Xayaburi Dam, Laos

Page 1

สมาคมนักอุทกวิทยาไทย XAYABURI POWER

รายงานการทัศนศึกษาดูงาน โครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมืองไซยะบุรี สาธารณรั ฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว)

จัดเตรี ยมโดย คณะอนุกรรมการฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย 22 มีนาคม 2557


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

สารบัญ 1. ความเป็ นมาการทัศนศึกษาดูงาน 2. รายละเอียดโครงการไฟฟ้าพลังน ้า ไซยะบุรี 3. สรุปประเด็นที่ได้ รับจากการทัศนศึกษาดูงาน 4. หนังสือเชิญทัศนศึกษาดูงานจากนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย 5. การดูงานแบบจาลองกายภาพเขื่อนไซยะบุรี AIT (30 มกราคม 2557) 6. เอกสารเผยแพร่โครงการไฟฟ้าพลังน ้า ไซยะบุรี 7. ภาพถ่ายการทัศนศึกษาดูงาน 8. POWER POINT บรรยายโครงการไฟฟ้าพลังน ้า ไซยะบุรี 9. วีดีโอบรรยายโครงการไฟฟ้าพลังน ้า ไซยะบุรี (แนบมาพร้ อมรายงานฉบับนี ้)


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

1. ความเป็ นมาการทัศนศึกษาดูงาน สมาคมนักอุทกวิทยาไทย โดยคณะอนุกรรมการฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ ได้ จดั โครงการทัศนศึกษาดูงาน ด้ านอุทกวิทยา เกี่ยวกับการก่อสร้ างเขื่อนไซยะบุรี ซึง่ เป็ นเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน ้า เป็ นหนึง่ ใน 12 โครงการ เขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าที่ได้ รับการเสนอให้ สร้ างขึ ้นในแม่น ้าโขงตอนล่าง เขื่อนไซยะบุรีตงอยู ั ้ ่ที่แก่ง หลวง แก่งหินใหญ่ที่สดุ แห่งหนึง่ ของแม่น ้าโขง ห่างจากเมืองมรดกโลกหลวงพระบาง ตามลาน ้าลงมาเพียง 100 กิโลเมตร การทัศนศึกษาดูงาน ถือเป็ นกิจกรรมที่ดาเนินการสอดคล้ องและเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการ จัดตังสมาคมนั ้ กอุทกวิทยาไทย ในด้ านการส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ด้านอุทกวิทยา วิทยาศาสตร์ และอุทก วิทยาประยุกต์ รวมถึงการจัดกิจกรรมด้ านอุทกวิทยาและเทคโนโลยีอทุ กวิทยา เพื่อการสร้ างเสริมและ พัฒนาสมาชิกให้ มีทกั ษะความรู้ด้านอุทกวิทยาและเทคโนโลยีที่ทนั สมัย และเพื่อให้ การทัศนศึกษาดูงาน มีความสมบูรณ์และเป็ นการปูพื ้นฐานข้ อมูลทัว่ ไปให้ กบั ผู้ร่วม เดินทาง คณะอนุกรรมการฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ จึงได้ จดั งานเยี่ยมชมแบบจาลองทางกายภาพเขื่อนไซยะบุรี ที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ในวันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม 2557 โดยได้ ฟังการบรรยายสรุปและพา ชมแบบจาลองจาก ดร.สุทศั น์ วีสกุล และทีมงาน เขื่อนไซยะบุรี นับเป็ นความภาคภูมิใจของชาวไทยโดยเป็ นเขื่อนที่ได้ รับสัมปทานจาก สปป.ลาว ลงทุนก่อสร้ างโดยชาวไทย ได้ รับการสนับสนุนแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงินของประเทศไทย การทัศน ศึกษาดูงานในครัง้ นี ้จัดขึ ้นพร้ อมการท่องเที่ยวภายในเมืองหลวงพระบางระหว่างในวันที่ 21 – 23 มีนาคม 2557 โดยมีรายละเอียดดังนี ้


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

1.1 คณะผู้บริ หารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย - ดร. สุบนิ ปิ่ นขยัน

นายกสมาคม

- คุณวีระ วงศ์แสงนาค

อุปนายก

- ดร.วีระพล แต้ สมบัติ

อุปนายก

- ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์

กรรมการและประชาสัมพันธ์

- ดร.วจี รามณรงศ์

กรรมการและนายทะเบียน

- คุณศรี สพุ ร ศรี สภุ าพ

กรรมการและเหรัญญิก

- คุณปรี ชา เศขรฤทธิ์

กรรมการและเลขาธิการ

1.2 คณะอนุการฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ - คุณปราโมทย์ ไม้ กลัด

ที่ปรึกษา

- คุณสมศรี อรุณินท์

ที่ปรึกษา

- คุณกรณิการ์ ทวีทรัพย์

ที่ปรึกษา

- คุณประสิทธิ์ ผลวิไล

ประธานอนุกรรมการ

- คุณนิทศั น์ ภู่วฒ ั นกุล

อนุกรรมการ

- คุณสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน์

อนุกรรมการ

- ดร.ทองเปลว กองจันทร์

อนุกรรมการ

- คุณสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล

อนุกรรมการ และเลขานุการ


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

1.3 คณะร่ วมเดินทางทัศนศึกษาดูงานเขื่อนไซยะบุรี (21 - 23 มีนาคม 2557) -

-

-

นายปรี ชา เศขรฤทธิ์

กรรมการและเลขาธิการ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย ประธานกรรมการ บริ ษัท เซ้ าท์อสี๊ ท์เอเซียเทคโนโลยี่ จากัด 081-823-9727 prechas2555 @ hotmail.com นายชัยวัฒน์ ผลพิรุฬห์ กรรมการ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริ ษัท เซ้ าท์อี๊สท์เอเซียเทคโนโลยี่ จากัด 081-626-8752 Chaiwatp @ seatec.co.th นายสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล กรรมการ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย ผู้ช่วยรองกรรมการผู้จกั การ (วิศวกรรม)บริ ษัท เอ็ม ดี เอ็กซ์ จากัด

(มหาชน)

-

-

-

-

087-008-8032 sombe1 @ hotmail.com นายบรรจง แจ้ งจิต วิศวกรโยธาอาวุโส บริ ษัท ปั ญญา คอนซัลแตนท์ จากัด bunjong_i @ panyaconsult.co.th นายสันติ ศรี ทองสม วิศวกรแหล่งน ้าอาวุโส บริ ษัท ปั ญญา คอนซัลแตนท์ จากัด 081-752-5202 sunti_s @ panyaconsult.co.th นางสาวยุพา ชิดทอง วิศวกรแหล่งน ้า บริ ษัท ปั ญญา คอนซัลแตนท์ จากัด 089-953-7021 yupa_c @ panyaconsult.co.th ดร.จิระกานต์ ศิริวิชญ์ไมตรี อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน 089-665-9984 Fengcrk @ ku.ac.th นางสาวมารยาท เพชรรัตน์ ผู้ประสานงาน สมาคมนักอุทกวิทยาไทย ผู้ช่วยเลขานุการบริ หาร บริ ษัท เซ้ าท์อี๊สท์เอเซียเทคโนโลยี่ จากัด 086-569-3876 maraya_p @ hotmail.com


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

คณะผู้ร่วมเดินทาง (จากซ้ ายไปขวา) - ดร.จิระกานต์ ศิริวิชญ์ไมตรี - คุณปรี ชา เศขรฤทธิ์ - คุณมารยาท เพชรรัตน์ - คุณยุพา ชิดทอง - คุณสุกานดา แก้ วสว่าง - คุณสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล - คุณสันติ ศรี ทองสม - คุณชัยวัฒน์ ผลพิรุฬห์ - คุณบรรจง แจ้ งจิต

(พนักงานไกด์ต้อนรับ สปป.ลาว)


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

1.4 ผู้ตดิ ต่ อประสานงานไปยังโรงไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เพื่อขอความร่ วมมือในการเข้ าเยี่ยมชม โครงการและการต้ อนรับ คุณประสิทธิ์ ผลวิไล ประธานอนุกรรมการฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ

-

สมาคมนักอุทกวิทยาไทย - คุณชวลิต จันทรรัตน์ ประธานกรรมการบริ หาร บจ. ทีม คอนซัลติ ้ง เอนจิเนียริ่ ง แอนด์ แมเนจ เมนท์ และกรรมการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1.5 คณะทีมงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี (บริษัท ช.การช่ าง (ลาว) จากัด) -

คุณผดุง ด่านผดุงธรรม : Project Office Manager Mobile Lao : +856 20 2310-7949 Mobile Thai : +668 1843-9050 Email

: pdanpadungtarm @ gmail.com

- คุณจรินทร์ ปาจริยานนท์ : Coordination Manager - คุณสิทธิพนั ธุ์ อัจฉริยาศิรพจน์ : Senior Civil Engineer


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

2.รายละเอียดโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เพื่อให้ ข้อมูลรายละเอียดโครงการไฟฟ้าพลังน ้า ไซยะบุรี มีความสมบูรณ์ ถูกต้ องครบถ้ วน เป็ นข้ อมูล ที่ได้ รับการทวนสอบยืนยันและเผยแพร่สสู่ าธารณะทัว่ ไป ทางคณะอนุกรรมการฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ ได้ พิจารณาสรุปข้ อมูลจากวีดีทศั น์บรรยายของโครงการฯ ที่ได้ รับฟั งบรรยายระหว่างการเยี่ยมชมงานที่ สานักงานภาคสนาม เมื่อวันเสาร์ ที่ 22 มีนาคม 2557 ดังนี ้ (ทังนี ้ ้รายละเอียดวีดีทศั น์ ได้ แนบมาพร้ อมกับ รายงานฉบับนี ้แล้ ว) แม่น ้าโขงมีความยาวตลอดลาน ้า 4,909 กิโลเมตร จากธารน ้าที่เกิดจากการละลายของหิมะบน เทือกเขาหิมาลัย ไหลลัดเลาะผ่านพื ้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ ของจีน ก่อเกิดพรมแดนลาว-พม่า และ พรมแดนไทย-ลาว ที่สามเหลี่ยมทองคา จังหวัดเชียงราย ก่อนไหลเข้ าสู่ประเทศลาวทางตอนเหนือผ่านหลวง พระบาง จากนันแม่ ้ น ้าโขงไหลเข้ าสูพ่ รมแดนไทย-ลาวอีกครัง้ ที่อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เป็ นพรมแดน ไทย-ลาวที่ภาคอีสาน ผ่านนครหลวงเวียงจันทน์ และไหลเข้ าลาวที่อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ไหล ลงสูก่ มั พูชาเข้ าสูด่ นิ ดอนสามเหลี่ยมปากแม่น ้าในเวียดนามแผ่ออกเป็ นแขนงกว้ างครอบคลุมพื ้นที่หลาย จังหวัด แล้ วจึงไหลลงสูท่ ะเลจีนใต้ เขื่อนแห่งแรกบนแม่น ้าโขงก่อสร้ างขึ ้นในช่วงต้ นทศวรรษ 1990 คือเขื่อน ม่านวาน (Manwan Dam) ตังอยู ้ ใ่ นมณฑลยูนนานประเทศจีน จนถึงปั จจุบนั มีเขื่อนกันล ้ าน ้าโขงทาง ตอนบนก่อสร้ างแล้ วเสร็จทังสิ ้ ้น 6 แห่ง อย่างไรก็ตาม ระบบนิเวศแม่น ้าโขงตอนล่างยังคงความอุดมสมบูรณ์ อยูม่ าก แม้ จะได้ รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของระดับน ้าของเขื่อนในจีนที่ตงห่ ั ้ างออกไปนับพัน กิโลเมตร โครงการเขื่อนไซยะบุรี (Xayaburi Dam) เป็ นหนึง่ ใน 12 โครงการเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าที่ได้ รับการ เสนอให้ สร้ างขึ ้นในแม่น ้าโขงตอนล่าง เขื่อนไซยะบุรีตงอยู ั ้ ่ที่แก่งหลวง แก่งหินใหญ่ที่สดุ แห่งหนึง่ ของแม่น ้า โขง ห่างจากเมืองมรดกโลกหลวงพระบาง ตามลาน ้าลงมาเพียงราว 100 กิโลเมตรเท่านัน้ โครงการไฟฟ้า พลังงานน ้าไซยะบุรีเป็ นโครงการที่ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยนาพลังงานน ้าจากลาน ้าโขงมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ อันเป็ นพลังงานสะอาด สามารถรักษาสภาพแวดล้ อมตามธรรมชาติให้ คงอยูส่ ืบไป ทังยั ้ งช่วยพัฒนาความ เจริญและ


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

สร้ างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) รวมถึงเพื่อประโยชน์ใน การผลิตพลังงานไฟฟ้าประมาณ 7,370 GWN ต่อปี จาหน่ายให้ แก่ประเทศไทย โดยได้ มีการลงนามสัญญา ซื ้อขายไฟฟ้า ระหว่าง บริ ษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด กับการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ใน วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2554 และพลังงานบางส่วนจาหน่ายให้ แก่รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว (Electricite Du Laos : EDL) เพื่อสนองความต้ องการไฟฟ้าใน สปป.ลาว ที่มีความต้ องการเพิ่มขึ ้นในอัตราสูงมากขึ ้น ตลอดเวลา โครงการไฟฟ้าพลังงานน ้าไซยะบุรี บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด ได้ มอบหมายให้ บริษัท ช. การช่าง (ลาว) จากัด เป็ นผู้รับเหมาหลักตามสัญญา EPC Contract ซึง่ ได้ ลงนามในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2554 โครงการไฟฟ้าพลังงานน ้าไซยะบุรีมีลกั ษณะเป็ นฝายน ้าล้ นหรื อ Run off River กล่าวคือเป็ น การ ยกระดับน ้าจากระดับน ้าปกติประมาณ 30 เมตร โครงสร้ างกันล ้ าน ้าโขงความยาว 820 เมตร มีโครงสร้ าง หลักประกอบด้ วย 1.

Navigation Lock (ประตูนา้ และช่ องทางนา้ สาหรั บการเดินเรื อ)

เป็ นช่องทางผ่านเรื อซึง่ จะปรับระดับน ้าจากความต่างของระดับน ้า 2 ฝั่ ง ควบคุมการปล่อยน ้า ประตูปล่อย น ้าจานวน 3 บาน มีความกว้ าง 12 เมตร สามารถเคลื่อนเรื อบรรทุกที่มีความสูงสุดไม่เกิน 500 ตัน ผ่านได้ ครัง้ ละ 2 ลาในเวลาเดียวกันช่องเดินเรื อด้ านต้ นน ้าระหว่างประตูบานต้ นและประตูบานกลางระยะ 144 เมตร ช่วงประตูบานกลางและประตูบานท้ าย ระยะ 154 เมตร การปรับระดับน ้าในช่องทางน ้าสาหรับ เดินเรื อ ปรับน ้า ท้ ายน ้าให้ สงู ระดับเดียวกันกับด้ านต้ นน ้าระหว่างช่องประตูบานท้ ายน ้า กลางน ้า ต้ นน ้า เรื อ เล็กสามารถนาข้ ามได้ ด้วยระบบและอุปกรณ์พิเศษโดยไม่ผา่ นประตูน ้า 2.

Spillway (ทางระบายนา้ ล้ น)

ความกว้ าง 235 เมตร มีประตูน ้าจานวน 11 บาน ประกอบด้ วยทางระบายน ้าของตะกอนจานวน 4 บาน และทางระบายน ้าจานวน 7 บาน สามารถระบายน ้าสูงสุดได้ ที่ 47,500 ลูกบาศก์เมตร ต่อวินาที


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

3.

Intermediate Block (แกนกลางตามทางยาวของลานา้ หรือ ของเขี่อน)

เป็ นโครงสร้ างเสมือนแกนกลางเชื่อมระหว่าง Spillway กับ Powerhouse ทาหน้ าที่สว่ นหนึง่ ของระบบประตู ป้องกันน ้าในขันตอนที ้ ่ 1 intermediate Block ประกอบด้ วยโครงสร้ างคือ กาแพงด้ านขวา กาแพงด้ านซ้ าย Irrigation way , Bus station อุโมงค์ผา่ นปลา อุโมงค์ระดับน ้าล่อปลาและอาคารโรงไฟฟ้าสารอง 4.

Powerhouse (อาคารผลิตกระแสไฟฟ้า)

ความยาว 302 เมตร ประกอบด้ วยเครื่ องผลิตกระแสไฟฟ้าทังหมด ้ 8 เครื่ อง โดยจานวนนี ้แบ่งเป็ น 7 เครื่ อง กาลังการผลิตเครื่ องละ 175 MW เพื่อส่งไฟฟ้าให้ กบั การไฟฟ้าผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และอีก 1 เครื่ อง มีกาลังการผลิต 60 MW เพื่อส่งไฟฟ้าให้ กบั การไฟฟ้าลาว (EDL) รวมกาลังการผลิตทังหมด ้ 1,285 MW พร้ อมห้ องปฏิบตั กิ ารและห้ องควบคุม 5.

Fish Passing Facilities (ทางผ่ านปลา)

มีความกว้ าง 20 เมตร และความยาว 1,100 เมตร เป็ นช่องทางสาหรับปลาในการว่ายผ่านระหว่างด้ านท้ าย น ้าและด้ านเหนือน ้า ซึง่ ได้ ผา่ นการสารวจวิธีดกั ปลา ซึง่ ใช้ Ultrasonic Sounding สารวจเพื่อออกแบบทาง ราดปลา ซึง่ มีระดับน ้าเหมาะสมทุกสายพันธุ์ โดยมี Pumping Station ซึง่ อยูใ่ น Intermediate Block คอย ทาหน้ าที่สร้ างกระแสน ้าเทียมเพื่อนาทางให้ ปลาว่ายเข้ าสูท่ างราดปลา และผ่านตาแหน่งเป็ นไปได้ อย่าง ธรรมชาติ ระบบสายส่งกระแสไฟฟ้า (Transmission Line System) เป็ นสายส่งแรงสูงขนาด 500 กิโลโวลต์ ส่งตรงจากอาคารผลิตกระแสไฟฟ้าจากโครงการพลังงานน ้าไซยะบุรีไปถึงพรมแดนประเทศลาวกับประเทศ ไทยที่ อ.ท่าลี่ จ.เลย มีระยะทางประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนที่จะเชื่อมต่อสายส่งแรงสูงขนาด 500 กิโล โวลต์ ของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ในส่วนของขันตอนการเตรี ้ ยมงาน บริษัท ช การช่าง (ลาว) จากัด ได้ จดั ให้ มีสว่ นที่พกั สาหรับ พนักงานในโครงการทุกคน โดยจัดเตรี ยมอาคารที่พกั อาคาร 9 แคมป์ ซึง่ ประกอบไปด้ วย บ้ านพัก ร้ านค้ า ร้ านอาหาร สถานพยาบาลเบื ้องต้ น อาคารคัดแยกขยะ และสิ่งอานวยความสะดวกพื ้นฐาน ซึง่ สามารถ รองรับพนักงาน


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

และบุคลกรที่เกี่ยวข้ องได้ กว่า 10,000 คน นอกจากนี ้ภายในโครงการยังได้ จดั เตรี ยมอาคารสานักงานที่ พร้ อมด้ วยอุปกรณ์สานักงานและการสื่อสาร อาคารเวิร์คช็อป ตลาด และสนามกีฬา เพื่ออานวยความ สะดวกในการ ทางาน และกิจกรรมนันทนาการอย่างครอบคลุมและที่ความแตกต่างหลากหลายเชื ้อชาติ และศาสนาของ พนักงานในโครงการที่อาศัยร่วมกันเป็ นจานวนมาก โครงการจึงได้ จดั ระเบียบบ้ านพักกฎระเบียบในการ ทางาน จัดให้ มีหน่วยงานรักษาความปลอดภัยทังชี ้ วิตและทรัพย์สิน และหน่วยงานดูแลความปลอดภัยใน การทางานเพื่อให้ พนักงานทุกคนสามารถอยูร่ ่วมกันด้ วยความสงบสุข เพื่อพลังและขวัญกาลังใจในการมุ มานะ อุตสาหะร่วมแรงร่วมใจปฏิบตั งิ านเป็ นน ้าหนึง่ ใจเดียวกัน จนได้ บรรลุวตั ถุประสงค์ตามเป้าหมายที่ตงั ้ ไว้ ทกุ ประการ สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมได้ แสดงในเอกสารเผยแพร่บรรยายโครงการไฟฟ้าพลังน ้าไซยะบุรี ใน หัวข้ อถัดไปของรายงานฉบับนี ้


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว

3. สรุ ปประเด็นที่ได้ รับจากการทัศนศึกษาดูงาน คณะทีมงานเดินทางศึกษาดูงานเขื่อนไฟฟ้าพลังน ้า ไซยะบุรี ได้ รับการบรรยายข้ อมูลผ่านทาง วิดีทศั น์ และ เอกสาร Power Point รวมถึงการตอบข้ อซักถาม ซึง่ มีทงข้ ั ้ อมูลทางเทคนิควิศวกรรม ข้ อมูล ด้ านการลงทุน ข้ อมูลทางด้ านการบริหารโครงการ และข้ อมูลด้ านสังคมสิ่งแวดล้ อม ประเด็นสาระสาคัญที่ ทีมงานได้ รับ สามารถสรุปดังนี ้ 1. โครงการโรงไฟฟ้าพลังน ้าในสปป.ลาว ที่ลงทุนโดยคนไทย 100% (เงินกู้ 75% : เงินสด 25%) แหล่ง เงินกู้จากสถาบันการเงินภายในประเทศไทย 100% มีเงินลงทุนทังหมดประมาณ ้ 3,500 ล้ าน USS หรื อ ประมาณ 1.2 แสนล้ านบาท 2. โครงการโรงไฟฟ้านี ้มีอายุสมั ปทาน 29 ปี ต้ นทุนประมาณ 10 ปี โดยมีอตั ราการขายไฟฟ้าให้ การ ไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ประมาณ 2.20 บาท/หน่วยไฟฟ้า และเมื่อครบอายุ สัมปทานสามารถต่ออายุสมั ปทานได้ 3. โครงการมีการจัดทาแบบจาลองทางกายภาพ (Physical Model) โดยสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ประเทศไทย และปั จจุบนั ผู้รับเหมาหลัก บมจ. ช.การช่าง ยังพิจารณาให้ มีการเก็บ แบบจาลองไว้ เพื่อสาหรับการปรับทดลองข้ อมูลที่ปัจจุบนั ยังอยูร่ ะหว่างการก่อสร้ าง 4. ข้ อมูลผลกระทบสิ่งแวดล้ อมที่มีการศึกษาอย่างละเอียด โดยการจ้ างผู้เชี่ยวชาญ การจัดทา แบบจาลองทางกายภาพและแบบจาลองเฉพาะส่วนคือการเคลื่อนย้ ายปลาในแม่น ้าโขงที่ผา่ นเขื่อน ไฟฟ้าพลังน ้า (Fish Passing Facilities) 5. โครงการมีการบริหารจัดการงานก่อสร้ างแบบสากล เน้ นงานด้ านความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน มีความตระหนักและให้ ความสาคัญต่อความรับผิดชอบในฐานะหัวหน้ าสายบังคับบัญชา ยกตัวอย่าง ประมาณปลายเดือน ธันวาคม 2556 เกิดเหตุการณ์น ้าหลากในแม่น ้าโขงผ่านพื ้นที่ โครงการทาให้ มีการเตือนภัยล่วงหน้ า สามารถอพยพเคลื่อนย้ ายเครื่ องจักร อุปกรณ์ ได้ ทนั เหตุการณ์แต่สภาพการก่อสร้ างหน้ างานเกิดความเสียหาย เมื่อเหตุการณ์ผ่านพ้ นไป ผู้บริหาร ระดับสูงในฐานะผู้ควบคุมบริหารโครงการ แสดงความรับผิดชอบอย่างสูงสุดและแจ้ ง ผู้ใต้ บงั คับบัญชาทุกหน่วยงาน ไม่ต้องตื่นตระหนัก และเป็ นกังวลต่อความเสียหายที่เกิดขึ ้นให้


การทัศนศึกษาดูงานโครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี เมือง ไซยะบุรี สปป.ลาว ปฏิบตั งิ านตามแผนงานปกติตอ่ ไป นับเป็ นการแสดงความรับผิดชอบสูงสุดต่อโครงการก่อสร้ าง ขนาดใหญ่นี ้ 6. ผู้พฒ ั นาโครงการเน้ นให้ ความสาคัญอย่างยิ่งยวด ต่อการตอบสนองความเป็ นอยูค่ วามต้ องการของ ชุมชน ชาวบ้ านที่อยูใ่ นพื ้นที่ตงโครงการ ั้ ผ่านโครงการเคลื่อนย้ ายถิ่นฐานที่ถกู น ้าท่วม ตังแต่ ้ ระดับ ต่า กว่า +275 เมตร รทก.ประกอบด้ วย การจัดสรรพัฒนาที่ดนิ การสร้ างบ้ านพักอาศัยแนวใหม่ การย้ ายศาสนสถาน การจ่ายเงินค่ายังชีพ 6 เดือน การจัดสร้ างระบบสาธารณูปโภคพื ้นฐานที่จาเป็ น และการฝึ กอาชีพ ทากินภายในชุมชน เป็ นต้ น 7. ด้ วยพื ้นฐานของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว) เป็ นรัฐสังคมนิยม ทา ให้ การควบคุมบริ หารจัดการ กลุม่ เอกชนด้ านสิ่งแวดล้ อม (NGO) สามารถควบคุมได้ โดยรัฐบาล จะทาหน้ าที่เป็ นด้ านหน้ าในการคัดกรองกลุม่ NGOที่จะมาต่อต้ านและการเข้ ามาถึงพื ้นที่ก่อสร้ าง โครงการ 8. โครงการมีการสนับสนุนให้ เกิดความร่วมมือและการประสานงานเข้ าถึง เข้ าใจของแรงงานและ ชุมชนโดยรอบพื ้นที่ก่อสร้ างโครงการ มีการเปิ ดโอกาสให้ ชมุ ชนได้ เข้ ามาจัดสรรพื น้ ที่สาหรับการ บริการทัว่ ไป ในความเป็ นอยู่ประจาวันของแรงงาน อาทิเช่น ร้ านอาหาร ตลาดสด เป็ นต้ น นอกเหนือจากประเด็นด้ านวิศวกรรม การบริ หารจัดการ การจัดการสังคมและสิ่งแวดล้ อมแล้ วความ เป็ นมิตรไมตรี อัธยาศัยที่ดีงาม ของทีมงาน บมจ. ช.การช่าง ที่ให้ การต้ อนรับคณะเดินทางจากสมาคมนัก อุทกวิทยาไทย ได้ สร้ างความประทับใจและในการต้ อนรับเป็ นอย่างดียิ่ง จึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี ้อีกครัง้ หนึง่


4.หนังสื อเชิญทัศนศึกษาดูงาน จาก นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย




5.การดูงานแบบจาลองกายภาพ เขือ่ น ไซยะบุรี AIT ( วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม 2557 )


ดร. สุทศั น์ วีสกุล

Engr. Arturo G. Roa… Laboratory Supervisor


Physical Model at AIT…30 มกราคม 2557


Physical Model for Upstream Flow

Physical Model for Downstream Flow


Physical Model for Spillway


Physical Model for Fish Passing Facilities



6. เอกสารเผยแพร่ โครงการไฟฟ้าพลังนา้ ไซยะบุรี












7. ภาพถ่ายการทัศนศึกษาดูงาน


คณะเดินทาง ถึงสนามบินหลวงพระบาง คณะเดินทางเตรี ยมเดินทางไปที่ตงโครงการโรงไฟฟ ั้ ้า


สภาพถนนผ่านหมูบ่ ้ าน ระหว่างทางไปโรงไฟฟ้า

สภาพถนนตัดผ่านภูเขา ระหว่างทางไปโรงไฟฟ้า


การก่อสร้ างถนนเป็ นช่วงๆ

ถนนระหว่างปรับผิวทาง


สะพานข้ ามแม่น ้าโขง ระหว่างทางไปโรงไฟฟ้า ลงทุนโดย สปป ลาว


สภาพหมูบ่ ้ าน ระหว่างทางไปโรงไฟฟ้า


การก่อสร้ างชุมชนบ้ านพักแห่งใหม่ ให้ กบั ครอบครัว ที่ได้ รับผลกระทบจากการสร้ างโรงฟฟ้า


คุณปรี ชา เลขาธิการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

( จากซ้ ายไปขวา )

คุณสิทธิพนั ธ์ / คุณจรินทร์ / คุณผดุง...จนท ไซยะบุรี


จนท ไซยะบุรี บรรยายโรงไฟฟ้าพลังน ้า


เลขาธิการฯ มอบของที่ระลึก...คุณผดุง ด่านผดุงธรรม Project Office Manager……Xayaburi HPP


เลขาธิการฯ มอบของที่ระลึก คุณจรินทร์ ปาจริยานนท์ Coordination Manager……Xayaburi HPP

เลขาธิการฯ มอบของที่ระลึก คุณสิทธิพนั ธุ์ อัจฉริยาศิรพจน์ Senior Engineer…….Xayaburi HPP


คณะเดินทางลงนาม สมุดเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าไซยะบุรี


พื ้นที่ก่อสร้ าง บริเวณ Spill Way & Navigation Lock


พื ้นที่ก่อสร้ าง มองเห็น Spill Way

พื ้นที่ก่อสร้ าง มองเห็น Intermediate Block


Access Road โดยรอบพื ้นที่ก่อสร้ างโรงไฟฟ้า


สายพานลาเลียงวัสดุก่อสร้ างจากแหล่งผลิต เข้ าสูพ่ ื ้นที่ก่อสร้ าง


ถ่ายภาพหมูร่ ่วมกับเจ้ าหน้ าที่ โรงไฟฟ้าไซยะบุรี

คณะเดินทาง เตรี ยมเดินทางจากหลวงพระบาง กลับกรุงเทพฯ


8. POWERPOINT บรรยาย โครงการโรงไฟฟ้ าพลังน้ า ไซยะบุรี


Heartfelt Welcome 22 March 2014

Xayaburi Hydroelectric Power Project, Laos PDR


Project Overview Project Location Distance from Xayaburi to Luang Prabang airport

117 km

Loei airport airport

276 km 276 km

(Loei–Talee ‐ XYB = 56 + 220 km)

Nan airport Nan airport

275 km 275 km

(Nan – Huay Kon – Hongsa – XYB = 140 + 40 + 95 km)

Pisnulok airport

397 km

(Pitsnulok – Pu Du ‐ XYB = 207 +190 km)


View of the Construction Site before development Monthly runoff in August (peak) 10,060m 10 060m3/sec, /sec level 250 m asl Monthly runoff in March-April 1,060m3/sec, level 236 m asl


Overview of the Project

Fish Passage Intermediate Block

1

2 3

4 5

6 7

8



VDOÂ Navigation


Spillway surface gate p y g


Spillway Low level outlet gate p y g







W kS h d l Work Schedule Project construction is divided into 3 phases Project construction is divided into 3 phases 1 Preparation phase 1. Preparation phase 2 1st stage construction phase 2. stage construction phase construction taken place on right side of the river 3. 2nd stage construction phase Construction taken place on the left side of the river Construction taken place on the left side of the river


Activities to be carried out in the preparation stage. p p g • Construction of access road. • 115kV transmission line and site substation. • Camps, utilities, and community facilities. • Office building, internet line and communication. Office building internet line and communication • Electronic Document Control system. • Procurement of equipment and machines. q p • Investigation and construction of hauling road to quarry. • Installation of plants and yards.


1st Stage construction phase. Stage construction phase

It will be construction of the upstream, down stream and third first stage cofferdam, of the navigation facility, of the Spillway , and of the t ff d f th i ti f ilit f th S ill d f th part of the Intermediate Block on the right wall, while the river will keep flowing in its natural dry season channel. keep flowing in its natural dry season channel.


Construction Activities

1st stage Construction Plan 03 October 2013

U/S Cofferdam

D/S Cofferdam

3rd Cofferdam (being removed)


Construction Activities

1st stage Construction Plan 03 December 2014


2ndd Stage construction phase. S i h The 2nd stage will start with the construction of upstream and downstream embankment cofferdam across the river, once the , navigation facilities and the spillway are ready for operation. This stage will consist of completion of the intermediate block construction of the intake powerhouse complex, fish passing facilities and 500kV transmission line facilities and 500kV transmission line.


Construction Schedule

2nd Stage Construction-initial June 2015


Construction Schedule

2nd Stage before impound October 2018


Construction Schedule

Ready for Operation October 2019


Preparation p work


Preparation work A Access road section 1: Ban Nalua d ti 1 B N l to Ban Talan t B T l , 10 km DBST 10 k DBST


Preparation work Access road section 2 : Ban Ban d Talan l to Site, 14 km DBST k


Preparation work 115 kV Line from EDL 115 kV Line from EDL’ss Xayaburi Xayaburi Substation to Project Site Substation to Project Site Substation


Preparation work 115/22 kV Project Site Substation – 115/22 kV P j t Sit S b t ti 2 it t 2 unit transformers 10 f 10 MW each


Preparation Work 9 camps to accommodate 11,236 inhabitants

Camp 6

Camp 5

C Camp 7 7 Camp 8

Camp 3 Camp 3 Camp 4 Office Camp 2 Camp 1

C Camp 9 9


Preparation work p Camp 1 (CHK camp 1,265 inhabitants)


Preparation work Camp 2 (CHK camp 1,672 inhabitants)


Preparation work Camp 3 (CHK camp 1,256 inhabitants)


Preparation work Camp 4 (Subcontractor camp 2,474 inhabitants)


Preparation work Camp 5 (Subcontractor camp 1,714 inhabitants)


Preparation work Camp 6 (Package 2 Subcontractor camp 455 inhabitants)


Preparation work Camp 7 (Subcontractor camp 1,826 inhabitants)


Preparation work C Camp 8 (GOL‐E and Owner camp 46 inhabitants) 8 (GOL E d O 46 i h bit t )


Preparation work Main Office – office, meeting rooms, IT center


Preparation work GOL‐E and Owner Office


Preparation work EEmergency Medical Facility – M di l F ilit 24 h 24 hour servicing first aid, i i fi t id stand‐up ambulance


Preparation work Market Place – fresh food and daily consumables


Preparation work Market Place – food shop areas


Preparation work Indoor Stadium and sport area


Preparation work Water Treatment Plant – 4 Plants


Preparation work Drinking Water Reverse Osmosis System


Preparation work Waste Separation Plant Waste Separation Plant – 3 units incinerators, composite 3 units incinerators composite field, separate storages for recycle and hazardous wastes


Preparation work Wastewater Treatment Plant – 25 Plants in total


Construction Site Facilities


Construction Facility 3,, sufficient for the Quarry A2 ( Q y (surveyed deposit quantity 7,430,000 m y p q y , ,

whole project)


Construction Facility Quarry 2 (E y ( xecution of Quarry Work is ongoing) y g g)


Construction Facility Quarry 2 (E y ( xecution of Quarry Work is ongoing) y g g)


Construction Facility Crushing Plant (2 plants design capacity 660 ton/h each) Crushing Plant (2 l t d i it 660 t /h h) Aggregate 63mm, 38mm, 19mm 9.5mm, washed and unwashed sand


Construction Facility Batching Plant equipped with wet belt aggregate cooling system, and ice/ ice water plant (2 plants/4 mixers, capacity of 240m3/h each)


Construction Facility Belt Conveyor for Concrete Transportation Belt Conveyor for Concrete Transportation (2 lines with design capacity of 360 m3/h each)

BC‐16 BC‐15 BC‐10

TB2 BC‐1

TB1

BC‐6

BC‐9 BC‐4


Construction Facility Tower crane (15 units situating in the whole construction pit) ( g p )

P12 P10 P1

P11 P9

P2 P3

P8 P4


Construction Facility Tower Crane (15 units situating in the construction pit) Tower Crane (15 units situating in the construction pit) P13 P4

P14

P12

P8

P4

P15

TB2

TB1

P5


Construction Facility Carpenter yard p y ((Total area 21,920 sq.m) , q )


Construction Facility Rebar yard y ((Total area 18,950 sq.m) , q )


Construction Facility Precast yard (Total area 51,300 sq.m) Precast yard (Total area 51,300 sq.m)

Precast unit p production area Store Office

Painting and sand blast area

I‐Girder production area Steel structure stock area

Outdoor fabrication area fabrication area


Construction Facility E&M Workshop p ((Total area 29,960 sq.m) , q )


Construction Facility E&M Workshop (Total area 29,960 sq.m) E&M Workshop (Total area 29 960 sq m) Mobile service equipment

Store

Rubber and Steel works

Preventive and Maintenance

E&M office

Storage equipment parts

Maintenance for Heavy equipment Heavy equipment


Construction Facility E i Equipment and Machine for Earth work t d M hi f E th k

D Dump truck 10 wheels 128 units t k 10 h l 128 it

Bulldozer 31 units

Crawlair Drill 23 units

Track type Hydraulic Excavator 104 units

Off Hi h Off‐Highway truck 26 units t k 26 it

Vibrator Compactor 6 units


Construction Facility E i Equipment and Machine for Road work t d M hi f R d k

G d 10 it Grader 10 units

Wh l L d 19 it Wheel Loader 19 units

R ll C Roller Compactor 15 units t 15 it

Pneumatic tire Compactor 4 units

Wheel type Hydraulic Excavator 4 units

Asphalt Distributor Truck 2 units


Construction Facility E i Equipment and Machine for Concrete work t d M hi f C t k

T il t k 11 it Trailer truck 11 units

Concrete pump truck 11 units

Telebelt truck 4 units

Cement Truck 6 units

Concrete transit mixer truck 26 units

Shotcrete machine 8 units


Construction Facility E i Equipment and Machine for support work t d M hi f t k

W t T k 22 units Water Truck 22 it

Hiab Truck 37 units

Mobile Crane 25 ‐220 ton 26 units

Oil Truck 8 units

Generator 76 units

Passenger Truck 40 units


Construction Facility Set‐up of Hydro‐mechanical Subcontractor Fabrication Shop along km5 the access road section 2


Construction Facility Set‐up of Hydro‐mechanical Subcontractor Fabrication Shop along km5 the access road section 2 l k h d Boring Machine

Lathe Machine Lathe Machine Brand Saw

Milling Machine

Radial Drill

Brand Saw Drilling Machine


Construction Facility Set‐up of Hydro‐mechanical Subcontractor Fabrication Shop along km5 the access road section 2 l k h d Rolling Machine

Blending Machine

CNC Automatic Cutting Machine


Construction of Permanent Work is divided into 4 Packages Package 1: Civil Work (excavation, embankment, concrete work etc.) Package 2: Hydro‐mechanical Work (gates, stoplock, pump water feeding system, etc.) t f di t t ) Package 3: Electromechanical Work (turbine, generator, P k 3 El h i l W k ( bi transformer, switchgear, etc.) Package 4: Electric Transmission Line (200km 500kV double circuit line from the Project Site to Thai‐Lao border circuit line, from the Project Site to Thai‐Lao border at the vicinity of Kaen Tao)


1st stage g of Construction Phase


Progress of permanent work Over view for construction site in the riverbed


Progress of permanent work View from Right Bank View from Right Bank


Progress of permanent work View from Left Bank View from Left Bank


Progress of permanent work U t Upstream Cofferdam C ff d


Progress of permanent work Downstream Cofferdam Downstream Cofferdam


Progress of permanent work 3rd Cofferdam (removed 16 October 2013) Cofferdam (removed 16 October 2013)


Navigation Lock Structure Concrete Work As of 25 February 2014 – progress 40.74%


Navigation Lock Structure Concrete Work February 2014 y Block 1

Block 2

Block 3

Block 4

UP STREAM

DOWN STREAM


Navigation Lock Structure Concrete Work February 2014 y

Block 6

Block 5

DOWN STREAM

UP STREAM


Navigation Lock Structure Concrete Work February 2014 y

Block 7 Block 8

UP STREAM

DOWN STREAM


Navigation Lock Structure Concrete Work February 2014 y

Block 11

Block 12

Block 9 2 Block 9‐2

UP STREAM Block 9‐1

DOWN STREAM


Navigation Lock Structure Concrete Work February 2014 y

Block 20 Block 16

Block 18 Block 17

Block 14

Block 19

Block 15 Block 13

DOWN STREAM

UP STREAM


Spillway Structure Concrete Work Structure Concrete Work As of 25 February 2014 – y progress 48.11% p g


Spillway Structure Concrete Work February 2014 y

Zone Weir B & Pier 3,4,5

Zone Weir A & Pier 1,2

UP STREAM

DOWN STREAM


Spillway Structure Concrete Work February 2014 y

Z Zone Weir D & Pier 8,9 W i D & Pi 8 9

Z Zone Weir C & Pier 6,7 W i C & Pi 6 7

UP STREAM

DOWN STREAM


Spillway Structure Concrete Work February 2014 y Zone Weir E & Pier 10,11

UP STREAM

DOWN STREAM


Spillway Structure Concrete Work February 2014 y Stilling Basin Zone

UP STREAM

DOWN STREAM


Intermediate Block Structure Concrete As of 25 February 2014 – y progress 50.48% p g


Intermediate Block Structure Concrete Work February 2014

Block 5 2 Block 5‐2 Block 5‐3 Block 4 Block 4 Block 3

UP STREAM Block 2

DOWN STREAM


Intermediate Block Structure Concrete Work February 2014 Block 6

Block 5‐2

Block 3

Block 5‐3

Block 5‐1

DOWN STREAM

UP STREAM


Intermediate Block Structure Concrete Work February 2014

Block 7(Completed) Block 6

Block 8(Completed)

Block 9(Completed)

Block 5‐2

Block 5 1 Block 5‐1

UP STREAM

DOWN STREAM


Intermediate Block Structure Concrete Work February 2014

Block 13 Block 13 Block 14 Block 12 Block 10

Bl k 11 Block 11

Block 15

UP STREAM

DOWN STREAM


Intermediate Block Structure Concrete Work February 2014

Block 17‐3 Block 17‐1(1) & 17‐1(2)

Block 16

DOWN STREAM

Block 17‐2

UP STREAM


Intermediate Block Structure Concrete Work February 2014

Block 17

UP STREAM

DOWN STREAM


Excavation Work at Navigation Lock As of 25 February 2014 – progress 89.97%


Slope stabilization work at Navigation Lock (D/S) As of 25 February 2014 – progress 98.70% EL+275 EL+270 EL 270 EL+265

EL+253


Excavation Work at the Powerhouse As of 25 February 2014 – progress 55.36% EL+280 LB 3


Slope Stabilization Work at the Powerhouse As of 25 February 2014 – progress 58.84%

EL+280 LB 3.2


Excavation Work at the Fish Passing Facility As of 25 February 2014 – progress 21.74%

LB 5


Slope Stabilization Work at the Fish Passing Facility As of 25 February 2014 – progress 39.16% EL+300

EL+308

EL+290 EL+280

LB 5 LB 5


Hydro‐mechanical Work February 2014 • Fabrication Navigation Lock N i i L k ¾ Stop logs 2nd Stage Embedded Items ¾ Upstream and Downstream miter gate Upstream and Downstream miter gate ¾ Floating Mooring Bitts 2nd Stage Embedded Items ¾ Fish Attraction Facilities ¾ Water feeding system steel liners ¾ Trash rack screen panel

Spillway ¾ Low level outlet U/S,D/S stop logs 2nd stage embedded items ¾ Low level outlet upstream stop logs L l l tl t t t l ¾ Low level outlet radial gate ¾ Low level outlet 1 Low level outlet 1st stage tube anchor stage tube anchor ¾ Surface spillway U/S,D/S stop log 2nd stage embedded items


Hydro‐mechanical Work February 2014 • Installation Spillway S ill ¾ Low level outlet installation of steel liner for bays L1,L2,L3 & L4


Hydro‐mechanical Work February 2014 Navigation Lock – fabricated 2nd stage embedded items for u/s, m/s, and d/s Stoplogs and d/s Stoplogs


Hydro‐mechanical Work February 2014

Navigation Lock and LLO Spillway d/s – fabricated Stoplogs

• Sandblasting complete

• Painting complete


Hydro‐mechanical Work February 2014

Navigation Lock – fabricated u/s Mitre Gate

Gate Leaf (right bank) internal ( g ) sandblasting completed

Gate leaf (right bank) internal sandblasting and cleaning


Hydro‐mechanical Work February 2014 Navigation Lock – fabricated 2nd stage embedded items for Ship Arresters

Fit‐up stiffener prior to install rolled plates

Fit‐up/weld rolled plates to stiffener


Hydro‐mechanical Work February 2014 Navigation Lock – fabricated Fish Attraction Facilities


Hydro‐mechanical Work February 2014 Navigation Lock – installed Steel Liner for Water Feeding System


Hydro‐mechanical Work February 2014 Navigation Lock – fabricated Wheel Gate, Trash Rack Cleaning Panel

Upstream wheel gate 2nd stage embedded items fit‐up stiffener/plates

Upstream wheel gate 2nd stage embedded items for full weld


Hydro‐mechanical Work February 2014 Navigation Lock – fabricated Wheel Gate, Trash Rack Cleaning Panel


Hydro‐mechanical Work February 2014 Low Level Outlet – fabricated 2nd stage embedded items for Stoplogs


Hydro‐mechanical Work February 2014 Low Level Outlet – fabricated for u/s Stoplogs

Assemble Stoplog Assemble Stoplog

Weld stoplog Weld stoplog


Hydro‐mechanical Work February 2014 Low Level Outlet – fabricated Tube Anchor for 1st stage embedded

LLO tube anchor at laydown area

LLO tube anchor for painting


Hydro‐mechanical Work February 2014 Low Level Outlet – fabricated Radial Gate body

LLO bay L2 Radial gate


Hydro‐mechanical Work February 2014

Low Level Outlet – installed Steel Liner

LLO steel liner fit‐up/alignment


Hydro‐mechanical Work February 2014

Surface Gate – fabricated 2nd stage embedded items for Stoplogs

Stoplog 2nd stage guide rail stage guide rail

Stoplog 2nd stage track/side member stage track/side member


Electromechanical Work February 2014

On going in the Site Installation of grounding and lightning wire of grounding and lightning wire •Installation On going at the Contractor’s factory • Model test of turbines, governors and auxiliaries Model test of turbines governors and auxiliaries • Design of various equipment • generator unit foundation plan generator unit foundation plan • draft tube and pier nose liner assembly • circuit diagram excitation panel • general arrangement of Powerhouse crane • control system • protection system protection system • lighting and small power system • drainage and dewatering system • water supply, fire fighting, and service water system • excitation system


Electromechanical Work February 2014

Installation grounding mesh block. 16 and riser for Intermediate block Total progress 86.90 %


Electromechanical Work February 2014

Installation grounding mesh no. C2 and riser of Pier for Spillway. Total progress 52.48 %


Electromechanical Work February 2014

Installation grounding riser of Block wall for Navigation Lock. Installation grounding riser of Block wall for Navigation Lock. Total progress 98.83 %


Transmission Line Work February 2014

Completed • Survey of route line, and profile • Tower spotting • Development of Key Map Ongoing in the remote site • Sub soil investigation, • Grounding resistant measurement Ongoing at the Contractor’s factory • Design of tower body • Preparation for tower failure test • Design of tower foundation • Preparation for vendor list


Transmission Line Work February 2014


Transmission Line Work February 2014


Package 4 : Transmission Line


Thank You


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.