามประเด็นหัวข้อมากขึ้น มากกว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงานอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติ ๔. ข้อเสนอแนะต่อการจัดงาน จากการเปรียบผลการด�ำเนินงานย้อนหลัง ๓ ปี (ปี พ.ศ.๒๕๕๑- ๒๕๕๓) จากผลการด�ำเนินงานการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ย้อนหลัง ๓ ปี (ปี พ.ศ.๒๕๕๑๒๕๕๓) มีข้อเสนอแนะต่อการจัดกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมการสัมมนาวิชาการ ๑) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมงานมีความหลากหลายมากขึ้น โดยมีทั้งกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของสถานประกอบ กิจการ นายจ้าง ลูกจ้าง ผู้แทนหน่วยงานและองค์กรเครือข่ายด้านความปลอดภัย ผู้แทนสถาบันการศึกษา ที่ประกอบ ไปด้วยนักเรียน/นักศึกษา อาจารย์ ผู้บริหารและกลุ่มประชาชนทั่วไป ดังนั้น ในการจัดงานครั้งต่อไปจึงควรเปิดกว้าง ให้กับทุกกลุ่มสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนาวิชาการได้ รวมทั้งมีการเพิ่มหัวข้อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ใช่ผู้ที่อยู่ในสถานประกอบการ ๒) ควรมีการปรับรูปแบบการสัมมนาวิชาการให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เข้าร่วมงานตามที่ได้ให้ ข้อเสนอแนะไว้ โดยควรมีการเพิ่มเติมรูปแบบและเนื้อหาการสัมมนาในประเด็นดังต่อไปนี้ ๒.๑ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์จากผูท้ ปี่ ระสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานหรือเป็นตัวอย่างทีด่ ี โดยมี ลักษณะเป็นการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารทีผ่ เู้ ข้าร่วมสัมมนาสามารถร่วมเรียนรูแ้ ละฝึกปฏิบตั จิ ริงส�ำหรับบางหัวข้อทีส่ ามารถ ด�ำเนินการได้ ๒.๒ การจ�ำลองเหตุการณ์เพื่อสาธิตการแก้ไขปัญหา ซึ่งอาจต้องมีการจ�ำกัดจ�ำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนาและ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 163


ให้มีการเตรียมประเด็น/สถานการณ์ก่อนเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ โดยให้มีการลงทะเบียนในหัวข้อดังกล่าวนี้ล่วงหน้า ส�ำหรับผู้ที่สนใจ ๓) หัวข้อสัมมนาควรเน้นหัวข้อที่ก่อให้เกิดประโยชน์และน� ำไปปฏิบัติได้จริงก่อนเป็นอันดับแรก ๆ เพราะ กลุม่ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นเป็นลูกจ้าง/พนักงานระดับปฏิบตั กิ าร ซึง่ ต้องการความรูแ้ ละประสบการณ์ทสี่ ามารถ น�ำกลับไปประยุกต์เพื่อการปฏิบัติงานได้จริงมากกว่าแนวคิดและหลักการ ๔) กลุ่มหัวข้อเกี่ยวกับกฎหมายเพื่อความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานเป็นกลุ่ม หัวข้อสัมมนาที่มีแนวโน้มของความสนใจที่เพิ่มมากขึ้น การจัดกิจกรรมในภาพรวม ๑) ควรหากลวิ ธี ที่ จ ะท� ำ ให้ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งจากทุ ก ภาคส่ ว น หลากหลายพื้ น ที่ โดยเฉพาะสถาน ประกอบกิจการที่มีขนาดเล็กและขนาดกลางได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยใน การท�ำงานแห่งชาติให้มากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นต่อการด�ำเนินงานความปลอดภัยในการท�ำงาน ได้อย่างครอบคลุม เพราะจากข้อมูลผู้เข้าร่วมงานพบว่าส่วนใหญ่มาจากเขตปริมณฑล และจากสถานประกอบการ ขนาดใหญ่ ๒) แนวโน้มของกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ข้าร่วมงานมีความหลากหลายเพิม่ มากขึน้ การเพิม่ ขึน้ ดังกล่าวถือเป็นสัญญาณ ทีด่ ตี อ่ การกระตุน้ จิตส�ำนึกเรือ่ งความปลอดภัยให้เกิดขึน้ ในทุกภาคส่วน รวมทัง้ การเกิดภาคีเครือข่ายในการขับเคลือ่ น การด�ำเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่เป็นรูปธรรมและต่อเนื่องเพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน ๓) การรับรู้ข้อมูลข่าวสารการจัดงานทางอินเตอร์เน็ต เป็นแหล่ง/สื่อที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ตลอด ๓ ปี ที่ผ่านมา ดังนั้นช่องทางดังกล่าวอาจเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ผู้จัดควรให้ความส�ำคัญในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการ จัดงานในครั้งต่อไป ๔) ภาพรวมต่อประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานในช่วงผลการด� ำเนินงาน ๓ ปีย้อนหลังที่ผ่านมา ผูเ้ ข้าร่วมงานเห็นว่าการได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์ในการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงานมีคา่ คะแนน เฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนั้นการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ควรมีการพิจารณาปรับรูปแบบโดยเน้นให้ผู้ร่วมงานได้เข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น

164 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


สรุปผลการจัดงาน ๕ ภูมิภาค


166 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

๒๒ - ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓

วันที่

โรงแรมโกลเด้นซิตี้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

สถานที่ -     - -   - - -   -   - -

ประธานพิธี

นางอัมพร นิติสิริ การมอบรางวัลสถานประกอบกิจการ ดีเด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวะอนามัย และสภาพแวดล้อม อธิบดีกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน ในการท�ำงาน การสัมมนาวิชาการ การแสดงนิทรรศการผลงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน การสาธิตการขี่จักรยานยนต์อย่างปลอดภัย การสาธิตวิธีการช่วยผู้ประสบภัยออกจากอาคาร การสาธิตการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ เครื่องมืออุปกรณ์ การออกร้ า นจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า อุ ป กรณ์ คุ ้ ม ครอง และความปลอดภัยส่วนบุคคล การประกวดค�ำขวัญด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน การประกวดวาดภาพความปลอดภัย

กิจกรรม

วันที่ ๒๒ – ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓

๑. ผู้เข้าร่วมงาน จ�ำนวน ๑,๑๕๐ คน ๒. ผู้เข้าร่วมสัมมนา จ�ำนวน ๑๔๙ คน ๓. คูหานิทรรศการ จ�ำนวน ๕๓ คูหา ๓.๑ คูหาจากภาคราชการ ๑๖ คูหา ๓.๒ คูหาจากภาคเอกชน ๓๗ คูหา

ผู้เข้าร่วมงาน

สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน ภาคตะวันตก ปี พ.ศ. ๒๕๕๓


แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 167

๑. แนวทางการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับภาค ควรมีความชัดเจน มีข้อมูลและรายละเอียดที่เอื้อประโยชน์ต่อจังหวัดเจ้าภาพ ๒. ควรจัดงานในจังหวัดที่มีสถานประกอบกิจการขนาดใหญ่หรือมีอุตสาหกรรมหนาแน่น รวมทั้งมีปัญหาการประสบอันตรายเนื่องจากการท�ำงานสูง เพื่อผล สัมฤทธิ์ของการจัดงาน และง่ายต่อการเชิญชวนผู้เข้าร่วมงานที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ๓. ส่วนกลางควรสนับสนุนเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น สื่อโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบข่าวสารและเข้าร่วม กิจกรรมในงาน

ข้อเสนอแนะเพื่อการจัดงานในระดับภาคครั้งต่อไป มีดังนี้

๑. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในส่วนนิทรรศการหนาแน่นเฉพาะช่วงเช้า และจ�ำนวนลดลง ในช่วงบ่าย เนื่องจากในช่วงเดือนกรกฎาคมสถานประกอบกิจการต้องการ เร่งผลผลิตตามข้อค�ำสั่งซื้อของลูกค้า และเป็นช่วงเวลาที่นักเรียน นักศึกษาอยู่ในช่วงของการสอบวัดผล ๒. สถานที่จัดงาน เนื่องจากการจัดงานดังกล่าวต้องใช้พื้นที่ในการรองรับการจัดสัมมนาวิชาการและนิทรรศการที่มีขนาดใหญ่ จึงเป็นข้อจ�ำกัดในการจัดงาน เพราะจังหวัดราชบุรีหาสถานที่กว้างขวางและเหมาะสมได้ค่อนข้างยาก ๓. แนวทางการด�ำเนินงานและการสั่งการจากส่วนกลางไม่ชัดเจนและขาดรายละเอียดที่สำ� คัญ ๆ ต่อการจัดงาน ๔. เวลาในการเตรียมการจัดงานค่อนข้างน้อย เนื่องจากได้รับการประสานเกี่ยวกับค�ำสั่ง ข้อสั่งการและรายละเอียดต่าง ๆ ค่อนข้างล่าช้า ท�ำให้การเตรียม งานและการประสานงานท�ำได้อย่างจ�ำกัด

ปัญหาและอุปสรรคในการจัดงาน


ภาพงานสั ป ดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงาน

ภาคตะวันตก จ.ราชบุรี



170 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ห้องเอ็มซีซี ฮอลล์ เดอะมอลล์นครราชสีมา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

๑๗ – ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๓

ประธานพิธี

๑. มอบถ้วยรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความ นางอัมพร นิติสิริ   ปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มใน อธิบดีกรมสวัสดิการ   การท�ำงาน ระดับประเทศ ต�ำกว่า ๕ ปี จ�ำนวน ๔๒ และคุ้มครองแรงงาน   แห่ง ๒. มอบโล่รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความ   ปลอดภัยฯ จ�ำนวน ๓๐ แห่ง ๓. มอบประกาศนียบัตรชมเชยสถานประกอบกิจการ   ดีเด่นด้านความปลอดภัยฯ จ�ำนวน ๑๓ แห่ง ๔. การประกวดวาดภาพ   ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓   ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖   ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ๕. การแข่งขัน ๑๐๘ ไอคิวกับคปอ. ๖. การแข่งขันเต้นแอโรบิค เพื่อสุภาพ ๗. การแข่งขันทีมฉุกเฉิน ๘. การสาธิ ต การสั ง เกต เก็ บ กู ้ วั ต ถุ อั น ตรายและ   เหตุฉุกเฉินกรณีสารเพโทฟินรั่วไหลจากเครื่องบิน   เอฟ ๑๖ (กองบิน ๑) ๙. การสาธิต กรณีไฟไหม้ภาคในอาคาร   (เทศบาลนครนครราชสีมา)

กิจกรรม

๑. ผู้เข้าร่วมงาน จ�ำนวน ๑,๒๐๐ คน ๒. ผู้เข้าร่วมสัมมนา จ�ำนวน ๒๐๐ คน ๓. คูหานิทรรศการ จ�ำนวน ๕๖ คูหา ๓.๑ คูหาจากภาคราชการ ๒๘ คูหา ๓.๒ คูหาจากภาคเอกชน ๒๓ คูหา ๓.๓ คูหาภาครัฐวิสาหกิจ จ�ำนวน ๒ คูหา ๓.๔ คูหาสมาคมและมูลนิธิ จ�ำนวน ๓ คูหา

ผู้เข้าร่วมงาน

ปัญหาและอุปสรรคในการจัดงาน - ไม่มีข้อเสนอแนะ - การจัดงานในครั้งต่อไป ขอให้จัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมและเพียงพอกับจ�ำนวนกลุ่มเป้าหมาย โดยไม่ต้องให้จังหวัดเจ้าภาพของบประมาณเพิ่มเติม

สถานที่

วันที่

วันที่ ๑๗ – ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๓

สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓


ภาพงานสั ป ดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จ . น ค ร ร า ช สี ม า




174 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

สถานที่

๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ห้องคอนเวนชั่นฮอล์ โรงแรมท็อปแลนด์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

วันที่

ประธานพิธี

ผู้เข้าร่วมงาน

ดร.ปรีชา เรืองจันทร์ ๑. ผู้เข้าร่วมงาน จ�ำนวน ๑,๕๐๐ คน - พิธีมอบรางวัล สปก.ดีเด่นด้านความปลอดภัย ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ๒. ผู้เข้าร่วมสัมมนา จ�ำนวน ๔๕๐ คน   อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ๓. คูหานิทรรศการ จ�ำนวน ๔๒ คูหา   ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ๓.๑ คูหาจากภาคราชการ ๒๘ คูหา - มอบรางวัลผู้ชนะเลิศประกวดค�ำขวัญ ๓.๒ คูหาจากภาคเอกชน ๑๔ คูหา - เปิดในส่วนนิทรรศการ - บรรยายพิเศษ “แรงงานปลอดภัย...เรื่องใกล้ตัว”   โดยนายเกษม กองกูล ผูต้ รวจราชการกรมสวัสดิการ   และคุ้มครองแรงงาน - อภิปราย “ทิศทางการขับเคลือ่ นระเบียบวาระแห่งชาติ   ให้บรรลุเป้าหมาย” โดย ๑. นายวินยั ลัฐกิ าวิบลู ย์ ผูต้ รวจราชการกรมสวัสดิการ   และคุ้มครองแรงงาน ผู้แทนภาครัฐ ๒. นายจงวิ วั ฒ น์ คชพงษ์ ธี ร ประภา ผู ้ จั ด การ   แผนกปฏิบัติการก๊าซ คลังปิโตรเลียมนครสวรรค์   ผู้แทนนายจ้าง ๓. นายอมรพงศ์ สถานพร จป.วิ ช าชี พ บริ ษั ท   ไทยแอร์โรว์ จ�ำกัด (โรงงานพิษณุโลก) ผูแ้ ทนลูกจ้าง ๔. นายควง ใสแจ่ม นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ   ศู น ย์ ค วามปลอดภั ย แรงงานพื้ น ที่ ๓ จ.ล� ำ ปาง   ผู้ด�ำเนินการอภิปราย - อบรมส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการการปฏิบัติ   ตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย   และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน - อบรมความปลอดภัยสู่สถานศึกษา

กิจกรรม

วันที่ ๒๖ – ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓

สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน ภาคเหนือ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓


แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 175

ปัญหาและอุปสรรคในการจัดงาน - ไม่มี ข้อเสนอแนะ - ไม่มี

๒๖-๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓

-   ห้องคอนเวนชั่นฮอล์๑ - หน้าห้องคอนเวนชั่นฮอล์     - -   - -   - - - - ห้องสุโขทัย   - ห้องเพชรบูรณ์ ๑

สถานที่

๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ห้องเพชรบูรณ์ ๒

วันที่ ประกวดวาดภาพส่งเสริมความปลอดภัยสุขภาพ อนามัยและรักษาสิ่งแวดล้อม บูธแสดงผลงาน สปก. ดีเด่นด้านความปลอดภัยฯ ๑๗ จังหวัด ภาคเหนื อ และศู น ย์ ค วามปลอดภั ย แรงงานพื้นที่ ๓ ล�ำปาง และพื้นที่ ๔ นครสวรรค์ บูธแสดงสินค้าและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านต่าง ๆ นิ ท รรศการด้ า นวิ ช าการจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน นิทรรศการส่งเสริมการท่องเที่ยว นิทรรศการชมรม จป. และชมรมเครือข่ายแรงงาน พิษณุโลก การจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน OTOP บริการแนะแนวอาชีพ, สาธิตอาชีพอิสระ ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย การอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การท�ำงาน (จป.) ระดับ บริหาร การอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การท�ำงาน (จป.) ระดับหัวหน้างาน

กิจกรรม

ประธานพิธี

- ผู้เข้าอบรม จป. ๑๒๐ คน - ระดับบริหาร ๖๓ คน - ระดับหัวหน้างาน ๕๗ คน

- ผู้เข้าประกวดวาดภาพ - ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ จ�ำนวน ๑๔ คน - ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ จ�ำนวน ๑๐ คน

ผู้เข้าร่วมงาน


สรุปประเมินผลการจัดงานจากแบบสอบถามความคิดเห็น ของผู้เข้าร่วมงานต่อภาพรวม

งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก ปี ๒๕๕๓ วันที่ ๒๖ – ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมท็อปแลนด์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ส่วนที่ ๑ ข้อมูลผู้เข้าชมงาน (ผู้ตอบแบบสอบถาม ๔๗๖ คน) ๑. เพศ เพศ

ร้อยละ

ชาย หญิง

๔๗.๗๐ ๕๒.๓๐

อายุ

ร้อยละ

๑๕ – ๒๕ ปี ๒๖ – ๔๐ ปี ๔๐ ปี ขึ้นไป

๓๘.๙๐ ๓๙.๒๐ ๒๑.๙๐

ระดับ

ร้อยละ

ประถม มัธยม ปวส./อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

๒.๙๐ ๑๑.๖๐ ๒๒.๓๐ ๕๙.๕๐ ๓.๘๐

๒. อายุ

๓. ระดับการศึกษา

๔. ประเภทกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมงาน ระดับ กลุ่มนายจ้าง/เจ้าของกิจการ/ผู้จัดการ ผู้บริหาร/จป.บริหาร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับอื่น ๆ ลูกจ้าง/พนักงานระดับปฏิบัติการ อาจารย์สถาบันการศึกษา/นักวิชาการความปลอดภัย นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ อื่น ๆ (ระบุ)

176 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ร้อยละ ๗.๑๐ ๕.๙๐ ๘.๖๐ ๘.๘๐ ๓๕.๗๐ ๑.๑๐ ๒๓.๓๐ ๘.๖๐ ๐.๘๐


๕. สถานที่ตั้งหน่วยงาน/ที่อยู่ ที่ตั้ง

ร้อยละ

จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอื่น ๆ

๗๑.๘๐ ๒๘.๒๐

๖. เคยเข้าร่วมงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานหรือไม่ การร่วมชมงาน

ร้อยละ

ไม่เคยเข้าร่วมงาน เคยเข้าร่วมงาน

๗๑.๔๐ ๒๘.๖๐

๗. การน�ำความรู้จากการเข้าร่วมงานที่ผ่านมาไปใช้ประโยชน์ การน�ำความรู้ไปใช้

ร้อยละ

ใช้ประโยชน์ ไม่ได้ใช้ประโยชน์

๙๘.๙๐ ๑.๑๐

๘. ทราบข่าวการจัดงานครั้งนี้จากแหล่งใด (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ) แหล่งข่าว

ร้อยละ

หน่วยงานของตนเอง โทรทัศน์/วิทยุ หนังสือพิมพ์ อินเตอร์เน็ต ป้ายประกาศ/แผ่นพับ เพื่อนร่วมงาน อื่น ๆ

๖๘.๙๐ ๓.๖๐ ๐.๔๐ ๓.๖๐ ๔.๘๐ ๖.๕๐ ๑๒.๒๐

๙. เหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้ตัดสินใจเข้าร่วมงานในครั้งนี้ เหตุผล

ร้อยละ

หน่วยงานมอบหมาย สนใจเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมใน การท�ำงาน เข้าร่วมกิจกรรมในงาน/ความบันเทิง ต้องการความรู้เพิ่มเติม ต้องการได้รับวุฒิบัตร ซื้อสินค้า อื่น ๆ

๔๐.๓๐ ๒๙.๔๐ ๖.๑๐ ๒๒.๙๐ ๐.๒๐ ๐.๔๐ ๐.๖๐

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 177


๑๐. ความคิดเห็นต่อประโยชน์ที่ได้จากการร่วมงานครั้งนี้ ความคิดเห็น

มากที่สุด

๑. เกิ ด ความตระหนั ก โดยเห็ น ว่ า การด� ำ เนิ น งานด้ า น ๓๗.๒๐   ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงาน เป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนที่คุ้มค่า ลดการสูญเสีย แรงงาน เศรษฐกิจ สังคม ๒. เกิ ด ความตระหนั ก โดยเห็ น ว่ า การด� ำ เนิ น งานด้ า น ๓๙.๓๐ ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มใน การท�ำงานส่งผลต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของลูกจ้าง ๓. ได้ รั บ ความรู ้ แ ละเทคนิ ค ในการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ลดอั ต รา ๓๐.๕๐ การประสบอันตรายและโรคจากการท�ำงาน ๔. ได้รับความรู้ที่น�ำสู่การสร้างระบบการเฝ้าระวังด้านสุขภาพ ๓๑.๗๐ อนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงาน ๕. รู้จักระบบมาตรฐานความปลอดภัยในการท� ำงานใหม่ๆ ๒๖.๗๐ ที่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องและทราบวิธีการปฏิบัติ ๒๔.๖๐ ๖. ทราบแหล่งข้อมูลและเครือข่ายของหน่วยงานที่สนับสนุน การด�ำเนินกิจกรรมเพื่อความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานต่างๆ ๗. ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิด ๒๖.๑๐ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ๘. สามารถน�ำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานฯ มาประยุกต์ ๓๐.๙๐ ใช้ในหน่วยงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน ๙. ประโยชน์ที่ไดรับคุ้มค่ากับเวลาและค่าใช้จ่ายที่มาร่วมงาน ๒๗.๕๐ ๑๐. ในภาพรวมแล้วท่านสามารถน�ำ สิ่งที่ได้รับจากการเข้ า ๓๑.๕๐ ร่วมงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งตนเอง และหน่วยงาน

ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) มาก ปานกลาง น้อย

น้อยที่สุด

๕๓.๘๐

๕๑.๙๐

๘.๖๐

๐.๒๐

๕๙

๑๐.๓๐

๐.๒๐

๕๖.๕๐

๑๑.๓๐

๐.๔๐

๕๘

๑๔.๗๐

๐.๖๐

๕๗.๘๐

๑๗.๒๐

๐.๒

๐.๒

๕๑.๖๐

๒๑.๖๐

๑.๑

๕๕.๓๐

๑๓.๗๐

๐.๒๐

๕๙.๗๐ ๕๗.๑๐

๑๒.๘๐ ๑๐.๙๐

๐ ๐.๔

๐ ๐

๑๑. ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมงานในครั้งนี้ ความคิดเห็น

มากที่สุด

๒๙.๘๐ ๑. สถานที่จัดงาน ๒๒.๕๐ ๒. ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม ๓. การอ�ำนวยความสะดวกของระบบการลงทะเบียนในภาพรวม ๒๑.๒๐ ๒๐.๔๐ ๔. การจัดระบบการลงทะเบียนล่วงหน้า ๕. การประชาสัมพันธ์ภายในงาน (ป้าย/บุคลากร/เสียงตามสาย) ๒๒.๓๐ ๒๒.๑๐ ๖. การอ�ำนวยความสะดวก (จุดที่นั่งพัก/การบริการ) ๒๒.๕๐ ๗. การจัดสถานที่รับประทานอาหาร ๒๒.๙๐ ๘. เอกสารเผยแพร่มีการจัดไว้อย่างพอเพียง/เหมาะสม

178 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) มาก ปานกลาง น้อย ๔๙.๘๐ ๕๓.๘๐ ๕๔.๔๐ ๕๐.๖๐ ๕๒.๗๐ ๕๒.๑๐ ๕๔.๖๐ ๕๖.๑๐

๑๙.๑๐ ๒๒.๙๐ ๒๒.๓๐ ๒๖.๕๐ ๒๒.๗๐ ๒๓.๕๐ ๒๑.๒๐ ๒๐.๒๐

๑.๑๐ ๐.๖๐ ๑.๙๐ ๒.๕๐ ๒.๓๐ ๒.๓๐ ๑.๓๐ ๐.๘๐

น้อยที่สุด ๐.๒ ๐.๒ ๐.๒ ๐ ๐ ๐ ๐.๔๐ ๐


ความคิดเห็น

มากที่สุด

๙. การเสวนา/สัมมนาวิชาการ ๑๐. การจัดนิทรรศการความปลอดภัย ๑๑. กิจกรรมบนเวทีกลาง (จัดประกวด/กิจกรรมเพื่อ ความบันเทิง) ๑๒. การออกร้านแสดงสินค้า ๑๓. รูปแบบการจัดงานครั้งนี้โดยรวม

ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) มาก ปานกลาง น้อย

น้อยที่สุด

๒๔.๔๐ ๒๖.๗๐ ๒๒.๗๐

๕๘.๔๐ ๕๗.๘๐ ๕๔.๒๐

๑๖.๔๐ ๑๔.๕๐ ๒๑.๖๐

๐.๘๐ ๑.๑๐ ๑.๕๐

๐ ๐ ๐

๒๔.๘๐ ๒๔.๖๐

๕๐.๖๐ ๕๖.๓๐

๒๑.๘๐ ๑๘.๕๐

๒.๗๐ ๐.๔๐

๐ ๐.๒๐

๑๒. กิจกรรมที่ท่านคิดว่าได้ความรู้และสามารถน�ำความรู้ไปพัฒนาหรือประยุกต์ใช้ในการด�ำเนิน งานด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน มากที่สุด ๓ อันดับแรก อันดับหนึ่ง - รวมความรู้เรื่องความปลอดภัย - กิจกรรมสัมมนา - การจัดนิทรรศการความปลอดภัย - การจัดอุปกรณ์เซฟตี้ - การตอบค�ำถาม Safety rally - กิจกรรมบนเวทีกลาง - การอบรมต่างๆ - บูธแสดงสินค้า - การอบรม จป.

อันดับสอง - ข้อมูลความปลอดภัยฯ - อุปกรณ์ทันสมัย - จัดนิทรรศการความปลอดภัย - ออกร้านแจกเอกสารและแสดง สินค้า - กฎหมายความปลอดภัย

อันดับสาม - การจัดนิทรรศการ - สาธิตการใช้อุปกรณ์ PPE - การออกร้านแสดงสินค้า - อุปกรณ์เซฟตี้ - การอบรม/สัมมนาวิชาการ - ออกบูธโดยหน่วยราชการ - เล่นเกมส์ - กิจกรรมบนเวที

๑๓. สรุปข้อเสนอแนะต่อรูปแบบการจัดงานในครั้งต่อไป ๑๓.๑ ด้านสถานที่และบริการ - สถานที่จัดงานคับแคบ - เพิ่มความสะดวกในลงทะเบียน ๑๓.๒ ระยะเวลาการจัดงาน - อยากให้มีมากกว่า ๒ วัน - อยากให้มีวันอบรมที่เหมาะสม ๑๓.๓ กิจกรรม/การอบรม/ประชุม/สัมมนา - ควรเพิ่มหัวข้อสัมมนาวิชาการให้หลากหลายมากขึ้น - ควรสอดแทรกความบันเทิงให้มากกว่านี้ ๑๓.๔ การจัดนิทรรศการ - ควรมีการออกร้านแสดงสินค้ามากกว่านี้ ๑๓.๕ สรุปภาพรวมการจัดงาน - ดีมาก - สถานที่จัดงานคับแคบ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 179


สรุปประเมินผลการอภิปราย จากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมอภิปราย

งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก ปี ๒๕๕๓ วันที่ ๒๖ – ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมท็อปแลนด์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ส่วนที่ ๑ ข้อมูลผู้เข้าชมงาน (ผู้ตอบแบบสอบถาม ๑๔๐ คน) ๑. เพศ เพศ

ร้อยละ

ชาย หญิง

๕๗.๑๐ ๔๒.๙๐

อายุ

ร้อยละ

๑๕ – ๒๕ ปี ๒๖ – ๔๐ ปี ๔๐ ปี ขึ้นไป

๕๗.๘๐ ๓๐.๖๐ ๑๑.๖๐

ระดับ

ร้อยละ

ประถม มัธยม ปวส./อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

๔.๓๐ ๑๗.๑๐ ๓๐ ๔๕.๗๐ ๒.๙๐

๒. อายุ

๓. ระดับการศึกษา

๔. ประเภทกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมงาน ระดับ กลุ่มนายจ้าง/เจ้าของกิจการ/ผู้จัดการ ผู้บริหาร/จป.บริหาร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับอื่น ๆ ลูกจ้าง/พนักงานระดับปฏิบัติการ อาจารย์สถาบันการศึกษา/นักวิชาการความปลอดภัย นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป อื่นๆ

180 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ร้อยละ ๒.๙๐ ๕ ๗.๑๐ ๑๐.๗๐ ๕๓.๖๐ ๒.๑๐ ๑๘.๖๐ ๐


๕. สถานที่ตั้งหน่วยงาน/ที่อยู่ ที่ตั้ง

ร้อยละ

จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอื่น ๆ

๘๗.๙๐ ๑๒.๑๐

๖. ความคิดเห็นของท่านต่อการเข้าร่วมอภิปราย ความคิดเห็น ๑. ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการอภิปราย ๒. เนือ้ หาของการอภิปรายเข้าใจง่ายและสามารถน�ำไปใช้ปฏิบตั จิ ริง ๓. วิทยากร/ผูร้ ว่ มอภิปรายบรรยายตรงตามหัวข้อทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๔. วิทยากร/ผู้ร่วมอภิปรายบรรยายได้ชัดเจนเข้าใจง่าย ๕. ค�ำชี้แจงของวิทยากร/ผู้ร่วมอภิปรายเป็นประโยชน์มาก ๖. เอกสารประกอบการอภิปรายมีความเหมาะสม ๗. ระยะเวลาของอภิปรายในแต่ละหัวข้อมีความเหมาะสม ๘. สถานที/่ ห้องเสวนามีความเหมาะสมกับจ�ำนวนผูเ้ ข้าร่วมอภิปราย ๙. ท่านได้รับความรู้ที่สอดคล้องกับความคิดหวังของท่าน ๑๐. ความพึงพอใจต่อการอภิปรายโดยภาพรวม

ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ๑๙.๓๐ ๒๑.๔๐ ๒๓.๖๐ ๒๓.๖๐ ๒๒.๙๐ ๒๐ ๑๘.๖๐ ๒๓.๖๐ ๒๓.๖๐ ๒๕

๖๒.๙๐ ๕๗.๑๐ ๕๔.๓๐ ๕๘.๖๐ ๖๒.๑๐ ๕๖.๔๐ ๕๔.๓๐ ๕๔.๓๐ ๕๖.๔๐ ๕๓.๖๐

๑๗.๙๐ ๒๑.๔๐ ๒๒.๑๐ ๑๗.๙๐ ๑๔.๓๐ ๒๒.๙๐ ๒๖.๔๐ ๒๐.๗๐ ๒๐ ๒๑.๔๐

๐ ๐ ๐ ๐ ๐.๗๐ ๐.๗๐ ๐.๗๐ ๑.๔๐ ๐ ๐

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๗. ข้อเสนอแนะ ๗.๑ หัวข้ออภิปราย ที่ควรจัดให้มีการจัดงาน ฯ ครั้งต่อไป - การประกอบอาชีพในสาขางานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย - เกี่ยวกับการใช้รถยนต์ - การขนส่ง บรรทุกของ - การปลูกจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน - การพัฒนางานอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ - การแสดงของผู้ประกอบการ - ความปลอดภัยเกี่ยวกับการวิชาชีพ ๗.๒ ข้อเสนอแนะอื่น ๆ - การอภิปราย อยากให้น�ำตัวอย่างอันตรายที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี เช่น อันตรายที่ เกิดจาก แก๊ส น�ำ้ มัน เพราะมีการใช้แก๊ส เพิ่มมากขึ้นในชีวิตประจ�ำวัน - สาธิตการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล - ความปลอดภัยในการใช้ยานพาหนะ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 181


ภาพงานสัปดาห์

ความปลอดภัยในการท�ำงาน

ภาคเหนือ จ.พิษณุโลก



184 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

สถานที่

มหาวิทยาลัยบูรพา อ.เมือง จ.ชลบุรี

วันที่

๒–๓ กันยายน ๒๕๕๓

-     -   - -   - -   - -     -

ประธานพิธี

ผู้เข้าร่วมงาน

๑. ผู้เข้าร่วมงาน จ�ำนวน ๑๕,๓๙๓ คน มอบรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความ รองปลัดกระทรวงแรงงาน ปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มใน (นายแพทย์สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) ๒. ผเู้ ข้าร่วมสัมมนา จ�ำนวน ๑,๙๗๗ คน ๓. คูหานิทรรศการ จ�ำนวน ๘๒ คูหา การท�ำงาน ปี ๒๕๕๓ ๓.๑ คูหาจากภาคราชการ ๑๔ คูหา มอบธงรณรงค์ ค วามปลอดภั ย ให้ กั บ ประธาน ๓.๒ คูหาจากภาคเอกชน ๖๘ คูหา สภาอุตสาหกรรมจังหวัดในภาคตะวันออก การสาธิตการท�ำงานในที่อับอากาศ การสาธิ ต การท� ำ งานในที่ สู ง และการช่ ว ยเหลื อ ผู้ประสบภัยจากที่สูง การแข่งขันทีมเผชิญเหตุฉุกเฉิน การสาธิตการช่วยเหลือและเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย จากอาคารสูง กิจกรรม Safety Walk Rally การบรรยายพิ เ ศษ เรื่ อ ง ระเบี ย บวาระแห่ ง ชาติ แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี : ยุทธศาสตร์สู่ ความเป็นเลิศ บรรยายพิ เ ศษ เรื่ อ งกฎหมายความปลอดภั ย ใน การท�ำงานฉบับใหม่

กิจกรรม

วันที่ ๒ – ๓ กันยายน ๒๕๕๓

สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน ภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๕๓


แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 185

สถานที่ -       -   -

การอบรมหลั ก สู ต รเจ้ า หน้ า ที่ ค วามปลอดภั ย ใน การท� ำ งานระดั บ บริ ห าร หั ว หน้ า งานและ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน การแสดงและสาธิตกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย ในการท�ำงานประจ�ำฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ชมและเลือกซือ้ สินค้าอุปโภคบริโภคคุณภาพสูง ราคา สูงจากสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ฯและสินค้า ราคาถูกจากกลุ่มแม่บ้าน

กิจกรรม

ประธานพิธี

ผู้เข้าร่วมงาน

ปัญหาและอุปสรรคในการจัดงาน - เมื่อมีผู้ร่วมกิจกรรมในงานจ�ำนวนมาก ท�ำให้สถานที่รองรับคับแคบ ทั้งอาคารห้องประชุม สถานที่จอดรถ และลานแสดงกิจกรรม ฯลฯ ข้อเสนอแนะ - ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ควรจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่กฎหมายใหม่ ๆ เอกสารความรู้อื่น ๆ ที่ควรเผยแพร่ แจกทุกงานสัปดาห์ความปลอดภัยใน การท�ำงานส่วนภูมิภาคเพราะเป็นที่ต้องการของผู้ร่วมกิจกรรม เพื่อน�ำไปเป็นคู่มือปฏิบัติงาน

วันที่


สรุปผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน ภาคตะวันออก (ชลบุรี) ปี ๒๕๕๓ ระหว่างวันที่ ๒ – ๓ กันยายน ๒๕๕๓

๑. การมอบรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน ประจ�ำปี ๒๕๕๓ มีผู้เข้ารับรางวัล จ�ำนวน ๑๑๖ แห่ง ประกอบด้วย จังหวัดชลบุรี ๔๗ แห่ง ระยอง ๓๓ แห่ง จันทบุรี จ�ำนวน ๑ แห่ง ตราด ๑ แห่ง ฉะเชิงเทรา ๑๖ แห่ง ปราจีนบุรี ๑๑ แห่ง นครนายก ๑๖ แห่ง และ สระแก้ว ๑ แห่ง ๒. การมอบธงรณรงค์ความปลอดภัยให้กบั ประธานสภาอุตสาหกกรมจังหวัดในภาคตะวันออก ๘ จังหวัด ประกอบด้วย ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก และ สระแก้ว ๓. การสาธิตกิจกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงานที่อับอากาศ ด�ำเนินการโดย บริษัท เอ็ม โอ จี อินดัสทรี เทรนนิ่ง จ�ำกัด ๔. การสาธิตกิจกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงานในที่สูง และการช่วยเหลือผู้ประสบภัย จากที่สูง ด�ำเนินการโดย บริษัท เอ็ม โอ จี อินดัรสทรี เทรนนิ่ง จ�ำกัด ๕. การแข่งขันทีมเผชิญเหตุฉุกเฉิน จ�ำนวน ๕ ทีม ประกอบด้วยทีมบริษัท ยูนิไทย ชิปยาร์ด แอนด์ เอน จิเนียริ่ง จ�ำกัด ทีมบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เกตเวย์) ทีมบริษัท เดนโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ทีมมหาวิทยาลัยบูรพา ๑ และทีมมหาวิทยาลัยบูรพา ๒ ๖. การสาธิตการช่วยเหลือและเคลือ่ นย้ายผูป้ ระสบภัยจากอาคารสูง โดยรถกระเช้ากูภ้ ยั จากเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ๗. กิจกรรม Safety Walk Rally ด�ำเนินการโดย ทีมงานจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๘. การบรรยายพิเศษ เรื่อง ระเบียบวาระแห่งชาติ แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี : ยุทธศาสตร์ สู่ความเป็นเลิศ และเรื่อง กฎหมายความปลอดภัยในการท�ำงานฉบับใหม่ ๙. การอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับบริหาร ระดับหัวหน้างาน และ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน โดย บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ เอ็นไวรอน เมนทอล เซอร์วิส จ�ำกัด ๑๐. การแสดงและสาธิตกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงานประจ�ำฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ของ ภาควิชาสุขศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยบูรพา จ�ำนวน ๗ ฐาน ประกอบด้วย ฐานเครือ่ งมือวัดสภาพแวดล้อม ฐาน สาธิตอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ฐานวัดเจตคติพนักงานด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน ฐานตรวจสุขภาพ ฐานเกมส์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ฐานอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและฐานตอบค�ำถามชิงรางวัล

186 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๑๑. นิทรรศการทางวิชาการจากสถานประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั รางวัลดีเด่นด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคตะวันออก จ�ำนวน ๘๒ บูธ ดังรายละเอียดตามบัญชีรายชื่อที่แนบ ๑๒. ขบวนคาราวานสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อผู้ใช้แรงงานราคาถูกจากบริษัทในเครือสหพัฒน์และ กลุ่มแม่บ้านชลบุรี ส�ำหรับผู้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ส่วนราชการต่าง ๆ ๒. ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก ๓. ผู้ร่วมสัมมนาทางวิชากร ๔. สหภาพแรงงาน ๕. ผู้ร่วมชมนิทรรศการทางวิชากร ๖. สื่อมวลชน

จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน รวม

๑๒๐ คน ๘ คน ๑,๙๗๗ คน ๓,๕๔๐ คน ๑๕,๓๙๓ คน ๓๐ คน ๒๑,๐๖๘ คน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 187


ภาพงานสั ป ดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคตะวันตก จ.ชลบุรี




สรุปรายงานผลการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ระหว่างวันที่ ๕-๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมบี พี สมิหลา บีช แอนด์ รีสอร์ท อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

๑. วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๓ รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (นายพีรพัฒน์ พรศิริเลิศกิจ) เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลแก่สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท�ำงาน จ�ำนวน ๔๐ แห่ง แยกเป็น รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการท�ำงานระดับประเทศ ๓๕ รางวัล รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานระดับจังหวัด จ�ำนวน ๔ รางวัล และประกาศนียบัตรชมเชย จ�ำนวน ๑ รางวัล พร้อม ให้โอวาทและกล่าวเปิดงาน โดยมีสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด (นายปราโมทย์ ประสิทธิ์พรม) เป็นผู้กล่าว รายงาน มีผู้เข้าร่วมพิธีเปิดงานหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน จ�ำนวน ประมาณ ๕๐๐ คน ๒. การจัดอบรมและสัมมนาด้านวิชาการ ๒.๑ การจัดอบรมและสัมมนาในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๓ ๒.๑.๑ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องสมิหลา A จัดบรรยายพิเศษเรื่อง“การเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด ท� ำ JSA” โดย อ.โสภณ พงษ์ โ สภณ สมาคมส่ ง เสริ ม ความปลอดภั ย และอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) มีผู้เข้าร่วมรับฟังการบรรยาย ประกอบด้วย นายจ้าง ลูกจ้าง นิสิตนักศึกษา จ�ำนวนประมาณ ๔๐๐ คน ๒.๒ การจัดอบรมและสัมมนา ในระหว่างวันที่ ๕-๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ โดยส�ำนักงานสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลาร่วมกับสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในการท�ำงาน (ประเทศไทย) ๒.๒.๑ จัดอบรมหลักสูตร “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับบริหาร” จ�ำนวน ๑ รุ่น ผู้เข้ารับการอบรมจ�ำนวน ๕๐ คน ๒.๒.๒ จัดอบรมหลักสูตร “เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานระดับหัวหน้างาน” จ�ำนวน ๑ รุน่ ผู้เข้ารับการอบรมจ�ำนวน ๖๐ คน ๒.๒.๓ จัดอบรมหลักสูตร “คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท�ำงานประจ�ำสถานประกอบกิจการ” จ�ำนวน ๑ รุ่น ผู้เข้ารับการอบรมจ�ำนวน ๖๐ คน ๒.๓ การจัดอบรมและสัมมนา ในวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ๒.๓.๑ ระหว่างเวลา ๐๙.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. ณ ห้องสมิหลา A จัดบรรยายพิเศษเรือ่ ง “การท�ำงานกับ เชฟรอน และความปลอดภัยในการท�ำงานในกิจการส�ำรวจและขุดเจาะแก๊ส” โดยวิทยากร จากบริษัท เชฟรอน ประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ผู้เข้าฟังการบรรยายประกอบด้วย นายจ้าง ลูกจ้าง นักเรียน นิสิต นักศึกษา จ�ำนวนประมาณ ๓๕๐ คน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 191


๒.๓.๒ ระหว่างเวลา ๑๐.๑๕ – ๑๒.๑๕ น. ณ ห้องสมิหลา A จัดบรรยายพิเศษ เรื่อง “เทคนิคการ สร้างจิตส�ำนึกความปลอดภัยในการท�ำงาน” โดย รศ.นิรนั ดร์ จัลทรัพย์ (ม.ทักษิณ) ผูเ้ ข้ารับ ฟังการบรรยายประกอบด้วย นักเรียน นิสิต นักศึกษา จากสถานศึกษาในจังหวัดสงขลา และนายจ้าง ลูกจ้าง จ�ำนวนประมาณ ๓๕๐ คน ๒.๓.๓ ระหว่างเวลา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ณ ห้องสมิหลา A จัดอภิปราย เรื่อง บทบาทของ อาชีวศึกษาผูป้ ระกอบการและกระทรวงแรงงานต่อระเบียบวาระแห่งชาติ “แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี” โดย นายอาทิตย์ อิสโม (ผู้ตรวจราชการกระทรวงแรงงาน) อ.ณัฐกิต ศรีสงศักดิ์ธนา (เลขานุการอาชีวศึกษาสงขลา) และนายชิตชัย บุญรัตน์ (ผจก.ส� ำนัก ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม สายงาน อาหารสัตว์และกิจการก่อสร้าง บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)) ผู้เข้ารับฟังการบรรยายประกอบด้วย นักเรียน นิสติ นักศึกษา จากมหาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา และวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ และนายจ้าง ลูกจ้าง จากสถานประกอบกิจการต่าง ๆ จ�ำนวนประมาณ ๔๐๐ คน ๒.๓.๔ ณ ห้อง สงขลา ๑ จัดอบรมหลักสูตร การท�ำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัยและถูก กฎหมาย จัดโดยศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพืน้ ที่ ๑๒ ร่วมกับบริษทั ๓ เอ็ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้เข้ารับการอบรมประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจั ง หวั ด สถานประกอบกิ จ การต่ า ง ๆ ในพื้ น ที่ ๑๔ จั ง หวั ด ภาคใต้ และ ศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๒ รวมจ�ำนวน ๙๕ แห่ง ๓. การจัดนิทรรศการความปลอดภัย ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการทั้งหน่วยงานราชการในสังกัด กระทรวงแรงงาน และหน่วยงานราชการอื่น ๆ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน จ�ำนวน ๒๕ แห่ง การแสดง/สาธิต อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภัย จ�ำนวน ๑๙ แห่ง รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น ๔๔ แห่ง ทัง้ นี้ ได้รบั ความสนใจจากนายจ้าง ลูกจ้าง นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป เข้าชมนิทรรศการฯ จ�ำนวนประมาณ ๒,๐๐๐ คน ๔. การจัดให้บริการตรวจสุขภาพ ได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลสงขลา และแผนกอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลหาดใหญ่ ให้ความรู้เรื่องการท�ำงานที่ปลอดภัย และจัดให้บริการตรวจสุขภาพทั่วไป รวมทั้งให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำทางด้านสุขอนามัยแก่ผู้ใช้แรงงาน และผู้เข้าร่วมงาน ตลอดทั้ง ๒ วัน

192 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ภาพกิจกรรมในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคใต้ ปี ๒๕๕๓ วันที่ ๕-๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรม บีพี สมิหลา บีช แอนด์ รีสอร์ท อ.เมือง จ.สงขลา

รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (นายพีรพัฒน์ พรศิริเลิศกิจ) เป็นประธานในพิธีเปิดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓

รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (นายพีรพัฒน์ พรศิริเลิศกิจ) มอบรางวัลสถานประกอบการดีเด่น ฯ (ระดัแรงงานปลอดภั บประเทศ) ประจ�ยำและสุ ปี ๒๕๕๓ ขภาพอนามัยดี | 193 ให้แก่สถานประกอบกิจการในจังหวัดชายแดนภาคใต้


รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (นายพีรพัฒน์ พรศิริเลิศกิจ) และผู้อ�ำนวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน (นางสาวกาญจนา กานต์วิโรจน์) เดินเยี่ยมชมนิทรรศการภายในงาน

ท่านรองอธิบดี ร่วมสนุกเล่นเกมส์กับศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๒ (สงขลา)

194 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


รายงานสรุปผลการด�ำเนินงาน การจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ระหว่างวันที่ ๕-๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมบี พี สมิหลา บีช แอนด์ รีสอร์ท อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

๑. กิจกรรมและผลการด�ำเนินกิจกรรมในการจัดงานฯ ๑.๑ การแสดงนิทรรศการด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน มีหน่วยงานที่มาร่วมในการจัดนิทรรศการ ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน รวมทั้งสิ้น ๒๕ แห่ง ได้แก่ ๑. ส�ำนักเลขาธิการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒. ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๓. ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัดภาคใต้ ๔. ศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๑,๑๒ ๕. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ๖. คณะวิทยาการสุขภาพและการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ ๗. โรงพยาบาลสงขลา ๘. ส�ำนักสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ๙. กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลหาดใหญ่ ๑๐. ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๒ สงขลา ๑๑. ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ๑๒. ชมรมความปลอดภัยในการท�ำงานภาคใต้ ๑๓. ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่ ๑๔. บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คลังปิโตรเลียมสงขลา ๑๕. บริษัท กัลฟ์ ยะลากรีน จ�ำกัด ๑๖. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ศูนย์ปรับปรุงพันธุกรรมกุ้งประทิว ๑๗. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) สาขาบ้านพรุ ๑๘. บริษัท แปลนครีเอชั่น จ�ำกัด ๑๙. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยโรงไฟฟ้ากระบี่ ๒๐. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) สาขาน�ำ้ น้อย ๒๑. บริษัทมินเนอรับ รีซอร์สเซส ดีวีลอปเม้นท์ ๒๒. โรงไฟฟ้าขนอม ๒๓. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทฯไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ ๒๔. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ�ำกัด (ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่) ๒๕. บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (ทุ่งสง) แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 195


๑.๒ การออกร้าน แสดงและจ�ำหน่ายอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยในการท�ำงาน มีสถานประกอบกิจการ ภาคเอกชนร่วมออกร้านแสดงและจ�ำหน่ายจ�ำนวน ๑๙ แห่ง ดังนี้ ๑. บริษัท นอร์ทเซฟตี้อีควิปเม้นท์ จ�ำกัด ๒. บริษัท เซฟตี้คอร์ป จ�ำกัด ๓. ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ซอฟเท็ค ไฟร์ซีเคียว ๔. ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด จี แอล มาร์เก็ตติ้ง ๕. บริษัท รองเท้าเซฟตี้ จ�ำกัด ๖. บริษัท ที ไอ จี เทรดดิ้ง จ�ำกัด ๗. บริษัท ไทยเวฟ โปรดักศ์ จ�ำกัด ๘. บิษัท ระยอง พี พี จ�ำกัด ๙. บริษัท นิปปอน จ�ำกัด ๑๐. บริษัทผลธัญญะ จ�ำกัด (มหาชน) ๑๑. บริษัท ไฟร์เซอร์วิส โปรเทคชั่น จ�ำกัด ๑๒. บริษัทซิกซ์ตี้ไนน์ ๒๐๐๕ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ๑๓. บริษัท กลัฟเท็กซ์ จ�ำกัด ๑๔. บริษัท ฮิวแมนเซฟตี้ จ�ำกัด ๑๕. บริษัท อินโนเวทีฟ อินสทรูเมนต์ จ�ำกัด ๑๖. บริษัท เอ็มเท็กซ์ เอส โซซิเอซ จ�ำกัด ๑๗. บริษัท ยูไนเต็ดซัพพลาย จ�ำกัด ๑๘. บริษัท ๓M (ประเทศไทย) จ�ำกัด ๑๙. บริษัท เซ้าเทอร์น เซฟตี้ จ�ำกัด ๑.๓ การตรวจสุขภาพและให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำด้านสุขภาพ อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน โดยมีโรงพยาบาลสงขลาให้บริการตรวจสุขภาพ และกลุ่มอาชีวเวชกรรม คลิกนิกโรคจากการท� ำงาน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ได้มาให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำเรื่องการท�ำงานที่ปลอดภัย ๑.๔ การอบรมสัมมนา และบรรยายทางวิชาการ ๑. วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องสมิหลา A การบรรยาย เรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดท�ำ JSA โดยนายโสภณ พงษ์โสภณ สมาคมส่งเสริมความปลอดภัย และอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) มีผู้เข้าร่วมรับฟังการบรรยาย ๔๐๐ คน ๒. วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. การบรรยายเรื่อง “การท�ำงานกับเชฟรอน และ ความปลอดภัยในการท�ำงานในกิจการส�ำรวจและขุดเจาะแก๊ส” โดยวิทยากรจากบริษัท เชฟรอน ประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด มีผู้เข้าร่วมฟังบรรยาย ๓๕๐ คน ๓. วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๑๕ – ๑๒.๑๕ ฯ การบรรยายเรื่อง “เทคนิคการสร้างจิตส�ำนึก ความปลอดภัยในการท�ำงาน” โดย รศ.นิรันดร์ จุลทรัพย์ มหาวิทยาลัยทักษิณ มีผู้เข้ารับฟัง การบรรยาย ๓๕๐ คน ๔. วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. การอภิปรายเรื่อง “บทบาทของอาชีวศึกษา ผูป้ ระกอบการและกระทรวงแรงงานต่อระเบียบวาระแห่งชาติ แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี” โดย 196 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


นายอาทิตย์ อิสโม ผู้ตรวจราชการกระทรวงแรงงาน อาจารย์ณัฐกิต ศรีสงศักดิ์ธนา เลขานุการกรม อาชีวศึกษาสงขลา นายชิตชัย บุญรัตน์ ผู้จัดการส�ำนักความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม สายงานอาหารสัตว์ บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) มีผู้เข้าร่วมฟังอภิปราย ๔๐๐ คน ๕. วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. การอบรมให้ความรู้หัวข้อ “การท�ำงานในที่ อับอากาศอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย” โดยศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๒ และบริษัท ๓ เอ็ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด มีผู้เข้าร่วมการอบรมจ�ำนวน ๘๙ คน ๖. การจัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานโดยสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและ อนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) จ�ำนวน ๓ หลักสูตร ๓ รุ่น คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการท�ำงานบริหาร จ�ำนวน ๕๐ คน หลักสูตรเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานระดับหัวหน้างาน จ�ำนวน ๖๐๐ คน และหลักสูตรคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมใน การท�ำงาน ๖๐ คน รวมทั้งสิ้น ๓ รุ่น ๆ ละ ๑๒ ชั่วโมง จ�ำนวน ๑๗๐ คน ๒. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน รัฐวิสาหกิจและส่วนท้องถิ่น ที่ให้การสนับสนุนวิทยากร อุปกรณ์ จ�ำกัด นิทรรศการ ป้ายประชาสัมพันธ์ และเงินสด ๒.๑ ประชาสัมพันธ์จังหวัดสงขลา ๒.๒ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จ�ำกัดสงขลา ๒.๓ เทศบาลนครหาดใหญ่ ๒.๔ เทศบาลนครสงขลา ๒.๕ หน่วยงานสักกัดกระทรวงแรงงาน จังหวัดสงขลา ๒.๖ คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยทักษิณ ๒.๗ นายกเทศมนตรีนครสงขลา ๒.๘ บริษัท คิงฟิชเชอร์ โฮงดิ้งส์ จ�ำกัด ๒.๙ บริษัท ทรอปิคอลแคนนิ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ๒.๑๐ บริษัท ไทย ลีค คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ๒.๑๑ บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีคมิลล์ จ�ำกัด ๒.๑๒ บริษัทบิ๊กซีซูเปอร์เซนเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) สาขาหาดใหญ่ ๒.๑๓ บริษัท รอแยทแคนนิ่ง จ�ำกัด ๒.๑๔ บริษัท โรงพยาบาลราษฎร์ยินดี จ�ำกัด (มหาชน) ๒.๑๕ บริษัท สงขลาแคนนิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ๒.๑๖ บริษัท สยามอินเตอร์เนชั่นแนลฟู้ด จ�ำกัด ๒.๑๗ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด สาขาหาดใหญ่ ๒.๑๘ บริษัท อมฤต แอนด์ แอสโซซิเอส จ�ำกัด ๒.๑๙ บริษัท เอ พี เค เฟอร์นิชชิ่ง พาราวู้ด จ�ำกัด ๒.๒๐ บริษัท หาดทิพย์ จ�ำกัด (มหาชน) ๒.๒๑ บริษัท เบสท์ เพอฟอร์แมนซ์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด ๒.๒๒ บริษัท หาดใหญ่ คาร์แคร์ เซอร์วิส จ�ำกัด ๒.๒๓ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ฟาร์มกุ้งระโนด แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 197


๒.๒๔ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โรงเพาะฟักลูกก้งท่าบอน ๒.๒๕ บริษัท เชฟรอน ประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ๒.๒๖ บริษัท ทรานส์ไทยมาเลเซีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด ๒.๒๗ บริษัท โชติวัฒน์อุตสาหกกรรมการผลิต จ�ำกัด ๒.๒๘ บริษัท ห้องเย็น โชตติวัฒน์หาดใหญ่ จ�ำกัด (มหาชน) ๒.๒๙ โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ ๒.๓๐ บริษัท ซีพีค้าปลีกและการตลาด จ�ำกัด ๒.๓๑ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ๒.๓๒ บริษัท ซีดริล เอเชีย ลิมิเต็ด จ�ำกัด ๒.๓๓ บริษัท เอ็น เค ซีฟรีซ จ�ำกัด

๓. ในการจัดงานในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือ จากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน และรัฐวิสาหกิจ ส่วนท้องถิ่น ส�ำนักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดภาคใต้ ทั้ง ๑๓ จังหวัด และศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๑,๑๒ ท�ำให้ การจัดงานส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ มีผู้เข้าร่วมทั้งสองวัน จ�ำนวนทั้งสิ้น ๒,๐๐๐ คน

ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา

198 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ภาพงานสั ป ดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคใต้ จ.สงขลา



ค�ำสั่งคณะกรรมการ ส่งเสริมความปลอดภัย ในการท�ำงาน


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๑๔ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอ�ำนวยการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอ�ำนวยการจัดงานสัปดาห์ความ ปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ เพื่ออ�ำนวยการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการอ�ำนวยการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ประกอบด้วย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑.

อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานทุกท่าน ผู้แทนส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ผู้แทนกรมการจัดหางาน ผู้แทนกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้แทนส�ำนักงานประกันสังคม หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้อำ� นวยการส�ำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้อำ� นวยการส�ำนักแรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

202 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๑๒. ผู้อ�ำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๓. ผู้อ�ำนวยการกองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๔. ผู้อ�ำนวยการกองนิติการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๕. นายกสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) ๑๖. รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ ๑๗. นายสุวรรณ สุขประเสริฐ ๑๘. นายเดชบุญ มาประเสริฐ ๑๙. นายอาวุธ ภิญโญยง ๒๐. นายสมชาย มูฮัมหมัด ๒๑. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒๒. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒๓. นายศราวุฒ บัวประเสริฐ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. อ�ำนวยการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ๒. อ�ำนวยการจัดการประชุมอื่นที่เกี่ยวข้อง ๓. ก�ำหนดรูปแบบและกิจกรรม หลักเกณฑ์ วิธีการด�ำเนินการในแต่ละกิจกรรม ในการจัดงานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ และการจัดงานอื่นทีเกี่ยวข้อง ๔. ก�ำหนดและจัดสถานที่โดยประสานกับคณะอนุกรรมการอื่น ๕. ประสานและสนับสนุนการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภูมิภาค ๖. ก�ำหนดวิธีการ และก�ำกับดูแลการประเมินผลการจัดงานและสรุปผลการจัดงาน ๗. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 203


ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

204 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๑๕ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการนิทรรศการความปลอดภัยในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้ง ที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการนิทรรศการความปลอดภัยใน การท�ำงาน เพื่อก�ำหนดสาระและรูปแบบของการจัดนิทรรศการในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ รวมทั้งการจัดนิทรรศการความปลอดภัยอื่นที่เกี่ยวข้อง อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการนิทรรศการความปลอดภัยในการท�ำงาน ประกอบด้วย ๑. รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานราชการของส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๒. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๓. ผู้แทนส�ำนักงานประกันสังคม ๔. ผู้แทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม ๕. เลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๖. ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๗. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 205


๘. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานเครือข่ายความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๙. ผู้อ�ำนวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๐. นายกสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) ๑๑. ผู้แทนบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ๑๒. ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ๑๓. ผู้แทนบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ๑๔. ผู้แทนบริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) ๑๕. ผู้แทนบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ๑๖. ผู้แทนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ๑๗. ผู้แทนบริษัท มินิแบร์ ประเทศไทย จ�ำกัด ๑๘. นายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๑๙. นายกสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒๐. ผู้แทนบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ๒๑. นายเดชบุญ มาประเสริฐ ๒๒. นายอาทิตย์ มีปากดี ๒๓. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒๔. นางสาวทองพันชั่ง อินทรลักษณ์ ๒๕. นางสาวอติกานต์ ซื่อสัตย์

206 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

อนุกรรมการ

อนุกรรมการ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ


ให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดสาระและรูปแบบของการจัดนิทรรศการในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ รวมทั้งการจัดนิทรรศการความปลอดภัยอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒. ก�ำหนดวิธีการจัดจ้างหน่วยงานเอกชนด�ำเนินการจัดนิทรรศการในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการ ท�ำงานแห่งชาติ และในส่วนที่เกี่ยวข้อง ๓. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการของหน่วยงานเอกชน ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 207


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๑๖ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสัมมนาวิชาการความปลอดภัยในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสัมมนาวิชาการความปลอดภัย ในการท�ำงาน เพื่อก�ำหนดรูปแบบ และวิธีการจัดสัมมนาวิชาการงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ และ การจัดสัมมนาวิชาการความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการสัมมนาวิชาการความปลอดภัยในการท�ำงาน ประกอบด้วย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑.

รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้แทนกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้แทนกรมควบคุมโรค ผู้อำ� นวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม ผู้แทนสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) ผู้แทนสมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนสมาคมพยาบาลอาชีวอนามัยแห่งประเทศไทย ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้แทนสมาคมการยศาสตร์ไทย

208 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๑๒. ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๓. รองศาสตราจารย์สราวุธ สุธรรมาสา ๑๔. รองศาสตราจารย์จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ ๑๕. นางนิสา นพทีปกังวา ๑๖. นายสุวิทย์ ศรีเพียร ๑๗. นายอาวุธ ภิญโญยง ๑๘. นางสาวสุวดี ทวีสุข ๑๙. นางจิรภาพร ปานะชาติ ๒๐. นายปิยะ ขาวปลื้ม

อนุกรรมการ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดรูปแบบ และวิธีการจัดสัมมนาวิชาการงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ และ การจัดสัมมนาวิชาการความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง ๒. ก�ำหนดหัวข้อสัมมนาวิชาการ จัดท�ำก�ำหนดการสัมมนา และประสานวิทยากร ๓. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการและพิจารณาการจัดจ้างหน่วยงานเอกชนร่วมด�ำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งรวบรวมสรุปค�ำบรรยายทั้งหมด ๔. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะกิจได้ตามความจ�ำเป็น ๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 209


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๑๗ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประกวดสถานประกอบกิจการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประกวดสถานประกอบกิจการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพือ่ พิจารณาตัดสินผลการคัดเลือกในการประกวด สถานประกอบกิจการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการประกวดสถานประกอบกิจการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ประกอบด้วย ๑. อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒. รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานราชการของส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๓. รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ ๔. ผู้อำ� นวยการส�ำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๕. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๖. ผู้อ�ำนวยการกองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๗. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 210 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๘. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานทะเบียนความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๙. ผู้อ�ำนวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๐. นายอาคม จอมค�ำสิง ๑๑. นายมานพ โสภณวัฒนไพบูลย์ ๑๒. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๓. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานเครือข่ายความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๔. นายพิชัย มัจฉากล�่ำ ๑๕. นางสาวสุนีย์ ตันติวุฒิพงศ์

อนุกรรมการ

อนุกรรมการ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. พิจารณาตัดสินผลการคัดเลือกในการประกวดสถานประกอบกิจการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท�ำงาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ ๒. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ (นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 211


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๑๘ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้ง ที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัย ในการท�ำงาน เพื่อก�ำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยในการท�ำงานสู่กลุ่มเป้าหมายทั้งนายจ้าง ลูกจ้าง นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ประกอบด้วย ๑. อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒. รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานราชการของส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๓. ผู้อำ� นวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๔. เลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๕. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๖. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ๗. ผู้อ�ำนวยการศูนย์สารนิเทศ ส�ำนักงานประกันสังคม ๘. บรรณาธิการข่าวสังคม สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน 212 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๙. บรรณาธิการข่าวสังคม สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย หรือผู้แทน ๑๐. บรรณาธิการข่าวสังคม สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง ๗ หรือผู้แทน ๑๑. นายเอกชัย ผดุงเกียรติ ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ๑๒. นายชาญวิทย์ สุนทรกาญจนา ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ๑๓. นายทนงศักดิ์ หมื่นหนู ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ๑๔. นายชัยภัทร ธรรมวงษา ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์แนวหน้า ๑๕. นายณัฐพงษ์ บุณยพรหม ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ข่าวสด ๑๖. นายประพันธ์ ปุษยไพบูลย์ ๑๗. นายมงคล ปั้นงาม ๑๘. หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๙. นายสถาพร พรไพบูลย์ ๒๐. นายพงษ์พัฒนา สุทธิพันธุ์

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยในการท�ำงานสู่กลุ่มเป้าหมายทั้งนายจ้าง ลูกจ้าง นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ๒. ด�ำเนินการหรือก�ำกับดูแลให้มกี ารประชาสัมพันธ์งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ และ เชิญชวนให้มีผู้เข้าร่วมงานสัมมนาวิชาการ เข้าชมนิทรรศการ และเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ๓. จัดให้มีการบันทึกภาพในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ และประชาสัมพันธ์ผล การจัดงานและผลการประกวดกิจกรรมต่าง ๆ เมื่อเสร็จสิ้นงาน แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 213


๔. ประสานงานกับหน่วยงานอื่น เพื่อการประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ๕. ปฏิบัติหน้าที่อ่นื ตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

214 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๑๙ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสรรหาผู้เข้าร่วมสัมมนาวิชาการความปลอดภัยในการท�ำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสรรหาผู้เข้าร่วมสัมมนาวิชาการ ความปลอดภัยในการท�ำงาน เพื่อก�ำหนดพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมสัมมนา อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการสรรหาผู้เข้าร่วมสัมมนาวิชาการ ความปลอดภัยในการท�ำงาน ประกอบด้วย ๑. อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒. หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๓. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๔. เลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๕. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรปราการ ๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดปทุมธานี ๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนนทบุรี ๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร ๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครปฐม ๑๐. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานพื้นที่ ๑ ถึง ๑๐ ส�ำนักคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 215


๑๑. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม ๑๒. ผู้แทนสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) ๑๓. นายสมชาย เย็นสดใส ๑๔. นายมงคล ทองแหยม ๑๕. ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานทะเบียนความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๖. นางสุวรรณา ธนพิทักษ์ ๑๗. นางธัญญนันท์ วรภัทรทรัพย์

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ ละผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมสัมมนา ๒. ก�ำหนดแผนงานและวิธีการเชิญ รวมทั้งมอบหมายการเชิญผู้ร่วมสัมมนา ในจังหวัดต่าง ๆ และเขต พื้นที่ในกรุงเทพมหานคร และการรายงานผลการด�ำเนินงาน ๓. จัดท�ำหนังสือเชิญผูเ้ ข้าร่วมสัมมนา และหนังสือเชิญคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานในสถานประกอบกิจการเข้าร่วมสัมมนา ๔. ประสานการด�ำเนินงานกับคณะท�ำงานอื่น ๆ ๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 216 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๐ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการปฏิคม และพิธีการ งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการปฏิคมและพิธีการ งานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ เพื่อก�ำกับ ดูแล พิธีการบนเวที การเชิญ และต้อนรับแขก อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการปฏิคม และพิธีการ งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ประกอบด้วย ๑. นายสมชาย วงษ์ทอง รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๒. นางพรทิพย์ ทองเอี่ยม ๓. เลขานุการกรม กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๔. ผู้อ�ำนวยการกองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๕. นางสาวเบญจมาศ จัตตานนท์ ๖. นางไพจิตร ครองกิติชู ๗. นางจุฑาพนิต บุญดีกุล ๘. นายอ�ำนวย ภู่ระหงษ์ ๙. นางสาวสุวดี ทวีสุข ๑๐. นางนพรัตน์ นิพัทธ์ธีรนันท์ ๑๑. นางสาวภัทราวรรณ กลับกลายดี ๑๒. นางสิตา โชคสมศิลป ๑๓. ผู้อ�ำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 217


๑๔. นางสาวกรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ๑๕. นางกรภัทร์ จันทร์แจ้ง ๑๖. นางสาวกมลฉัตร บุนนาค

อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำกับ ดูแล พิธีการบนเวที การเชิญ และต้อนรับแขก ๒. อ�ำนวยความสะดวกเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม ส�ำหรับประธานพิธีเปิด และพิธีปิด ผู้บริหาร และ สื่อมวลชน ตลอดจนสถานที่จอดรถ ๓. จัดท�ำค�ำกล่าวรายงาน ค�ำกล่าวพิธีเปิด และพิธีปิด ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

218 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๑ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้านความปลอดภัยซึ่งเป็นตัวอย่างได้ (Best Practice) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมือ่ วันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการพิจารณาผลงานสิง่ ประดิษฐ์คดิ ค้น ด้านความปลอดภัยซึ่งเป็นตัวอย่างได้ (Best Practice) เพื่อจัดท�ำหลักเกณฑ์การจัดส่งผลงาน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตัง้ คณะ อนุกรรมการพิจารณาผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นด้าน ความปลอดภัยซึ่งเป็นตัวอย่างได้ (Best Practice) ประกอบด้วย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

นายสืบศักดิ์ นันทวานิช นายวิทยา อยู่สุข นายกฤษฎา ประเสริฐสุโข นายสมบูรณ์ ธนาภรณ์ นายนริศ เจริญพร นายประมุข โอศิริ นาวาโทสุทธิ์ ศรีบูรพา นายปกรณ์ เชนพูน ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ๑๐. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 219


๑๑. นายสมนึก ภาคพานิชย์ ๑๒. นางสาวอุมาพร ครองสกุลสุข ๑๓. นางฉัตรเทวี อรืน

อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. จัดท�ำหลักเกณฑ์การจัดส่งผลงาน ๒. จัดท�ำหลักเกณฑ์การพิจารณาและด�ำเนินการพิจารณาคัดเลือกผลงาน ๓. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้สถานประกอบกิจการและสถาบันการศึกษา ส่งผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้น ด้านความปลอดภัย ซึ่งเป็นตัวอย่างได้ (Best Practice) ๔. ก�ำหนดรูปแบบรางวัล ๕. ประสานงานเกีย่ วกับการน�ำเสนอผลงานที่ได้รบั การพิจารณาคัดเลือก และการน�ำผลงานจัดแสดง ใน นิทรรศการงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ๖. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

220 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๒ /๒๕๕๓ เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยใน การท�ำงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพือ่ ก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธกี าร และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ประกอบกับมาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึง่ แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ จัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ประกอบด้วย ๑. ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ๒. รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ที่รับผิดชอบงานของกระทรวงแรงงาน ๓. ปลัดจังหวัดนครราชสีมา ๔. ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๒๑ ๕. ผู้บังคับการกองบิน ๑ ๖. นายอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ๗. ป้องกันจังหวัดนครราชสีมา ๘. แรงงานจังหวัดนครราชสีมา ๙. จัดหางานจังหวัดนครราชสีมา ๑๐. ผู้อำ� นวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาค ๕ นครราชสีมา ๑๑. ประกันสังคมจังหวัดนครราชสีมา ๑๒. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ๑๓. นายกเทศมนตรีนครนครราชสีมา ๑๔. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต ๑

ประธานอนุกรรมการ รองประธาน อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 221


๑๕. ผู้ก�ำกับการสถานีตำ� รวจภูธรเมืองนครราชสีมา ๑๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดกาฬสินธุ์ ๑๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดขอนแก่น ๑๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดชัยภูมิ ๑๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครพนม ๒๐. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดบุรีรัมย์ ๒๑. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดมหาสารคาม ๒๒. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดมุกดาหาร ๒๓. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดยโสธร ๒๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดร้อยเอ็ด ๒๕. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเลย ๒๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดศรีสะเกษ ๒๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสกลนคร ๒๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุรินทร์ ๒๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดหนองคาย ๓๐. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดหนองบัวล�ำภู ๓๑. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ๓๒. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอุดรธานี ๓๓. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอุบลราชธานี ๓๔. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา ๓๕. ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา ๓๖. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ๓๗. ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ๓๘. ผู้อำ� นวยการโรงพยาบาลค่ายสุรนารี ๓๙. โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครราชสีมา ๔๐. ผู้จัดการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดนครราชสีมา ๔๑. ผู้อำ� นวยการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต ๓ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ๔๒. ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครราชสีมา ๔๓. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานขนส่งจังหวัดนครราชสีมา 222 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๔๔. ผู้อำ� นวยการศูนย์ควบคุมการบินนครราชสีมา ๔๕. พาณิชย์จังหวัดนครราชสีมา ๔๖. อุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา ๔๗. อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ๔๘. อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๔๙. อธิการบดีมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ๕๐. พลังงานจังหวัดนครราชสีมา ๕๑. หัวหน้าส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครราชสีมา ๕๒. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๑ ๕๓. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๙ ๕๔. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๐ ๕๕. ประธานชมรมบริหารงานบุคคลจังหวัดนครราชสีมา ๕๖. ประธานชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕๗. ประธานชมรมธนาคารจังหวัดนครราชสีมา ๕๘. ประธานเครือข่ายที่ปรึกษาแรงงานหญิงจังหวัดนครราชสีมา ๕๙. ผู้อำ� นวยการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดนครราชสีมา ๖๐. พัฒนาการจังหวัดนครราชสีมา ๖๑. ประธานคณะกรรมการอาชีวศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ๖๒. อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา ๖๓. ผู้อำ� นวยการ KCTV ๖๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมา ๖๕. นายเกษมสันต์ เครือเจริญ ๖๖. นางสุกัญญา ยนต์พิทักษ์กิจ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 223


๖๗. นายสิทธา ธรรมนูญรักษ์

อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธกี าร และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ๒. ประสานความร่วมมือในการจัดงานกับคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานจังหวัดต่าง ๆ ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะกิจได้ตามความจ�ำเป็น ๔. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ตามทีค่ ณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

224 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๓ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคตะวันออก ประจ�ำปี ๒๕๕๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยใน การท�ำงานภาคตะวันออก เพื่อก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการ ท�ำงานภาคตะวันออก ประจ�ำปี ๒๕๕๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคตะวันออก ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ประกอบด้วย ๑. ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ๒. รองผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุร ี ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานราชการของ ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดชลบุรี ๓. ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดชลบุรี ๔. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุร ี ๕. อุตสาหกรรมจังหวัดชลบุร ี ๖. ประชาสัมพันธ์จังหวัดชลบุร ี ๗. จัดหางานจังหวัดชลบุรี ๘. ผู้อำ� นวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๓ ชลบุร ี ๙. ประกันสังคมจังหวัดชลบุร ี ๑๐. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุร ี ๑๑. ประธานหอการค้าจังหวัดชลบุร ี

ประธานอนุกรรมการ รองประธาน อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 225


๑๒. ผู้แทนคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานจังหวัดชลบุรี(ฝ่ายนายจ้าง) ๑๓. ผู้แทนคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานจังหวัดชลบุรี(ฝ่ายลูกจ้าง) ๑๔. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีราชา เขต ๑ ๑๕. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีราชา เขต ๒ ๑๖. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีราชา เขต ๓ ๑๗. ประธานคณะกรรมการอาชีวศึกษาชลบุร ี ๑๘. ผู้อำ� นวยการศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ ๔ (BOI) ๑๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดปราจีนบุร ี ๒๐. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๑. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดระยอง ๒๒. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสระแก้ว ๒๓. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดจันทบุรี ๒๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดตราด ๒๕. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๗ ๒๖. คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ๒๗. หัวหน้าส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชลบุร ี ๒๘. หัวหน้าส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๓ จังหวัดชลบุรี ๒๙. ท้องถิ่นจังหวัดชลบุร ี ๓๐. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดชลบุร ี

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงาน ภาคตะวันออก ๒. ประสานความร่วมมือในการจัดงานกับคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานจังหวัดต่าง ๆ ในเขตภาคตะวันออก

226 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะกิจได้ตามความจ�ำเป็น ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 227


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๔ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคตะวันตก ประจ�ำปี ๒๕๕๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยใน การท�ำงานภาคตะวันตก เพื่อก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการ จัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการ ท�ำงานภาคตะวันตก ประจ�ำปี ๒๕๕๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคตะวันตก ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ประกอบด้วย

๑. ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุร ี ๒. ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดราชบุร ี ๓. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดราชบุรี ๔. อุตสาหกรรมจังหวัดราชบุร ี ๕. ประชาสัมพันธ์จังหวัดราชบุรี ๖. หัวหน้าส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดราชบุร ี ๗. แรงงานจังหวัดราชบุร ี ๘. จัดหางานจังหวัดราชบุรี ๙. ผู้อำ� นวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๔ ราชบุร ี ๑๐. ประกันสังคมจังหวัดราชบุร ี ๑๑. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครปฐม ๑๒. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดกาญจนบุร ี ๑๓. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเพชรบุรี 228 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๑๕. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๑๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร ๑๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสงคราม ๑๘. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๖ ๑๙. ผู้จัดการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดราชบุร ี ๒๐. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุร ี ๒๑. ประธานหอการค้าจังหวัดราชบุร ี ๒๒. ประธานชมรมบริหารงานบุคคลจังหวัดราชบุร ี ๒๓. ประธานชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานจังหวัดราชบุร ี ๒๔. ผู้จัดการส่วนปฏิบัติการระบบท่อเขต ๕ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ๒๕. ผู้กำ� กับการผลิตบริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ๒๖. กรรมการผู้จัดการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ๒๗. กรรมการผู้จัดการบริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด ๒๘. กรรมการผู้จัดการบริษัท ไตรเอนเนอจี้ จ�ำกัด ๒๙. กรรมการผู้จัดการบริษัท บางกอกแล็ปแอนด์คอสเมติค จ�ำกัด ๓๐. กรรมการผู้จัดการบริษัท หลักชัยค้าสุรา จ�ำกัด ๓๑. ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ราชบุรีอาหาร จ�ำกัด ๓๒. ผู้อำ� นวยการเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุร ี ๓๓. ผู้อำ� นวยการเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุร ี ๓๔. ผู้อำ� นวยการโรงงานวังศาลา บริษัท อุตสาหกรรมกระดาษคราฟท์ไทย จ�ำกัด จังหวัดกาญจนบุรี ๓๕. กรรมการผู้จัดการบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด(มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๓๖. กรรมการผู้จัดการบริษัท ทิปโก้ฟูดส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด(มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๓๗. กรรมการผู้จัดการบริษัท พรีแพคประเทศไทย จ�ำกัด จังหวัดสมุทรสงคราม

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 229


๓๘. นายสมนึก นาคะศักดิ์เสวี อนุกรรมการ บริษัท ราชาเซรามิค จ�ำกัด ๓๙. นางกมรวรรณ ดาวประกายมงคล อนุกรรมการ บริษัท กระจกพีเอ็มเค-เซ็นทรัล จ�ำกัด ๔๐. นายอัครพล วิสีปัต อนุกรรมการ บริษัท ชิโน-ไทยอามาด้า จ�ำกัด ๔๑. นายอมรินทร์ ลิมปนะพันธ์ อนุกรรมการ บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ำกัด ๔๒. นายคงศักดิ์ แก้วสังข์ อนุกรรมการ บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จ�ำกัด ๔๓. นางวิภา ทรัพย์อุไรรัตน์ อนุกรรมการ บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จ�ำกัด (โรงงานราชบุรี) ๔๔. นายสมเกียรติ จังโส อนุกรรมการ บริษัท กังวานเท็กซ์ไทล์ จ�ำกัด ๔๕. นายอาทิตย์ ชูไธสง อนุกรรมการ บริษัท เจนเนอรัลอิเลคทริคอินเตอร์เนชั่นแนลโอปอร์เรชั่นส์ คอมปานี อิงค์ จ�ำกัด ๔๖. นายสมบูรณ์ ตันยะสิทธิ์ อนุกรรมการ บริษัท ราชาชูรส จ�ำกัด ๔๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดราชบุร ี อนุกรรมการ และเลขานุการ ๔๘. นายวีระกิตต์ พูลสวัสดิ ์ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงาน ภาคตะวันตกประจ�ำปี ๒๕๕๓ ๒. ประสานความร่วมมือในการจัดงานกับคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานจังหวัดต่าง ๆ ในเขตภาคตะวันตก

230 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะกิจได้ตามความจ�ำเป็น ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 231


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๕ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานภาคใต้ เพื่อก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ประกอบด้วย ๑. ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ๒. รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานราชการของ ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา ๓. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ๔. นายกเทศมนตรีนครสงขลา ๕. ปลัดจังหวัดสงขลา ๖. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสงขลา ๗. ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดสงขลา ๘. อุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา ๙. แรงงานจังหวัดสงขลา ๑๐. จัดหางานจังหวัดสงขลา ๑๑. ผู้อำ� นวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๑๒ จังหวัดสงขลา ๑๒. ประกันสังคมจังหวัดสงขลา 232 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ รองประธาน อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๑๓. หัวหน้าศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดสงขลา ๑๔. ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัยภาค ๗ (สงขลา) ๑๕. ผู้อำ� นวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต ๑๒ จังหวัดสงขลา ๑๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดกระบี ่ ๑๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดชุมพร ๑๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดตรัง ๑๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครศรีธรรมราช ๒๐. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนราธิวาส ๒๑. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดปัตตานี ๒๒. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพังงา ๒๓. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพัทลุง ๒๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดภูเก็ต ๒๕. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดยะลา ๒๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดระนอง ๒๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล ๒๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี ๒๙. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๑ ๓๐. ประธานหอการค้าจังหวัดสงขลา ๓๑. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา ๓๒. กรรมการผู้จัดการบริษัท เชฟรอน ประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ๓๓. ผู้จัดการคลังปิโตรเลียม สงขลา บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ๓๔. กรรมการผู้จัดการบริษัท ปตท. ส�ำรวจ และผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) ๓๕. ผู้อำ� นวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่ ๓๖. ผู้อำ� นวยการศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่ ๓๗. ผู้จัดการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดสงขลา ๓๘. ผู้อำ� นวยการโรงไฟฟ้าจะนะ ๓๙. อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 233


๔๐. อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ ๔๑. อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ๔๒. อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ๔๓. อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้ ๔๔. อธิการบดีมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ๔๕. ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดสงขลา ๔๖. หัวหน้ากลุ่มงาน ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา ๔๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา ๔๘. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๑๒ ๔๙. นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ รับผิดชอบหัวหน้าฝ่ายความปลอดภัยในการท�ำงาน ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา ๕๐. นักจัดการงานทั่วไปช�ำนาญการ ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ และเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงานภาคใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ๒. ประสานความร่วมมือในการจัดงานกับคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานจังหวัดต่าง ๆ ในเขตภาคใต้

234 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


๓. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะกิจได้ตามความจ�ำเป็น ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 235


ค�ำสั่งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่ ๒๖ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยใน การท�ำงานภาคเหนือ เพื่อก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ภาคเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ประกอบกับ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน จึงแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานภาคเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ประกอบด้วย ๑. ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ๒. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานราชการของ ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพิษณุโลก ๓. อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ๔. อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ๕. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก ๖. ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก ๗. อุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก ๘. แรงงานจังหวัดพิษณุโลก ๙. จัดหางานจังหวัดพิษณุโลก ๑๐. ผู้อำ� นวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ๙ พิษณุโลก ๑๑. ประกันสังคมจังหวัดพิษณุโลก ๑๒. นายกเทศมนตรีนครพิษณุโลก 236 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี

ประธานอนุกรรมการ รองประธาน อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ


๑๓. ประชาสัมพันธ์จังหวัดพิษณุโลก ๑๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดก�ำแพงเพชร ๑๕. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงราย ๑๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ๑๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดตาก ๑๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครสวรรค์ ๑๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดน่าน ๒๐. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพะเยา ๒๑. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพิจิตร ๒๒. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเพชรบูรณ์ ๒๓. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดแพร่ ๒๔. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน ๒๕. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดล�ำปาง ๒๖. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดล�ำพูน ๒๗. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุโขทัย ๒๘. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอุตรดิตถ์ ๒๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอุทัยธานี ๓๐. ผู้อำ� นวยการฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ๓๑. ผู้อำ� นวยการวิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก ๓๒. ผู้อำ� นวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก ๓๓. ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก ๓๔. ประธานหอการค้าจังหวัดพิษณุโลก ๓๕. ประธานชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน จังหวัดพิษณุโลก ๓๖. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด (โรงงานผลิตอาหารสัตว์พิษณุโลก) ๓๗. ผู้จัดการโรงงานพิษณุโลก บริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จ�ำกัด(มหาชน) ๓๘. ผู้จัดการส่วนคลังน�ำ้ มัน ปตท.พิษณุโลก ๓๙. ผู้จัดการโรงงาน บริษัท ไทยแอโรว์ จ�ำกัด สาขาพิษณุโลก

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 237


๔๐. ผู้อำ� นวยการศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก อนุกรรมการ ๔๑. ผู้อำ� นวยการร้านเทสโก้-โลตัส สาขาพิษณุโลก อนุกรรมการ ๔๒. กรรมการผู้จัดการบริษัทโรซี่บลูไดมอนด์ จ�ำกัด อนุกรรมการ ๔๓. ผู้จัดการสาขาพิษณุโลก บริษัทบริดจสโตน เอ.ซี.ที. อนุกรรมการ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ๔๔. กรรมการผู้จัดการบริษัท มอนซานโต้ไทยแลนด์ จ�ำกัด อนุกรรมการ ๔๕. ผู้จัดการสาขา บริษัท พิษณุโลกบิ๊กซี จ�ำกัด อนุกรรมการ ๔๖. หุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดศรีสหวัฒน์การช่าง อนุกรรมการ ๔๗. กรรมการผู้จัดการโรงพยาบาลพิษณุเวช อนุกรรมการ ๔๘. ผู้อำ� นวยการโรงงาน บริษัท น�้ำตาลพิษณุโลก จ�ำกัด อนุกรรมการ ๔๙. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพิษณุโลก อนุกรรมการ และเลขานุการ ๕๐. ผู้อำ� นวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๓ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ ๕๑. ผู้อ�ำนวยการศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพื้นที่ ๔ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะอนุกรรมการมีอำ� นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดรูปแบบ กิจกรรม พิธีการ และด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการท�ำงาน ภาคเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ๒. ประสานความร่วมมือในการจัดงานกับคณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานจังหวัดต่าง ๆ ในเขตภาคเหนือ ๓. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อปฏิบัติงานเฉพาะกิจได้ตามความจ�ำเป็น ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) รองปลัดกระทรวงแรงงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการท�ำงาน ประธานกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 238 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ ๒๐๐/๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งกรรมการตัดสินการประกวดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ตามที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ก�ำหนดจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๒๔ และได้กำ� หนดให้มกี ารประกวดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน ได้แก่ การประกวดทีมฉุกเฉิน ในสถานประกอบกิจการและการประกวดวาดภาพความปลอดภัย เพือ่ ให้การตัดสินใจผลการประกวดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน ซึง่ จะมีพธิ มี อบรางวัลใน สัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๒๔ ในระหว่างวันที่ ๘-๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ มีความเหมาะสมและเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อธิบดีกรมสวัสดิการและ คุม้ ครองแรงงาน จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตัดสินการประกวดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน งานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการตัดสินการประกวดทีมฉุกเฉินในสถานประกอบกิจการ ประกอบด้วย ๑.๑ นางอุษาพร ชวลิตนิธิกุล ๑.๒ พันจ่าอากาศเอกอ�ำนาจ ไวยภารา ๑.๓ นายพิรัตน์ เหมะรัชตะ ๑.๔ นายบุญชนะ วิชัยกุล ๑.๕ นายวิทยา สิงห์ไชย ๑.๖ นางมยุรี แก้วจันทร์ ๑.๗ นางสาวปรียานันท์ ลิขิตศานต์ ๑.๘ นางวราภรณ์ ชาญธวัชชัย ๑.๙ นางสาวอุทุมพร ครองสกุลสุข ๑.๑๐ นางสาวกรรณิกา แท่นค�ำ

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 239


๒. คณะกรรมการตัดสินผลการประกวดวาดภาพความปลอดภัย ประกอบด้วย ๒.๑ นายมงคล ไชยวงศ์ ๒.๒ ผู้ช่วยศาสตรจารย์กฤตย์ เวียงอ�ำพล ๒.๓ นายวสันต์ นิยมสมาน ๒.๔ นายบุญช่วย สุรไพรสณฑ์ ๒.๕ นายสุธน ศรีหิรัญ ๒.๖ นางอ�ำไพ อิ่มสงวนชัย ๒.๗ นายพินิจ เชื้อวงษ์

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และเลขานุการ

ให้กรรมการตัดสินผลการประกวดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการท�ำงาน งานสัปดาห์ความ ปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ มีอ�ำนาจหน้าที่ดังนี้ ๑. ก�ำหนดหลักเกณฑ์ การประกวดทีมฉุกเฉินในสถานประกอบกิจการ และการประกวดวาดภาพ ความปลอดภัย ๒. พิจารณาตัดสิน ๓. เสนอผลการพิจารณาตัดสินต่อคณะอนุกรรมการอ�ำนวยการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน แห่งชาติ ๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่อธิบดีมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

(นางอัมพร นิติสิริ) อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

240 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี


ค�ำสั่งกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ ๒๘๘ /๒๕๕๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะท�ำงานด้านการรักษาความปลอดภัยและปฐมพยาบาล เพื่อให้การด�ำเนินการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อาศัยอ�ำนาจตามมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไข เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครอง แรงงาน จึงแต่งตั้งคณะท�ำงานด้านการรักษาความปลอดภัยและปฐมพยาบาล ประกอบด้วย ๑. นายวินัย ลัฐิกาวิบูลย์ ผู้ตรวจราชการกรม ๒. นายอ�ำนาวย ภู่ระหงษ์ นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๓. นายพิชัย มัจฉากล�ำ ่ นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๔. นายสามนต์ สังข์ทอง นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๕. นางสาวสุวดี ทวีสุข นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๖. นายชุมพล ฉายะรถี พนักงานขับรถยนต์ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน ๗. นายศราวุฒ บัวประเสริฐ นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน

ประธานคณะท�ำงาน รองประธานคณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงานและ เลขานุการ

แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี | 241


ให้คณะท�ำงานด้านการรักษาความปลอดภัยและปฐมพยาบาล มีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ติดต่อและประสานงานด้านการปฐมพยาบาลให้แก่ผู้เข้าร่วมงานที่เกี่ยวข้องในบริเวณงานสัปดาห์ ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๔ ๒. ติดต่อและประสานงานด้านการปฐมพยาบาลให้แก่ผู้เข้าร่วมงาน ๓. ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

(นางอัมพร นิติสิริ) อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

242 | แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี






Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.