รายงานสรุปและวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

Page 1

โครงการปรับปรุงกระบวนการนิติบญ ัญญัติของประเททศไทย เพื่อสงเสริ ง มการมีสววนรวมของประะชาชน

รายงานนสรุปและวิวิเคราะห รางพระราชบัญญัติวาดวยกการเขาชื่อเสนอกฎหม เ มาย พ.ศ..... *

โดย สิริพรรณ นกสสวน สวัสดี ** วีระ หวังสัสจจะโชค สาระสําคัญของรางพรระราชบัญญัติ 4 ฉบับ ที่เสนนอโดย 4 องคกร o ประชาชนผูมสิสี ิทธิเลือกตั้งไมมนอยกวา 10,0000 คน สามารรถยื่นเสนอรางพระราชบัญญัตั ิ o รางพระราชบัญ ญญัติที่เสนอมีเนื้อหาตามบททบัญญัติเฉพาะะในหมวด 3 (สิสิทธิและเสรีภาาพของชนชาวไทย) และ หมวด 5 (แนววนโยบายพื้นฐาานแหงรัฐ) ของงรัฐธรรมนูญ พ.ศ. พ 2550 o ผูเสนอตองจัดทํารางพระราชชบัญญัติเสนอมมาดวย o ยังคงไวซึ่งบทบาทของคณะกกรรมการการเลืลือกตั้งที่ชวยเหหลือในกระบวนนการเขาชื่อขอองประชาชน o ใหมีองคกรชวยเหลือการยกรรางและหนวยงงานสนับสนุนงบประมาณในกการเขาชื่อเสนออกฎหมาย o ในขั้ น ตอนพิ จารณาของคณ จ ณะกรรมาธิ ก ารวิ า ส ามั ญ ต องมี อ ผู แ ทนปร ะชาชนไม น อ ยกว า 1/3 ขอองจํ า นวน คณะกรรมาธิการทั ก ้งหมด o กําหนดบทลงโโทษเพื่อใหรัดกุกมกวาเดิม ประเด็นวิเคราะห o หลักการเกี่ยวกกับ “ผูริเริ่ม”เสนอกฎหมาย และจํ แ านวนประะชาชนที่รวมลงงชื่อ o ขั้นตอนและระะยะเวลาในการรเสนอรางกฎหมาย o บทบาทหนาที่ขององคกรตาง ๆ ในการชวยเหลือประชาชชนที่เขาชื่อเสนนอกฎหมาย เพืพื่อลดภาระและะคาใชจาย (ตนทุน) ของปประชาชน o ระยะเวลาตรวจรางโดยประธธานรัฐสภา และะระยะเวลาที่อยูใ นกระบวนกาารของรัฐสภา o บทบาทของปรระชาชนที่เสนออกฎหมายในขั​ั้นตอนการพิจารณาโดยรั า ฐสภภา o บทลงโทษตอผูกระทําความผิผิด o การขยายการมีมีสวนรวมของประชาชนในวงกวางอยางเปปนรูปธรรม และการเปดใหมีกการเสนอรางกฎหมายใน ระดับทองถิ่นได ไ

*

**

รองศาสตราจารย คณะรัฐศาสตร ศ จุฬาลงกรรณมหาวิทยาลัย นิสิตปริญญาเอก ญ คณะรัฐศาสตร ศ จุฬาลงกรรณมหาวิทยาลัย


ธันวาคม 2554

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

ขอเสนอแนะ o ควรตั้งอยูบนหลัก 3 ประการคือ 1) ทําไดจริง 2) ลดภาระและตนทุนของประชาชน และ 3) ขยายฐานในการมี สวนรวมทางการเมืองในการกําหนดวาระสาธารณะ o ควรกําหนดใหมีผูริเริ่มอยางชัดเจน เชน 10 คน เพื่อทําหนาที่เปนเจาภาพหรือกระสวยนําในการขับเคลื่อน ชี้แจง ตอบคําถาม o ใหยกเลิกการใชสําเนาทะเบียนบานประกอบการรวมลงชื่อ ควรใหเหลือเพียงแสดงบัตรประจําตัวประชาชน หรือใชตัวเลขในบัตรประจําตัวประชาชน 13 หลัก พรอมลายเซ็นของผูรวมลงชื่อ o ใหมีองคกรที่ใหคําแนะนําในการยกราง คือ คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย และกองทุนสภาพัฒนาการเมือง ภาคพลเมืองใหการสนับสนุนดานงบประมาณ o เมื่อมีการรองขอใหคณะกรรมการการเลือกตั้งชวยเหลือในกระบวนการเขาชื่อ ใหสามารถนํารายชื่อที่รวบรวม โดยคณะกรรมการการเลือกตั้งมารวมกับรายชื่อที่รวบรวมโดยผูริเริ่มได ไมจําเปนตองเลือกเพียงแนวทางใด แนวทางเดียวเทานั้น o กําหนดระยะเวลาในการตรวจรางโดยประธานรัฐสภา และขั้นตอนการพิจารณาสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ใหกระชับและรวดเร็ว เพื่อใหรางกฎหมายหรือรางแกไขรัฐธรรมนูญที่เสนอโดยประชาชนสามารถมีผลใชได จริง ในเวลาที่เหมาะสม o ประชาชนสามารถตรวจสอบการทํางานของรัฐสภาได และสามารถแกไขรางกฎหมายที่ไดเขาสูกระบวนการ รัฐสภาได แตรัฐสภาไมควรมีสิทธิแกไขเนื้อหาของรางกฎหมายที่เสนอโดยประชาชน o ตองมีการเผยแพรเพื่อทําใหเกิดการเรียนรูสาธารณะในประเด็นกฎหมายดังกลาวในวงกวาง ทั้งในสถานที่ ราชการ และทาง websites รวมถึงการบังคับใหมีการทําประชาพิจารณ (public hearing) อยางนอยผานสื่อ ของรัฐบาล และทีวีสาธารณะ เพื่อใหประเด็นดังกลาวไดผานการถกเถียงอยางกวางขวางมากยิ่งขึ้น o รางกฎหมายที่มาจากการริเริ่มโดยประชาชนที่อยูในขั้นตอนของรัฐสภาแลว ตองไมตกไปดวยเหตุของการ “ยุบสภา” o อาจใหมีการเขาชื่อเสนอรางกฎหมายได 2 แนวทางคือ 1) รวบรวมรายชื่อ 10,000 คน พิจารณาโดยรัฐสภา และ 2) รวบรวมรายชื่อ 200,000 คน ลงประชามติ หากเห็นวาเปนการสิ้นเปลือง ใหทําประชามติพรอมกับ การเลือกตั้งครั้งตอไป ชองทางการทําประชามติจะชวยยุติขอถกเถียงที่ไมสามารถหาทางออกไดใน กระบวนการรัฐสภา


THAI LAW WATCH

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

1. ที่มาและความสําคัญ การริเริ่มกฎหมายโดยประชาชน (initiative) เปนหลักการสําคัญของระบอบประชาธิปไตยสมัยใหมที่สงเสริม การมีสวนรวมของประชาชน ดวยการนําหลักการของประชาธิปไตยทางตรง (direct democracy) เขามาปรับใช เพื่อ แกไขปญหาระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน (representative democracy) โดยประชาชนสามารถใชอํานาจอธิปไตย ไดโดยตรงผานการเสนอรางกฎหมาย ไมวาจะเปนรัฐธรรมนูญหรือรางกฎหมายอื่นๆ โดยทั่วไป เปาหมายหลักของการ เปดชองใหมีการริเริ่มกฎหมายโดยประชาชน คือเพื่อใหประชาชนสามารถมีอิทธิพลโดยตรงตอทิศทางนโยบายของ รัฐบาลทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทั้งในระดับทองถิ่น และระดับชาติ ทั้งที่เปนการเสนอกฎหมายใหม หรือแกไข กฎหมายที่มีอยูเดิมผานการถกเถียงสาธารณะ ดวยการรวบรวมรายชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้งเพื่อสนับสนุนขอเสนอนั้น ๆ สําหรับประเทศไทย การเขาชื่อเสนอกฎหมายในปจจุบันเปนไปตาม พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอ กฎหมาย พ.ศ. 2542 ซึ่งออกตามความในมาตรา 170 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แตเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงเนื้อหาเกี่ยวกับการเสนอรางกฎหมายโดยประชาชนในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ตาม มาตรา 163 ทําใหพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 มีเนื้อหาไมตรงตามที่รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ไดบัญญัติไว ทั้งในประเด็นจํานวนรายชื่อประชาชนที่รวมลงชื่อ และเจตนารมณของ ผูเกี่ยวของที่ตองการใหการเสนอกฎหมายโดยประชาชนทําไดงายขึ้น และลดภาระของผูเสนอกฎหมายลง 2. หลักการของการเขาชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน และกรณีเปรียบเทียบ สวิตเซอรแลนด สหภาพ ยุโรป และ สหรัฐอเมริกา หลักการเสนอกฎหมายโดยประชาชนประกอบไปดวย 6 ขอสําคัญ1 คือ 1) เปด และ ใหโอกาสทุกคนมีสวนรวมอยางเสมอภาค (inclusiveness) 2) ใหประชาชนมีสิทธิควบคุม (popular control) กระบวนการนิติบัญญัติ และการทําประชามติรับรองราง กฎหมาย (หากมีการทําประชามติ) 3) การตัดสินอยางใครครวญ (considered judgment) ดวยการใหขอมูลอยางครบถวน รอบดาน เพื่อการ ตัดสินใจ 4) ความโปรงใส (transparency) ใหประชาชนสามารถตรวจสอบไดทุกขั้นตอนของการดําเนินการ 5) ประสิทธิภาพ (efficiency) ทําไดจริง ทําไดอยางรวดเร็ว 6) การถายอํานาจจากรัฐบาลสูประชาชน (transferability) โดยใหอํานาจประชาชนในทุกระดับ ทุกพื้นที่ สามารถ เสนอกฎหมายที่สอดคลองกับความเปนจริง และเหมาะสมกับบริบททางเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป สําหรับกรณีเปรียบเทียบ ประเทศสวิตเซอรแ ลนด ในฐานะแมแบบของการริเริ่ มกฎหมายโดยประชาชน สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา นับวาเปนตัวอยางที่ดีที่จะชี้ใหเห็นวาหลักการ เงื่อนไข กระบวนการ และขั้นตอนใน การเสนอกฎหมายโดยประชาชน เหมือน หรือแตกตางกันอยางไร

1

Graham Smith, Democratic Innovations: Designing Institutions for Citizen Participation, (Cambridge: Cambridge University Press, 2009), pp. 111-141.


ธันวาคม 2554

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

กรณีเปรียบเทียบ สวิตเซอรแลนด สหภาพยุโรป และ สหรัฐอเมริกา ประเด็นศึกษา สวิตเซอรแลนด สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา คุณสมบัติของผูรวม ประชาชนอายุ 18 ปบริบูรณ พลเมืองของสหภาพยุโรปที่ ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง มีสิทธิเลือกตั้ง(The และไมเปนผูถูกตัดสิทธิ ลงชื่อ European citizens’ ทางการเมือง จากทั้ง initiative, ECI) ระดับชาติและทองถิ่น แกไขรัฐธรรมนูญของมลรัฐ ขอบเขตการเสนอราง สามารถเสนอรางกฎหมาย แกไขเปลี่ยนแปลง แกไข ปรับปรุง และยกเลิก รัฐธรรมนูญของสหภาพ กฎหมายของ ยุโรป รวมถึงกฎเกณฑ รัฐธรรมนูญ (federal ประชาชน constitution) ไมวาจะเปนทั้ง ขอบังคับที่ออกภายใต รัฐธรรมนูญของสหภาพ ฉบับหรือบางสวนได ยุโรป จํานวนรายชื่อและ แกรัฐธรรมนูญ: 100,000 คน 1,000,000 คน จาก 1 ใน 4 ประชาชนจํานวนรอยละ 3 ของประเทศในสหภาพยุโรป ถึงรอยละ 15 ของจํานวนผู ระยะเวลารวบรวม ภายใน 18 เดือน มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดที่ไป เสนอ/แกกฎหมาย: 50,000 ภายใตระยะเวลา 1 ป รายชื่อ ออกเสียงครั้งลาสุด คน ภายใน 100 วัน (ประชากรประมาณ 7.7 ลาน คน) 7 คน 7 คนจาก 7 ประเทศ ผูริเริ่ม จัดใหมีการลงประชามติใน คณะกรรมาธิการยุโรปตอง เสนอตอเจาหนาที่ของมล การลงประชามติ ระดับทองถิ่น มลรัฐ หรือทั้ง พิจารณาใหแลวเสร็จภายใน รัฐ เพื่อเขาสูการลง ประชามติในการเลือกตั้ง ประเทศ หากทําประชามติ 3 เดือน แตไมมีการลง ครั้งตอไป ทั้งประเทศ ตองไดรับเสียง ประชามติในระดับสหภาพ ยุโรป ขางมากในสองระดับ (double majority) ประชาชนสามารถริเริ่ม ประชาชนสามารถริเริ่ม ระดับทองถิ่น กฎหมายในระดับทองถิ่นได กฎหมายในระดับทองถิ่น ได 3. การเขาชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน: ตามพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 และประเด็นเปรียบเทียบรางที่เสนอโดย 4 องคกร สําหรับประเทศไทย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับ พ.ศ. 2540 และฉบับ พ.ศ. 2550 ตางไดกําหนด หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการใหประชาชนสามารถใชสิทธิเขาชื่อเสนอกฎหมาย2 และเสนอญัตติแกไขเพิ่มเติม 2

ตามมาตรา 163 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มีหลักเกณฑโดยยอ คือ ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวา 10,000 คน เสนอแกไข ไดเฉพาะหมวด 3 (สิทธิและเสรีภาพ) และหมวด 5 (แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ) ของรัฐธรรมนูญ ตองจัดทํารางพระราชบัญญัติเสนอมา ดวย และในขั้นตอนของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ตองมีผูแทนประชาชนเขารวมไมนอยกวา 1/3 ของจํานวนคณะกรรมาธิการ


THAI LAW WATCH

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

รัฐธรรมนูญ3 เนื่องดวยในปจจุบันยังไมมีกฎหมายที่ออกมารองรับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 จึงยังคง อนุ โ ลมให ใ ช พ ระราชบั ญ ญั ติ ว า ด ว ยการเข า ชื่ อ เสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 ไปพลางก อ น โดยสาระสํ า คั ญ ของ พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 มีดังตอไปนี้ -

-

ผูมสี ิทธิเลือกตั้งในวันที่เขาชื่อเสนอกฎหมาย 50,000 คนเขาชื่อเสนอกฎหมาย การเสนอกฎหมายตองมีรางกฎหมายพรอมดวยบันทึกหลักการและเหตุผลประกอบ ผูมี สิ ท ธิเ ลื อ กตั้ ง ร วมกั น เข า ชื่ อ เสนอกฎหมายเอง หรื อ อาจร อ งขอให ค ณะกรรมการการเลื อกตั้ ง (กกต.) ดําเนินการจัดใหมีการเขาชื่อเสนอกฎหมาย โดยผูมีสิทธิเขาชื่อตองลงลายมือชื่อตามแบบที่รัฐสภากําหนด พรอมสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาทะเบียนบานของผูเขารวม การรองขอ กกต. ตองมีผูมีสิทธิเลือกตั้ง 100 คนขึ้นไปยื่นคําขอตอประธาน กกต. พรอมรางกฎหมาย4 ติดประกาศรายชื่อของผูเขาชื่อเสนอกฎหมายที่หนวยงานราชการ คือ ศาลากลางจังหวัด อําเภอ เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล ที่ทําการผูใหญบาน และเขตชุมชนหนาแนน บทลงโทษ จําคุก 1-5 ป หรือปรับ 20,000-100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ในกรณีผูใดกระทําการโดยไมมี อํานาจโดยชอบดวยกฎหมาย เพื่อไมใหหรือขัดขวางผูอื่นไปใชสิทธิเขาชื่อเสนอกฎหมาย

นอกจากบทบั ญ ญั ติ ต ามมาตรา 163 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ. 2550 ได ล ดจํ า นวน ประชาชนผูรวมเสนอกฎหมายลง จาก 50,000 คน เปน 10,000 คนแลว หลักเกณฑและวิธีการเขาชื่อตามรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ที่ในปจจุบันใชควบคูกับพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 เปนไปตามแผนภาพดานลาง

3

ตามมาตรา 291 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มีหลักเกณฑสําคัญ คือ ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวา 50,000 คน รวมลงชื่อ การขอแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญอันมีผลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขหรือ เปลี่ยนแปลงรูปแบบรัฐ ไมอาจทําได 4 กําหนดใหคณะกรรมการการเลือกตั้งมีระยะเวลาการรวบรวมรายชื่อไมนอยกวา 90 วัน และใหคณะกรรมการการเลือกตั้งประจําจังหวัด กําหนดสถานที่ลงชื่อ เมื่อไดรายชื่อครบตามจํานวน คณะกรรมการการเลือกตั้งประจําจังหวัดตองรวบรวมเสนอตอคณะกรรมการการ เลือกตั้งกลางภายใน 20 วัน


รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

ธันวาคม 2554

สําหรับรางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน พ.ศ. ... ที่เสนอโดย 4 องคกรสําคัญ คือ 1.) รางของคณะรัฐมนตรีชุดรัฐบาลอภิสิทธิ์ 2.) รางของพรรคพลังประชาชน 3.) รางของสถาบันพระปกเกลา 4.) รางของมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ แตละรางกฎหมายตางมีความเหมือนและความตาง ดังที่แจกแจงไวในตารางสรุป สาระสําคัญดานลาง ตารางสรุปสาระสําคัญของรางทั้ง 4 ฉบับ โดยสังเขป รางคณะรัฐมนตรี รางพรรคพลัง รางสถาบัน อภิสิทธิ์ ประชาชน พระปกเกลา การเริ่มเสนอ กฎหมาย

บทบาทงานของ กกต. ใน กระบวนการเขาชื่อ ของบประมาณ สนับสนุนได จาก

ผูริเริ่ม ไมนอยกวา 20 คน โดยแจงตอ ประธานรัฐสภาทราบ เปนหนังสือ ตองมี รางพระราชบัญญัติ พรอมบันทึก หลักการ บันทึก เหตุผลในการเสนอ รางพระราชบัญญัติ และบันทึกวิเคราะห สรุปสาระสําคัญของ รางพระราชบัญญัติ ยกเลิกบทบาทของ กกต. ไมระบุ

ไมไดกําหนดผูรเิ ริ่ม ตองมีราง พระราชบัญญัติ พรอมบันทึก หลักการ บันทึก เหตุผลในการเสนอ รางพระราชบัญญัติ และบันทึกวิเคราะห สรุปสาระสําคัญของ รางพระราชบัญญัติ

ไมไดกําหนดผูรเิ ริ่ม ตองมีราง พระราชบัญญัติ พรอมบันทึก หลักการ บันทึก เหตุผลในการเสนอ รางพระราชบัญญัติ และบันทึกวิเคราะห สรุปสาระสําคัญของ รางพระราชบัญญัติ

กกต. สามารถชวย ในกระบวนการ เขาชื่อ ไมระบุ

กกต. สามารถชวย ในกระบวนการ เขาชื่อ กองทุนสภาพัฒนา การเมืองภาค พลเมือง คณะกรรมการปฏิรูป กฎหมาย

องคกรที่ใหความ ชวยเหลือในการยก ราง

สํานักงานเลขาธิการ สภาผูแทนราษฎร

ไมระบุ

กําหนดระยะเวลาใน การตรวจรางของ ประธานรัฐสภา

ไมระบุ

ไมระบุ

ไมเกิน 45 วัน

รางของมูลนิธิ สาธารณสุข แหงชาติ ไมไดกําหนดผูรเิ ริ่ม ตองมีราง พระราชบัญญัติ พรอมบันทึก หลักการ บันทึก เหตุผลในการเสนอ รางพระราชบัญญัติ และบันทึกวิเคราะห สรุปสาระสําคัญของ รางพระราชบัญญัติ

กกต. สามารถชวย ในกระบวนการ เขาชื่อ กองทุนสภาพัฒนา การเมืองภาค พลเมือง สํานักเลขาธิการ รัฐสภา และ คณะกรรมการปฏิรูป กฎหมาย ไมเกิน 30 วัน


THAI LAW WATCH

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

การประกาศรายชื่อ ผูรวมลงชื่อ/ ระยะเวลาคัดคาน/ ระยะเวลาจําหนาย เรื่อง

ตารางสรุปสาระสําคัญของรางทั้ง 4 ฉบับ โดยสังเขป (ตอ) สถานที่ราชการ Website และ สถานที่ราชการ Website/30 วัน/ถา สําคัญสําคัญ/30 วัน/ สถานที่ราชการ รายชื่อไมครบ แกไข สําคัญ/30 วัน/ ถา รายชื่อไมครบ แกไข สําคัญ/20 วัน/ถา ไดใน 30 วัน ถารายชื่อไมครบ รายชื่อไมครบ แกไข แกไขไดใน 60 วัน ไดใน 30 วัน ไดใน 90 วัน

บทลงโทษ

ในกรณีใหสินบน หรือ ขูเข็ญ บังคับ และปลอมลายชื่อ

เหมือน พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542

ไมมีบทลงโทษ

เหมือน พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542

3.1) รางของคณะรัฐมนตรีชุดรัฐบาลอภิสิทธิ์ แตกตางจากพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 หลายประเด็น ไดแก กําหนดใหมี “ผูริเริ่ม” กําหนดกระบวนการขั้นตอนตางๆ ในรายละเอียด ใหยกเลิก บทบาทของคณะกรรมการการเลือกตั้งที่จะเขามาชวยเหลือในการเขาชื่อของประชาชน กําหนดใหมีการประกาศราง กฎหมายและรายชื่อผูรวมเสนอกฎหมายไวใน Website และกําหนดบทลงโทษใหมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 2 ดานคือ การ หลอกลวง ขูเข็ญ ชักจูงดวยเงินเพื่อใหลงชื่อดานหนึ่ง และ การปลอมแปลงหรืออางชื่อปลอม อีกดานหนึ่ง การยกเลิกบทบาทของคณะกรรมการการเลือกตั้ง นาจะมีเหตุผล 2 ประการ คือ ประการแรก ตองการให กระบวนการเสนอกฎหมายทําโดยประชาชนทุกขั้นตอน และประการที่สอง เพื่อรักษาความเปนกลางขององคกรอิสระ ประเด็นที่ขาดหายไปในรางของคณะรัฐมนตรีชุดรัฐบาลอภิสิทธิ์คือ ไมไดกําหนดระยะเวลาในการตรวจราง ของประธานรัฐสภา ซึ่งอาจทําใหเกิดความลาชาได และไมไดกําหนดใหองคกรใดใหความสนับสนุนเรื่องงบประมาณ ซึ่ง อาจสงผลใหการเขาชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนเปนไปไดยาก เพราะขาดทรัพยากรและกําลังทรัพย 3.2) รางของพรรคพลังประชาชน มีเนื้อหาคลายคลึงกับพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอ กฎหมาย พ.ศ. 2542 โดยไมมีการเสนอหลักเกณฑใหมที่จะเอื้อใหการเสนอกฎหมายโดยประชาชนสามารถทําไดงาย ขึ้น และเปนจริงไดอยางเปนรูปธรรม 3.3) รางของสถาบันพระปกเกลา มีจุดเดนหลายประการ กลาวคือ กําหนดระยะเวลาในการตรวจรางของ ประธานรัฐสภาอยางชัดเจน ขยายเวลาในกรณีที่รายชื่อไมครบ ใหแกไขเพิ่มเติมไดใน 90 วัน และเพิ่มองคกรสนับสนุน ประชาชนในกระบวนการเขาชื่อเสนอกฎหมาย โดยกําหนดใหองคกรปฏิรูปกฎหมายชวยเหลือในการยกราง และ กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองสนับสนุนดานงบประมาณ แตไมมีการกําหนดบทลงโทษกรณีมีผูกระทําผิด 3.4) รางของมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ ละมายคลายคลึงกับรางของสถาบันพระปกเกลา โดยไดเพิ่มทั้ง สํานักเลขาธิการรัฐสภาและคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายใหเปนองคกรสนับสนุนการยกราง และใหกองทุนพัฒนา การเมืองภาคพลเมืองสนับสนุนดานงบประมาณ มีการจํากัดเงื่อนเวลาในการตรวจสอบรางกฎหมายของประธานรัฐสภา ใหสั้นลงเหลือเพียง 30 วัน เพื่อใหกระบวนการเสนอกฎหมายเกิดขึ้นไดเร็ว และในกรณีที่ตองรวบรวมรายชื่อเพิ่ม มี เวลา 60 วัน รางของมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ ยังกําหนดวาถาประธานรัฐสภาจําหนายเรื่อง ก็ไมตัดสิทธิประชาชนใน การยื่นเรื่องใหม


ธันวาคม 2554

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

4. ประเด็นวิเคราะห 4.1) หลักการเกี่ยวกับ “ผูริเริ่ม”เสนอกฎหมาย การกําหนดใหมีผูริเริ่มทําใหเกิดความชัดเจนวาใครเปน ผูรับผิดชอบและดําเนินการ สามารถใหผูตองการเขารวมลงชื่อเสนอกฎหมายเขาใจจุดยืนและเปาหมายไดดีขึ้น การ กําหนดใหมีผูริเริ่มสอดรับกับขอเท็จจริงของการเสนอกฎหมายโดยประชาชนที่จําเปนตองมีกลุมคนที่เปนเจาภาพทํา หนาที่เสมือนกระสวยนํา ในตางประเทศ เชน สวิตเซอรแลนดก็กําหนดใหมีผูริเริ่มเชนกัน 4.2) บทบาทขององคกรต า ง ๆ ในการใหค วามชวยเหลื อในการรวบรวมชื่อ การยกร า ง และ งบประมาณ ที่ผานมาคณะกรรมการการเลือกตั้งไดชวยจัดการรวบรวมรายชื่อประชาชนเสนอกฎหมาย เชน ราง พ.ร.บ. ธนาคารหมูบาน พ.ศ. .... และราง พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. ....แตทั้งสองกรณี ประธานรัฐสภาสั่ง จําหนายเรื่อง เพราะมีผูเขาชื่อเสนอกฎหมายไมครบหาหมื่นคน สวนการเสนอใหมีองคกรชวยเหลือในขั้นตอนการยกราง และใหการสนับสนุนดานงบประมาณ เปนแนวคิด เพื่อชวยลดภาระและคาใชจาย (ตนทุน) ของประชาชน ซึ่งเปนเรื่องจําเปน เพราะการยกรางกฎหมายโดยประชาชน พรอมใหมี บันทึกหลักการแหงรางพระราชบัญญัติ บันทึกเหตุผลในการเสนอรางพระราชบัญญัติ และบันทึกวิเคราะห สรุปสาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ มีขอจํากัดทั้งในดานงบประมาณ การดําเนินงาน และองคความรู ในทางปฏิบัติ เปนไปไดยากที่ประชาชนจะสามารถดําเนินการทุกขั้นตอนไดเองโดยไมตองพึ่งพิงองคกรหรือกลุมการเมือง จะเห็นได วารางกฎหมายสวนใหญถูกผลักดันโดยภาคประชาชนที่ใกลชิดกับองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) นักวิชาการ และ นักการเมืองบางกลุม เชน การแกไขกฎหมายคนไทยพลัดถิ่นและคนไรสัญชาติในป พ.ศ. 2554 แมจะเปนพลังของคน ชายขอบจํานวนมาก แตก็ไดรับการสนับสนุนจากองคกรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และนักการเมือง มีการเสนอราง กฎหมายจากหลายฝาย ทั้งจากประชาชน จากนักการเมือง และจากสภาความมั่นคง รวมถึงการสรางแรงกดดันดวย การเดินทางไกล “จากสิงขร ถึงรัฐสภา” ดวย หรือรางกฎหมายที่เสนอโดยประชาชนที่รัฐสภาไดตราเปนกฎหมายมีผล ใชบังคับแลว คือ พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ที่เห็นชอบโดยสภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ถึงแม จะมาจากการรวมเสนอชื่อของประชาชน 4.7 ลา นคน แตดําเนินการโดยการจัดตั้ งสํานั กงานปฏิรูประบบสุข ภาพ แหงชาติ (สปรส.) ภายใตสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ดวยเหตุนี้ หากจะสงเสริมใหประชาชนทั่วไปสามารถเสนอกฎหมายไดเอง โดยไมจําเปนตองพึ่งพาองคกร พัฒนาเอกชนที่อาจลดทอนเปาหมายที่แทจริงและทําใหเจตนารมณของประชาชนบิดเบือนไป5 จึงจําเปนที่จะตองมี องคกรชวยเหลือ และใหการศึกษาสาธารณะที่ทําใหประชาชนสามารถรูขั้นตอนกระบวนการริเริ่มกฎหมายและสามารถ เสนอรางกฎหมายไดดวยภาษาและหลักการของตัวเอง ถึงแมวาสุดทายกระบวนการดังกลาวจะไมสามารถหลีกเลี่ยง “การเมือง” ที่มาจากองคกรเหลานั้นไดก็ตาม การมีองคกรสนับสนุนมีขอพึงพิจารณาคือ หนึ่ง องคกรสนับสนุนดังกลาวจะใชอํานาจหนาที่และมีหลักเกณฑ ในการพิจารณาใหการสนับสนุนอยางไร ทั้งนี้เพราะองคกรดังกลาวยังไมมีหลักปฏิบัติหรือผลงานเปนตัวอยางในการให ความสนั บ สนุ น การมี ส ว นร ว มของประชาชน และสอง คํ า ถามเรื่ อ งความเป น อิ ส ระขององค ก รสนั บ สนุ น รวมถึ ง คณะกรรมการการเลือกตั้งวาจะสามารถสนับสนุนการเขาชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนจากทุกกลุม และทุกภาคสวน ไดอยางเปนธรรมจริงหรือไม ขอพึงสังเกตคือ การเปดชองใหมีการริเริ่มกฎหมายโดยประชาชนในประเทศไทย เปนแนวคิดที่ เติบโตใน สถาบันที่มีความใกลชิดกับองคกรพัฒนาเอกชน โดยตองการลดบทบาทของนักการเมืองและสถาบันหลักอยางพรรค 5

กรณีที่เห็นไดชัดคือโฉนดชุมชน เมื่อประชาชนรวมกลุมกันก็จะมี NGOs และนักวิชาการเขาไปชวยระดมทรัพยากร จนขอเสนอบางอยาง เปลี่ยนไปและไปไกลกวาความตองการของประชาชนที่เคลื่อนไหว และใชการตอรองทางการเมืองมาก จนในที่สุดประชาชนเปนเพียง ลายเซ็นทายเอกสารประกอบรางกฎหมาย


THAI LAW WATCH

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

การเมือง ที่องคกรพัฒนาเอกชนจํานวนมากมองวาไรจริยธรรมและความสามารถ ซึ่งตางไปจากหลายประเทศที่การ ขับเคลื่อนทางการเมืองของประชาชนทําควบคูไปอยางใกลชิดกับนักการเมืองและพรรคการเมือง การเสนอกฎหมาย โดยประชาชนจํานวนมากมาจากการผลัก ดันและความชวยเหลือของพรรคการเมือง สําหรับประเทศไทยที่พบวา กฎหมายซึ่งผานความเห็นชอบจากรัฐสภาสวนใหญมาจากการเสนอของคณะรัฐมนตรี นาจะมีความพยายามผลักดันให พรรคการเมืองหันมาใหความสําคัญกับการสรางพันธมิตรกับประชาชนในเรื่องการเสนอกฎหมาย เพื่อทําใหบทบาท ดานนิติบัญญัติเขมแข็งขึ้น ไมใชออนแอลง และพรรคการเมืองเองก็มีงบประมาณที่ไดรับการสนับสนุนจากเงินกองทุน เพื่อการพัฒนาพรรคการเมืองอยูแลว 4.3) จํานวนประชาชนที่รวมเขาชื่อ หลักเกณฑ และวิธีการเขาชื่อ อุปสรรคสําคัญสองประการในการ เสนอกฎหมายของประชาชนคือ ไมสามารถรวบรวมรายชื่อไดครบ และขั้นตอนที่ยุงยากตามที่บัญญัติไว6 รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จึงลดจํานวนประชาชนผูรวมลงชื่อเสนอกฎหมายจาก 50,000 คน เปน 10,000 คน ซึ่งนาจะสงผลใหการเสนอกฎหมายทําไดงายขึ้น แตเพื่อใหการรวมลงชื่อทําไดงาย ทําไดจริง ไมควรตองใหมีการแสดง สําเนาทะเบียนบานประกอบการรวมลงชื่อ หากเปนไปได ควรใหประชาชนใชเพียงเลขบัตรประจําตัวประชาชน 13 หลัก ประกอบลายเซ็น แทนเอกสารสําเนาอื่นๆ เพื่อลดตนทุนในการถายและเก็บรักษาเอกสาร นอกจากนี้ประชาชนที่ ไมไดใชสิทธิเลือกตั้งครั้งที่ผานมา ก็สามารถใชสิทธิในการเขาชื่อเสนอกฎหมายได เพราะการเขาชื่อเสนอกฎหมายเปน สิทธิพื้นฐานของประชาชนที่ไมไดหมดไปเพียงเพราะไมไดไปใชสิทธิเลือกตั้ง 4.4) ระยะเวลาในการเพิ่มรายชื่อ ในกรณีที่จํานวนชื่อไมครบกอนประธานรัฐสภาสั่งจําหนายเรื่อง เนื่องจากพบวาอุปสรรคสําคัญที่ไมสามารถดําเนินการใหสมบูรณครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด มีสาเหตุสวนใหญมา จากจํานวนประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งเขาชื่อไมครบ จึงมีการเสนอใหขยายเวลาเพิ่มรายชื่อจาก 30 วัน เปน 60 วัน หรือ 90 วัน ซึ่งจะชวยใหการเสนอกฎหมายสมบูรณไดงายขึ้น 4.5) กําหนดระยะเวลาในการเขาชื่อ เปนขอกําหนดที่มีอยูในตางประเทศ แตสําหรับประเทศไทยอาจไม จําเปนในขณะนี้ เพราะการรวบรวมรายชื่อเสนอรางกฎหมายแตละฉบับที่ผานมาตองใชเวลานาน การกําหนดระยะเวลา ในการเขาชื่ออาจเก็บไวเปนประเด็นใหคิดในอนาคต เพราะชวยใหการดําเนินการมีขั้นตอนที่ชัดเจน และปองกันการ เสนอกฎหมายแบบดึงเรื่องใหลาชา 4.6) ระยะเวลาตรวจรางโดยประธานรัฐสภา การกําหนดระยะเวลาที่ชัดเจน เชน 30 หรือ 45 วัน เปนเรื่อง ที่ควรระบุไวในกฎหมาย เพื่อปองกันการ “ดองเรื่อง” เพราะรางกฎหมายยังตองผานกระบวนการนิติบัญญัติอีกหลายขึ้น ตอนทั้งสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา

6

ตัวอยางการเสนอกฎหมายโดยประชาชนที่ถูกจําหนายเรื่อง เชน 1. ราง พ.ร.บ. จัดตั้งสถาบันคุมครองสุขภาพ ความปลอดภัยและ สิ่งแวดลอมในสถานประกอบการ พ.ศ. .... (ยื่นผานรัฐสภา ประธานรัฐสภาสั่งจําหนายเรื่อง เพราะวายื่นเอกสารไมครบ 2. ราง พ.ร.บ. สภา เกษตรแหงชาติ พ.ศ. .... (ยื่นผานรัฐสภา ประธานรัฐสภาสั่งจําหนายเรื่อง เพราะวามี ผูเขาชื่อเสนอกฎหมายไมครบหาหมื่นคน) 3. ราง พ.ร.บ. ธนาคารหมูบาน พ.ศ. .... (เสนอกฎหมายโดยการจัดการของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประธานรัฐสภาสั่งจําหนายเรื่อง เพราะมี ผู เขาชื่อเสนอกฎหมายไมครบหาหมื่นคน) 4. ราง พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. .... (เสนอกฎหมายโดยการจัดการของคณะกรรมการ การเลือกตั้ง ประธานรัฐสภาสั่งจําหนายเรื่อง เพราะมีผูเขาชื่อเสนอกฎหมายไมครบหาหมื่นคน) เปนตน


ธันวาคม 2554

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

4.7) ขั้นตอนการพิจารณาโดยรัฐสภา ในขั้นตอนพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ควรตองมีผูแทน ประชาชนไมนอยกวา 1/3 ของจํานวนคณะกรรมาธิการทั้งหมด7 ประเด็นที่สําคัญกวานั้นคือ การสงเสริมการมีสวนรวม ในการเสนอกฎหมายที่เปนอยูนี้ ยังเปนไปแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ เพราะคณะกรรมาธิการสภาผูแทนราษฎร และวุฒิสภา สามารถแกไขเนื้อหาของรางกฎหมายที่เสนอโดยประชาชน หากตองการยืนยันวากระบวนการเสนอกฎหมายเปนของ ประชาชน ควรมีบทบัญญัติหามแกไขเนื้อหาที่ประชาชนยกรางขึ้น8 หรือเปดใหมีการลงประชามติวาจะรับหรือไมรับราง กฎหมายของประชาชน เปนขั้นตอนตัดสินใจสุดทาย ไมใชใหอํานาจอยูที่รัฐสภา รวมทั้งรางกฎหมายที่มาจากการริเริ่ม โดยประชาชนที่อยูในขั้นตอนของรัฐสภาแลว ตองไมตกไปดวยเหตุของการ “ยุบสภา” 4.8) การขยายการมีสวนรวมของประชาชนในวงกวาง ควรกําหนดใหตองมีการอภิปรายสาธารณะ การ ถกเถียงผานสื่อมวลชน ในขั้นตอนการพิจารณาของรัฐสภา เชน ใหประชาชนที่เสนอกฎหมายสามารถรองขอใหสื่อ ภายใตการกํากับของรัฐบาลหรือสื่อสาธารณะตองเผยแพรเนื้อหาของกฎหมายเปนระยะเวลาหนึ่ง 5. บทสรุปและขอเสนอแนะ 1) ทําใหการรวมลงชื่อเสนอกฎหมายทําไดงายขึ้น โดยใชบัตรประจําตัวประชาชนและลายเซ็น ไมจําเปนตอง ใชสําเนาทะเบียนบาน หรืออาจใชเพียงหมายเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก 2) ควรกําหนดเวลาที่เหมาะสมในการพิจารณารับรางกฎหมายของประธานรัฐสภา รวมถึงจํากัดเวลาในทุก ขั้นตอนของกระบวนการนิติบัญญัติในรัฐสภา เชน ตองพิจารณาใหแลวเสร็จและลงมติภายใน 3 เดือน เปนตน 3) อาจคงบทบาทของ กกต. ในกระบวนการเขาชื่อ เพราะกกต. เปนองคกรขนาดใหญที่มีความพรอมในดาน ทรัพยากรและมีสาขาในทุกพื้นที่จังหวัด จึงสามารถชวยเหลือประชาชนในการประสานงานและรวบรวมรายชื่อได แต บทบาทของ กกต. จะตองจํากัดใหเปนเพียงสถานที่ในการประสานงานเทานั้น เพื่อปองกันการแทรกแซงทางการเมือง ในรางกฎหมายของประชาชน อีกทั้งการมี 2 แนวทางในการเขาชื่อคือ โดยประชาชนเองและผานกกต. นั้น สามารถนํา รายชื่อของประชาชนมารวมกันได ไมจําเปนตองเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งเทานั้น 4) เมื่อถึงขั้นพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการวิสามัญ ใหคงหลักการที่ตองมีผูแทนประชาชนที่เขาชื่อเสนอ กฎหมาย รวมชี้แจงไมนอยกวา 1/3 ของคณะกรรมาธิการวิสามัญ 5) สรางกลไกที่จะทําใหประชาชนผูเสนอกฎหมายและประชาชนทั่วไปสามารถตรวจสอบทุกขั้นตอนของ กระบวนการเสนอกฎหมายโดยประชาชน กําหนดใหมีการทําประชาพิจารณโดยการสนับสนุนของรัฐสภาหรือองคกรที่ เกี่ยวของ และใหผูเสนอรางกฎหมายสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากสื่อในกํากับของรัฐ และสื่อสาธารณะในการ อภิปรายถกเถียงและนําเสนอสาระสําคัญสูสังคมในวงกวาง 6) กระบวนการในการเห็นชอบหรือไมเห็นชอบกฎหมาย อาจมีไดทั้งผานทางรัฐสภา และการทํา ประชามติโดยไมตองผานรัฐสภา (mandatory referendum) โดยทั้ง 2 กระบวนการอาจมีหลักเกณฑที่แตกตางกัน เชน แนวทางแรกอาจใชเสียงของประชาชนเพียง 10,000 คน ในการเสนอกฎหมาย สวนแนวทางที่สองอาจใชเสียงของ ประชาชน 200,000 คน เปนตน เพื่อประหยัดงบประมาณ อาจทําประชามติพรอมกับการเลือกตั้งครั้งตอไป 7

รางพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. .... (ยื่นผานรัฐสภา วุฒิสภาแกไขสาระสําคัญ สงกลับใหสภาผูแทนราษฎรอีกครั้งแตเกิดการรัฐประหาร ขึ้นในป พ.ศ. 2549) 8 ตัวอยางเชน รางพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. ... ที่ภาคประชาชนใชเวลาในการดําเนินการเสนอรางกฎหมาย รวบรวมรายชื่อ ทําประชา พิจารณ และเรียกรองภาครัฐกวา 10 ปเพื่อเปลีย่ นแปลงโครงสรางอํานาจในการจัดการกับพื้นที่ปาโดยชุมชน แตรางกฎหมายดังกลาวกลับ ตองพบอุปสรรคมากมาย ทั้งในเรื่องกระบวนที่มีขั้นตอนสลับซับซอนและใชเวลายาวนาน และการแปรญัตติที่มีการแกไขรางกฎหมายของ ประชาชนจนผิดวัตถุประสงคของภาคประชาชนในการนิยามปญหาปาชุมชน


THAI LAW WATCH

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

7) ควรสงเสริมการมีสวนรวมการทางเมืองในดานการริเริ่มกฎหมายโดยประชาชนทั้งในระดับชาติ และระดับทองถิ่น โดยระดับทองถิ่นถึงแมจะมี พระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอขอบัญญัติทองถิ่น พ.ศ.2542 อยู แลว แตกําหนดจํานวนประชาชนไวถึง “กึ่งหนึ่ง” ของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ซึ่งเปน จํานวนที่มากเกินไป จึงควรมีการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายการเสนอขอบัญญัติทองถิ่นใหสามารถปฏิบัติไดจริง เชน กําหนดใหผูมีสิทธิเลือกตั้งเขาชื่อรอยละหาของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในทองถิ่นนั้น สามารถเขาชื่อเสนอ ขอบัญญัติทองถิ่นได เปนตน


รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

ธันวาคม 2554

ภาคผนวก แบบ ข.ก.๑ แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู ลายมือชื่อของผูเขาชื่อเสนอกฎหมาย เขียนที่......................................... วันที่...........เดือน........................................พ.ศ. .................. ๑.

ชื่อตัวและชื่อสกุล

๒. ๓.

เลขประจําตัวประชาชน ที่อยูตามทะเบียนบาน

๔.

อาชีพ

๕.

ขอเขาชื่อเสนอกฎหมาย

เลขที่.......................ตรอก/ซอย......................................หมู. ...................... ถนน..............................................ตําบล/แขวง.......................................... อําเภอ/เขต.....................................จังหวัด................................................. รหัสไปรษณีย...................................................... ราง พ.ร.บ. ...............................................................................................

ขาพเจาขอรับรองวา ขอความที่ปรากฏขางตนเปนความจริงทุกประการ ลงชื่อ..............................................ผูเขาชื่อเสนอกฎหมาย (.........................................................) หมายเหตุ

ขาพเจาไดแนบเอกสารมาพรอมกับแบบ ข.ก.๑ ดังนี้ สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน บัตรประจําตัวประชาชนที่หมดอายุ .

บัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถายสามารถแสดงตนได สําเนาทะเบียนบาน


THAI LAW WATCH

รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

แบบ ข.ก. ๒ แผนที่.......... แบบแสดงบัญชีรายชื่อผูเขาชื่อเสนอกฎหมาย รางพระราชบัญญัติ........................................................................................................................................... รายชื่อผูเขาชื่อเสนอกฎหมายที่มีชื่ออยูในทะเบียนบานตามเขตจังหวัด........................................................... อําเภอ.......................ตําบล.....................บาน........................หมูที่.......ตรอก/ซอย/ถนน................................. ลําดับที่ ชื่อ-สกุล บานเลขที่


รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

ธันวาคม 2554

แบบ ข.ก.๓ แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู ลายมือชื่อของผูแทนการเสนอกฎหมาย

เขียนที่.................................................................... วันที่...........เดือน........................................พ.ศ. .................. ๑.

ชื่อตัวและชื่อสกุล

๒. ๓.

เลขประจําตัวประชาชน ที่อยูตามทะเบียนบาน

๔. ๕.

อาชีพ ผูแทนการเสนอกฎหมาย

เลขที่.......................ตรอก/ซอย......................................หมู. ...................... ถนน..............................................ตําบล/แขวง.......................................... อําเภอ/เขต.....................................จังหวัด................................................. รหัสไปรษณีย...................................................... ราง พ.ร.บ. ....................................................................................................

ขาพเจาขอรับรองวา ขอความที่ปรากฏขางตนเปนความจริงทุกประการ ลงชื่อ..........................................................ผูแทนการเสนอกฎหมาย (.........................................................)


รางพระราชบัญญัติวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ....

THAI LAW WATCH

แบบ ข.ก.๔ แบบคํารองคัดคานรายชื่อผูเขาชื่อเสนอกฎหมาย เขียนที่............................................... วันที่...........เดือน........................................พ.ศ. ....... ๑.

ชื่อตัวและชื่อสกุล

๒. ๓.

เลขประจําตัวประชาชน ที่อยูตามทะเบียนบาน

๔.

มีชื่อในบัญชีรายชื่อผูเขา ชื่อเสนอกฎหมาย

เลขที่.......................ตรอก/ซอย......................................หมู. ...................... ถนน..............................................ตําบล/แขวง.......................................... อําเภอ/เขต.....................................จังหวัด................................................. รหัสไปรษณีย............................. ลําดับที่..........................

ขาพเจาขอยืนยันวาขาพเจามิไดรวมเขาชื่อเสนอรางพระราชบัญญัติ........................................ ลงชื่อ.........................................ผูคัดคาน (.........................................................)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.