JOURNAL OF THAI HYDROLOGIST ASSOCIATION 2014

Page 1





พระราชด�ารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ด้านการพัฒนาแหล่งน�้า ในพิธีเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติ The Third Princess Chulabhorn Science Congress เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๓๘ “...การพัฒนาแหล่งน�้านั้น ในหลักใหญ่ ก็คือการควบคุมน�้าให้ได้ดังประสงค์ ทั้งปริมาณ และคุณภาพ กล่าวคือเมื่อมีปริมาณน�้ามากเกินไป ก็ต้องหาทางระบายออกให้ทันการณ์ ไม่ปล่อย ให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายได้ และในขณะที่เกิดภาวะขาดแคลน ก็จะต้องมีน�้ากักเก็บไว้ใช้อย่าง เพียงพอ ทั้งมีคุณภาพเหมาะสมแก่การเกษตร อุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค ปัญหาอยู่ที่ว่า การพัฒนาแหล่งน�้านั้นอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อสิ่งแวดล้อมบ้าง แต่ถ้าไม่มีการควบคุมน�้าที่ดี พอแล้ว เมื่อเกิดภัยธรรมชาติขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความเดือดร้อนสูญเสีย ทั้งในด้านเศรษฐกิจและใน ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ทั้งส่งผลกระทบเสียหายแก่สิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง...”


สารจากนายกสมาคม หนังสือวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ฉบับนี ้ เป็นฉบับแรก หลังจากผมเข้ารับต�าแหน่ง นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทยใน ปี พ.ศ. 2556 เนือ่ งจากท่านอาจารย์บญ ุ รอด บิณฑสันต์ อดีตนายกสมาคม นักอุทกวิทยาไทยได้ถงึ แก่อนิจกรรม และมีพธิ พี ระราชทานเพลิงศพ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 นับเป็นความสูญเสียบุคคลทีไ่ ด้ทา� ประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติมากมายท่านหนึง่ ซึง่ ในโอกาสนี ้ กระผม ใน นามคณะกรรมการบริหารและสมาชิกสมาคมฯ ขอแสดงความเสียใจและ อาลัยในการจากไปของ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียบุคคล ในงาน วิศวกรรมไทย และอดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ขอให้กศุ ลผลบุญและคุณงามความดีทงั้ หลายที่ อาจารย์บญ ุ รอดได้ประกอบไว้ ตลอดระยะเวลาทีม่ ชี วี ติ อยู ่ ได้โปรดน�าท่านไปสูส่ มั ปรายภพอันประเสริฐ หลังจากผมเข้าท�างานในต�าแหน่งนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ผมได้มกี ารปรึกษาหารือ และประชุมร่วมกันในระหว่างคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ และอนุกรรมการคณะต่างๆ เพือ่ การ ก�าหนดกรอบยุทธศาสตร์และวางแผนการท�างานของสมาคมฯ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ สมาชิกและสังคม รวมทั้งวางแผนให้สมาคมฯ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติในอนาคต ซึ่งรายละเอียด ผมได้กล่าวไว้ในบทสัมภาษณ์ ที่น�าเสนอไว้ในหนังสือวารสารฉบับนี้ ผมขอเน้นย�้าถึง การบริหารงานในช่วงด�ารงต�าแหน่งนายกสมาคมฯ เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อสมาชิก และสังคม โดยยึดถือหลัก 3 ประการ คือ 1. สมาคมฯ ต้องเป็นอิสระ เป็นกลาง และเป็นองค์กรที่น�าเสนอข้อมูลทางวิชาการ ที่ถูกต้องต่อสังคม 2. ด้านรายได้ จะหาเงินเพื่อมาใช้ในการบริหารงานตามนโยบายที่วางไว้ให้เพียงพอ ในแต่ละปี ตลอดช่วงวาระท�างาน 2 ปี 3. ท�าให้สมาคมฯ มีประโยชน์ตอ่ สมาชิกและสังคมโดยรวม เป็นทีย่ อมรับในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ กระผมในฐานะเป็นนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ต้องการให้สมาชิกรุ่นใหม่เข้ามา มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสมาคมให้มีความก้าวหน้า และมีการด�าเนินกิจกรรม หลากหลายให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมเพิ่มมากขึ้น ในโอกาสอันดี ปี พ.ศ. 2557 นี้ กระผมในนามตัวแทนคณะกรรมการ บริหารสมาคม นักอุทกวิทยาไทย ขออ�านาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก จงดลบันดาลให้สมาชิกและ ผู้สนับสนุนกิจกรรมของสมาคมฯ ที่ผ่านมา และที่จะด�าเนินการต่อไป ประสบแต่ความสุขเกษม ส�าราญ และสัมฤทธิ์ผลในสิ่งอันพึงปรารถนาทุกประการ

(ดร.สุบิน ปิ่นขยัน) นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย


สาราณียกรแถลง ก่อนอืน่ ต้องกราบขอโทษสมาชิกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย เนือ่ งจากการเว้นช่วงของวารสาร สมาคมนักอุทกวิทยาไทย เพราะมีเหตุการณ์หลายอย่างทีเ่ กิดขึน้ ท�าให้ไม่สามารถจัดพิมพ์วารสารฯ ให้กับสมาชิกได้ในช่วงเวลานั้น รวมทั้ง ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ อดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยา ไทย มีสุขภาพไม่แข็งแรง และถึงแก่อนิจกรรม ในวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ ได้มีพิธีพระราชทาน เพลิงศพในวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ท�าให้กิจกรรมในหลายด้านของสมาคมฯ ต้องขาดตอนไป ทางคณะผูจ้ ดั ท�าไม่ได้นงิ่ นอนใจ ยังคงมีความตระหนักถึงหน้าทีใ่ นการจัดท�าวารสารสมาคม นักอุทกวิทยาไทย ดังนัน้ เมือ่ ดร.สุบนิ ปิน่ ขยัน ในฐานะนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทยได้มาด�าเนินงาน สานต่อจากท่าน ดร.บุญรอด ทางคณะผูจ้ ดั ท�า ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของคณะอนุกรรมการด้านสาราณียกร จึงได้ด�าเนินการรวบรวมบทความจากทางสมาชิก และผู้เชี่ยวชาญ เพื่อจัดท�าวารสารสมาคม นักอุทกวิทยาไทย ในวารสารฉบับนี้ ทางคณะอนุกรรมการสาราณียกร ได้ไปสัมภาษณ์ ดร.สุบิน ปิ่นขยัน ในฐานะนายกสมาคมฯ เพื่อน�าเสนอถึงยุทธศาสตร์ เป้าหมายและการท�างานในช่วงที่ท่าน ด�ารงต�าแหน่ง โดยได้น�าเสนอรายละเอียดในวารสารฉบับนี้ และหวังว่าในการด�าเนินงานของ คณะอนุกรรมการด้านต่างๆ ท่านสมาชิกคงจะสนใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของสมาคมฯ มากยิ่งขึ้น ในส่วนของคณะอนุกรรมการสาราณียกร จะมีการด�าเนินการ จัดหาบทความที่มีสาระและ มีประโยชน์ต่อสมาชิก มาน�าเสนอในวารสารฉบับต่อๆ ไป จากภารกิจที่มีมากมากหลายด้านของอนุกรรมการคณะต่างๆ กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะมีสมาชิกแสดงความจ�านง ในการเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือ และด�าเนินงานในกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมฯ มากขึ้น รวมทั้งการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดท�าวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย เพื่อให้เกิดความคิดที่หลากหลาย มีการพัฒนา การจัดท�าวารสารให้มีเนื้อหาสาระ และมีคุณภาพ มากยิ่งขึ้น เป็นวารสารที่มีมาตรฐานทางวิชาการในด้านอุทกวิทยา และด้านแหล่งน�้าในอนาคต กระผม ในนามตัวแทนของคณะผูจ้ ดั ท�าวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ขออภัย ในความ ล่าช้าของวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทยฉบับนี้ ในโอกาสนี้ ผมขอบพระคุณทุกท่านที่ส่ง บทความมาให้กับทางสมาคมฯ และขอบพระคุณคณะผู้จัดท�า อนุกรรมการคณะต่างๆ กรรมการ สมาคมฯ และผูม้ อี ปุ การคุณทุกท่าน รวมทัง้ บริษทั ทีป่ รึกษาต่างๆ ทีไ่ ด้สนับสนุนการจัดพิมพ์วารสาร ฉบับนี้ให้มีความสมบูรณ์ จนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ขอแสดงความนับถือ

(นายชูลิต วัชรสินธุ์) สาราณียกร


คณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ดร.สุบิน ปิ่นขยัน นายกสมาคม

ที่ปรึกษากรรมการ

ดร.สมิทธ ธรรมสโรช

ที่ปรึกษากรรมการ

นายปราโมทย์ ไม้กลัด ที่ปรึกษากรรมการ

นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ

ที่ปรึกษากรรมการ

ม.ล.ชนะพันธุ์ กฤดากร

นายรุ่งเรือง จุลชาต

ที่ปรึกษากรรมการ

ดร.สมศรี อรุณินท์ ที่ปรึกษากรรมการ

นางกรณิการ์ ทวีทรัพย์ ที่ปรึกษากรรมการ


คณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

นายวีระ วงศ์แสงนาค

ดร.วีระพล แต้สมบัติ

นายปรีชา เศขรฤทธิ์

อุปนายก 1

อุปนายก 2

กรรมการและเลขาธิการ

นางศรีสุพร ศรีสุภาพ

ดร.วจี รามณรงค์

กรรมการและเหรัญญิก

กรรมการและนายทะเบียน

น.ส.สมคิด บัวเพ็ง

นายชูลิต วัชรสินธุ์

กรรมการและสวัสดิการ

กรรมการและสาราณียกร

นายประสิทธิ์ ผลวิไล กรรมการและปฏิคม

ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์

ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์

กรรมการและประชาสัมพันธ์

ดร.สุทัศน์ วีสกุล

กรรมการและกิจการต่างประเทศ กรรมการและเตือนภัยธรรมชาติ


คณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

นางนพคุณ โสมสิน

นายนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล

นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา

นายสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน์

นายพิสิฐ พุฒิไพโรจน์

นายอดิศักดิ์ ขันดี

นายชวลิต จันทรรัตน์

รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์

ดร.สายสุนยี ์ พุทธาคุณเจริญ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

ดร.ชวลิต ชาลีรักษ์ตระกูล ดร.ทองเปลว กองจันทร์

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ


คณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ดร.บัญชา ขวัญยืน กรรมการ

ด ร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์ กรรมการ

ดร.เกษม ปิ่นทอง กรรมการ

นายชัยวัฒน์ ผลพิรุฬห์ กรรมการ

ดร.วัชระ เสือดี กรรมการ

นายสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล

ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

กรรมการ

กรรมการ

ดร.อมร พิมานมาศ กรรมการ

ดร.ธนสิทธิ์ ธรรมศิริโรจน์ กรรมการ


การประชุมและกิจกรรม ของสมาคมนักอุทกวิทยาไทยปี พ.ศ. 2556


การประชุมคณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ครั้งที่ 1 ในวันศุกร์ ที่ 31 พฤษภาคม 2556

ณ ห้องประชุมชั้น 3 สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ดร.สุบิน ปิ่นขยัน

นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย - เข้ารับต�าแหน่ง 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 - วาระด�ารงต�าแหน่ง 2 ปี พ.ศ. 2556 – 2558

นโยบายที่จะให้เห็นเป็นรูปธรรมแบ่งออกเป็น 3 ส่วน นโยบายเพื่อสมาชิก - ให้สมาชิกได้รบั ความรูแ้ ละรับทราบข้อมูลและปัญหาน�า้ ของประเทศ - ให้โอกาสสมาชิกแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์การแก้ปญั หาน�า้ ของประเทศ - เป็นแหล่งรวมนักอุทกวิทยาไทย เพื่อประโยชน์ของสมาชิกและผู้เกี่ยวข้อง ที่ต้องการใช้บริการของ นักอุทกวิทยา

นโยบายเพื่อส่วนรวม - ให้ขอ้ มูลและข้อคิดเห็นในการแก้ปญ ั หาน�า้ ให้แก่รฐั บาลเป็นครัง้ คราว ทั้งโดยสมาชิกเองหรือสมาคมฯ - ให้ความรู้แก่คนทั่วไปเกี่ยวกับงานอุทกวิทยา - เป็นแหล่งเผยแพร่ความรูท้ างด้านวิชาการโดยสมาชิกของสมาคมฯ นโยบายสร้างสมาคมฯ ให้เป็นที่ยอมรับระดับชาติและนานาชาติ - สร้างสมาคมฯ ให้เป็นสมาคมอาชีพ (นักอุทกวิทยา) ระดับ International โดยร่วมกิจกรรมของ สมาคมอื่น ๆ - จัดการประชุมระดับ International งานอุทกวิทยา เริ่มต้นจาก ASEAN ภายในปี 2558


การประชุมคณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ครั้งที่ 2 ในวันพฤหัสบดี ที่ 15 สิงหาคม 2556

ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 14 อาคารที่ท�าการฝ่ายวิชาการ กรมชลประทาน ถนนสามเสน กรุงเทพมหานคร

การบริหารของสมาคมฯ ประกอบด้วย ทีป่ รึกษา 7 ท่าน คณะกรรมการ 33 ท่าน และคณะอนุกรรมการ 9 คณะ 1. ฝ่ายบริหารและการเงิน 2. ฝ่ายวิชาการ 3. ฝ่ายกิจการต่างประเทศ 4. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมมวลชน 5. ฝ่ายงานสาราณียากร 6. ฝ่ายจัดหารายได้ 7. ฝ่ายสวัสดีการ และสมาชิกสัมพันธ์ 8. ฝ่ายเตือนภัยธรรมชาติ 9. ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ


การประชุมคณะกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ครั้งที่ 3 ในวันพฤหัสบดี ที่ 21 พฤศจิกายน 2556

ณ ห้องประชุมสุวรรณภูมิ ชั้น 4 อาคารที่ท�าการฝ่ายวิชาการ กรมชลประทาน ถนนสามเสน กรุงเทพมหานคร

³ ³ ³

รายงานผลการด�าเนินงาน และการจัดกิจกรรมของสมาคมฯ การเสนอแผนงานด�าเนินงาน ของอนุกรรมการในคณะต่างๆ การก�าหนดปฏิทินการจัดกิจกรรมต่างๆ ของสมาคม


การประชุมสัมมนาวิชาการ แนวทางการรับมือสถานการณ์นา�้ ของประเทศไทย ปี 2555-2556

ณ อาคารหอประชุมและห้องสมุด (อาคารชูชาติ ก�าภู) กรมชลประทาน ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน 2556 หัวข้อสัมมนา 1. การวิเคราะห์สถานการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา ของประเทศไทย คุณกรวี สิทธิชีวภาค 2. การวิเคราะห์สถานการณ์นา�้ ของประเทศไทย คุณธาดา สุขะปุณพันธุ์ 3. เทคโนโลยีและเครื่องมือส�าหรับการบริหาร จัดการน�้าของประเทศไทย ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง 4. แนวทางการบริหารจัดการน�า้ ของประเทศไทย ดร.บัญชา ขวัญยืน


ถนนล�าลูกกา คลอง 15 องครักษ์ จ. นครนายก ภาพบรรยากาศการลงทะเบียนและการ แข่งขันกอล์ฟในช่วงเช้าและกลางวัน


ภาพบรรยากาศงานเลีย้ งสังสรรค์และการมอบรางวัลแก่ผชู้ นะประเภทต่างๆ ในช่วงเย็น


ปฏิทินกิจกรรม ของ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย พฤหัสบดี 30 มกราคม พ.ศ. 2557

ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2557 สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เยี่ยมชมแบบจ�าลองเขื่อน Xayaburi)

ศุกร์

28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ประชุมสัมมนาวิชาการที่ปากเกร็ด และประชุมสามัญประจ�าปี ห้องประชุม ม.ล. ชูชาติ ก�าภู กรมชลประทาน อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

21-23 มีนาคม พ.ศ. 2557

ทัศนศึกษาเยี่ยมชมการก่อสร้างเขื่อน Xayaburi สปป.ลาว

ศุกร์

09 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เสวนาวิชาการเรื่อง “แนวทางที่เหมาะสมส�าหรับ การเตือนภัยของประเทศไทย” ห้องประชุม ม.ล. ชูชาติ ก�าภู กรมชลประทาน อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

พฤหัสบดี

28-30 มกราคม พ.ศ. 2558

THA 2015 International Conference on “Challenges of Water & Environmental Management in Monsoon Asia” กรุงเทพมหานคร (รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบทาง website ของสมาคมฯ)


มาร์ชสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ท�านอง : ธ�ารงค์ สมบูรณ์ศิลป์ / น.ท.จ�าเนียร ตุลาทอง ร.น. / ปรีชา เศขรฤทธิ์ ค�าร้อง : ปรีชา เศขรฤทธิ์ เรียบเรียงเสียงประสาน : น.ท.จ�าเนียร ตุลาทอง ร.น. สมาคม นักอุทก วิทยาไทย แหล่งรวมใจ รวมก�าลัง พลังเลิศ วิชาการ ผสานผสม ล้นบรรเจิด บันดาลเกิด ผลงาน การสร้างสรรค์ ยึดมั่น อุดมการณ์ งานพัฒนา อีกค้นคว้า วิเคราะห์ เหมาะสมมั่น เพื่อก่อเกิด ความผาสุข ทุกชีวัน ให้เขียวพลัน ทั่วทุกแคว้น แผ่นดินไทย *เรายึดมั่น จงรักษ์ ภักดิ์ราชัน พระจอมขวัญ องค์กษัตริย์ จักรีไท้ พระปณิธาน ให้ผองไทย เกริกเกรียงไกร พอเพียงไซร้ เหล่าหล้า ประชาชี เราจักน�า ชาติเชิด บังเกิดผล ให้ท่วมท้น ล้นสุข ทุกแห่งที่ ให้เรืองรุ่ง สู่สากล ชั่วนานปี โรจน์รุจี เฉิดฉัน นิรันดร์เอย


สารบัญ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียบุคคล งานวิศวกรรมไทย

23 อดีตนายกสมาคมอุทกวิทยาไทย

บิน ปิ่นขยัน นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย 35 ดร.สุ กับเป้าหมายที่อยากเห็น

45

คาบรอบปีการเกิดซ�้า ของน�้าหลากและน�้าแล้ง

65

โค้งความถี่เชิงภูมิภาคส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้าปิง วัง ยม และน่าน

83

การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา

• • • •

95

ดร.เอกวิทย์ จรประดิษฐ์

ดร.ปิยะวัฒน์ วุฒิชัยกิจเจริญ

โอฬาร เวชอุไร ประพัฒน์ ศิริอ่อน

ธวิช บูรณธนิต

• ดร.สมเกียรติ ประจ�าวงษ์ • ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ

คลองผันน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

ชูลิต วัชรสินธุ์

• เฉลิมชนม์ เลิศล�้า

119 การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและพยากรณ์นา�้ ท่วมในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์ธานี

• •

ดร.มงคลกร ศรีวิชัย ดร.ยุพา ชิดทอง

• รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์

น้ ทีป่ ดิ ล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN 133 การจ�าลองสภาพการไหลในพื • ผศ.ดร.อภิณห์ วรวิวัฒน์ • รศ.ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์

ผศ.อุดรศักดิ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

149 การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพือ่ เพิม่ พลังงานไฟฟ้า โครงการไฟฟ้าพลัง น�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

ชูลิต วัชรสินธุ์


สารบัญ 161

การศึกษาแผนการระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

177

การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง

189

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ใน 25 ลุม่ น�า้ สายหลัก

203

การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�า้ ท่วมของประเทศไทย

225

เรื่องเล็กๆ กับมาตรการป้องกันน�้าท่วม

235

การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

249

Desalination

255

ประสบการณ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานด้านอุทกวิทยา

262

รายชื่อคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ

263

รายชื่อคณะอนุกรรมการ 9 คณะ

272

รายนามผู้สนับสนุนการจัดท�าวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

• • • • •

ชูลิต วัชรสินธุ์

ชูลิต วัชรสินธุ์

• ดร.ยุพา ชิดทอง

รัตนา รัตนจารุรักษ์ และคณะ ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์

ผศ.ดร.เชิดวงศ์ แสงศุภวานิช

ไทยภักดิ์ ธรรมมงคล

• อนุสรณ์ ทองสร้อย

• เกียรติศักดิ์ ดิษฐ ณ เมือง

ดร.สุบิน ปิ่นขยัน



ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์

ปูชนียบุคคลงานวิศวกรรมไทย อดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย การพัฒนาด้านพลังงานของประเทศไทยในอดีตมีส่วนส�าคัญ ที่ท�าให้ประเทศไทยเจริญก้าวหน้ามาจนถึงปัจจุบัน ส�าหรับบุคคล ยุคแรกฯ ที่เป็นผู้อุทิศตนเพื่อการพัฒนางานด้านพลังงาน คงไม่มี ใครปฏิเสธ ท่านผู้นี้ได้เพราะท่านเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้าน พลังงานโดยตรง ประกอบกับสติปัญญาอันฉลาดหลักแหลมเป็นเลิศ ของท่าน จนท�าให้กิจการด้านพลังงานของประเทศพัฒนาไม่แพ้ ประเทศใดๆ บุคคลท่านนี้ คือ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ศาสตราจารย์ ดร. บุญรอด บิณฑสันต์ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๔๕๘ ส�าเร็จการศึกษาชั้นมัธยม ๘ จากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่ออายุเพียง ๑๔ ปี ต่อจากนั้นจึงได้เข้าศึกษาต่อในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ได้รับปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ ๑ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ เมื่อได้รับปริญญาแล้ว ศ.ดร. บุญรอดได้เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจ�าในคณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๗๖ นับว่าเป็นอาจารย์ ที่มีอายุน้อยมาก กล่าวคือมีอายุเพียง ๑๘ ปีเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้สอบแข่งขันและ รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัย M.I.T. มลรัฐ Massachusetts ณ สถานศึกษาแห่งนี้ ปรากฏว่า ศ.ดร. บุญรอด ได้เขียนวิทยานิพนธ์ดีเด่นจนได้รับค�าชมเชยโดย ทั่วไป และได้รับปริญญา Master of Science in Electrical Engineering เกียรตินิยม สาขาไฟฟ้า ก�าลัง ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ หลังจากนั้นก็ได้เข้าศึกษาเพื่อท�าปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัย Wisconsin จนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้เกิดขึ้น ศ.ดร. บุญรอดจึงได้สมัครเข้าร่วมปฏิบัติงานร่วมกับ หน่วยงานเสรีไทย และได้เดินทางมาปฏิบัติงานในประเทศจีน อินเดีย และศรีลังกา ในการปฏิบัติงานครั้งนี้ ศ.ดร. บุญรอดได้รับพระราชทานยศเป็นนายร้อยเอก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙ และได้กลับเข้าไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัย Harvard ได้รบั ปริญญา D.Sc. สาขาไฟฟ้า พลังน�้า และได้รับเกียรติเชิญเข้าเป็นสมาชิกสมาคม Tao-Beta Phi ของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ด้วย ศ.ดร. บุญรอด ได้เดินทางกลับประเทศไทย และเข้ารับราชการในสังกัดเดิม คือ แผนกไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในต�าแหน่งหัวหน้าแผนก ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๕ จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๗ และ รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษ 23


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

เมื่อรัฐบาลได้ตั้งการพลังงานแห่งชาติขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ศ.ดร. บุญรอด ได้รับแต่งตั้ง ให้รักษาการในต�าแหน่งเลขาธิการอีกต�าแหน่งหนึ่ง สืบมาจนกระทั่งถึงเดือนมีนาคม ๒๔๙๙ จึงได้ รับแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งเลขาธิการพลังงานแห่งชาติและได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ท�าการแทนผู้ว่าการ ไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ อีกด้วย จนกระทั่งวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๑๑ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ ศ.ดร. บุญรอด เลื่อนขึ้นไปด�ารงต�าแหน่งปลัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และได้เป็นสมาชิกวุฒิสภา ในปีเดียวกันนั้น ในวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๑๒ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่ง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ต่อมา ศ.ดร. บุญรอด ได้รับแต่งตั้งเป็นรอง ผู้อ�านวยการฝ่ายพัฒนา คณะปฏิวัติ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๑๔ และเป็นรัฐมนตรีว่าการทบวง มหาวิทยาลัยของรัฐ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๑๖ ก่อนเกษียณ ศ.ดร. บุญรอด ด�ารงต�าแหน่งเป็น ผู้ว่าการการประปานครหลวง

การพัฒนาการศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เครื่องก�าเนิดแรงดันอิมพัลส์ ๗๐๐ kV

อาคารปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูงหลังใหม่ของแผนก วิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวะฯ จุฬาฯ ๒๕๑๐ พร้อมสนามทดสอบกลางแจ้งข้างอาคาร

ศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ เป็นหัวหน้าแผนกวิศวกรรมไฟฟ้า (ระหว่างปี ๒๔๙๒ – ๒๕๐๖) ท่านมีวสิ ยั ทัศน์มองการณ์ไกล เห็นความจ�าเป็นของการมีหอ้ งปฏิบตั กิ ารไฟฟ้าแรงสูง เพือ่ รองรับการพัฒนาการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าด้วยระบบแรงดันสูงในอนาคต ได้สร้างห้องปฏิบัติการ ไฟฟ้าแรงสูงแห่งแรกของประเทศไทย ที่แผนกวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ดร.บุญรอด คาดการณ์ไว้ ระบบแรงดันสูงขนาด ๒๓๐ kV เป็นระดับแรงดันที่เหมาะสม การน�าเอาระบบแรงดันสูงระดับนี้มาใช้ในการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าเป็นครั้งแรกในประเทศ จ�าเป็น ต้องมีการเตรียมสร้างบุคลากร วิศวกร และช่างเทคนิค ให้การศึกษา เพื่อเรียนรู้เทคโนโลยีน�า ไปด�าเนินการจัดการและพัฒนาระบบส่งจ่าย ตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา 24


ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียบุคคลงานวิศวกรรมไทย อดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

การศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาของการพัฒนาใช้ระบบแรงดันสูง จ�าเป็นต้องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าแรง สูงท�าการทดสอบ นั่นคือ ต้องมีห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูงที่มีศักยภาพเพียงพอกับระดับแรงดัน ทางแผนกฯจึงวางแผนด�าเนินการปรับปรุงห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูงที่มีอยู่ ให้มีศักยภาพและ สมรรถนะเพียงพอ ก้าวทันกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น การปรับปรุงนี้หมายถึง การจัดให้มีอุปกรณ์ทดสอบส�าหรับห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง ที่ทันสมัย มีพิกัดที่สูงพอกับระดับแรงดันทดสอบตามที่มาตรฐานก�าหนด ขึ้นอยู่กับระบบแรงดัน ใช้งาน แรงดันใช้งานในทีน่ กี้ ค็ อื ๒๓๐ kV ต้องใช้งบประมาณมาก เกินกว่าทีม่ หาวิทยาลัยจะจัดซือ้ ด้วย งบประมาณแผ่นดิน เมื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ก็คือ การสร้างโครงการขอความช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ ประเทศที่แผนกฯขอความช่วยเหลือและได้รับความช่วยเหลือตามที่ขอก็คือ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ กระบวนการให้ความช่วยเหลือของรัฐบาลประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เริ่มต้นขึ้นในปี ๒๕๐๗ ซึง่ เป็นปีทศี่ าสตราจารย์ ดร. บุญรอด บิณฑสันต์ ได้ลาออกจากหัวหน้าแผนกฯ ศาสตราจารย์ สุวรรณ์ แสงเพ็ชร์ เป็นหัวหน้าแผนก ฯ สืบต่อ เริ่มด้วยการสร้าง อาคารปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง หลังใหม่ ดังภาพ เพือ่ ใช้เป็นทีต่ ดิ ตัง้ อุปกรณ์ทไี่ ด้รบั ความช่วยเหลือของรัฐจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์

การพัฒนาห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูงได้ด�าเนินการตามแผน สืบสานเจตนารมณ์ของ ศาสตราจารย์ดร. บุญรอด บิณฑสันต์ ต่อไป อุปกรณ์ที่ได้รับความช่วยเหลือครั้งแรกจากรัฐบาล สวิสประกอบด้วย ชุดหม้อแปลงทดสอบ ๕๐๐ kV ๒๕๐ kVA และชุดเครื่องก�าเนิดแรงดันอิมพัลส์ ๑๔๐๐ kV ๑๖ kJ ได้ติดตั้งเสร็จเรียบร้อยดังภาพ ในอาคารอาคารปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูงหลังใหม่ และมีพิธีเปิดใช้งานเป็นทางการในวันที่๑ สิงหาคม ๒๕๑๐ (วันชาติสวิส)

25


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ภาพงานฉลองครบรอบ ๓๐ ปี ของความร่วมมือระหว่างรัฐบาลของประเทศสวิตเซอร์แลนด์กับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๓๙ ที่ห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เริ่มต้นงานพลังงานแห่งชาติ “ในระหว่างที่ ดร.บุญรอด ก�าลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัย Harward นั้น ได้มีข้าราชการ ชั้นผู้ใหญ่ของรัฐบาลไทย คือ มล.ชูชาติ ก�าภู กับ คุณหลวงหรือคุณพระ ที่ดูแลเรื่องสหกรณ์ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น�าหนังสือไปหาดร.บุญรอด ทีม่ หาวิทยาลัย เข้าไปในห้องทีด่ ร.บุญรอด ก�าลังท�าการค้นคว้าอยู่ บอกว่าได้รับค�าสั่งจากนายกรัฐมนตรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม ว่าเมื่อ ดร.บุญรอด กลับไปจะมอบหมายให้ด�าเนินการในเรื่อง พลังงานของประเทศไทย ซึ่งดร.บุญรอด ก็รับปาก เมื่อได้เรียนมาทางด้านนี้ก็ยินดีที่จะช่วยเหลือ แต่ ดร.บุญรอด ก็ได้เรียนให้ท่านทั้งสอง ทราบว่า ผมมีพันธะกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอยู่” “ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ดร.บุญรอด กลับจากประเทศสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบลู สงคราม ก็จะให้ดร.บุญรอด เริม่ ด�าเนินการในเรือ่ งพลังงานของประเทศไทย แต่ไม่มงี บประมาณ อะไรเลย ดร.บุญรอด จึงขออนุญาตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อจะใช้ห้องท�างานเป็นที่ตั้งของ คณะกรรมการพลังงานแห่งชาติ ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญทางด้านต่างๆ ประมาณ ๗๙ คน เพื่อร่างระเบียบ แบบแผนที่จะได้มาซึ่ง พ.ร.บ.” “ปี พ.ศ. ๒๔๙๖ รัฐบาลได้ตั้งการพลังงานแห่งชาติขึ้น ดร.บุญรอด ก็ได้รับแต่งตั้งให้รักษา การในต�าแหน่งเลขาธิการอีกต�าแหน่งหนึ่งสืบมาจนกระทั่งเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๔๙๙ จึงได้แต่งตั้ง ให้ด�ารงต�าแหน่งเลขาธิการการพลังงานแห่งชาติ และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ท�าการแทนผู้ว่าการไฟฟ้า ตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ก็เหมือนกับผู้ว่าการ ในขณะนั้นโครงการแม่น�้าโขงก็เกิดขึ้นแล้ว โดยสหประชาชาติได้มอบหมายให้ ดร.บุญรอด เขียนรายงานแม่น�้าโขงตอนล่างให้แก่ประเทศสมาชิก คือ พม่า ไทย ลาว ลงมาจนถึงมหาสมุทร สหประชาชาติเห็นว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งใหญ่กอ็ ยากให้ไปช่วยงานในฐานะผูแ้ ทนรัฐบาลไทย ดร.บุญรอด ยังต้องไปช่วยงานที่เอสแคป เขียนรายงานเพื่อขอให้รัฐบาล ๔ ประเทศ คือ ไทย ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม (ใต้) ให้ร่วมเป็นคณะท�าการ 26


ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียบุคคลงานวิศวกรรมไทย อดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

งานพัฒนาลุ่มน�้าโขง และการไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง ประเทศต่างๆ ในเอเชีย ซึ่งรับผลกระทบ จากภัยพิบัติสงคราม ต่างทยอยได้รับเอกราช ได้พยายามฟื้นฟูประเทศของตนด้วยการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยโชคดีได้รับบาดแผลสงครามน้อยกว่าเพื่อนบ้าน จึงเริ่มพัฒนา ประเทศก่อนประเทศเพือ่ นบ้าน ช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ที ่ ๒ ประเทศไทยขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า เป็นอันมาก เป็นอุปสรรคแก่การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ องค์การสหประชาชาติ (UN) โดยองค์การเศรษฐกิจเอเชียและตะวันออกไกล (Economic Commission for Asia and Far East) หรือ ECAFE (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ESCAP) มองเห็นว่า หนทางหนึ่งที่ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะได้พลังงานปริมาณมากในราคาถูก และพัฒนา ระบบชลประทาน การเกษตร ยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชากร ก็คือ การใช้ประโยชน์ จากแม่น�้าโขง ซึ่งจะได้ทั้งน�้าและไฟฟ้า จึงได้ก่อตั้งคณะท�างานขึ้นชุดหนึ่งชื่อว่า คณะกรรมาธิการ ประสานงานการส�ารวจลุม่ แม่นา�้ โขงตอนล่าง (Committee for Co-ordination of Investigation of the Lower Mekong Basin) หรือเรียกชื่อย่อว่า Mekong committee ขึ้นเมื่อ ค.ศ. ๑๙๕๗ (พ.ศ. ๒๕๐๐) คณะกรรมาธิการแม่น�้าโขง หรือ Mekong Committee ประกอบด้วยภาคีสมาชิก ๔ ประเทศ คือ ประเทศไทย ราชอาณาจักรลาว (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในปัจจุบนั ) ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้ ในขณะนั้น) คณะกรรมาธิการแม่น�้า โขงนี้อยู่ในอุปถัมภ์ (Aegis) ของ ECAFE มีเลขาธิการชื่อ อู่ยุ่น ซึ่งมีสัญชาติพม่า หัวหน้าคณะ ผู้แทนไทย คือ ศ.ดร. บุญรอด บัณฑสันต์ ในเวลานั้น ท่านรับราชการเป็นหัวหน้าแผนกไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และท�าหน้าที่รักษาการเลขาธิการการพลังงาน แห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยราชการที่รัฐบาลไทยชุดจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพิ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๙๖ มีวัตถุประสงค์ ในการก�าหนดนโยบายพลังงานและจัดหาแหล่งพลังงานของประเทศด้วย ประเทศไทย โดย ศ.ดร. บุญรอด บิณฑสันต์ เสนอให้จดั ตัง้ การไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ เลือกโครงการก่อสร้างเขือ่ นพอง หนีบทีล่ า� น�า้ พอง จังหวัดขอนแก่น เป็นอันดับแรก ราชอาณาจักรลาว เลือกก่อสร้างโครงการอเนกประสงค์ เขื่อนอุบลรัตน์ เขือ่ นน�า้ งึมทีน่ ครเวียงจันทร์ ตาม ด้วยราชอาณาจักรกัมพูชา และเวียดนาม ต่างก็เลือกโครงการเขือ่ นอเนกประสงค์ของตน เป็นโครงการ น�าร่องในเวลาไล่เลีย่ กัน 27


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ในบรรดาภาคีประเทศทั้ง ๔ นั้น มีประเทศไทยและลาวเท่านั้นที่ประสบความส�าเร็จ โดย เฉพาะประเทศไทย นอกเหนือจากได้โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) เขื่อน อ่างเก็บน�้า สายส่ง โรงไฟฟ้า การชลประทาน และพลังงานไฟฟ้าที่มีราคาถูกแล้ว ยังยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ และ เศรษฐกิจของประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกด้วย และที่มีความหมายอย่างมากคือ ไทย ได้สงั่ สมประสบการณ์ความช�านาญ และทรัพยากรบุคคลในการบริหารโครงการขนาดใหญ่ จนกล่าว ได้ว่าไทยสามารถยืนอยู่บนล�าแข้งตนเองได้อย่างเต็มภาคภูมิ

บุกเบิกธุรกิจไฟฟ้าระหว่างไทย-ลาว

เขื่อนน�้างึม

เมื่อประเทศไทยได้เลือกโครงการอเนกประสงค์ เขื่อนอุบลรัตน์ที่ล�าน�้าพอง อันเป็นสาขา ของแม่น�้าโขงในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ และก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ในขณะที่ประเทศลาวเริ่ม ก่อสร้างเขื่อนอเนกประสงค์เขื่อนน�้างึมในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ทว่าลาวขาดแคลนพลังงานอย่างมาก ไม่ ว่าจะเป็นพลังงานไฟฟ้าหรือน�า้ มันเชือ้ เพลิงทีจ่ ะใช้ในการก่อสร้างทีห่ วั งานเขือ่ นน�า้ งึม ซึง่ อยูห่ า่ งจาก นครเวียงจันทร์ ๘๐ กว่ากิโลเมตร ในที่ประชุม Mekong Committee ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ หัวหน้าคณะผู้แทนไทย ในขณะนั้นจึงเสนอรัฐบาลไทยให้ความช่วยเหลือด้านพลังงานไฟฟ้าและปูนซีเมนต์แก่รัฐบาลลาว ในการก่อสร้างเขื่อนน�้างึมแบบปลอดดอกเบี้ย และให้จ่ายคืนประเทศไทยในรูปพลังงานไฟฟ้าภาย หลังทีโ่ รงไฟฟ้าเขือ่ นน�า้ งึมด�าเนินการได้แล้ว กล่าวคือให้โรงไฟฟ้าเขือ่ นอุบลรัตน์ (สมัยนัน้ ยังเป็นการ ไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ) จ่ายพลังงานไฟฟ้าผ่านสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ๑๑๕ kV ที่ได้ก่อสร้างเสร็จ ล่วงหน้าไปยังหัวงานก่อสร้าง นอกจากนี ้ รัฐบาลไทยยังให้ความช่วยเหลือสนับสนุนปูนซีเมนต์มลู ค่า หลายสิบล้านบาท เพือ่ ให้ใช้ในการก่อสร้างเขือ่ น แล้วให้ลาวช�าระคืนค่าปูนซีเมนต์ในรูปค่าพลังงาน ไฟฟ้า ในจ�านวนที่เท่ากันโดยไม่คิดดอกเบี้ยแต่ประการใด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในเวลานั้น แม้จะมีโรงไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนน�้าพุง และโรงไฟฟ้าก๊าสเทอร์ไบน์ นครราชสีมา และอุดรธานีนี้แล้ว ก็ใช่ว่าจะมีพลังงานไฟฟ้าเหลือเฟือ เพราะการใช้ไฟฟ้าก�าลังเติบโตพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ประเทศไทยก็แสดงถึงมิตรไมตรีอย่างจริงใจ 28


ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียบุคคลงานวิศวกรรมไทย อดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

เจ้ามหาชีวิต เจ้าศรีสว่างวัฒนา ทรงกดปุ่มรับกระแสไฟฟ้าจากประเทศไทย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงกดปุ่มเปิดการจ่าย กระแสไฟฟ้าจากประเทศไทยไปยังประเทศลาว

ต่อประเทศเพือ่ นบ้าน ด้วยการให้ความช่วยเหลือ แบบปลอดดอกเบี้ยนี้ ย่อมแสดงให้เห็นถึงการ มีวิสัยทัศน์ที่ยาวไกลของผู้แทนไทยในคณะ กรรมาธิการแม่น�้าโขง ในช่วงปลายของการก่อสร้างก่อนทีเ่ ขือ่ น อุบลรัตน์จะแล้วเสร็จ มีการประชุมติดตามผล ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ เลขาธิการการพลังงานแห่งชาติ ในนามเจ้าภาพฝ่ายไทย กล่าวรายงานความเป็นมาของโครงการ งานการก่อสร้างประจ�าเดือนทีเ่ รียกว่า Progress Committee ที่ประชุมประกอบด้วยสมาชิก จากผูช้ า� นาญการ ECAFE ซึง่ มีผแู้ ทนจากสหรัฐอเมริกา จีน ใต้หวัน อินเดีย และผู้แทนจากประเทศ ลาว เวียดนาม ได้จัดประชุมที่หัวงานเขื่อนอุบลรัตน์ คุณอุดม ปัญญาพล ผู้ว่าการการไฟฟ้าตะวัน ออกเฉียงเหนือ ได้กล่าวเชื้อเชิญบรรดาสมาชิกที่มีส่วนร่วมช่วยเหลือโครงการอเนกประสงค์เขื่อน อุบลรัตน์บรรลุความส�าเร็จ ให้มาร่วมงานรัฐพิธีเปิดเขื่อนในวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ และ ยังได้กล่าวว่าในอนาคต กฟอน. กับการไฟฟ้าประเทศลาว (EDL) จะเป็นหุ้นส่วนธุรกิจไฟฟ้า จึงขอ เชิญผู้บริหารของการไฟฟ้าลาวมาร่วมงานในโอกาสครบรอบรัฐพิธีเปิดเขื่อนอุบลรัตน์ และจัดให้มี การแข่งขันกีฬาเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างผู้ปฏิบัติงาน นับแต่นั้นเป็นต้นมา กฟผ. ก็ได้ถือเป็นประเพณีปฏิบัติเชื้อเชิญผู้บริหาร พนักงาน และ นักกีฬาจากการไฟฟ้าลาว มาแข่งขันกีฬาในวันครบรอบรัฐพิธีเปิดเขื่อนอุบลรัตน์ต่อเนื่องกันมา ใน ยุคต้นนั้น กฟผ. คงรับเป็นเจ้าภาพเพียงฝ่ายเดียว

สายส่ง สายใยแห่งมิตรภาพสองฝั่งโขง เมือ่ โครงการก่อสร้างเขือ่ นอุบลรัตน์แล้วเสร็จ ประจวบเหมาะกับการเริม่ ต้นก่อสร้างโครงการ เขือ่ นน�า้ งึมของประเทศลาวพอดี ประเทศลาวได้ขอร้องผ่านทางกรรมาธิการแม่นา�้ โขง ขอให้ไทยช่วย เหลือสนับสนุนจ่ายไฟฟ้าให้แก่หัวงานก่อสร้างเขื่อนน�้างึม ฝ่ายไทยตอบยินดี ฉะนั้น การไฟฟ้าลาว จึงได้แผนงานก่อสร้างสายส่ง ๑๑๕ kV จากหัวงานเขื่อนน�้างึม ผ่านนครเวียงจันทร์มาเชื่อมต่อกับ 29


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ระบบสายส่งแรงสูงที่จังหวัดหนองคายเป็นการล่วงหน้า เพื่อรับพลังงานไฟฟ้าที่ส่งมาจากโรง ไฟฟ้าเขื่อนอุบลรัตน์ พร้อมกันนี้ได้ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยอีก ๓ แห่ง คือ ท่านาแล้ง โพนต้องที่ นครเวียงจันทร์ และที่หนองคายในลักษณะให้เปล่า งานก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยและสายส่งแรงสูง ๑๑๕ kV แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ การพลังงานแห่งชาติ ในฐานะเจ้าภาพฝ่ายไทย จึงจัดให้มีรัฐพิธีเปิดการจ่ายกระแสไฟฟ้า ดังกล่าวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๑

การพัฒนาการประปานครหลวง หลังจากทีอ่ อก พระราชบัญญัตกิ ารประปา นครหลวง (กปน.) เมือ่ ปี ๒๕๑๐ เพือ่ รวมเอากิจการ ประปาใน ๓ จังหวัด คือ กรุงเทพฯรวมทัง้ ธนบุรี สมุทรปราการและนนทบุรเี ป็นหน่วยงานเดียวกัน มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ มีชอื่ เรียกว่า การประปานครหลวง ขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย แม้จะให้เดอเกรมองต์ ท�าการปรับปรุงระบบประปาให้ดีขึ้นมากแล้วก็ตาม

แต่กเ็ ป็นแค่เพียงการชดเชยกับทีไ่ ม่ได้มกี ารลงทุนในกิจการประปามานาน จึงไม่ได้ทา� ให้เรามีระบบ สาธารณูปโภคที่ดีเลิศ สมกับเป็นเมืองศิวิไลซ์เฉกเช่นกับที่เมืองหลวงควรจะเป็นแต่อย่างไร โชคดีที่ รัฐบาลจอมพลสฤษดิ ์ ให้การสนับสนุน และทีส่ า� คัญ กปน.ได้ อาจารย์จา� รัส ฉายะพงษ์ ผูว้ า่ การ กปน. คนที่ ๓ และ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ผู้ว่าการคนที่ ๔ ซึ่งทั้ง ๒ ท่านเป็นวิศวกรจบนอกและเป็นเสรี ไทย ที่ธนาคารโลกให้ความเชื่อถือมาก จึงให้การประปานครหลวงกู้เงินมาท�าโครงการแผนหลัก ซึ่ง เป็นแผนแม่บทมีระยะเวลา ๓๐ ปี โดยในขัน้ แรก รัฐบาลได้เริม่ ออก พระราชบัญญัตเิ วนคืนขอซือ้ ทีด่ นิ กับชาวบ้านทีท่ งุ่ บางเขน ประมาณ ๖๐๐ ไร่ ในปี ๒๕๑๕ เพือ่ ก่อสร้างโรงกรองน�า้ บางเขน โดยรัฐบาล ออกเงินซื้อให้ ในปี ๒๕๑๗ ก็เริ่มใช้เงินกู้ก่อสร้างตามแผนหลัก ครั้งที่ ๑ ก่อสร้างและขยายก�าลัง การผลิตโรงกรองน�้าสามเสนและธนบุรี อีกวันละ ๘ หมื่นลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ในปี ๒๕๑๘ เริ่ม ก่อสร้างโรงกรองน�้าบางเขน ขนาดก�าลังผลิตวันละ ๘ แสนลบ.ม. ปี ๒๕๒๐ เริ่มก่อสร้างอุโมงค์ ส่งน�้า ซึ่งถือเป็นของใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนในประเทศไทย โรงสูบน�้าและถังเก็บน�้า วางท่อประธาน 30


ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียบุคคลงานวิศวกรรมไทย อดีตนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

และท่อจ่ายน�้า รวมไปถึงการขุดบ่อบาดาลเพื่อเสริมก�าลังน�้าในรอบนอก แล้วเสร็จในปี ๒๕๒๒ ซึ่ง ส่งผลให้สภาพการใช้น�้าในกรุงเทพฯดีขึ้นเป็นล�าดับตั้งแต่นั้นมา พร้อมกับได้ด�าเนินการปรับปรุง กิจการอย่างต่อเนื่อง จนการประปานครหลวง มีความสามารถในการผลิตน�้าประปา สนองความ ต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได้อย่างเพียงพอ ด�าเนินกิจการอย่างมัน่ คง และเจริญก้าวหน้ามาเป็นล�าดับ

มูลนิธินิสิตเก่าจุฬาฯ กับ Campus ที่ 2 ของจุฬา เมือ่ อาจารย์บญ ุ รอดเกษียณอายุราชการแล้ว ได้ตงั้ มูลนิธนิ สิ ติ เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขึน้ โดยยกทรัพย์สมบัต ิ เงินทอง ทีด่ นิ เกือบทัง้ หมดของท่านให้มลู นิธนิ ี้ โดยตัง้ ท่านเองเป็นประธาน มูลนิธ ิ ได้จดั ตัง้ โครงการอาหารกลางวัน ให้แก่นสิ ติ ปัจจุบนั ทีข่ ดั สนให้ได้รบั ประทานอาหารกลางวัน ฟรีตลอดการเรียน ซึ่งนับถึงปัจจุบันโครงการนี้ได้ด�าเนินมากว่า 20 ปี แล้ว อาจารย์บญ ุ รอดมีความคิดทีจ่ ะตัง้ Campus ที ่ 2 ของจุฬาฯ การจัดหาทีด่ นิ ในรัศมีประมาณ 100 กิโลเมตร จากสถานศึกษาเดิม และมีจ�านวนไม่น้อยกว่า 3,000 ไร่ เพื่อมอบให้จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ใช้สา� หรับขยายกิจกรรมตามความจ�าเป็น โดยเริม่ แผนงานตัง้ แต่ พ.ศ. 2528 เป็นต้นมา ด้วยปณิธานอันแน่วแน่และต่อเนื่องของ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ประธานกรรมการของ มูลนิธิฯ และนายกสภามาหาวิทยาลัย พื้นที่ระหว่าง กม. 6 ถึง กม. 10 บนเส้นทางหลวงแผ่นดิน สายแก่งคอย-บ้านนา ในท้องที่อ�าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เป็นพื้นที่สนองความต้องการ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นคณะกรรมการมูลนิธิฯ จึงได้มีมติสนับสนุน การตกลงใจของท่านอาจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2532 ให้จัดซื้อที่ดิน ดังกล่าวมอบให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใช้ประโยชน์ต่อไปได้

ชีวิตหลังเกษียณราชการ หลังจากเกษียณราชการ ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ด�ารงต�าแหน่งรองประธานองค์การ เขือ่ นใหญ่ระหว่างประเทศ ยังท�างานในต�าแหน่ง หน้าทีต่ า่ งๆ มากมาย เป็นประธาน เป็นทีป่ รึกษา ฯลฯ ของมูลนิธิและสมาคมต่างๆ มาอย่างต่อ เนื่อง ศ.ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ด�ารงต�าแหน่ง นายกชมรมนักอุทกวิทยาไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-พ.ศ. 2555 และต่อมาเปลี่ยนเป็นสมาคม นักอุทกวิทยาไทย 31


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ได้ถงึ แก่อนิจกรรมเมือ่ วันที ่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ รวมสิริอายุได้ ๙๗ ปี ท่านเป็นยอดบุคคลที่เป็นแบบอย่างที่ดี จนสมควรได้รับการยกย่องให้เป็น ปูชนียบุคคลด้านพลังงานของชาติ

เอกสารอ้างอิง ๑. ๒.

๑๐ ทศวรรษ ศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ มูลนิธินิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๗๖๐๒-๐๔-๒ อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ ปูชนียาจารย์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ณ. เมรุหลวงหน้าพลับพลา อิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

32


33


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

34


ดร.สุบิน ปิ่นขยัน

นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย กับเป้าหมายที่อยากเห็น สัมภาษณ์โดย ชูลิต วัชรสินธุ์

ดร.สุบิน ปิ่นขยัน ได้เข้ารับต�าแหน่งนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งมีการด�าเนินงานของสมาคมฯ มาในระยะหนึ่งแล้ว โดยมีการประชุมจัดวางกรอบ แนวทางการท�างานของกรรมการบริหารสมาคม การจัดสัมมนาทางวิชาการที่เพิ่งผ่านมา เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556 เนื่องในโอกาสที่ ทางคณะอนุกรรมการสาราณียกร ของสมาคม นักอุทกวิทยาไทย ได้จดั ท�าวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ประจ�าปี พ.ศ. 2556 จึงถือโอกาสนีไ้ ป สัมภาษณ์ ดร.สุบิน ปิ่นขยัน ถึงที่มา ที่ไป ของการเข้ามารับต�าแหน่งนายกสมาคมฯ และแนวทาง การท�างานช่วงวาระ 2 ปี โดย ดร.สุบนิ ได้พดู ถึงเป้าหมายและยุทธศาสตร์การบริหารสมาคมฯ และ สิ่งที่อยากเห็นในช่วงเป็นนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย รายละเอียดในบทสัมภาษณ์ ทางคณะ ผู้สัมภาษณ์ได้น�ามาเรียบเรียงให้สมาชิกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ได้รับทราบผ่านทางวารสารของ สมาคมฯ ให้สมาชิกได้เข้าใจถึงบทบาทและทิศทางของสมาคมฯ ในช่วง 2 ปี ข้างหน้า เพื่อเข้าร่วม กันมาท�างานและขับเคลื่อนสมาคมฯ ให้เป็นที่ยอมรับของระดับชาติและนานาชาติในอนาคต

เป็นนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย อยากท�าประโยชน์ ให้สมาชิกและสังคม ก่อนมาเป็นนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ผมได้เข้ามาร่วมกับ ดร.บุญรอด บิณฑสันต์ คุณเล็ก จินดาสงวน อดีตอธิบดีกรมชลประทาน และคุณบุญชอบ กาญจนลักษณ์ มาตั้งแต่เริ่ม 35


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตั้งชมรมนักอุทกวิทยาไทย แต่ละท่านได้เสียสละเวลาและอยากน�าประสบการณ์มาท�างานให้เกิด ประโยชน์กับสังคมและสมาชิก โดยไม่หวังผลตอบแทน ก่อนอื่นผมขอกล่าวถึงความเป็นมาและ การได้มาร่วมกับชมรมนักอุทกวิทยาไทย ผมเรียนจบปริญญาโท ด้านวิศวกรรมแหล่งน�้าจาก SEATO GRADUATE SCHOOL OF ENGINEERING หรือ ปัจจุบัน คือ สถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเชีย (AIT) ในขณะที่เรียนปริญญาโท ได้มีโอกาสเข้าฟังการบรรยายของ ดร.บุญรอด เกี่ยวกับการ พัฒนาโครงการในแม่น�้าโขง คือ โครงการเขื่อนผามอง ในขณะนั้น ท�าให้ทราบถึงแนวคิดและการ ท�างานของ ดร.บุญรอด ผมมีความชื่นชมและประทับใจ ดร.บุญรอด และยินดีเมื่อมีโอกาสมาร่วม ท�างานชมรมนักอุทกวิทยาไทย ในต�าแหน่งอุปนายก จนกระทัง่ ได้ปรับเปลีย่ นจากชมรมเป็นสมาคม นักอุทกวิทยาไทย ผมมีบทบาทเพิม่ มากขึน้ ในช่วงระยะเวลาที ่ ดร.บุญรอด มีสขุ ภาพไม่แข็งแรง และ ได้รักษาการต�าแหน่งนายกสมาคมฯ หลังจาก ดร.บุญรอด ถึงอนิจกรรม เป็นเวลาเกือบหนึ่งปี จน กระทั่งเสร็จงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.บุญรอด ทางคณะกรรมการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ได้ มีการปรึกษาหารือ เรียนเชิญผมมาเป็นนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ซึ่งผมได้มีเงื่อนไขที่จะด�ารง ต�าแหน่งนายกสมาคมฯ เพียงวาระเดียว คือ 2 ปี เพื่อขออาสาท�างานสมาคมฯ ให้เป็นประโยชน์ต่อ สมาชิกและสังคมก่อนจะมอบหมายงานของสมาคมฯ ให้คนรุ่นใหม่ต่อไป

มองหาทีมงานคุณภาพเพื่อท�างานให้สมาคมฯ งานอันดับแรกในการด�ารงต�าแหน่งนายกสมาคมฯ ได้เริ่มต้นในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 คือ การพิจารณาเรียนเชิญผูม้ คี วามรู ้ ความสามารถเข้ามาร่วมกันท�างานสมาคมฯ โดยผมได้มี เป้าหมายที่จะเชิญคนรุ่นเก่าและรุ่นใหม่มาท�างานร่วมกัน ภายใต้แนวคิดในการให้คนรุ่นเก่า ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ไปสู่คนรุ่นใหม่ ผมได้เรียนเชิญทุกท่านมาเป็นกรรมการด้วยตนเอง โดยพิจารณาเชิญท่านทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถและเชีย่ วชาญในงานอุทกวิทยา เป็นบุคคลทีร่ จู้ กั ของ สังคม มีจิตอาสาที่จะท�างานให้ส่วนรวม ผมมองภาพอนาคตในการ วางแผนจัดทีมงานให้ท�างาน ในช่วง 2 ปี อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถสานต่องานของสมาคมฯ ต่อไป หลังผมหมดวาระ ใน 2 ปี ข้างหน้า การพิจารณาเชิญจัดบุคคลทีเ่ ข้ามาเป็นทีมงาน ในยุคทีผ่ มเป็นนายกสมาคมฯ ในเบือ้ งต้นผม ได้พิจารณาถึงกฎข้อบังคับของสมาคมฯ ในข้อที่ระบุให้มีคณะกรรมการสมาคมฯ จ�านวน 34 ท่าน ผมได้แต่งตั้งคณะกรรมการในครั้งแรก จ�านวน 24 ท่าน และได้นัดประชุมปรึกษาหารือร่วมกันใน การที่จะเชิญผู้มีความรู้ ความสามารถเพิ่มเติมในการเข้ามาร่วมงานเป็นคณะกรรมการจนครบ 34 ท่าน และได้แต่งตัง้ ผูส้ งู อายุทมี่ ปี ระสบการณ์ในการท�างาน ทัง้ ภาคราชการและเอกชน ในต�าแหน่ง ที่ปรึกษา ในการเข้ามาท�างานเป็นนายกสมาคมฯ ผมจัดหาทีมงานจากสมาชิกสมาคมฯ และบุคคล ทีม่ คี วามรู ้ ความสามารถเป็นทีย่ อมรับเข้ามาบริหารงานของสมาคมฯ โดยมีเป้าหมายช่วงวาระการ ด�ารงต�าแหน่งใน 2 ปี ของการท�างาน คือ 36


ดร.สุบิน ปิ่นขยัน นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทยกับเป้าหมายที่อยากเห็น

1. สมาคมฯ ต้องตอบสนองความต้องการของสมาชิก 2. สมาคมฯ มีการด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม 3. สมาคมฯ ได้รบั การยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ

ท�าอย่างไรจึงจะสนองความต้องการของสมาชิก จากการท�างานในสมาคมนักอุทกวิทยาไทยอย่างต่อเนื่อง ท�าให้เข้าใจถึงบทบาท หน้าที่ ของกรรมการบริหารของสมาคมฯ จึงวางแผนในการท�างานของกรรมการบริหารสมาคมฯ ให้เป็น ระบบมากยิง่ ขึน้ โดยให้มคี ณะอนุกรรมการในด้านต่างๆ มีการก�าหนดกิจกรรมและงบประมาณการ ด�าเนินงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ในวาระ 2 ปี ของการท�างาน ในแง่ของสมาชิก ผมได้ จัดกลุ่มสมาชิกและผู้สนใจงานของสมาคมฯ ออกเป็น 4 ระดับ เพื่อจะได้มีความชัดเจน ในการวาง กรอบแนวทางการท�างานร่วมกับกรรมการบริหารในการสนองความต้องการของสมาชิกได้อย่างมี ประสิทธิภาพ กล่าวคือ ระดับที่ 1 วัยเรียนหนังสือ บุคคลกลุม่ นีย้ งั ขาดความรูท้ างด้านอุทกวิทยา ต้องมีการส่งเสริม เรียนรู้ ระดับที่ 2 วัยท�างาน เป็นสมาชิกที่เพิ่งเรียนจบ ขาดความช�านาญและประสบการณ์ในงาน อุทกวิทยา จ�าเป็นต้องให้การเรียนรู ้ ให้โอกาสในการเข้ามาสอบถามและเรียนรูจ้ ากผูม้ ปี ระสบการณ์ อาทิเช่น การออกแบบความจุของอ่างเก็บน�า้ การออกแบบระบบระบายน�า้ และการเลือกใช้ Return Period ที่เหมาะสม ระดับที่ 3 ระดับหัวหน้างาน เป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ต้องการแสดงผลงานแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ สามารถให้ความรู้กับสมาชิกในระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ระดับที่ 4 เป็นสมาชิกที่เกษียณอายุแล้ว มีไฟที่จะท�าประโยชน์กับสังคม สามารถน�าความ รู้และประสบการณ์ต่างๆ มาถ่ายทอดให้กับสมาชิกในระดับต่างๆ ขอย้อนกลับไปกล่าวถึง การก�าหนดบุคคลต่างๆ เข้ามาเป็นกรรมการบริหารสมาคมฯ ผมพิจารณาจากสมาชิกใน 4 ระดับ โดยได้เรียนเชิญสมาชิกระดับที ่ 3 เข้ามาบริหารงานของสมาคมฯ เป็นกลุม่ ใหญ่ และให้บคุ ลากรในระดับ 4 เป็นทีป่ รึกษาของสมาคมฯ สมาชิกหลายท่านอาจมีคา� ถาม ว่า ผมมีแนวคิด ท�าอย่างไรในการให้สมาชิกระดับต่างๆ เข้ามามีส่วนรับรู้ และร่วมในกิจกรรมของ สมาคมฯ มีการ ส่งเสริมการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์กันในระหว่างสมาชิก ก่อนอื่น ก็ต้อง กล่าวถึงว่าหลายกิจกรรมที่ทางนายกสมาคมฯ ดร.บุญรอด ได้ด�าเนินการไว้แล้ว มีความเหมาะสม ดีอยู่แล้ว เช่น การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการให้กับสมาชิกผ่านช่องทางการประชุมสัมมนา การจัด พิมพ์วารสารประจ�าปีของสมาคมฯ เพื่อเผยแพร่ความรู้กับกลุ่มสมาชิก งานที่ผมต้องการปรับปรุง ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ในการสนองตอบความต้องการของสมาชิก คือการจัดท�า Website ของ สมาคมฯ ที่มีความน่าสนใจเป็นช่องทางให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็นต่อสมาคมฯ มีการถ่ายทอด 37


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ความรู้และประสบการณ์ผ่านทาง Website นอกจากนั้น ผมได้เริ่มจัดท�าฐานข้อมูล (Data Base) ของนักอุทกวิทยา โดยได้เริ่มด�าเนินการขอความร่วมมือจากสมาชิกในการให้ข้อมูลจากผู้เข้าร่วม การประชุมสัมมนาที่ผ่านมา และจะน�ามาท�าเป็นทะเบียนประวัติของสมาชิกใน Website ของ สมาคมฯ เพื่อให้ องค์กร หน่วยงาน บริษัทวิศวกรที่ปรึกษา ที่ต้องการบุคลากรด้าน อุทกวิทยา และ สมาชิกของสมาคมฯ สามารถติดต่อได้โดยตรง โดยการตรวจสอบจากฐานข้อมูลและการเรียกใช้ ผ่านทาง Website ของสมาคมฯ

ปรัชญาในการบริหารงานและทิศทางการบริหารสมาคม สมาคมนักอุทกวิทยาไทย เป็นสมาคมฯทีไ่ ม่มรี ายได้ คนทีเ่ ข้ามาบริหารสมาคมฯ ก็อาสามา ท�างาน ไม่มีค่าจ้าง มีความมุ่งมั่นที่จะน�าวิชาชีพที่ตนเองถนัด มาท�างานให้เกิดประโยชน์ต่อสมาชิก และสังคมโดยรวม ผมมีปรัชญาในการบริหารงาน และน�ามาบริหารงานของสมาคมอุทกวิทยาไทย คือ 1. สมาคมต้องเป็นอิสระ เป็นกลาง และเป็นองค์กรที่น�าเสนอข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง ต่อสังคม 2. ด้านรายได้ จะหาเงินเพือ่ มาใช้ในการบริหารงานตามนโยบายทีว่ างไว้ให้เพียงพอในแต่ละ ปี ตลอดช่วงวาระท�างาน 2 ปี โดยไม่ใช้เงินสะสมของสมาคมฯ ที่มีอยู่ และจะไม่สะสมเงินท�าให้เป็น ภาระต่อองค์กรหรือผู้บริจาคเงินให้กับสมาคมฯ 3. ท�าให้สมาคม มีประโยชน์ต่อสมาชิกและสังคมโดยรวม เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ในปัจจุบัน ส�านักงานของสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ตั้งอยู่ในกรมชลประทาน ซึ่งเป็น หน่วยงานหลักในงานด้านอุทกวิทยา และการจัดการน�้าของประเทศไทย การท�างานสมาคมฯ ได้ รับความร่วมมืออย่างดีจากผู้บริหารและข้าราชการของกรมชลประทาน กรรมการบริหารสมาคมฯ มีความเป็นอิสระในการบริหารงานของสมาคมฯ ได้รับความสนับสนุนและความร่วมมือในการจัด กิจกรรมต่างๆ ของสมาคมฯ ด้วยดีตลอดมา อย่างไรก็ดี ผมก็ยังมีความคิดที่อยากเห็นสมาคมฯ มี สถานทีต่ งั้ เป็นของตนเอง มีความเป็นอิสระในทุกด้าน ซึง่ การบริหารในรุน่ ผมได้วางแผนทีจ่ ะบริหาร สมาคมฯ ให้มีความพร้อมในทุกด้านที่จะเดินไปข้างหน้า มีการด�าเนินกิจกรรมและให้ความรู้ด้าน อุทกวิทยาที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกและสังคม และท�าให้ได้รับการยอมรับในระดับประเทศ และ ระดับนานาชาติ ผมได้วางแผนก�าหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการบริหารงานของสมาคมฯ ให้เป็นระบบมาก ยิ่งขึ้น เพื่อบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ มีการปรึกษาหารือร่วมกับกรรมการบริหารสมาคมฯ ในการ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการด้านต่างๆ ประกอบด้วย สมาชิก และผูม้ คี วามรู ้ ประสบการณ์ เพือ่ มาช่วย กันท�างานให้กับสมาคมฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนงานไปให้รุ่น 38


ดร.สุบิน ปิ่นขยัน นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทยกับเป้าหมายที่อยากเห็น

ต่อไปในอนาคต ในคณะอนุกรรมการทั้ง 9 คณะ ซึ่งผมจะได้กล่าวต่อไป มีการจัดท�าแผนงานและ แผนเงินในการด�าเนินงานแต่ละด้านมาให้กรรมการบริหารพิจารณา เพื่อจะหารายได้และจัดสรร เงินให้สามารถท�างานในด้านต่างๆ ได้ตามแผนงานที่วางไว้ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย มีค่าใช้จ่ายปีละประมาณ 2-3 ล้านบาท ซึ่งทางสมาคมฯ จะไม่ รบกวนจากสมาชิก มุ่งหวังจะให้ประโยชน์กับสมาชิก ในส่วนค่าสมาชิก ซึ่งสมัครครั้งเดียวได้ตลอด ชีพ ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จา่ ยของสมาคมฯ คณะกรรมการต้องหารายได้จากด้านอืน่ ๆ ขณะนีไ้ ด้มกี าร วางแผนทีจ่ ะจัดหารายได้ จากการด�าเนินกิจกรรม เช่น การแข่งขันกอล์ฟ การจัดคอนเสิรต์ และการ ขอรับความช่วยเหลือจากบริษัทวิศวกรที่ปรึกษา และองค์กรที่เกี่ยวกับกิจการด้านน�้า เช่น บริษัท อีสท์วอเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นต้น ในการสนับสนุนทางการเงิน ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของ สมาคมฯ ผมจะด�าเนินงานของสมาคมฯ ตามปรัชญาในการบริหารงานของผม คือ การไม่สะสมเงิน ให้สมาคมฯรูจ้ กั หาเงินมาใช้ให้พอต่อกิจกรรมทีจ่ ะท�าในแต่ละปี และเป็นกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคม ปรับแผนงานให้เหมาะกับเงินที่หามาใช้ในแต่ละปี ท�าอะไรให้พอตัว พอเพียง ไม่ท�าให้ผู้อื่น เดือดร้อน ซึง่ แนวความคิดนี ้ ผูบ้ ริหารรุน่ ต่อไปจะน�าไปใช้เป็นแนวทางก็ได้ โดยต้องมีเป้าหมายให้สมาคมฯ บริหารงานและจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกและสังคมได้ตลอดไป และมีความยั่งยืน

เมื่อมีแผน มีเงิน จะท�าอะไรให้กับสมาชิกและสังคมโดยรวม ในส่วนนี้ผมต้องกล่าวถึง งานที่ได้ด�าเนินการไปแล้ว และขอบอกเล่าถึงแผนงานบางส่วน ที่ให้ทางคณะอนุกรรมการทั้ง 9 คณะ ไปวางแผนงาน ส�าหรับคณะกรรมการบริหารและคณะ อนุกรรมการอีก 9 คณะ ผมได้แต่งตัง้ เรียบร้อยแล้ว ดังท่านสมาชิกจะเห็นรายชือ่ ในวารสารสมาคมฯ ฉบับนี ้ คณะอนุกรรมการคณะต่างๆ ได้ไปจัดท�าแผนงาน รวมทัง้ แผนเงิน และคณะอนุกรรมการบาง คณะก็ได้ท�างานไปบ้างแล้ว โดยคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมมีภารกิจด้านต่างๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริหาร ท�าหน้าที่วางนโยบาย จัดหารายได้ และเป็นก�าลังหลักในการ จัดกิจกรรมของสมาคมฯ การประชุมเห็นชอบงานต่างๆ และงบในการท�างาน รวมทัง้ รับรู ้ รับทราบ ความคิดเห็นสมาชิก เพื่อน�าไปปรับปรุงแก้ไขการบริหารงานของสมาคมฯ เป็นต้น 2. คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ประกอบด้วย ผูร้ ู้ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านอุทกวิทยา หลายท่าน คงจะมีงานและกิจกรรมด้านอุทกวิทยาออกมาให้ประโยชน์กับสมาชิก โดยเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556 ทางคณะอนุกรรมการวิชาการ ก็ได้จดั งานสัมมนาทางวิชาการ เรือ่ งแนวทางการรับมือ สถานการณ์น�้าของประเทศไทย ปี 2556-2557 ได้รับความสนใจจากสมาชิกในระดับหนึ่ง ผมก็ หวังว่า ในครั้งต่อไปคงจะมีหัวข้อที่เป็นที่สนใจของสังคม มีการกระจายข่าวสารและติดต่อประสาน งาน ให้สมาชิกและผูส้ นใจเข้ามาร่วมในการประชุมสัมมนามากยิง่ ขึน้ ผมมีแนวคิดในการท�างานของ สมาคมฯทางด้านวิชาการว่า ควรจะมีการจัดประชุมสัมมนาใน 2 ระดับ 39


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1) สัมมนาในงานวิชาการ ในระดับสมาชิกและผู้สนใจที่มีความรู้ด้านอุทกวิทยา 2) องค์ความรูด้ า้ นอุทกวิทยาในเรือ่ งทีส่ งั คมให้ความสนใจ และมีเนือ้ หาสาระเข้าถึงใน ทุกระดับ การร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ที่ท�างานด้านการพัฒนาแหล่งน�้าในด้านวิชาการ นอกจาก นัน้ งานทีท่ างคณะอนุกรรมการวิชาการ จะท�างานเสนอทางสมาคมฯ น�าไปใช้เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคมโดยรวมและมีความเป็นกลาง ดังเช่น 1) การให้ขอ้ มูล และเสนอความคิดเห็นในการแก้ไขปัญหาน�า้ ให้กบั รัฐบาลเป็นครัง้ คราว อาจจะเป็นการด�าเนินการโดยสมาคมฯ หรือสมาชิก 2) การให้ความรู้เกี่ยวกับด้านงานอุทกวิทยา ด้านอุทกภัย ภัยแล้ง การใช้ประโยชน์ จากน�า้ ผ่านสือ่ ทางโทรทัศน์และสือ่ มวลชน เพือ่ ให้ประชาชนทัว่ ไปได้เรียนรู ้ เข้าใจ และใช้ประโยชน์ จากงาน อุทกวิทยาได้มากยิ่งขึ้น 3) การให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับภัยพิบัติด้านน�้า และการเตือนภัยให้กับประชาชน 3. คณะอนุกรรมการฝ่ายกิจการต่างประเทศ ได้วางเป้าหมายให้สมาคมฯ ก้าวไปสูร่ ะดับ นานาชาติ ทางคณะอนุกรรมการด้านต่างประเทศได้วางแผนการท�างานเพือ่ ให้บรรลุตามเป้าหมาย ดังนี้ 1) การสมัครเป็นสมาชิกองค์กรต่างประเทศทีม่ ชี อื่ เสียงในงานอุทกวิทยาและแหล่งน�้า 2) การสร้างเครือข่าย (Network) ในระดับอาเซียน เริม่ จากสมาคมนักเรียนเก่า เอ.ไอ.ที. ที่มีรายชื่อผู้ส�าเร็จการศึกษาด้านแหล่งน�้าจากประเทศต่างๆ ในอาเซียน มีการประสานงานติดต่อ กับผู้ท�างานด้านอุทกวิทยา มีการนัดหมายประชุมร่วมกันเพื่อก�าหนดแนวทางด�าเนินงานและจัด ท�ากิจกรรมงานวิชาการด้านอุทกวิทยา 3) การจัดประชุมงานอุทกวิทยาในระดับนานาชาติ ได้วางแผนไว้ในปีที่ 2 ก่อนหมด วาระ ในคณะกรรมการรุน่ ต่อไป ก็คงจะมาประสานงานต่อจากคณะกรรมการชุดนีเ้ พือ่ ท�าให้สมาคมฯ ก้าวสู่ระดับนานาชาติต่อไป 4. คณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์และกิจกรรมมวลชน ได้มีการวางแผนเผยแพร่ ความรู้ในหลายระดับผ่านสื่อในหลายช่องทาง โดยเฉพาะสื่อโทรทัศน์ มีการท�างานร่วมกับฝ่าย วิชาการในการให้ความรู้กับสมาชิกและประชาชนทั่วไป ในส่วนของฐานข้อมูล (Data Base) ผมได้ จัดท�าแบบฟอร์มให้สมาชิกลงทะเบียนประวัติ ความรู้ ความช�านาญในงานอุทกวิทยาและแหล่งน�้า ซึ่งได้ให้สมาชิกกรอกแบบฟอร์ม ในการประชุมสัมมนาที่ผ่านมา และทางสมาคมฯ จะทยอยลงใน Website ของสมาคมฯ จัดท�าเป็นฐานข้อมูล (Data Base) ของนักอุทกวิทยา เพื่อเป็นสื่อกลางใน การติดต่อระหว่างสมาชิก และให้สมาชิกได้ตดิ ต่อบุคคลอาวุโสมาถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ รวมทั้งบริษัทหรือองค์กร ที่ต้องการบุคลากรด้านอุทกวิทยาและแหล่งน�้า สามารถติดต่อกับผู้ที่มี คุณสมบัติตามที่ต้องการได้โดยตรง ในส่วนงานประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมมวลชน ส่วนอื่นคงจะ มีด�าเนินการในล�าดับต่อไป 40


ดร.สุบิน ปิ่นขยัน นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทยกับเป้าหมายที่อยากเห็น

5. คณะอนุกรรมการฝ่ายงานสาราณียกร มีงานหลักในการจัดท�าวารสารสมาคมนัก อุทกวิทยาไทย การจัดหาบทความที่มีสาระความรู้ จากท่านผู้รู้ มาจัดพิมพ์เป็นวารสารให้สมาชิก วารสารของสมาคมฯ ทุกฉบับแจกฟรีสา� หรับสมาชิกและผูส้ นใจ ซึง่ ทางกรรมการบริหาร ต้องหาเงิน ทุนมาสนับสนุน นอกจากงานวารสาร ก็อาจจะมีงานท�าหนังสือเผยแพร่กิจกรรม และสาระความรู้ ต่างๆ ให้สมาชิก 6. คณะอนุกรรมการฝ่ายการจัดหารายได้ ต้องท�างานหนักที่จะหารายได้มาด�าเนิน กิจกรรมต่างๆ ของสมาคมฯ โดยไม่รบกวนสมาชิก ในส่วนแผนการหารายได้ตามที่กล่าวข้างต้น จะ มีการจัดกอล์ฟ จัดคอนเสิร์ต ให้มีรายได้เพียงพอต่อการท�างานในกิจกรรมต่างๆ ตามแผนที่คณะ อนุกรรมการแต่ละด้านเสนอมา ซึ่งคงจะอยู่ในวงเงินรวมประมาณ 2 ล้านบาทต่อปี 7. คณะอนุกรรมการฝ่ายบริหารและการเงิน ท�าหน้าที่บริหารกิจการสมาคมฯ งานด้าน การเงิน และการบัญชีให้เป็นไปตามนโยบาย กลั่นกรองงานเข้าที่ประชุม ก�าหนดแผน บริหารงาน ด้านการจัดประชุมและงบประมาณให้เป็นไปตามข้อบังคับของสมาคม 8. คณะอนุกรรมการฝ่ายสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ์ มีแผนที่จะให้บริการสมาชิก 9. คณะอนุกรรมการฝ่ายการเตือนภัยธรรมชาติ ได้เสนอกิจกรรมที่จะให้ความรู้ด้าน ภัยธรรมชาติของน�า้ ให้กบั ประชาชนในสังคม การเตือนภัยทีจ่ ะเกิดขึน้ การร่วมมือกับองค์กร สถาบัน และหน่วยงานรัฐในการเตือนภัยและให้ความรู้เกี่ยวกับภัยแล้ง อุทกภัย เป็นต้น 10. คณะอนุกรรมการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ เป็นการรวมสมาชิกวัยอาวุโสให้มีโอกาสพบปะ และเข้ามาท�างานร่วมกัน คณะอนุกรรมการแต่ละคณะทีไ่ ด้กล่าวถึง มีการจัดท�าแผนงาน แผนเงิน มาให้กรรมการ บริหารพิจารณา ซึง่ แผนงานและแผนเงินได้นา� ไปปฏิบตั ใิ นปลายปี พ.ศ. 2556 โดยทีง่ านบางส่วนได้ ด�าเนินการไปบ้างแล้ว และท่านสมาชิกคงจะได้รบั ทราบ รับรู ้ และเข้ามาร่วมในกิจกรรมของสมาคมฯ ในเวลาอันใกล้นี้

สมาคมฯ จะอยู่ได้ต้องได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกในทุกระดับ สมาชิก คือ ก�าลังส�าคัญของสมาคม ท�าอย่างไรให้สมาชิกได้รบั ประโยชน์ และมีความผูกพัน กับสมาคม มีความคิด และประสงค์จะท�างานให้สมาคมฯ อันจะเป็นพลังผลักดันให้สมาคมฯ ก้าว เดินต่อไป ตามที่ผมได้กล่าวมาตอนต้นถึงสมาชิกสมาคมฯ ใน 4 ระดับ แยกเป็น ระดับที่ 1 วัยเรียน ระดับที่ 2 วัยท�างานเพิ่งเรียนจบ ระดับที่ 3 ระดับหัวหน้างาน และระดับที่ 4 วัยเกษียณแล้ว ผม ขอกล่าวถึงภาระหน้าที่ของสมาคมฯ ที่จะสนองตอบความต้องการของสมาชิกในระดับต่างๆ ระดับที่ 1 วัยเรียนเป็นระดับที่สมาคมฯ ต้องการให้เข้ามามีส่วนร่วม รับรู้กิจกรรมของ สมาคมฯ การส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้มีความเข้าใจงานอุทกวิทยาได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น 41


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

การเข้าร่วมงานวิชาการอุทกวิทยาในช่องทางต่างๆ เช่น การประชุมสัมมนา วารสาร Website ทีจ่ ะ มีการน�าเสนอความรู้ด้านอุทกวิทยา การได้รับโอกาสติดต่อผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ผ่านทาง Website ระดับที่ 2 ระดับคนท�างาน มีความอยากรู้งานอุทกวิทยาในการน�าไปใช้ในทางปฏิบัติ การแก้ปัญหาต่างๆ ด้านเทคนิค ความต้องการเพิ่มเติมความรู้ทางวิชาการงานอุทกวิทยา และ แหล่งน�้า ซึ่งทางสมาคมฯ มีช่องทางให้ติดต่อผ่านทาง Website โดยทางสมาคมฯ จะจัดหา ผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ตามความต้องการของสมาชิก ระดับที่ 3 ระดับหัวหน้างาน เป็นก�าลังหลักของสมาคมฯ ในการให้ความรู้ทางวิขาการ ประสบการณ์งานอุทกวิทยาและแหล่งน�้า ต้องการน�าเสนอผลงานให้กับสมาชิกผ่านทางวารสาร ของสมาคมฯ Website การประชุมวิชาการ การร่วมมือกับคณะอนุกรรมการวิชาการในการจัดท�า มาตรฐานอุทกวิทยา การได้รับโอกาสเข้ามาท�างานให้สมาคมฯ ในรูปแบบต่างๆ เพื่อเตรียมความ พร้อมในการท�างานเป็นคณะอนุกรรมการด้านต่างๆ และเป็นกรรมการบริหารสมาคมนักอุทกวิทยา ไทยในอนาคต ระดับที่ 4 ผู้เกษียณอายุจากราชการหรือบริษัทเอกชน ได้สะสมประสบการณ์มามาก มี สุขภาพแข็งแรงในการท�างาน มีความพร้อม และจิตอาสาที่จะท�างานให้สังคม ทางสมาคมฯ ยินดี เชิญเข้ามาเป็นที่ปรึกษา หรือมาให้ความรู้ด้านการศึกษา ออกแบบงานอุทกวิทยา และแหล่งน�้า สมาคมฯ ในยุคที่ผมเข้ามาบริหารงาน มีความมุ่งมั่นที่จะใกล้ชิด และให้ประโยชน์ในด้าน ความรู้กับสมาชิกมากยิ่งขึ้น

เป้าหมายที่อยากเห็นและให้สมาคมฯ เป็น ปัจจุบันผมอายุย่าง 80 ปี เรียนจบเป็นอาจารย์สอนที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มี บริษัทที่ปรึกษาท�างานอุทกวิทยาและแหล่งน�้า เป็นนักลงทุนโครงการไฟฟ้าพลังน�้าในต่างประเทศ มีประสบการณ์ในงานอุทกวิทยาและการบริหารงานด้านต่างๆ มาก พอสมควร ซึ่งผมคิดว่าจะเป็น ประโยชน์ต่อสมาคมฯ มีความตั้งใจที่จะท�างานสมาคมฯ ให้เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกและสังคม ให้เป็นทีย่ อมรับในระดับประเทศและระดับนานาชาติ แต่การจะไปถึงเป้าหมายทีผ่ มอยากเห็นและ อยากให้สมาคมฯ เป็น คงต้องได้รบั ความร่วมมือจากกรรรมการบริหารสมาคมฯ ในการท�างาน การ ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสมาชิกและผู้มีอุปการคุณต่างๆ ในท้ายของบทสัมภาษณ์นี้ ผมจะ ขอกล่าวถึงเป้าหมายที่อยากจะเห็น 1. สมาคมฯ มีสถานที่ท�างานของตนเอง ที่แสดงถึงความเป็นอิสระและเป็นกลาง 2. สนับสนุนให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ สมาชิกมีโอกาสใช้ความรู้ในการ ประกอบอาชีพ และท�างานให้เกิดประโยชน์กับส่วนรวม 3. มี Website ที่ตอบสนองความต้องการของสมาชิก เป็นช่องทางแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ของบุคคลในระดับต่างๆ รวมทั้งเป็นแหล่งค้นคว้าความรู้ของสมาชิก สามารถท�าให้ องค์กรและบุคคลที่สนใจเข้ามาติดต่อกับสมาชิกได้โดยตรง 42


ดร.สุบิน ปิ่นขยัน นายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทยกับเป้าหมายที่อยากเห็น

4. สมาคมฯ มีกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชน์กบั ส่วนรวม โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาน�า้ และการ เตือนภัยต่อสาธารณะ 5. สมาคมฯ เป็นสถานที่ให้ความรู้ และเป็นองค์กรที่รวมผู้รู้งานอุทกวิทยา มีการเผยแพร่ ความรูว้ ชิ าการงานอุทกวิทยา ให้สมาชิกน�าไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ตอ่ สังคมในการ แก้ไขปัญหาน�้าของประเทศ 6. สมาคมฯ เป็นแหล่งความรู้ทางอุทกวิทยา ที่มีการสื่อสารให้ความรู้ให้คนในชนบท เกษตรกร เข้าใจในงานอุทกวิทยา เพื่อน�าไปใช้ได้ในทางปฏิบัติ 7. สมาคมฯ เป็นที่ยอมรับของประชาชน องค์กรวิชาชีพต่างๆ ทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ ก่อนจบบทสัมภาษณ์ในวารสารฉบับนี้ ผมในฐานะนายกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย และ กรรมการบริหาร ขอขอบพระคุณท่านผู้มีอุปการคุณต่อสมาคมฯ สมาชิกทุกท่านที่ให้การสนับสนุน กิจกรรม และมาช่วยท�างานให้สมาคมฯ ผมหวังที่จะเห็นคนรุ่นใหม่ในระดับที่ 2 และระดับที่ 3 เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการท�างานของสมาคมฯ มากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะเป็นก�าลังส�าคัญ ในการผลักดันให้สมาคมฯ ท�างานที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกและสังคม เป็นที่ยอมรับในระดับ ประเทศและระดับนานาชาติ ในอนาคต

43


น�้ำหนักของกรรม กรรม...ให้ผลไม่เหมือนกัน ให้ผลทันเวลา และให้ผลในระยะยาวต่อไป ฉะนั้น ทุกคนจึงมีโอกาสรับกรรม ...ไม่เหมือนกัน บางคนคิดว่าท�าดีไม่ได้ดี ท�าชั่วได้ดี ทั้งนี้เป็นเพราะความดีที่ท�าไว้ยังไม่มาถึง ความชั่วหนักกว่า...ก็มาให้ผลก่อน ส่วนความดีนั้นเบา ...ก็จะให้ผลในภายหลัง เพราะความดี ความชั่ว น�้าหนักไม่เท่ากัน หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม 44


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง ดร. เอกวิทย์ จรประดิษฐ์*

บทคัดย่อ คาบรอบปีการอุบตั ซิ า�้ ของน�า้ หลากและน�า้ แล้ง คือ ค่าปฏิสมั พันธ์ผกผันของค่าโอกาสความ น่าจะเป็นในรอบปีการเกิดซ�า้ ของน�า้ ท่าสุดโด่งด้านมากและด้านน้อย องค์ความรูเ้ ชิงประยุกต์น ี้ เกิด ขึน้ จากความต้องการทราบข้อมูลน�า้ ท่าทีต่ อ้ งการน�าไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เพือ่ หาเกณฑ์กา� หนด ในการบริหารจัดการปริมาณเก็บกักน�า้ ในแหล่งเก็บน�า้ อย่างสูงสุด และอย่างต�า่ สุด ทีส่ มควรต้องเผือ่ ไว้ทั้งในกรณีปีน�้ามาก และปีน�้าน้อยหรือปีที่แล้งน�้า งานวิจัยนี้เป็นการทดลองคิดค้นวิธีการหาคาบ รอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าท่าทั้งในด้านน�้าหลากมาก และในด้านน�้าแล้ง ในสามแนวทาง คือแนว ทางพล็อตกราฟโดยใช้มอื ลากเส้นต่อยอดฐานข้อมูลคาบอุบตั ทิ ตี่ อ้ งการ แนวทางทีส่ องเป็นแนวทาง เชิงประสบการณ์โดยใช้วิธีเลือกประเภทของวิธีต�าแหน่งการลงจุดของสถิติแบบต่างๆ และแนวทาง วิเคราะห์โดยใช้สมการตัวแทนโดยใช้วิธีเลือกลักษณะประเภทของสมการตัวแทน แล้วค้นหาความ สัมพันธ์ด้วยสมการถดถอย เพื่อน�าความสัมพันธ์ที่ได้ไปต่อฐานข้อมูล และวิเคราะห์คาบรอบปีการ อุบัติซ�้าในรอบปีต่างๆ ผลการทดลองคิดค้นวิธีการหาคาบรอบปีการอุบัติซ�้าของฝนทั้งในด้านน�้าหลากมาก และ ในด้านน�้าแล้ง ได้น�าฐานข้อมูลน�้าท่ารายปีที่สถานีวัดแห่งหนึ่ง (สถานี Y-14 ในลุ่มน�้ายม) มีจ�านวน สถิติบันทึกไว้เกิน 30 ปี เลือกวิธีไวบูลส�าหรับเป็นตัวอย่างแนวทางเชิงประสบการณ์ และได้เลือกวิธี กัมเบลส�าหรับเป็นตัวอย่างแนวทางวิเคราะห์โดยใช้สมการตัวแทน พบว่าสามารถก�าหนดคาบรอบปี การอุบัติซ�้าของฝนทั้งในด้านน�้าหลากมาก และในด้านน�้าแล้ง พบว่าวิธี Analytical Method และ ด้วยการค้นหาสมการตัวแทนวิธี Regression ด้วยสมการ 5th order Polynomial เพื่อมาต่อยอด ฐานข้อมูล (Extrapolation) เป็นวิธที ใี่ ห้คา่ สัมประสิทธิก์ ารตัดสินใจ 0.9996 เข้าใกล้คา่ 1 มากทีส่ ดุ ซึ่งหมายถึงมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ค�าส�าคัญ: คาบรอบปีการอุบัติซ�้า น�้าหลาก น�้าแล้ง โอกาสความน่าจะเป็น สถิติพรรณา สถิติอนุมาน *

สถาบันพัฒนาการชลประทาน สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส�านักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน ถนนติวานนท์ ต�าบลบางตลาด อ�าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 Email eakawit36@gmail.com

45


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1. บทน�า ความน่าจะเป็น (Probability) คือ หลักการทางสถิติแขนงหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้น ของเหตุการณ์ต่างๆ (Events) ไม่ว่าจะเป็นการโยนลูกเตา หรือ การบันทึกสถิติน�้าท่า ที่เกิดเหตุ การณ์ซ�้าๆ ยิ่งเหตุการณ์เกิดขึ้นยิ่งซ�้ามากๆ ค่าการบันทึกทางสถิติ จะกลายเป็นฐานข้อมูลที่ท�าให้ ตัวอย่าง “Sample” เข้าใกล้ประชากร “Population” ซึ่งตามหลักสถิติแล้วก�าหนดไว้ว่าจ�านวน จะต้องเข้าสู่อนันต์ “Infinity” แต่เหตุการณ์ในโลกความเป็นจริง ครั้นจะรอให้ฐานข้อมูลมีจ�านวน ถึงอนันต์ก็คงต้องใช้เวลานานเป็นอนันตกาลเช่นกัน ดังนั้นการศึกษาเรียนรู้แนวโน้มท่าทีของข้อมูล จึงต้องใช้ฐานข้อมูลประเภท “ตัวอย่าง” ยิง่ มีขอ้ มูลเหตุการณ์ถกู บันทึกไว้มาก การศึกษาเรียนรูก้ ย็ งิ่ มีระดับน่าเชื่อถือมาก มีตัวชี้วัดตัวหนึ่งพอที่จะบ่งบอกได้ คือ องศาอิสระ “Degree of Freedom” เช่นฐานข้อมูลมี 31 ค่ารอบการซ�้าที่ถูกบันทึก ค่าองศาอิสระจะเป็น 30 หรือ n-1 ความหมายเป็น นัยก็คือ ในแต่ละค่าจะมีสิทธิมีเสียงแสดงตัวตนเป็น 1/30 หรือประมาณ 0.033 หากเป็นข้อมูลที่ ผิดปกติ (Outlier) องค์รวมของฐานข้อมูลก็จะผิดพลาดน้อย หรือน่าเชื่อถือมาก หรือมากประมาณ 96.666% หากเกณฑ์การยอมรับโดยทั่วไปตั้งเกณฑ์ความน่าเชื่อถือไว้ที่ 95% ก็ถือว่ายังผ่านเกณฑ์ อยู ่ ดังนัน้ จ�านวนสถิตทิ จี่ ะน�ามาวิเคราะห์ ก็ควรมากกว่า 30 ค่า ไม่ตอ้ งรอให้มขี อ้ มูลมากจนถึงอนันต์

1.1 กระบวนการเชิงประจักษ์ (Deterministic Process) และกระบวนการเชิงสุม่ (Stochastic Process)

กระบวนการเชิงประจักษ์ (Deterministic Process) คือ กระบวนการศึกษาพฤติกรรม ความไม่แน่นอนของข้อมูลด้วยหลักการสถิตพิ รรณา (Descriptive Statistics) ให้ออกมาเป็นผลลัพธ์ ที่มีค่าตายตัวสามารถประจักษ์ได้ (Determinate Output) ได้แก่ค่าสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าเบีย่ งเบมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง ค่าความน่าจะเป็น คาบการอุบตั ซิ า�้ ค่าความเสี่ยง และค่าคาดหมาย (Expected Value) เป็นต้น กระบวนการเชิงสุ่ม (Stochastic Process) คือ กระบวนการศึกษาพฤติกรรมความ ไม่แน่นอนของข้อมูลด้วยหลักการสถิติอนุมาน (Inferential Statistics) ให้ออกมาเป็นผลลัพธ์ที่ มีค่าไม่ตายตัว จึงสามารถประจักษ์ได้ (Indeterminate Output) ได้แก่ค่าตัวแปรสุ่ม (Random Variable) สมการตัวแทนของการกระจายตัวของตัวแปรสุ่ม (Probability Density Function: PDF) เป็นต้น ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากกระบวนการนี ้ คือ ฐานข้อมูลทีส่ ามารถสังเคราะห์ได้ใหม่จา� นวนอนันต์ ซึ่งสมการตัวแทนจะต้องก�าเนิดฐานข้อมูลใหม่ที่มีคุณสมบัติทางสถิติพื้นฐานเหมือนกัน หรือคล้าย กันกับฐานข้อมูลต้นแบบมากที่สุด (Maximum Likelihood) ในการตรวจสอบแบบใช้พารามิเตอร์ และมีสมบัติสารรูปสนิทดี (Goodness of Fit) ในการตรวจสอบแบบไม่ใช้พารามิเตอร์

46


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

1.2 คาบการอุบัติซ�้า (Return Period)

คาบการอุบัติซ�้าเป็นผลลัพธ์จากกระบวนการเชิงประจักษ์ (Deterministic Process) ด้วย การวิเคราะห์ทางด้านสถิติ โดยศึกษาคาบรอบเวรจากเหตุการณ์ที่เกิดซ�้าๆ (Repeated Periods) ที่เกิดขึ้นให้อยู่ในรูปของโอกาสความน่าจะเป็น (Probability) ซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 ในสาขา วิศวกรรมโยธา ค�าว่า “Return Period” จึงมีความหมายถึงคาบรอบเวรการเกิดซ�้าของเหตุการณ์ ด้านอุทกวิทยาในรอบปี (Annually Repeated Periods) ผูท้ ใี่ ห้นยิ ามคือ Benjamin and Cornell (1970) ว่า “Return Period is the average of magnitude greater than a predefined critical event” หากเหตุการณ์เป็นอิสระในการเกิดขึน้ และโอกาสความน่าจะเป็นเกินกว่าค่าทีก่ �าหนด (Exceedance Probability: p) คาบรอบปีการอุบัติซ�้าคือ T ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ผกผันกับ p ดังนี้

T= 1 p

(1)

คาบการอุบัติซ�้าในทางปฏิบัติมีวิธีที่ประมาณค่าได้ 3 วิธี คือวิธีพล็อตกราฟ (Graphical Method) ล�าดับที่สองคือวิธีเชิงประสบการณ์ (Empirical Method) และสุดท้ายคือวิธีวิเคราะห์ ด้วยสมการตัวแทน (Analytical Method) การประมาณค่าคาบการอุบัติซ�้าทุกวิธี จะต้องมีฐาน ข้อมูลจากการบันทึกในสนาม (Observation Data) ในจ�านวนที่เพียงพอ (Adequacy of Data) Sokolov et al. (1976) ได้ให้ข้อแนะน�าว่าจ�านวนรอบปีของข้อมูลอย่างน้อยที่ควรมีคือจ�านวน 25 ปี ซึง่ ได้มาจากการวิเคราะห์คา่ ความน่าเชือ่ ถือทีไ่ ม่เกิน 15% จากความเบีย่ งเบนไปจากค่าเฉลีย่ (Mean) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าความเบ้ (Skewness) ซึ่ง หมายถึงผลลัพธ์จากหลักการวิเคราะห์ทางสถิติพรรณา (Descriptive Statistics) จากผลสรุปใน การทดลองวิเคราะห์ฐานข้อมูลน�้าท่าจ�านวนมากที่มีจ�านวนคาบรอบปีที่ลดหลั่นกันไป

1.3 วิธีการพล็อตกราฟ (Graphical Method)

ต�าแหน่งการลงจุด (Plotting position) ด้วยการเรียงล�าดับของเหตุการณ์ จากน้อยไปหา มาก (Ascending) หรือจากมากไปหาน้อย (Descending) ล้วนท�าให้สงั เกตค่าในด้านน�า้ หลากมาก (Extreme Event) และในด้านน�้าแล้ง (Slight Event) ได้ง่าย (Dalrymple, 1964) การเรียงล�าดับ แบบสัดส่วน (ต�าแหน่ง m) หารด้วยจ�านวนข้อมูล (จ�านวน n) จะท�าให้เกิดค่าความน่าจะเป็น ซึ่งมี ขีดจ�ากัดอยู่ระหว่างค่า 0 ถึงค่า 1 จึงมีการคิดค้นการวางต�าแหน่งการลงจุดข้อมูล (Plotting position) เพื่อให้เป็นเส้นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์กันในเชิงตัวแทน ในหลายวิธี เช่น ต�าแหน่งการลง จุดแบบ ไวบูล (Weibul) มีการลงจุดในลักษณะ m/(n+1) แบบแคลิฟฟอร์เนีย (California) มีการ ลงจุดในลักษณะ m/n แบบฟอสเตอร์ (Foster) มีการลงจุดในลักษณะ (2m-1)/2n หรือ แบบค่าที่ เกินกว่าค่าพิจารณาอยู่นี้ (Exceedance) มีการลงจุดในลักษณะ (m-1)/n เป็นต้น วิธีการพล็อต กราฟ ก�าหนดให้กราฟเป็น Logarithmic Scale ทั้งแกน abscissa และแกน Ordinate ในระบบ 47


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

การพล็อตแบบ Cartesian โดยให้แกน abscissa เป็นค่า Exceedance Probability มีค่าระหว่าง 1, 0.1, 0.01, 0.001 ถึง 0.0001 เพื่อให้สัมพันธ์กับค่าส่วนกลับ ซึ่งคือค่ารอบเวรคาบการอุบัติซ�้า ระหว่าง 1, 2, 10, 50, 100, 500 ถึง 1,000 ปี

1.4 วิธีเชิงประสบการณ์ (Empirical Method)

เหตุการณ์ทางอุทกวิทยาโดยเฉพาะอย่างยิง่ การวิเคราะห์การเรียงล�าดับข้อมูลบันทึกน�า้ ท่า นิยมใช้วิธี Weibull มากที่สุด เนื่องจากสามารถพล็อตและหาความสัมพันธ์ต่อยอดด้วยตัวแทน สมการได้ดี (Benson, 1962) แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์จากฐานข้อมูล “ตัวอย่าง” หรือ Sample ส่วนการสร้างความสัมพันธ์แบบ “ประชากร” หรือ Population หรือหมายถึงฐานข้อมูลมี จ�านวนมากเข้าสูอ่ นันต์ จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์อนุมานเป็นสมการตัวแทนจากฐานข้อมูลตัวอย่าง ที่มีจ�านวนจ�ากัด ซึ่งเป็นวิธีเชิงวิเคราะห์

1.5 วิธีเชิงวิเคราะห์ (Analytical Method)

เมื่อมีการเรียงล�าดับของเหตุการณ์ และหาต�าแหน่งความน่าจะเป็นในสัดส่วนกับจ�านวน ทัง้ หมด จะได้ความสัมพันธ์ในลักษณะของความน่าจะเป็นเชิงประสบการณ์ (Empirical Probability) แต่หากจะหาความสัมพันธ์โดยเลือกใช้สมการความน่าจะเป็นตัวแทน (Probability Functions) ซึง่ ทุกสมการล้วนมีคณ ุ สมบัตใิ นความคล้ายคลึงกันกับใช้รปู แบบวิธวี างต�าแหน่งการลงจุด หรือวิธเี ชิง ประสบการณ์ กล่าวคือ สมการจะให้ค่าความน่าจะเป็นที่มีขีดจ�ากัดอยู่ระหว่างค่า 0 ถึงค่า 1 เช่น กัน เพียงแต่ สมการชนิดใดจะเป็นตัวแทนการกระจายค่าความน่าจะเป็นสอดคล้องกับพฤติกรรม การเกิดเหตุการณ์จากธรรมชาติจริง วิธีเช่นนี้จะได้ความสัมพันธ์ในลักษณะของความน่าจะเป็น เชิงวิเคราะห์ (Analytical Probability) ซึ่งมีผู้คิดค้นหลากหลายชนิดสมการ เช่น สมการกัมเบล (Gumbel) สมการนอร์มอล (Normal) สมการล็อกนอร์มอล (Logarithmic Normal) สมการล็อก เพียรสันแบบสาม (Logarithmic Pearson Type III) เป็นต้น แต่ส�าหรับสมการการกระจายตัวของ ค่าความน่าจะเป็นแบบกัมเบล มีความเหมาะสมและนิยมใช้กบั การวิเคราะห์นา�้ ท่า (Gumbel, 1945) ซึ่งมีสมการ ดังนี้

F(x) = E = b = x = x = s =

-b

1-F(x)=1-e (2) ฟังก์ชั่นการกระจายตัวของข้อมูลแบบกัมเบล Natural Logarithm หรือ Logarithm ฐาน e (1/0.7797s) (x-x+0.45s) หรือค่า Reduce Variate Magnitude of the Flood (cms.) average Flood Magnitude (cms.) Standard deviation of Flood Magnitudes (cms.) 48


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

1.6 การหาความสัมพันธ์ด้วยสมการถดถอย (Regression)

เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ หรือปัจจัยที่แทนด้วยกลุ่มของข้อมูลตัวแปร ตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป ตัวแปรแรกคือตัวแปรอิสระ (Independence Variables) และตัวแปรที่สอง คือตัวแปรตาม (Dependence Variable) เพื่อท�าให้ทราบถึงความสัมพันธ์ ทิศทางความสัมพันธ์ และลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์โดยอาศัยค่าทีท่ ราบจาก ตัวแปรหนึ่ง แล้วน�าไปพยากรณ์ ค่าของอีกตัวแปรหนึ่ง จากสมการที่หาความสัมพันธ์ด้วยสมการ ถดถอย ส�าหรับสมการความน่าจะเป็น ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์จากสมการความน่าจะเป็นเชิง ประสบการณ์และเชิงวิเคราะห์ก็ตาม สามารถหาสมการตัวแทนได้ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ของการ ตัดสินใจ (Coefficient of Determination) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r2 เป็นค่าที่อธิบายว่าสมการ การถดถอยที่ใช้ประมาณค่ามีความสามารถอธิบายความผันผวน (Variation) ของตัวแปรตามได้ มากน้อยเพียงใด หรือตัวแปรอิสระในแบบจ�าลองอธิบายตัวแปรตามได้มากน้อยเพียงใด ซึ่งเป็น สัดส่วนของค่าผลรวมเบี่ยงเบนก�าลังสองของ SSR (Sum of Square Residual) ต่อ SST (Sum of Square Total) ซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 ยิ่งใกล้เคียง 1 มาก ยิ่งแสดงว่ามีค่าความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างสองกลุ่มตัวแปรมาก (Steel and Torrie, 1960)

มีรูปสมการ คือ

r2 = Xi = Yi = i = n =

(3)

สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) ค่าต้นแบบที่ต�าแหน่ง i ค่าที่ได้จากสมการตัวแทนที่ต�าแหน่ง i ล�าดับจ�านวนนับของจ�านวนคู่ข้อมูลที่น�ามาเปรียบเทียบ จ�านวนนับทั้งหมดของจ�านวนคู่ข้อมูลที่น�ามาเปรียบเทียบ

1.7 การต่อค่าความน่าจะเป็น (Extrapolation)

การต่อค่าความน่าจะเป็น หรือการ Extrapolate เป็นหลักการอนุมานอย่างหนึ่งทางสถิติ เมื่อสามารถหาสมการถดถอยเพื่อใช้เป็นตัวแทนในความสัมพันธ์ของความน่าจะเป็นทั้งในด้าน น�้าหลาก และในด้านน�้าแล้ง ซึ่งได้มาจากความสัมพันธ์จากสถิติฐานข้อมูล หากมีการก�าหนดคาบ รอบปีการอุบัติซ�้าที่คงที่ไว้ เช่น รอบ 2, 10, 50, 100, 500, 1000 ปี ก็จะสามารถใช้สมการถดถอย อนุมานเพื่อหาค่าโอกาสความน่าจะเกิดเหตุการณ์ได้ ด้วยการต่อค่าความน่าจะเป็น หรือการหา 49


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ค่านอกเหนือไปจากที่ทราบค่าแล้ว ทั้งทางด้านน้อยกว่า และมากกว่า ค่าที่ทราบ ความหมาย ที่ได้จะเป็นโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์สุดโต่งด้านน�้าหลากในรอบปีที่ก�าหนดไว้ หรือ โอกาสที่จะเกิด เหตุการณ์สุดโต่งด้านน�้าแล้งในรอบปีที่ก�าหนดไว้ (Scott and Collopy, 1993)

2. วิธีการ เริ่มต้น

วิธีการหาคาบรอบปีการอุบัติซ�้า รวบรวมข้อมูลน้�าท่า สถานี Y14 ของน�า้ ท่าใดๆ เริม่ ต้นด้วยการรวบรวมฐาน ข้อมูลการบันทึกค่าน�า้ ท่าสูงสุดของแต่ละปี เรียงล�าดับข้อมูล ทั้งแบบ Ascending และ Descending จ�านวนไม่น้อยกว่า 25 ปี แล้วน�ามาพล็อต Graphical Method เพือ่ ตรวจสอบความผิดปกติของข้อมูลด้วย สายตาก่อน เพื่อตั้งข้อสังเกตฐานข้อมูล Empirical Method ที่น่าจะไม่สะท้อนความเป็นจริงจากการ Analytical Method บันทึก จากนัน้ น�ามาเรียงล�าดับทัง้ จากน้อย Regression หาสมการตัวแทน ไปหามาก และจากมากไปหาน้อย น�าไป พล็อตกับกราฟแบบ Log-Log Scale ทั้ง ต่อเส้นด้วยมือ Extrapolation ด้วย สมการ สามวิธี วิธีแรกเมื่อพล็อตกราฟแล้วจึงลาก เปรียบเทียบ คาบรอบปีอุบัติซ้�า น้�าหลาก น้�าแล้ง ต่อเส้นด้วยมือให้ครอบคลุมคาบรอบปีการ สิ้นสุด อุบตั ทิ ตี่ อ้ งการอนุมาน ส่วนวิธที สี่ องใช้การ รูปที่ 1 แสดงแผนผังวิธีการศึกษา วิเคราะห์ต�าแหน่งการลงจุดแบบต่างๆ ใน งานศึกษานี ้ ใช้วธิ กี ารลงจุดต�าแหน่งด้วยวิธี Weibull แล้วจึงต่อเส้นด้วยสมการตัวแทนให้ครอบคลุมคาบรอบปีการอุบัติที่ต้องการอนุมาน วิธี สุดท้ายคือวิธีวิเคราะห์ ใช้สมการกระจายความน่าจะเป็นแบบ Gumbel แล้วจึงต่อเส้นด้วยสมการ ตัวแทนที่ต้องการอนุมาน ขั้นสุดท้ายน�ามาเปรียบเทียบกัน ดังรูปที่ 1

2.1 ข้อมูลที่ใช้ ข้อมูลปริมาณน�้าท่าที่ใช้เป็นกรณีศึกษา คือ ฐานข้อมูลน�้าท่าที่ลุ่มแม่น�้ายม ที่บ้านดอน ระเบียง อ�าเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ตั้งอยู่ที่ Latitude 17๐35’42” เหนือ Longitude 99๐43’08” ตะวันออก มีพื้นที่รับน�้า 12,131 ตารางกิโลเมตร ความจุล�าน�้าที่ สถานีวัด 2,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ที่ระดับตลิ่ง ข้อมูลที่น�ามาศึกษาเป็นข้อมูลบันทึกระหว่าง ปี 2523 ถึง ปี 2554 รวมทั้งสิ้น 32 ปี แสดงกราฟดังรูปที่ 2 50


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

รูปที่ 2 แสดงลักษณะข้อมูลบันทึกอัตราการไหลของน�้าท่าสูงสุด สถานีวัดน�้า Y14 ระหว่างปี 2523 ถึง ปี 2554

ข้อมูลอัตราการไหลของน�า้ ท่าสูงสุดในรอบปีทสี่ ถานีวดั น�า้ Y14 ระหว่างปี 2523 ถึง ปี 2554 นี ้ มีคา่ อัตราการไหลของน�า้ ท่าสูงสุดในรอบปีเฉลีย่ 1,127.95 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที มีคา่ เบีย่ งเบน มาตรฐาน 606.16 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ฐานข้อมูลบันทึกทีเ่ ป็นตัวเลขแสดงไว้ใน ตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงฐานข้อมูลอัตราการไหลของน�้าท่าสูงสุดในรอบปีบันทึกที่เป็นตัวเลข

3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์แสดงเป็นสี่ส่วน ส่วนแรกเป็นผลลัพธ์ของวิธีการพล็อตกราฟและต่อยอดข้อมูล ด้วยมือ ส่วนที่สองเป็นผลลัพธ์ของวิธีการเชิงประสบการณ์แบบไวบูลและต่อยอดข้อมูลด้วยสมการ ถดถอย ส่วนที่สามเป็นผลลัพธ์ของวิธีการเชิงวิเคราะห์แบบกัมเบลและต่อยอดข้อมูลด้วยสมการ ถดถอย ส่วนสุดท้ายเป็นผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบระหว่างวิธกี ารเชิงประสบการณ์แบบไวบูล กับ วิธีการเชิงวิเคราะห์แบบกัมเบล ตามรายหัวข้อ ดังนี้

51


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

3.1 คาบรอบปีการอุบัติซ�้าด้วยวิธีการพล็อตกราฟและต่อยอดข้อมูลด้วยมือ (Return Period of Extreme Runoff with Graphical Method)

ผลลัพธ์ของวิธีการพล็อตกราฟและต่อยอดข้อมูลด้วยมือ แสดงผลลัพธ์ด้วยกราฟสองรูป คือ รูปที่ 3 รูปที่ 4 แสดงการพล็อตกราฟทั้งแบบเรียงล�าดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก (Ascending) และจากมากไปหาน้อย (Descending) และรูปที่ 5 รูปที่ 6 แสดงการพล็อตกราฟพร้อมการต่อ ยอดข้อมูลด้วยมือ เพื่อให้ครอบคลุมคาบรอบปีการอุบัติที่ต้องการ พร้อมทั้งการเรียงล�าดับข้อมูล ในสองแบบ Return Period by Graphical Method

Return Period by Graphical Method

10000

2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

10000 2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

2 Yrs.

2 Yrs. 10 Yrs.

Runoff (cms.)

Runoff (cms.)

10 Yrs. 50 Yrs.

1000

50 Yrs.

1000

100 yrs. 500 Yrs.

100 yrs. 500 Yrs.

1000 Yrs. 100

1000 Yrs.

Plotting 1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

100

0.0001

Plotting 1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

0.0001

รูปที่ 3 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบัติของน�้าหลาก รูปที่ 4 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ องน�า้ แล้ง หรือ หรือแบบเรียงล�าดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก (Ascending) แบบเรียงล�าดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย (descending) Return Period by Graphical Method

Return Period by Graphical Method

2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

2 Yrs. 10 Yrs.

50 Yrs.

50 Yrs.

Runoff (cms.)

10 Yrs. 100 yrs.

1000

2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

10000

2 Yrs.

Runoff (cms.)

10000

500 Yrs. 1000 Yrs.

100 yrs.

1000

500 Yrs. 1000 Yrs. Plotting

Plotting 100

Extrapolate 1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

100

0.0001

Extrapolate 1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

0.0001

รูปที่ 5 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ องน�า้ หลาก รูปที่ 6 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ องน�า้ แล้ง พร้อมการต่อยอดข้อมูลด้วยมือ (Extrapolated by Hand) พร้อมการต่อยอดข้อมูลด้วยมือ (Extrapolated by Hand) หรือ แบบเรียงล�าดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก (Ascending) หรือ แบบเรียงล�าดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย (Descending)

3.2 คาบรอบปีการอุบตั ซิ า�้ ด้วยวิธเี ชิงประสบการณ์แบบไวบูล (Return Period of Extreme Runoff with Empirical Method - Weibull Plotting Position)

ผลลัพธ์ของวิธีเชิงประสบการณ์ และต่อยอดข้อมูลด้วยสมการถดถอย แสดงผลลัพธ์ด้วย กราฟสองรูป คือ รูปที่ 7 และ รูปที่ 8 แสดงการพล็อตกราฟทั้งสองแบบ คือแบบ Ascending และ Descending และผลลัพธ์เป็นตัวเลขใน ตารางที่ 2 และ ตารางที่ 3 52


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

Runoff (cms.)

Return Period by Weibull Plotting Position

1000

100

y = 18162x5 - 48299x4 + 42340x3 - 11008x2 - 3493.5x + 2601.6 R² = 0.9948 1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

2 Yrs. 10 Yrs. 50 Yrs. 100 yrs. 500 Yrs. 1000 Yrs. Empirical[Weibull] Extrapolate Poly. (Empirical[Weibull])

0.0001

10000 2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

y = -18162x5 + 42509x4 - 30761x3 + 7834.9x2 + 877.35x + 302.57 R² = 0.9948

Runoff (cms.)

Return Period by Weibull Plotting Position

2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

10000

2 Yrs. 10 Yrs. 50 Yrs. 100 yrs.

1000

500 Yrs. 1000 Yrs. Plotting Extrapolate

100

1

รูปที่ 7 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ อง น�า้ หลาก ด้วย รูปที่ 8 วิธเี ชิงประสบการณ์ พร้อมการต่อยอดข้อมูลด้วยสมการ ถดถอย (Extrapolated by Regression) แบบเรียงล�าดับ ข้อมูลจากน้อยไปหามาก (Ascending)

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

0.0001

Poly. (Plotting)

แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ อง น�า้ แล้ง ด้วยวิธเี ชิงประสบการณ์ พร้อมการต่อยอดข้อมูลด้วย สมการถดถอย (Extrapolated by Regression) แบบเรียงล�าดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย (Descending)

เมือ่ ได้ผลลัพธ์คา่ คาบรอบปีการอุบตั ซิ า�้ เรียงล�าดับทัง้ สองแบบ คือแบบน้อยไปหามาก และ แบบมากไปหาน้อย ขัน้ ตอนต่อไปคือการหาค่าความสัมพันธ์เป็นสมการตัวแทน ประเภทของสมการ ตัวแทนทีใ่ ห้คา่ Coefficient of Determination ที ่ 0.9948 หรือมากเข้าสูค่ า่ 1 มากทีส่ ดุ คือสมการ ตัวแทนประเภท Polynomial 5th Order มีสมการตัวแทน ดังนี้ สมการตัวแทนประเภท Polynomial 5th Order แทนความสัมพันธ์แบบน้อยไปหามาก หรือตัวแทนคาบรอบปีการอุบัติซ�้าส�าหรับน�้าหลาก

y = 18162x5 – 48299x4 + 42340x3 – 11008x2 - 3493.5x + 2601.6 (4)

สมการตัวแทนประเภท Polynomial 5th Order แทนความสัมพันธ์แบบมากไปหาน้อย หรือตัวแทนคาบรอบปีการอุบัติซ�้าส�าหรับน�้าแล้ง

y = -18162x5 + 42509x4 – 30761x3 + 7834.9x2 + 877.35x + 302.57 (5)

โดยที่ x = ค่าความน่าจะเป็นของคาบรอบปีการอุบัติ ในรอบปีที่ก�าหนด y = อัตราการไหลของน�้าท่าที่คาบรอบปีการอุบัติที่ค�านวณได้ในรอบปีที่ก�าหนด

53


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตารางที่ 2 แสดงผลลัพธ์เป็นตัวเลขของวิธีเชิงประสบการณ์แบบไวบูล แบบเรียงล�าดับข้อมูล จากน้อยไปหามาก (Ascending)

54


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

ตารางที่ 3 แสดงผลลัพธ์เป็นตัวเลขของวิธีเชิงประสบการณ์แบบไวบูล แบบเรียงล�าดับข้อมูล จากมากไปหาน้อย (Descending)

55


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าหลากแสดงดัง ตารางที่ 4 และมีผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าแล้งแสดงดัง ตารางที่ 5 ดังนี้ ตารางที่ 4 ผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าหลาก ด้วยวิธีเชิง ประสบการณ์ (Empirical Method)

ตารางที่ 5 ผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าแล้ง ด้วยวิธีเชิง ประสบการณ์ (Empirical Method)

3.3 คาบรอบปีการอุบตั ซิ า�้ ด้วยวิธเี ชิงวิเคราะห์แบบกัมเบล (Return Period of Extreme Runoff with Analytical Method – Gumbel Distribution)

ผลลัพธ์ของวิธีเชิงวิเคราะห์ และต่อยอดข้อมูลด้วยสมการถดถอย แสดงผลลัพธ์ด้วยกราฟ สองรูป คือ รูปที่ 9 และ รูปที่ 10 แสดงการพล็อตกราฟทั้งสองแบบ คือแบบ Ascending และ Descending และผลลัพธ์เป็นตัวเลขใน ตารางที่ 6 และ ตารางที่ 7 56


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง Return Period by Gumbel Analytical Method

Return Period by Gumbel Analytical Method

Runoff (cms.)

1000

100

y = -23930x5 + 65829x4 - 70476x3 + 36982x2 - 11015x + 2740.8 R² = 0.9996 1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

2 Yrs. 10 Yrs. 50 Yrs. 100 yrs. 500 Yrs. 1000 Yrs. Gumbel Method Extrapolate Poly. (Gumbel Method)

0.0001

2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

10000

y = 23930x5 - 53823x4 + 46463x3 - 18774x2 + 4813.3x + 130.96 R² = 0.9996 Runoff (cms.)

2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

10000

1000

100

1

รูปที่ 9 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ อง น�า้ หลาก ด้วย รูปที่ 10 วิธเี ชิงวิเคราะห์ พร้อมการต่อยอดข้อมูลด้วยสมการถดถอย (Extrapolated by Regression) แบบเรียงล�าดับข้อมูลจาก น้อยไปหามาก (Ascending)

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

2 Yrs. 10 Yrs. 50 Yrs. 100 yrs. 500 Yrs. 1000 Yrs. Gumbel Method Extrapolate Poly. (Gumbel Method)

0.0001

แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั ขิ อง น�า้ แล้ง ด้วยวิธเี ชิงวิเคราะห์ พร้อมการต่อยอดข้อมูลด้วย สมการถดถอย (Extrapolated by Regression) แบบเรียงล�าดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย (Descending)

เมื่อได้ผลลัพธ์ค่าคาบรอบปีการอุบัติซ�้าเรียงล�าดับทั้งสองแบบ คือ แบบน้อยไปหามาก และแบบมากไปหาน้อย ขั้นตอนต่อไปคือการหาค่าความสัมพันธ์เป็นสมการตัวแทน ประเภทของ สมการตัวแทนที่ให้ค่า Coefficient of Determination ที่ 0.9996 หรือมากเข้าสู่ค่า 1 มากที่สุด คือสมการตัวแทนประเภท Polynomial 5th Order มีสมการตัวแทน ดังนี้ สมการตัวแทนประเภท Polynomial 5th Order แทนความสัมพันธ์แบบน้อยไปหามาก หรือตัวแทนคาบรอบปีการอุบัติซ�้าส�าหรับน�้าหลาก

y = -23930x5 + 65829x4 – 70476x3 + 36982x2 – 11015x + 2740.8 (6)

สมการตัวแทนประเภท Polynomial 5th Order แทนความสัมพันธ์แบบมากไปหาน้อย หรือตัวแทนคาบรอบปีการอุบัติซ�้าส�าหรับน�้าแล้ง

y = 23930x5 – 53823x4 + 46463x3 – 18774x2 + 4813.3x + 130.96 (7)

โดยที่ x = ค่าความน่าจะเป็นของคาบรอบปีการอุบัติ ในรอบปีที่ก�าหนด y = อัตราการไหลของน�้าท่าที่คาบรอบปีการอุบัติที่ค�านวณได้ในรอบปีที่ก�าหนด ผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าหลากแสดงดัง ตารางที่ 8 และมีผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าแล้งแสดงดัง ตารางที่ 9 ดังนี้ 57


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตารางที่ 6 แสดงผลลัพธ์เป็นตัวเลขของวิธเี ชิงวิเคราะห์แบบกัมเบล ส�าหรับน�า้ หลาก แบบเรียง ล�าดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก (Ascending)

58


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

ตารางที่ 7 แสดงผลลัพธ์เป็นตัวเลขของวิธีเชิงวิเคราะห์แบบกัมเบล ส�าหรับน�้าแล้ง แบบเรียง ล�าดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย (Descending)

59


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตารางที่ 8 ผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าหลาก ด้วยวิธีเชิง วิเคราะห์ (Analytical Method)

ตารางที่ 9 ผลลัพธ์การค�านวณคาบรอบปีการอุบัติเป็นตัวเลข ส�าหรับน�้าแล้ง ด้วยวิธีเชิง วิเคราะห์ (Analytical Method)

ผลลัพธ์ของวิธีเชิงประสบการณ์ แสดงด้วยเส้นประ ส่วนวิธีเชิงวิเคราะห์ แบบกัมเบลแสดงด้วยเส้นทึบ ทั้งน�้าหลาก และน�้าแล้ง ดังแสดงในรูปที่ 11

Return Period Compare with Empirical and Analytical Method

10000 2 Yrs 10 Yrs 50 Yrs 100 Yrs 500 Yrs 1000 Yrs

2 Yrs. 10 Yrs.

Runoff (cms.)

3.4 การเปรียบเทียบคาบรอบปีการ อุบตั ซิ า�้ ด้วยวิธวี ธิ เี ชิงประสบการณ์ กับเชิงวิเคราะห์แบบกัมเบล

50 Yrs. 1000

100 yrs. 500 Yrs.

100

1

0.1

0.01

0.001

Exceedance Probability

0.0001

รูปที่ 11 แสดงการพล็อตกราฟคาบรอบปีการอุบตั เิ ปรียบเทียบด้วย วิธเี ชิงประสบการณ์ กับ วิธเี ชิงวิเคราะห์พร้อมการต่อยอด ส�าหรับน�า้ หลาก และน�า้ แล้งในกราฟเดียวกัน

60


คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าหลากและน�้าแล้ง

4. การอภิปราย คาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าท่า นับเป็นเกณฑ์จากการอนุมานในโอกาสการเกิดขึ้นของ น�้าท่า การอนุมานนี้ได้ข้อสารสนเทศมาจากฐานข้อมูลที่บันทึกไว้ พฤติกรรมของการเกิดซ�้าของ น�า้ ท่ามีลกั ษณะการกระจายตัว ของความน่าจะเป็นแบบระฆัง คว�่า หมายความว่าโอกาสที่ จะเกิดน�้าท่าน้อยๆ หรือมากๆ มีโอกาสน้อย แต่โอกาสที่จะ เกิดน�้าท่าใกล้เคียงค่าเฉลี่ยมี โอกาสมาก แต่เนื่องจากการ เกิดน�้าท่าขึ้นอยู่กับปัจจัยน�้า ฝน (Precipitation) เป็นหลัก รูปที่ 12 แสดงการกระจายตัวของโอกาสความน่าจะเป็น (Probability Density Function: PDF) เปรียบเทียบกับคาบรอบปีการอุบตั ซิ า�้ ของน�า้ ท่า พืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ (Watershed) และ ลักษณะแอ่งของลุ่มน�้า (Basin) ลักษณะทางกายภาพของดิน พืชคลุมดิน ฯลฯ ดังนั้น ลักษณะ การกระจายตัวของความน่าจะเป็นของน�้าท่าแบบระฆังคว�่าแบบล็อกการิทึม หรือแบบ NormalLogarithm Curve หมายถึงหาก Take Log ในข้อมูลแล้ว การกระจายตัวจะใกล้เคียงกับรูประฆัง คว�่ามากขึ้น แสดงดังรูปที่ 12 เป็นการน�าเอา Histogram ของน�้าท่า แกนราบคืออัตราการไหลของ น�า้ ท่าแกนตัง้ คือโอกาสความน่าจะเป็น พืน้ ทีข่ องกราฟแท่งจะมีผลรวมเท่ากับ 1 หรือกราฟแสดงการ กระจายตัวของโอกาสความน่าจะเป็น (Probability Density Function: PDF) มาเปรียบเทียบเข้า กับคาบรอบปีการอุบัติซ�้าของน�้าท่า หางของกราฟทั้งสองด้าน คือทั้งด้านน้อย และทั้งด้านมาก จะ เป็นความน่าจะเป็นในโอกาสการเกิดขึ้นของน�้าท่าสุดโต่งทั้งสองทาง ส่วนมากจะเห็นการวิเคราะห์ ทางด้านมาก ในงานวิจยั นีไ้ ด้สาธิตการวิเคราะห์เพือ่ อนุมานคาบรอบปีการอุบตั ซิ า�้ ของน�า้ ท่าทัง้ สองด้าน

5. สรุป วิธีการหาคาบรอบปีการอุบัติซ�้าของฝนทั้งในด้านน�้าหลาก และในด้านน�้าแล้ง สามารถ เลือกใช้วิธีพล็อตกราฟ (Graphical Method) หรือวิธีเชิงประสบการณ์ (Empirical Method with Plotting Position) และวิธีวิเคราะห์ด้วยแนวทางการใช้สมการตัวแทน (Analytical Method with Function) พบว่าสามารถใช้ก�าหนดคาบรอบปีการอุบัติซ�้าของฝนได้ทั้งในด้านน�้าหลากมาก (Extreme Event) และในด้านน�า้ แล้ง (Slight Event) ได้โดยมีขอ้ ดี ข้อด้อยแตกต่างกัน วิธ ี Graphical Method มีข้อดีคือ สามารถสร้างได้ง่าย โดยเพียงแค่น�าข้อมูลมาพล็อตในกราฟเท่านั้น ข้อ ด้อย คือการลากต่อยอดจากข้อมูลรอบปีคาบการอุบัติ การมีความผิดพลาดสูง ส่วนวิธี Empirical 61


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

Method ข้อดีเช่นเดียวกับวิธีพล็อตกราฟ และสามารถลบข้อด้อยโดยการน�าสมการถดถอยมาใช้ ในการอนุมานการลากต่อยอดจากข้อมูลรอบปีคาบการอุบัติแทนการลากด้วยมือ แต่มีข้อด้อย คือ เป็นการใช้ประโยชน์จากข้อมูลแบบบันทึกหรือแบบตัวอย่าง หรือข้อมูลแบบ Sample ในทางสถิติ ส่วนวิธ ี Analytical Method มีขอ้ ดีคอื สามารถน�าสมการถดถอยมาใช้ในการอนุมานการลากต่อยอด จากข้อมูลรอบปีคาบการอุบัติแทนการลากด้วยมือ เป็นการใช้ประโยชน์จากข้อมูลแบบบันทึกหรือ แบบประชากร หรือข้อมูลแบบ Population ในทางสถิติ ข้อด้อย คือ ข้อจ�ากัดจ�านวนของข้อมูลที่ จะต้องมีมากจ�านวนหนึ่งจึงสามารถเชื่อมั่นในวิธีนี้ได้ ในกรณีศึกษากับข้อมูลน�้าท่าสถานี Y14 ลุ่มน�้ายม พบว่าวิธี Analytical Method และ ค้นหาสมการตัวแทนด้วยวิธี Regression ด้วยสมการ 5th order Polynomial เพื่อมาต่อยอดฐาน ข้อมูล (Extrapolation) เป็นวิธีที่ให้ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ 0.9996 เข้าใกล้ค่า 1 มากที่สุด ซึ่ง หมายถึงมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด

เอกสารอ้างอิง 1. Beard, L. R. 1962. “Statistical Methods in Hydrology,” U.S. Army Corps of Engineers, Civil Works Project CW-151. 2. Benjamin, J. R., and Cornell, C. A. 1970. “Probability, Statistics, and decision for Civil Engineer,” McGraw-Hill, New York. 3. Benson, M. A. 1962. “Plotting Positions and Economics of Engineering Planning,” SCE, Journal of the Hydraulics Division, November, No.88, pp. 57-71. 4. Dalrymple, T. 1964 “Flood Characteristics and Flow Determination,” Handbook of Applied Hydrology, ed. V. T. Chow, McGraw-Hill, New York. 5. Gumbel, E. J. 1945. “Floods Estimated by the Probability Method,” Engineering News Record Journal 134, pp. 836-837. 6. Scott J. Armstrong, and Fred Collopy, 1993. “Causal Forces: Structuring Knowledge for Time-series Extrapolation,” Journal of Forecasting 12: 103–115. 7. Sokolov, A. A., Rantz, S. E., and Roche, M., 1976. “Floodflow Computation: Methods Compiled from World Experience, Studies and Reports in Hydrology, No.22 UNESCO, Paris. 8. Steel, R.G.D, and Torrie, J. H. 1960. “Principles and Procedures of Statistics with Special Reference to the Biological Sciences” McGraw-Hill, New York.

62




โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

Regional Low-Flow Frequency Curves for Ping, Wang, Yom, and Nan River Basins ดร.ปิยะวัฒน์ วุฒิชัยกิจเจริญ1 ธวิช บูรณธนิต2

บทคัดย่อ บทความนีไ้ ด้เสนอเส้นโค้งความถีไ่ ร้มติ เิ ชิงภูมภิ าค โดยใช้ทฤษฎีแจกแจงแกมมาสองพารามิเตอร์ ส�าหรับประมาณค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วง 7, 14, 30, 60, 90 และ 180 วันที่คาบการ เกิดซ�้าใด ๆ ณ จุดใด ๆ ในพื้นที่ลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน โดยการคัดเลือกสถานีวัดน�้าท่าจ�านวน 80 สถานี ทั่วพื้นที่ศึกษา ที่ไม่มีอิทธิพลจากการสร้างเขื่อน มีความยาวข้อมูลระหว่าง 7-65 ปี มาใช้ ในการวิเคราะห์ โดยได้แบ่งพื้นที่ศึกษาออกเป็น 10 พื้นที่ย่อยที่มีความคล้ายคลึงเชิงอุตุ-อุทกวิทยา จากการศึกษาพบว่า สามารถใช้โค้งความถี่ไร้มิติเพียงเส้นเดียว ในแต่ละพื้นที่ย่อย เป็นตัวแทน ในการวิเคราะห์หาค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดส�าหรับทุกช่วงเวลาได้ และจากการทดสอบความ ถูกต้องของวิธีการใช้โค้งความถี่ไร้มิติเชิงภูมิภาค พบว่าวิธีนี้จะมีความแม่นย�า ส�าหรับการประเมิน ค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุด ในช่วงเวลาไม่เกิน 30 วัน ต�่าสุด 1 2

ค�าส�าคัญ : การวิเคราะห์ความถี,่ อัตราการไหลต�า่ สุดเชิงภูมภิ าค, โค้งความถีอ่ ตั ราการไหล

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ piyawat@rmutl.ac.th ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

65


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1. บทน�า ในการวางแผนพัฒนาแหล่งน�้าหลายประเภท จ�าเป็นต้องใช้ข้อมูลปริมาณน�้าไหลน้อย ในล�าน�้า ซึ่งมีความส�าคัญต่อการวางแผนการจัดหาน�้าเพิ่มเติม เพื่อกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลที่ใช้ได้ แก่ ขนาดอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วงระยะเวลาที่พิจารณา และความถี่ของการเกิดที่ก�าหนด เช่น อัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วง 7 วัน ซึ่งมีรอบปี 10 ปี (7Q10) มีความส�าคัญในการประเมิน สภาพมลพิษในแหล่งน�า้ อีกทัง้ ยังถูกใช้เป็นดัชนีทใี่ ช้ประเมินความแปรเปลีย่ นของปริมาณน�า้ ท่าจาก ผลกระทบของเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ [1] ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ได้มาจากการ วิเคราะห์ความถี่ ข้อมูลน�้าท่ารายวันซึ่งน�ามา จัดเป็นอนุกรมอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วง ระยะเวลาต่าง ๆ เช่น 7 วัน 14 วัน 30 วัน เป็นต้น ส�าหรับประเทศไทย ข้อมูลน�้าท่าจะมี การตรวจวัดไว้เฉพาะทีส่ ถานีวดั น�า้ ท่าบริเวณทีม่ ี การคมนาคมเข้าถึง และมักอยู่ในพื้นที่ตอนล่าง ของลุม่ น�า้ และมีจา� นวนจ�ากัดและไม่กระจายทัว่ ครอบคลุมทัง้ พืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ดังนัน้ จึงมีความจ�าเป็น จะต้องมีวิธีการที่จะประเมินหาขนาดอัตราการ ไหลเฉลี่ยต�่าสุดของช่วงเวลาใดๆ ที่รอบปีการ เกิดใด ๆ ณ จุดใด ๆ ที่ต้องการในลุ่มน�้าที่ไม่มี ข้อมูลการวัดน�้าท่า วิธีการหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก คือ การวิเคราะห์อตั ราการไหลต�า่ สุดเชิงภูมภิ าค (Regional Low-Flow Analysis) ซึ่งเป็นการ น�าข้อมูลอัตราการไหลต�่าสุดที่สังเคราะห์ไว้ รูปที่ 1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษา จากสถานีวัดน�้าท่าที่อยู่รอบ ๆ บริเวณใกล้เคียง ที่มีความคล้ายคลึงเชิงอุทกวิทยามาท�าการวิเคราะห์ความถี่ แล้วท�าการเคลื่อนย้ายข้อมูลไปยังจุด ใด ๆ ที่ต้องการ การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาการวิเคราะห์อัตราการไหลต�่าสุดเชิงภูมิภาค ส�าหรับลุ่มน�้าปิง วัง ยม และน่าน ซึ่งเป็นลุ่มน�้า มีความส�าคัญ และเป็นแหล่งอู่ข้าวอู่น�้าของประเทศไทย ดังแสดงใน รูปที่ 1

66


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

2. วิธีการศึกษา การศึกษาครัง้ นีไ้ ด้ทา� การศึกษาอัตราการไหลต�า่ สุดเชิงภูมภิ าคส�าหรับลุม่ น�า้ ปิง วัง ยม และ น่าน โดยเริม่ ต้นจากการเก็บรวบรวมข้อมูลน�า้ ท่ารายวัน ทีส่ ะท้อนลักษณะธรรมชาติ (ไม่มผี ลกระทบ จากการผันน�้า เช่นเขื่อน เป็นต้น) พร้อมกับการเก็บรวบรวมข้อมูลทางกายภาพของสถานีวัดน�้าท่า ที่มีผลต่ออัตราการไหลในแม่น�้า ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ ได้พิจารณาขนาดพื้นที่รับน�้า (A) มีหน่วยเป็น ตารางกิโลเมตร, ความยาวตามล�าน�้าสายหลัก (L) มีหน่วยเป็นกิโลเมตร, ความยาวของล�าน�้าสาย หลักที่วัดตามแนวล�าน�้าจากจุดออกไปจนถึงจุดบนล�าน�้าที่ใกล้กับจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ลุ่มน�้ามาก ที่สุด (LC) มีหน่วยเป็นกิโลเมตร, ความลาดชันตามล�าน�้าสายหลัก (S) มีหน่วยเป็นค่าร้อยละ และ ค่าตัวแปรทางธรณีวิทยา (SOIL) ซึ่งใช้ค่าอัตราซึมผ่านน�้าผ่านผิวดินต�่าที่สุด มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร ต่อชั่วโมง จากนั้นท�าการสังเคราะห์เป็นอนุกรมอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วง 7, 14, 30, 60, 90 และ 180 วัน เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ความถี่ ส�าหรับทฤษฎีแจกแจงความถี่ที่ใช้ในการศึกษา ครัง้ นี ้ ได้แก่ทฤษฎีทฤษฎีแกมมาสองพารามิเตอร์ ประมาณค่าพารามิเตอร์โดยวิธคี วามน่าจะเป็นได้ สูงสุด ซึ่ง เป็นผลการศึกษาของ พงษ์พันธ์ วุฒิชัยกิจเจริญ [2] ที่ได้เสนอว่าทฤษฎีนี้มีความเหมาะ สมกับข้อมูลอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในพื้นที่ศึกษามากที่สุด จากการประเมินโดยใช้ทฤษฎี โดยวิธี ทดสอบ แบบไคสแควร์ โคลโมโกรอฟ-สเมอรนอฟ และ วิธีก�าลังสองน้อยที่สุด ข้อมูลที่ใช้ทดสอบ คืออนุกรมอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วง 7 วัน และ 30 วัน จากสถานีตัวแทนในพื้นที่ลุ่มน�้า ปิง วัง ยม น่านจ�านวน 23 สถานี ส�าหรับในกรณีที่มีข้อมูลที่เป็นศูนย์รวมอยู่ด้วย การศึกษาครั้งนี้จะใช้ ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข (Conditional Probability) [5,6,7] ในการวิเคราะห์ข้อมูล จากนั้นท�าการวิเคราะห์อัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วงเวลาต่าง ๆ ของทุกสถานีที่คัดเลือกในพื้นที่ ศึกษา ขั้นตอนสุดท้ายคือวิธีการหาค่าอัตราไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วงเวลาต่าง เชิงภูมิภาค ซึ่งในการ ศึกษาครั้งนี้ ได้ท�าการเสนอวิธีกาสร้างโค้งความถี่ไร้มิติเชิงภูมิภาค ทฤษฎีและวิธีการวิเคราะห์โดย สังเขป มีดังต่อไปนี้ 2.1 ทฤษฎีแกมมาสองพารามิเตอร์ ทฤษฎีแกมมาสองพารามิเตอร์ก็คือทฤษฎีเพียรซัน ที่พิจารณาให้ค่าขีดจ�ากัดล่างมีค่าเป็น ศูนย์ โดยฟังก์ชันความหนาแน่นความน่าจะเป็นของทฤษฎีนี้แกมมาสองพารามิเตอร์ คือ [8] b−1

x   x  f(x) = 1   exp  −    aΓ(b)  a    a 

เมื่อ a คือ b คือ

พารามิเตอร์ขนาด (Scale Parameter) พารามิเตอร์รูปร่าง (Shape Parameter) 67

(1)


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

การประมาณค่าพารามิเตอร์โดยวิธีความน่าจะเป็นได้สูงสุดมีวิธีการดังต่อไปนี้ ล็อกการริทึมฟังก์ชันความน่าจะเป็นได้สูงสุดของสมการ (1) คือ

ln L = −n ln Γ(b) − nb ln a + (b − 1) ∑ ln x i − 1 ∑ x i

หาค่าอนุพันธ์ย่อยของสมการ (2) กับค่า a และ b แล้วให้เท่ากับศูนย์ จะได้

n

n

nb 1 a + a 2

n

∑ x

0 =

−n Ψ (b) − n ln a + ∑ ln x i = 0

จากสมการ (3) และ (4) จะได้

−n Ψ (b) − n ln 

i =1

i

n

i =1

(2)

a i =1

i =1

(3)

(4)

(5)

 1 n  n 0 x i  + ∑ ln x i = ∑  bn i =1  i =1

การหาค�าตอบสมการ (5) จะท�าได้ยาก ถึงแม้จะใช้วิธีการเชิงตัวเลขก็ตาม เพราะผลการ ค�านวณมักจะลู่ออกจากค�าตอบ มีผู้เสนอวิธีแก้ปัญหานี้อยู่มากมาย ในการศึกษาครั้งนี้ได้เลือกวิธี การที่มีการใช้งานมาก นั่นคือวิธีของ Thom [9] (Thom’s Maximum Likelihood Procedure) มีสมการค�านวณดังนี้ b

=

เมื่อ

A

=

และ

a

=

1 + 1 + 4A / 3 4A ln x − ln x

(6)

(7)

µ x b

(8)

เมื่อประมาณค่าพารามิเตอร์ได้แล้ว สามารถประมาณค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุด [8] โดย วิธีการดังนี้พิจารณาฟังก์ชันความน่าจะเป็นสะสมของทฤษฎีแกมมา คือ

F(x) =

ให้ค่า

y

จะได้

F(y) =

=

1 ∫ox0 exp  −  x    x  aΓ(b)   a   a  x a 1 y0 (b−1) y exp( − y) dy Γ(b) ∫0

68

b−1

dx

(9) (10) (11)


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

Abramowitz และ Stegun [10] ได้เสนอว่า F(y) = F(c 2 n)

(12)

เมื่อ F(c2 n) คือ ฟังก์ชันความน่าจะเป็นสะสมของการแจกแจงความถี่แบบไคสแควร์ โดยที่ค่า c2 =2y มีองศาความอิสระ (n) เท่ากับ 2b ดังนั้นจากสมการ (10) จะหาขนาดอัตรา การไหลได้จากสมการ c2a x = (13) 2

โดยที่ค่า c ที่ F(x) และองศาความอิสระใด ๆ สามารถประมาณได้จากความสัมพันธ์ของ ตัวแปรปกติมาตรฐาน ดังนี้ [10] 2

3

  c ≈ n 1 − 2 + z 2  9n   9n

จากสมการ (13) และสมการ (14) จะได้

ดังนัน้ เมือ่ ทราบค่า a และ b ก็สามารถหาค่าอัตราการไหลทีค่ า่ F(x) ใด ๆ ได้ เมือ่ F(x) = T

2

x

(14)

3

 1 1  = ab 1 − 9b + z 9b   

(15) 1

2.2 การวิเคราะห์ความถี่ในกรณีที่มีข้อมูลที่เป็นศูนย์รวมอยู่ด้วย

การวิเคราะห์ความถี่ของอัตราการไหลต�่าสุด มักจะมีข้อมูลที่เป็นศูนย์รวมอยู่ด้วยเสมอ เนื่องจากบางลุ่มน�้ามีขนาดพื้นที่รับน�้าน้อย ท�าให้ในบางช่วงในฤดูแล้งไม่มีน�้าไหล ปัญหาที่จะพบ ในกรณีที่ในการวิเคราะห์ความถี่ก็คือ ทฤษฎีแกมมาต้องท�าการแปลงข้อมูลเป็นค่าล็อกการิทึม ใน กรณีที่ต้องการหาค่าพารามิเตอร์โดยใช้วิธีความน่าเป็นได้สูงสุด ดังนั้นวิธีการวิเคราะห์ความถี่จึง ต้องใช้วิธีที่แตกต่างจากวิธีปกติ วิธีที่จะใช้วิเคราะห์ความถี่ในกรณีที่มีข้อมูลเป็นศูนย์รวมอยู่ด้วยมี อยู่หลายวิธี เช่น การบวกค่าน้อย ๆ ให้กับข้อมูลทุกตัว เพื่อไม่ให้มีค่าเป็นศูนย์ วิธีนี้ไม่ดีเพราะท�าให้ ค่า เฉลี่ยของข้อมูลเปลี่ยนไป หรือการแทนที่ข้อมูลที่เป็นศูนย์โดยใช้ค่า 1.0 (เพื่อให้ค่าล็อกการิทึม มีคา่ เท่ากับศูนย์) หรือการตัดข้อมูลทีเ่ ป็นศูนย์ทงั้ หมดออก สองวิธหี ลังก็ไม่ดเี พราะว่าท�าให้คา่ ความ แปรปรวนของข้อมูลมีคา่ เปลีย่ นไป [3] วิธที ดี่ ี และน่าเชือ่ ถือทีส่ ดุ คือวิธคี วามน่าจะเป็นแบบมีเงือ่ นไข (Conditional Probability) ซึง่ เป็นวิธที มี่ พี ื้นฐานอยูบ่ นหลักความน่าจะเป็นทัง้ หมด (Total Probability) ซึ่งมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย สมการของความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไขมีดังนี้ [11]

69


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย ≥ X ) = 0)prob(x =+ prob(x prob(x ≥ X x = 0) prob(x ≥ X x ≠ 0) prob(x ≠ 0) (16) เมื่อ prob(x ≥ X ) คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์มากกว่าค่าทีก่ า� หนด prob(x = 0) คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์เท่ากับศูนย์ prob(x ≠ 0) คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ไม่เท่ากับศูนย์ prob(x ≥ X T x = 0) คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์มากกว่าค่าทีก ่ า� หนด ในขณะที่เหตุการณ์เท่ากับศูนย์เกิดขึ้น prob(x ≥ X T x ≠ 0) คือความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์มากกว่าค่าทีก ่ า� หนด ในขณะที่เหตุการณ์ไม่เท่ากับศูนย์เกิดขึ้น 0) จะไม่มีโอกาสเกิด นั่นคือมีค่าเท่ากับศูนย์ สมการ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า prob(x ≥ X T x = (16) จะได้ว่า prob(x ≥ X T )= prob(x ≥ X T x ≠ 0) prob(x ≠ 0) (17) ค่า prob(x ≠ 0) จะหาได้จากผลหารของจ�านวนข้อมูลที่ไม่เป็นศูนย์ด้วยจ�านวนข้อมูล ทัง้ หมด ส่วนค่า prob(x ≥ X T x ≠ 0) จะหาได้จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ม่เป็นศูนย์ดว้ ยวิธปี กติ ถ้า น�าสมการ (16) มาเขียนใหม่โดยพิจารณาเป็นค่าความน่าจะเป็นสะสม (Cumulative Probability) P(x ≤ X T ) จะได้ว่า T

T

T

T

(18) (19) หรือ เมื่อ P(x ≤ X T ) คือ ความน่าจะเป็นสะสม ในกรณีที่พิจารณาข้อมูลทั้งหมด P* (x ≤ X T ) คือ ความน่าจะเป็นสะสม ในกรณีที่ไม่พิจารณาข้อมูลที่เป็นศูนย์ และ F คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ไม่เท่ากับศูนย์ P(x ≠ X T ) นัน่ คือจ�านวน ข้อมูลที่ไม่เท่ากับศูนย์หารด้วยจ�านวนข้อมูลทั้งหมด (Fraction of Non-Zero Value) ดังสมการ 1 − P(x ≤ X T ) = F 1 − P* (x ≤ X T )  P(x ≤ X T ) = 1 − F + F P* (x ≤ X T )

F

(n ≠ 0) = ∑∑ (n)

(20)

2.3 การสร้างโค้งความถี่ไร้มิติส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุดเชิงภูมิภาค

วิธโี ค้งความถีไ่ ร้มติ เิ ชิงภูมภิ าคในการศึกษาครัง้ นี ้ เป็นวิธกี ารทีด่ ดั แปลงมาจากการวิเคราะห์ ความถี่น�้าท่วมของ Dalrymple [12] เรียกว่าวิธีดัชนีน�้าท่วม (Index - Flood Method) และวิธี ดัชนีอัตราการไหลต�่าสุด (Low-Flow Index) ที่ Tucci [13] ได้ท�าการศึกษาไว้ ซึ่งในการศึกษาครั้ง นี้ ได้ท�าการประยุกต์วิธีดังกล่าว มาใช้วิเคราะห์อัตราการไหลต�่าสุด ในพื้นที่ศึกษา การสร้างโค้ง ความถี่ไร้มิติในการศึกษาครั้งนี้ มีตัวแปรที่จะต้องใช้ในการวิเคราะห์ดังนี้ Q คือ ค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วงเวลา และคาบการเกิดซ�้าใด ๆ Qmean คือ ค่าเฉลีย่ ของอนุกรมอัตราการไหลต�า่ สุดในช่วงเวลาใด ๆ โดยไม่พจิ ารณาข้อมูลที่ เป็นศูนย์ (ค่าอัตราการไหลดัชนี) 70


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

P คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์มากกว่าค่าที่ก�าหนด Pmax คือ ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์มากกว่าค่าทีก่ า� หนด ทีค่ า่ อัตราการไหลไร้มติ ิ (Q/Qmean ) เท่ากับ 0.01 (ซึ่งถือว่ามีค่าน้อยมากใกล้เคียงศูนย์) ในการศึกษาครั้งนี้ได้ท�าการสร้างโค้งความถี่ไร้มิติ ขึ้นมาจากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ไม่เป็น ศูนย์เท่านั้น กล่าวคือ ส�าหรับสถานีที่มีข้อมูลที่เป็นศูนย์รวมอยู่ด้วย จะต้องท�าการตัดข้อมูลที่เป็น ศูนย์ออกก่อนน�ามาวิเคราะห์ความถี ่ และจะต้องมีการค�านวณค่า Pmax อีกด้วย ทัง้ นีเ้ พือ่ ความสะดวก ในการแบ่งกลุม่ พืน้ ทีย่ อ่ ย ขัน้ ตอนในการสร้างโค้งความถีไ่ ร้มติ สิ า� หรับอัตราการไหลต�า่ สุดเชิงภูมภิ าค มีดังนี้ 1) วิเคราะห์ความถี่ของอนุกรมอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุด ในช่วงเวลาต่าง ๆ ของทุกสถานี ในพื้นที่ศึกษา โดยไม่พิจารณาข้อมูลที่เป็นศูนย์ และท�าการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่น�ามาวิเคราะห์ (Qmean) 2) ค�านวณค่าความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์มากกว่าค่าทีก่ า� หนด (Pmax) ของทุกสถานี 3) ในแต่ละพืน้ ทีย่ อ่ ยท�าการพล็อตค่า Q/Qmean และ P/Pmax ของแต่ละสถานี ลงบนกระดาษ ความน่าจะเป็นของทฤษฎีแกมมาสองพารามิเตอร์ (โดยใช้คา่ พารามิเตอร์เฉลีย่ ของลุม่ น�า้ ศึกษาเป็น เกณฑ์ในการสร้างกระดาษความน่าจะเป็น) 4) ท�าการสร้างเส้นโค้งตัวแทนของทุกสถานีในแต่ละลุ่มน�้าย่อย โดยใช้วิธีก�าลังสองน้อย ที่สุด เส้นโค้งที่ได้คือ เส้นโค้งความถี่ไร้มิติส�าหรับอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วงเวลา ต่าง ๆ เชิง ภูมิภาคนั่นเอง ซึ่งเส้นโค้งเหล่านี้สามารถค�านวณหาค่าพารามิเตอร์ของทฤษฎีแจกแจงความถี่ย้อน กลับได้ เพื่อน�าไปใช้แทนค่าสมการแฟกเตอร์ความถี่ เช่นเดียวกับวิธีสมการความถี่เชิงภูมิภาค ได้ ซึ่งจะให้ผลการค�านวณที่แม่นย�ากว่าการอ่านค่าจากกราฟ

3. ผลการศึกษา จากการรวบข้อมูลน�า้ ท่าจ�านวน 80 สถานี ทัว่ พืน้ ทีศ่ กึ ษา มีความยาวข้อมูลระหว่าง 7-65 ปี เฉลี่ย 17 ปี (ถึงปี พ.ศ. 2542) ขนาดพื้นที่รับน�้าอยู่ระหว่าง 11.6 - 45,851 ตร.กม. ได้ข้อมูลจาก กรมชลประทาน กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในการ ศึกษาครั้งนี้ ได้จัดแบ่งพืน้ ทีศ่ กึ ษาออกเป็น 10 พืน้ ทีย่ อ่ ย โดยพิจารณาหลักความคล้ายคลึงทางอุต-ุ อุทกวิทยาของลุม่ น�า้ ดังแสดงในรูปที่ 2 ถึง รูปที่ 5 ตามล�าดับ

71


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 2 การแบ่งพื้นที่ย่อยในลุ่มน�้าปิง

รูปที่ 3 การแบ่งพื้นที่ย่อยในลุ่มน�้าวัง

รูปที่ 4 การแบ่งพื้นที่ย่อยในลุ่มน�้ายม

รูปที่ 5 การแบ่งพื้นที่ย่อยในลุ่มน�้าน่าน

72


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

เส้นโค้งไร้มติ ขิ องแต่ละพืน้ ทีย่ อ่ ย ทีไ่ ด้ท�าการสร้างขึน้ โดยท�าการพล็อตในกระดาษความน่า จะเป็น ซึง่ กระดาษความน่าจะเป็น ในกลุม่ ของการแจกแจงประเภทแกมมา (Gamma Family) นีจ้ ะ มีสัดส่วน (Scale) ที่ไม่แน่นอน เนื่องจากจะแปรผันไปตามค่าพารามิเตอร์รูปร่าง (b) ที่ใช้ เพื่อให้ได้ เส้นโค้งความถีเ่ ชิงภูมภิ าคทีใ่ กล้เคียงกับเส้นตรงมากทีส่ ดุ ในการศึกษาครัง้ นีไ้ ด้ทา� การสร้างกระดาษ ความน่าจะเป็นแบบแกมมา โดยใช้ค่า เฉลี่ยของพารามิเตอร์รูปร่างของทฤษฎี แกมมาที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน พืน้ ทีศ่ กึ ษาทัง้ หมด ซึง่ จากการศึกษาครัง้ นีพ้ บว่าค่าเฉลีย่ ของพารามิเตอร์ดงั กล่าว ได้แก่ b = 4.87866 สอดคล้องกับค่า สัมประสิทธิ์ความเบ้ GX = + 0.905482 (เบ้ขวา) ซึ่งจะได้รูปแบบของกระดาษ ความน่าจะเป็นดังแสดงในรูปที่ 6 รูปที่ 6 กระดาษความน่าจะเป็นแบบแกมมาที่ใช้ในการศึกษา

วิธกี ารวิเคราะห์โดยใช้โค้งความถีไ่ ร้มติ นิ นั้ เป็นวิธที สี่ ะดวกและไม่ตอ้ งมีการค�านวณทีย่ งุ่ ยาก [2] แต่อาจมีข้อเสียที่การอ่านค่าจากกราฟอาจมีความแตกต่างกันไปแล้วแต่ผู้วิเคราะห์ ดังนั้นเพื่อ แก้ปญ ั หานี ้ ในการศึกษาครัง้ นีจ้ งึ ได้เสนอสมการตัวแทนของเส้นโค้งความถีไ่ ร้มติ ิ เพือ่ การค�านวณที่ ถูกต้องมากขึ้น และข้อดีที่พบส�าหรับวิธีนี้คือ สามารถใช้โค้งความถี่ไร้มิติเพียงเส้นเดียวเป็นตัวแทน ส�าหรับการวิเคราะห์ค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลาได้ ซึ่งจะท�าให้สะดวกต่อการใช้งาน ทั้งนี้จ�าเป็นต้องมีการค�านวณค่า Qmean, Pmax, และ F จากค่าตัวแปรทางกายภาพของลุ่มน�้า โดย รูปแบบสมการถดถอยที่ใช้ได้แสดงไว้ในตารางที่ 1 โดยแสดงไว้เฉพาะการวิเคราะห์อัตราการไหล เฉลี่ยต�่าสุดในช่วง 7 วัน ของแต่ละพื้นที่ย่อยเท่านั้น หากต้องการวิเคราะห์ค่าอัตราการไหลเฉลี่ย ต�่าสุดในช่วงวันอื่น ๆ ได้แก่ 14, 30, 60, 90, และ 180 วัน สามารถสืบค้นได้จากผลการศึกษาของ พงษ์พันธ์ วุฒิชัยกิจเจริญ [2] จากโค้งความถี่ไร้มิติในแต่ละพื้นที่ย่อย จะเห็นได้ว่า ในบางพื้นที่ย่อยเส้นโค้งจะไม่เกาะ กลุ่มกัน ดังนั้นเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ผู้ใช้งานอาจเลือกใช้เส้นโค้งไร้มิติเส้นล่างสุด ทั้งนี้แล้วแต่ ลักษณะของการงานในไปใช้งาน ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วง เวลา ในแต่ละพื้นที่ย่อยได้แสดงไว้ในรูปที่ 7 ถึง รูปที่ 16 ตามล�าดับ

73


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตารางที่ 1 สมการถดถอยเชิงซ้อนตัวแทนของแต่ละพืน้ ทีย่ อ่ ย ส�าหรับอัตราการไหลเฉลีย่ ต�า่ สุด ในช่วง 7 วัน

74


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

รูปที่ 7 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย P.I

รูปที่ 8 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย P.II

รูปที่ 9 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย P.III

75


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 10 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย P.IV

รูปที่ 11 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย W.I

รูปที่ 12 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย Y.I

76


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

รูปที่ 13 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย Y.II

รูปที่ 14 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย N.I

รูปที่ 15 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย N.II

77


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 16 ตัวแทนเส้นโค้งความถี่ไร้มิติของอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดทุกช่วงเวลา ส�าหรับพื้นที่ย่อย N.III

4. วิธีการน�าผลการศึกษาไปใช้งาน การศึกษาครั้งนี้ได้เสนอวิธีการประมาณค่าอัตราการไหลต�่าสุด ในช่วงเวลาต่าง ๆ ที่คาบ การเกิดซ�้าใด ๆ ในพื้นที่ลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน ซึ่งอาจใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์เพื่อน�าไป ใช้งาน ส�าหรับบริเวณพื้นที่ ที่ไม่มีการตรวจวัดข้อมูลน�้าท่า หรือ อาจใช้เป็นข้อมูลในการตรวจสอบ ความถูกต้องของการวิเคราะห์ในกรณีที่มีข้อมูลอยู่แล้ว ซึ่งขั้นตอนในการใช้งานของวิธีวิเคราะห์ ความถี่เชิงภูมิภาค โดยการใช้โค้งความถี่ไร้มิติเชิงภูมิภาค แสดงเป็นแผนผังได้ดังรูปที่ 17

5. การทดสอบวิธีการประเมินค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดเชิงภูมิภาค จากวิธีการวิเคราะห์ความถี่เชิงภูมิภาคที่ได้เสนอในหัวข้อที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดความ มั่นใจในการน�าไปใช้งาน จึงต้องมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยท�าการใช้วิธีเชิงภูมิภาคที่เสนอ เปรียบเทียบกับวิธคี า� นวณด้วยวิธปี กติ (ค�านวณโดยใช้ขอ้ มูลจริงของสถานีทอี่ ยูใ่ นพืน้ ทีศ่ กึ ษา) ผลการ ตรวจสอบบางส่วนแสดงได้ดงั รูปที่ 18 จากผลการทดสอบความถูกต้องของการวิเคราะห์เชิงภูมภิ าค ดูรายละเอียดได้ในเอกสารอ้างอิงหมายเลข [2] จากการพิจารณาค่าความคลาดเคลือ่ นมาตรฐาน พบ ว่าการประเมินค่าอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุด ในช่วงเวลามากกว่า 30 วัน จะมีค่าความคลาดเคลื่อน มาตรฐานค่อนข้างสูง ดังนั้นวิธีการวิเคราะห์ความถี่อัตราการไหลต�่าสุดเชิงภูมิภาคที่เสนอ จะให้ ผลการวิเคราะห์ที่แม่นย�า ส�าหรับการวิเคราะห์อัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุดในช่วงเวลาไม่เกิน 30 วัน

78


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

รูปที่ 17 แผนผังแสดงการวิเคราะห์ความถี่โดยการใช้โค้งความถี่ไร้มิติเชิงภูมิภาค

79


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 18 เปรียบเทียบผลการค�านวณอัตราการไหลเฉลี่ยต�่าสุด ในช่วงเวลาต่าง ๆ ส�าหรับสถานี PN36

ถึงแม้ว่าผลการวิเคราะห์ความถี่อัตราการไหลต�่าสุด โดยวิธีเชิงภูมิภาคที่เสนอ จะมีความ คลาดเคลื่อนจากการผลการค�านวณโดยใช้ข้อมูลอยู่บ้าง ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลอัตราการไหลต�่าสุด เป็นข้อมูลทีไ่ ม่สะท้อนลักษณะธรรมชาติ และในพืน้ ทีศ่ กึ ษามีจา� นวนสถานีวดั น�า้ ท่าน้อย แต่จะเห็น ได้ว่าวิธีการเชิงภูมิภาคที่เสนอเป็นวิธีที่สามารถน�าไปใช้งานได้จริง ให้ผลเป็นที่ยอมรับได้ สามารถ น�าไปประยุกต์ใช้งานกับบริเวณที่ไม่มีการตรวจวัดข้อมูลน�้าท่าได้เป็นอย่างดี

80


โค้งความถี่เชิงภูมิภาค ส�าหรับอัตราการไหลต�่าสุด ในลุ่มน�้า ปิง วัง ยม และน่าน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน�้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และ กรมพัฒนาที่ดิน ที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูล เพื่อใช้ในการศึกษาครั้งนี้

เอกสารอ้างอิง 1. Gunawardhana, L.N., Kazama, S., 2012, “A water availability and low-flow analysis of the Tagliamento River discharge in Italy under changing climate conditions”, Hydrology and Earth System Sciences, Vol. 16, pp. 1033–1045. 2. พงษ์พันธ์ วุฒิชัยกิจเจริญ, 2545, การศึกษาสภาพน�้าไหลน้อยเชิงภูมิภาค ในลุ่มน�้าปิง วัง ยม และน่าน, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน�้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 221 หน้า. 3. Kite, G.W., 1977, Frequency and Risk Analysis in Hydrology, Water Resources Publication, Colorado, 224 p. 4. McMahon, T.A. and Arenas, A.D., 1982, Method of Computation of Low Streamflow, Imprimerie de la Manutention, Mayenne, pp. 36-55. 5. Tasker, G.D., 1987, “A Comparison of Methods for Estimating Low Flow Characteristics of Streams”, Water Resources Bulletin, Vol. 23 No. 6, pp. 1077-1083. 6. Adamowski, K., 1996, “Nonparametric Estimation of Low-Flow Frequencies”, Journal of Hydraulic Engineering, Vol. 122, No. 1, pp. 46-49. 7. Nathan, R.J. and Mcmahon, T.A., 1990, “Practical Aspects of Low-Flow Frequency Analysis”, Water Resources Research, Vol. 26, No. 9, pp. 2135-2141. 8. Rao, A.R. and Hamed, K.H., 2000, Flood Frequency Analysis, CRC Press, United States of America, 350 p. 9. Thom, H.S.C., 1958, “A Note on The Gamma Distribution”, Monthly Weather Review, Vol. 84, No. 4, pp. 117-122. 10. Abramowitz, M. and Stegun, I.A., 1965, Handbook of Mathematical Functions, Dover Publication, New York, pp. 50-393. 11. Haan, C.T., 1977, Statistical Methods in Hydrology, Iowa State University Press, Ames, Iowa, 377 p. 12. Dalrymple, T., 1960, “Flood Frequency Analysis”, Geological Survey Water Sup ply, No. 1543 A, 77 p. 13. Tucci, C., 1995, “Flow Regionalization in the Upper Paraguay Basin”, Hydrological Sciences Bulletin, Vol. 40, No. 4, pp. 485-497. 81


ส�ำคัญที่จิต จิตใจนั้น เราไม่ได้ช�าระกันเลย เราไม่ได้อาบน�้าให้มันเลย

มันก็อาจเป็นไฝฝ้าอยู่ในจิตใจของเรา

ชั่วหรือดี

ที่ท�า

กรรมทัง้ หลาย

ไม่หนีหาย

สูญสิ้น

ไปถิ่นไหน

รวมเก็บไว้

ที่จิต

ติดตัวเรา

ย่อมอยู่ดี

กินดี

ประพฤติธรรม ส�าคัญ

ไม่มีภัย

อยู่ที่จิต

ถ้าตั้งผิด

มัวหมอง ไม่ผ่องใส

สติใช้

คุมจิต

ถ้าตั้งถูก

ผุดผ่อง

ไม่หมองใจ

ไม่ผิดนา

หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม

82


การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการ อ่างเก็บน�้าขนาดกลาง กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา นายโอฬาร เวชอุไร1 ดร.สมเกียรติ ประจ�าวงษ์2 นายประพัฒน์ ศิริอ่อน3 ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ4

บทคัดย่อ เครื่องมือที่นิยมใช้ในการบริหารจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้า คือโค้งปฏิบัติการอ่างเก็บน�้าซึ่ง เหมาะส�าหรับการบริหารจัดการน�า้ ในสภาพปีนา�้ ปกติ ไม่เหมาะกับปีน�้ามากที่ต้องการการตัดสินใจ พร่องอ่างเก็บน�้า ส�าหรับ โครงการอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่มีระบบโทรมาตรในการพยากรณ์น�้าหลาก เฝ้าระวัง และเตือนภัย แต่โครงการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่มีระบบดังกล่าว การศึกษานีจ้ งึ เสนอแนวทางการใช้ปริมาณน�า้ ฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�า้ ขนาดกลาง โดยเลือกโครงการอ่างเก็บน�า้ ห้วยรู อ.ปง จ.พะเยา เป็นกรณีศกึ ษา อ่างเก็บน�า้ ห้วยรูมคี วามจุ ทีร่ ะดับเก็บกัก +418.50 ม.รทก. 10.07 ล้านลบ.ม. จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลอุต-ุ อุทกวิทยาในอดีต 30 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2522-2551 และการศึกษาสมดุลน�้าของอ่างเก็บน�้า พบว่าอ่างเก็บน�้าห้วยรู ซึ่งมีพื้นที่รับน�้า 52.50 ตร.กม. มีปริมาณน�้าท่ารายปีเฉลี่ยบริเวณที่ตั้งเขื่อน 16.75 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) มีความต้องการใช้น�้าในกิจกรรมต่างๆปีละประมาณ 16.80 ล้าน ลบ.ม. และ ในอนาคต 30 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2582) ปีละประมาณ 22.98 ล้าน ลบ.ม. ผลการก�าหนดเกณฑ์ปริมาณ น�้ามาก (ค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 90) น�้าปานกลาง (ค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ระหว่าง 10 – 90) และน�้าน้อย (ค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10) ของข้อมูลปริมาณน�้าฝนรายวันที่สถานี อ.เชียงค�า จ.พะเยา (รหัสสถานี วิศวกรโยธาช�านาญการ ส�านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน Email: oatwaterman@gmail.com ผู้อ�านวยการส�านักบริหารโครงการ Email:somkiat_p09@yahoo.com 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวางโครงการ บริษัท เซ้าท์อี๊สท์ เอเชีย เทคโนโลยี จ�ากัด Email: prapat_sn@hotmail.com 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร Email: dr.saisunee@gmail.com 1 2

83


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

73022) ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับพื้นที่โครงการ สามารถวิเคราะห์หาตัวแทนปริมาณฝนสะสมพบว่า ปี พ.ศ. 2513, 2516, 2523, 2537, 2544 และ 2545 เป็นปีน�้ามาก ปี พ.ศ. 2501, 2502, 2505, 2525, 2535 และ พ.ศ. 2543 เป็นปีน�้าน้อย ช่วงเวลาที่เหลือเป็นปีน�้าปานกลาง การจ�าลองการปฏิบัติ การอ่างเก็บน�้าด้วยรูปแบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์โดยพิจารณาปริมาณน�้าฝนสะสมในช่วงเดือน มิถนุ ายน - สิงหาคม ถ้าปริมาณน�า้ ฝนสะสมในช่วงเวลาดังกล่าวตกอยูใ่ นเกณฑ์ของปีนา�้ มาก จะต้อง พิจารณาการพร่องน�า้ ในอ่างเก็บน�า้ เพือ่ บรรเทาอุทกภัยล่วงหน้าด้วยการควบคุมปริมาณน�า้ ไม่ให้เกิน กว่าระดับเก็บกักน�า้ สูงสุด +416.00 ม.รทก.ตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายนเป็นต้นไปจนถึงเดือนกันยายนผ่าน อาคารท่อระบายน�า้ ลงล�าน�า้ เดิมในอัตราไม่เกิน 10.30 ลบ.ม.ต่อวินาที หลังจากนัน้ ก็ควรจะเก็บน�า้ เพิม่ จนถึงระดับเก็บกัก +418.50 ม.รทก. แต่ถา้ พบว่าปริมาณน�า้ ฝนสะสมในช่วงเวลาดังกล่าวตกอยู่ ในเกณฑ์ของปีน�้าน้อย ควรควบคุมการระบายน�้าตามความต้องการใช้น�้าของพื้นที่ชลประทานโดย ไม่ให้ระดับน�้าต�่ากว่าระดับเก็บกักน�้าต�่าสุด + 409.00 ม.รทก. ค�าส�าคัญ: การบริหารจัดการอ่างเก็บน�้า, โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู จังหวัดพะเยา

1. ประเด็นปัญหา โครงการอ่างเก็บน�า้ ห้วยรู เป็นโครงการทีไ่ ด้มกี ารศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบด้าน สิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้นแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2555 มีพนื้ ทีห่ วั งานและอ่างเก็บน�า้ ตัง้ อยูใ่ นลุม่ น�า้ ย่อยแม่นา�้ ยมตอนบน ของลุม่ น�า้ ยม สร้างปิดกัน้ ล�าน�า้ ห้วยรู ทีบ่ ริเวณต�าบลผาช้างน้อย และต�าบลงิม อ�าเภอปง จังหวัดพะเยา พื้นที่รับประโยชน์จะครอบคลุมบางส่วนของต�าบลงิม ต�าบลออย และต�าบลนาปรัง อ�าเภอปง จังหวัดพะเยา รวม 12,600 ไร่ ดังแสดงในรูปที่ 1 จากสภาพภูมปิ ระเทศของลุม่ น�า้ ห้วยรู ทีล่ า� น�า้ และพืน้ ทีด่ า้ นข้างล�าน�า้ มีความลาดชันสูง ใน ช่วงฤดูแล้งจะมีนา�้ ไหลในล�าน�า้ น้อย จึงมีวชั พืชขึน้ ปกคลุมได้งา่ ย และเป็นอุปสรรคในการระบายน�า้ ในช่วงฤดูฝน การเกิดน�้าท่วมตามแนวห้วยรูมีลักษณะเป็นน�้าป่าไหลหลากฉับพลัน กล่าวคือ เมื่อมีฝนตกต่อเนื่องติดต่อกัน 24 ชั่วโมง ประมาณ 60-80 มิลลิเมตร จะเกิดน�้า หลากไหลบ่ามาจากพื้นที่ต้นน�้าอย่างรวดเร็วและรุนแรง ปริมาณน�้าหลากที่ไหลมาจากพื้นที่ต้นน�้า จ�านวนมาก เมื่อมาผนวกกับความตื้นเขินและมีวัชพืชปกคลุมของห้วยรู จึงส่งผลให้เกิดน�้าท่วม ไหลล้นตลิ่งห้วยรูเกือบทุกปี แต่มีระยะเวลาน�้าท่วมไม่นาน และบางปีจะมีน�้าท่วมมากกว่า 1 ครั้ง แต่เนื่องจากพื้นทั้งสองฝั่งของห้วยรูมีความลาดชันสูงตามที่ได้กล่าวมาแล้ว น�้าจึงแผ่จากตลิ่งออก ไปไม่ไกล พื้นที่น�้าท่วมตามแนวห้วยรูจึงมีลักษณะเป็นแนวแคบๆ กว้างประมาณ 100-200 เมตร จากตลิ่งขนานไปกับล�าห้วย บริเวณที่เป็นที่ราบน�้าหลากจะไหลแผ่ออกไปได้ไกลขึ้น พื้นที่น�้าท่วมก็ จะกว้างกว่าปกติ และในทางกลับกันถ้าบริเวณที่ห้วยรูไหลผ่านเป็นช่องเขา น�้าจะแผ่ไปได้น้อยกว่า ปกติ พืน้ ทีน่ า�้ ท่วมจะแคบลง โดยปกติพนื้ ทีน่ า�้ ท่วมตามแนวห้วยรูจะมีระยะเวลาทีเ่ กิดน�า้ ท่วมไม่เกิน 1 วัน ในพื้นที่ตอนบนของห้วยรูมีความลาดชันสูง การเกิดน�้าท่วมจะกินเวลาประมาณ 3-6 ชั่วโมง 84


การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา

รูปที่ 1 โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู จังหวัดพะเยา

เท่านั้น ส�าหรับพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากน�้าท่วม ส่วนใหญ่เป็นที่นาหรือพื้นที่ปลูกพืชไร่ ส่วน พื้นที่ชุมชนส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนที่เนินไหล่เขาซึ่งเป็นที่สูงจึงมีโอกาสถูกน�้าท่วมน้อย ยกเว้นปีที่มีฝน ตกหนักมากๆ เช่น ปี พ.ศ. 2538 และ ปี พ.ศ. 2554 มีโอกาสที่พื้นที่ชุมชนถูกน�้าท่วมสูง จากสภาพอุทกภัยที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู จึงจ�าเป็นต้องมีเครื่อง มือในการบริหารจัดการน�้า เพือ่ ช่วยในการตัดสินใจในการพร่องน�้าในอ่างเก็บน�า้ เพือ่ บรรเทาอุทกภัย ในปีที่คาดว่าจะมีน�้ามาก ส�าหรับโครงการชลประทานขนาดใหญ่ กรมชลประทานจะมีระบบโทร 85


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

มาตร ในการพยากรณ์น�้าหลากและเตือนภัย แต่ส�าหรับโครงการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง และขนาด เล็ก มักไม่มีระบบเตือนภัยดังกล่าว เครื่องมือที่นิยมใช้ในการบริหารจัดการน�้า ได้แก่โค้งปฏิบัติการ อ่างเก็บน�้า (Reservoir operation rule curve) ซึ่งเหมาะส�าหรับการบริหารจัดการน�้าในสภาพ ปีปกติ ไม่เหมาะกับปีน�้ามากที่ต้องการการตัดสินใจพร่องอ่างเก็บน�้า การศึกษานี้จึงเสนอแนวทาง การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าห้วยรู

2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา การศึกษานีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาแนวทางการจัดการน�า้ ในอ่างเก็บน�า้ ให้มปี ระสิทธิภาพ สูงสุด สามารถขจัดความแย้งกันของวัตถุประสงค์ในการจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้า ระหว่างการพร่อง น�า้ ให้มากทีส่ ดุ เพือ่ รองรับความผันแปรของปริมาณน�า้ หลากในฤดูฝนกับความต้องการเก็บกักน�า้ ให้ ได้ปริมาณมากทีส่ ดุ เมือ่ สิน้ ฤดูฝน เพือ่ มีนา�้ ไว้สา� หรับกิจกรรมความต้องการใช้นา�้ ต่างๆ ในช่วงฤดูแล้ง และต่อเนือ่ งถึงต้นฤดูฝนปีถดั ไปได้อย่างเพียงพอ และบรรเทาอุทกภัยทีบ่ ริเวณด้านท้ายเขือ่ น เนือ่ ง มาจากการระบายน�า้ ผ่านอาคารระบายน�า้ ล้นในปริมาณทีม่ ากเกินกว่าทางน�า้ ธรรมชาติจะรองรับได้ โดยการใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมช่วยในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�า้ ห้วยรู โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน ปีน�้ามากที่ต้องการตัดสินใจพร่องน�้าในอ่างเก็บน�้าก่อนเกิดน�้าหลาก

3. วิธีการศึกษา การใช้ปริมาณน�้าฝนรายวันสะสมช่วยในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าห้วยรู มีรายละเอียด วิธีการศึกษาตามล�าดับขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ข้อมูล อุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา การประเมินความต้องการใช้น�้า การศึกษาสมดุลน�้าของอ่างเก็บน�้า การก�าหนดเกณฑ์ปริมาณน�้ามาก น�้าปานกลาง และน�้าน้อย การสร้างกราฟแสดงปริมาณน�้าฝน สะสมรายวัน และการจ�าลองการปฏิบัติการอ่างเก็บน�้าด้วยรูปแบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์โดย การวิเคราะห์สมดุลของน�้าในอ่างเก็บน�้าส�าหรับการจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้าในช่วงปีน�้ามาก ปีน�้า ปานกลาง และปีน�้าน้อย จากนั้นจึงสรุปผลการศึกษา

4. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การก�าหนดเกณฑ์ปริมาณน�้าและการจ�าลองปฏิบัติการอ่างเก็บน�้าด้วยแบบจ�าลองทาง คณิตศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์สมดุลของน�้า มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

86


การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา

4.1 การก�าหนดเกณฑ์ปริมาณน�้า ในการศึกษานีไ้ ด้กา� หนดเกณฑ์นา�้ มาก น�า้ ปานกลาง และน�า้ น้อย เพือ่ น�าผลมาใช้เป็นเครือ่ ง มือในการบริหารจัดการน�้าโดยใช้หลักการแจกแจงความถี่ โดยมีเกณฑ์ก�าหนดดังต่อไปนี้ [1] เกณฑ์น�้ามาก = ข้อมูลที่มีค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 90 เกณฑ์น�้าน้อย = ข้อมูลที่มีค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 เกณฑ์น�้าปานกลาง = ข้อมูลที่มีค่าอยู่ระหว่างเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 และ 90 ค่ากลาง = ข้อมูลที่มีค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50

4.2 การจ�าลองปฏิบัติการอ่างเก็บน�้าด้วยรูปแบบทางคณิตศาสตร์ แบบจ�าลองการปฏิบัติการอ่างเก็บน�้า (Reservoir simulation model) ที่ใช้ศึกษาการ บริหารจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้าตามความต้องการการใช้น�้าต่างๆ เช่น การอุปโภคบริโภค การ ชลประทาน การบรรเทาอุทกภัย ฯลฯ เป็นแบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ที่ใช้เลียนแบบลักษณะการ ปฏิบตั กิ ารอ่างเก็บน�า้ ของลุม่ น�า้ ซึง่ ประกอบด้วยอ่างเก็บน�้าและจุดควบคุมการไหลของน�้าทีต่ า� แหน่ง ต่างๆ โดยใช้การวิเคราะห์สมดุลของน�้าในอ่างเก็บน�้า (Reservoir water balance) ตามเกณฑ์ การเก็บกักน�้า (Rule curve) ที่ก�าหนดขึ้น และพิจารณาร่วมกับปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่าง ปริมาณ น�้าต่างๆ ที่เคลื่อนออกจากอ่าง เช่น จากการระเหย การซึมลงดิน การระบายออกจากอ่าง เป็นต้น โดยการวิเคราะห์สมดุลของน�า้ ในอ่างเก็บน�า้ ด้วยการจ�าลองสถานการณ์เป็นช่วงรายเดือน มีสมการ ทางคณิตศาสตร์ดังนี้ St+1 = St + Qt + Pt - Rt - Et - It เมื่อ St+1 = ปริมาตรน�้าในอ่างเก็บน�้าที่เดือนถัดไป St = ปริมาตรน�้าในอ่างเก็บน�้าที่เดือนปัจจุบัน Qt = ปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่างเก็บน�้าที่เดือนปัจจุบัน Pt = ปริมาณน�้าฝนที่ตกลงในอ่างเก็บน�้าที่เดือนปัจจุบัน Rt = ปริมาณน�้าที่ระบายออกจากอ่างเก็บน�้าที่เดือนปัจจุบัน Et = ปริมาณน�้าที่ระเหยออกจากอ่างเก็บน�้าที่เดือนปัจจุบัน It = ปริมาณน�้าที่ซึมลงดินออกจากอ่างเก็บน�้าที่เดือนปัจจุบัน ให้ SU เป็นปริมาตรน�้าในอ่างเก็บน�้าที่ระดับเก็บกักน�้าสูงสุด (Upper rule curve) SL เป็น ปริมาตรน�้าในอ่างเก็บน�้าที่ระดับเก็บกักน�้าต�่าสุด (Lower rule curve) และ ST เป็นปริมาตรน�้าใน อ่างเก็บน�้าที่ช่วงเวลาใดๆ การบริหารจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้ามีเกณฑ์การปฏิบัติการแยกเป็นแต่ละ กรณีได้ดังนี้ 87


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

กรณีที่ 1 เมื่อ SL ≤ ST ≤ SU ให้ระบายน�้าออกจากอ่างเก็บน�้าเท่ากับความต้องการใช้ น�้าในเดือนนั้น กรณีที่ 2 เมื่อ ST ≥ SU ให้ระบายน�้าที่เกินกว่าปริมาตรน�้าในอ่างเก็บน�้าที่ระดับเก็บกัก น�า้ สูงสุดออกจากอ่างเก็บน�า้ ผ่านอาคารน�า้ ล้น รวมทัง้ ให้ระบายน�า้ ออกจากอ่างเก็บน�า้ เท่ากับความต้องการใช้น�้าในเดือนนั้น กรณีที่ 3 เมื่อ ST < SL ให้หยุดการระบายน�้าออกจากอ่างเก็บน�้าหรือระบายน�้าเท่าที่ จ�าเป็นจริงๆ

5. ผลการศึกษา ผลการศึกษาการใช้ปริมาณน�า้ ฝนรายวันสะสมช่วยในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�า้ ห้วยรูมี ดังต่อไปนี้ 1) การรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยาย้อนหลัง จ�านวน 30 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2522-2551 ได้แก่ ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ปริมาณน�้าฝน และปริมาณ น�า้ ท่า และข้อมูลต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องทีน่ า� มาใช้ในการประเมินความต้องการใช้นา�้ ส�าหรับกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่ศึกษาโครงการ 2) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา และการก�าหนดรายละเอียด ของอ่างเก็บน�้า โดยใช้ข้อมูลอุตุอุทกวิทยาในอดีตย้อนหลังจ�านวน 30 ปี ระหว่างปี พ.ศ.25222551 สรุปผลการวิเคราะห์ปริมาณน�า้ ท่ารายเดือนเฉลีย่ บริเวณทีต่ งั้ เขือ่ นอ่างเก็บน�า้ ห้วยรู ซึง่ มีพนื้ ที่ รับน�้า 52.50 ตร.กม. มีค่าปริมาณน�้าท่ารายปีเฉลี่ย 16.75 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี มีปริมาณน�้า ท่าต�่าสุด 8.43 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี และปริมาณน�้าท่าสูงสุด 23.80 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี เมื่อพิจารณา ร่วมกับลักษณะภูมปิ ระเทศ จึงก�าหนดความจุของอ่างทีร่ ะดับเก็บกัก +418.50 ม.รทก. 10.07 ล้าน ลบ.ม. มีคณ ุ ลักษณะของอ่างเก็บน�า้ ดังแสดงในรูปโค้งความจุ-พืน้ ทีผ่ วิ น�า้ -ระดับน�า้ ในรูปที่ 2 อาคาร ระบายน�้าล้นของอ่างเก็บน�้าเป็นแบบ Uncontrolled Spillway มีระดับสันฝายของอาคารอยู่ที่ ระดับ +418.50 ม.รทก. ความยาวของสันฝายอาคารระบายน�้าล้นยาวรวม 35.00 เมตร ที่รอบปี การเกิดซ�้า (return period) 500 ปี ปริมาณน�้านองไหลเข้าสูงสุด (inflow peak) มีค่า 156.14 ลบ.ม.ต่อวินาที ปริมาณน�า้ นองไหลออกสูงสุด (outflow peak) มีคา่ 127.10 ลบ.ม.ต่อวินาที Flood Surcharge 1.50 เมตร และระดับน�้าสูงสุดเท่ากับ +420.00 ม.รทก. อาคารท่อส่งน�้าลงล�าน�้าเดิม เป็น Concrete Steel Liner มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20 ม. มีบานประตูน�้า High Pressure Gate ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 ม. ควบคุมอัตราในการระบายน�้า สามารถระบายน�้าได้สูงสุด 10.30 ลบ.ม. ต่อวินาที

88


การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา

รูปที่ 2 โค้งความจุ – พื้นที่ผิวน�้า - ระดับน�้าของอ่างเก็บน�้าห้วยรู

3) ความต้องการใช้น�้าในกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ ความต้องการใช้น�้าเพื่อการชลประทาน อุปโภคบริโภค ปศุสัตว์ อุตสาหกรรม ตลอดจนปริมาณน�้าเพื่อรักษาสมดุลนิเวศท้ายน�้า ทั้งในสภาพ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) และการคาดการณ์ในอนาคต 30 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2582) โดยการประเมิน ความต้องการใช้นา�้ ส�าหรับกิจกรรมต่างๆพบว่าในปัจจุบนั มีความต้องการปีละประมาณ 16.80 ล้าน ลบ.ม. และในอนาคต 30 ปีขา้ งหน้า ปีละประมาณ 22.98 ล้าน ลบ.ม. โดยจ�าแนกเป็นความต้องการ ใช้น�้าแต่ละด้านได้ดังนี้ ความต้องการใช้น�้า (ล้าน ลบ.ม. ต่อปี)

4) การก�าหนดเกณฑ์ปริมาณน�้าฝน ในบริเวณที่ตั้งโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู มีสถานีวัด ปริมาณน�้าฝนรายวัน ตั้งอยู่ที่ อ.เชียงค�า จ.พะเยา (รหัสสถานี 73022) จากปริมาณฝนรายวันสะสม ของสถานีดังกล่าว จะสามารถน�ามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าห้วยรูได้ หากเราสามารถวิเคราะห์หาตัวแทนปริมาณฝนสะสมปีน�้ามาก ปีน�้าปานกลาง และปีน�้าน้อย จาก การวิเคราะห์ปริมาณน�้าฝนรายปี (รูปที่ 3) ตามเกณฑ์ปริมาณน�้าฝนที่ก�าหนด พบว่า ปี พ.ศ. 2513, 2516, 2523, 2537, 2544 และ พ.ศ. 2545 เป็นปีน�้ามาก ปี พ.ศ. 2501, 2502, 2505, 2525, 2535 และ พ.ศ. 2543 เป็นปีน�้าน้อย ช่วงเวลาที่เหลือเป็นปีน�้าปานกลาง 89


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 3 ปริมาณน�้าฝนรายปีและเกณฑ์น�้ามาก น�้าปานกลาง และน�้าน้อย ของสถานีวัดปริมาณน�้าฝน อ.เชียงค�า จ.พะเยา (73022)

รูปที่ 4 ปริมาณน�้าฝนสะสมรายวันแยกตามเกณฑ์ปีน�้ามาก ปีน�้าปานกลาง และปีน�้าน้อย ของสถานีวัดปริมาณน�้าฝน อ.เชียงค�า จ.พะเยา (73022)

5) กราฟแสดงปริมาณน�า้ ฝนสะสมรายวัน จากผลการวิเคราะห์เกณฑ์ปริมาณน�า้ ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ว ในการศึกษานี้จึงใช้ปริมาณฝนสะสมรายวันปี พ.ศ. 2513, 2516, 2523, 2537, 2544 และ พ.ศ. 2545 เป็นตัวแทนของปีนา�้ มาก และใช้ปริมาณฝนสะสมรายวันปี พ.ศ.2501, 2502, 2505, 2525, 2535 และ พ.ศ. 2543 เป็นตัวแทนของปีนา�้ น้อย และสามารถสร้างกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาณฝนสะสมรายวัน และเวลา ได้ดังแสดงในรูปที่ 4 6) การจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้าในช่วงฤดูฝน การน�าเกณฑ์ปริมาณน�้าตามกราฟความ สัมพันธ์ระหว่างปริมาณน�้าฝนสะสมรายวันและเวลาที่วิเคราะห์ได้ดังกล่าวมาแล้วมาใช้เป็นเครื่อง มือในการบริหารจัดการน�า้ ในช่วงฤดูฝน ท�าได้โดยพิจารณาปริมาณน�า้ ฝนสะสมในช่วงเดือนมิถนุ ายน ถึงเดือนสิงหาคม หากพบว่าค่าปริมาณน�า้ ฝนสะสมในช่วงเวลาดังกล่าวตกอยูใ่ นเกณฑ์ของปีนา�้ มาก 90


การใช้ปริมาณฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา

ก็มีโอกาสหรือมีความเป็นไปได้สูงที่ปริมาณน�้าฝนในช่วงฤดูฝนของพื้นที่ศึกษาจะมีปริมาณมาก ดังนั้น จึงมีความจ�าเป็นที่จะต้องพิจารณาการพร่องน�้าในอ่างเก็บน�้าเพื่อบรรเทาอุทกภัยล่วงหน้า ในการศึกษานี้ ได้ท�าการทดสอบโดยการจ�าลองสถานการณ์ขึ้นในลักษณะต่าง ๆ รวม 6 รูปแบบ เพื่อก�าหนดระดับเก็บกักน�้าสูงสุด จากการผลการจ�าลองสถานการณ์อ่างเก็บน�้า พบว่าระดับ เก็บกักน�้าสูงสุดที่เหมาะสมที่สุดที่จะท�าให้เกิดการขาดแคลนน�้าทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้งน้อยกว่า ร้อยละ 20 ของจ�านวนปีทที่ า� การจ�าลองสถานการณ์ศกึ ษา (ไม่เกิน 6 ปี จาก 30 ปี) ในขณะเดียวกัน ปริมาณน�า้ ทีค่ วบคุมโดยการระบายออกเมือ่ รวมกับปริมาณน�า้ ทีข่ าดแคลนมีจา� นวนต�า่ สุดอยูท่ รี่ ะดับ +416.00 ม.รทก. การบริหารจัดการน�้า ในช่วงฤดูน�้าหลากท�าได้ด้วยการควบคุมปริมาณน�้าไม่ให้ เกินกว่าระดับเก็บกักน�้าสูงสุด +416.00 ม.รทก. โดยควรจะเริ่มด�าเนินการภายหลังการใช้น�้าเพื่อ กิจกรรมต่างๆ ในฤดูแล้ง ตั้งแต่เดือนมิถุนายนเป็นต้นไปจนถึงเดือนกันยายน ถ้าปริมาณน�้าในอ่าง ยังคงเหลือมากกว่าระดับ +416.00 ม.รทก. ก็ให้ท�าการระบายผ่านอาคารท่อระบายน�้าลงล�าน�้า เดิมในอัตราที่ไม่เกินขีดความสามารถที่รับได้ คือไม่เกิน 10.30 ลบ.ม.ต่อวินาที โดยรักษาระดับน�้า ในอ่างฯไว้ที่ประมาณ +416.00 ม.รทก. จนถึงเดือนสิงหาคม หลังจากนั้นเมื่อมีน�้าหลากไหลเข้าสู่ อ่างเก็บน�้า ก็จะท�าการเก็บน�้าเพิ่มจนถึงระดับเก็บกัก +418.50 ม.รทก. ในระหว่างท�าการเก็บน�้า เพิ่มจะต้องควบคุมโดยท�าการระบายน�้าตลอดเวลา และต่อเนื่องในอัตราที่ไม่เกิน 10.30 ลบ.ม. ต่อ วินาที เพื่อรักษาระดับน�้าในอ่างไม่ให้เกินระดับเก็บกักน�้า 7) การจัดการน�า้ ในอ่างเก็บน�า้ ปีนา�้ น้อย เนือ่ งจากช่วงวิกฤติของการบริหารจัดการน�า้ เพือ่ การเกษตรของโครงการจะอยูใ่ นช่วงเริม่ ต้นของฤดูการส่งน�า้ นาปี ก�าหนดการส่งน�า้ จะเริม่ ประมาณ ต้นเดือนกรกฎาคมซึง่ เป็นเวลาทีฝ่ นทิง้ ช่วง ส�าหรับโครงการอ่างเก็บน�า้ ห้วยรูฯ ระดับน�า้ ในอ่างต�า่ สุด ไม่ควรอยู่ที่ระดับต�่ากว่า +409.00 ม.รทก. ในเดือนกรกฎาคม หรือปริมาณน�้าประมาณ 2.65 ล้าน ลบ.ม. เนือ่ งจากเป็นระดับน�า้ ต�า่ สุดทีส่ ามารถส่งน�า้ เข้าท่อส่งน�า้ สายใหญ่ฝง่ั ซ้ายได้เต็มตามศักยภาพ ของระบบส่งน�า้ ดังนัน้ ในปีฝนน้อย จึงได้กา� หนดเกณฑ์การเก็บน�า้ ต�า่ สุดจะต้องมีนา�้ เหลือในอ่างหลัง สิ้นฤดูฝนให้พอเพียงที่จะท�าการเกษตรและกิจกรรมอื่นๆในฤดูแล้งได้ และระดับน�้าในอ่างจะต้อง อยู่ที่ระดับที่จะท�าให้เกิดความเสี่ยงน้อยที่สุดต่อการเกิดการขาดแคลนน�้าในปีถัดไป ส�าหรับการ บริหารจัดการน�า้ ในอ่างเก็บน�า้ ห้วยรูในช่วงน�า้ น้อยตามระดับเก็บกักน�า้ ต�า่ สุดทีเ่ หมาะสมเพือ่ ใช้เป็น แนวทางการควบคุมการใช้น�้าและระบายน�้าในปีฝนน้อย ท�าได้โดยพิจารณาปริมาณน�้าฝนสะสมใน ช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม หากพบว่าค่าปริมาณน�้าฝนสะสมในช่วงเวลาดังกล่าวตกอยู่ใน เกณฑ์ของปีน�้าน้อย ควรควบคุมการระบายน�้าตามความต้องการใช้น�้าของพื้นที่ชลประทานในช่วง ปลายฤดูการเพาะปลูกประจ�าปี และต่อเนือ่ งด้วยการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งในช่วงเดือนธันวาคมอย่าง ระมัดระวัง โดยไม่ให้ระดับน�้าต�่ากว่าระดับเก็บกักน�้าต�่าสุด และควบคุมการระบายน�้าออกจากอ่าง ตั้งแต่เดือนธันวาคมจนถึงเดือนเมษายน ไม่ให้ระดับน�้าต�่ากว่า + 409.00 ม.รทก. ในกรณีที่ปีนั้น ๆ เป็นปีน�้าแล้งหรือฝนน้อยเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา 91


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

6. สรุปผลการศึกษา จากการศึกษานีส้ รุปได้วา่ การใช้ปริมาณน�า้ ฝนรายวันสะสมในการบริหารจัดการอ่างเก็บน�า้ ห้วยรูทใี่ ช้เป็นกรณีศกึ ษา สามารถท�าได้โดยเมือ่ เริม่ ฤดูกาลเพาะปลูก น�าข้อมูลปริมาณน�า้ ฝนรายวัน ที่สถานีวัดปริมาณน�้าฝน อ.เชียงค�า จ.พะเยา (รหัสสถานี 73022) มาหาค่าปริมาณน�้าฝนสะสมใน ปีนั้นๆ โดยเริ่มจากวันที่ 1 เมษายน จนถึงวันที่วางแผนการเพาะปลูก หากพบว่าค่าปริมาณน�้าฝน สะสมในปีนั้นๆ ตกอยู่ในโซนของปีน�้ามาก แสดงว่าในปีนั้นๆสามารถวางแผนการเพาะปลูกได้เต็ม พื้นที่โครงการ 12,600 ไร่ โดยไม่ต้องกังวลว่าฤดูกาลนั้นจะขาดน�้า แต่ต้องบริหารจัดการน�้าเพื่อ การป้องกันอุทกภัยที่จะเกิดด้านท้ายน�้าตามเกณฑ์ระดับเก็บกักน�้าสูงสุดที่ระดับ +416.00 ม.รทก. แต่หากปีใดที่ปริมาณน�้าฝนสะสมในปีนั้นๆ ตกอยู่ในโซนของปีน�้าน้อย แสดงว่าในปีนั้นๆอาจจะมี โอกาสขาดแคลนน�้าเกิดขึ้นได้ ทางโครงการควรแนะน�าให้เกษตรกรปลูกพืชที่ใช้น�้าน้อย และต้อง ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรใช้น�้าอย่างประหยัด พร้อมทั้งบริหารจัดการน�้าตามเกณฑ์ระดับเก็บกัก น�้าต�่าสุดที่ระดับ +409.00 ม.รทก.

เอกสารอ้างอิง 1. รายงานโครงการศึกษาความเหมาะสมโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดพะเยา กรมชลประทาน, สิงหาคม, พ.ศ. 2555

92




คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ.2554 ชูลิต วัชรสินธุ1์ เฉลิมชนม์ เลิศล�้า2

1. ลุ่มน�้าเจ้าพระยา

สภาพภูมิประเทศและภูมิสัณฐานธรณีวิทยาในลุ่มน�้าเจ้าพระยา 1 2

กรรมการบริหาร บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด วิศวกรแหล่งน�้า บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด

95

ลุม่ น�า้ เจ้าพระยาครอบคลุม พืน้ ทีภ่ าคเหนือและภาคกลางของ ประเทศไทย ประกอบด้วย พืน้ ที่ ลุม่ น�า้ ทางตอนบน คือ ลุม่ น�า้ ปิง วัง ยม และน่าน ครอบคลุมพืน้ ที่ ส่วนใหญ่ทางภาคเหนือลงมาถึง จังหวัดนครสวรรค์ และลุม่ น�า้ ทางตอนล่าง คือ ลุม่ น�า้ เจ้าพระยา (สายหลัก) สะแกกรัง ป่าสัก และ ท่าจีน ครอบคลุมพืน้ ทีภ่ าคกลาง เกือบทัง้ หมดโดยไหลลงอ่าวไทย ทีจ่ งั หวัดสมุทรปราการ ลุม่ น�า้ เจ้าพระยาครอบคลุม พืน้ ที ่ 31 จังหวัด เป็นจังหวัด ในภาคเหนือ 14 จังหวัด ได้แก่ พืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ล�าพูน ตาก ก�าแพงเพชร นครสวรรค์ ล�าปาง แพร่ สุโขทัย พิษณุโลก พิจติ ร พะเยา อุตรดิตถ์ น่าน เพชรบูรณ์ และจังหวัดในภาคกลาง 17 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี นครนายก อุทัยธานี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สภาพธรณีสัณฐานในพื้นที่ลุ่มน�้าเจ้าพระยาแบ่งได้เป็น 1. พืน้ ทีน่ า�้ ทะเลท่วมถึง เป็นพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลในจังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรปราการ 2. พืน้ ทีร่ าบลุม่ น�า้ ทะเลเคยขึน้ ถึง เป็นบริเวณกลางตัง้ แต่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ขึ้นมาจนถึงจังหวัดสุพรรณบุรี และพระนครศรีอยุธยา 3. พื้นที่ราบลุ่มน�้าท่วมถึง เป็นบริเวณกว้างขนานไปกับล�าน�้าสายหลัก ได้แก่ แม่น�้า เจ้าพระยา แม่น�้าน้อย แม่น�้าท่าจีน และแม่น�้าบางปะกง พื้นที่จังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี เป็นต้น 4. พืน้ ทีล่ านตะพักน�า้ ประกอบด้วย พืน้ ทีต่ ะพักล�าน�า้ ค่อนข้างใหม่ ลานตะพักล�าน�า้ ระดับต�า่ ระดับกลาง และสูง เป็นพืน้ ทีก่ ลางน�า้ ของลุม่ น�า้ เจ้าพระยาในเขตจังหวัดชัยนาท ลพบุร ี นครสวรรค์ ก�าแพงเพชร สุโขทัย บางส่วนของจังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เป็นต้น 5. พื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน เป็นพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น�้าในพื้นที่ตอนบนของลุ่มน�้า สาขาในลุ่มน�้าเจ้าพระยา 6. พื้นที่ภูเขา เป็นพื้นที่ตอนบนของลุ่มน�้าสาขาลุ่มน�้าเจ้าพระยา เป็นพื้นที่ต้นน�้าล�าธาร

2. การเกิดอุทกภัยที่ผ่านมาในอดีต ในอดีตถึงปัจจุบนั ประเทศไทย มีเหตุการณ์นา�้ ท่วมใหญ่หลายครัง้ โดยเฉพาะในพืน้ ทีร่ าบลุม่ ภาคกลาง เนือ่ งมาจากภัยธรรมชาติ เช่น พายุ ฝนตกหนัก ฝนแล้ง เป็นต้น และ การกระท�าของมนุษย์ เช่น การ ตัดไม้ทา� ลายป่าต้นน�า้ การบุกรุก แหล่งน�า้ ธรรมชาติ การสร้างถนน กีดขวางทางน�า้ การขยายตัวของ ชุมชนและพืน้ ทีก่ ารเกษตร เป็นต้น โดยสรุปอุทกภัยในช่วงปีตา่ งๆ จาก อดีตถึงปัจจุบนั ได้ดงั นี้ พ.ศ. 2328 น�้าท่วมท้องสนาม หลวงสูงถึง 8 ศอก 10 นิ้ว

น�้าท่วมในอดีต พ.ศ. 2485

น�้าท่วมปีพ.ศ.2485

96


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2362 น�า้ ท่วมเกิด ปัญหาข้าวยากหมากแพง พ.ศ. 2374 น�้าท่วมทั่ว กรุงเทพมหานคร

น�้าท่วมปีพ.ศ.2538

พ.ศ. 2402, 2410 และ พ.ศ. 2422 น�า้ ท่วมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2460 น�้าท่วมถึงลานพระบรมรูปทรงม้า พ.ศ. 2485 น�้าท่วมภาคเหนือและกลาง น�้าท่วมทั่วกรุงเทพฯ บริเวณลานพระบรมรูปทรง ม้าสูงถึง 1.50 เมตร พ.ศ. 2493 น�้าท่วมกรุงเทพฯ ปี พ.ศ. 2494, 2495, 2502, 2504, 2507 และพ.ศ. 2513 น�้าท่วมกรุงเทพฯ เล็กน้อย พ.ศ. 2518 พายุดีเปรสชั่นพัดผ่านตอนบนของลุ่มน�้าเจ้าพระยา ท�าให้ปริมาณน�้ามากใน ภาคเหนือตอนล่าง ท�าให้น�้าท่วมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2519 มีน�้าท่วมกรุงเทพมหานครเล็กน้อยจากน�้าทะเลหนุน พ.ศ. 2521 เกิดพายุเบส พัดเข้าอีสานและเหนือตอนบน เดือนสิงหาคม พัดผ่านพื้นที่ตอน บนลุ่มน�้าปลายเดือนกันยายน น�้าท่วมกรุงเทพมหานคร และ 36 จังหวัด พ.ศ. 2523 ฝนตกหนักในพื้นที่กรุงเทพมหานครและน�้าทะเลหนุน ท�าให้น�้าท่วม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2526 มีพายุพดั ผ่านภาคเหนือและภาคกลางเดือนกันยายนถึงตุลาคม มีฝนตกปริมาณ มากท�าให้น�้าท่วมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533 เดือนตุลาคม พายุโซนร้อน อีราและไล่ล่า พัดผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกิดฝนตกหนักน�้าท่วมในพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2538 ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม มีพายุหลายลูกท�าให้มีฝนตกหนักในเดือนสิงหาคมถึง เดือนตุลาคม มีพายุไอลิส ท�าให้น�้าท่วมในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร เป็น ระยะเวลาประมาณ 2 เดือน พ.ศ. 2539 มีฝนตกหนักในภาคเหนือและภาคกลาง ท�าให้เกิดน�้าท่วมในบางพื้นที่ของ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2545 เกิดพายุดีเปรสชั่นฮากูปี ท�าให้ฝนตกหนักเกิดน�้าท่วมในพื้นที่ภาคกลาง พ.ศ. 2549 ปริมาณฝนตกหนักในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคกลาง ท�าให้เกิดน�้าท่วมในพื้นที่ ภาคเหนือตอนล่างและพื้นที่ภาคกลาง

97


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

พ.ศ. 2553 ปริมาณฝนทีต่ กหนักในพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอนล่างท้ายเขือ่ นภูมพิ ลและเขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ ท�าให้ฝนตกในลุม่ น�า้ เจ้าพระยาเป็นบริเวณกว้างในพืน้ ทีจ่ งั หวัดลพบุร ี ชัยนาท สิงห์บรุ ี อ่างทอง และ พระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2554 สาเหตุจากมีพายุเข้าประเทศไทยหลายลูกทีภ่ าคเหนือผ่านตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนเป็นระยะๆ ตัง้ แต่ปลายเดือนมิถนุ ายนจนถึงต้นเดือนตุลาคม 5 ลูก และร่องความกดอากาศ ต�่าก�าลังแรงก็พาดผ่านอยู่บนภาคเหนือและภาคกลาง ท�าให้เกิดมหาอุทกภัยในภาคเหนือและภาค กลางในหลายจังหวัดเป็นระยะเวลานานหลายเดือน

3. สาเหตุของมหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554

สาเหตุสา� คัญของอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 เหตุการณ์นา�้ ท่วมใหญ่ป ี พ.ศ. 2554 ท�าให้เกิดความ สูญเสียทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ โดยเฉพาะพืน้ ทีใ่ นภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง เป็นผลกระทบใน วงกว้าง ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย น�้าท่วมใหญ่ ปี พ.ศ. 2554 เกิดจากสาเหตุที่ ส�าคัญ 2 ประการ ได้แก่ ภัยธรรมชาติและการบริหารจัดการ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ในที่นี้จะกล่าวถึงอุทกภัยจากสาเหตุภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2554 เนือ่ งจากพายุทเี่ ข้ามาในช่วงเดือนมิถนุ ายนถึงตุลาคม รวม 5 ลูก ร่องความกดอากาศต�่า ท�าให้มีฝนตกเป็นปริมาณมากเกิดเป็นปริมาณน�้าท่าที่มากกว่า ปกติ ประกอบกับน�้าทะเลที่หนุนสูงและนานในช่วงเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ท�าให้ระบายน�้า หลากลงสู่ทะเลได้ช้าก่อให้เกิดน�้าท่วมในภาคกลางตอนล่างอย่างรุนแรง 1) พายุทเี่ ข้าท�าให้ปริมาณฝนตกมากกว่าปกติ จากปริมาณน�า้ ฝนทีเ่ พิม่ ขึน้ ตัง้ แต่ปลายปี พ.ศ. 2553 อันเนื่องมาจากปรากฏการณ์ลานีญา และพายุที่เข้าประเทศไทย ในช่วงเดือนมิถุนายน 98


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

ถึงเดือนตุลาคม จ�านวน 5 ลูก รวมทั้งร่องความกดอากาศต�่าท�าให้เกิดปริมาณฝนมากกว่าปกติ โดย ล�าดับเหตุการณ์เกิดพายุต่างๆ ดังนี้

(1) พายุโซนร้อนไหหม่า (Haima) 25-27 มิถุนายน 2554 (2) พายุโซนร้อนนกเตน (Nock-Ten) 25-31 กรกฎาคม 2554 (3) ร่องความกดอากาศต�า่ พาดผ่านภาคเหนือ 10-12 สิงหาคม และ 15-19 สิงหาคม 2554 (4) ร่องความกดอากาศต�า่ พาดผ่านภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ในวันที่ 8-12 กันยายน 2554 (5) พายุโซนร้อนไห่ถาง (Hai Tang) วันที่ 28 กันยายน 2554 (6) พายุโซนร้อนเนสาด (Nasat) วันที่ 1 ตุลาคม 2554 (7) พายุโซนร้อนนาลแก (Nalgae) วันที่ 5 ตุลาคม 2554 จากอิทธิพลของพายุและร่องความกดอากาศต�า่ ท�าให้มปี ริมาณฝนสูงทัว่ ทุกภาคของประเทศ โดยทั้งประเทศมีปริมาณฝนรวม 1,822.4 มิลลิเมตร สูงกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละ 28 ภาคเหนือมีปริมาณ ฝนรวม 1,674.5 มิลลิเมตร สูงกว่าค่าเฉลี่ยระยะยาว (30 ปี) ร้อยละ 42 ภาคกลางปริมาณฝนรวม 1,508.6 มิลลิเมตร สูงกว่าค่าเฉลี่ยระยะยาว (30 ปี) ร้อยละ 26 2) ปริมาณน�า้ หลาก จากปริมาณฝนดังกล่าวส่งผลให้มปี ริมาณน�า้ ไหลเข้าเขือ่ นภูมพิ ลและ เขื่อนสิริกิติ์เป็นปริมาณมากเกินความสามารถที่จะควบคุมได้ กล่าวคือ (1) เขือ่ นภูมพิ ล ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม 2554 มีปริมาณน�า้ ไหลเข้า 10,240 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน�้าทั้งปี 12,726.41 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 5,830.05 ล้าน ลบ.ม. ท�าให้ระดับ 99


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

น�า้ เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว และสูงกว่าระดับน�า้ ปีนา�้ มาก 2538, 2545 และ 2549 โดยต้องมีการระบาย น�้าออกผ่านอาคารระบายน�้าล้นในช่วงเดือนตุลาคม (2) เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม 2554 มีปริมาณน�า้ ไหลเข้า 9,728 ล้าน ลบ.ม. เป็นปริมาณน�้าทั้งปี 11,226.63 ล้านลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 5,785.19 ล้านลบ.ม. และมีระดับน�้า ในช่วงเดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคมสูงกว่าระดับน�้าปีน�้ามาก 2538, 2545, 2549 โดยมีปริมาณ น�้าระบายออกผ่านอาคารระบายน�้าล้น ในเดือนกันยายน และตุลาคม (3) เขื่อนแควน้อยบ�ารุงแดน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม 2554 มีปริมาณน�้าไหลเข้า อ่างเก็บน�้า 2,753 ล้านลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 1,281 ล้านลบ.ม. มากกว่าความจุอ่างเก็บน�้า 3 เท่า (4) เขือ่ นป่าสักชลสิทธิ ์ ตัง้ แต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม 2554 มีปริมาณน�า้ ไหลเข้าอ่างเก็บน�า้ 4,877 ล้านลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 2,706 ล้านลบ.ม. มากกว่าความจุอ่างเก็บน�้า 6 เท่า

100


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

พื้นที่น�้าท่วมในลุ่มน�้าเจ้าพระยาระหว่างเดือนกันยายน-พฤศจิกายน

ลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง สถานีวัดน�้าที่ส�าคัญ คือ สถานีวัดน�้า C.2 อ�าเภอเมือง จังหวัด นครสวรรค์ (ความจุลา� น�า้ 3,500 ลบ.ม. ต่อวินาที) มีปริมาณน�า้ ไหลผ่านสูงสุด 4,686 ลบ.ม. ต่อวินาที เมื่อวันที่ 13-14 ตุลาคม 2554 ปริมาณน�้าระหว่างเดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน ที่นครสวรรค์ ซึ่ง ไหลผ่าน 33,231 ล้านลบ.ม. เป็นปริมาณน�้าสูงสุดในรอบ 50 ปี มากกว่าปริมาณน�้ามาก ปี พ.ศ. 2549 ร้อยละ 22 โดยร้อยละ 60 ของปริมาณน�้าทัง้ หมด (28,168 ล้านลบ.ม.) มาจากลุม่ น�้ายม และ น่านตอนล่าง ทีย่ งั ไม่มเี ขือ่ นเก็บกักน�า้ ขนาดใหญ่ชว่ ยชะลอน�า้ บางส่วนไว้ เป็นผลให้ปริมาณน�า้ ทีม่ าก 101


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ได้ไหลเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มน�้ายม และลุ่มน�้าน่านตอนล่าง ตั้งแต่ต้นเดือนสิงหาคม และเข้าท่วมพื้นที่ ภาคกลางในลุ่มน�้าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง เป็นบริเวณกว้างจนถึงเดือนธันวาคม 2554 จึงเข้า สูส่ ถานการณ์ปกติ โดยปริมาณน�า้ ล้นตลิง่ ไหลเข้าท่วมทุง่ กว่า 17,427 ล้านลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 52 ของปริมาณน�้าทั้งหมด และบางส่วนเข้าท่วมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยปริมาณน�้า ดังกล่าว ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล คิดเป็นเงิน 1.4 ล้านล้านบาท 3) น�้าทะเลหนุน ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 ระดับน�้าทะเลหนุนสูง และเป็นระยะเวลานานกว่าปกติ โดยจากระดับน�้าที่สถานีวัดน�้า C.4 สะพานพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้วัดระดับน�้าในช่วงเวลาต่างดังนี้ วัน/เดือน/ปี 2 ต.ค. 2554 15 ต.ค. 2554 28-30 ต.ค. 2554

ระดับน�้า ม.รทก. +2.11 +2.29 +2.66

วัน/เดือน/ปี 12 พ.ย. 2554 26 พ.ย. 2554

ระดับน�้า ม.รทก. +2.70 +2.45

ภาพแสดงระดับน�้ารายชั่วโมงที่สันดอนเจ้าพระยาเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2554

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 ถูกกล่าวขานว่าเป็น “อุทกภัยครั้งร้ายแรงที่สุดทั้งในแง่ ของปริมาณน�า้ และจ�านวนผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ” หรือทีน่ ยิ มเรียกกันว่า มหาอุทกภัย เป็นอุทกภัยรุนแรง ที่เกิดขึ้นระหว่างฤดูมรสุมในประเทศไทย พ.ศ. 2554 เกิดผลกระทบต่อบริเวณลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยา เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคมและสิ้นสุดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 (แต่การฟื้นฟูยังมีต่อ เนื่องมาถึงปัจจุบัน) ธนาคารโลกประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.388 ล้านล้านบาท เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554 และจัดให้เป็นภัยพิบัติครั้งสร้างความเสียหายมากที่สุดเป็นอันดับสี่ของโลก 102


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

จากรายงาน Rapid Assessment for Resilient Recovery and Reconstruction Planning ส�าหรับ 2554 Thailand Floods ที่ด�าเนินการโดยธนาคารโลก ได้ประเมินทั้งความเสียหาย (Damage) และความสูญเสีย (Losses) ซึ่งรวมแล้วจะกลายเป็นผลกระทบทั้งหมด (Total Effects = Damage + Losses)

4. การเปรียบเทียบปริมาณน�้าหลากในอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สถานีวัดน�้า C.2 จังหวัดนครสวรรค์

จากข้อมูลในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2448-2554) จะเห็นได้ในช่วงก่อนปี 2502 ระหว่างปี พ.ศ. 2448-2502 ปริมาณน�า้ หลากมีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 3,490 ลบ.ม.ต่อวินาที โดยในปี พ.ศ. 2485 ปริมาณน�า้ หลากสูงสุด 6,500 ลบ.ม.ต่อวินาที หลังปีพ.ศ. 2508-2554 ปริมาณน�า้ หลากเฉลีย่ 2,390 ลบ.ม.ต่อวินาที ในปี พ.ศ. 2549 ปริมาณน�้าหลากสูงสุด 5,451 ลบ.ม.ต่อวินาที จะเห็นได้ว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 หลังจากเขื่อนภูมิพลเปิดใช้งาน และในปี พ.ศ. 2515 เขื่อนสิริกิติ์ได้เปิดใช้งาน ได้เก็บกักปริมาณน�้าหลากในเขื่อนทั้งสองแหล่งเฉลี่ย 1,100 ลบ.ม.ต่อวินาที 103


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ปริมาณน�า้ หลากทีส่ ถานีวดั น�า้ C.2 จังหวัดนครสวรรค์ ในรอบ 20 ปี ทีผ่ า่ นมาได้เกิดอุทกภัย ขนาดใหญ่ในปี พ.ศ. 2538, 2545, 2549 มีปริมาณน�า้ หลากสูงสุดทีส่ ถานีวดั น�า้ C.2 ระหว่าง 3,997 ถึง 5,451 ลบ.ม.ต่อวินาที โดยในปี พ.ศ. 2549 มีปริมาณน�้าหลากสูงสุด 5,451 ลบ.ม.ต่อวินาที รอง ลงมาคือปี พ.ศ. 2538 มีปริมาณน�า้ หลากต�า่ สุด 4,820 ลบ.ม.ต่อวินาที ในขณะทีป่ ริมาณน�า้ ท่าสะสม ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน มีปริมาตรน�า้ ท่าสะสมที ่ จ.นครสวรรค์อยูร่ ะหว่าง 21,224 ถึง 32,404 ล้าน ลบ.ม. โดยปี พ.ศ. 2554 มีปริมาตรน�้าหลากสูงสุด 32,404 ล้าน ลบ.ม. รองลงมา คือปี พ.ศ. 2549 มีปริมาตร 27,204 ล้าน ลบ.ม. จากข้อมูลปริมาณน�้าหลากปี พ.ศ. 2448 ถึง พ.ศ. 2554 และพิจารณาในช่วงปี พ.ศ. 2506 ถึง พ.ศ. 2554 ได้น�ามาวิเคราะห์ปริมาณน�้าหลากในคาบ การเกิดซ�้าในรอบปีต่างๆ สรุปรอบปีการเกิดน�้าหลากในปีต่างๆ ดังนี้

5. การใช้แบบจ�าลองวิเคราะห์สถานการณ์นา�้ ท่วมและแนวคลองผันน�า้ หลาก แบบจ�าลองน�้าหลาก การวิเคราะห์สถานการณ์น�้าหลากที่เกิดขึ้นและแนวโน้มในอนาคต จ�าเป็นต้องศึกษาโดยใช้แบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ การศึกษาครัง้ นีเ้ ลือกใช้แบบจ�าลองคณิตศาสตร์ 2 แบบจ�าลอง ได้แก่ แบบจ�าลอง SOBEK ที่พัฒนาโดย Deltares ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในการ วิเคราะห์การไหลในล�าน�้าและในพื้นที่น�้าท่วมแบบ 2 มิติ และ แบบจ�าลอง MIKE 11 ที่พัฒนาโดย Danish Hydraulic Institute (DHI) ประเทศเดนมาร์ก ในการวิเคราะห์สภาพการไหลในล�าน�้า 104


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

แบบ 1 มิติ โดยท�าการศึกษาภาพรวมทั้งระบบโครงข่ายล�าน�้าให้สามารถจ�าลองพฤติกรรมการไหล ของปริมาณน�้าท่า ซึ่งไหลมาจากด้านเหนือน�้าและปริมาณน�้าที่ไหลเข้า ด้านข้างของล�าน�้า ให้ใกล้ เคียงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด โดยข้อมูลที่ใช้ในแบบจ�าลองประกอบด้วย ข้อมูลทางด้าน อุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา ข้อมูลแผนที่ภูมิประเทศ ระดับความสูงของผิวดิน และ รูปตัดขวาง ล�าน�้า ข้อมูลอาคารบังคับน�้าต่างๆ และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

5.1 ผังรวมระบบลุ่มน�้า

ลุ่มน�้าเจ้าพระยา ประกอบด้วยลุ่มน�้าสาขาหลัก 8 ลุ่มน�้า เมื่อพิจารณาจากลักษณะ ภูมิประเทศและสภาพทางอุทกวิทยาของแต่ละลุ่มน�้า แบ่งได้เป็น 3 พื้นที่หลัก ดังนี้

แผนผังระบบลุ่มน�้าเจ้าพระยา

105


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1. พื้นที่ต้นน�้าลุ่มน�้าเจ้าพระยา เป็นพื้นที่เทือกเขาและเป็นพื้นที่ที่มีการก่อสร้างเขื่อน กักเก็บน�้าขนาดใหญ่ คือ ลุ่มน�้าปิง เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล เขื่อนแม่กวงอุดมธารา และเขื่อนภูมิพล ลุ่มน�้าวัง เขื่อนกิ่วคอหมา เขื่อนกิ่วลม ลุ่มน�้ายม ไม่มีเขื่อนหรืออ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่ ลุ่มน�้าน่าน เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยบ�ารุงแดนลุ่มน�้าสะแกกรัง เขื่อนทับเสลา เขื่อนคลองโพธิ์ ลุ่มน�้าป่าสัก เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ในพืน้ ทีต่ น้ น�า้ ล�าน�า้ บางช่วงจะแคบท�าให้เกิดปัญหาน�า้ ล้นตลิง่ ในช่วงน�า้ หลาก เช่น อ.เมือง เชียงใหม่ ในแม่นา�้ ปิง อ.เมืองล�าปาง แม่นา�้ วัง อ.เมืองแพร่ แม่นา�้ ยม และ อ.เมืองน่าน แม่นา�้ น่าน 2. พื้นที่กลางน�้า เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เป็นพื้นที่เก็บรับน�้าหลาก ล�าน�้าปิง ยม และน่าน จะ แคบท�าให้นา�้ ล้นตลิง่ เข้าท่วมพืน้ ทีร่ าบลุม่ การเกษตร โดยเฉพาะในลุม่ น�า้ ยมและลุม่ น�า้ น่านตอนล่าง ในจังหวัดสุโขทัย พิจิตร บางส่วนของจังหวัดพิษณุโลก และนครสวรรค์ นอกจากนั้นไม่มีอ่างเก็บน�้า ขนาดใหญ่ในลุ่มน�้าสาขาที่ส�าคัญ ท�าให้มีปริมาณน�้าหลากไหลลงสู่แม่น�้าเจ้าพระยาตอนล่าง โดย เฉพาะในสาขาลุ่มน�้ายมและน่านตอนล่าง 3. พื้นที่ปลายน�้า ตั้งแต่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยามีแม่น�้าที่ส�าคัญคือ แม่น�้าท่าจีน แม่น�้าน้อย และแม่น�้าป่าสักไหลมาบรรจบแม่น�้าเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และแม่น�้าลพบุรี พื้นที่ ตอนล่างเป็นพื้นที่ลุ่มต�่าที่น�้าท่วมในช่วงน�้าหลากมีระบบโครงข่ายคลองเชื่อมโยงในพื้นที่มากมาย เช่น คลองชัยนาท-อยุธยา คลองชัยนาทป่าสัก คลองระพีพัฒน์ คลองพระองค์ไชยานุชิต และคลอง ในแนวขวางที่เชื่อมระหว่างแม่น�้าเจ้าพระยากับคลองแนวตั้ง เช่น คลองระพีพัฒน์แยกตก คลอง รังสิตประยูรศักดิเ์ ชือ่ มระหว่างแม่นา�้ พระยากับแม่นา�้ นครนายกทางฝัง่ ตะวันตกมีคลองเชือ่ มระหว่าง แม่น�้าเจ้าพระยาและแม่น�้าท่าจีน คือ คลองพระยาบันลือ คลองพระพิมล คลองมหาสวัสดิ์ คลอง ภาษีเจริญ รวมพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งพื้นที่ปิดล้อมมีระบบคันป้องกันน�้าท่วม

5.2 ผังระบบล�าน�้าและอาคารควบคุมหลักในพื้นที่ลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง

ลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่างตั้งแต่เขื่อนเจ้าพระยามีอาคารควบคุมหลัก และสถานีสูบน�้าที่ ส�าคัญ ทัง้ ทางด้านฝัง่ ตะวันออก จากแม่นา�้ เจ้าพระยาจดแม่นา�้ บางปะกง และฝัง่ ตะวันตกจากแม่นา�้ เจ้าพระยาจดแม่น�้าท่าจีน 1. ฝั่งตะวันออกของแม่น�้าเจ้าพระยา มีประตูระบายน�้าและสถานีสูบน�้าที่ส�าคัญ ดังนี้ 1) ประตูระบายน�้า (ปตร.) ที่ส�าคัญทางฝั่งตะวันออกของแม่น�้าเจ้าพระยา มีดังนี้ 1.1) แม่น�้าเจ้าพระยา แยกเข้าคลองมีปตร.บางโฉมศรี ปตร.เชียงรากน้อย 1.2) คลองชัยนาท-ป่าสัก มีปตร.มโนรมย์ ปตร.ช่องแค ปตร.โคกกระเทียม และ ปตร.เริงราง 1.3) คลองระพีพัฒน์แยกใต้ ปตร.พระนารายณ์ ปตร.พระศรีศิลป ปตร.พระศรี เสาวภา และปตร.คลองรังสิต 106


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

ผังระบบล�าน�้าและโครงข่ายคลองและอาคารควบคุมหลักในพื้นที่ เจ้าพระยาตอนล่าง

1.4) คลองระพีพฒ ั น์แยกตก แยกเข้าคลองต่างๆ มีปตร.ส�าคัญคือ ปตร.พระอินทร์ ราชา (คลอง 1) ปตร.แยก 1 ขวา (คลอง 10) 1.5) คลองมหาราช มีปตร.มหาราช ในระบบโครงข่ายคลองฝั่งตะวันออกของแม่น�้าเจ้าพระยา มี ปตร.ปากคลองอีกหลายแห่ง 2) สถานีสูบน�้าที่ส�าคัญริมแม่น�้าเจ้าพระยา มีดังนี้ 2.1) สถานีสูบน�้าจุฬาลงกรณ์ (36 ลบ.ม./วินาที) ที่คลองรังสิตประยูรศักดิ์ 2.2) สถานีสูบน�้าคลองบางซื่อ (30 ลบ.ม./วินาที) 2.3) สถานีสูบน�้าพระโขนง (155 ลบ.ม./วินาที) 2.4) สถานีสูบน�้าส�าโรง (75 ลบ.ม./วินาที) 3) สถานีสบู น�า้ ลงแม่นา�้ บางปะกง รวม 96 ลบ.ม.ต่อวินาที มีสถานี (ส.) เสาวภาผ่องศรี ส.สมบูรณ์ ส.คลอง 21 ส.บางขนาก ส.ท่าไผ่ ส.ท่าถั่ว และส.ปากตะคอง 107


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

4) สถานีสูบน�้าคลองชายทะเล รวม 357 ลบ.ม.ต่อวินาที มีสถานีสูบน�้าเทพรังสรรค์ ส.พระยาวิสูตร ส.นางหงส์ ส.ชลหารพิจิตร ส.คลองด่าน ส.เจริญราษฎร์ ส.บางปลา ส.บางปลาร้า และ ส.ต�าหรุ 2. ฝั่งตะวันตกของแม่น�้าเจ้าพระยา มีประตูระบายน�้า และสถานีสูบน�้าที่ส�าคัญ ดังนี้ 1) ประตูระบายน�้า (ปตร.) ที่ส�าคัญฝั่งตะวันตกของแม่น�้าเจ้าพระยา มีดังนี้ 1.1) คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง มีปตร.พลเทพ 1.2) แม่น�้าท่าจีน มีปตร.พลเทพ ปตร.ท่าโบสถ์ ปตร.สามชุก ปตร.โพธิ์พระยา 1.3) แม่น�้าน้อย มีปตร.บรมธาตุ ปตร.ชัณสูตร ปตร.ยางมณี ปตร.ผักไห่ ปตร.ปากคลองพระยาบรรลือ พระพิมลมหาสวัสดิ ์ ภาษีเจริญ ทีค่ วบคุมน�า้ จุดเชือ่ ม ต่อแม่นา�้ เจ้าพระยาและแม่นา�้ ท่าจีน รวมทัง้ ปตร.ทีค่ วบคุมตามคลองมหาชัย คลองสองพีน่ อ้ ง คลอง บางเลน คลองด�าเนินสะดวก เป็นต้น 2) สถานีสูบน�้าจากคลองต่างๆ มีดังนี้ 2.1) สถานีสูบน�้าลงแม่นา�้ ท่าจีน เช่น ส.พระยาบรรลือ ส.พระพิมล ส.ล�าพญา ส.คลองโยง ส.กระทุ่มแบน ส.สี่วาพาสวัสดิ์ 2.2) สถานีสูบน�้าในพื้นที่แก้มลิง - คลองมหาชัย มีสถานีสบู น�า้ รวม 95 ลบ.ม.ต่อวินาที ประกอบด้วย ส.คลอง มหาชัย ส.บางน�้าจืด ส.คอกกระบือ ส.คลองระหาน ส.คลองสะแกงาม และ ส.สนามชัย - สถานีสูบน�้าคลองสวน 18 ลบ.ม.ต่อวินาที - สถานีสูบน�้าคลองขุนราชพินิจใจ 30 ลบ.ม.ต่อวินาที

5.3 แนวผันน�้าหลากปิง-แม่กลอง 5.3.1 ลักษณะส�าคัญของคลองผันน�้าหลากปิง-แม่กลอง คลองผันน�า้ หลากปิง-แม่กลองเริม่ จากอ�าเภอขาณุวรลักษณ์บรุ ี เหนือนครสวรรค์ แนวคลอง ยาว 281 กม. มาลงเหนือเขือ่ นแม่กลอง เป็นการพัฒนาพืน้ ทีฝ่ ง่ั ตะวันตก คลองผันน�า้ หลากปิง-แม่กลอง ได้ด�าเนินการภายใต้แนวคิด ดังนี้ 1. ทางน�้ามีความลาดชันมาก (Steep Slope) เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการระบายน�้าสูง 2. มีถนนเชื่อมต่อโดยตรงจากจังหวัดนครสวรรค์ถึงจังหวัดกาญจนบุรี 3. เชือ่ มต่อกับแม่นา�้ แม่กลอง เพือ่ ลดผลกระทบทางสังคมแทนการก่อสร้างคลองสายใหม่ ที่เชื่อมต่อสู่อ่าวไทย

108


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

แนวผันน�้าหลากปิง-แม่กลอง

การปรับปรุงขุดลอกแม่น�้าแม่กลอง

109


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ลักษณะส�าคัญของคลองผันน�้าฝั่งตะวันตก รายการ น�้าหลากออกแบบ ระยะทาง ประตูระบายน�้า สะพาน ทางน�้าเข้า/ทางน�้าออก/ไซฟอน

ปริมาณ 1,200 ลบ.ม./วินาที 281 กม. 8 แห่ง 70 แห่ง (รวมทางรถไฟ 1) 11 แห่ง/33 แห่ง/24 แห่ง

5.3.2 การปรับปรุงขุดลอกแม่น�้าแม่กลอง

คลองผันน�้าหลากปิง-แม่กลองจะถูกเชื่อมต่อกับแม่น�้าแม่กลองที่ต้นน�้าฝั่งซ้ายของ เขือ่ นแม่กลอง หลังจากปรับปรุงความจุการไหลแล้ว แม่นา�้ แม่กลองจะถูกใช้ในกรณีทมี่ คี วามสามารถ ในการรับน�้าไม่เกินความจุล�าน�้าเท่านั้น การปรับปรุงขุดลอกแม่น�้าแม่กลอง 1. ปัจจุบนั ความจุแม่นา�้ แม่กลองต�า่ สุดประมาณ 960 ลบ.ม./วินาที (ช่วง จ.ราชบุร ี และ อ.บางคนที) 2. ขุดลอกท้องน�้าเพื่อเพิ่มความจุเป็น 1,910 ลบ.ม./วินาที เพื่อรองรับน�้าหลาก 3. การปรับปรุงขุดลอกล�าน�้าแม่กลอง จะไม่ด�าเนินการในเขตพื้นที่ที่น�้ากร่อยเข้า ถึง ตั้งแต่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ไปจนถึงปากน�้าเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาน�้าเค็มรุกตัวเพิ่มขึ้น

5.4 แนวผันน�้าหลากยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา 5.4.1 ลักษณะส�าคัญของคลองผันน�้าหลาก พืน้ ทีบ่ ริเวณจุดบรรจบแม่นา�้ ยมและแม่นา�้ น่าน เป็นพืน้ ทีก่ ารเกษตรลุม่ ต�า่ มีบงึ บอระเพ็ด ตั้งอยู่ทางด้านฝั่งซ้ายของแม่น�้าน่าน ก่อนไหลมาบรรจบกับแม่น�้าปิงที่อ�าเภอเมืองนครสวรรค์ เป็น พื้นที่น�้าท่วมถึง การขุดคลองผันน�้าจากแม่น�้าน่านไปทางฝั่งซ้ายเลียบบึงบอระเพ็ด ซึ่งเป็นพื้นที่สูง ท�าให้ไม่มคี วามเหมาะสมทีจ่ ะขุด คลองผันน�า้ หลากไปยังแม่นา�้ เจ้าพระยา ดังนัน้ การผันน�า้ หลากจาก แม่นา�้ น่านไปสูแ่ ม่นา�้ ปิงและแม่นา�้ เจ้าพระยาตามล�าดับ ทางด้านทิศตะวันตก ซึง่ มีสภาพภูมปิ ระเทศ ค่อนข้างราบจึงมีความเหมาะสมมากกว่า โดยจะต้องก่อสร้างเขือ่ นทดน�า้ แม่นา�้ น่านทีช่ อ่ งลัดบริเวณ วัดเกรียงไกร เหนือตัวเมืองนครสวรรค์ ระดับเก็บกัก 27.00 ม.รทก. กว้าง 12.5 ม. สูง 7.5 ม. ระบาย น�้าหลาก 2,000 ลบ.ม./วินาที ควบคุมด้วยประตูระบายน�้า จ�านวน 9 บาน เพื่อทดน�้า เข้าสู่คลอง ผันน�้าหลากน่าน-ปิง ซึ่งมีปากคลองห่างจากเขื่อนทดน�้าขึ้นไปประมาณ 1.30 กิโลเมตร มีประตู ควบคุมปากคลองผันน�้า จ�านวน 6 บาน กว้าง 10 ม. สูง 7.0 ม. ทางด้านเหนือน�้า และมีแนวไป 110


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

แนวผันน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-สะแกกรัง-เจ้าพระยา

ทางทิศตะวันตกไปสิ้นสุดที่แม่น�้าปิงบริเวณบ้านคุ้งวารี เหนือเขื่อนทดน�้าแม่น�้าปิง รวมความยาว ประมาณ 8.82 กิโลเมตร ปริมาณน�้าผันสูงสุด 1,000 ลบ.ม./วินาที ในแม่น�้าปิง จะต้องก่อสร้างเขื่อนทดน�้าระดับเก็บกักปกติ 25.50 ม.รทก. ที่ช่องลัดบริเวณ บ้านเกาะตาเทพ ควบคุมด้วยประตูระบายน�้า จ�านวน 13 บาน กว้าง 12.5 ม. สูง 7. 5 ม. ระบาย น�้าหลากสูงสุด 3,000 ลบ.ม./วินาที เพื่อทดน�้าจากแม่น�้าปิงและน�้าที่ผันมาจากแม่น�้าน่านเข้าสู่ คลองผันน�้าหลากปิง-เจ้าพระยาที่มีปากคลองอยู่ที่บ้านบางม่วง เหนือเขื่อนทดน�้าขึ้นไปประมาณ 1.50 กิโลเมตร มีประตูควบคุมปากคลอง จ�านวน 6 บาน กว้าง 10.0 ม. สูง 7.0 ม. และคลองผัน น�้าหลาก กว้าง 85.0 ม. ลึก 8 ม. ปริมาณน�้าผัน 1,000 ลบ.ม./วินาที ไปทางทิศตะวันตกจนถึงถนน พหลโยธิน และวกลงมาทางทิศใต้ออ้ มตัวเมืองนครสวรรค์และอ�าเภอโกรกพระ และไปสิน้ สุดทีแ่ ม่นา�้ เจ้าพระยาที่บริเวณบ้านสระเศรษฐี ท้ายตัวอ�าเภอพยุหคีรี รวมความยาวประมาณ 46.38 กิโลเมตร ควบคุมด้วยประตูระบายน�้าปลายคลอง จ�านวน 6 บาน กว้าง 10.0 ม. สูง 7.0 ม.

5.4.2 แนวผันน�้าหลากเขื่อนเจ้าพระยา-แม่กลอง

จากสภาพภูมปิ ระเทศของฝัง่ ตะวันตก มีระดับพืน้ ทีส่ งู เหมาะสมทีจ่ ะก่อสร้างคลอง ผันน�้า จากเขื่อนเจ้าพระยา ที่ระดับ +17.00 ม.รทก. มายังแม่น�้าแม่กลอง ที่ระดับ +10.30 ม.รทก. 111


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

แนวคลองผันน�้าหลากฝั่งตะวันตกของแม่น�้าเจ้าพระยา

ระบายน�้าหลาก 1,200 ลบ.ม.ต่อวินาที คลองผันน�้าหลากเขื่อนเจ้าพระยา-แม่กลอง ความยาว 159.30 กม. เริม่ ต้นจากแม่นา�้ เจ้าพระยาบริเวณอ�าเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท เหนือเขือ่ นเจ้าพระยา และมีแนวคลองลงมาทางด้านทิศใต้ ขนานกับคลองมะขามเฒ่า-อูท่ อง ของกรมชลประทานทางด้าน ทิศตะวันตก ลงมาจนถึงอ�าเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุร ี หลังจากนัน้ แนวคลองผันน�า้ จะไปเชือ่ มต่อ กับคลองจระเข้สามพันและใช้คลองนี้เป็นคลองผันน�้าจนไปถึงอ�าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี จากนั้นคลองจะมีแนวดิ่งลงมาทางทิศใต้ไปตัดกับคลองท่าสาร-บางปลาช่วงต้น แล้วเลยไปบรรจบ กับแม่นา�้ แม่กลองทีบ่ ริเวณเหนือต�าบลท่าเรือ อ�าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุร ี คลองมีความกว้าง 100 เมตร ความลึก 8 เมตร มีประตูระบายน�้า (ปตร.) ควบคุมปากคลอง กลางคลอง และปลาย คลอง ในการผันน�้าลงแม่น�้าแม่กลอง จะต้องมีการบริหารจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้าเขื่อนศรีนครินทร์ เขือ่ นวชิราลงกรณ เขือ่ นแม่กลอง ให้สอดคล้องกับปริมาณน�า้ ผันทีเ่ พิม่ ขึน้ การปรับปรุงขุดลอกล�าน�า้ แม่กลอง การท�าคันป้องกันตลิง่ ตามล�าน�า้ แม่กลอง จากจังหวัดราชบุรลี งมา การปรับปรุงปตร. ปากคลอง ทีเ่ ชือ่ มกับแม่นา�้ แม่กลองเป็นต้น เพือ่ ลดผลกระทบจากปริมาณน�า้ หลากทีร่ ะบายลงสูแ่ ม่นา�้ แม่กลอง 112


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

6. ผลการวิเคราะห์คลองระบายน�า้ หลากทัง้ 2 แนว กับอุทกภัยปี พ.ศ. 2554

ปริมาณและปริมาตรน�้าหลากไหลผ่านสถานีวัดน�้าใน แม่น�้าน่าน แม่น�้าปิง และแม่น�้าเจ้าพระยาในปี พ.ศ. 2554

ลุม่ น�า้ ยมและน่าน มีปริมาณน�า้ หลากทีไ่ หลลงแม่นา�้ เจ้าพระยาตอนล่างเป็นปริมาณมาก และ ค่อนข้างสม�่าเสมอ เนื่องจากมีพื้นที่ลุ่มน�้ารวม 36.7 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 37 ของลุ่มน�้าเจ้าพระยา อีกทั้ง ไม่มีแหล่งเก็บกักน�้าขนาดใหญ่ในลุ่มน�้ายม และขนาดกลางในลุ่มน�้าสาขาน่านตอนล่าง น�า้ หลากในปี พ.ศ. 2554 ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนพฤศจิกายนในลุม่ น�า้ ยมและน่านมีปริมาตร น�้าหลากรวม 17,370 ล้าน ลบ.ม. ในขณะที่ลุ่มน�้าปิง มีปริมาตรน�้าหลากเพียง 11,589 ล้าน ลบ.ม. ส่วนหนึ่งมาจากปริมาณน�้าที่ระบายจากเขื่อนภูมิพลประมาณ 4,253 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 37 ของปริมาตรน�้าหลากในแม่น�้าปิง เพราะมีปริมาณน�้าไหลเข้าเขื่อนมากเกินที่อ่างเก็บน�้าเขื่อน ภูมิพลจะรับได้ ดังนั้นถ้าในบางปี มีการจัดการน�้าอ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพลดีพอและปริมาณน�้าไหล เข้าอ่างเก็บน�า้ เขือ่ นภูมพิ ลน้อยกว่าปี พ.ศ. 2554 ก็จะมีปริมาณน�า้ หลากทีผ่ นั จากแม่นา�้ ปิงไปแม่กลอง ได้นอ้ ย ท�าให้การบรรเทาอุทกภัยก็เป็นไปได้น้อย เพราะปริมาณน�้าหลากส่วนใหญ่มาจากลุ่มน�้ายม

ปริมาณ และปริมาตรน�้าที่ไหลผ่านคลองระบายน�้าหลากปิง-แม่กลอง

ปริมาณ และปริมาตรน�้าที่ไหลผ่านคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง

113


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

และน่าน ซึ่งการระบายน�้าหลากจากแม่น�้ายมและแม่น�้าน่าน มีผลต่อการบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน�้า เจ้าพระยาตอนล่างได้มากกว่า และยังช่วยลดพื้นที่น�้าท่วม ระดับน�้าและระยะเวลาน�้าท่วมในพื้นที่ ลุ่มต�่าในจังหวัดนครสวรรค์ พิจิตร สุโขทัย และพิษณุโลก ได้อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2554 ศึกษากรณีเปรียบเทียบปริมาณน�้าหลากในคลองระบายน�้าหลากจาก แม่น�้าน่าน และคลองระบายน�้าหลากจากแม่น�้าปิงมายังแม่น�้าแม่กลอง ในอัตราระบายน�้าหลาก สูงสุด 1,200 ลบ.ม. ต่อวินาที ปริมาตรน�้าหลากที่ระบายผ่านคลองระบายน�้าหลากจากแม่น�้าน่านปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง มีปริมาตร 9,204 ล้าน ลบ.ม. ในขณะทีถ่ า้ มีคลองระบายน�า้ หลากแม่นา�้ ปิง ไปยังแม่น�้าแม่กลอง มีปริมาตรน�้าหลาก 6,143 ล้าน ลบ.ม. น้อยกว่าปริมาตรน�้าหลากจากแม่น�้า น่านถึง 3,061 ล้าน ลบ.ม. การก่อสร้างคลองระบายน�้าหลากจากแม่น�้าปิง มีประสิทธิภาพต่อการ ระบายน�้าหลากน้อยกว่าคลองระบายน�้าหลากจากแม่น�้าน่าน

6.1 ในการศึกษาพื้นที่ลุ่มน�้ายมและน่านตอนล่าง

คลองระบายน�า้ หลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง และคลองระบายน�า้ หลากปิง-แม่กลอง จะลดผลกระทบในพื้นที่กลางน�้าของลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยา ดังนี้ 1. โครงการก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง ลดระดับน�้า ในแม่น�้าน่านบริเวณนครสวรรค์ 1.16 เมตร และมีผลต่อการลดระยะเวลาการเกิดน�้าหลาก 24 วัน โครงการก่อสร้างคลองระบายน�า้ หลากปิง-แม่กลอง ลดระดับน�า้ ในแม่นา�้ น่านบริเวณนครสวรรค์ลง 0.99 เมตร และลดระยะเวลาการเกิดน�้าหลากลง 24 วัน 2. คลองระบายน�า้ หลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง ลดปริมาตรน�า้ หลากลง 9,204 ล้าน ลบ.ม. ในขณะทีค่ ลองระบายน�า้ หลากปิง-แม่กลอง ลดปริมาตรน�า้ หลาก 6,143 ล้าน ลบ.ม. 3. ลดพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมในพืน้ ทีล่ มุ่ ต�า่ ยม-น่าน และปิง โดยเปรียบเทียบก่อนและหลังมีโครงการ และผลการวิเคราะห์โดยใช้แบบจ�าลอง พบว่า เมื่อมีโครงการก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง จะมีพื้นที่น�้าท่วมลดลงจาก 3.53 ล้านไร่ เหลือ 2.09 ล้านไร่ แต่ โครงการก่อสร้างคลองระบายน�้าหลากปิง-แม่กลอง จะลดพื้นที่น�้าท่วมเหลือ 2.72 ล้านไร่

6.2 พื้นที่ลุ่มน�้าตอนล่างท้ายเขื่อนเจ้าพระยา

การก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง จะบรรเทาพื้นที่ท้าย เขื่อนเจ้าพระยาดีกว่า คลองระบายน�้าหลากปิง-แม่กลอง กล่าวคือ 1. การลดอัตราน�า้ หลากและปริมาตรน�า้ หลากทีร่ ะบายลงท้ายน�า้ เขือ่ นเจ้าพระยาในปี พ.ศ. 2554 ในช่วงกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน ก่อนและหลังมีโครงการ เมื่อมีการก่อสร้างคลองระบายน�้า หลาก ปิง-แม่กลอง ช่วยลดอัตราน�้าหลากสูงสุดท้ายเขื่อนเจ้าพระยาลงจาก 4,667 ลบ.ม.ต่อวินาที ลงเหลือ 3,624 ลบ.ม.ต่อวินาที ปริมาตรน�้าหลากไหลลงท้ายเจ้าพระยา 28,485 ล้าน ลบ.ม. และ 114


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

เมือ่ มีการก่อสร้างคลองระบายน�า้ หลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง ลดอัตราน�า้ หลากสูงสุดท้าย เขือ่ นเจ้าพระยาลงเหลือ 3,363 ลบ.ม.ต่อวินาที และปริมาตรน�า้ หลากทีไ่ หลลงท้ายเขือ่ นเจ้าพระยา 25,424 ล้าน ลบ.ม. โดยสรุปดังนี้

ก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ปิง-แม่กลอง ก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิงเจ้าพระยา-แม่กลอง

2. ระดับน�้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา ได้พิจารณาเปรียบเทียบกับข้อมูลระดับน�้าในแม่น�้า เจ้าพระยาที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา (C.13) สถานีอินทร์บุรี (C.44) สถานีสิงห์บุรี (C.3) พบว่าระดับ น�า้ หลังมีโครงการก่อสร้างคลองระบายน�า้ หลากยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง ลดลงมากกว่าเมือ่ มีโครงการก่อสร้างคลองระบายน�้าหลากปิง-แม่กลอง อยู่ประมาณ 0.05 เมตร และช่วยลดระยะ เวลาน�้าล้นตลิ่งลงมากกว่าโครงการก่อสร้างคลองระบายน�้าหลากปิง-แม่กลอง ประมาณ 3-6 วัน โดยสรุปดังนี้

ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง

ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง

ระดับน�้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาสถานี (C.13) ปี พ.ศ. 2554 เมื่อก่อสร้างโครงการคลองระบายน�้าหลาก

ระดับน�้าสถานีสิงห์บุรี (C.3) ปี พ.ศ. 2554 เมื่อก่อสร้างโครงการคลองระบายน�้าหลาก

กรณี ก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ปิง-แม่กลอง

115


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

กรณีก่อสร้างคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง

6.3 พื้นที่จังหวัดอยุธยา

ในปี พ.ศ. 2554 อุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ ได้ทว่ มพืน้ ทีท่ า้ ยเขือ่ นเจ้าพระยาจนถึงเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเป็นพื้นที่รวม 12.8 ล้านไร่ เป็นปริมาตรน�้าหลากท่วมรวม 30,854 ล้าน ลบ.ม. (รวม ปริมาตรน�้าที่ระบายจากเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์) ระดับน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยาช่วงอยุธยาถึงบางไทร ปี พ.ศ. 2554 เมื่อมีโครงการคลองผันน�้าหลาก จากยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง จะลดระดับ น�้าที่อ�าเภอบางบาลและอ�าเภอบางไทร ได้ดังนี้ ปิง - แม่กลอง

ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง

เมื่ออัตราการไหลในแม่น�้าเจ้าพระยาที่บางบาล 1,300 ลบ.ม.ต่อวินาที น�้าจะเข้าท่วมพื้นที่ ลุม่ ต�า่ บางบาล ประมาณ 1.00 เมตร และจะเพิม่ ขึน้ 0.20 เมตร เมือ่ ปริมาณน�า้ ในแม่นา�้ เจ้าพระยาที่ เพิม่ 100 ลบ.ม.ต่อวินาที แต่เมือ่ การก่อสร้างคลองระบายน�า้ หลากยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง จะส่งผลให้เข้าท่วมพืน้ ทีอ่ �าเภอบางบาลในระดับทีค่ วบคุมได้ในเวลาทีเ่ หมาะสม และในบางปีกจ็ ะไม่ เกิดเหตุการณ์น�้าท่วมในพื้นที่ต�่าบางบาล ในขณะที่โบราณสถาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาก็จะไม่ ประสบปัญหาน�้าท่วมอย่างเช่นในอดีต

6.4 พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จากอุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีก่ รุงเทพและปริมณฑลในปี พ.ศ. 2554 ระหว่างเดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน เนื่องจากน�้าเหนือ น�้าฝน และน�้าทะเลหนุน กรณีมีการก่อสร้างคลองระบาย น�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง จะลดพื้นที่น�้าท่วมลงเหลือ 4.58 ล้านไร่ ปริมาตรน�้า ท่วมในปี พ.ศ. 2554 จ�านวน 15,621 ล้าน ลบ.ม. (เดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน) จะลดลงเหลือ 6,417 ล้าน ลบ.ม. ระดับน�้าท่วมเฉลี่ย 2.47 ม. ในปี พ.ศ. 2554 จะลดลงเหลือ 2.08 ม. (ลดระดับ น�้าท่วม 0.40 ม.) 116


คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง กับการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554

นอกจากนัน้ ระดับเครือข่ายคลองระบายน�า้ ในพืน้ ทีเ่ จ้าพระยาตอนล่าง ประกอบด้วย คลอง ระพีพัฒน์ คลอง 13 คลอง 14 คลอง 15 คลอง 16 คลอง 17-คลองพระองค์เจ้าไขยานุชิต-คลองท่า ด่าน คลองอุดมชลจร คลองเปร็ง คลอง 33-คลองแม่น�้านอก (ปากคลอง 14) คลองหกวาสายล่าง คลองบางขนาก คลองนครเนื่องเขต และคลองประเวศบุรีรมย์ รวมทั้งระบบสูบน�้าในคลลองต่าง ๆ สามารถระบายน�้าหลากค้างทุ่งให้หมดใน 25 วัน จากเดิมที่เคยท่วมขัง 60 วัน ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2555

7. บทสรุปผลการแก้ไขปัญหาอุทกภัย โครงการคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง มีความเหมาะสมเป็นทาง ผันน�้าหลากมากกว่าคลองระบายน�้าหลาก ปิง-แม่กลอง กล่าวคือ 1. พื้นที่ลุ่มต�่ายมและน่านตอนล่าง มีน�้าท่วมเป็นประจ�าทุกปี ในขณะที่แม่น�้าปิงบางปีมี ปริมาณน�้าหลากน้อยเพราะปริมาณน�้าหลากตอนบนจะถูกเก็บกักในเขื่อนภูมิพล ในปี พ.ศ. 2554 น�้าหลากในแม่น�้ายมและน่านมีปริมาตรรวม 17,370 ล้าน ลบ.ม. ในขณะที่แม่น�้าปิงมีปริมาตร รวม 11,589 ล้าน ลบ.ม. (กรกฎาคมถึงพฤศจิกายน) ท�าให้ความสามารถในการระบายน�้าหลาก คลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง มีโอกาสและเสถียรภาพในการระบายน�้า หลากสูงกว่าคลองระบายน�้าหลาก ปิง-แม่กลอง 2. เนือ่ งจากความสามารถในการระบายน�า้ หลากทีด่ กี ว่า จึงท�าให้ความสามารถในการลด ระดับน�า้ และเวลาน�า้ ล้นตลิง่ ของคลองระบายน�า้ หลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง ดีกว่าคลอง ระบายน�้าหลาก ปิง-แม่กลอง 3. สามารถลดพื้นที่น�้าท่วมได้ดีกว่าคลองระบายน�้าหลากแม่น�้าปิง-แม่กลอง 4. เนื่องด้วยจุดระบายน�้าหลากลงแม่น�้าแม่กลองของคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิงเจ้าพระยา อยู่ท้ายเขื่อนแม่กลอง จึงท�าให้ผลกระทบในแม่น�้าแม่กลองมีน้อยกว่าคลองระบายน�้า หลาก ปิง-แม่กลอง ซึง่ ระบายลงเหนือเขือ่ นแม่กลอง ท�าให้เพิม่ ความยุง่ ยากในการบริหารจัดการน�า้ ของเขื่อนแม่กลอง 5. การผันน�า้ หลากลงแม่นา�้ แม่กลอง จะส่งผลกระทบต่อประชาชนในสองฝัง่ ล�าน�า้ แม่กลอง โดยเฉพาะตอนล่างของอ�าเภอเมืองราชบุรลี งมา เพราะสภาพล�าน�า้ แม่กลองมีความจุลา� น�า้ จ�ากัด พืน้ ที่ ตอนล่างเป็นพืน้ ทีล่ มุ่ มีระบบโครงข่ายของคลองหลายสาย ดังนัน้ จะส่งผลกระทบต่อพืน้ ทีเ่ พาะปลูก และการด�าเนินชีวติ ของชุมชน จ�าเป็นต้องมีการศึกษาแนวทางและมาตรการจัดการน�า้ และการแก้ไข ผลกระทบทีอ่ าจเกิดจากการผันน�า้ หลากให้ชดั เจน เพือ่ การตัดสินใจในการด�าเนินโครงการต่อไป จากสถานการณ์นา�้ ท่วมปี 2554 ทีเ่ กิดน�า้ ท่วมในพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ เจ้าพระยารวม 14.86 ล้านไร่ ได้จา� ลองสภาพน�า้ ท่วมในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ของลุม่ น�า้ เจ้าพระยาจากสภาพจริงของภาพถ่ายดาวเทียมในช่วง เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ในกรณีมคี ลองระบายน�า้ หลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง มีผลสรุปได้ดงั นี้ 117


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

พื้นที่กลางน�้า ในปีเหตุการณ์น�้าท่วม พ.ศ. 2554 พื้นที่น�้าท่วมในเดือนตุลาคม เหนือจังหวัดนครสวรรค์ รวม 5.88 ล้านไร่ จากการก่อสร้างโครงการคลองระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง จะมีพนื้ ทีน่ า�้ ท่วม 4.87 ล้านไร่ ซึง่ เป็นพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมในแก้มลิง 1.21 ล้านไร่ คงเหลือน�า้ ท่วมนอกพืน้ ที่ แก้มลิงเพียง 3.66 ล้านไร่ ลดลงคิดเป็นร้อยละ 37.75 ของพื้นที่น�้าท่วม พ.ศ. 2554 พื้นที่ปลายน�้า 1. ลดพื้นที่น�้าท่วมจาก 8.98 ล้านไร่ ลงเหลือ 4.58 ล้านไร่ 2. ปริมาณน�้าค้างทุ่งลดจาก 15,621 ล้าน ลบ.ม. ลงเหลือ 6,417 ล้าน ลบ.ม. 3. ควบคุมขอบเขตพื้นที่น�้าท่วมในพื้นที่ลุ่มทางการเกษตร 4. ระดับน�้าท่วมเฉลี่ยจาก 2.47 เมตร ลดลงเหลือ 2.08 เมตร 5. ป้องกันไม่ให้เกิดน�้าท่วมในพื้นที่ชุมชน พื้นที่เศรษฐกิจ รวมทั้งพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 6. เร่งระบายน�้าค้างทุ่งให้ลงสู่ทะเลผ่านแม่น�้าเจ้าพระยา ท่าจีน แม่กลอง และระบบเครือ ข่ายคลองในพื้นที่ลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง ลดระยะเวลาน�้าท่วมจาก 60 วัน ลงเหลือ 25 วัน จากผลการวิเคราะห์สถานการณ์นา�้ ท่วมปี พ.ศ. 2554 และการป้องกันบรรเทาอุทกภัยในพืน้ ที่ ลุม่ น�า้ เจ้าพระยาจากคลองระบายน�า้ หลากสามารถแก้ไขบรรเทาอุทกภัยได้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 26 ของ พืน้ ที ่ โดยควบคุมขอบเขตพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมทีท่ า� ให้เกิดความเสียหายน้อยมาก จากผลการวิเคราะห์ จะเห็น ได้วา่ ถ้าเกิดอุทกภัยทีม่ คี วามรุนแรงน้อยกว่าปี พ.ศ. 2554 เช่น ปี พ.ศ. 2545 หรือในปีทมี่ อี ตั ราน�า้ หลากสูงสุดทีส่ ถานี C2 น้อยกว่า 3,500 ลบ.ม. ต่อวินาที และปริมาณน�า้ หลากน้อยกว่า 30,000 ลบ.ม. คลองระบายน�า้ หลากจะป้องกันบรรเทาอุทกภัยในลุม่ น�า้ เจ้าพระยาได้อย่างสมบูรณ์

สภาพพื้นที่น�้าท่วมในปี พ.ศ. 2554 ก่อนและหลังมีโครงการระบายน�้าหลาก ยมน่าน-ปิง-เจ้าพระยา-แม่กลอง

118


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบ และการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Flood Prevention Reduction and Forecasting Method in Suratthani Province. ดร.มงคลกร ศรีวิชัย1 ดร.ยุพา ชิดทอง2 รศ.ดร. เสรี ศุภราทิตย์3

บทคัดย่อ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประสบกับเหตุการณ์อทุ กภัยในลุม่ น�า้ ตาปีบอ่ ยครัง้ ซึง่ อุทกภัยทีเ่ กิดใน พืน้ ทีร่ าบลุม่ มักจะเกิดบริเวณทีร่ าบลุม่ ริมแม่นา�้ เนือ่ งจากแม่นา�้ ตืน้ เขินและมีความสามารถระบายน�า้ ไม่เพียงพอ บทความนีจ้ งึ ได้ทา� การประยุกต์ใช้แบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ FLO-2D โดยครอบคลุม พื้นที่ศึกษาลุ่มน�้าตาปี พุมดวง และพุนพิน เพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้มาตรการต่างๆ ใน การลดผลกระทบจากการเกิดอุทกภัย รวมถึงการพยากรณ์ระดับน�้าโดยประยุกต์ใช้โครงข่ายใย ประสาทเทียม เพื่อการเตือนภัย ท�าการศึกษาที่สถานี X.5C บ้านท่าข้าม อ�าเภอพุนพิน จากการ ศึกษาการจัดท�ามาตรการด้านต่างๆร่วมกัน คือ การขุดลอก การสร้างพืน้ ทีแ่ ก้มลิง การขุดคลองผันน�า้ และการก่อสร้างทางน�้าหลาก จะสามารถลดพื้นที่น�้าท่วมในลุ่มน�้าตาปี-พุมดวง ได้ประมาณ 83% ส่วนการศึกษาการพยากรณ์ระดับน�้า โดยใช้แบบจ�าลองโครงข่ายใยประสาทเทียม พบว่า ผลการ พยากรณ์มีค่า R2 หรือค่าประสิทธิภาพในการท�านาย 0.922, 0.887, 0.846 และ 0.801 ส�าหรับ การพยากรณ์ระดับน�้าล่วงหน้า 1 วัน 2 วัน 3 วัน และ 4 วัน ตามล�าดับ อย่างไรก็ตาม การศึกษา เชิงลึกถึงความเป็นไปได้ทางวิศวกรรม ภูมสิ งั คม และเศรษฐศาสตร์ของมาตรการต่างๆ ดังกล่าวข้าง ต้น มีความจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาต่อไป ค�าส�าคัญ : น�้าท่วม, ภัยพิบัติ, สุราษฎร์ธานี, การป้องกัน การลดผลกระทบ และพยากรณ์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย srivichai.m@gmail.com บริษัท ปัญญาคอนซัลแตนท์ จ�ากัด chidthong_y@yahoo.co.th 3 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยรังสิต supratid@yahoo.co.th 1 2

119


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1. บทน�า ปัญหาน�้าท่วม เกิดขึ้นในประเทศไทยเป็นประจ�าทุกปี และมักจะเกิดขึ้นในหลายๆพื้นที่ ปัจจัยทีท่ า� ให้เกิดน�า้ ท่วม เป็นผลมาจากพายุฝนทีต่ กหนัก ท�าให้ปริมาณน�า้ ในแม่นา�้ เพิม่ ขึน้ และเกิด การเอ่อล้นไหลท่วมพืน้ ทีใ่ กล้เคียง นอกจากนี ้ ปัญหาน�า้ ท่วม ยังมีสาเหตุมาจากลักษณะภูมปิ ระเทศ และสภาพแวดล้อม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นอีกพืน้ ทีห่ นึง่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์อทุ กภัยในช่วงเดือน มีนาคมถึงเมษายน พ.ศ. 2554 โดยมีพื้นที่น�้าท่วมทั้งจังหวัดประมาณ 515,690 ไร่ (ข้อมูลจาก ดาวเทียม THEO สทอภ) เกิดจากเหตุการณ์ฝนตกหนักในพืน้ ที ่ ซึง่ จากข้อมูลการตรวจวัดของสถานี อุตุนิยมวิทยาพบว่า หลายพื้นที่มีปริมาณฝนสะสม ในช่วงวันที่ 22 – 31 มีนาคม 2554 มากกว่า 500 มิลลิเมตร เหตุการณ์ครั้งนี้ได้สร้างมูลค่าความเสียหายประมาณ 4,180 ล้านบาท (จังหวัด สุราษฎร์ธานี, 2554) การหามาตรการลดผลกระทบ จากเหตุการณ์ภัยพิบัติทั้งมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างและไม่ใช้ สิ่งก่อสร้างถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ส�าคัญมาก โดยในหลายหน่วยงานพยายามที่จะศึกษาหามาตรการที่ จะลดผลกระทบดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น บงกช สุขอนันต์ (2555) ศึกษาการปรับแก้ระดับน�้าจริง ที่ถูกต้องตามเวลาจริงเพื่อเฝ้าระวังอุทกภัย, ชัยยุทธ ชินณะราศรี และคณะ (2550) ได้ประยุกต์ใช้ แบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อบรรเทาน�้าท่วมในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร ซึ่งผล การค�านวณแสดงต�าแหน่งพื้นที่น�้าท่วมเมื่อฝนตกหนัก และระดับน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยาหนุนสูง ถูกต้องประมาณร้อยละ 70, วิษณุวัฒน์ แต้สมบัติ และ นุชนารถ ศรีวงศิตางนนท์ (2550) ได้ศึกษา การประเมินประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้แบบจ�าลองด้านอุทกพลศาสตร์ ในการศึกษาตรวจสอบ การเคลือ่ นตัวของน�า้ หลาก พบว่า แบบจ�าลองทางคณิตศาตร์ทใี่ ช้กนั อยูอ่ ย่างแพร่หลายทีส่ ามารถน�า มาใช้ฟรี เช่น NWS FLDWAV และแบบจ�าลองที่มีลิขสิทธิ์ คือ MIKE 11 HD มีความสามารถในการ จ�าลองการเคลื่อนตัวของน�้าหลากได้ใกล้เคียงและมีความถูกต้องสูง เนื่องจากแบบจ�าลองมีสมการ พื้นฐานตัวเดียวกัน รวมถึงมีการประยุกต์ใช้แบบจ�าลองโครงข่ายใยประสาทเทียมในการพยากรณ์ ปริมาณน�า้ ท่วมของอ่างเก็บน�า้ เขือ่ นอุบลรัตน์ เพือ่ การบริหารจัดการอุทกภัย ศึกษาโดย ธีรยุทธ ใจตรง และ ชัยวัฒน์ ขยันการนาวี (2548) และชัยยุทธ ชินณะราศรี, ทรงพล โนนสว่าง และเสรี ศุภราทิตย์ (2546) ได้ประยุกต์ใช้โครงข่ายใยประสาทเทียมกับการพยากรณ์ระดับน�้าที่หาดใหญ่ ผลการศึกษา พบว่าค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ในเกณฑ์ที่พึงพอใจ ในเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อลดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน จ�าเป็น ต้องหารูปแบบของมาตรการต่างๆ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ มาตรการใช้สิ่งก่อสร้างต่างๆ มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง (การพยากรณ์และเตือนภัย) และการจัดการภัยพิบัติโดยใช้ชุมชนเป็น ฐาน บทความนี้ได้น�าเสนอมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างในรูปแบบต่างๆ โดยจ�าลองและวิเคราะห์จาก แบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ FLO-2D และการพยากรณ์ระดับน�้าล่วงหน้า 1 วัน 2 วัน 3 วันและ 120


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

4 วัน เพื่อเป็นข้อมูล ส�าหรับการวางแผนในการเตรียมความพร้อมรับมือกับเหตุการณ์อุทกภัย ที่ อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถลดผลกระทบจากเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นดังกล่าวได้

2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อหาแนวทางในการลดผลกระทบ จากเหตุการณ์อุทกภัยในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้มาตรการสิ่งก่อสร้าง ประกอบไปด้วย การขุดลอกล�าน�้าในแม่น�้าตาปีและพุมดวง สร้างพื้นที่ แก้มลิงบริเวณทุง่ ปากขอ ต�าบลเคียน ขุดคลองผันน�า้ แม่นา�้ ตาปี บริเวณเขาหัวควาย เพือ่ ระบายน�า้ ลง ทะเล และสร้างทางน�้าหลากบริเวณถนนเซาเทิร์นซีบอร์ด เพื่อระบายลงทะเล โดยใช้แบบจ�าลอง ทางคณิตศาสตร์ FLO-2D และแสดงผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ รวมทั้งการพยากรณ์ระดับ น�้า โดยใช้แบบจ�าลองโครงข่ายใยประสาทเทียม เพื่อใช้ในการเตือนภัยส�าหรับพื้นที่ชุมชนท้ายน�้า

3. แบบจ�าลอง FLO-2D แบบจ�าลอง FLO-2D เป็นแบบจ�าลองการไหล 2 มิติ ที่พัฒนาโดย Jim O’Brien ประธาน บริษัท FLO-2D Software, Inc. ใช้หลักการค�านวณของ Finite Different Grid เพื่อจ�าลอง พฤติกรรมน�้าหลากที่กระจายไปยังบริเวณต่าง ๆ ที่น�้าท่วมถึง โดยสามารถแสดงขอบเขตและความ รุนแรงของระดับน�้าท่วม อัตราการไหล และความเร็วของน�้า อีกทั้งแบบจ�าลอง FLO-2D สามารถ ประเมินประสิทธิผลของมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่ใช้ลดผลกระทบที่อาจจะเกิดจากน�้าหลาก เช่น การสร้างฝาย การผันน�้า และการสร้างคันกั้นน�้า ผลจากการประเมินพฤติกรรมน�้าหลากโดย ใช้แบบจ�าลอง FLO-2D สามารถสร้างแผนที่แสดงความเสี่ยง และระดับความรุนแรงของระดับ น�้าท่วม (Flood Hazard Map) ซึ่งข้อมูลเพิ่มเติมสามารถดูได้ตาม http://www.flo-2d.com/

รูปที่ 1 ทิศทางการไหลในแต่ละพื้นที่กริด

121


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

แบบจ�าลอง FLO-2D มีหลักการท�างาน 2 ส่วนคือ การไหลในล�าน�้าและการไหลบนผิวดิน การไหลในล�าน�้าเป็นการไหล 1 มิติ โดยใช้ข้อมูลรูปตัดล�าน�้า (Cross-section) เมื่อเกิดน�้าล้นตลิ่ง และไหลหลากบนผิวดินจะเป็นการไหล 2 มิติ การค�านวณของแบบจ�าลอง FLO-2D ใช้สมการ การไหลแบบไม่คงที่ ประกอบด้วย สมการการไหลต่อเนื่อง (Continuity Equation) ดังแสดง ในสมการที่ 1 และสมการโมเมนตัม (Momentum Equation) ในแนวแกน x และ y ดังแสดง ในสมการที่ 2 และ 3 ตามล�าดับ โดยอาศัยหลักการของ Finite Different Grid ซึ่งแบ่งพื้นที่ น�า้ ท่วมออกเป็นกริดสีเ่ หลีย่ มขนาดเล็ก และค�านวณทิศทางการไหลเป็น 8 ทิศทาง ดังแสดงในรูปที่ 1

(1)

(2)

(3)

เมื่อ u และ v h z q Sfx และ Sfy

คือ ความเร็วการไหลในทิศทาง x และ y ตามล�าดับ คือ ระดับน�้า คือ ระดับท้องน�้าหรือพื้นที่น�้าท่วม คือ อัตราการไหลเข้าด้านข้างต่อหน่วยความยาว คือ ความชันเส้นลาดพลังงานในทิศทาง x และ y

4. ข้อมูลน�าเข้าแบบจ�าลอง FLO-2D ข้อมูลน�าเข้าพืน้ ฐานของแบบจ�าลอง FLO-2D ทีใ่ ช้ในการจ�าลองการไหลหลากของน�า้ ล้นตลิง่ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลค่าระดับความสูงต�่าของภูมิประเทศในขอบเขตพื้นที่ศึกษา (DEM, Digital Elevation Model) ในการศึกษาครั้งนี้ได้ก�าหนดขนาดกริดเท่ากับ 500x500 เมตร การก�าหนด ขนาดกริดขึ้นอยู่กับความละเอียดของข้อมูลค่าระดับความสูงต�่าของภูมิประเทศ และระยะเวลา ในการค�านวณของโปรแกรม รวมทั้งความสามารถของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ 2) ข้อมูลรูปตัดล�าน�้า 3) ข้อมูลระดับถนนและความกว้าง 4) ข้อมูลอัตราการไหลรายวันเพือ่ ใช้เป็น Upstream Boundary และ 5) ข้อมูลระดับน�้ารายวันเพื่อใช้เป็น Downstream Boundary

5. การปรับเทียบแบบจ�าลอง ในการศึกษาการจ�าลองเหตุการณ์น�้าท่วมในพื้นที่ลุ่มน�้าตาปี พุมดวง และพุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ในช่วงระหว่าวันที่ 23 มีนาคม – 4 เมษายน 2554 โดยใช้แบบจ�าลอง FLO-2D ซึ่ง 122


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ต้องมีการปรับเทียบข้อมูลที่วิเคราะห์ได้กับผลการตรวจวัดจริง ผลการวิเคราะห์จากแบบจ�าลอง แสดงค่าระดับน�า้ และปริมาณน�า้ ทีต่ า� แหน่งต่าง ๆ ของล�าน�า้ ตามข้อมูลรูปตัดล�าน�า้ ในการศึกษาครัง้ นี้ ได้เลือกใช้สถานีวัดน�้า X.217 บริเวณอ�าเภอเคียนซา เป็นสถานีปรับเทียบแบบจ�าลอง เนื่องจาก เป็นสถานีวัดน�้าในแม่น�้าตาปี อยู่ในพื้นที่ศึกษาและมีการเก็บข้อมูลต่อเนื่อง ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ ท�าการปรับเทียบแบบจ�าลอง โดยหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของล�าน�้า ซึ่งพบว่าอยู่ในช่วง ระหว่าง 0.03-0.02 ผลการปรับเทียบแบบจ�าลองดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2 ระดับน�้าเปรียบเทียบจากวัดจริงที่สถานี X.217 และผลค�านวณ

(ก) ภาพถ่ายดาวเทียม (ข) ผลจากแบบจ�าลอง รูปที่ 3 ขอบเขตพื้นที่น�้าท่วมจังหวัดสุราษฎร์ธานี

123


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ความสูงของน�้าท่วมพบว่ามีพื้นที่น�้าท่วมทั้งหมดเท่ากับ 520.24 ตารางกิโลเมตร พื้นที่น�้า ท่วมในตัวเมืองสุราษฎร์ธานี เท่ากับ 105.12 ตารางกิโลเมตร ความสูงน�า้ ท่วม 0.5 – 2.5 เมตร พืน้ ที่ น�้าท่วมอ�าเภอพุนพิน เท่ากับ 212.93 ตารางกิโลเมตร ความสูงน�้าท่วม 0.5 – 3.0 เมตร พื้นที่น�้า ท่วมอ�าเภอเคียนซา เท่ากับ 83.12 ตารางกิโลเมตร ความสูงน�้าท่วม 0.5 – 2.5 เมตร พื้นที่น�้าท่วม อ�าเภอพระแสง เท่ากับ 11.59 ตารางกิโลเมตร ความสูงน�้าท่วม 0.5 – 1.5 เมตร และพื้นที่น�้าท่วม อ�าเภอเวียงสระเท่ากับ 30.56 ตารางกิโลเมตร ความสูงน�้าท่วม 0.5 – 2.5 เมตร ขอบเขตน�้าท่วม จากแบบจ�าลอง เมือ่ เทียบกับภาพถ่ายดาวเทียมเหตุการณ์นา�้ ท่วมพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์ธานีในวันที่ 4 เมษายน 2554 พบว่า ขอบเขตพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมทีไ่ ด้จากแบบจ�าลองใกล้เคียงกับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ จริง ดังแสดงในรูปที่ 3 อย่างไรก็ตามค่าระดับน�้าสูงสุดที่เกิดขึ้นจริง ยังไม่มีการตรวจวัดจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง แต่สามารถเปรียบเทียบได้

6. มาตรการป้องกันและลดผลกระทบ การศึกษาครัง้ นีไ้ ด้ศกึ ษามาตรการป้องกันและลดผลกระทบ จากสภาวะน�า้ ท่วมทีเ่ กิดขึน้ ใน ลุ่มน�้า ตาปี พุมดวง และพุนพิน รวม 7 มาตรการ (แสดงในรูปที่ 4) ได้แก่ 1) การขุดลอกแม่น�้าตาปี และแม่น�้าพุมดวง รวมปริมาณขุดลอก 41 ล้านลูกบาศก์เมตร 2) การสร้างพื้นที่แก้มลิงบริเวณทุ่งปากขอ อ�าเภอเคียนซา มีพื้นที่ประมาณ 41 ตารางกิโลเมตร สามารถรับน�้าได้ 82 ล้านลูกบาศก์เมตร 3) การขุดคลองผันน�า้ จากบริเวณเขาหัวควาย เพือ่ ระบายลงทะเลทีค่ ลองท่าทองความยาว ประมาณ 32 กิโลเมตร รับน�้าได้ 385 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที 4) การก่อสร้างทางน�า้ หลากบริเวณถนนเซาเทิรน์ ซีบอร์ดเพือ่ ระบายน�า้ ลงทะเลความยาว 35 กิโลเมตร รับน�้าได้ 275 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที 5) ขุดลอกล�าน�้า (มาตรการที่ 1) และสร้างพื้นที่แก้มลิง (มาตรการที่ 2) 6) ขุดลอกล�าน�้า (มาตรการที่ 1) และขุดคลองผันน�้าแม่น�้าตาปี (มาตรการที่ 3) 7) ขุดลอกล�าน�้า (มาตรการที่ 1) สร้างพื้นที่แก้มลิง (มาตรการที่ 2) ขุดคลองผันน�้าแม่น�้า ตาปี มาตรการที่ 3) และสร้างทางน�้าหลาก (มาตรการที่ 4)

7. ผลการศึกษาแบบจ�าลอง FLO-2D ผลการศึกษา กรณีมาตรการป้องกันและลดผลกระทบ จากน�า้ ท่วมต่อพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ตาปี พุมดวง และพุนพิน พบว่า มาตรการขุดลอกล�าน�า้ ตาปี พุมดวง และพุนพิน สามารถลดขอบเขตพืน้ ทีน่ า�้ ท่วม ได้ ประมาณร้อยละ 62 โดยลดพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมตัวเมืองสุราษฎร์ธานีได้ประมาณร้อยละ 44 และลดพืน้ ที่ น�า้ ท่วมอ�าเภอพุนพินได้ประมาณร้อยละ 93 เมือ่ เทียบกับเหตุการณ์นา�้ ท่วมเมือ่ วันที ่ 23 มีนาคม ถึง 124


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รูปที่ 4 แสดงต�าแหน่งพื้นที่แก้มลิง คลองผันน�้า และทางน�้าหลาก

10 เมษายน พ.ศ. 2554 และระดับสูงสุดลดลงเหลือ 1.00 เมตร มาตรการขุดคลองผันน�้าบริเวณ เขาหัวควาย จะสามารถช่วยลดขอบเขตพื้นที่น�้าท่วมอ�าเภอพุนพินประมาณร้อยละ 7 มาตรการ สร้างพื้นที่แก้มลิงจะสามารถช่วยลดชอบเขตพื้นที่น�้าท่วมบริเวณอ�าเภอเคียนซา พระแสง เวียงสระ บ้านนาเดิม และบ้านนาสาร มากกว่าร้อยละ 50 มาตรการสร้างทางน�้าหลากสามารถลดขอบเขต พื้นที่น�้าท่วมอ�าเภอเคียนซาและบ้านนาเดิม มาตรการขุดลอกล�าน�้าและสร้างพื้นที่แก้มลิงสามารถ ลดขอบเขตพื้นที่น�้าท่วมได้ประมาณร้อยละ 79 มาตรการขุดลอกและขุดคลองผันน�้า มาตรการ ขุดลอกและขุดคลองผันน�้า สามารถลดขอบเขตพื้นที่น�้าท่วมได้ประมาณร้อยละ 65 และมาตรการ รวมที่ประกอบด้วยการขุดลอก สร้างพื้นที่แก้มลิง ขุดคลองผันน�้า และท�าทางน�้าหลาก สามารถลด ขอบเขตพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมได้ถงึ ร้อยละ 83 แผนทีแ่ สดงขอบเขตน�า้ ท่วมและระดับน�า้ ท่วมจากการศึกษา มาตรการต่างๆ ดังแสดงในรูปที่ 5

125


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

(c) กรณีศึกษามาตรการขุดคลองผันน�้า (d) กรณีศึกษามาตรการรวม รูปที่ 5 แผนที่แสดงขอบเขตพื้นที่น�้าท่วมและระดับน�้า

126


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

8. แบบจ�าลองโครงข่ายใยประสาทเทียม โครงข่ายประสาทเทียม เป็นโครงสร้างเชิงเลียนแบบโครงสร้างของมนุษย์ ในการท�างาน และความสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ของสมองมนุษย์ ซึง่ ถือได้วา่ เป็นหนึง่ ในเทคนิคของการท�าเหมืองข้อมูล คือ โมเดลทางคณิตศาสตร์ ส�าหรับประมวลผลสารสนเทศด้วยการค�านวณแบบคอนเนคชันนิสต์ เพื่อ จ�าลองการท�างานของเครือข่ายประสาทในสมองมนุษย์ ด้วยวัตถุประสงค์ ที่จะสร้างเครื่องมือซึ่งมี ความสามารถในการเรียนรูก้ ารจดจ�ารูปแบบ และการสร้างความรูใ้ หม่ เช่นเดียวกับความสามารถทีม่ ี ในสมองมนุษย์ ประกอบด้วย เซลล์ประสาท หรือ “นิวรอน” (Neurons) และ “จุดประสานประสาท” (Synapses) แต่ละเซลล์ประสาทประกอบด้วยปลายในการรับกระแสประสาท เรียกว่า “เดนไดรท์” (Dendrite) ซึ่งเป็น input และปลายในการส่งกระแสประสาทเรียกว่า “แอคซอน” (Axon) ซึ่ง เป็นเหมือน output ของเซลล์ เซลล์เหล่านี้ท�างานด้วยปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี เมื่อมีการกระตุ้นด้วยสิ่ง เร้าภายนอกหรือกระตุ้นด้วยเซลล์ด้วยกัน กระแสประสาทจะวิ่งผ่านเดนไดรท์เข้าสู่นิวเคลียสซึ่งจะ เป็นตัวตัดสินว่าต้องกระตุ้นเซลล์อื่น ๆ ต่อหรือไม่ ถ้ากระแสประสาทแรงพอ นิวเคลียสก็จะกระตุ้น เซลล์อื่น ๆ ต่อไปผ่านทางแอคซอนของมัน รูปที่ 6 แสดงการจ�าลองโครงข่ายเซลล์ประสาทเทียม

โครงข่ายเซลล์ประสาท โครงข่ายเซลล์ประสาทเทียม รูปที่ 6 แสดงการจ�าลองโครงข่ายเซลล์ประสาทเทียม(Bhokha, 1999)

9. ข้อมูลน�าเข้าแบบจ�าลองโครงข่ายใยประสาทเทียม ลุม่ น�า้ ตาปี ตัง้ อยูร่ ะหว่างเทือกเขานครศรีธรรมราชและทิวเขาภูเก็ต พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบ แม่น�้าสายส�าคัญ ได้แก่ แม่น�้าตาปี มีต้นก�าเนิดจากเขาช่องลม ใต้บริเวณเทือกเขานครศรีธรรมราช ในเขตอ�าเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ไหลขึ้นไปทางเหนือ ผ่านอ�าเภอต่าง ๆ ในจังหวัด นครศรีธรรมราช และสุราษฎร์ธานี ความยาวรวม 232 กิโลเมตร และแม่น�้าพุมดวง ซึ่งมีต้นก�าเนิด จากเทือกเขาภูเก็ต ในเขตอ�าเภอคีรีรัฐนิคม และอ�าเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไหลผ่านอ�าเภอ ต่าง ๆ มาบรรจบกับแม่น�้าตาปีที่อ�าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความยาวรวม 120 กิโลเมตร 127


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 7 ต�าแหน่งสถานีตรวจวัดน�้าที่ใช้ในการพยากรณ์ระดับน�้า

โดยสถานีวัดน�้าที่ส�าคัญ ที่ใช้เป็นตัวแปรในการพัฒนาระบบเตือนภัยส�าหรับพื้นที่จังหวัด สุราษร์ธานี ได้แก่ สถานี X.36 คลองพุมดวง บ้านท่าขนอน อ�าเภอคีรีรัฐนิคม สถานี X.37A แม่น�้า ตาปี บ้านพระแสง อ�าเภอพระแสง สถานี X.217 แม่น�้าตาปี บ้านเคียนซา อ�าเภอเคียนซา และ สถานี X.5C บ้านท่าข้าม อ�าเภอพุนพิน รวมทั้งข้อมูลที่ส�าคัญอีกหนึ่งตัวแปรคือ ข้อมูลปริมาณน�้า ฝนจากสถานีอุตุนิยมวิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ดังแสดงในรูปที่ 7 ในการพัฒนาครั้งนี้ได้มีการจัดโครงสร้างของระบบพยากรณ์ระดับน�้า โดยใช้โครงข่ายใย ประสาทเทียท ซึ่งมีโครงสร้างดังแสดงในรูปที่ 8 ประกอบไปด้วยสามส่วนหลักๆ คือ ส่วนน�าเข้า จะประกอบไปด้วยข้อมูลระดับน�้ารายวันที่สถานี X.37A, X.217, X.36 และ X.5C และข้อมูล ฝนสะสมรายวันที่สถานีอุตุนิยมวิทยา จ.สุราษฎร์ธานี ส่วนประมวลผล จะใช้รูปแบบ General Regression Neural Network (GRNN) และส่วนสุดท้ายคือ ส่วนแสดงผล จะแสดงระดับน�า้ ทีส่ ถานี X.5C ล่วงหน้า 1 วัน, 2 วัน, 3 วัน และ 4 วันตามล�าดับ โดยข้อมูลนี้เองจะสามารถน�ามาเพื่อเป็น ข้อมูลวิเคราะห์กับขนาดหน้าตัดของสถานี X.5C ที่มีระดับตลิ่งอยู่ที่ 2.50 ม.รทก เพื่อประกอบการ ตัดสินใจในการประกาศเตือนภัยให้กับประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย

รูปที่ 8 โครงสร้างโครงข่ายใยประสาทเทียมเพื่อการพยากรณ์ระดับน�้า สถานี X.5C

128


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

10. ผลการศึกษาโครงข่ายใยประสาทเทียม จากการประยุกต์ใช้โครงข่ายใยประสาทเทียม พยากรณ์ระดับน�า้ ทีส่ ถานี X.5C บ้านท่าข้าม อ�าเภอพุนพิน โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่ เดือนเมษายน ปี 2553 ถึง เดือน มีนาคม 2555 พบว่าผลการ พยากรณ์มีค่า ประสิทธิภาพ (R2) 0.922, 0.887, 0.846 และ 0.801 ส�าหรับการพยากรณ์ระดับ น�้าล่วงหน้า 1วัน 2 วัน 3 วัน และ 4 วัน ตามล�าดับ แสดงในรูปที่ 9

รูปที่ 9 เปรียบเทียบผลจากการตรวจวัดและแบบจ�าลอง ระดับน�้าที่สถานี X.5C

รูปที่ 10 ระดับเฝ้าระวังและระดับน�้าล้นตลิ่ง สถานี X.5C

จากการศึกษาทัง้ หมดทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้นนัน้ สามารถน�าไปใช้ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อการเตือนภัย โดยใช้ประกอบกับข้อมูลหน้าตัดล�าน�้าที่สถานี X.5C ดังแสดงในรูปที่ 10 โดย ก�าหนดระดับน�า้ ทีส่ ถานี X.5C สูงกว่า 1.8 เมตร เป็นช่วงทีต่ อ้ งเฝ้าระวัง และแจ้งข่าวให้กบั ประชาชน ในพืน้ ที ่ และถ้าระดับน�า้ สูงกว่า 2.5 เมตร น�า้ จะไหลล้นตลิง่ และเข้าท่วมพืน้ ทีร่ มิ แม่นา�้ ตาปี ซึง่ จ�าเป็น ต้องประกาศอพยพประชาชนให้ไปอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย

129


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

11. สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาหามาตรการลดผลกระทบ จากการจ�าลองเหตุการณ์อุทกภัยในพื้นที่จังหวัด สุราษฏร์ธานีในวันที่ 23 มีนาคม ถึง 10 เมษายน พ.ศ. 2554 โดยใช้แบบจ�าลองคณิตศาสตร์ FLO2D พบว่า การจ�าลองมาตรการใช้สงิ่ ก่อสร้างต่างๆ ร่วมกัน ได้แก่ มาตรการขุดลอกล�าน�า้ สร้างพืน้ ที่ แก้มลิง ขุดคลองผันน�้า และทางน�้าหลาก จะสามารถลดพื้นที่น�้าท่วมได้ 83% เหลือเพียง 87.55 ตารางกิโลเมตร แต่จ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาถึงผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ เศรษฐศาสตร์ ของโครงการนีต้ อ่ ไป เพือ่ หาจุดเหมาะสมทัง้ ทางวิศวกรรม สังคม และเศรษฐกิจ และ จ�าเป็นอย่างยิ่งควรที่จะหากิจกรรมอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อให้การก่อสร้างต่างๆ มีคุณค่ามากกว่าหนึ่งมิติ หรือเอนกประสงค์ ในส่วนของการเตรียมพร้อมรับภัย โดยใช้ขอ้ มูลพยากรณ์ระดับน�า้ ทีส่ ถานี X.5C จากการวิเคราะห์ด้วยแบบจ�าลองโครงข่ายใยประสาทเทียม พบว่าสามารถพยากรณ์ระดับน�้าล่วง หน้าได้ 1-4 วัน โดยมีค่าประสิทธิภาพ (R2) 0.80-0.92 และได้ก�าหนดหลักเกณฑ์ในการเฝ้าระวัง เตือนภัย 2 ระดับ คือ กรณีระดับน�้าสูงกว่า 1.8 เมตร ต้องแจ้งข่าวให้กับประชาชนในพื้นที่ และ กรณีระดับน�้ามากกว่า 2.5 เมตร น�้าจะล้นตลิ่งและเข้าท่วมพื้นที่ริมแม่น�้าตาปี ต้องประกาศอพยพ ประชาชนให้ไปอยูใ่ นพืน้ ทีป่ ลอดภัย ข้อมูลการเตือนภัยจะเป็นส่วนประกอบทีส่ า� คัญในการตัดสินใจ เพือ่ อพยพและเคลือ่ นย้ายทรัพย์สนิ รวมทัง้ ผูท้ ไี่ ม่สามารถช่วยเหลือตัวเองและสัตว์เลีย้ งไปยังสถานที่ ปลอดภัย ตามที่ได้มีการวางแผนและซักซ้อมไว้

กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาครัง้ นี ้ ขอขอบคุณจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทีส่ นับสนุนทุนการศึกษาครัง้ นี ้ ส�านักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสุราษฎร์ธานี โครงการชลประทานจังหวัดสุราษฎร์ธานี ศูนย์ อุทกวิทยาและบริหารน�้าภาคใต้ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก นายอ�าเภอในพื้นที่จังหวัด สุราษฎร์ธานี ที่ให้การสนับสนุนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่างๆ

เอกสารอ้างอิง 1. 2. 3.

Jim O’Brien,“FLO-2D USER’S MANAUL 2001.06”, 2002 จังหวัดสุราษฎร์ธานี. “พิบตั ภิ ยั ครัง้ เดียวก็เกินพอ.” หนังสือหารายได้ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบพิบตั ภิ ยั จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2554. จังหวัดสุราษฎร์ธานี. “สภาพน�า้ ท่วมจังหวัดสุราษฎร์ธานี.” รายงานน�า้ ท่วม วันที ่ 29 มีนาคม - 5 เมษายน 2554.

130


การศึกษามาตรการป้องกันลดผลกระทบและการพยากรณ์น�้าท่วมในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

4. ชัยยุทธ ชินณะราศรี, ทรงพล โนนสว่าง และเสรี ศุภราทิตย์, 2546, “การประยุกต์ใช้โครงข่าย ใยประสาทเทียมกับการพยากรณ์ระดับน�า้ ทีห่ าดใหญ่”, วารสารวิจยั และพัฒนา มจธ., ปีท ี่ 26, ฉบับที่ 1, มกราคม-มีนาคม, หน้า 125-137. 5. ชัยยุทธ ชินณะราศรี, วราภรณ์ นาคสั้ว, สุทัศน์ วีสกุล และ Ole Mark, 2550, “การประยุกต์ ใช้แบบจ�าลองคณิตศาสตร์เพื่อบรรเทาน�้าท่วมในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของกรุงเทพมหานคร”, วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา, ปีที่ 18, ฉบับที่ 3, หน้า 7-18. 6. ธีรยุทธ ใจตรง และ ชัยวัฒน์ ขยันการนาวี “การพยากรณ์ปริมาณน�้าท่วมของอ่างเก็บน�้าเขื่อน อุบลรัตน์ดว้ ยแบบจ�าลองโครงข่ายประสาทเทียมเพือ่ การบริหารจัดอุทกภัย” วิศวกรรมสาร มก. ฉบับที่ 56 ปีที่ 19 สิงหาคม – พฤศจิกายน 2548 7. บงกช สุขอนันต์ มงคล ปุษยตานนท์ กฤษณ์ ศรีวรมาศ “การปรับแก้และน�าเสนอข้อมูลระดับน�า้ ทีถ่ กู ต้องตามเวลาจริงส�าหรับระบบเฝ้าระวังอุทกภัย” วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 8. วิษณุวฒ ั น์ แต้สมบัต ิ และ นุชนารถ ศรีวงศิตางนนท์ “การประเมินประสิทธิผลของการประยุกต์ ใช้แบบจ�าลองด้านอุทกพลศาสตร์ในการศึกษาตรวจสอบการเคลือ่ นตัวของน�า้ หลาก” วิศวกรรมสาร มก. ฉบับที่ 60 ปีที่ 20 ธันวาคม 2549 – มีนาคม 2550 9. ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน), รายงานการติดตาม พื้นที่น�้าท่วม ปี 2554 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม THEOS , http://www.gistda.or.th/ gistda_n/ เข้าถึงเมื่อ 6 เมษายน 2554 10. ส�านักบริหารจัดการน�้าและอุทกวิทยา, สรุปสภาวะการเกิดอุทกภัยลุ่มน�้าตาปี จังหวัด สุราษฎร์ธานี, http://water.rid.go.th/hydhome/mainpage.html เข้าถึงเมือ่ 10 สิงหาคม 2554

131


เหนือฟ้ำยังมีกฎแห่งกรรม เหนือฟ้า ยังมีฟ้า

แต่ไม่มีอะไรเหนือกฎแห่งกรรม ผู้ที่เป็นชาวพุทธทุกคน

ควรเชื่อและพยายามศึกษา

ท�าความเข้าใจในกฎแห่งกรรม อาตมาอยากจะกล่าวว่า

ชาวพุทธที่ไม่เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม ...หาใช่ชาวพุทธไม่ คนที่เชื่อเรื่องกรรม

ย่อมสามารถที่จะอดทน

ยอมรับความทุกข์โดยไม่ตีโพยตีพาย หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม

132


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัด โดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN อภิณห์ วรวิวัฒน์1 รศ.ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์2 ผศ.อุดมศักดิ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา3

บทคัดย่อ การศึกษาในครั้งนี้ เสนอการจ�าลองสภาพการไหลในเขตพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดซึ่งระบบ โครงข่ายการไหลมีความซับซ้อน โดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN จ�าลองการไหลใน ระบบระบายน�้าและการไหลบนผิวดินขณะที่ในพื้นที่มีเหตุการณ์ฝนตก การปรับเทียบแบบจ�าลอง ได้ปรับพารามิเตอร์ในแบบจ�าลองน�้าฝน-น�้าท่า และแบบจ�าลองการไหลในโครงข่ายท่อและคลอง ด้วยระดับน�้าในคลองบางบ�าหรุ คลองผักหนาม และคลองบางยี่ขัน ซึ่งค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระ ผิวของแมนนิง่ ของคลองทัง้ สามสายได้จากการตรวจวัดโดยตรง ส่วนค่าสัมประสิทธิก์ ารซึมผ่านของ น�้าในพื้นที่รับน�้า ประเมินจากลักษณะการใช้ที่ดิน ผลการตรวจสอบแบบจ�าลองได้ค่าพารามิเตอร์ ที่ท�าให้ท�านายการไหลได้โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของระดับน�้ามากกว่า 0.7 และเมื่อน�าแบบ จ�าลองไปประยุกต์ใช้ประเมินประสิทธิภาพของระบบระบายน�้าในปัจจุบัน พบว่าเมื่อมีปริมาณ ฝนตกเกิน 60 มิลลิเมตรในช่วงเวลา 1 ชัว่ โมงจะมีนา�้ ท่วมขังบนผิวดินกระจายเป็นแห่ง ๆ ทัว่ บริเวณ พื้นที่ปิดล้อม ค�าส�าคัญ : การจ�าลองสภาพการไหล การปรับเทียบแบบจ�าลอง แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN ระบบระบายน�้า พื้นที่ปิดล้อมบางพลัด ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 1 2

133


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1. บทน�า การสร้างแบบจ�าลองการไหลของระบบระบายน�้าในเขตเมือง มีความส�าคัญต่อการบริหาร จัดการระบบเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาน�้าท่วมขัง แต่ก่อนจะน�าแบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์มาใช้ท�านาย สภาพการระบายน�้าในเมือง จะต้องท�าการปรับเทียบพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในแบบจ�าลอง เพื่อให้ สอดคล้องกับลักษณะพื้นที่จริง ในการศึกษานี้ได้น�าแบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN ซึ่งพัฒนา ขึ้นโดย Danish Hydraulic Institute (DHI) มาตรวจสอบสภาพการระบายน�้าของระบบระบายน�้า ในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัด ซึ่งอยู่ในเขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร ระบบระบายน�้าของพื้นที่ ปิดล้อมบางพลัดมีโครงข่ายของระบบทีค่ อ่ นข้างซับซ้อน เนือ่ งจากมีลกั ษณะโครงข่ายการไหลทีผ่ สม ผสานของโครงข่ายท่อและคลองทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ระบบคลองตามธรรมชาติ อาคารควบคุมการไหล และอิทธิพลน�า้ ขึน้ -น�า้ ลงในแม่นา�้ เจ้าพระยา อีกทัง้ ยังมีการตรวจวัดข้อมูลเฉพาะค่าระดับน�า้ บริเวณ ปากคลองแต่ละคลองเท่านั้น ดังนั้นลักษณะโครงข่ายเช่นนี้จ�าเป็นต้องอาศัยเทคนิคการปรับเทียบ แบบจ�าลองซึ่งมีความซับซ้อนกว่าการปรับเทียบแบบจ�าลองทั่วไป บทความนี้จึงได้น�าเสนอแนวทาง และเทคนิคการปรับเทียบแบบจ�าลองระบบระบายน�้า ในเขตเมือง ทีม่ จี า� นวนสถานีตรวจวัดระดับน�า้ ไม่ครอบคลุมทัง้ ระบบ เพือ่ ให้ได้คา่ พารามิเตอร์ทตี่ อ้ ง ใช้ในการค�านวณที่มีความถูกต้องใกล้เคียงกับสภาพปัจจุบันของพื้นที่ระบายน�้าและระบบระบาย น�้ามากที่สุด โดยผลจากการปรับเทียบจะถูกน�าไปใช้ในการจ�าลองการไหลในระบบระบายน�้าใน เหตุการณ์ฝนตกหนักกรณีตา่ ง ๆ และพิจารณาบริเวณทีเ่ กิดน�า้ ท่วมจากเหตุการณ์ฝนตกจริงในอดีต โดยแบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN สามารถวิเคราะห์ปริมาณน�้าท่า การไหลแบบ 1 มิติของ ระบบท่อและคลอง และการไหลแบบ 2 มิติบนผิวดิน รวมทั้งสามารถสร้างแผนที่แสดงบริเวณที่มี น�้าท่วมขังได้ด้วย

2. แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN (DHI, 2011) แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN ถูกพัฒนาขึ้นโดยหน่วยงาน Danish Hydraulic Institute (DHI) เป็นแบบจ�าลองที่พัฒนาให้ท�างานร่วมกันระหว่างแบบจ�าลอง MIKE URBAN และ MIKE 21 โดย MIKE URBAN ประกอบด้วย 2 แบบจ�าลองย่อยคือ แบบจ�าลองน�้าฝน-น�้าท่า (Rainfall-Runoff Model) ซึ่งวิเคราะห์ปริมาณน�้าท่าผิวดินจากข้อมูลปริมาณฝน และแบบจ�าลอง การไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลอง (River Network Model) ที่ท�าการค�านวณการไหลผ่าน ระบบท่อและคลอง โดยสามารถเลือกค�านวณได้จาก 2 แบบจ�าลองย่อยคือ Modeling of Urban Sewerage (MOUSE) หรือ Strom Water Management Modeling (SWMM) อย่างใดอย่าง หนึ่ง เมื่อประยุกต์ใช้แบบจ�าลอง MIKE URBAN รวมกับ MIKE 21 เป็นแบบจ�าลองการไหลอิสระ ใน 2 มิติ จะได้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN ซึ่งจะค�านวณการไหลทั้ง 1 มิติและ 2 มิติ โดย แสดงผลเป็นระดับน�้าในท่อและคลอง และแผนที่น�้าท่วม รายละเอียดของแต่ละแบบจ�าลองมีดังนี้ 134


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

2.1 แบบจ�าลองน�า้ ฝน-น�า้ ท่า (Rainfall-Runoff (RR) Model) ท�าหน้าทีแ่ ปลงปริมาณฝนที่ ตกลงมาในพืน้ ทีเ่ ป็นปริมาณน�า้ ท่าผิวดิน โดยมีวธิ กี ารค�านวณปริมาณน�า้ ท่าผิวดินในแต่ละพืน้ ทีร่ บั น�า้ ย่อยเพื่อไหลลงสู่จุดรับน�้า (Nodes) 4 วิธีคือ Time/Area Method, Linear Reservoir Method, SCS Unit Hydrograph Method และ Kinematic Wave Method ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้เลือกใช้ วิธ ี Time/Area เนือ่ งจากชุดพารามิเตอร์สามารถประเมินได้จากลักษณะทางกายภาพของพืน้ ทีร่ บั น�า้ พารามิเตอร์ของวิธนี ปี้ ระกอบด้วย สัมประสิทธิก์ ารซึมผ่าน (Percentage Imperviousness) ระยะ เวลาการไหลรวมตัว (Time of Concentration, Te) สัมประสิทธิป์ รับลดปริมาณน�า้ ท่า (Reduction Factor) การสูญเสียเริ่มต้น (Initial Loss) และสัมประสิทธิ์รูปร่างพื้นที่รับน�้า (Time/Area Curve Number) 2.2 แบบจ�าลองการไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลอง (River-Network (RN) Model) การศึกษาครั้งนี้เลือกใช้แบบจ�าลอง MOUSE ในการจ�าลองการไหลแบบ 1 มิติ เพื่อหาค่าระดับน�้า และอัตราการไหล โดยค�านวณของแบบจ�าลองใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขแบบ Finite Difference และใช้ Scheme แบบ 6 จุด โดยมีชุดสมการ St. Venant ซึ่งประกอบด้วยสมการความต่อเนื่อง (Continuity Equation) และสมการโมเมนตัม (Momentum Equation) เป็นสมการควบคุมดัง สมการที่ 1 และ 2 ตามล�าดับ การค�านวณการไหลใช้สมมุติฐานการค�านวณการไหลใน 1 มิติแบบ Fully Dynamic Wave ดังสมการที ่ 3 เนือ่ งจากสมการนีส้ ามารถจ�าลองการไหลทัว่ ไปและการไหล ย้อนกลับของน�า้ ในท่อไปสูจ่ ดุ ทางเข้า เพือ่ จ�าลองการล้นของน�า้ ในท่อ (Surcharge) ในกรณีทเี่ กิดน�า้ ท่วมได้

(1)

(2)

(3)

เมื่อ A คือ พื้นที่หน้าตัดการไหล (m2) g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (m/s2) I0 คือ ความลาดชันท้องน�้า If คือ ความลาดชันของเส้นพลังงาน Q คือ อัตราการไหล (m3/s) q คือ อัตราการไหลต่อหนึ่งหน่วยความกว้าง (m3/s/m) t คือ เวลาการไหล (s) 135


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

v คือ ความเร็วการไหล (m/s) x คือ ระยะทางการไหล (m) y คือ ความลึกการไหล (m)

ข้อมูลปริมาณน�้าท่าผิวดินที่ได้จากแบบจ�าลองน�้าฝน-น�้าท่าจะเป็นข้อมูลป้อนเข้าสู่แบบ จ�าลองการไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลอง โดยก�าหนดให้เป็นขอบเขตด้านเหนือน�้า (Upper Boundary Condition) ส�าหรับขอบเขตด้านท้ายน�้า (Lower Boundary Condition) ก�าหนด เป็นค่าอัตราการไหลหรือระดับน�้าที่จุดทางออก โดยพารามิเตอร์ที่ต้องการของแบบจ�าลองคือ ค่า สัมประสิทธ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่ง (Manning’s Roughness Coefficient,n) ทั้งในระบบ คลองและระบบท่อ 2.3 แบบจ�าลองการไหลบนผิวดินแบบ 2 มิติ (2D Overland flow Model) เป็นการน�า แบบจ�าลอง MIKE 21 มาใช้ในการจ�าลองการไหลแผ่บนผิวดิน ซึ่งเกิดจากการไหลล้นออกจากทาง ระบายน�า้ เพือ่ ค�านวณพืน้ ทีน่ า�้ ท่วมและลักษณะการแผ่ของน�า้ ผิวดินด้วยชุดสมการค�านวณการไหล ใน 2 มิติ (St. Venant Equation) ซึ่งประกอบด้วยสมการความต่อเนื่องใน 2 มิติ สมการโมเมนตัม ในแกน x และสมการโมเมนตัมในแกน y ดังสมการที่ 4, 5 และ 6 ตามล�าดับ โดยพารามิเตอร์ที่ ต้องการคือ ค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งในการไหลบนผิวดิน (2D Overland flow Manning’s Roughness Coefficient,n2D)

(4)

(5)

(6)

เมื่อ

h d

p

ζ

x

คือ ความลึกน�้า (m) คือ ความลึกน�้าที่แปรผันตามเวลา (m) คือ ระดับผิวน�้าเหนือระดับน�้าทะเลปานกลาง (m) คือ ความหนาแน่นของการไหลในทิศทางแกน x ( m3 136

s m

)


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

คือ ความหนาแน่นของการไหลในทิศทางแกน y ( m3 s m ) C คือ สัมประสิทธิ์ความขรุขระท้องน�้าของ Chezy ( m1 2 s ) คือ ความฝืดเนื่องมาจากลม fV Vx Vy คือ ความเร็วลมในทิศทางแกน x และ y (m s ) ตามล�าดับ คือ สัมประสิทธิ์คอริออริส ( s −1 ) Ω pa คือ ความดันอากาศ ( kg m s 2 ) ρ w คือ ความหนาแน่นของน�้า ( kg m3 ) τ xx τ yy τ xy คือ แรงเฉือนประสิทธิผลในทิศทางแกน x และแกน y ตามล�าดับ p y

แบบจ�าลองการไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลอง และแบบจ�าลองการไหลบนผิวดินหรือ เรียกรวมว่า MIKE FLOOD URBAN ท�างานโดยน�าปริมาณน�้าขณะน�้าล้นออกจากท่อมาจ�าลอง ปริมาณน�้าที่ไหลแผ่บนแผนที่ระดับความสูงเชิงตัวเลข (Digital Elevation Model, DEM) แล้ว ประเมินอัตราการไหลและระดับน�้าท่วมในบริเวณต่าง ๆ จากข้อมูลแผนที่ระดับความสูงเชิงตัวเลข ซึง่ มีลกั ษณะเป็นกริดทีเ่ ป็นขอบเขตปิด และจ�าลองเป็นแผนทีน่ า�้ ท่วม ผังการท�างานของแบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN แสดงดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 ผังการท�างานของแบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

137


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

3. พื้นที่ศึกษา พืน้ ทีป่ ดิ ล้อมบางพลัดตัง้ อยูใ่ นเขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร มีลกั ษณะเป็นพืน้ ทีป่ ดิ ล้อมย่อยตัง้ อยูท่ ลี่ ะติจดู 100°27 ' ถึง 100°31' 48" องศาตะวันออกและลองติจดู 13°45'36" ถึง 13°49 '12" องศาเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 12 ตารางกิโลเมตร ภายในพื้นที่ปิดล้อมประกอบด้วย 2 เขตการปกครองคือ เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อยบางส่วน ลักษณะที่ตั้งของพื้นที่ตั้งอยู่ด้าน ทิศตะวันตกของแม่นา�้ เจ้าพระยามีขอบเขตด้านเหนือติดกับทางรถไฟสายใต้ ทีเ่ ป็นเส้นแบ่งระหว่าง จังหวัดนนทบุรกี บั กรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกและทิศใต้ตดิ กับแม่นา�้ เจ้าพระยา และทิศตะวันตก ติดกับคลองบางกอกน้อย โดยลักษณะการใช้พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตชุมชนและเขตเศรษฐกิจ รูปที่ 2 แสดงที่ตั้งและขอบเขตของพื้นที่ปิดล้อมบางพลัด

รูปที่ 2 ที่ตั้งและขอบเขตของพื้นที่ปิดล้อมบางพลัด

ระบบระบายน�า้ ในพืน้ ทีป่ ดิ ล้อมบางพลัดประกอบด้วยระบบท่อ ระบบคลอง และโครงสร้าง ทางชลศาสตร์ที่ควบคุมอัตราการไหลและระดับน�้า ได้แก่ เครื่องสูบน�้า และประตูระบายน�้า คลอง ในพื้นที่ศึกษาประกอบด้วยคลองสายย่อยและคลองสายหลักรวม 44 สาย บริเวณปลายคลองที่ติด ริมแม่น�้าเจ้าพระยาและคลองบางกอกน้อยมีประตูระบายน�้ากั้นไว้ ประตูระบายน�้าในคลองสาย หลักบางแห่งมีเครื่องสูบน�้าส�าหรับช่วยระบายน�้า เช่น คลองบางพลัด คลองบางบ�าหรุ และคลอง บางยี่ขัน เป็นต้น รูปที่ 3 แสดงโครงข่ายระบบระบายน�้าของพื้นที่ปิดล้อมบางพลัด

138


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

4. ข้อมูลน�าเข้า ลักษณะข้อมูลน�าเข้าแบบจ�าลองแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ข้อมูลทางกายภาพและข้อมูล อนุกรมเวลา โดยข้อมูลทางกายภาพเป็นลักษณะข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ จ�าลองระบบระบายน�้าที่แบบจ�าลองต้องการในการจ�าลองสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมีพารามิเตอร์ที่ ส�าคัญดังตารางที่ 1 และเมือ่ น�าเข้าข้อมูลเพื่อสร้างแบบจ�าลองจะได้ลักษณะโครงข่ายระบบระบาย น�้าดังรูปที่ 3 ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ทางส�านักระบายน�้า กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานหลักในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ข้อมูลอนุกรมเวลาที่ใช้ ได้แก่ (i) ข้อมูลอนุกรมเวลาของฝนราย 5 นาที ของ 8 สถานี ฝนที่มอี ิทธิพลต่อการตกของฝนในพื้นที่ซงึ่ น�ามาสร้างรูปเหลีย่ มธีเอสเสนเพือ่ วิเคราะห์การกระจาย ฝน โดยข้อมูลของสถานีวัดปริมาณฝนและพื้นที่รูปเหลี่ยมธีเอสเสนแสดงดังตารางที่ 2 (ii) ข้อมูล อนุกรมเวลารายชั่วโมงระดับน�้าในและนอกบานประตูระบายน�้า (iii) ข้อมูลอนุกรมเวลาราย 5 นาที ของการเปิด-ปิดประตูระบายน�้า และ(iv) ข้อมูลการเดินเครื่องสูบน�้าราย 5 นาที ตารางที่ 1 พารามิเตอร์ที่ส�าคัญในการจ�าลองระบบระบายน�้า Layers Nodes Links CRS Gates Catchment

Parameters ground level, invert level, diameter and coordinate position diameter (for circular) or width/height (for rectangular), Invert level and length cross-section, bottom level, width, height location, invert level, real time control (RTC), height and width catchment area, imperviousness, time of concentration and initial loss

ตารางที่ 2 ข้อมูลสถานีวัดปริมาณฝน และพื้นที่รูปเหลี่ยมธีเอสเสน

139


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

5. แนวคิดการปรับเทียบและการตรวจสอบซ�้าแบบจ�าลอง โดยทั่วไปการปรับเทียบแบบจ�าลอง (Model Calibration) จะท�าการปรับเทียบจากแบบ จ�าลองน�า้ ฝน-น�า้ ท่า โดยมีจดุ ตรวจวัดการไหลเมื่อน�า้ ไหลลงระบบท่อ แล้วจึงท�าการปรับเทียบแบบ จ�าลองการไหลผ่านระบบท่อและคลอง แต่ในการศึกษานี้จะท�าการปรับเทียบทั้งสองแบบจ�าลอง ควบคู่กัน โดยท�าการส�ารวจหน้าตัดคลองเพื่อประเมินค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่ง ในระบบคลอง และประเมินค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน�้าจากข้อมูลการใช้ที่ดินและก�าหนดให้ ทัง้ 2 พารามิเตอร์เป็นค่าคงที ่ แล้วจึงท�าการปรับเทียบแบบจ�าลองน�า้ ฝน-น�า้ ท่าและแบบจ�าลองการ ไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลองร่วมกันด้วยค่าพารามิเตอร์ตา่ ง ๆ คือ ระยะเวลาการไหลรวมตัว การสูญเสียเริม่ ต้น สัมประสิทธิร์ ปู ร่างพืน้ ทีร่ บั น�า้ สัมประสิทธิป์ รับลดปริมาณน�า้ ท่า และสัมประสิทธิ์ ความขรุขระผิวของแมนนิง่ ในท่อจนกว่าจะได้ขอ้ มูลระดับน�า้ ทีค่ า� นวณโดยแบบจ�าลอง (Simulated water level) มีลักษณะใกล้เคียงกับค่าระดับน�้าที่ได้จากการตรวจวัด (Observed water level)

รูปที่ 3 โครงข่ายระบบระบายน�้าในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัด

การปรับเทียบแบบจ�าลองนี้เป็นการปรับเทียบพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในลักษณะ SemiLumped model โดยเลือกปรับพารามิเตอร์ครั้งละ 1 ค่าและสมมุติให้พารามิเตอร์อื่น ๆ คงที่ ในขณะท�าการปรับเทียบพารามิเตอร์ที่สนใจ จากนั้นปรับค่าพารามิเตอร์ที่สนใจจนกว่าจะได้ค่า พารามิเตอร์ที่ท�าให้ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลระดับน�้าจากแบบจ�าลองและข้อมูล ระดับน�า้ ทีไ่ ด้จากการตรวจวัดมีคา่ สูงสุดแล้วจึงเริม่ ปรับพารามิเตอร์ตวั อืน่ ๆ ถัดไปโดยวิธกี ารเดียวกัน 140


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

คลองทีใ่ ช้ปรับเทียบแบบจ�าลองคือ คลองบางบ�าหรุ คลองผักหนาม และคลองบางยีข่ นั ทัง้ 3 คลองจะถูกปรับเทียบพร้อมกันด้วยค่าระดับน�้าภายในคลอง เนื่องจากคลองทั้ง 3 เชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นขอบเขตพื้นที่การปรับเทียบแบบจ�าลองจึงใช้พื้นที่รับน�้าย่อยที่ระบายน�้าลงสู่คลองทั้ง 3 สาย โดยข้อมูลที่จ�าเป็นในการจ�าลองเหตุการณ์และปรับเทียบแบบจ�าลองได้แก่ ข้อมูลปริมาณฝนราย 15 นาที ข้อมูลระดับน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยารายชั่วโมง ข้อมูลระดับน�้าในคลองบางกอกน้อยราย ชั่วโมง ข้อมูลการเดินเครื่องสูบน�้าราย 5 นาที และข้อมูลการเปิด-ปิดบานประตูระบายน�้าราย 5 นาทีซึ่งจะใช้ข้อมูลในช่วงวันที่ 8-16 สิงหาคม พ.ศ.2553 ขอบเขตเงื่อนไขการปรับเทียบแบบจ�าลองมี 2 ขอบเขตคือ ขอบเขตด้านเหนือน�้า (Upper Boundary Condition) จะใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาของอัตราการไหลที่ประเมินได้จากแบบจ�าลอง น�า้ ฝน-น�า้ ท่าเป็นข้อมูลปริมาณน�า้ ทีไ่ หลลงสูจ่ ดุ เชือ่ ม (node) ระหว่างพืน้ ทีร่ บั น�า้ ย่อยและโครงข่าย ระบบท่อและคลอง ส�าหรับขอบเขตด้านท้ายน�า้ (Lower Boundary Condition) จะใช้ขอ้ มูลระดับ น�า้ ในคลองบางกอกน้อยเป็นขอบเขตการไหลด้านท้ายน�า้ ในคลองบางบ�าหรุและคลองผักหนาม และ ระดับน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยาเป็นขอบเขตการไหลด้านท้ายน�้าของคลองบางยี่ขัน หลังจากปรับเทียบแบบจ�าลองแล้ว จะท�าการตรวจสอบซ�า้ แบบจ�าลอง (Model Verification) ด้วยชุดข้อมูลอนุกรมเวลาในช่วงวันที ่ 17-23 สิงหาคม พ.ศ.2553 และใช้ชดุ พารามิเตอร์ทไี่ ด้จากการ ปรับเทียบแบบจ�าลองเพือ่ ยืนยันความถูกต้องของชุดพารามิเตอร์ทปี่ รับเทียบแล้ว โดยผังแนวคิดการ ปรับเทียบแบบจ�าลองแสดงดังรูปที่ 4

รูปที่ 4 ผังแนวคิดการปรับเทียบแบบจ�าลอง

6. การด�าเนินงาน การศึกษาครั้งนี้มีผังลักษณะการด�าเนินงานดังรูปที่ 5 โดยก�าหนดขอบเขตในพื้นที่ปิดล้อม บางพลัดและท�าการจ�าลองสภาพระบบระบายน�้าด้วยการป้อนชุดข้อมูลที่จ�าเป็น ได้แก่ ระบบท่อ 141


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ระบบคลอง ประตูระบายน�้า เครื่องสูบน�้า ชุดพารามิเตอร์ของแบบจ�าลองน�้าฝน-น�้าท่า และชุด พารามิเตอร์ของแบบจ�าลองการไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลอง โดยชุดพารามิเตอร์ที่ป้อนเข้า สูแ่ บบจ�าลองจะเป็นค่าทีไ่ ด้จากการประเมินตามสภาพจริงและสมมุตขิ นึ้ เพือ่ รอการปรับเทียบแบบ จ�าลอง

รูปที่ 5 ผังลักษณะการด�าเนินงาน

สัมประสิทธิก์ ารซึมผ่าน (Percentage Imperviousness) ประเมินจากลักษณะการใช้ทดี่ นิ ตามสภาพจริง โดยการประเมินจะใช้แผนทีก่ ารใช้ทดี่ นิ ภาพถ่ายดาวเทียมปี 2010 (กรมพัฒนาทีด่ นิ , 2010) ซึง่ แผนทีก่ ารใช้ทดี่ นิ จะน�ามาประเมินสัมประสิทธิก์ ารซึมผ่านน�้า โดยแยกตามลักษณะการใช้ ที่ดินที่อ้างอิงมาตรฐานจาก Urban Storm Drainage Criteria Manual จากหน่วยงาน Urban Drainage and Flood Control District (UDFCD, 2008) ดังแสดงในตารางที่ 3 แล้วจึงน�ามา ตรวจสอบโดยการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ตารางที่ 3 สัมประสิทธิ์การซึมผ่านน�้าของการใช้ที่ดินแต่ละประเภท (UDFCD, 2008)

142


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

ระยะเวลาการไหลรวมตัว (Time of concentration) ประเมินโดยพิจารณาจากรูปร่าง ของพื้นที่รับน�้าย่อยและระยะทางไกลสุดของพื้นที่รับน�้าย่อยถึงจุดทางออก ประกอบกับลักษณะ การใช้ทดี่ นิ ในลุม่ น�า้ ย่อย เพือ่ พิจารณาความสะดวกในการไหลของน�า้ ซึง่ จะพิจารณาลักษณะการใช้ ที่ดินจากภาพถ่ายดาวเทียมการสูญเสียเริ่มต้น (Initial loss) และสัมประสิทธิ์ปรับลดปริมาณน�้าท่า ถูกประเมินจากลักษณะของดินในบริเวณพื้นที่ศึกษาเพื่อประมาณค่าการซึมผ่านน�้าของดินแต่ละ ประเภท ส่วนสัมประสิทธิ์ปรับลดปริมาณน�้าท่าประเมินจากการสูญเสียระหว่างการไหลบนผิวดิน สัมประสิทธิ์รูปร่างพื้นที่รับน�้าย่อย (T/A Curve Number) ประกอบด้วย 3 รูปแบบคือ ค่า สัมประสิทธิส์ า� หรับรูปสามเหลีย่ มคว�า่ ค่าสัมประสิทธิส์ า� หรับรูปสีเ่ หลีย่ ม และค่าสัมประสิทธิส์ า� หรับ รูปสามเหลี่ยมหงาย เมื่อท�าการปรับค่าสัมประสิทธิ์รูปร่างพื้นที่รับน�้าย่อยแล้ว พบว่าไม่ท�าให้เกิด การเปลี่ยนแปลงระดับน�้าที่จุดทางออกจึงเลือกใช้สัมประสิทธิ์รูปร่างพื้นที่รับน�้าย่อยมีค่าเป็น 1 ข้อมูลสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่ง (Manning’s Roughness Coefficient) ในคลองต่าง ๆ ที่น�าเข้าสู่แบบจ�าลองเป็นข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดภาคสนาม โดยพารามิเตอร์ที่ จ�าเป็นต่อการประเมินค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งคือ ความเร็วการไหลเฉลี่ย ความ ชันผิวน�้า และเส้นขอบเปียกซึ่งการส�ารวจความเร็วการไหลจากภาคสนามจะใช้วิธีทุ่นลอยเพื่อวัด ความเร็วกระแสน�้าและใช้สัมประสิทธิ์การปรับเทียบความเร็วทุ่นลอยผิวน�้าส�าหรับทั้ง 3 คลองเป็น 0.74 (Shaw, 1994) จากนั้นจึงท�าการส�ารวจหน้าตัดคลองเพื่อหาเส้นขอบเปียกการไหล และวัด ความลาด (Slope) ของท้องน�า้ ในช่วงคลองท�าให้สามารถหาค่าสัมประสิทธิค์ วามขรุขระผิวของแมน นิ่งได้ดังสมการที่ 7 โดยมีต�าแหน่งการตรวจวัดค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งจากภาค สนามแสดงดังรูปที่ 6 ต�าแหน่งการปล่อยทุ่นลอยและลักษณะรูปร่างหน้าตัด แสดงดังรูปที่ 7 ค่า สัมประสิทธิค์ วามขรุขระผิวของแมนนิง่ ทีไ่ ด้จากการตรวจวัดในคลองบางบ�าหรุ คลองผักหนาม และ คลองบางยี่ขันมีค่าเป็น 0.025, 0.032 และ 0.031 ตามล�าดับ

V=

1 2 3 12 R S n

(7)

การปรับเทียบแบบจ�าลองใช้ข้อมูลระดับน�้าในคลองสายหลักทั้ง 3 สายในการปรับแก้ค่า พารามิเตอร์ในแบบจ�าลองน�้าฝน-น�้าท่า และแบบจ�าลองการไหลในโครงข่ายระบบท่อและคลอง โดยคลองทั้ง 3 สายจะรับน�้าจากพื้นที่รับน�้าซึ่งคิดเป็นร้อยละ 43 ของพื้นที่ศึกษาทั้งหมด หลังจาก การปรับแก้แบบจ�าลองแล้วจะท�าการยืนยันแบบจ�าลองเพื่อยืนยันชุดพารามิเตอร์ที่ได้จากการ ปรับเทียบแบบจ�าลอง จากนั้นจึงท�าการจ�าลองเหตุการณ์ด้วยแบบจ�าลองน�้าฝน-น�้าท่า และแบบ จ�าลองการไหลในระบบโครงข่ายท่อและคลองด้วยเหตุการณ์ฝนจริง เพือ่ ทดสอบประสิทธิภาพของ ระบบระบายน�้า แล้วจึงจ�าลองการไหลแผ่บนผิวดินซึ่งจ�าเป็นต้องอาศัยข้อมูลแผนที่ระดับความสูง เชิงตัวเลขที่มีความละเอียด 30x30 ตารางเมตรที่ได้จากหน่วยงาน Shuttle Radar Topography Mission (SRTM) เพื่อจ�าลองลักษณะการไหลบนผิวดินแบบ 2 มิติ 143


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 6 ต�าแหน่งตรวจวัดค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่ง

หลังจากผ่านการปรับเทียบแบบจ�าลองแล้ว ได้น�าแบบจ�าลองไปตรวจสอบประสิทธิภาพ การระบายน�้าของระบบโดยใช้ข้อมูลฝนตกจากเหตุการณ์ฝนตกหนักในอดีตหลาย ๆ เหตุการณ์ เพื่อตรวจสอบบริเวณที่ประสบปัญหาน�้าท่วมขัง

รูปที่ 7 รูปตัดที่ได้จากการส�ารวจคลองที่ใช้ปรับเทียบแบบจ�าลองทั้ง 3 สาย (ก) คลองบางยี่ขัน (ข) คลองบางบ�าหรุ และ (ค) คลองผักหนาม

144


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

7. สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 7.1 สรุปผลการศึกษา จากการทดสอบวิธีการปรับเทียบแบบจ�าลองด้วยการให้ค่าการซึมผ่านของน�้าและค่า สัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งในคลองเป็นค่าคงที่ แล้วปรับเทียบพารามิเตอร์ทาง อุทกวิทยาและค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งในท่อ พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R2) ของระดับน�้าตรวจวัดในคลองบางบ�าหรุ คลองผักหนาม และคลองบางยี่ขัน มีค่าเป็น 0.9, 0.8 และ 0.7 ตามล�าดับ ซึ่งตัวอย่างผลการปรับเทียบแบบจ�าลองของคลองบางบ�าหรุแสดงดังรูปที่ 8 และเมื่อท�าการตรวจสอบซ�้าแบบจ�าลอง ปรากฎว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของคลองบางบ�าหรุ คลองผักหนาม และคลองบางยี่ขันมีค่าเป็น 0.8, 0.7 และ 0.7 ตามล�าดับ โดยตัวอย่างผลการตรวจ สอบซ�้าแบบจ�าลองในคลองบางบ�าหรุแสดงดังรูปที่ 9 และ ได้ค่าพารามิเตอร์ที่ได้จากกระบวน การปรับเทียบและตรวจสอบซ�้าแบบจ�าลองดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่ได้จากกระบวนการปรับเทียบและตรวจสอบซ�้าแบบจ�าลอง พารามิเตอร์ Time of Concentration Manning’s Roughness Coefficient Reduction Factor T/A Curve Number

ค่าพารามิเตอร์ 15 – 20 min 0.015-0.032 0.6-0.8 1

จากนั้นจึงจ�าลองแผนที่น�้าท่วมที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์พายุฝนจริงที่มีปริมาณฝนมากกว่า 60 มิลลิเมตรในช่วงเวลา 1 ชัว่ โมง ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2553 พบว่ามีบริเวณแอ่งน�า้ ท่วมขังกระจาย อยู่ทั่วพื้นที่ดังแสดงในรูปที่ 10 การปรับเทียบแบบจ�าลองด้วยวิธีการนี้เหมาะส�าหรับกรณีที่ในพื้นที่ศึกษามีจ�านวนสถานี ตรวจวัดปริมาณน�้าไม่เพียงพอต่อการปรับเทียบแบบจ�าลองทั่วไป ซึ่งสามารถน�าค่าพารามิเตอร์ ที่ได้ไปใช้ตรวจสอบประสิทธิผลของการปรับปรุงระบบ และ/หรือ การบริหารจัดการน�้าในพื้นที่ ปิดล้อมบางพลัด

7.2 ข้อเสนอแนะ

1. ควรเพิ่มจ�านวนสถานีตรวจวัดระดับน�้าในคลอง เพราะสามารถท�าให้วิเคราะห์ค่า สัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งในช่วงคลองต่าง ๆ ได้ละเอียดขึ้น 145


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 8 ผลการปรับเทียบแบบจ�าลองที่สถานีวัดระดับน�้าคลองบางบ�าหรุ

รูปที่ 9 ผลการตรวจสอบซ�้าแบบจ�าลองที่สถานีวัดระดับน�้าคลองบางบ�าหรุ

2. ควรมีการก�าหนดเกณฑ์การเปิด-ปิดบานประตูระบายน�า้ และการเดินเครือ่ งสูบน�า้ เพือ่ น�าไปพัฒนาการควบคุมอาคารบังคับน�้าอัตโนมัติ

กิตติกรรมประกาศ ผู้เขียนขอขอบพระคุณหน่วยงาน DHI Thailand ที่ให้การสนับสนุนแบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN ให้คา� ปรึกษาการใช้แบบจ�าลองตลอดจนขัน้ ตอนการศึกษาต่างๆ ส�านักการระบาย น�้า กรุงเทพมหานคร และกรมพัฒนาที่ดินที่ให้การสนับสนุนข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ 146


การจ�าลองสภาพการไหลในพื้นที่ปิดล้อมบางพลัดโดยใช้แบบจ�าลอง MIKE FLOOD URBAN

รูปที่ 10 แผนที่น�้าท่วมสูงสุดเนื่องจากเหตุการณ์ฝนในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553

เอกสารอ้างอิง 1. 2. 3.

DHI group, 2011, “User guide manual of MIKE URBAN Collection System”, DHI group, Vol.1, pp. 19-209 Urban Drainage and Flood Control District, 2008, “Drainage Criteria Manual”, Vol. 1, Denver, Colorado, pp. RO-9 Shaw, E.M., “Hydrology in Practices”, 3th ed., Chapman & Hall, 2007

147



การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพื่อเพิ่มพลังงานไฟฟ้า โครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว ชูลิต วัชรสินธุ1์

1. ค�าน�า น�้าเทินเป็นแม่น�้าสายส�าคัญสาขาแม่น�้าโขง ตั้งอยู่ในตอนกลางของประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) มีพนื้ ทีร่ บั น�า้ ฝน 14,650 ตร.กม. ในล�าน�า้ เทิน มีการพัฒนา โครงการไฟฟ้าพลังน�้าขนาดใหญ่ แสดงในรูปที่ 1 สรุปได้ดังนี้ โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าเทิน 2 ตั้งอยู่ตอนบนของล�าน�้าเทิน ในแขวงค�าม่วน ครอบคลุม พื้นที่ 4,039 ตร.กม. ผันน�้าลงไปยังโรงไฟฟ้าล�าน�้าเซบังไฟ มีก�าลังผลิตติดตั้ง 1,070 เมกะวัตต์ โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุน เป็นโครงการ run-of-river ก่อสร้างฝายปิดล�าน�้าเทิน ท้ายน�้าเขื่อนน�้าเทิน 2 ครอบคลุมพื้นที่รับน�้าฝน 8,916 ตร.กม. ผันน�้าจากน�้าเทินไปยังโรงไฟฟ้าที่ น�้าไฮ สาขาน�้าหินบุนมีก�าลังผลิตติดตั้ง 220 เมกะวัตต์

รูปที่ 1 ที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าขนาดใหญ่ในล�าน�้าเทิน 1

กรรมการบริหาร บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด

149


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุน ส่วนขยาย เป็นการก่อสร้างเขื่อนยวงสูง 65 เมตร บน แม่น�้ายวงสาขาน�้าเทิน ก�าลังผลิตติดตั้ง 60 เมกะวัตต์ เพื่อเก็บกักน�้าในฤดูฝนและระบายน�้าในฤดู แล้งให้โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เทิน-หินบุน ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เพิม่ มากขึน้ โดยเพิม่ ก�าลังผลิตติดตัง้ โรงไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุน จาก 220 เมกะวัตต์ เป็น 440 เมกะวัตต์ การพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น เป็นการก่อสร้างเขื่อนปิดกั้นน�้าเทิน ใกล้ แก่งหลวงอยู่ระหว่างเขื่อนน�้าเทิน 2 เขื่อนเทิน-หินบุน เพื่อเก็บกักน�้าในน�้าพร้าว สาขาน�้าเทิน และ ปริมาณน�้าเทินท้ายเขื่อนน�้าเทิน 2 เพื่อ ผลิตไฟฟ้าและระบายน�้าเพิ่มขึ้นในฤดูแล้งก่อให้ประโยชน์ กับโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุน และโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน

2. ที่ตั้งและลักษณะส�าคัญของโครงการ โครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น เป็นเขื่อน RCC (Roller Compacted Concrete) ตั้ง อยู่บนน�้าเทินเหนือแก่งหลวงประมาณ 600 เมตร ที่บ้านนาหิน แขวงบอลิค�าไซ มีลักษณะส�าคัญ ของโครงการสรุปได้ดังนี้

150


ษาระดับควบคุ มเพื ่มพลั า การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพื่อเพิ่มการศึ พลังกงานไฟฟ้ าโครงการไฟฟ้ าพลังน�่อ้าเพิแก่ งเสืงงานไฟฟ้ อเต้น สปป.ลาว โครงการไฟฟ้าพลังน้ําแก่งเสือเต้นสปปลาว

 

อุทกวิทยา   พื้นที่ลุ่มน้ํา   ปริมาณน้ําท่าเฉลี่ยปีละ   ปริมาณน้ําหลากในรอบปี   ปริมาณน้ําหลากสูงสุดที่เป็นไปได้ อ่างเก็บน้ํา   ระดับเก็บกักสูงสุด   ระดับเก็บกักปกติ   ความจุอ่างเก็บน้ํา   พื้นที่อ่างเก็บน้ํา   ระดับเก็บกักต่ําสุด   ความจุอ่างเก็บน้ําใช้งาน เขื่อน   ชนิด   ระดับสันเขื่อน   ความสูง อาคารระบายน้ําล้น    จํานวนกว้างสูง ท่อรับแรงดันต่ํา   ชนิด   เส้นผ่านศูนย์กลาง   ความยาว อาคารลดแรงดัน   เส้นผ่านศูนย์กลาง   ความสูง ท่อรับแรงดันสูง   เส้นผ่านศูนย์กลาง   ความยาว โรงไฟฟ้า กําลังผลิตติดตั้ง พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ ระบบสายส่งไฟฟ้า   แรงดัน   ความยาว

                ตั้งอยู่บนเขื่อนควบคุมด้วย ประตูบานโค้ง   ท่อเหล็ก         ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายน้ําเทินที่แก่งหลวง     

 ตรกม ล้านลบม ลบมวินาที ลบมวินาที  มรทก มรทก ล้านลบม ตรกม มรทก ล้านลบม   มรทก ม   ม   ม ม  ม ม  ม ม เมกะวัตต์ ล้านหน่วย  กิโลโวลท์ กม

การจัดการอ่างเก็บน้ํา

3. การจัดการอ่างเก็บน�้า

 โครงการไฟฟ้าพลังน้ําแก่งเสือเต้นมีปริมาณน้ําท่าเฉลี่ยปีละล้านลบมคิดเป็นปริมาณ โครงการไฟฟ้ งน�้าแก่งปเสืทีอ่ระดั เต้นมีบปเก็ริมบาณน� ้าท่ามรทกมี เฉลี่ยปีละ 1,750 ล้าน น้ําท่าเฉลี ่ยลบมต่ อวินาทีาดัพลั งแสดงในรู กักปกติ ความจุ อ่าลบ.ม. งเก็บน้ําคิ ดเป็น ล้ปริ านลบมระดั บเก็่ยบ 55.5 ลบ.ม.ต่ กักต่ําสุดมรทกมี ความจุอ่าปงใช้ทีง่ านล้ มาตร มาณน�้าท่าเฉลี อวินาที ดังแสดงในรู 2 ระดับเก็บกัานลบมปริ กปกติ 485.00 ม.รทก. อ่างเก็บน้มีําคใช้วามจุ งานคิอ่าดงเก็ เป็นบร้น�อยละของปริ มาณน้ําท่าเฉลีบ่ยเก็รายปี อ่างเก็บน้ําน้อยเมืค่อวามจุ เทียบกัอ่าบงใช้งาน ้า 255.5 ล้าน ลบ.ม. ระดั บกักซึต�่ง่ามีสุคดวามจุ 465.00 ม.รทก. มี ปริมาณน้ําท่าเฉลี่ยรายปี 151


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

160.30 ล้าน ลบ.ม. ปริมาตรอ่างเก็บน�้าใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 9.2 ของปริมาณน�้าท่าเฉลี่ยรายปี ซึ่งมีความจุอ่างเก็บน�้าน้อยเมื่อเทียบกับปริมาณน�้าท่าเฉลี่ยรายปี การจัดการน�า้ อ่างเก็บน�า้ แก่งเสือเต้น ได้ใช้แบบจ�าลอง HEC-5 วิเคราะห์การจัดการน�า้ แบบ Weekly Simulation ดังแสดงแผนภูมิการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น ในรูปที่ 3 ในการศึกษาการจัดการน�้าเบื้องต้น ได้ก�าหนดระดับควบคุมตอนบนที่ระดับเก็บกักปกติ 485.00 ม.รทก. ระดับน�้าต�่าสุด 465.00 ม.รทก. ก�าลังผลิตติดตั้ง 2x27 เมกะวัตต์ ผลิตพลังงาน ไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ 233.8 ล้านหน่วย ปริมาณน�้าล้นทิ้งเฉลี่ยปีละ 637.4 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 36.4 ของปริมาณน�้าท่ารายปีเฉลี่ย

รูปที่ 2 ปริมาณน�้าท่ารายปีเขื่อนแก่งเสือเต้น

รูปที่ 3 แผนภูมิการศึกษาการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น

152


การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพื่อเพิ่มพลังงานไฟฟ้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

4. การก�าหนดระดับควบคุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้า จากปริมาณน�า้ ล้นจากอ่างเก็บน�า้ แก่งเสือเต้นทีม่ ปี ริมาณมากในแต่ละปี จึงได้พจิ ารณาเพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการน�า้ โดยหาวิธกี ารลดปริมาณน�า้ ล้นจากอ่างเก็บน�า้ แก่งเสือเต้น เพือ่ ให้ใช้ น�้าในการผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น ดังนี้ 1) ก�าหนดระดับควบคุมตอนบน และควบคุมตอนล่างอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้น 2) การเพิ่มขนาดก�าลังผลิตของเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าร้อยละ 15 ในการศึกษาการจัดการน�้าอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้น ได้รวมปริมาณน�้าระบายท้ายน�้าอ่าง เก็บน�้าเขื่อนน�้าเทิน 2 เป็นปริมาณน�้าไม่น้อยกว่า 2 ลบ.ม.ต่อวินาที มารวมในการศึกษา Weekly Simulation ด้วย

4.1 การก�าหนดระดับควบคุมตอนบนและระดับควบคุมตอนล่าง

ในแบบจ�าลอง HEC 5 เพื่อก�าหนดระดับควบคุมอ่างเก็บน�้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าจะ พิจารณาร่วมกับความต้องการพลังงานไฟฟ้าต�่าสุดในรูปของตัวประกอบโรงไฟฟ้า (Plant factor) เป็นรายเดือน หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับควบคุมมีดังนี้ 1) พิจารณาค่าระดับน�้าในแต่ละเดือน ทั้งระดับน�้าสูงสุดและต�่าสุดตลอดการศึกษา วิเคราะห์การจัดการน�้าในอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้น เพื่อก�าหนดระดับควบคุมตอนบนและตอนล่าง ส�าหรับอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้นนี้ได้แบ่งความต้องการไฟฟ้าต�่าสุดเป็น 2 ช่วง คือช่วง ทั่วไป และช่วงพร่องน�้าในต้นฤดูฝน 4 เดือนตั้งแต่ พ.ค.ถึง ส.ค. เพื่อเตรียมรับปริมาณน�้านอง ช่วง ทั่วไปพิจารณาความต้องการไฟฟ้าต�่าสุดเท่ากับ 16.7%, 20.8% และ 25% หรือเท่ากับ 4 ชม. 5 ชม. และ 6 ชม.ต่อวัน ส่วนช่วงพร่องน�้าก�าหนดความต้องการไฟฟ้าต�่าสุด 66.7% หรือ 16 ชม. รูปที่ 4 แสดงผลการศึกษาระดับน�้า ตารางที่ 1 แสดงพลังงาน ปริมาณน�้าล้นและระดับน�้าเฉลี่ย รายปี เห็นได้ว่ากรณีความต้องการไฟฟ้าต�่าสุด 25 % ถึงแม้จะได้พลังงานมากกว่าแต่ระดับน�้าใน เดือนเมษายนระดับน�า้ จะต�า่ มากเป็นผลให้เกิดการขาดแคลนของพลังงานในเดือนต่อมา ไม่สามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างสม�่าเสมอ ดังนั้นจึงเลือกกรณีความต้องไฟฟ้าต�่าสุด 20.8% มาใช้ก�าหนด ค่าระดับควบคุม ตารางที่ 1 พลังงานไฟฟ้าและปริมาณน�้าล้น

153


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 4 การศึกษาระดับน�้าในอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้น

154


การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพื่อเพิ่มพลังงานไฟฟ้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

2) ระดับควบคุมน�้าที่เหมาะสม สามารถลดปริมาณน�้าล้นและผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงสุด จากระดับน�้ากรณีความต้องการไฟฟ้าต�่าสุด 20.8% ได้ก�าหนดระดับควบคุมตอนบน และระดับควบคุมตอนล่าง โดยเริม่ จากระดับน�า้ สูงสุดส�าหรับระดับควบคุมตอนบน และระดับเหนือ ระดับน�้าต�่าสุดส�าหรับระดับควบคุมตอนล่าง พิจารณาการเปลี่ยนแปลงของระดับน�้าและปริมาณ น�้าล้นและพลังงานไฟฟ้า เมื่อปรับระดับควบคุมพร้อมกับความต้องการไฟฟ้าต�่าสุด ระดับควบคุม ที่เหมาะสมจะท�าให้ปริมาณน�้าล้นลดลงและพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น จากผลการค�านวณระดับควบคุมในหลายระดับ ได้เลือกระดับควบคุมตอนบน (Upper Rule Curve) และระดับควบคุมตอนล่าง (Lower Rule Curve) แต่ละเดือนของอ่างเก็บน�้าเขื่อน แก่งเสือเต้นที่ให้พลังงานไฟฟ้าสูงสุด สรุปได้ดังนี้

ความต้องการไฟฟ้าต�า่ สุดทีส่ มั พันธ์กบั ระดับควบคุมดังแสดงในรูปที่ 5 มีขอ้ ก�าหนดดังนี้ 1) ระดับน�้าต�่ากว่าระดับควบคุมตอนล่างเดินเครื่องวันละ 4 ชม. 2) ระดับน�้าอยู่ระหว่างระดับควบคุมตอนล่างและตอนบนเดินเครื่องวันละ 5 ชม. ใน ช่วงปกติ และ 19 ชม. ในช่วงพร่องน�้า 3) ระดับน�้าสูงกว่าระดับควบคุมตอนบนเดินเครื่องวันละ 24 ชม.

รูปที่ 5 ระดับควบคุมตอนบนและตอนล่างของอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

155


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

จากการจัดการน�้ารายสัปดาห์ในช่วงเวลาข้อมูล 17 ปี ระดับน�้าของอ่างเก็บน�้าจะอยู่ ในระหว่างระดับควบคุม ดังแสดงในรูปที่ 6 ยกเว้นในช่วงฤดูแล้งมีปีน�้าน้อย 4 ปี ที่จะต�่ากว่าระดับ ควบคุมล่าง ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน อย่างไรก็ตามระดับควบคุมที่คัดเลือกก็ท�าให้ ปริมาณน�้าระบายผ่านอาคารระบายน�้าล้นลดลงปีละ 57 ล้าน ลบ.ม. และให้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย ปีละ 239.1 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้นจากก่อนมีระดับควบคุม 5.3 ล้านหน่วย ดังแสดงในรูปที่ 7

รูปที่ 6 ระดับควบคุม (Rule Curve) อ่างเก็บน�้าเขื่อนแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

รูปที่ 7 ปริมาณน�้าไหลเข้า ไหลออกและระดับน�้ารายเดือนอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้น

156


การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพื่อเพิ่มพลังงานไฟฟ้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

4.2 การเพิ่มขนาดเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า (Generator)

แม้วา่ จะมีระดับควบคุมเพือ่ ลดปริมาณน�า้ ล้นในแต่ละปี แต่กย็ งั มีปริมาณน�า้ ล้นจากอ่างเก็บน�า้ เป็นปริมาณมากในแต่ละปี เนื่องจากอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้นมีความจุอ่างใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 9.2 ของปริมาณน�้าท่าเฉลี่ยรายปี การเพิม่ ขนาดเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้า (Generator) ร้อยละ 15 สูงกว่าก�าลังผลิตของเครือ่ งกังหัน น�า้ (Turbine) จะเป็นการใช้ประโยชน์จากการน�าปริมาณน�า้ ทีล่ น้ ในช่วงฤดูฝนมาผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยมีการลงทุนน้อยและไม่กระทบต่อ Plant Factor ซึ่งจะท�าให้ชั่วโมงการเดินเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า ลดลง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งหรือปีน�้าน้อย จากการศึกษา Weekly Simulation ของอ่างเก็บน�้าเขื่อนแก่งเสือเต้น หลังจากมีระดับ ควบคุม (Rule Curve) และเพิ่มขนาด Generator จะท�าให้ปริมาณน�้าล้นจากอ่างเก็บน�้าเฉลี่ยปี ละ 494 ล้าน ลบ.ม. ลดลงจากเดิมปีละ 143 ล้าน ลบ.ม. และผลิตพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ 249.9 ล้านหน่วย เพิ่มขึ้นจากกรณีมีระดับควบคุมเฉลี่ยปีละ 10.8 ล้านหน่วย ผลการศึกษาการจัดการน�า้ อ่างเก็บน�า้ โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ แก่งเสือเต้น สปป.ลาว เปรียบ เทียบในกรณีต่างๆ 3 กรณี ดังกล่าวข้างต้น ดังสรุปผลในรูปที่ 8 และตารางที่ 2 ประกอบด้วย กรณีที่ 1 ก�าหนดระดับควบคุมตอนบนที่ระดับเก็บกักปกติ ระดับควบคุมตอนล่างที่ระดับ ต�่าสุด กรณีที่ 2 ก�าหนดระดับควบคุมที่เหมาะสม กรณีที่ 3 ก�าหนดระดับควบคุมทีเ่ หมาะสม และเพิม่ ขนาดเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้า (Generator) ร้อยละ 15

รูปที่ 8 พลังงานไฟฟ้ารายเดือนที่ผลิตได้ในกรณีต่างๆ ของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น

157


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตารางที่ 2 สรุปผลการศึกษาการจัดการน�้าอ่างเก็บน�้าแก่งเสือเต้นในกรณีต่างๆ

หมายเหตุ กรณีที่ 1 ก�าหนดระดับควบคุมที่ระดับเก็บกักปกติ กรณีที่ 2 ก�าหนดระดับควบคุมที่เหมาะสม กรณีที่ 3 ระดับควบคุมที่เหมาะสมและเพิ่มขนาดเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าร้อยละ 15

5. บทสรุป การบริหารจัดการน�า้ อ่างเก็บน�า้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด จ�าเป็นต้องมีการศึกษาและก�าหนด ระดับควบคุมอ่างเก็บน�า้ ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให้มกี ารใช้นา�้ จากอ่างเก็บน�า้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ 1) ลดปริมาณน�้าล้นในแต่ละปี 2) เพิ่มปริมาณน�้าต้นทุนในช่วงฤดูแล้ง 3) ลดปัญหาขาดแคลนน�้าในฤดูแล้งโดยเฉพาะปีน�้าน้อย 4) เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกในฤดูแล้งและผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ในการศึกษาโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ แก่งเสือเต้น สปป.ลาว เนือ่ งจากอ่างเก็บน�า้ แก่งเสือเต้น มีความจุอ่างใช้งาน 160.3 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน�้าท่าเฉลี่ยปีละ 1,750 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน�้าล้น เฉลี่ยปีละ 637 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 36 ของปริมาณน�้าท่ารายปีเฉลี่ย ซึ่งมีปริมาณมากใน แต่ละปี ดังนัน้ การลดปริมาณน�า้ ล้นทิง้ เพือ่ น�าปริมาณน�า้ มาผลิตไฟฟ้าในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งเพิม่ ขึ้นจึงมีความจ�าเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเกิดประโยชน์ต่อโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น แล้ว ยังเป็นประโยชน์ตอ่ การผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ในฤดูแล้งของโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เทิน-หิน บุนส่วนขยาย และโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุนอีกด้วย จากการก�าหนดระดับควบคุมทีเ่ หมาะสม และเพิม่ ขนาดของเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้า (Generator) ร้อยละ 15 เพื่อผลิตพลังไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นในช่วงฤดูฝน และเก็บกักน�้ามาผลิตไฟฟ้าในช่วงฤดูแล้ง 158


การศึกษาระดับควบคุม (Rule Curve) เพื่อเพิ่มพลังงานไฟฟ้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแก่งเสือเต้น สปป.ลาว

ท�าให้ลดปริมาณน�้าล้นจาก 637 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี เป็น 494 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นปริมาณน�้าล้นลดลง ร้อยละ 22.4 สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจาก 233.8 ล้านหน่วยต่อปี เป็น 249.9 ล้านหน่วย ต่อปี เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ท�าให้โครงการมีผลตอบแทนสูงขึ้น สรุปได้ว่าในการก�าหนดระดับควบคุม เพื่อการจัดการน�้าเป็นสิ่งจ�าเป็นที่อ่างเก็บน�้า ควรจะพิจารณาศึกษาและวางแผนการจัดสรรน�้าให้ เป็นตามระดับควบคุมที่ก�าหนดไว้ เพื่อให้มีการจัดสรรน�้าจากอ่างเก็บน�้าอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดประโยชน์สูงสุด

เอกสารอ้างอิง 1. 2.

ชูลิต วัชรสินธุ์ และคณะ การศึกษาความเหมาะสมโครงการพลังงานไฟฟ้าพลังน�้า หจก. ส�านัก พิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ ธันวาคม 2532 Syntec Construction Public Company Limited, Detailed Feasibility Study of Keng Seuaten Hydropower Project, Lao PDR, Progress Report, Dam Site Selection, prepared by Panya Consultants Co., Ltd, October 2013

159


                      

มรดกเรื่อง ทุกข์สร้ำงสุข ควำมทุกข์ สอนอะไรๆให้เรำได้ดกี ว่ำควำมสุข คือสอนตรงกว่ำ มำกกว่ำ รุนแรงกว่ำ ควำมสุขทีม่ แี ต่ทำ� ให้ลมื ตัว เหลิงเจิง้ ไม่ทนั รู้ และไม่คอ่ ยสอนอะไร

ขอขอบใจควำมทุกข์ซง่ึ เป็นเสมือนเพชรในหัวคำงคก เพชรในหัวคำงคก

คือควำมดับทุกข์หำพบในควำมทุกข์

เสมือนกำรดับไฟก็หำพบในควำมทุกข์

จงรูจ้ กั ควำมลับข้อนีด่ ว้ ยกันทุกคนเถิด

มิฉะนัน้ จะหำไม่พบสิง่ ทีค่ วรพบตำมธรรมชำติทว่ั ไป

หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม

160

เรือเรืหัอวหัจวรวดในแม่ นสปปลาาว จรวดในน�้านเทิา้ํ เทิ น สปป.ลาว เรือหัวจรวดในแม่นา้ํ เทินสปปลาาว


การศึกษาแผนระบายน�้า โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว ชูลิต วัชรสินธุ1์ อนุสรณ์ ทองสร้อย2

1. ความเป็นมา น�้าหินบุน เป็นสาขาแม่น�้าโขง มีพื้นที่ลุ่มน�้า 2,529 ตร.กม. อยู่ในแขวงค�าม่วน ตอนกลาง ของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ดังแสดงในรูปที่ 1 ติดกับลุม่ น�า้ เทิน ซึง่ เป็นลุม่ น�า้ ขนาดใหญ่และมีการพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เทิน-หินบุนแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2541 เพือ่ ผันน�า้ จากน�า้ เทิน มาผลิตพลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังน�า้ น�า้ หินบุนทีต่ งั้ อยูบ่ นล�าน�า้ ไฮ สาขาน�า้ หินบุน โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เทิน-หินบุน ได้กอ่ สร้างขยายโครงการ โดยการก่อสร้างเขือ่ นเก็บกักน�า้ บนน�า้ ยวงสาขาน�า้ เทิน เพือ่ ระบายน�า้ ฤดูแล้งมาผลิตไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ทีโ่ รงไฟฟ้าพลังน�า้ เทิน-หินบุน โดย

รูปที่ 1 ลุ่มน�้าหินบุนและลุ่มน�้าเทิน 1 2

กรรมการบริหาร บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด วิศวกรออกแบบอาวุโส บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด

161


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

เพิ่มก�าลังผลิตติดตั้งจาก 220 เมกะวัตต์ เป็น 440 เมกะวัตต์ แล้วเสร็จในต้นปี พ.ศ. 2556 ปริมาณ น�้าระบายจากโรงไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุน เพิ่มปริมาณน�้าในล�าน�้าหินบุนเป็นปริมาณมากในแต่ละ ปี ท�าให้มีความเหมาะสมในการพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน�้าแบบ Run-of-river บนล�าน�้าหินบุน โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน ตั้งบนน�้าหินบุน อ�าเภอหินบุน แขวงค�าม่วง ห่างจากจุด บรรจบแม่น�้าโขง 75 กม. ครอบคลุมพื้นที่รับน�้าฝน 823 ตร.กม. มีปริมาณน�้าท่าไหลผ่านเฉลี่ยปีละ 1,452 ล้าน ลบ.ม. เมื่อรวมกับปริมาณน�้าผันจากโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุนส่วนขยาย จะมี ปริมาณน�้าไหลผ่านเฉลี่ยปีละ 7,096 ล้าน ลบ.ม. ท�าให้โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน มีความ เหมาะสมในการลงทุนโครงการ ดังนัน้ การไฟฟ้าลาว (Electricitic Du Laos, DEL) จึงได้ลงทุนพัฒนา และก่อสร้างโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน ในปี พ.ศ. 2556 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2559

2. ที่ตั้งและลักษณะส�าคัญของโครงการ โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน เป็นโครงการแบบ Run-of-river ปิดกั้นน�้าหินบุน เหนือ บ้านช่องลม 1.8 กม. ในอ�าเภอหินบุน แขวงค�าม่วน มีลักษณะส�าคัญของโครงการ สรุปได้ดังนี้

ที่ตั้งอาคารระบายน�้าล้นและโรงไฟฟ้าฝั่งขวา

ที่ตั้งท�านบดินทางฝั่งซ้าย

1) อุทกวิทยา - พืน้ ทีร่ บั น�า้ ฝน - ปริมาณน�า้ ท่าเฉลีย่ ปีละ (รวมปริมาณน�า้ ผันจากเทิน-หินบุน) 162

823 ตร.กม. 7,096 ล้าน ลบ.ม./ปี


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

- ปริมาณน�า้ หลากในรอบ 1,000 ปี 2,199 ลบ.ม./วินาที - ปริมาณน�า้ หลากในรอบ 10,000 ปี 3,255 ลบ.ม./วินาที 2) อ่างเก็บน�า้ - ระดับเก็บกักสูงสุด (1,000 ปี) 156.38 ม.รทก. - ระดับเก็บกักสูงสุด (10,000 ปี) 159.10 ม.รทก. - ระดับเก็บกักปกติ 155.00 ม.รทก. - ความจุตามล�าน�า้ 156.54 ล้าน ลบ.ม. - ระดับเก็บกักต�า่ สุด 151.00 ม.รทก. - ความจุใช้งาน 38.12 ล้าน ลบ.ม. 3) อาคารระบายน�า้ ล้น - แบบ ฝายคอนกรีตควบคุมด้วยประตูบานโค้ง - ระดับสัน 140.00 ม.รทก. - ขนาดบานระบาย 4 x 15 x 15.5 ม. (จ�านวน x กว้าง x สูง) - ความยาว 80 ม. 4) ท�านบดิน (ทางระบายน�า้ ล้นฉุกเฉิน) - แบบ Rockfill with Plastic Concrete Core - ระดับสัน 155.25 ม.รทก. - ความกว้าง 85.50 ม. - ความสูง 20.25 ม. 5) โรงไฟฟ้า ตัง้ ทางฝัง่ ขวา - ขนาด (กว้าง x ยาว) 52.55 x 66.0 ม. 6) เครือ่ งกังหันน�า้ - แบบ Bulb turbine - ก�าลังผลิตติดตัง้ 2 x 15.306 เมกะวัตต์ - หัวน�า้ ออกแบบ 7.98 ม. - ปริมาณน�า้ ออกแบบ 2 x 213 ลบ.ม./วินาที 7) ระบบสายส่ง - แรงดัน 115 กิโลโวลต์ - ความยาว 20.23 กม. 8) พลังงานไฟฟ้าเฉลีย่ ปีละ 143 ล้านหน่วย

163


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 2 ที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าหินบุน

3. การศึกษาปริมาณน�้าหลากในรอบปีต่างๆ จากการศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ น�า้ หินบุน การไฟฟ้าลาว พ.ศ. 2555 ได้ มีการศึกษาน�้าหลากโดยวิธี Unit hydrograph และใช้ Storm rainfall จากสถานีวัดน�้าฝน Signo ในการค�านวณกราฟน�้าหลากในรอบปีการเกิดซ�้าต่างๆ ดังนี้ 1) กราฟหนึ่งหน่วยน�้าท่า (Unit hydrograph) ใช้ข้อมูลจากลุ่มน�้าพุง สถานีวัดน�้าบ้าน ตอบโขบ ที่มีสภาพลุ่มน�้าใกล้เคียงกัน 2) วิเคราะห์พายุฝน (Storm rainfall) โดยใช้ขอ้ มูลฝนรายวัน (พ.ศ. 2530-2552) ทีส่ ถานี วัดน�้าฝน Signo ในลุ่มน�้าเทิน วิเคราะห์ปริมาณฝนสูงสุด 1 วัน 2 วัน และ 3 วัน ในรอบปีการเกิด ซ�้าต่างๆ โดยใช้วิธี Gumbel distribution และค�านวณฝนลุ่มน�้าโดยใช้ areal reduction factor 0.98 ดังแสดงฝนลุ่มน�้าหินบุนในตารางที่ 1 3) กราฟน�้าหลากในรอบปีการเกิดซ�้าต่างๆ ได้ใช้ฝนสูงสุด 3 วัน โดยแบ่งช่วงเวลาฝนเป็น 6 ชั่วโมงกับกราฟหนึ่งหน่วยน�้าท่า ค�านวณหากราฟน�้าหลากสูงสุดในรอบปีการเกิดซ�้าต่างๆ ของ เขื่อนน�้าหินบุนดังแสดงในรูปที่ 3 ดังแสดงอัตราน�้าหลากสูงสุด และปริมาตรน�้าหลากของเขื่อนน�้า หินบุนในตารางที่ 2 164


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

4) ระยะเวลาต่างกัน (Lag time) ระหว่างฝนสูงสุดและอัตราน�้าหลากสูงสุด มีระยะเวลา การเกิดห่างกัน 26 ชั่วโมง ดังแสดงในรูปที่ 4 ตารางที่ 1 ปริมาณฝนสูงสุด 1 วัน 2 วัน 3 วัน ในลุ่มน�้าหินบุนในรอบปีการเกิดซ�้าต่างๆ

รูปที่ 3 กราฟน�้าหลากเขื่อนน�้าหินบุนในรอบปีการเกิดซ�้าต่างๆ

165


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ตารางที่ 2 อัตราน�้าหลากสูงสุดและปริมาตรน�้าหลากเขื่อนน�้าหินบุนในรอบปีการเกิดซ�้าต่างๆ

รูปที่ 4 ระยะเวลาต่างกัน (Lag time) ระหว่างฝนสูงสุดและอัตราน�้าหลากสูงสุดในรอบการเกิดซ�้า 100 ปี

4. เหตุการณ์น�้าหลากปี พ.ศ. 2556 ในวันที ่ 22-29 กรกฎาคม เกิดร่องความกดอากาศต�า่ ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือของประเทศไทย ภาคกลางของประเทศ สปป.ลาว และประเทศเวียดนาม ท�าให้มีฝนตก เป็นปริมาณมากในพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ หินบุน เกิดน�า้ หลากในน�า้ หินบุนและระดับน�า้ ล้นตลิง่ ส่งผลกระทบต่อ งานก่อสร้างโครงการไฟฟ้าพลังน�้าน�้าหินบุน จากข้อมูลปริมาณฝนและระดับน�้ารายวันที่สถานีบ้านนากลาง ตั้งอยู่เหนือน�้าที่ก่อสร้าง เขื่อนน�้าหินบุน ในลุ่มน�้าหินบุน ดังแสดงในตารางที่ 3 และรูปที่ 5 166


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

ตารางที่ 3 ปริมาณฝนและระดับน�้ารายวันที่สถานีบ้านนากลาง

ในช่วงระยะเวลา 20 ถึง 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 มีฝนตกเป็นปริมาณสูงมาก คือ วันที่ 27-28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 มีปริมาณฝน 2 วัน สูงสุดรวม 442 มม. โดยระดับน�้าจะขึ้นสูงสุดใน วันถัดมา แสดงให้เห็นว่าช่วงเวลาฝนตกจนท�าให้ระดับน�้าสูงสุด (Lag time) ต่างกันประมาณ 1 วัน และมีข้อมูลปริมาณฝน 3 วัน (27-29 กรกฎาคม) สูงสุดรวม 468.80 มม. 167


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ปริมาณฝน (มม.)

ระดับน�้า (ม รทก.)

ปริมาณฝนรายวัน

ระดับน�้ารายวัน รูปที่ 5 ข้อมูลปริมาณฝนและระดับน�้ารายวันที่สถานีบ้านนากลาง

ในการศึกษาความเหมาะสม ได้สา� รวจรูปตัดตามล�าน�า้ หินบุนจากตัวเขือ่ นถึงจุดบรรจบแม่นา�้ โขง เพือ่ ค�านวณปริมาณน�า้ ท่าทีต่ วั เขือ่ น และผลกระทบสภาวะน�า้ เอ่อจากแม่นา�้ โขง จากการค�านวณ ปริมาณน�้าท่าที่ไหลผ่านรูปตัดล�าน�้าที่ตั้งเขื่อน ที่มีระดับตลิ่งฝั่งขวา 153.0 ม.รทก. และที่ระดับน�้า ที่เกิดขึ้น 153.6 ม.รทก. มีอัตราน�้าหลากสูงสุด 1,568 ลบ.ม.ต่อวินาที ดังแสดงในรูปที่ 6

รูปที่ 6 อัตราน�้าหลากสูงสุดที่ระดับน�้า 153.6 ม.รทก. ณ ที่ตั้งเขื่อนน�้าหินบุน

168


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

5. ความน่าเชือ่ ถือของผลการศึกษาปริมาณน�า้ หลากในรายงานความเหมาะสม จากเหตุการณ์ปริมาณฝนและน�า้ หลากทีเ่ กิดขึน้ บริเวณพืน้ ทีก่ อ่ สร้างเขือ่ นน�า้ หินบุน ระหว่าง วันที ่ 26-28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 มาค�านวณตรวจสอบกับการศึกษาปริมาณน�า้ หลากในการศึกษา ความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สรุปได้ดังนี้ 1) จากข้อมูลปริมาณฝนสูงสุดและระดับน�้าสูงสุดที่สถานีบ้านนากลาง ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556 จะมีช่วงเวลาความแตกต่าง (Lag time) ประมาณ 1 วัน ซึง่ สอดคล้องกับผลศึกษาในรายงานศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ น�า้ หินบุน 2) ปริมาณฝนสูงสุดหนึ่งวันเท่ากับ 221.6 มม. เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เท่ากับ ปริมาณฝนในรอบการเกิดซ�้า 50 ปี ในรายงานศึกษาความเหมาะสม และระหว่างวันที่ 26-28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ปริมาณฝนสูงสุด 3 วัน เท่ากับ 468.80 มม. เป็นปริมาณฝนในรอบปีการ เกิดซ�้า 200 ปี เท่ากับ 468.09 มม. ในรายงานศึกษาความเหมาะสม ดังแสดงในรูปที่ 7 3) ระดับน�า้ หลากสูงสุดทีเ่ กิดขึน้ บริเวณพืน้ ทีก่ อ่ สร้างเขือ่ นน�า้ หินบุน เท่ากับ 153.6 ม.รทก. มีอตั ราน�า้ หลากสูงสุด 1,568 ลบ.ม.ต่อวินาที จะใกล้เคียงกับอัตราน�า้ หลากสูงสุดในรอบ 200 ปี คือ 1,620 ลบ.ม.ต่อวินาที ในการศึกษาน�้าหลากในรายงานศึกษาความเหมาะสม

รูปที่ 7 การเปรียบเทียบข้อมูลปริมาณฝนสูงสุด 1 วัน 2 วัน 3 วัน และอัตราน�า้ หลากทีเ่ กิดขึน้ กับการศึกษาปริมาณฝน และน�้าหลากในรายงานความเหมาะสม

169


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

4) ในรายงานการศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน น�้าหลากสูงสุดที่ ใช้ออกแบบในรอบ 1,000 ปี และ 10,000 ปี มีอัตราไหลสูงสุด 2,199 และ 3,225 ลบ.ม.ต่อวินาที หรือคิดเห็น 1.40 เท่าและ 2.1 เท่า ของอัตราน�้าหลากสูงสุดที่เกิดขึ้นที่ตั้งเขื่อนน�้าหินบุน ในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ตามล�าดับ

6. ความสามารถของอาคารระบายน�้าล้นในการระบายน�้าหลาก โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ น�า้ หินบุน ดังแสดงรูปแปลนในรูปที ่ 8 ได้ออกแบบให้ระบายน�า้ หลาก ในรอบ 1,000 ปี ผ่านอาคารระบายน�้าล้น (Service Spillway) และอาคารระบายน�้าล้นฉุกเฉิน (Emergency Spillway) ดังแสดงรูปตัดในรูปที่ 9 และรูปที่ 10 ตามล�าดับ

รูปที่ 8 รูปแปลนโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน

รูปที่ 9 รูปตัดตามยาวอาคารระบายน�้าล้น

170


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

รูปที่ 10 รูปตัดตามยาวเขื่อนดินปิดกั้น

ระดับน�้าหน้าเขื่อนต�่ากว่า 155.25 ม.รทก. ปริมาณน�้าหลากจะระบายผ่านอาคารระบาย น�้าล้น (Service Spillway) โดยได้ค�านวณความสามารถการระบายน�้าหลาก ในกรณีต่างๆ ดังนี้ กรณีที่ 1 การระบายน�้าหลากผ่านประตูระบายน�้าแต่ละบานจนครบ 4 บาน ที่ระดับน�้า ต่างๆ กัน ดังแสดงในรูปที่ 11 สรุปความสามารถการระบายน�้าที่ระดับ 155.00 ม.รทก. เมื่อเปิด บานระบายสูงสุด ได้ดังนี้ เปิดบานระบายสูงสุด อัตราน�้าระบายสูงสุด (Full gate opening) ลบ.ม./วินาที 1 บาน 430.45 2 บาน 860.91 3 บาน 1,291.0 4 บาน 1,722.0 กรณีที่ 2 เปิดบานระบายบางส่วนทั้ง 4 บาน จนเปิดบานระบายสูงสุด ที่ระดับน�้าต่างๆ กัน ดังแสดงในรูปที่ 12 บานระบายทัง้ 4 บาน มีความสามารถระบายน�า้ ในอัตราส่วนต่างๆ จนเปิดบาน ระบายสูงสุดที่ระดับ 155.00 ม.รทก. สรุปได้ดังนี้ เปอร์เซ็นต์ อัตราน�้าระบายสูงสุด การเปิดบานระบาย ลบ.ม./วินาที 30 516.55 50 860.91 80 1,377.00 100 1,772.00 171


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 11 การระบายน�้าหลากผ่านบานระบายน�้า 1 ถึง 4 บาน ที่ระดับน�้าต่างๆ

รูปที่ 12 การระบายน�้าหลากผ่านการเปิดบานระบายทั้ง 4 ในอัตราส่วนต่างๆ กัน

กรณีที่ 3 การระบายน�้าผ่านอาคารระบายน�้า และอาคารระบายน�้าล้นฉุกเฉิน ในกรณี ปริมาณน�้าหลากที่ระบายผ่านอาคารระบายน�้าล้น มีระดับน�้าหน้าเขื่อนสูงกว่า 155.25 ม.รทก. ปริมาณน�้าหลากจะระบายผ่านทั้งอาคารระบายน�้าล้น และอาคารระบายน�้าล้นฉุกเฉิน 172


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

ปริมาณน�า้ หลากในรอบ 1,000 ปี และ 10,000 ปี มีอตั ราน�า้ หลากสูงสุด 2,199 และ 3,255 ลบ.ม.ต่อวินาที ตามล�าดับ มีระดับน�า้ สูงสุด 156.83 และ 159.10 ม.รทก. ตามล�าดับ ท�าให้ปริมาณ น�า้ หลากไหลผ่านอาคารระบายน�า้ ล้นและอาคารระบายน�า้ ล้นฉุกเฉิน และช่วยลดความต่างระดับน�า้ เหนือน�้าและท้ายน�้า ท�าให้ลดผลกระทบของสภาวะน�้าเอ่อในพื้นที่เหนือเขื่อน ดังแสดงในรูปที่ 13 และสรุปผลดังตารางข้างล่างนี้

รูปที่ 13 การระบายน�้าหลากผ่านอาคารระบายน�้าล้น และอาคารระบายน�้าฉุกเฉิน

7. แผนการระบายน�้าหลังโครงการแล้วเสร็จ โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน เป็นการก่อสร้างเขื่อนยกระดับน�้าในน�้าหินบุน เพื่อผลิต กระแสไฟฟ้า มีการเก็บกักน�้าตามล�าน�้า ท�าให้เกิดผลกระทบกับหมู่บ้านตามล�าน�้าในพื้นที่ตอนบน น้อย ในช่วงน�า้ หลากมีการระบายน�า้ ผ่านอาคารระบายน�า้ ล้น ท�าให้ระดับน�า้ เหนือน�า้ กับระดับน�า้ ท้าย น�้าแตกต่างกันน้อยมาก จากเหตุการณ์น�้าท่วมในปี พ.ศ.2556 ที่เกิดบริเวณพื้นที่ก่อสร้างโครงการ เพือ่ ให้เกิดผลกระทบต่อพืน้ ทีเ่ หนือน�า้ น้อยทีส่ ดุ จึงได้ศกึ ษาแผนการระบายน�า้ และก�าหนดแผนการ ระบายน�้า ดังนี้

173


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

1) ในกรณีปริมาณน�้าน้อยกว่า 426 ลบ.ม.ต่อวินาที ปริมาณน�้าจะระบายผ่านโรงไฟฟ้า พลังน�้า 2) ปริมาณน�า้ มากเกินกว่าการระบายน�า้ ผ่านโรงไฟฟ้า ก็จะเปิดบานระบายน�า้ ผ่านอาคาร ระบายน�้าล้น โดยก�าหนดระดับน�้าเหนือเขื่อน ไม่เกิน 155.00 ม.รทก. 3) กรณีปริมาณฝนน้อยกว่า 100 มม. ต่อวัน หรืออัตราการไหล 400-800 ลบ.ม.ต่อวินาที ปริมาณน�้าจะไหลผ่านโรงไฟฟ้าและอาคารระบายน�้าล้นที่เปิดประตูบานโค้งบางส่วน (Partially Open) และระดับน�้าไม่เกิน 155.00 ม.รทก. 4) ปริมาณฝนมากกว่า 100 มม. ต่อวัน หรือปริมาณน�้าไหลเข้ามากกว่า 800 ลบ.ม.ต่อ วินาที จะเปิดบานระบายทั้งหมด (Fully Open) เพื่อปริมาณน�้าจะไหลผ่านอาคารระบายน�้าล้น เพื่อลดระดับน�้าหน้าเขื่อน เป็นการลดระดับน�้าเอ่อที่จะมีผลกระทบต่อหมู่บ้านเหนือน�้า 5) กรณีระดับน�้าเหนือเขื่อนสูงกว่า 155.25 ม.รทก. ปริมาณน�้าไหลผ่านอาคารระบายน�้า ล้นและอาคารระบายน�้าล้นฉุกเฉิน ซึ่งเป็นกรณีเกิดน�้าหลากในรอบ 1000 ปี และ 10,000 ปี

8. บทสรุป โครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน เป็นการก่อสร้างเขื่อนปิดกั้นน�้าตามล�าน�้า เพื่อใช้น�้าจาก น�้าหินบุน และปริมาณน�้าผันจากโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเทิน-หินบุน มาผลิตกระแสไฟฟ้า เนื่องจาก พืน้ ทีต่ อนบนเหนือจุดบรรจบน�า้ ไฮและน�า้ หินบุน เป็นพืน้ ทีร่ าบเพือ่ การเกษตร และมีหมูบ่ า้ นทัง้ สอง ฝั่งล�าน�้าไฮและน�้าหินบุน แต่มีระดับสูงกว่าระดับเก็บกักปกติ 155.0 ม.รทก. ในฤดูแล้งเมื่อระดับ น�้าในแม่น�้าลดลง ประชาชนในพื้นที่สองฝั่งริมน�้าจะท�าการเพาะปลูกตามริมน�้า ในขณะที่ฤดูฝนจะ มีปัญหาน�้าหลากท่วมทั้งสองฝั่งริมน�้า โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ น�า้ หินบุน ได้คา� นึงถึงผลกระทบของโครงการทีจ่ ะเกิดขึน้ กับประชาชน ในพื้นที่เหนือน�้าทั้งในฤดูแล้งและฤดูฝน จึงก�าหนดแผนการลดระดับน�้าในช่วงฤดูแล้งไว้ที่ 153.50 ม.รทก. เพื่อให้เกษตรกรได้เพาะปลูกในพื้นที่ทั้งสองฝั่งแม่น�้า และในฤดูฝนเพื่อลดผลกระทบที่อาจ เกิดขึน้ เพราะระดับน�า้ หน้าเขือ่ นทีอ่ าจท�าให้มรี ะดับน�า้ ท่วมเพิม่ มากขึน้ จึงก�าหนดเกณฑ์การระบาย น�า้ หลาก เมือ่ มีปริมาณน�า้ หลากมากกว่า 800 ลบ.ม.ต่อวินาที ก็จะเปิดบานระบายอาคารระบายน�า้ ทัง้ หมด เพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อระดับน�า้ ในพืน้ ทีต่ อนบน นับว่าโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ น�า้ หินบุน เป็นโครงการทีพ่ ฒ ั นาโดยค�านึงถึงผลประโยชน์และผลกระทบส�าคัญ และมีมาตรการทีจ่ ะด�าเนินการ ให้เกิดประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย

174


การศึกษาแผนระบายน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า น�้าหินบุน สปป.ลาว

เอกสารอ้างอิง 1. 2.

JV-ACAS & SSC, Co., Ltd., Feasibility Study for Nam Hinboun Hydropower Project, prepared by Panya Consultants Co., Ltd. September 2012 Electricity Du Laos, Nam Hinboun Hydropower Project, NHHP Post Flood Report JV-ACAS & SSC, Co., Ltd. and Panya Consultants Co., Ltd. October 2013

175


176


การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการน�้า โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง ชูลิต วัชรสินธุ1์ ดร.ยุพา ชิดทอง2

1. บทน�า แม่น�้าแควน้อย เป็นล�าน�้าสาขาที่ส�าคัญของแม่น�้าแม่กลอง มีทิศทางการไหลจากทิศเหนือ ลงทิศใต้ แม่น�้าแควน้อยมีความยาวล�าน�้าประมาณ 318 กิโลเมตร มีต้นก�าเนิดจากเทือกเขาบริเวณ ต�าบลไลโว่ อ�าเภอสังขละบุร ี ไหลผ่านต�าบลหนองลูลงสูเ่ ขือ่ นวชิราลงกรณ มีความลาดชันล�าน�า้ เฉลีย่ 1:70 ทางด้านท้ายของอ่างเก็บน�า้ เขือ่ นวชิราลงกรณไหลผ่านอ�าเภอทองผาภูม ิ อ�าเภอไทรโยค อ�าเภอ ด่านมะขามเตีย้ และอ�าเภอเมืองกาญจนบุร ี โดยไหลมาบรรจบกับแม่นา�้ แควใหญ่ทตี่ า� บลปากแพรก มีความลาดชันล�าน�้าเฉลี่ย 1:3,800 ในปัจจุบันมีเขื่อนวชิราลงกรณ หรือเดิมชื่อเขื่อนเขาแหลม ลักษณะเป็นเขื่อนหินดินถมดาดหน้าด้วยคอนกรีต ปิดกั้นแม่น�้าแควน้อย ที่ต�าบลท่าขนุน อ�าเภอ ทองผาภูม ิ จังหวัดกาญจนบุร ี การก่อสร้างเขือ่ นวชิราลงกรณก่อให้เกิดประโยชน์ในการผลิตพลังงาน ไฟฟ้า การเกษตรในพืน้ ทีช่ ลประทานแม่กลอง น�า้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค การบรรเทาน�า้ ท่วม เป็นต้น เพื่อให้การใช้น�้าที่ระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณมีการน�ามาใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจึงวางแผนศึกษาโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง ซึง่ พืน้ ทีโ่ ครงการ ตั้งอยู่อ�าเภอทองผาภูมิ ท้ายเขื่อนวชิราลงกรณประมาณ 22.5 กิโลเมตร เพื่อใช้ประโยชน์จากน�้า ในการผลิตกระแสไฟฟ้าแบบ Run-of-river ซึ่งเป็นการน�าพลังงานหมุนเวียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทั้งนี้การมีอ่างเก็บน�้าเขื่อนวชิราลงกรณควบคุมเก็บกักน�้า ท�าให้เป็นประโยชน์ต่อการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างมากยิ่งขึ้น บทความนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ การจัดท�ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ศึกษาโดยบริษทั ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด 1 2

กรรมการบริหาร บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด วิศวกรแหล่งน�้า บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด

177


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

2. ที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง บริเวณทีเ่ สนอให้เป็นทีต่ งั้ โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง จะปิดกัน้ ล�าน�า้ แควน้อย เส้นรุ้ง 14 � 40’ 51” เหนือ เส้นแวง 98 � 39’ 46” ตะวันออก อยู่ในเขตบ้านจันเดย์ ซึ่งเป็นชุมชนใน หมู่ที่ 3 บ้านปรังกาสี ต�าบลท่าขนุน อ�าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ท้ายน�้าเขื่อนวชิราลง กรณ ประมาณ 22.5 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 1 พื้นที่เสนอให้เป็นที่ตั้งอาคารโรงไฟฟ้าพลังน�้า

รูปที่ 1 ที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง

และองค์ประกอบต่างๆ อยู่บริเวณคุ้งน�้าฝั่งซ้ายของแม่น�้าแควน้อยที่มีลักษณะคล้ายกระเพาะหมู มี พื้นที่ประมาณ 180 ไร่ แม่น�้าแควน้อยบริเวณที่จะเป็นที่ตั้งเขื่อนปิดกั้นล�าน�้ามีความกว้างประมาณ 60 เมตร มีความสูงของระดับตลิ่งฝั่งซ้ายประมาณ 95.00 ม.รทก. ส่วนตลิ่งฝั่งขวาเป็นหน้าผาสูงชัน

3. ความเชือ่ มโยงของเขือ่ นวชิราลงกรณกับโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง เขื่อนวชิราลงกรณ หรือเดิมชื่อเขื่อนเขาแหลม ลักษณะเป็นเขื่อนหินถมดาดหน้าด้วย คอนกรีต ปิดกั้นแม่น�้าแควน้อย ที่ต�าบลท่าขนุน อ�าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่รับ 178


การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าน�้าเขาแหลมตอนล่าง

น�้าฝน 3,720 ตร.กม. มีปริมาณน�้าไหลเข้าอ่างเก็บน�้าเฉลี่ย 5,500 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ความสูง เขื่อนจากท้องน�้า 92 เมตร ระดับเก็บกักปกติ 155.00 ม.รทก. มีความจุอ่างเก็บน�้า 8,860 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ผิวที่ระดับเก็บกักปกติ 388.0 ตร.กม. ระดับเก็บกักต�่าสุด 135.00 ม.รทก. มีความจุ อ่างเก็บน�้าใช้งาน 5,848 ล้าน ลบ.ม. อาคารระบายน�้าล้นสามารถระบายน�้าอัตราสูงสุด 3,200 ลบ.ม.ต่อวินาที ติดตั้งเครื่องกังหันน�้าแบบ Francis ก�าลังผลิตติดตั้ง 3x100 เมกะวัตต์ ปริมาณ น�้าออกแบบ 167 ลบ.ม.ต่อวินาที ความสูงหัวน�้า 63 เมตร ผลิตพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ 740.3 ล้านหน่วย ที่ตั้งของเขื่อนวชิราลงกรณ และโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างอยู่ในลุ่มน�้า แควน้อย โดยเขื่อนวชิราลงกรณ อยู่เหนือที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างตามล�าน�้า แควน้อย ประมาณ 22.5 กิโลเมตร จึงมีความเชื่อมโยงกันในมิติด้านที่ตั้งโดยอยู่บนล�าน�้าและลุ่ม น�้าแควน้อยเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปริมาณน�้าที่ระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณลงสู่ล�าน�้า แควน้อย ยังเป็นแหล่งน�า้ ต้นทุนทีส่ า� คัญของโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง เนือ่ งจากพืน้ ที่ ลุ่มน�้าระหว่างท้ายเขื่อนวชิราลงกรณถึงที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างมีขนาดน้อย มาก (405 ตารางกิโลเมตร หรือ 10.90 %) เมื่อเทียบกับพื้นที่ลุ่มน�้าของเขื่อนวชิราลงกรณ (3,720 ตารางกิโลเมตร) ดังนั้นปริมาณน�้า side flow ที่เกิดขึ้นจึงมีปริมาณน้อยมากเทียบกับปริมาณน�้า ระบายเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าของเขื่อนวชิราลงกรณ

4. ลักษณะโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง ลักษณะโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง ได้จากรายงานการศึกษาความเหมาะสม โครงการซึ่งจัดท�าโดย กฟผ. ฉบับปี พ.ศ. 2551 สรุปได้ว่าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง เป็นการก่อสร้างเขื่อนขนาดเล็กกั้นแม่น�้าแควน้อยที่บ้านจันเดย์ ต�าบลท่าขนุน อ�าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุร ี เพือ่ ยกระดับน�า้ ให้สงู ขึน้ และน�าน�า้ มาผ่านเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้า จากนัน้ จึงระบายน�า้ ลงสู่แม่น�้าแควน้อยดังเดิม ลักษณะส�าคัญของโครงการดังแสดงในรูปที่ 2 สรุปได้ดังนี้ 179


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 2 ลักษณะโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง

รายละเอียด 1. ชนิดเขื่อน 2. ระดับสันเขื่อน 3. ความสูงเขื่อน 4. ความยาวเขื่อน 5. ระดับเก็บกักปกติ 6. ความจุเก็บกักตามล�าน�้า 7. ระดับเก็บกักต�่าสุด 8. ความจุใช้งาน ล้าน 9. ระดับน�้าสูงสุดเมื่อเกิดน�้าหลากสูงสุด 10. อาคารระบายน�้าล้นควบคุมด้วย ประตูบ้านโค้ง (จ�านวน x กว้าง x สูง) 11. ชนิดเครื่องกังหันน�้า 12. จ�านวนเครื่องกังหันน�้า 13. ก�าลังผลิตติดตั้ง 14. ปริมาณน�้าออกแบบ 15. ความสูงหัวน�้าออกแบบ 16. พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยรายปี

หน่วย เขื่อนหินทิ้งแกนดินทึบน�้า (Impervoius Core Rockfill Dam) 85 ม.รทก 20 ม. 110 ม. 82 ม.รทก 10.99 ล้าน ลบ.ม. 78 ม.รทก 6.63 ลบ.ม. 83 ม.รทก 7x11x11 ม. Bulb Turbine 2 2x9 2x161.9 6.40 90.36

180

เครื่อง เมกะวัตต์ ลบ.ม./วินาที ม. ล้านหน่วย


การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าน�้าเขาแหลมตอนล่าง

5. การบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง การบริหารจัดการน�้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง เพื่อก่อประโยชน์สูงสุด และลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมีหลักเกณฑ์การบริหารจัดการน�้า ดังนี้ 1. เมื่อปริมาณการไหลเข้าอ่างเก็บน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างน้อยกว่า หรือเท่ากับ 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จะเก็บกักระดับน�้าที่ 82.00 ม.รทก. และระบายน�้าผ่าน กังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 324 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที 2. เมือ่ ปริมาณการไหลเข้าอ่างเก็บน�า้ โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่างมากกว่า 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ถึง 750 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จะระบายน�า้ ผ่านกังหันเพือ่ ผลิตกระแส ไฟฟ้า 324 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระบายผ่านอาคารระบายน�า้ ล้นบางส่วน (Partially Opened Gates) 3. เมื่อปริมาณการไหลเข้าอ่างเก็บน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างมากกว่า 750 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จะระบายผ่านอาคารระบายน�้าล้นทั้งหมด โดยเปิดบานประตูพ้นน�้า (Fully Gate Opening) ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการน�้า 3 กรณี คือ 1) การระบายน�้าผ่านโรงไฟฟ้าพลังน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง การ ผลิตกระแสไฟฟ้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง จะขึ้นกับลักษณะและปริมาณน�้า ระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณ ดังนี้

(1) เขือ่ นวชิราลงกรณระบายน�า้ เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า 3 ช่วงเวลา เป็นส่วนใหญ่ คือ ช่วงเช้า เริม่ เวลา 8.00-12.00 น. ช่วงกลางวันเริม่ เวลา 13.00-17.00 น. และช่วงเย็นเริม่ เวลา 18.00-23.00 น. (2) ระยะเวลาทีน่ า�้ ระบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณไหลมาถึงบริเวณทีต่ งั้ โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่างประมาณ 6 ชัว่ โมง ดังนัน้ ปริมาณน�า้ ระบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณเวลา 8.00 น. จะมาถึงบริเวณที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างประมาณ 14.00 น. (3) การระบายน�้าเพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลม ตอนล่าง สามารถวางแผนได้ลว่ งหน้า เนือ่ งจากทราบปริมาณน�า้ ระบายรายวันของเขือ่ นวชิราลงกรณทีม่ กี าร วางแผนล่วงหน้า 1 อาทิตย์ 181


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

(4) การเดินเครือ่ งเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าในแต่ละวัน จะใช้นา�้ ทีเ่ ก็บกักไว้ในอ่างเก็บน�า้ ก่อน เพือ่ ลดปริมาตรน�า้ ในอ่างเก็บน�า้ และรอเก็บกักน�า้ ทีร่ ะบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณ ปริมาณน�า้ ระบายดังกล่าว จะระบายผ่านเครือ่ งกังหันน�า้ ของโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่างเท่ากับหรือน้อยกว่าปริมาณ น�า้ ออกแบบ (324 ลบ.ม. ต่อ วินาที) และปริมาณน�า้ ส่วนทีเ่ กินจะถูกเก็บสะสมไว้ในอ่างเก็บน�า้ ต่อไป ตัวอย่างการศึกษา กรณีเขือ่ นวชิราลงกรณระบายน�า้ ช่วงเวลา 8.00 - 12.00 น. เวลา 13.00 – 17.00 น. และเวลา 18.00 – 23.00 น. ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2555 ปริมาณน�้าระบายทั้งหมด เท่ากับ 15.87 ล้าน ลบ.ม. ดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 3 และกรณีที่เขื่อนวชิราลงกรณระบาย น�้าตั้งแต่ 8.00 – 24.00 น. ดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 4 โดยใช้ข้อมูลในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555 ปริมาณน�้าระบายทั้งหมดเท่ากับ 21.50 ล้าน ลบ.ม. ตารางที่ 1 ตัวอย่างปริมาณน�า้ ระบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณ ปริมาณน�า้ ไหลเข้าและระบายจาก โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง

หมายเหตุ : - คือ ไม่ได้มีการระบายน�้าจากเขื่อนวชิราลงกรณ

182


การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าน�้าเขาแหลมตอนล่าง

รูปที่ 3 ตัวอย่างปริมาณน�้าระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณใน 3 ช่วงเวลา ปริมาณน�้าไหลเข้า ปริมาณน�้าระบาย และ ระดับน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง

รูปที่ 4 ตัวอย่างปริมาณน�้าระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณทั้งวัน ปริมาณน�้าไหลเข้า ปริมาณน�้าระบาย และระดับน�้า โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง

183


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

2) การระบายน�า้ ผ่านโรงไฟฟ้าและอาคารระบายน�า้ ล้น เมือ่ ปริมาณการไหลเข้าอ่างเก็บน�า้ โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่างมากกว่า 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ถึง 750 ลูกบาศก์เมตร ต่อวินาที ปริมาณน�า้ จะระบายน�า้ ผ่านกังหันเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า 324 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และที่ เหลือจะระบายน�า้ ผ่านอาคารระบายน�า้ ล้นบางส่วน (Partially Opened Gates) ดังแสดงในรูปที่ 5 3) การระบายน�้าผ่านอาคารระบายน�้าล้น การสร้างเขื่อนขนาดเล็กกั้นล�าน�้า ระดับน�้า เก็บกักทีส่ งู ขึน้ จะท�าให้เกิดสภาวะน�า้ เอ่อด้านเหนือน�า้ กรณีเกิดน�า้ หลาก ดังนัน้ หากปริมาณการไหล เข้าอ่างเก็บน�้าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างมากกว่า 750 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ต้อง ควบคุมระดับน�้าที่หน้าเขื่อน โดยการระบายน�้าผ่านอาคารระบายน�้าล้นทั้งหมด ซึ่งจะสามารถช่วย ลดผลกระทบจากสภาวะน�้าเอ่อได้ การศึกษาระดับน�้าก่อนและหลังมีโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่างโดยใช้แบบ จ�าลองคณิตศาสตร์ HEC-RAS ซึง่ เป็นแบบจ�าลองส�าหรับวิเคราะห์ทางด้านชลศาสตร์ในหนึง่ มิต ิ ผล การศึกษากรณีที่มีการควบคุมการเปิดบานอาคารระบายน�้าล้น บริเวณที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้า เขาแหลมตอนล่าง และบริเวณสถานที่ส�าคัญในพื้นที่โครงการ เช่น สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซึง่ เป็นลานอเนกประสงค์ของชาวบ้านทีส่ ร้างติดแม่น�้าแควน้อย บริเวณเทศบาลอ�าเภอทองผาภูมิ ดังแสดงในรูปที่ 5 และรูปที่ 6 ตามล�าดับ จากข้อมูลปริมาณน�า้ ระบายของเขือ่ นวชิราลงกรณตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2528 – 2555 ปริมาณน�า้ ระบายสูงสุดเท่ากับ 1,000 ลบ.ม. ต่อ วินาที หากไม่มกี ารควบคุมการเปิดบานประตูอาคารระบาย น�า้ ล้น ระดับน�า้ บริเวณสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร.9 จะเพิม่ ขึน้ ประมาณ 1.00 ม. แต่เมือ่ มีการ ควบคุมการเปิดบานประตูอาคารระบายน�า้ ล้นระดับน�า้ จะสูงกว่าสภาพปัจจุบนั เพียง 0.30 ม. เท่านัน้ ระดับน�้ากับอัตราการไหลผ่านบานระบายน�้าล้นบานระบายโค้ง 7x11x11 ม.

รูปที่ 5 ระดับน�้าบริเวณที่ตั้งโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง กรณีควบคุมระดับน�้า

184


การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าน�้าเขาแหลมตอนล่าง ระดับตลิ่งซ้าย 94.82 ม รทก ระดับตลิ่งขวา 90.83 ม รทก

ก่อนมีโครงการ ................... หลังมีโครงการ - - - - - - - - - ควบคุมระดับน�้า

รูปที่ 6 ระดับน�า้ ทีส่ วนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร.9 กรณีไม่มแี ละมีการควบคุมระดับน�า้ ทีต่ งั้ โครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง

6. ประโยชน์ที่ได้รับของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง 1. เสริมก�าลังการผลิตไฟฟ้าของระบบให้มีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น การสร้างโครงการ ไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง เป็นการน�าพลังงานหมุนเวียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ด้วย การน�าน�้าที่ระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณลงสู่แม่น�้าแควน้อยระบายผ่านโรงไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลม ตอนล่างเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 2. ลดอัตราการกัดเซาะพื้นที่ท้ายเขื่อนวชิราลงกรณ ปัจจุบันลักษณะการระบายน�้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าของเขื่อนวชิราลงกรณ ส่งผลให้พื้นที่ท้ายน�้าเกิดสภาวะที่เรียกว่า Sudden Drawdown คือ การเปลี่ยนแปลงระดับน�้าขึ้นลงแต่ละช่วงเวลาในหนึ่งวัน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ ท�าให้ดินผนังตลิ่งหลุดได้ง่ายและเกิดการพังทลายได้ง่าย เนื่องจากดินบริเวณนี้ส่วนใหญ่เป็นดิน ทรายละเอียด หากมีการสร้างโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง ความแตกต่างของระดับ กรณีเขื่อนวชิราลงกรณหยุดระบายน�้าผ่านเครื่องกังหันน�้า

กรณีเขื่อนวชิราลงกรณระบายน�้าผ่านเครื่องกังหันน�้า

ระดับน�้าแม่น�้าแควน้อยที่สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร.9 อ.ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

185


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

น�้าแควน้อยในช่วงที่เขื่อน วชิราลงกรณไม่ระบายและระบายน�้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจะลดลง เช่น ระดับน�้าแควน้อยบริเวณสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ในสภาพปัจจุบันเขื่อนวชิราลงกรณ ระบายน�้า 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน�้าจะมีค่าแตกต่างประมาณ 5.30 เมตร ดังแสดงใน รูปที่ 7 และเมื่อมีโครงการฯ ระดับน�้าจะมีค่าแตกต่างสูงสุดเพียง 4.0 เมตร (อยู่ระหว่าง 78.00 ถึง 82.00 ม.รทก.) ดังแสดงในรูปที่ 8 ซึง่ ลดโอกาสการเกิดสภาวะทีเ่ รียกว่า Sudden Drawdown รวม ทั้งความเร็วของกระแสน�้าจะลดลงสูงสุดประมาณร้อยละ 40 อีกทั้งดินผนังตลิ่งจะที่อยู่ในภาวะจม น�้าตลอดเวลา เรียกว่า เป็น saturated soil ที่อยู่ในสภาวะ submerged ดินในสภาวะดังกล่าวจะ มีเสถียรภาพดีกว่าสภาพที่ไม่จมน�้า เพราะในสภาวะดินจมน�้า น�้าส่วนที่อยู่ในล�าน�้า (นอกผนังดิน) จะส่ง hydrostastic pressure มาค�้ายันผนังดินไว้ไม่ให้ถล่มลงไปในล�าน�้าได้ง่ายๆลดการกัดเซาะ ผนังตลิ่งริมแม่น�้าแควน้อยลงได้ 3. เพิม่ ปริมาณน�า้ ระบายท้ายน�า้ ปริมาณน�า้ ท้ายโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง จะถูกควบคุมโดยการระบายน�้าเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า ทั้งนี้การผลิตพลังงานไฟฟ้าของโครงการ ไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่างจะขึน้ อยูก่ บั ปริมาณน�า้ ระบายของเขือ่ นวชิราลงกรณ โดยปริมาณน�า้ ออกแบบเพือ่ ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง 324 ลูกบาศก์ เมตรต่อวินาที แต่ปริมาณน�้าที่ระบายเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าของเขื่อนวชิราลงกรณ 500 ลูกบาศก์ เมตรต่อวินาที จะเห็นได้ว่า ปริมาณน�้าที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขา แหลมตอนล่างน้อยกว่าที่เขื่อนวชิราลงกรณระบาย ดังนั้น โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอน ล่างจึงมีปริมาณน�้าไหลผ่านเครื่องกังหันน�้าและลงท้ายน�้าเกือบตลอดทั้งวัน ท�าให้ระดับน�้าในพื้นที่ ท้ายน�้าจะไม่แห้ง และระดับน�้าค่อนข้างจะคงที่ช่วยลดโอกาสการเกิดสภาวะที่เรียกว่า Sudden Drawdown ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของการพังทลายของผนังตลิ่ง

รูปที่ 7 ระดับน�า้ และความเร็วก่อนมีโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง กรณีเขือ่ นวชิราลงกรณระบายน�้าเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าและหยุดการระบายน�้า

186


การศึกษาวางแผนการบริหารจัดการน�้าโครงการไฟฟ้าน�้าเขาแหลมตอนล่าง

รูปที่ 8 ระดับน�า้ และความเร็วหลังมีโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง กรณีเขือ่ นวชิราลงกรณระบายน�า้ เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าและหยุดการระบายน�้า

7. บทสรุป โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง เป็นการพัฒนาโครงการโดยใช้ประโยชน์จากการ เก็บกักน�า้ ของเขือ่ นวชิราลงกรณ ทีค่ วบคุมน�า้ และระบายน�า้ ผลิตไฟฟ้าในปริมาณทีเ่ หมาะสมต่อการ ใช้นา�้ ในพืน้ ทีต่ อนล่าง จึงเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่างทีเ่ ป็น โครงการแบบ Run-of-river เป็นการก่อสร้างเก็บกักน�้าตามล�าน�้า มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย มาก อีกทัง้ น�าน�า้ ทีร่ ะบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณมาผลิตไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์เพิม่ มากขึน้ โครงการ ไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง เป็นการใช้นา�้ ในการผลิตไฟฟ้า เป็นพลังงานสะอาด และเป็นพลังงาน หมุนเวียน (Renewable Energy) การยกระดับน�า้ เก็บกักตามล�าน�า้ แต่ตา�่ กว่าระดับตลิง่ ของโครงการ ไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลม ยังก่อให้เกิดประโยชน์ในการลดความเร็วของน�า้ ทีร่ ะบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณ ท�าให้สามารถลดการกัดเซาะในพื้นที่ท้ายเขื่อนวชิราลงกรณได้ อีกทั้งน�้าในพื้นที่เหนือโครงการ ยังเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า แหล่งท่องเที่ยว นอกจากนั้น โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอน ล่างยังช่วยชะลอปริมาตรน�้าที่ระบายท้ายน�้า ท�าให้มีการระบายน�้าลงแม่น�้าแควน้อยอย่างความ สม�่าเสมอตลอดทั้งวัน โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจ�าเป็นต้องมี การวางแผนการบริหารจัดการน�า้ ให้สอดคล้องกับปริมาณน�า้ ระบายจากเขือ่ นวชิราลงกรณในแต่ละวัน หรือแต่ละเดือน เพื่อให้โครงการมีการใช้น�้าให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ในอนาคต

187


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

เอกสารอ้างอิง 1. รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขาแหลมตอนล่าง จังหวัด กาญจนบุรี, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, มิถุนายน 2556 2. รายงานศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน�า้ เขาแหลมตอนล่าง, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย, พฤษภาคม 2551

188


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอย กับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

The Relation between Suspended Sediment and Drainage Area in 25 River Basins รัตนา รัตนจารุรักษ์ และคณะ1

1. ค�าน�า กรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลัก ด้านการพัฒนาแหล่งน�า้ และการบริหารจัดการน�า้ ของ ประเทศไทย ในการวางแผนโครงการหรือการบริหารจัดการน�า้ ต้องมีการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทัง้ ด้าน สังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อม ควบคูก่ บั ด้านวิศวกรรม ข้อมูลอุทกวิทยาด้านตะกอน มีความส�าคัญ และจ�าเป็นต้องรูท้ งั้ ก่อนและหลังมีโครงการพัฒนาแหล่งน�า้ ทัง้ การศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน ลักษณะทาง กายภาพของลุม่ น�า้ ปัญหาการกัดเซาะ การพัดพา และการตกทับถมของตะกอนทัง้ ในล�าน�า้ ธรรมชาติ และในอ่างเก็บน�า้ ซึง่ เป็นสาเหตุให้ลา� น�า้ ตืน้ เขิน การเปลีย่ นทิศทางการไหลของน�า้ และปริมาณน�า้ ต้นทุนในอ่างเก็บน�า้ ลดลง รวมทัง้ แนวโน้มทีม่ ผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ในลุม่ น�า้ กลุม่ งานตะกอนและคุณภาพน�า้ ส่วนอุทกวิทยา ส�านักบริหารจัดการน�า้ และอุทกวิทยา กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานหลักในการด�าเนินงานการวางเครือข่ายสถานีส�ารวจตะกอน แขวนลอย การจัดท�าฐานข้อมูล รวมทั้งการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลตะกอนแขวนลอย ซึ่งด�าเนิน การส�ารวจและประมวลผลข้อมูลตะกอนแขวนลอยโดยศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน�้าภาค การ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก เพื่อน�าผล การศึกษาไปใช้ประกอบการวางแผนป้องกัน บรรเทา แก้ไข หรือปรับปรุงโครงการชลประทานให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด

2. วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้ได้สมการถดถอย (regression equation) เพือ่ น�าไปใช้ประเมินปริมาณตะกอน แขวนลอย ส�าหรับโครงการพัฒนาแหล่งน�้าและการบริหารจัดการน�้า 2. เพื่อน�าผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้กับปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์หรือ เกี่ยวข้องกัน เช่น ปริมาณฝน ปริมาณน�้าท่า การใช้ประโยชน์ที่ดิน และอื่นๆ 1

กลุ่มงานตะกอนและคุณภาพน�้า ส่วนอุทกวิทยา ส�านักบริหารจัดการน�้าและอุทกวิทยา กรมชลประทาน

189


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�าไปใช้ประโยชน์

3. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ใน 25 ลุม่ น�า้ หลัก

แผนที่แสดงที่ตั้งสถานีส�ารวจตะกอนแขวนลอยใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

การประเมินเชิงอุทกวิทยา เป็นเทคนิคอย่างหนึ่งที่ใช้ในการจัดหาข้อมูลทางอุทกวิทยาโดย ทางอ้อม และสามารถน�าสถิตนิ นั้ ไปประกอบการพิจารณาศึกษาและออกแบบงานด้านพัฒนาแหล่ง น�้า ประเภทต่างๆ ได้ ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี ทั้งในรูปแบบรีเกรชชั่น (regression model) และ รูปแบบจ�าลองคณิตศาสตร์ (mathematical model) วิธดี งั กล่าวนีม้ ตี งั้ แต่รปู แบบจ�าลองอย่างง่าย ใช้การค�านวณไม่มากนัก ไปจนถึงรูปแบบจ�าลองอย่างยากและซับซ้อน ที่นิยมใช้กันทั่วไปเกี่ยวกับ การประเมินปริมาณตะกอนแขวนลอย ในกรณีข้อมูลไม่เพียงพอ หรือในกรณีที่ไม่ได้ท�าการส�ารวจ มาก่อนเลย โดยการใช้สมการถดถอย (regression equation) สมการถดถอย เป็นการน�าชุดข้อมูล 2 ตัวแปร หรือมากกว่า เข้ามาเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน ซึ่งจ�าเป็นต้องหาแบบจ�าลองและส�ารวจ ความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านัน้ อย่างเช่น กรณีการหาความสัมพันธ์ระหว่างตะกอนแขวนลอยกับ พื้นที่ลุ่มน�้า เพื่อจะน�าแบบจ�าลองไปใช้ในการคาดคะเน (prediction) หรือการประเมิน โดยทั่วไป ตัวแปรตามแต่ละตัวแปรหรือค่าตอบสนอง (response) จะขึ้นกับตัวแปรอิสระ(independent 190


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

หรือ regression variables) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สามารถอธิบายได้จากแบบจ�าลองทาง คณิตศาสตร์ที่เรียกว่า สมการถดถอย (regression equation) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ยกับพื้นที่ลุ่มน�้า ใน 25 ลุ่ม น�้าหลัก ทั่วประเทศไทย โดยการรวบรวมข้อมูลตะกอนแขวนลอยจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน�้า และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ทั้ง 25 ลุ่มน�้า หลัก ซึ่งมีจ�านวนสถานีตะกอนแขวนลอยทั้งหมดจ�านวน 629 สถานี ประกอบด้วยสถานีตรวจวัด ตะกอนแขวนลอยของกรมชลประทาน จ�านวน 341 สถานี สถานีตรวจวัดตะกอนแขวนลอยของ กรมทรัพยากรน�้า จ�านวน 262 สถานี และสถานีตรวจวัดตะกอนแขวนลอยของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย จ�านวน 26 สถานี ระยะเวลาของข้อมูลที่ใช้เริ่มตั้งแต่มีการบันทึกข้อมูล ถึงปี พ.ศ. 2551 (ตามฐานข้อมูลทีม่ อี ยู ่ ณ ขณะนัน้ ) น�าข้อมูลตะกอนแขวนลอยทัง้ หมดมาศึกษาและวิเคราะห์ และหาค่าเฉลี่ยปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีของแต่ละสถานีและแยกสถานีตามลุ่มน�้าหลัก แล้ว น�ามาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลีย่ กับพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ในแต่ละลุม่ ทัง้ 25 ลุ่มน�้าหลัก โดยใช้แบบจ�าลองเชิงเส้น (Linear Model) ในรูปแบบของสมการถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression analysis) ซึ่งมีสมการ Qs = aAb (เมื่อ Qs คือ ปริมาณตะกอนแขวนลอย รายปีเฉลี่ย A คือพื้นที่ลุ่มน�้า a และ b คือค่าสัมประสิทธิ์ regression) โดยพล๊อตเป็นกราฟความ สัมพันธ์ระหว่างตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ยกับพื้นที่ลุ่มน�้าดังแสดงไว้ในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 24 จะได้ สมการความสัมพันธ์ในแต่ละลุม่ น�า้ ซึง่ สมการเหล่านัน้ จะน�ามาใช้ได้หรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (correlation coefficient: r) ในกรณีที่ค่า r เข้าใกล้ 1 แสดงว่าความสัมพันธ์ระหว่าง ตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ยกับพื้นที่ลุ่มน�้ามีความสัมพันธ์เป็นอย่างดี แต่ถ้าค่า r เข้าใกล้กับ 0 แสดงว่าความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้ง 2 ชุดนี้ มีความสัมพันธ์กันน้อยหรือแทบไม่มีเลย โดยทั่วไปแล้ว ทางด้านอุทกวิทยาค่า r ควรจะมากกว่า 0.60 จึงจะถือว่าข้อมูลทั้ง 2 ชุด มีความสัมพันธ์กันอย่าง ยอมรับได้ (วีระพล, 2531)

191


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

192


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

193


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

194


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

195


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

196


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

197


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

198


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

4. สรุป จากการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลีย่ กับพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ใน 25 ลุม่ น�า้ หลัก โดยใช้แบบจ�าลองเชิงเส้น (Linear Model) ในรูปแบบของสมการถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) จะได้สมการถดถอยดังแสดงผลสรุปไว้ในตารางที่ 1 เพื่อน�าไปใช้ประเมิน ปริมาณตะกอนแขวนลอย ในกรณีข้อมูลไม่เพียงพอ หรือไม่มีการส�ารวจข้อมูลเลย

199


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

200


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก

จากผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตะกอนแขวนลอยกับพื้นที่ลุ่มน�้าใน 25 ลุ่มน�้าหลัก (ตารางที่ 1) จ�านวน 21 ลุ่มน�้า มีค่า r ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างยอมรับได้จนถึงมีความสัมพันธ์กัน อย่างดีมาก ซึ่งมีค่าระหว่าง 0.7055 – 0.9874 ค่า r ต�่าสุดที่พอใช้ได้ เท่ากับ 0.5925 ที่ลุ่มน�้าภาค ใต้ฝั่งตะวันตก (25) ค่า r ที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด 0.9874 ที่ลุ่มน�้าแม่กก (3) แต่มี 3 ลุ่มน�้า ทีส่ มการถดถอยไม่สามารถน�าไปใช้ได้เนือ่ งจากมีจา� นวนชุดข้อมูลน้อยเกินไป ได้แก่ลมุ่ น�า้ เจ้าพระยา (10) มีข้อมูล 2 สถานี ลุ่มน�้าท่าจีน (13) มีข้อมูล 4 สถานี และลุ่มน�้าโตนเลสาบ (17) ค่า r =0.9999 เป็นค่าที่สูงมากใกล้กับ 1 แต่เชื่อถือไม่ได้เพราะมีข้อมูลเพียง 3 สถานี ข้อมูลและสมการถดถอยทีไ่ ด้จากผลการศึกษานี ้ สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การพัฒนาแหล่งน�้า การบริหารจัดการน�้า การป้องกัน บรรเทา แก้ไขหรือปรับปรุงและบ�ารุงรักษา โครงการชลประทานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด และการขุดลอกตะกอนทีท่ บั ถมในล�าน�า้ รวมทัง้ การน�า ข้อมูลไปศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และส�าหรับผู้บริหารเพื่อประกอบการ วางแผน และการตัดสินใจ

5. ปัญหาและข้อเสนอแนะ 1. เครือข่ายสถานีตะกอนแขวนลอยไม่เพียงพอและครอบคลุม สถานีส�ารวจตะกอน แขวนลอยของกรมชลประทานที่มีข้อมูลส�ารวจถึงปัจจุบันประมาณ ซึ่งนับว่ามีจ�านวนสถานีที่น้อย มากเมือ่ เทียบกับสถานีสา� รวจปริมาณน�า้ อย่างกรณี แม่นา�้ เจ้าพระยามีสถานีตะกอนแขวนลอยเพียง 2 สถานี หรือแม่น�้าท่าจีนมีเพียง 4 สถานี ไม่สามารถน�าสมการถดถอยไปใช้งานได้ ดังนั้นกลุ่มงาน ตะกอนและคุณภาพน�้า จึงต้องวางแผนเพื่อศึกษาการเพิ่มเครือข่ายสถานีส�ารวจตะกอนให้มากขึ้น ทั้งสถานีในลุ่มน�้าหลัก สาขาที่ส�าคัญ รวมทั้งเหนือและท้ายเขื่อน เพื่อให้การพัฒนาแหล่งน�้าและ การบริหารจัดการน�้าถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด 2. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation coefficient: r) มีค่าน้อย เนื่องจากลักษณะ ภูมิประเทศของล�าน�้าที่มีขนาดเล็ก ล�าน�้าสายสั้น และเป็นเส้นเดียว ลักษณะการไหลของน�้าไหลลง สู่ทะเล โดยตรง รวมทั้งปริมาณฝนที่ต่างกันมาก ท�าให้ได้ปริมาณตะกอนที่ต่างกัน ท�าให้ค่าความ สัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยกับพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ มีความสัมพันธ์กนั น้อย หรือมีลกั ษณะการ กระจาย (scatter) มากกว่าล�าน�้าสายใหญ่ๆ ในการแก้ปัญหาต้องพิจารณาตัดเป็นพื้นที่ให้ย่อยลง เช่น ลุ่มน�้าภาคใต้ฝั่งตะวันตก (25) 3. ลุ่มน�้าใหญ่ถูกแบ่งเป็นหลายลุ่มน�้า ท�าให้สถานีส�ารวจตะกอนแขวนลอยถูกแบ่งไป ด้วย มีผลต่อการน�าข้อมูลของสถานีในแต่ละลุม่ ทีแ่ บ่ง เมือ่ น�ามาสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตะกอน แขวนลอยกับพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ความสัมพันธ์ของข้อมูลจึงไม่ดเี ท่าทีค่ วร หรือเกิดความสัมพันธ์ตรงกันข้าม ดังนัน้ ควรพิจารณาข้อมูลของล�าน�า้ ทีอ่ ยูใ่ นระบบลุม่ น�า้ เดียวกันมาพิจารณาสร้างกราฟความสัมพันธ์ เช่น ลุ่มน�้าปราจีนบุรี-ลุ่มน�้าบางปะกง 201


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

4. ปริมาณตะกอนแขวนลอยน้อยลง การใช้ขอ้ มูลตะกอนแขวนลอยรายปี ในพืน้ ทีท่ มี่ รี ะบบ ชลประทานขนาดใหญ่ หรือมีระบบชลประทานควบคุมอยู่ ส่งผลให้ปริมาณตะกอนแขวนลอยราย ปีมีปริมาณน้อยลง ซึ่งเกิดจากการกักเก็บและยกระดับน�้าของระบบชลประทาน จึงท�าให้ตะกอน แขวนลอยบางส่วนแผ่กระจายไปอยู่ในพื้นที่ชลประทาน และบางส่วนตกตะกอนทับถมในอ่างเก็บ น�้า เมื่อน�ามาพิจารณาร่วมกับข้อมูลตะกอนที่น�้าไหลตามธรรมชาติ (natural flow) จะมีความแตก ต่างกัน ซึ่งปริมาณตะกอนที่ได้จึงน้อยกว่าค่าปกติ

เอกสารอ้างอิง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

กองจัดการทรัพยากรน�้า, 2555. ข้อมูลตะกอนแขวนลอยรายเดือน, กองจัดการทรัพยากรน�้า, ฝ่ายส�ารวจ, การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. กองอุทกวิทยา, 2527. รายงานการสัมมนา เรือ่ ง เทคนิคทางวิชาการด้านอุทกวิทยา ณ ศูนย์วจิ ยั โคกสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา, กองอุทกวิทยา, กรมชลประทาน, กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์. กองอุทกวิทยา, 2529. แนวทางการปฏิบัติงานส�ารวจน�้าท่าและตะกอน, กองอุทกวิทยา, ฝ่าย วิศวกรรม, ศูนย์วิศวกรรมการชลประทาน, กรมชลประทาน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กองอุทกวิทยา, 2535. รายงานการสัมมนาวิชาการทางอุทกวิทยา, กองอุทกวิทยา, กรมชลประทาน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. รัตนา รัตนจารุรักษ์, 2537. วิวัฒนาการของแม่น�้าและการศึกษารูปตัดขวางของล�าน�้าเชิง อุทกวิทยา, กองอุทกวิทยา, กรมชลประทาน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. วีระพล แต้สมบัติ, 2531. อุทกวิทยาประยุกต์ (Applied Hydrology), ภาควิชาวิศวกรรม ทรัพยากรน�้า, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ส�านักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา, 2555. ข้อมูลตะกอนแขวนลอยรายเดือน, ส�านักวิจัยพัฒนา และอุทกวิทยา, กรมทรัพยากรน�้า, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สุภาวดี ยิม้ ศรีเจริญกิจ. 2541. ความสัมพันธ์ระหว่างพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ และปริมาณตะกอนแขวนลอย ของลุ่มน�้าในประเทศไทย, ฝ่ายส�ารวจและศึกษาตะกอน, ส�านักอุทกวิทยาและบริหารน�้า, กรมชลประทาน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

202


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจ ส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

(Decision-Making Modeling for Flood Operation and Management in Thailand) ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง1

บทคัดย่อ จากเหตุการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2554 ท�าให้ทุกฝ่ายต่างตระหนักถึงความส�าคัญ ในการวางแผนและด�าเนินการต่างๆ อย่างรอบคอบเพื่อเตรียมรองรับกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น ได้ทุกเมื่อ การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจที่สามารถเข้าถึงข้อมูล ณ เวลาปัจจุบัน (Real-time) ได้ตลอดเวลา ท�าให้นอกจากจะเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังสามารถ คาดการณ์เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในอนาคตได้อกี ด้วย บทความนีน้ า� เสนอผลการพัฒนาแบบจ�าลองการ ตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย โดยใช้สถานการณ์น�้าปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเป็น เหตุการณ์อทุ กภัยทีร่ นุ แรงและสร้างความเสียหายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน รวมทัง้ หน่วย งานภาครัฐและเอกชนเป็นอย่างมาก แบบจ�าลองการตัดสินใจประกอบด้วย 7 ส่วน คือ การรายงาน ข้อมูล (Real-time Data) การจ�าลองสภาพการไหล (Hydrodynamic Flow Simulation) การ จ�าลองสภาพน�้าไหลหลากท่วมพื้นที่ (Flood Flow Simulation) การพยากรณ์น�้าท่วม (Flood Forecasting) ระบบตัดสินใจบริหารจัดการน�้า (Desicion-Making System) การเตือนภัยน�้าท่วม (Flood Warning) และการเผชิญภัยน�า้ ท่วม (Flood Fighting) ผลการศึกษาจ�าลองสภาพน�า้ ท่วมปี พ.ศ. 2554 ของลุ่มน�้าปิง วัง ยม น่าน สะแกกรัง เจ้าพระยา ป่าสัก ท่าจีน ปราจีน-บางปะกง และ แม่กลอง พบว่า ปริมาณน�้าท่วมสูงสุดเกิดขึ้นในวันที่ 29 ตุลาคม 2554 เท่ากับ 20,388 ล้าน ลบ.ม. พืน้ ทีน่ า�้ ท่วมเกิดขึน้ 10.4 ล้านไร่ กรณีใช้แบบจ�าลองวิเคราะห์หาพืน้ ทีร่ บั น�า้ ลุม่ น�า้ เจ้าพระยาตอนบน เหนือนครสวรรค์เท่ากับ 1,193,476 ไร่ สามารถรับน�้าได้ 3,210 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่รับน�้าของลุ่มน�้า เจ้าพระยาใต้นครสวรรค์เท่ากับ 953,974 ไร่ สามารถเก็บกักน�้าได้ 1,902 ล้าน ลบ.ม. ทั้งนี้ในพื้นที่ รับน�้าตอนบนและตอนล่างจะต้องเสริมคันให้สูงเพิ่มขึ้นประมาณ 0.80 และ 1.00 เมตร ตามล�าดับ Email : panuwat.pinthong@gmail.com ศูนย์วิจัยวิศวกรรมน�้าและโครงสร้างพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

1

203


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

นอกจากนี้หากพิจารณาร่วมกับการปรับปรุงเกณฑ์การปล่อยน�้าของเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ พบว่า ปริมาณในแม่น�้าเจ้าพระยาที่สถานี C.2 อ.เมืองนครสวรรค์ จากเดิมในปี พ.ศ. 2554 เท่ากับ 4,680 ลบ.ม./วินาที ลดลงเหลือ 4,000 ลบ.ม./วินาที ขณะที่ปริมาณน�้าที่สถานี C.7A อ.อ่างทอง จากเดิม 3,700 ลดลงเหลือ 3,160 ลบ.ม./วินาที และปริมาณน�้าที่สถานี C.29 อ.บางไทร จากเดิม 3,800 ลดลงเหลือ 3,250 ลบ.ม./วินาที

1. บทน�า

การศึกษาแนวทางบริหารจัดการ ลุ่มน�้าเจ้าพระยาที่เหมาะสม จ�าเป็นต้อง พิจารณาครอบคลุมพื้นที่รับน�้าทั้งหมด 10 ลุ่มน�้า แสดงดังรูปที่ 1 คือ ปิง วัง ยม น่าน เจ้าพระยา สะแกกรัง ท่าจีน ป่าสัก ปราจีนบางปะกง และแม่กลอง โดยแม่น�้าวังไหล บรรจบแม่น�้าปิงที่ อ.บ้านตาก จ.ตาก ส่วน แม่น�้ายมไหลบรรจบแม่น�้าน่านที่ อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์ และแม่นา�้ ปิงไหลบรรจบแม่นา�้ น่านเป็นต้นก�าเนิดแม่นา�้ เจ้าพระยาที ่ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ แม่น�้าเจ้าพระยาไหลผ่าน ที่ราบภาคกลางผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพ และไหลลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัด สมุทรปราการ โดยแม่น�้าสะแกกรังไหลลง แม่น�้าเจ้าพระยาที่ อ.เมือง จ.อุทัยธานี และ แม่นา�้ ท่าจีนมีตน้ ก�าเนิดอยูท่ ปี่ ากคลองมะขาม เฒ่า จ.ชัยนาท เป็นล�าน�า้ สาขาแยกจากแม่นา�้ เจ้าพระยา คล้ายกับแม่นา�้ น้อยทีแ่ ยกออกจาก รูปที่ 1 พื้นที่ศึกษาลุ่มน�้าเจ้าพระยา แม่นา�้ เจ้าพระยาบริเวณต�าบลชัยนาท อ.เมือง จ.ชัยนาท แม่นา�้ ป่าสักไหลลงสูแ่ ม่นา�้ เจ้าพระยาทีต่ า� บลบ้านเกาะ อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา ส่วน แม่น�้าแม่กลองและแม่น�้าบางปะกงตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกและตะวันออกของแม่น�้าเจ้าพระยา ตาม ล�าดับ สามารถเชื่อมต่อกันได้ผ่านคลองธรรมชาติต่างๆ ได้ จากเหตุการณ์มหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 นับว่าเป็นเหตุการณ์น�้าท่วมครั้งที่รุนแรงที่สุด เมื่อเทียบกับเหตุการณ์อุทกภัยในอดีตที่ผ่านมา จากรูปที่ 2 (ก) ถึง (ค) แสดงค่าปริมาณน�้า 204


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

รายวันของปี พ.ศ. 2549 เทียบกับปี พ.ศ. 2554 ช่วงเดือนมิถุนายน ถึง พฤศจิกายน ของสถานี P.17 อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ N.67 อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์ และ C.2 อ.เมืองนครสวรรค์ ตามล�าดับ โดยจะเห็นว่า ในปี พ.ศ. 2549 และ 2554 มีปริมาณน�้าที่ไหลล้นตลิ่งของสถานี P.17 ซึง่ รับได้ 1,815 ลบ.ม./วินาที เท่ากับ 11 และ 13 วัน หรือคิดเป็นปริมาณน�า้ 245 และ 417 ล้าน ลบ.ม. ตามล�าดับ ส่วนปริมาณน�้าที่ไหลล้นตลิ่งของสถานี N.67 ซึ่งรับได้ 1,520 ลบ.ม./วินาที เกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2549 และ 2554 เท่ากับ 8 และ 32 วัน หรือคิดเป็นปริมาณน�้าได้ 12 และ 96 ล้าน ลบ.ม. ตามล�าดับ ส�าหรับปริมาณน�้าของสถานี C.2 ที่ไหลล้นตลิ่งซึ่งรับได้ 3,500 ลบ.ม./วินาที ในปี พ.ศ. 2549 และ 2554 เกิดขึ้น 36 และ 46 วัน หรือคิดเป็นปริมาณน�้าเท่ากับ 3,668 และ 3,025 ล้าน ลบ.ม. ตามล�าดับ

รูปที่ 2 ปริมาณน�า้ ท่าช่วงเดือนมิถนุ ายนถึงพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2549 และ 2554 ของ (ก) สถานี P.17 อ.บรรพตพิสยั จ.นครสวรรค์ (ข) สถานี N.67 อ.บางมูลนาก จ.นครสวรรค์ และ (ค) สถานี C.2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์

205


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

2. การพัฒนาแบบจ�าลองคณิตศาสตร์ การพัฒนาแบบจ�าลองคณิตศาสตร์ส�าหรับการบริหารจัดการน�้า มีแนวคิดเกิดจากความ ต้องการเครือ่ งมือส�าหรับช่วยตัดสินใจต่อสถานการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะนัน้ รวมทัง้ การวิเคราะห์ หาแนวทางรับมือสถานการณ์และการเผชิญกับเหตุการณ์ทคี่ าดว่าจะเกิดขึน้ โดยสามารถน�าข้อมูล ณ เวลาปัจจุบนั (Real-time Data) มาเป็นตัวแปรใช้ตดั สินใจเพือ่ ให้การบริหารจัดการน�า้ ในสถานการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ มีประสิทธิภาพและสามารถน�าไปสูก่ ารด�าเนินงานได้อย่างเป็นรูปธรรม ส�าหรับแบบจ�าลอง การตัดสินใจบริหารจัดการน�า้ ท่วมของประเทศไทย ทีไ่ ด้พฒ ั นาขึน้ มาตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2555 เพือ่ เตรียม การรับมือกับสถานการณ์อุทกภัยที่อาจเกิดขึ้นได้ นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นการวิเคราะห์หามาตรการ ป้องกันน�้าท่วมได้ โดยแบบจ�าลองประกอบด้วย 7 ส่วนที่ส�าคัญ คือ การรายงานข้อมูล (Real-time Data) การจ�าลองสภาพการไหล (Hydrodynamic Flow Simulation) การจ�าลองสภาพน�้าไหล หลากท่วมพื้นที่ (Flood Flow Simulation) การพยากรณ์น�้าท่วม (Flood Forecasting) ระบบ ตัดสินใจบริหารจัดการน�้า (Desicion-Making System) การเตือนภัยน�้าท่วม (Flood Warning) และการเผชิญภัยน�้าท่วม (Flood Fighting)

2.1 การจ�าลองสภาพการไหลและพื้นที่น�้าท่วมปี พ.ศ. 2554

การศึกษาสภาพน�้าท่วมในปี พ.ศ. 2554 ใช้แบบจ�าลอง MIKE Flood River ซึ่งประกอบ ด้วยแบบจ�าลอง MIKE 11 (Hydrodynamic Model) MIKE 21 (2D Flow Model) และ MIKE Flood (Combined MIKE11&21 Models) โดยแบบจ�าลองนี้ใช้ข้อมูลโครงข่ายล�าน�้า รูปตัด ทางน�้า และความสูงของภูมิประเทศ ร่วมกับ ข้อมูลปริมาณน�้าฝน และปริมาณน�้าท่าเพื่อ ปรับเทียบแบบจ�าลองให้สามารถได้ผลค�านวณทีถ่ กู ต้องใกล้เคียงกับค่าตรวจวัดจริงในสนาม ส�าหรับ ผังจ�าลองสภาพการไหลของลุ่มน�้าเจ้าพระยาแสดง ดังรูปที่ 3 ซึ่งสถานีวัดปริมาณน�้าที่ส�าคัญและ น�ามาพิจารณาปรับเทียบความถูกต้องของแบบ จ�าลองคือ สถานี P.7A อ.เมือง จ.ก�าแพงเพชร สถานี P.17 อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ สถานี Y.16 อ.บางระก�า จ.พิษณุโลก สถานี N.8A อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร สถานี N. 67 อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์ สถานี C.2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ และสถานี C.29 รูปที่ 5 ผลจ�าลองสภาพน�้าท่วมสูงสุดของลุ่มน�้า อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา เจ้าพระยา ในวันที่ 29 ตุลาคม 2554 206


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

ผลการปรับเทียบแบบจ�าลองโดยใช้ข้อมูลปริมาณน�้าท่า 7 สถานี พบว่า ผลจ�าลองปริมาณ น�้าจากแบบจ�าลองเมื่อเทียบกับค่าปริมาณน�้าจากการตรวจวัด มีค่า R ระหว่าง 0.84-0.98 ค่า R2 อยู่ระหว่าง 0.71-0.99 และค่า EI ระหว่าง 0.87-0.99 สรุปในตารางที่ 1 และรูปที่ 4 แสดงให้เห็น ได้วา่ ผลการจ�าลองปริมาณน�า้ ท่ามีคา่ ใกล้เคียงกับข้อมูลตรวจวัดจริง ท�าให้เกิดความมัน่ ใจในการน�า ไปใช้จา� ลองสภาพน�า้ ท่วม รูปที่ 5 แสดงผลจ�าลองสภาพน�า้ ท่วมสูงสุดในวันที ่ 29 ตุลาคม 2554 ของ พื้นที่ลุ่มน�้าเจ้าพระยา ซึ่งใช้ข้อมูลจากผลการค�านวณปริมาณการไหลของแบบจ�าลอง Hydrody-

รูปที่ 3 ผังจ�าลองการไหลของลุ่มน�้าเจ้าพระยา (กรมชลประทาน, 2556)

207


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

namic ร่วมกับข้อมูล DEM (Digital Elevation Model) จากการส�ารวจโดยกรมชลประทานในปี พ.ศ. 2554-2555 ผลการศึกษาสรุปได้ว่า พื้นที่น�้าท่วมลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนบน (เหนือสถานี C.2) เท่ากับ 2.6 ล้านไร่ คิดเป็นปริมาณน�้าท่วม 5,468 ล้าน ลบ.ม. และพื้นที่น�้าท่วมลุ่มน�้าเจ้าพระยา ตอนล่าง (ใต้สถานี C.2) เท่ากับ 7.80 ล้านไร่ คิดเป็นปริมาณน�้าท่วม 14,920 ล้าน ลบ.ม. รวมพื้นที่ น�้าท่วมทั้งหมด 10.40 ล้านไร่ และปริมาณน�้าท่วมทั้งหมด 20,388 ล้าน ลบ.ม.

รูปที่ 4 ผลจ�าลองปริมาณน�้าท่าที่สถานี P.7A N.8A Y.16 และ C.2 เทียบกับข้อมูลตรวจวัดจริง

ตารางที่ 1 สรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบจ�าลองสภาพการไหลของ 7 สถานีหลัก

2.2 ระบบการตัดสินใจบริหารจัดการน�้า

ระบบช่วยตัดสินใจ (Decision Support System, DSS) มีส่วนส�าคัญอย่างมากในการ บริหารจัดการน�า้ ท่วมให้มปี ระสิทธิภาพ ซึง่ รวมถึงการมีสว่ นร่วมของชุมชนตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการด�าเนินงานป้องกันบรรเทาปัญหาน�า้ ท่วมทีเ่ กิดขึน้ ตลอดจนการร่วมมือปฏิบตั กิ าร ขณะเกิดอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในส่วนนี้ได้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสร้าง 208


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

ระบบช่วยตัดสินใจในเวลาปัจจุบัน (Real-time) โดยเชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลโทรมาตร และระบบ การพยากรณ์การบริหารจัดการและการเตือนภัยเข้าด้วยกัน ท�าให้สามารถแสดงผลการค�านวณ ปริมาณการไหลของน�้าในพื้นที่ 10 ลุ่มน�้า ผลจ�าลองภาพแผนที่น�้าท่วมกรณีเกิดน�้าไหลหลากท่วม ในพื้นที่ต่างๆ ผลการพยากรณ์น�้าฝนและน�้าท่า แบบจ�าลองการตัดสินใจปล่อยน�้าจากเขื่อนและ การควบคุมปริมาณการไหลของแม่น�้าสายหลัก การแสดงผลเตือนภัยตามรายสถานีวัดน�้าท่า และ การจ�าลองสถานการณ์เผชิญภัยเพือ่ รับมือกับอุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ โดยระบบตัดสินใจเป็นประโยชน์ อย่างมาก ในการใช้เป็นเครื่องมือบริหารจัดการน�้าได้อย่างทันต่อเหตุการณ์ และผู้บริหารสามารถ เข้าถึงข้อมูลทางเทคนิคเชิงลึกเพื่อความเข้าใจและออกค�าสั่งในการปฏิบัติได้อย่างชัดเจน ท�าให้ ผู้ปฏิบัติสามารถน�าไปเป็นแนวทางด�าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความสูญเสียชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนในชุมชนและสังคม การพัฒนาระบบพยากรณ์จากแบบจ�าลองคณิตศาสตร์ให้สามารถท�างานแบบเวลาปัจจุบนั (Real-time) ได้ เป็นงานที่ท้าทายและเป็นส่วนส�าคัญที่สุดของระบบตัดสินใจ เนื่องจากระบบฯ มี แบบจ�าลองฯ หลายชุดและในขั้นตอนการประมวลผลของแต่ละชุดต้องใช้เวลาในการค�านวณค่อน ข้างมาก และทีส่ า� คัญผลการค�านวณในแต่ละแบบจ�าลองแต่ละส่วน ต้องการข้อมูลส�าหรับน�าเข้าเป็น ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการออกแบบระบบฯ ได้ค�านึงถึงความต่อเนื่องของการค�านวณ รวมทั้งบริหาร จัดการเวลาในการค�านวณของแบบจ�าลองฯ ในแต่ละส่วนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถ ด�าเนินการได้ทุกๆ วัน ตลอดจนต้องมีการส�ารองข้อมูล (Backup) และป้องกันข้อผิดพลาดทาง เทคนิค ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยบังเอิญ เช่น ระบบไฟฟ้าขัดข้อง ข้อมูลโทรมาตรไม่ครบ และในขั้นตอน สุดท้ายที่มีความส�าคัญมากคือ ผลการพยากรณ์ของระบบฯ จะมีการน�าเสนอในรูปแบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Application) ซึง่ ผูป้ ฏิบตั กิ ารสามารถเรียกดูได้จากหน้าจอคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดัง กล่าวเป็นส่วนหนึง่ ของชุดโปรแกรมระบบช่วยตัดสินใจ ซึง่ จะประกอบด้วยโปรแกรมย่อยๆ มีหน้าที่ แสดงข้อมูลตรวจวัด ผลการพยากรณ์ ฝน การปล่อยน�า้ จากเขือ่ น ผลการพยากรณ์จากแบบจ�าลองฯ และมีโปรแกรมช่วยตัดสินใจ (Decision Support System) เพือ่ น�าผลการพยากรณ์มาช่วยวางแผน บริหารจัดการน�้าในพื้นที่โครงการ ตลอดจนมีการน�าผลการพยากรณ์เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของ โครงการฯ และมีการอัพเดทข้อมูลทุกๆ วัน ระบบการตัดสินใจเพื่อการพยากรณ์ การบริหารจัดการ และการเตือนภัย สามารถอธิบาย ขั้นตอนการท�างานได้ ดังนี้ • ระบบเริ่มท�างานแบบอัตโนมัติทุกๆ วัน ณ เวลา 6.00 น. • ระบบท�าการเชื่อมโยงข้อมูลตรวจวัด ณ เวลาปัจจุบัน จากระบบโทรมาตรของ กรมชลประทาน ในพื้นที่ลุ่มน�้า ปิง วัง ยม น่าน แม่กลอง เจ้าพระยา ป่าสัก ท่าจีน สะแกกรัง และปราจีน-บางปะกง ซึง่ ประกอบด้วยข้อมูลปริมาณฝน ระดับน�า้ และอัตรา การไหล 209


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

• ระบบดึงข้อมูลฝนพยากรณ์ และปริมาณการปล่อยน�า้ จากเขือ่ น ผ่านทางเวบไซต์ทเี่ ผยแพร่ ข้อมูล อาทิ สภาพน�า้ ท่ารายวันของกรมชลประทาน และปริมาณการระบายน�า้ ประจ�าวัน จากเขื่อนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • ข้อมูลแบบ Real-time ทั้งหมดจะถูกบันทึกลงเครื่อง Server ซึ่งมีฐานข้อมูล • ระบบดึงข้อมูล Real-time จากฐานข้อมูลมาแปลงให้อยูใ่ นรูปแบบข้อความ (text file) • จัดเรียงข้อมูลโทรมาตรแบบ Text ให้อยูใ่ นรูปแบบทีจ่ ะแปลงเป็นตาราง Time - Series ส�าหรับเป็นตัวแปรที่ใช้ในแบบจ�าลอง • ระบบสั่งแบบจ�าลองพยากรณ์ปริมาณน�้าที่ไหลเข้าอ่างเก็บน�้า และปริมาณน�้าท่าของ สถานีตา่ งๆ ท�างานเพือ่ ท�าการพยากรณ์นา�้ ล่วงหน้า 7 วันต่อเนือ่ ง เพือ่ การบริหารจัดการน�า้ และคาดการณ์พื้นที่น�้าท่วม • แปลงข้อมูลที่จัดเรียงใหม่แล้วให้เป็นไฟล์ชนิด Timeseries ส�าหรับน�าเข้าแบบจ�าลอง • ระบบท�าการสั่งแบบจ�าลอง MIKE Flood River ที่ประกอบด้วย MIKE 11 MIKE 21 และ MIKE Flood ท�างานเพือ่ จ�าลองสภาพการไหลของน�า้ ในแม่นา�้ สภาพการไหลหลาก ท่วมของพื้นที่ โดยอาศัยข้อมูล DEM และรูปตัดล�าน�้า (Cross section) และแสดงผล การค�านวณสภาพการไหลในรูปแบบ Profile และ Cross Section รวมทัง้ การค�านวณ หาพื้นที่น�้าท่วมคาดการณ์ในลุ่มน�้าต่างๆ • น�าผลการพยากรณ์จากแบบจ�าลองฯ ทัง้ หมดมาจัดเก็บเพือ่ เป็นข้อมูลส�าหรับโปรแกรม แสดงผลการพยากรณ์ และโปรแกรมช่วยตัดสินใจ เพือ่ ให้ผบู้ ริหารตลอดจนผูป้ ฏิบตั งิ าน สามารถเรียกใช้ได้ภายใน 2 ชั่วโมง • ส่งผลการพยากรณ์ให้กบั เว็บไซต์ของโครงการฯ เพือ่ เป็นเครือ่ งมือส�าหรับการพยากรณ์ การบริหารจัดการ การเตือนภัย และการเผยแพร่ต่อสาธารณชน • ระบบท�าการส�ารองข้อมูลทัง้ หมดจากผลการท�างานในแต่ละวัน โดยจัดเก็บใน Server ย้อนหลังเวลา 30 วัน เพื่อให้สามารถถ่ายโอนข้อมูลไปยังฐานข้อมูลอื่นๆ ในกรม ชลประทานได้ตอ่ ไป ทัง้ นีร้ ะบบพยากรณ์ทงั้ หมดจะต้องถูกสัง่ การให้สามารถด�าเนินการ ได้เสร็จสิ้นก่อนที่จะเริ่มการท�างานของระบบอีกครั้งในเวลา 6.00 น. ของวันถัดไป ระบบสนับสนุนการตัดสินใจถูกพัฒนาขึ้นส�าหรับการจัดการบริหารน�้าท่วมส�าหรับลุ่มน�้า เจ้าพระยา รูปที่ 6 แสดงผลการรายงานข้อมูลน�า้ ฝน น�า้ ท่าและระดับน�า้ แบบ Real-time ของสถานี ตรวจวัดต่างๆ รูปที่ 7 แสดงผลจ�าลองสภาพการไหลในแม่น�้า ณ สถานีต่างๆ รวมทั้งการแสดงผลจ�าลอง กรณีเกิดน�้าท่วมในช่วงเวลาคาดการณ์ล่วงหน้า 7 วัน รูปที่ 8 แสดงผลคาดการณ์ปริมาณฝนและ น�้าท่าล่วงหน้า 7 วัน โดยใช้แบบจ�าลองโครงข่ายประสาทเทียม รูปที่ 9 แสดงระบบการตัดสินใจ บริหารจัดการน�้าซึ่งการท�าหน้าที่คล้ายกับเครื่องค�านวณ โดยผู้ใช้สามารถก�าหนดปริมาณน�้าที่จะ 210


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

รูปที่ 6 การแสดงผลการรายงานข้อมูลระดับน�้า ปริมาณน�้า และปริมาณฝน

ระบายจากเขื่อนภูมิพล เขื่อนกิ่วลม หรือเขื่อนสิริกิติ์ได้ จากนั้นระบบจะท�าการค�านวณปริมาณน�้า ที่สถานีต่างๆ ด้านท้ายเขื่อน เพื่อพิจารณาว่าเกินความจุท้ายน�้าหรือสามารถระบายน�้าได้เพิ่มมาก ขึ้นหรือไม่ นอกจากนี้แล้ว ผู้ใช้สามารถก�าหนดปริมาณน�้าที่สถานี P.17 และ N.67 ซึ่งเป็นสถานีอยู่ ปลายแม่น�้าปิงและวัง เพื่อค�านวณหาปริมาณน�้าที่สถานี C.2 ส�าหรับวางแผนประเมินสถานการณ์ ล่วงหน้าต่อการตัดสินใจระบายน�า้ ของเขือ่ นเจ้าพระยา และสามารถดูปริมาณน�า้ ท่าต่างๆ ทีอ่ ยูด่ า้ น ท้ายเขื่อนด้วย ส่วนรูปที่ 10 แสดงระบบเตือนภัย ซึ่งก�าหนดสัญลักษณ์สีแดงกรณีระดับน�้าเกิดไหล ล้นตลิ่ง สีเหลืองส�าหรับการเฝ้าระวัง และสีเขียวกรณีระดับน�้าอยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่วนการเผชิญภัย จะใช้กรณีเป็นสถานการณ์สมมุติ เช่น การจ�าลองกรณีผันน�้าเข้าพื้นที่รับน�้า หรือการผันน�้าเข้าไปยัง พื้นที่ต่างๆ เป็นต้น

รูปที่ 7 การแสดงผลการจ�าลองสภาพการไหล ณ สถานีตา่ งๆ และกรณีเกิดสภาพน�า้ ท่วมในช่วงเวลาล่วงหน้าต่อเนือ่ ง 7 วัน

211


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 8 การแสดงผลการพยากรณ์ปริมาณน�า้ ท่าในสถานีตา่ งๆ และผลพยากรณ์ฝนจาก HAMweather ในช่วงเวลา ล่วงหน้าต่อเนื่อง 7 วัน

รูปที่ 9 ระบบการตัดสินใจบริหารจัดการน�้าของลุ่มน�้าเจ้าพระยา

212


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

รูปที่ 10 ระบบเตือนภัย และเผชิญภัย

3. แนวทางการศึกษารูปแบบการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าที่เหมาะสม การศึกษาแนวทางบริหารจัดการน�้าของอ่างเก็บน�้าหลัก มีบทบาทส�าคัญต่อการบริหาร จัดการน�้าของพื้นที่วิกฤติอุทกภัย พ.ศ. 2554 การศึกษาส่วนนี้ เป็นการพิจารณาน�าผลการด�าเนิน งานของกรมชลประทาน ในการวิเคราะห์ปรับปรุงเกณฑ์การปล่อยน�า้ อ่างเก็บน�า้ เขือ่ นภูมพิ ล อ่างเก็บ น�้าเขื่อนกิ่วลม อ่างเก็บน�้าเขื่อนสิริกิติ์ อ่างเก็บน�้าเขื่อนแควน้อยบ�ารุงแดน และอ่างเก็บน�้าเขื่อนป่า 213


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

สักชลสิทธิ์ มาจ�าลองหาปริมาณการปล่อยน�้าให้มีความเหมาะสมสามารถรองรับปริมาณน�้าปี พ.ศ. 2554 ได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมปริมาณการไหลของน�้าในล�าน�้าหลักไม่ให้เกินความจุของ ล�าน�้าที่สามารถรับได้ ทั้งนี้พิจารณาปริมาณน�้าของสถานี C.2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ไม่ให้เกินความ จุ 3,500 ลบ.ม./วินาที การจ�าลองได้กา� หนดใช้ขอ้ มูลปี พ.ศ. 2554 ของปริมาณน�า้ ทีไ่ หลเข้าอ่างเก็บ น�้าทั้ง 5 เขื่อน พิจารณาร่วมกับแผนการใช้น�้าของอ่างเก็บน�้า และเกณฑ์การควบคุมการระบายน�้า จากเขือ่ น แสดงดังรูปที่ 11 การศึกษาปริมาณน�า้ ในแม่นา�้ จากผลจ�าลองการปล่อยน�า้ จากเขือ่ นเก็บ กักน�้าทั้งหมด พบว่า ปริมาณน�้าที่นครสวรรค์ ที่สถานีวัดปริมาณน�้าท่า C.2 ลดลงจาก 4,680 เป็น 4300 ลบ.ม./วินาที ในขณะที่สถานี C.29 ปริมาณน�้าลดลงจาก 3,800 เป็น 3,400 ลบ.ม./วินาที แสดงดังรูปที่ 12

รูปที่ 12 ผลจ�าลองปริมาณน�้าจากผลจ�าลองการระบายน�้าตามเกณฑ์การปรับปรุงใหม่ของกรมชลประทานเทียบกับ ปริมาณน�้าตรวจวัดจริงของ (ก) สถานี C.2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ และ (ข) สถานี C.29 อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา

214


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

รูปที่ 11 เกณฑ์การบริหารจัดการอ่างเก็บน�้า (ก) เขื่อนภูมิพล (ข) เขื่อนกิ่วลม (ค) เขื่อนสิริกิติ์ (ง) เขื่อนแควน้อย บ�ารุงแดน และ (จ) เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (กรมชลประทาน, 2555)

215


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

4. แนวทางการศึกษารูปแบบพื้นที่รับน�้านองที่เหมาะสม จากการด�าเนินงานของภาครัฐบาล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมชลประทานใน การศึกษาวิเคราะห์หาพืน้ ทีศ่ กั ยภาพส�าหรับก�าหนดเป็นพืน้ ทีร่ บั น�า้ นองในลุม่ น�า้ เจ้าพระยาตอนบน และตอนล่าง แสดงดังรูปที่ 13 เมื่อน�ามาพิจารณาร่วมกับแบบจ�าลอง MIKE Flood River ส�าหรับ การจ�าลอง พื้นที่น�้าท่วมแล้ว พบว่า พื้นที่ซึ่งสามารถกักเก็บน�้าท่วมได้ทั้งหมด 2,147,450 ไร่ คิดเป็นปริมาตรทั้งหมด 5,112 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนบน ได้แก่ พื้นที่ฝั่งซ้าย ของแม่น�้าน่าน (U1) พื้นที่ระหว่างแม่น�้าน่านและแม่น�้ายม (U2) พื้นที่ฝั่งขวาของแม่น�้ายม (U3) และพื้นที่ลุ่มต�่าตอนล่างแม่น�้ายมและแม่น�้าน่าน (U4) รวมพื้นที่ทั้งหมด 1,193,476 ไร่ สามารถกัก เก็บปริมาณน�้าท่วมได้3,210 ล้านลูกบาศก์เมตร และลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง ได้แก่ พื้นที่ระหว่าง

ลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนบน

ลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง

รูปที่ 13 พื้นที่รับน�้านองของลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนบนและตอนล่าง (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2555)

คลองชัยนาท-ป่าสักและแม่นา�้ เจ้าพระยา (L1 และ L2) และพืน้ ทีร่ ะหว่างแม่นา�้ เจ้าพระยาและแม่นา�้ น้อย (L4) รวมพื้นที่ทั้งหมด 953,974 ไร่ สามารถกักเก็บปริมาณน�้าท่วมได้ 1,902 ล้านลูกบาศก์ เมตร รายละเอียดของแต่ละพื้นที่สามารถสรุปในตารางที่ 2 216


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

ผลการวิเคราะห์การปรับปรุงการบริหารจัดการอ่างเก็บน�้าร่วมกับการก�าหนดพื้นที่ รับน�้านอง พบว่าสถานี Y.16 แม่น�้ายม อ.บางระก�า จ.พิษณุโลก มีปริมาณน�้าลดลงจากเดิม 1,250 เป็น 1,000 ลบ.ม./วินาที สถานี Y.17 อ.สามง่าม จ.พิจิตร มีปริมาณน�้าลดลงจากเดิม 1,440 เป็น 1,070 ลบ.ม./วินาที สถานี Y.5 อ.โพทะเล จ.พิจิตร มีปริมาณน�้าลดลงจากเดิม 1,580 เป็น 1,200 ลบ.ม./วินาที ในขณะที่ปริมาณน�้าท่าที่แม่น�้าเจ้าพระยา ที่สถานี C.2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ สถานี C.7A อ.เมือง จ.อ่างทอง และสถานี C.29 อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน�้าลดลงจาก เดิม 4,680 เป็น 4,000 3,700 เป็น 3,160 และ 3,800 เป็น 3,250 ลบ.ม./วินาที ตามล�าดับ แสดง ดังรูปที่ 14 ตารางที่ 2 ปริมาตรเก็บกักและความลึกเฉลี่ยของพื้นที่รับน�้านองในลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนบน และตอนล่าง

หมายเหตุ *ตลิ่ง 0.8 เมตร ส�าหรับการเพิ่มปริมาตรกักเก็บ 542 ล้านลูกบาศก์เมตร **ตลิ่ง 1.0 เมตร ส�าหรับการเพิ่มปริมาตรเก็บกัก 472 ล้านลูกบาศก์เมตร

5. แนวทางปฏิบัติส�าหรับการพิจารณาผันน�้าเข้าพื้นที่รับน�้านอง กุญแจส�าคัญในการบริหารจัดการน�้าท่วมในปี 2554 คือ แผนปฏิบัติการที่สามารถ จ�าลอง สถานการณ์จริง โดยแบบจ�าลองนี้ มุ่งเน้นการจ�าลองปริมาณน�้าที่ถูกผันเข้าไปในพื้นที่กักเก็บน�้า ทิศทางการไหลของน�า้ พืน้ ทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ เพือ่ ให้ประชาชนทราบถึงช่วงเวลาสถานการณ์นา�้ ท่วม และระยะเวลาที่จะประสบเหตุการณ์น�้าท่วม รูปที่ 15 แสดงผังการจ�าลองผลการศึกษากรณี ปรับปรุงเกณฑ์การปล่อยน�้าร่วมกับกรณีพื้นที่รับน�้านอง โดยจะเห็นได้ชัดว่า กรณีปริมาณน�้าที่ สถานี C.2 มีคา่ เท่ากับ 4,000 ลบ.ม./วินาที เมือ่ ผันน�า้ ระบายลงพืน้ ทีร่ บั น�า้ นองฝัง่ ตะวันออกและฝัง่ 217


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 14 ผลจ�าลองปริมาณน�า้ กรณีพจิ ารณาปรับปรุงเกณฑ์การปล่อยน�า้ จากอ่างเก็บน�า้ ร่วมกับการพิจารณาพืน้ ทีร่ บั น�้านอง เปรียบเทียบกับปริมาณน�้าตรวจวัดจริงที่สถานี (ก) Y.16 (ข) Y.17 (ค) Y.5 (ง) C.2 (จ) C.13 และ (ฉ) C.29

ตะวันตก เท่ากับ 865 และ 669 ล้าน ลบ.ม. แล้วจะส่งผลท�าให้ปริมาณน�้าไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา ไม่เกินความจุที่สามารถรับน�้า เช่นเดียวกันกับทุกสถานี ส�าหรับการพิจารณาผันน�้าเก็บเข้าพื้นที่รับ น�า้ นอง เริม่ จากเดือนกันยายนถึงตุลาคม และจะเริม่ ระบายออกจากพืน้ ทีไ่ ด้ในช่วงเดือนพฤศจิกายน รูปที่ 16 แสดงความสัมพันธ์ของระดับน�้าในแม่น�้ายม แม่น�้าน่าน และแม่น�้าเจ้าพระยา ต่อช่วงเวลา ที่พิจารณาการผันน�้าเข้าเก็บในพื้นที่รับน�้านอง โดยจะเห็นว่า เมื่อปริมาณน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยามี ปริมาณเกินกว่า 2,800 ลบ.ม./วินาที ปริมาณน�้าในแม่น�้ายมและแม่น�้าน่านจะเริ่มไหลล้นตลิ่งและ ไหลเข้าสู่พื้นที่รับน�้านองที่อยู่สองฝั่งของแม่น�้า ดังนั้นแนวทางปฏิบัติการเฝ้าระวังเตือนภัยที่เหมาะ สม ควรเริ่มก�าหนดเมื่อปริมาณน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยามีค่ามากกว่า 2,600 ลบ.ม./วินาที เป็นต้นไป

218


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

รูปที่ 15 ผังสภาพการไหลจากผลจ�าลอง กรณีพจิ ารณาปรับปรุงเกณฑ์การระบายน�า้ ของเขือ่ นร่วมกับการการก�าหนด พื้นที่รับน�้านอง

รูปที่ 16 ผลจ�าลองระดับน�้าสูงสุดของ (ก) แม่น�้ายม (ข) แม่น�้าน่าน และ (ค) แม่น�้าเจ้าพระยา

219


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

6. เทคโนโลยีส�าหรับการบริหารจัดการน�้า ปัจจุบนั เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทกับวิถชี วี ติ ของเราเพิม่ มากขึน้ ทุกวัน การน�าเทคโนโลยี มาใช้ให้เกิดประโยชน์และมีความคุ้มค่านั้น จะต้องลดการใช้ก�าลังคนและเวลา รวมทั้งการเพิ่ม ประสิทธิภาพการประมวลผลเพื่อให้เกิดความแม่นย�าและถูกต้อง การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่เป็น รากฐานอันดีต่อการผสมผสานกับแนวคิดวิธีการใหม่ เพื่อการบริหารจัดการน�้าได้อย่างเหมาะสม รูปที่ 17 ตัวอย่างข้อมูลสภาพภูมิประเทศความละเอียด 2m เป็นผลการส�ารวจสภาพภูมิประเทศ ด้วยเทคโนโลยี LIDAR (Light Detection and Range) ซึ่งเป็นการวัดระยะโดยอาศัยการเดินทาง ของล�าแสงเลเซอร์ท�าให้เกิดความแม่นย�าสูงมีความละเอียดได้ถึง 0.30 เมตร

รูปที่ 17 ตัวอย่างข้อมูลความสูงของภูมิประเทศที่มีความละเอียด 2 เมตร และตัวอย่างการน�าข้อมูลเข้าแบบจ�าลอง MIKE Flood River เพื่อศึกษาสภาพน�้าท่วมของลุ่มน�้าเจ้าพระยา

รูปที่ 18 แสดงผลการจ�าลองน�้าท่วมบน Google Earth ซึ่งเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ สามารถท�าให้เกิดความเข้าใจพื้นที่ได้อย่างชัดเจน ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทันต่อสถานการณ์ ปัจจุบนั (Real-time) ท�าให้การปฏิบตั งิ านเป็นรูปธรรมและผูบ้ ริหารสามารถตัดสินใจบริหารจัดการ น�้าได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูง

7. บทสรุป การบริหารจัดการน�า้ ท่วมทีเ่ หมาะสม จ�าเป็นต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบตั ทิ ี่ เป็นรูปธรรม เข้าถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อย่างแท้จริงบนพืน้ ฐานความต้องการของประชาชนผูป้ ระสบภัย และมีความเป็นไปได้ในการด�าเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ หากพิจารณาตามหลักการบริหารจัดการ 220


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

รูปที่ 18 ผลจ�าลองสภาพน�้าท่วมที่สามารถแสดงผลบน Google Earth

น�า้ แบบ 5i คือ Information, Infrastructures, Intelligent Decision-Making, Implementation และImprovement (ภาณุวัฒน์, 2555) สามารถสรุปเป็นประเด็นในส่วนของระบบฐานข้อมูล (Information System) และการบริหารจัดการข้อมูล (Real-time Data Management) ในปัจจุบัน ยังไม่เป็นรูปแบบเดียวกันทัง้ เรือ่ งเวลาการตรวจวัด รูปแบบการจัดเก็บ การคัดกรองและต่อข้อมูลที่ ขาดหาย การรับ-ส่งข้อมูล ตลอดจนการรายงานข้อมูล และจัดท�าช่องทางที่ชัดเจนส�าหรับการเผย แพร่ การประชาสัมพันธ์ การรายงานสถานการณ์ปัจจุบัน การรายงานผลการวิเคราะห์ การรับฟัง ค�าวิจารณ์และแสดงความคิดเห็น ส่วนด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน (Infrastructures) นอกจากจะพัฒนาปรับปรุงเพิม่ ประสิทธิภาพ ของระบบการระบายน�้า การกระจายน�้า การชะลอน�้าและเก็บกักน�้า การปรับปรุงเสริมสร้างของ เดิม รื้อถอนสิ่งกีดขวางและอุปสรรค และพัฒนาของใหม่ที่จ�าเป็น เน้นการสร้างอ่างเก็บน�้าขนาด กลางและขนาดเล็กในพื้นที่ต้นน�้า เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�้าในพื้นที่ราบสูง และช่วยชะลอ น�้าในช่วงน�้าหลาก นอกจากนี้แล้ว ควรจะมีการพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรภาคสนาม 221


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ให้มคี วามเชีย่ วชาญในระดับทีส่ ามารถซ่อมอุปกรณ์เบือ้ งต้น และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์นา�้ ได้ ส่วนการตัดสินใจแบบอัจฉริยะ (Intelligent Decision-Making) จะต้องอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องและ การพยากรณ์มคี วามแม่นย�า เพือ่ ให้การตัดสินใจมีประสิทธิภาพ กรณีการวางแผนป้องกันแก้ไขปัญหา ควรใช้ขอ้ มูลละเอียดมาก ความแม่นย�าสูง แม้จะประมวลผลช้าก็ไม่เป็นไร แต่หากจ�าเป็นต้องตัดสินใจ บนสถานการณ์ในเวลาปัจจุบัน ความถูกต้องของข้อมูลอาจมีไม่มาก แต่ควรมีความชัดเจนและน่า เชื่อถือ แบบจ�าลองการตัดสินใจจะต้องท�างานได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ กรณีมีการเพิ่มเติมรายละเอียด เชิงพื้นที่เข้าไปในแบบจ�าลองจะท�าให้สามารถใช้เป็นแนวทางเผชิญภัยที่เป็นรูปธรรม ปัจจุบันยัง ขาดการพัฒนาเครื่องมือคิดค�านวณที่เป็นรูปแบบเดียวกัน รวมทั้งข้อมูลพื้นฐานภาคสนามจากเจ้า หน้าที่ปฏิบัติและที่รู้จริง ส�าหรับการด�าเนินงาน (Implement) นั้น เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติการ ด้านภัยน�้าจะต้องเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตน รวมทั้งการส่งต่อและประสานงานในส่วนอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุตามผลการตัดสินใจที่ได้วางแผนไว้ นอกจากนี้ควรเสริมสร้างความเข้าใจใน ทางปฏิบัติต่อประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งในพื้นที่วิกฤติและพื้นที่ใกล้เคียง อันก่อให้เกิดความ ร่วมมือประสานสัมพันธ์ในทุกฝ่ายทีน่ า� ไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนและมีประสิทธิภาพ ทัง้ นีค้ วรจะต้องมี เครือ่ งมือส�าหรับการประเมินผลการด�าเนินงานตามเป้าหมายทีก่ า� หนดไว้ เพือ่ ปรับปรุงแก้ไขผลการ ด�าเนินงาน (Improvement) ส�าหรับลดปัญหาอุปสรรคต่อทางปฏิบตั กิ ารของเจ้าหน้าทีใ่ ห้เป็นตาม แผนทีก่ า� หนดไว้ และการปรับปรุงแก้ไขผลการตัดสินใจให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมความเป็นจริง ที่เกิดขึ้น อันน�าไปสู่การบริหารจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาน�้าท่วมได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน

กิติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน นายสุเทพ น้อยไพโรจน์ รองอธิบดีฝ่ายบ�ารุงรักษา นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ อดีตรองอธิบดีกรมชลประทาน ฝ่ายวิชาการ และ ดร.ทองเปลว กองจันทร์ ผูอ้ า� นวยการส�านักบริหารน�า้ และอุทกวิทยา ทีใ่ ห้การสนับสนุนข้อมูล ส�าหรับการศึกษา ตลอดจนข้อเสนอแนะและให้คา� ปรึกษา จนผลการศึกษาวิเคราะห์พนื้ ทีร่ บั น�า้ นอง และการปรับปรุงเกณฑ์การปล่อยน�้าของอ่างเก็บน�้าส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี

เอกสารอ้างอิง 1. 2.

กรมชลประทาน (2556) “รายงานสถานการณ์น�้า” http://www.hydro-5.com/HD-04/402%20D-CHART.htm กรมชลประทาน (2555) “รายงานการปรับปรุงเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน�้า” แผนปฏิบัติการ เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยระยะเร่งด่วน : การบริหารจัดการเขื่อนเก็บน�้าหลักและการจัดท�า แผนบริหารจัดการน�้าของประเทศประจ�าปี วันที่ 9 มีนาคม 2555 222


การพัฒนาแบบจ�าลองการตัดสินใจส�าหรับบริหารจัดการน�้าท่วมของประเทศไทย

3. 4.

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน (2555) “รายงานผลการก�าหนดพืน้ ทีร่ บั น�า้ นอง และมาตรการช่วยเหลือผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากการใช้พนื้ ทีร่ บั น�า้ ” เอกสารประกอบการประชุม คณะท�างานเพือ่ ติดตามความก้าวหน้าของการก�าหนดพืน้ ทีร่ บั น�า้ นองและมาตรการช่วยเหลือ ผู้ได้รับผลกระทบจากการใช้พื้นที่รับน�้า ครั้งที่ 6 วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2555 ณ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง (2555) “การวิเคราะห์มหาอุทกภัย 2554 ในเชิงวิชาการ” วารสารวิชาการ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555

223


224


เรื่องเล็กๆ กับมาตรการป้องกันน�้าท่วม ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์1 นายเกียรติศักดิ์ ดิษฐ ณ เมือง2

1. ค�าน�า บทความนี ้ ได้รบั แรงบันดาลใจจากความต้องการให้สงั คมเข้าใจประสิทธิผลของเครือ่ งผลัก ดันน�้า ซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ประเทศไทย ใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน�้าของคลองและทาง น�า้ ต่างๆ โดยสังคมไทยได้รจู้ กั เครือ่ งผลักดันน�า้ นีอ้ ย่างแพร่หลายจากเหตุการณ์มหาอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554 และหลังจากนั้นมา มาตรการเครื่องผลักดันน�้าน่าจะเป็นมาตรการยอดฮิตของสังคมเมื่อเกิด เหตุการณ์น�้าท่วม ในเหตุการณ์มหาอุทกภัย ปี พ.ศ.2554 ผู้เขียนได้ไปดูจุดที่ตั้งเครื่องผลักดันน�้า 2-3 แห่ง แต่จากสภาพที่เห็นไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เรียนมา จึงได้พูดคุยกับอาจารย์มหาวิทยาลัย เพื่อขอให้จัด หัวข้อการทดลองด้านชลศาสตร์เกีย่ วกับเครือ่ งผลักดันน�า้ แต่อาจารย์คงมีเรือ่ งอืน่ ๆ ทีส่ า� คัญกว่า จึง ยังไม่ได้คา� ตอบในเรือ่ งนี ้ ความคิดทีจ่ ะแสดงให้เห็นเป็นรูปธรรมของประสิทธิภาพของเครือ่ งผลักดัน น�้ายังคงมีอยู่ตลอดเวลา ในที่สุด จึงคิดว่าน่าจะใช้แบบจ�าลองคณิตศาสตร์ แต่ก็ยังติดอยู่ว่า จะเพิ่ม ความเร็วน�้าเฉพาะจุด (เปรียบเสมือนกับมีเครื่องผลักดันน�้า) เข้าไปในแบบจ�าลองได้อย่างไร ในเหตุการณ์น�้าท่วมภาคตะวันออก ปี พ.ศ.2556 ผู้เขียนได้ไปดูสภาพน�้าท่วมที่นิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี มีการใช้เรือหางยาวเป็นเครื่องผลักดันน�้าในทางน�้าเล็กๆ ขนานกับมอเตอร์เวย์ โดยผู้ด�าเนินการได้บอกกับผู้เขียนว่า สิ่งที่ท�านั้น ท�าให้การระบายน�้าในนิคม อุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพมากขึน้ ผูเ้ ขียนคิดในใจว่า แทนทีจ่ ะท�าอย่างนัน้ ซึง่ เสียทัง้ ค่าแรง ค่าน�า้ มัน ค่าน�า้ มันเครือ่ ง และค่าซ่อมเครือ่ งยนต์ น่าจะปรับปรุงทางน�า้ เล็กๆ นัน้ โดยการดาดคอนกรีตเพือ่ ลดความเสียดทานให้น�้าไหลเร็วขึ้นไม่ดีกว่าหรือ หลังจากนั้น ความคิดจึงบันเจิดเรื่องการปรับปรุง ความเสียดทาน หรือปรับปรุง Manning n ในสมการ Manning (Manning Formula) และยัง ขยายผลถึง การแก้ไขปัญหาการเพิ่มความเร็วเฉพาะจุดในแบบจ�าลองคณิตศาสตร์อีกด้วย 1 2

กรรมการผู้จัดการ บริษัท วายพี คอนซัลแตนท์ จ�ากัด วิศวกรแหล่งน�้า บริษัท วายพี คอนซัลแตนท์ จ�ากัด

225


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

2. เพิ่มประสิทธิภาพของคลองระบายน�้า สังเกตไหมว่า ในระยะหลังนี้ ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานครเกิดน�้าท่วมง่าย และท่วมขังค่อนข้างนาน (ตุลาคม ปี พ.ศ.2556) จริงอยู่ว่าฝนตกหนัก แต่ก็ไม่ได้ตกหนักอย่างต่อ เนื่อง จึงไม่น่าจะท่วมนานอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ที่เป็นอย่างนี้ น่าจะเกิดจากระบบระบายน�้า จริงๆ แล้ว ระบบระบายน�้าที่ดีก็เป็นมาตรการหนึ่งที่มีประสิทธิผลในการบรรเทาปัญหา น�้าท่วม ในแผนงานของรัฐบาลก็มีการปรับปรุงล�าน�้าให้สามารถระบายน�้าได้มากขึ้น แต่มักจะเน้น ในด้านการขุดลอก และขยายล�าน�้า ซึ่งแน่นอนอาจมีบ้างที่จะก่อให้เกิดผลกระทบกับประชาชนที่ อาศัยอยู่ตามริมล�าน�้า ทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบระบายน�้าที่มีประสิทธิผลและมักถูกมอง ข้าม คือ การปรับปรุงให้ระบบระบายน�า้ หรือทางน�า้ นัน้ มีความเสียดทานน้อยลง (ตารางที่ 1) ท�าให้ น�้าไหลเร็วขึ้นและระดับน�้าลดต�่าลง โดยทั่วไป แม่น�้าหรือทางน�้าธรรมชาติมีดัชนีความเสียดทาน 0.035 แต่ถ้าดาดทางน�้านั้นด้วยคอนกรีต ดัชนีความเสียดทานจะลดลงเหลือประมาณ 0.015 สมมุติว่ามีทางระบายน�้า 2 สาย มีรูปร่างหน้าตัดเหมือนกัน ความลาดชันเดียวกัน มีน�้า ลึกเท่ากัน ทางระบายน�้าที่เป็นคอนกรีตจะสามารถระบายน�้าได้เป็น 2.33 เท่าของทางระบายน�้า ธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น ทางระบายน�า้ ธรรมชาติระบายน�า้ ได้ 200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ทางระบาย น�า้ คอนกรีตจะสามารถระบายได้ 466 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ด้วยแนวทางการปรับปรุงความเสียด ทานของทางระบายน�้า อาจท�าให้ไม่มีความจ�าเป็นในการพัฒนาคลองผันน�้าเพิ่มเติม หรือถ้าจ�าเป็น ก็อาจไม่ต้องใหญ่โตมโหฬาร วัสดุที่ใช้ดาดคลองไม่จ�าเป็นต้องเป็นคอนกรีต อะไรก็ได้ที่มีดัชนีความ เสียดทานต�่า ในกรณีที่มีทางน�้าธรรมชาติไหลผ่านชุมชนที่มีปัญหาน�้าท่วม และหากมีการลดความเสียด ทานของทางน�า้ ในช่วงทีไ่ หลผ่านชุมชน น�า้ ในช่วงนัน้ จะไหลเร็วและระดับน�า้ จะลดต�า่ ลง ซึง่ จะท�าให้ น�า้ ไม่ลน้ ตลิง่ เข้าท่วมชุมชน หรือถ้าล้นตลิง่ พนังกัน้ น�า้ ก็ไม่จา� เป็นต้องสูงมากนัก ช่วงล�าน�า้ ทีป่ รับปรุง 226


เรื่องเล็ก กับมาตรการป้องกันน้ําท่วม

เรื่องเล็กๆ กับมาตรการป้องกันน�้าท่วม

ตารางที่ค่าดั นีความเสียดทาน

 

ตารางที่ 1 ค่าดัชนีความเสียดทาน (Manning n)  

              



  

 

                                                                                                                                                                                                     

       

     

       

 

227





 


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย 

ตารางที ยดทาน  ต่n) อ(ต่อ) ตารางที่ค่ ่ 1 าค่ดัาดันีชคนีวามเสี ความเสี ยดทาน (Manning   

      

            

 

         

                                    

   

 

 

           

     

    

       

                                               

  

 

     

 

228 

 


เรื่องเล็ ก กับมาตรการป้ เรื่องเล็กๆ กั บมาตรการป้ องกัอนงกัน�น้าน้ท่ําท่ววมม

ตารางที ยดทาน  ต่n)อ(ต่อ) ตารางที่ค่ ่ 1 ค่าดัาดันีชคนีวามเสี ความเสี ยดทาน (Manning   

               

     

 

     

 

      

 

  



  

     

    

 

 

  

 

 

229


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

วารสารสมาคมนั กอุทกวิทยาไทย 

ตารางที่ค่าดั นีความเสียดทาน

 ต่อ

ตารางที่ 1 ค่าดัชนีความเสียดทาน (Manning n) (ต่อ)  

 

  

 

 

                                              

 

  

  



 

 

 

230 


เรื่องเล็กๆ กับมาตรการป้องกันน�้าท่วม

ลดความเสียดทานนัน้ ต้องมีความยาวทีเ่ หมาะสมเพือ่ ลดผลกระทบทางด้านท้ายน�า้ เพราะระดับน�า้ ในช่วงที่ไม่ได้ลดความเสียดทาน จะมีระดับสูงและดัน (เท้อ) เข้ามาในเขตที่มีการปรับปรุงลดความ เสียดทาน

3. เครื่องผลักดันน�้า เครื่องผลักดันน�้าเป็นเครื่องมือประเภทหนึ่งที่ประเทศไทยใช้ในการบรรเทาปัญหาน�้า ท่วม โดยหลักการ คือ ใช้ใบพัดไปเพิ่มความเร็วน�้า ถ้าเครื่องผลักดันน�้ามีพลังงานมากเพียงพอ น�้า บริเวณที่ตั้งเครื่องผลักดันน�้าจะไหลเร็วขึ้น และระดับน�้าจะลดต�่าลง อิทธิพลของเครื่องผลักดันน�้า จะครอบคลุมทั้งทางด้านเหนือน�้าและท้ายน�้า ทางด้านเหนือน�า้ จากจุดทีต่ งั้ เครือ่ งผลักดันน�า้ น�า้ จะไหลเร็วขึน้ และระดับน�า้ จะลดต�า่ ลงด้วย แต่ระดับน�า้ จะค่อยๆ สูงขึน้ และความเร็วน�า้ จะค่อยๆ ลดต�า่ ลงไปทางเหนือน�า้ จนกระทัง่ สูภ่ าวะปกติ คือ ระดับน�า้ เท่ากับระดับน�า้ เดิมเมือ่ ไม่มเี ครือ่ งผลักดันน�า้ ส�าหรับทางด้านท้ายน�า้ อิทธิพลของเครือ่ ง ผลักดันน�้าก็เช่นเดียวกับทางด้านเหนือน�้า ในที่สุด ระดับน�้าจะค่อยๆ เพิ่มสูงขึ้นจนเท่ากับระดับน�้า ปกติ (รูปที่ 1) หากเคยไปสังเกตบริเวณที่ตั้งเครื่องผลักดันน�้าในคลองต่างๆ จะเห็นว่ามีเพียงน�้ากระเพื่อม ตรงบริเวณทีต่ งั้ เครือ่ งผลักดันน�า้ เท่านัน้ ไม่มรี อยคราบน�า้ ลดลง เหมือนกับทีแ่ สดงไว้ในรูปที่ 1 ท�าให้ สงสัยว่า พลังงานของเครือ่ งผลักดันน�า้ นัน้ คงน้อยมากเมือ่ เปรียบเทียบกับปริมาณน�า้ และขนาดของ คลอง แต่อย่างไรก็ตาม ในทางน�า้ ขนาดเล็ก เครือ่ งผลักดันน�า้ ก็อาจมีประสิทธิผลหากมีพลังงานมาก เพียงพอ ด้วยหลักการเดียวกัน ใคร่จะเสนออีกทางเลือกหนึง่ คือ การปรับปรุงลดความเสียดทานของ ทางน�า้ เฉพาะจุด ซึง่ จะเป็นการเพิม่ ความเร็วของน�า้ เช่นเดียวกับเครือ่ งผลักดันน�า้ และให้ประสิทธิผล เช่นเดียวกับรูปที่แสดงไว้ในรูปที่ 1 โดยทางเลือกนี้ หากมีการด�าเนินการแล้ว จะเป็นการลงทุนครั้ง

รูปที่ 1 อิทธิพลของเครื่องผลันดันน�้า

231


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

เดียว ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการปฏิบตั งิ านเหมือนกับเครือ่ งผลักดันน�า้ ไม่มคี า่ แรงงาน ค่าน�า้ มัน ค่าน�า้ มัน เครื่อง และค่าซ่อมเครื่องยนต์ หากไม่สามารถปรับปรุงล�าน�้าให้มีความเสียดทานน้อยลงตลอดทั้งสายดังที่ได้กล่าวไว้ใน หัวข้อเพิ่มประสิทธิภาพของคลองระบายน�้า ก็ควรปรับปรุงเป็นจุดๆ บริเวณที่มีปัญหา เช่น บริเวณ ทีเ่ ป็นคอขวด ตอม่อสะพาน หรือบริเวณชุมชน เป็นต้น โดยระดับน�า้ ทีล่ ดลงนัน้ จะขึน้ อยูก่ บั จ�านวน จุดและช่วงความยาวล�าน�้าที่ท�าการปรับปรุงความเสียดทานดังที่ได้แสดงไว้ในรูปที่ 2 การปรับปรุง ล�าน�้าดังกล่าว นอกจากจะบรรเทาปัญหาน�้าล้นตลิ่งท่วมชุมชนแล้ว ความเร็วเฉลี่ยของน�้าในล�าน�้า ยังสูงขึน้ อีกด้วย ซึง่ หมายความว่าน�า้ จะออกจากระบบเร็วขึน้ หรือระบายน�า้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นเอง

รูปที่ 2 อิทธิพลของการปรับปรุงคลองเป็นแห่งๆ

4. น�้าชนน�้า ปัญหาน�้าท่วมในลุ่มน�้าเจ้าพระยาที่มักกล่าวถึงกันในแวดวงหน่วยงานที่รับผิดชอบและ ตลอดจนนักวิชาการว่า มักเกิดจากน�้าเหนือ น�้าฝน และน�้าทะเล อาทิ น�้าเหนือมามาก ฝนในพื้นที่ มีปริมาณมาก และน�้าทะเลหนุนสูง ถ้าทั้ง 3 น�้ามาพร้อมกันแล้ว ปัญหาน�้าท่วมในลุ่มน�้าเจ้าพระยา ก็จะไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ปัญหาน�้าเหนือและปัญหาฝนตกในพื้นที่ ได้มีความพยายามแก้ไขด้วย มาตรการต่างๆ เช่น การปรับปรุงการบริหารจัดการน�้าของอ่างเก็บน�้าต่างๆ การเสนอก่อสร้างอ่าง เก็บน�้าเพิ่มเติม การพัฒนาและบริหารจัดการน�้าในพื้นที่แก้มลิง การก่อสร้างพนังกั้นน�้า และการ ปรับปรุง-ขยายล�าน�า้ เป็นต้น แต่ปญ ั หาน�า้ ทะเลหนุน ยังไม่มหี น่วยงานใดๆ เสนอให้กบั สังคมได้รบั รู้ อย่างเป็นรูปธรรม ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะทะเลเป็นทรัพยากรธรรมชาติทใี่ หญ่มาก ดังนัน้ การจัดการน�า้ ทะเลจึงน่าจะซับซ้อนและยุง่ ยาก และถ้าหากสามารถด�าเนินการได้ ก็นา่ จะต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล

232


เรื่องเล็กๆ กับมาตรการป้องกันน�้าท่วม

ในปัจจุบันได้มีแนวความคิดในการบริหารจัดการน�้าทะเลในบริเวณพื้นที่อ่าวไทย เพื่อ ควบคุมระดับน�้าทะเลให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในช่วงฤดูน�้าหลากในลุ่มน�้าเจ้าพระยา โดยการ ก่อสร้างอาคารควบคุมน�า้ ปิดอ่าวไทยเพือ่ ควบคุมการขึน้ -ลงของน�า้ ทะเล ในช่วงฤดูนา�้ หลาก ระดับน�า้ ทะเลในพืน้ ทีป่ ดิ ล้อมบริเวณอ่าวไทยจะถูกควบคุมให้มรี ะดับต�่าเพือ่ ให้นา�้ หลากจากแม่น�้าเจ้าพระยา ไหลลงทะเลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตาม แนวความคิดนี้ ยังไม่มีการศึกษาในราย ละเอียดในด้านต่างๆ แต่อย่างไร ส�าหรับปัญหาของน�า้ ทะเลหนุนสูงและเป็นอุปสรรคต่อการระบายน�า้ นัน้ ผูเ้ ขียนมีความคิด เห็นว่า การจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติของทะเลเป็นเรื่องใหญ่มากทั้งในด้านสาระ ขนาดพื้นที่ และเงินลงทุน ดังนั้น จึงควรปรับแนวความคิดในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยแทนที่จะพยายาม ในการบริหารจัดการน�้าทะเล ก็ควรเปลี่ยนมาเป็นการลดผลกระทบจากการหนุนสูงของน�้าทะเล ซึ่งน่าจะมีความเป็นไปได้มากกว่าทั้งในเชิงปฏิบัติและการลงทุน ทางเลือกทีใ่ คร่เสนอในทีน่ ี้ คือ การปรับปรุงล�าน�า้ ให้นา�้ ไหลเร็วขึน้ เมือ่ น�า้ ในล�าน�า้ ไหลเร็วขึน้ ระดับน�้าทะเลที่หนุนสูงนั้น จะถูกแรงต้านและลดระดับลง ดังตัวอย่างที่ได้แสดงไว้ในรูปที่ 3

รูปที่ 3 ประสิทธิผลของการปรับปรุงล�าน�้าต่อระดับน�้าทะเลหนุน

จากรูปดังกล่าว ระดับน�้าเนื่องจากน�้าทะเลหนุนจะลดต�่าลงไปทางด้านเหนือน�้าหากมี การปรับปรุงความเสียดทานล�าน�้า จนกระทั่งระดับน�้าเข้าใกล้กับระดับน�้าปกติ (ในกรณีที่ไม่ได้รับ อิทธิพลจากน�้าทะเลหนุน) เช่นเดียวกัน ในกรณีที่ไม่ได้ปรับปรุงความเสียดทานของล�าน�้า อิทธิพล ของระดับน�้าเนื่องจากน�้าทะเลหนุนจะลดต�่าลงไปทางด้านเหนือน�้า จนกระทั่งระดับน�้าเข้าใกล้ กับระดับน�้าปกติ แต่ต้องการระยะทางที่ยาวกว่าก่อนที่ระดับน�้าจะเข้าใกล้กับระดับน�้าปกติเมื่อ เปรียบเทียบกับกรณีที่มีการปรับปรุงความเสียดทานล�าน�้า ระดับน�้าที่ลดต�่าลงนี้ จะช่วยให้การ ระบายน�้าออกจากพื้นที่น�้าท่วมริมแม่น�้าได้เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 233


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

5 ข้อเสนอแนะ จากตัวอย่างการวิเคราะห์ทางด้านชลศาสตร์ในเบื้องต้นนี้ จึงใคร่เสนอข้อคิดเห็นต่างๆ ที่ คิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการบรรเทาปัญหาน�้าท่วมให้กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. กทม. ควรปรับปรุงความเสียดทานของคลองต่างๆ ในกรุงเทพให้ลดลงเพื่อให้สามารถ ระบายน�้าได้มากขึ้น โดยปรับปรุงทั้งท้องคลองและด้านข้างของคลอง ให้ผิวที่ติดกับน�้าต้องเรียบ ไม่ใช่เป็นแบบที่ กทม ท�าในปัจจุบัน (ผิวเป็นขยัก) หากคลองใน กทม. ระบายน�้าได้มากขึ้นแล้ว จะ สามารถระบายน�้าเหนือผ่านกรุงเทพได้มากขึ้น ซึ่งจะท�าให้ประชาชนนอกคันกั้นน�้าของ กทม สุข สบายขึ้น 2. การปรับปรุงคลองต่างๆ ใน กทม. ให้ระบายน�้าได้มากขึ้นด้วยการลดความเสียดทาน จะท�าให้คลองสามารถระบายน�้าได้เป็นหลายเท่า ซึ่งอาจท�าให้ กทม. นอกจากไม่มีความจ�าเป็นใน การก่อสร้างอุโมงค์ระบายน�้ายักษ์แล้ว ยังท�าให้คลองต่างๆ ใน กทม. สะอาดและมีคุณภาพน�้าดีขึ้น ด้วย 3. ควรพิจารณาการปรับปรุงความเสียดทานล�าน�้าแทนเครื่องผลักดันน�้า โดยเฉพาะใน ล�าน�้าที่มีขนาดใหญ่ เพราะเครื่องผลักดันน�้าจ�าเป็นต้องใช้พลังงานมากเพื่อให้เกิดประสิทธิผลใน การผลักดันน�้า การใช้เครื่องผลักดันน�้า ต้องมีค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน อาทิ ค่าแรงงาน ค่าน�้ามัน ค่าน�้ามันเครื่อง และค่าซ่อมเครื่องยนต์ ส่วนการปรับปรุงความเสียดทานล�าน�้านั้น เป็นการลงทุน ครั้งเดียว ไม่มีค่าใช้จ่ายในการด�าเนินงาน 4. ควรศึกษาในรายละเอียดเพื่อประเมินประสิทธิภาพในการลดผลกระทบของน�้าทะเล หนุนต่อการระบายน�้าด้วยการปรับปรุงความเสียดทานของล�าน�้า 5. การปรับปรุงความเสียดทานในล�าน�า้ จะท�าให้นา�้ ไหลเร็วขึน้ ดังนัน้ จึงควรศึกษาในราย ละเอียดเพือ่ ประเมินประสิทธิภาพในการปรับปรุงคุณภาพน�า้ ในคลองประปาด้วยการปรับปรุงความ เสียดทานในคลองประปา

234


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ผศ.ดร.เชิดวงศ์ แสงศุภวานิช1

1. บทน�า วิศวกรรมชายฝั่งเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีการศึกษามาหลายร้อยปีที่เกี่ยวข้องและ ถือว่าเป็นแขนงย่อยของวิศวกรรมโยธา ขอบเขตการท�างานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมชายฝั่งคือ การศึกษาด้านคลื่นที่เคลื่อนที่เข้าสู่ฝั่งเนื่องจากคลื่นเป็นปัจจัยหลักที่ท�าให้เกิดแรงที่มากระท�าต่อ โครงสร้าง จึงไม่เป็นที่น่าสงสัยว่าท�าไมหนังสือด้านวิศวกรรมชายฝั่งจะต้องมีเนื้อหาด้านคลื่นเป็น องค์ประกอบเสมอ นอกจากนี ้ ศาสตร์ดา้ นวิศวกรรมชายฝัง่ ยังเกีย่ วข้องกับการเคลือ่ นทีข่ องตะกอน บริเวณแนวชายฝั่ง การออกแบบโครงสร้างบริเวณชายฝั่ง ไม่ว่าจะเป็น ท่าเรือ (Port) ท่าเทียบเรือ หรือองค์ประกอบต่างๆ (รูปที่ 1) เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) (รูปที่ 2) รอดักทราย (Groin) เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) (รูปที่ 3) การออกแบบและขุดลอกร่องน�้าเพื่อการเดินเรือ การถมทะเล (Reclamation) การเติมทรายชายหาด (Beach nourishment) การแก้ไขปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งเป็นต้น นอกจากนี้ในปัจจุบัน ศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งยังได้ถูกน�ามารวม กับการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเช่นการประเมินผลกระทบการกัดเซาะชายฝั่งเนื่องจาก การพัฒนาโครงการต่างๆ การประเมินทิศทางและความเร็วของกระแสน�้าที่เปลี่ยนแปลงไปจาก การก่อสร้างพัฒนาโครงการต่างๆ การประเมินอัตราการตกตะกอน การประเมินระดับน�้าเป็นต้น จึงเห็นได้วา่ ศาสตร์ดา้ นวิศวกรรมชายฝัง่ มีความส�าคัญอย่างมากในการพัฒนาประเทศไม่แพ้ศาสตร์ วิศวกรรมสาขาอื่นๆ เนื้อหาของบทความนี้ ผู้เขียนตั้งใจที่จะแนะน�าศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งเบื้องต้นเพื่อ ปูพื้นฐานให้ผู้ที่สนใจได้เข้าใจศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งมากขึ้น และเพื่อเป็นการเปิดความคิดแก่ ผู้ที่ต้องการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในศาสตร์วิศวกรรมโยธา แขนงที่ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก 1

วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

235


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 1 เขื่อนหินป้องกันท่าเทียบเรือ ท่าเทียบเรือยูนิไทย บริเวณท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี

รูปที่ 2 เขื่อนกันคลื่น ณ ชายหาดเจ้าส�าราญ อ�าเภอเมืองจังหวัดเพชรบุรี

รูปที่ 3 เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง ณ หาดเขากะโหลก อ�าเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

2. ความเป็นมาของวิศวกรรมชายฝั่ง การศึกษาประวิตศิ าสตร์ความเป็นมาของวิศวกรรมชายฝัง่ นัน้ บางครัง้ ก็สามารถสร้างความ ประทับใจ ถึงแม้ในอดีตจะไม่มีเทคโนโลยีในการก่อสร้างหรือมีสมการซับซ้อนที่ใช้ในการค�านวณ อย่างปัจจุบัน แต่คนในสมัยก่อนก็สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ US Army Corps of Engineers (2006) ได้ท�าการสรุปความเป็นมาของวิศวกรรมชายฝั่งซึ่งได้ก่อก�าเนิดขึ้นมาเมื่อ ประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช บริเวณทะเลแถบเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) ทะเลแดง (Red Sea) และบริเวณอ่าวเปอร์เซีย (Persian Gulf) เหตุผลหลักๆที่วิศวกรรมชายฝั่งได้ ถูกพัฒนาขึ้นบริเวณนั้นก็เนื่องจากวิศวกรรมชายฝั่งได้ไปเกี่ยวเนื่องกับการก่อสร้างท่าเรือ ร่องน�้า เดินเรือ แรงงานทาสที่มีปริมาณมากในสมัยนั้นได้ถูกบังคับให้สร้างท่าเรือ (Port) และเขื่อนกันคลื่น (Breakwater) ซึ่งต้องใช้หินขนาดใหญ่ การยกหินเหล่านั้นยังไม่มีเครื่องจักรและต้องใช้แรงงานคน หลักฐานสามารถเห็นได้จากการที่นักโบราณคดีได้ขุดพบสิ่งก่อสร้างของท่าเรือ โครงสร้างท่าเรือที่ เก่าแก่ได้ล่มสลายไปพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมันบางแห่งจมไปกับแผ่นดินทรุด แผ่น ดินไหวได้ท�าลายท่าเรือ ท่าเรือบางแห่งถูกตะกอนทับถมจนไม่สามารถใช้การได้ 236


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

1) ยุคก่อนสมัยโรมัน ท่าเรือในสมัยยุคก่อนโรมันเป็นท่าเรือที่อาศัยการก�าบังคลื่นลม จามธรรมชาติ จึงจ�าเป็นต้องก่อสร้างท่าเรือในบริเวณที่หลบคลื่นลม ไม่ว่าจะเป็นหลังเกาะ ในปาก แม่น�้า ในอ่าว หรือแม้แต่ในถ�้า เรือในสมัยนั้นเป็นเรือไม้ขนาดเล็กที่จะขนถ่ายสินค้าวันต่อวัน เรือ ในอดีตอาจแล่นด้วยความเร็วเพียง 3 ถึง 5 นอต (knot) ประกอบกับยังไม่มีการเก็บรักษาสินค้าใน ตู้คอนเทนเนอร์ สินค้าที่เน่าเสียง่ายเช่นเนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ จึงต้องถูกเคลื่อนย้ายโดยเร็ว ดังนั้น ท่าเรือสมัยนั้นจึงจ�าเป็นต้องก่อสร้างใกล้ๆ กันแหล่งการค้า เพราะไม่ต้องขนส่งสินค้าไกล ในสมัยนั้นยังไม่มีเรือขุดลอก ท่าเรือทุกแห่งจึงต้องพยายามออกแบบเพื่อหลีกเลี่ยง การตกตะกอน วิธีการแรกคือการออกแบบส่วนปลายของท่าเรือเพื่อเบี่ยงเบนกระแสน�้าให้ พัดตะกอนไปทับถมที่อื่น และอีกวิธีคือการปล่อยน�้าที่กักเก็บไว้ให้ไหลผ่านท่าเรือและพัดพาเอา ตะกอนออกมา โดยอาจขุดอ่างเก็บน�า้ ไว้รอบๆท่าเรือ เมือ่ น�า้ ขึน้ น�า้ จะไหลเข้าอ่างเก็บน�า้ ทีเ่ ปิดประตู ไว้ เมื่อน�้าเต็มอ่างก็น�าประตูมากั้นไว้ และปล่อยน�้าออกจากอ่าง ณ เวลาที่ต้องการ เพื่อให้กระแส น�้าที่ไหลออกจากอ่างเก็บน�้าได้พัดตะกอนออกไป วิธีการอีกวิธีหนึ่งคือการขุดคลองเพื่อให้ตะกอน ที่ไหลมากับน�้าจากต้นน�้า ไม่ไหลผ่านท่าเรือ ท�าให้ไม่เกิดการทับถมหน้าท่า 2) ยุคสมัยโรมัน ชาวโรมันพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมชายฝั่งอย่างยิ่งยวด พวกเขา เรียนรู้การสร้างสิ่งก่อสร้างและก�าแพงใต้น�้า ในยุคสมัยนั้นได้มีการพัฒนาต้นแบบเคซอง (Caisson) เพื่อน�ามาใช้แทนเขื่อนกันคลื่นแบบหินทิ้ง สิ่งก่อสร้างชายฝั่งที่เป็นก้อนใหญ่ๆเพียงก้อนเดียว (Monolithic coastal structures) ดังเช่นเคซอง มีข้อได้เปรียบที่ไม่ต้องการการดูแลมาก ในบาง กรณีคลื่นสะท้อนที่สะท้อนจากสิ่งก่อสร้างหน้าดิ่ง (Vertical faced structures) ก็สามารถน�ามา ใช้ในการป้องกันการตกตะกอนได้ เครนและเครือ่ งจักรตอกเสาเข็มได้ถกู พัฒนาขึน้ ในยุคนี ้ และเป็นสิง่ เริม่ ต้นทีท่ า� ให้ชาวโรมัน สามารถพัฒนาเรือขุดลอก การก่อสร้างท่าเรือในสมัยนัน้ ได้กา้ วหน้าอย่างมาก พวกเขายังได้แนะน�า แนวคิดเขื่อนกันคลื่นจมน�้า (Submerged breakwater) เพื่อสลาย พลังงานคลื่นก่อนที่คลื่นจะ เข้าสู่ท่าเรือตัวอย่างเช่นท่าเรือของชาวโรมัน ณ Caesarea ประเทศอิสราเอล ซึ่งยังสามารถเห็นได้ ในปัจจุบัน (รูปที่ 4)

รูปที่ 4 ท่าเรือ ณ Caesarea ประเทศอิสราเอล ก่อสร้างโดยชาวโรมัน ด้วยแนวความคิด เขื่อนกันคลื่นจมน�้า เพื่อสลายพลังงานคลื่น (ที่มา: ภาพถ่ายดาวเทียม Google Earth)

237


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

บทบาทของวิศวกรรมชายฝัง่ นัน้ ยังเกีย่ วเนือ่ งกับการพักผ่อนหย่อนใจตามแนวชายหาด ชาวโรมันได้ริเริ่มการใช้ประโยชน์จากแนวชายฝั่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ที่พักและถนนเชื่อมต่อกรุง โรมมายังแนวชายหาด การเสริมทรายซ่อมแซมหาด และการออกแบบก่อสร้างสิ่งก่อสร้างเพื่อพัก ผ่อนหย่อนใจตามแนวชายหาดก็ถือเป็นหน้าที่รับผิดชอบของวิศวกรชายฝั่งเช่นกัน 3) ยุคกลาง หลังจากการล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันตก ศาสตร์ด้านวิศวกรรม ชายฝัง่ ก็ไม่ได้มกี ารพัฒนาเพิม่ เติมมากนัก การกัดเซาะชายฝัง่ ท�าให้เมืองตลอดแนวฝัง่ รกร้าง ท่าเรือ ถูกปล่อยทิ้งเนื่องจากการทับถมของตะกอน แต่การปกป้องเมืองก็ยังมีให้เห็นอยู่ เช่นเมืองเวนิช (Venice) ประเทศอิตาลี การปกป้องชายหาดของเมืองเวนิชนัน้ ส�าคัญมาก เนือ่ งจากหากถูกกัดเซาะ หรือน�้าท่วม เมืองเวนิชก็จะหายไปโดยใช้เวลาไม่นาน เนื่องจากสภาพเมืองเป็นเมืองที่ต�่ากว่าระดับ น�้าทะเล (รูปที่ 5) ในระหว่างปี ค.ศ. 1282 ถึง พ.ศ. 1339 กฎหมายต่างๆ ได้ถูกบังคับใช้เพื่อรักษา สภาพแนวชายฝัง่ ไว้ ไม่วา่ จะเป็น การห้ามตัดต้นไม้บริเวณป่าตามแนวชายหาด การห้ามเก็บหอยต่าง จากโขดหิน การห้ามน�าสัตว์ไปกินหญ้าที่ขึ้นอยู่ตามหาด การห้ามน�าทรายตามแนวชายหาดออกไป ใช้ประโยชน์อื่นๆ หรือแม้แต่การห้ามมิให้ถอนต้นไม้ตามแนวชายหาดเพื่อให้ต้นไม้ยึดทรายให้แน่น เป็นต้น (Franco, 1996)

รูปที่ 5 เมือง Venice ประเทศอิตาลี (ที่มา: Google Earth)

ต่อมาในระหว่างศตวรรษที ่ 15 และ 16 (หรือยุคเรเนสซอง Renaissance) วิทยาศาสตร์ เริ่มฟื้นตัว ลีโอนาโด ดาวินชี ถือเป็นบุคคลส�าคัญในการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะด้าน กลศาสตร์ของไหล (Hydrodynamics) แนวคิดและวิธีการทดลองของเขาที่เป็นเหตุเป็นผล เช่น การจ�าลองรูปแบบการไหลโดยใช้อนุภาคแขวนลอยและสีย้อม ถึงแม้แนวคิดของ ลีโอนาโด ดาวินชี ในยุคนัน้ จะเป็นเพียงรูปวาด ไม่มสี ตู รหรือสมการ แต่ความคิดของเขาได้เป็นพืน้ ฐานของการพัฒนา ด้านวิศวกรรมชายฝัง่ และในอีกสองร้อยปีเมือ่ ไอแซค นิวตัน ได้เสนอกฎแห่งแรงโน้มถ่วง การพัฒนา ด้านต่างๆของศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งก็เริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้น 4) ยุคทหารและวิศวกรรมโยธา หลังจากยุค Renaissance เรือเดินสมุทรได้เริ่มเสาะ แสวงหาดินแดนใหม่ และมีการค้นพบอเมริกา ออสเตเรีย นิวซีแลนด์ อินโดนีเซีย และเกิดการล่า 238


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

อาณานิคมขึ้น โดยมีฝรั่งเศสเป็นผู้น�าในด้านวิทยาศาสตร์ ในระหว่างศตวรรษที่ 17th และ 18th ประเทศอังกฤษได้พฒ ั นาเรือ่ งการเดินเรือ การก่อสร้างท่าเรือ และด้านสูตรค�านวณทางคณิตศาสตร์ ผลจากการเติบโต การค้ากับต่างประเทศได้ท�าให้เรือมีขนาดใหญ่ขึ้น และวิศวกรรมชายฝั่งมีความ ส�าคัญมากขึ้นในการพัฒนาท่าเรือและระบบสาธารณูปโภคตลอดแนวชายฝั่ง 5) ยุคปัจจุบัน การพัฒนาด้านวิศวกรรมชายฝั่งเป็นมาอย่างต่อเนื่อง ในยุคหลัง องค์กรที่ มีบทบาทในการพัฒนาศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งอย่างมาก คือ United States Army Corps of Engineers (USACE) ซึ่งมีความช�านาญด้านวิศวกรรมชายฝั่งและท่าเรือ และหนังสือที่มีชื่อว่า Shore Protection Manual ในปี ค.ศ. 1984 ที่รวบรวมองค์ความรู้โดย USACE ก็ถือเป็นหนังสือ ที่มีชื่อเสียงมากเล่มหนึ่งที่ให้ความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมชายฝั่งทั้งหมด และอาจถือได้ว่าเป็นจุด เริ่มต้นของหนังสือที่วิศวกรชายฝั่งในปัจจุบันใช้อ้างอิง ในปัจจุบันนี้ ศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งได้พัฒนาขึ้นมาก ไม่ว่าจะเป็นการจ�าลอง ในถังคลื่น การค�านวณได้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยชั้นน�าทั่วโลกได้เปิดสอนวิชาด้าน วิศวกรรมชายฝั่ง และจัดหาอุปกรณ์ในการจ�าลองและทดสอบที่เกี่ยวกับคลื่น วารสารทางวิชาการ ระดับนานาชาติได้ตีพิมพ์องค์ความรู้ใหม่ๆด้านวิศวกรรมชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง เช่นวารสาร Ocean & coastal management, Coastal engineering และ Ocean engineering เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติทจี่ ดั ขึน้ เพือ่ แลกเปลีย่ นความรูด้ า้ นวิศวกรรมชายฝัง่ หรือการบริหารจัดการชายฝั่งอีกมากมาย จึงถือได้ว่าในปัจจุบัน ศาสตร์ด้านวิศวกรรมชายฝั่งก�าลัง ได้รับความสนใจอย่างมาก

3. บทบาทหน้าที่ของวิศวกรชายฝั่งของประเทศไทยในปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแนวชายฝั่งยาวมากกว่า 2,614 กิโลเมตร โดยแบ่งเป็นชายฝั่ง ด้านอ่าวไทยความยาวประมาณ 1,660 กิโลเมตรและชายฝั่งด้านทะเลอันดามันอีกประมาณ 954 กิโลเมตร (Saengsupavanich et al., 2009) การพัฒนาบริเวณริมชายฝั่งทะเลของประเทศไทย ได้เกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ไม่วา่ จะเป็นการก่อสร้างท่าเรือ (Port) การก่อสร้าง ท่าเทียบเรือ (Pier) การก่อสร้างเขือ่ นกันทรายปากแม่นา�้ (Jetty) สิง่ ก่อสร้างบริเวณชายฝัง่ เหล่านีจ้ ะ ต้องสามารถทนแรงของคลืน่ ในกรณีรนุ แรงได้ และการจัดวางรูปร่างและองค์ประกอบของโครงสร้าง จะต้องค�านึงถึงลักษณะของคลืน่ ตะกอน และกระแสน�า้ เพือ่ ให้โครงสร้างทีอ่ อกแบบมีประสิทธิภาพ สูงสุด 1) ท่าเรือและการถมทะเล (Port and reclamation) โครงสร้างประเภทท่าเรืออาจ ประกอบไปด้วยการถมทะเล การก่อสร้างเขื่อนกันคลื่น และการออกแบบร่องน�้าเดินเรือ การ ออกแบบเขื่อนกันคลื่นจะรวมไปถึงการค�านวณระดับสันเขื่อนเพื่อป้องกันมิให้คลื่นกระเซ็นข้ามสัน เขื่อนในทุกกรณี เพราะจะท�าให้ภายในท่าเรือเกิดคลื่นสูง และท่าเรือไม่สามารถด�าเนินกิจกรรมได้ 239


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

การออกแบบขนาดของหินที่จะน�ามาสร้างเขื่อนกันคลื่น การออกแบบขนาดความกว้าง ความยาว และแนวการวางตัวของเขื่อนกันคลื่นที่มีประสิทธิภาพในการกันคลื่นสูงและมีค่าก่อสร้างที่ต�่าที่สุด ท่าเรือน�้าลึกขนาดใหญ่ของประเทศไทยได้แก่ ท่าเรือมาบตาพุด (รูปที่ 6) และท่าเรือแหลมฉบัง (รูปที่ 7)

รูปที่ 6 ท่าเรือมาบตาพุดและการวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการกันคลื่น โดยใช้แบบจ�าลองคณิตศาสตร์

รูปที่ 7 ภาพถ่ายดาวเทียม Quickbird วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2554 บริเวณท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี

240


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

2) การก่อสร้างเขื่อนกันทราย (Jetty) โครงสร้างเขื่อนกันทราย (Jetty) มีวัตถุประสงค์ หลักเพื่อป้องกันทรายมิให้ตกตะกอนบริเวณปากแม่น�้า (รูปที่ 8) ซึ่งการตกตะกอนจะก่อให้เกิด ปัญหาที่ตามมาหลายประการ เช่นการที่เรือไม่สามารถเข้าออกแม่น�้าได้ ปัญหาการระบายน�้าเสีย ออกจากแม่นา�้ ปัญหาการไหลเวียนของกระแสน�า้ จืดและน�า้ เค็ม ปัญหาการระบายน�า้ ในกรณีนา�้ ท่วม ถ้าหากไม่มีการก่อสร้างเขื่อนกันทราย ก็จ�าเป็นจะต้องมีการขุดลอกทุกปี ท�าให้สูญเสียงบประมาณ อย่างต่อเนือ่ ง ค�าถามหลักทีว่ ศิ วกรชายฝัง่ ต้องตอบในการออกแบบเขือ่ นกันทรายได้แก่ ขนาดหินที่ น�ามาสร้างเขือ่ นควรมีขนาดเท่าไรจึงจะสามารถทนแรงคลืน่ ได้ ความยาวของเขือ่ นกันทรายควรมีคา่ เท่าไรจึงจะสามารถกันมิให้ตะกอนไปตกในแม่นา�้ ได้ ความสูงของเขือ่ นกันทรายควรเป็นเท่าไรจึงจะ สามารถให้เรือประมงสามารถหลบจอดด้านในได้โดยมิเกิดความเสียหาย

รูปที่ 8 เขื่อนกันทรายปากแม่น�้า บริเวณอ�าเภอชะอ�า จังหวัดเพชรบุรี

นอกจากเขื่อนกันทรายจะกันทรายมิให้ตกตะกอนบริเวณปากแม่น�้าแล้ว ชุมชนอาจ ได้ใช้ประโยชน์จากทรายที่ทับถมบริเวณด้าน Updrift โดยการพัฒนาหาดที่งอกขึ้นมาให้เป็น แหล่งท่องเที่ยว อย่างไรก็ตามเขื่อนกันทรายที่ไปกีดขวางการเคลื่อนที่ของตะกอนในแนวขนานฝั่ง (Alongshore sediment transport) ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบตามมา กล่าวคือชายหาด 241


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ด้าน Downdrift ทีต่ ดิ กับเขือ่ นกันทรายอาจถูกกัดเซาะ (รูปที่ 8 ) วิศวกรชายฝัง่ จึงจ�าเป็นต้องค�านึง ถึงผลกระทบด้านลบทีจ่ ะตามมาและต้องเสนอแนะวิธกี ารเพือ่ แก้ไขหรือลดผลกระทบดังกล่าวอย่าง เหมาะสมด้วย ลักษณะและผลกระทบจากการสร้างเขื่อนกันทรายนี้เป็นสิ่งที่สามารถพบได้ในหลาย พืน้ ที ่ เช่นในกรณีของท่าเรือน�า้ ลึกสงขลา ทีม่ กี ารก่อสร้างเขือ่ นกันทรายเพือ่ ดักทรายทีเ่ คลือ่ นทีจ่ าก ทิศใต้ขึ้นสู่ทิศเหนือ ส�าหรับในกรณีของท่าเรือสงขลานี้ ด้าน Updrift คือชายหาดด้านทิศใต้ของ เขือ่ น ส่วนด้าน Downdrift คือชายหาดด้านทิศเหนือ ดังนัน้ เราจึงสามารถสังเกตเห็นได้วา่ ชายหาด บริเวณด้านใต้ของเขือ่ นกันทรายได้เกิดการทับถมขึน้ ในขณะทีช่ ายหาดด้านเหนือได้เกิดการกัดเซาะ ขึ้นนั่นเอง (รูปที่ 9)

รูปที่ 9 ภาพถ่ายดาวเทียม GeoEye เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2550 บริเวณเขื่อนกันทราย บริเวณท่าเรือสงขลา และแนวชายฝั่งข้างเคียง

รูปที่ 10 รูปแบบของท่าเทียบเรือโดยสารบนเกาะกูด จังหวัดตราด

242


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

มีหลายครัง้ ทีว่ ศิ วกรชายฝัง่ จะต้องให้คา� แนะน�าแก่ผทู้ มี่ อี า� นาจในการตัดสินใจว่าควรจะ ด�าเนินการก่อสร้างเขือ่ นกันทรายหรือไม่ ดังนัน้ วิศวกรชายฝัง่ จึงต้องระบุผลประโยชน์และผลกระทบ ด้านลบที่จะเกิดขึ้นอย่างรอบด้าน ข้อมูลดังกล่าวอาจจะถูกส่งต่อให้นักวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ หรือเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อแปลผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบออกมาเป็นตัวเลขต่อไป 3) การก่อสร้างท่าเทียบเรือ ท่าเทียบเรือเป็นจุดที่เรือจะต้องเข้าเทียบเพื่อขนถ่ายสินค้า หรือผู้โดยสาร ท่าเทียบเรือที่ดีควรตั้งอยู่ในที่ที่อับคลื่น สามารถเปิดให้บริการได้ตลอดทั้งปี เช่นท่า เทียบเรือในแม่นา�้ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ท�าเลทีต่ งั้ ท่าเทียบเรือทีด่ นี นั้ หาได้ยากมากในปัจจุบนั เพราะ ท�าเลทีด่ ตี ามธรรมชาติได้ถกู พัฒนาไปเกือบหมดแล้ว การพัฒนาท่าเทียบเรือแห่งใหม่ๆ นัน้ จึงจ�าเป็น จะต้องสร้างอยูบ่ ริเวณชายฝัง่ วิศวกรชายฝัง่ จึงมีหน้าทีอ่ อกแบบท่าเทียบเรือ ความลึกหน้าท่า ระดับ หลังท่า ประเมินความสูงคลืน่ ทีค่ าดว่าจะเข้าปะทะกับท่าเทียบเรือ หรือแม้แต่ออกแบบเขือ่ นกันคลืน่ ส�าหรับกันคลื่นในบางกรณี วิศวกรชายฝั่งยังมีหน้าที่ที่ต้องคัดเลือกท�าเลที่ตั้งของท่าเทียบเรือ ตัวอย่างเช่นถ้าหาก กรมเจ้าท่าต้องการที่จะพัฒนาท่าเทียบเรือผู้โดยสารแห่งใหม่บนเกาะกูด จังหวัดตราด (รูปที่ 10) วิศวกรชายฝัง่ จะมีบทบาททีส่ า� คัญในการคัดเลือกพืน้ ทีท่ หี่ ลบคลืน่ มากทีส่ ดุ และพืน้ ทีน่ นั้ จะต้องเป็น พืน้ ทีท่ ลี่ กึ ซึง่ จะท�าให้ ท่าเทียบเรือมีความยาวสัน้ ทีส่ ดุ เพือ่ ทีจ่ ะประหยัดค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้างให้ ได้มากที่สุด หรือแม้แต่จะต้องออกแบบร่องน�้าการเดินเรือเป็นต้น 4) การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝัง่ บทบาทหน้าทีข่ องวิศวกรชายฝัง่ ผูซ้ งึ่ มีความรูค้ วาม เข้าใจเกีย่ วกับคลืน่ บริเวณชายฝัง่ ย่อมรวมไปถึงการออกแบบโครงสร้างเพือ่ ป้องกันแก้ไขปัญหาการ กัดเซาะชายฝัง่ คลืน่ สูงทีเ่ กิดขึน้ ทุกปีจะเข้าปะทะชายฝัง่ ท�าให้ชายฝัง่ เกิดความเสียหาย ท�าให้เกิดการ สูญเสียทรัพย์สินของประชาชนและราชการ โครงสร้างทางวิศวกรรมที่ใช้แก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝัง่ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมได้แก่ เขือ่ นกันคลืน่ บนฝัง่ (Revetment) เขือ่ นกันคลืน่ นอกฝัง่ (Detached breakwater) และรอดักทราย (Groin) โครงสร้างเหล่านี้ต่างมีข้อเด่นและข้อด้อยที่แตกต่างกันไป วิศวกรชายฝัง่ มีหน้าทีท่ จี่ ะต้องเลือกประเภทของโครงสร้างให้เหมาะสมกับสาเหตุของปัญหาการกัด เซาะชายฝั่ง โครงสร้างที่เหมาะสมกับพื้นที่หนึ่งอาจไม่เหมาะสมในอีกพื้นที่หนึ่ง เขือ่ นกันคลืน่ บนฝัง่ (Revetment) เป็นโครงสร้างทีก่ อ่ สร้างติดชายฝัง่ ท�าหน้าทีป่ อ้ งกัน ชายฝั่ง (Pilarczyk, 1998) โครงสร้างประเภทนี้เหมาะส�าหรับการกัดเซาะชายฝั่งที่มีสาเหตุเกิด จากคลื่นสูง นอกจากเขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) จะสามารถป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งได้ แล้ว มันยังสามารถลดปริมาณน�้าทะเลที่จะทะลักขึ้นไปบนฝั่ง ท�าให้สามารถลดความเสียหายที่จะ เกิดขึ้นกับพื้นที่ชายฝั่งด้านหลังได้อีกด้วย (รูปที่ 11) ข้อดีอีกข้อของเขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) คือขัน้ ตอนการก่อสร้างทีไ่ ม่ยงุ่ ยากและมีราคาถูกกว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับโครงสร้างประเภท อื่น โดยราคาเฉลี่ยของเขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) อาจมีค่าระหว่าง 15,000 - 30,000 บาท ต่อความยาวเขื่อน 1 เมตร อย่างไรก็ตาม เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) ก็มีข้อด้อยโดยเฉพาะ 243


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

พื้นที่ชายฝั่งที่เป็นหมู่บ้านชาวประมง เพราะเขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) จะกีดขวางการน�า เรือขึ้นลงบนชายหาด (รูปที่ 12) นอกจากนี้เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) ยังมีข้อจ�ากัดใน กรณีที่ต้องก่อสร้างในบริเวณชายหาดท่องเที่ยว เพราะวิศวกรชายฝั่งไม่สามารถออกแบบให้ระดับ สันเขื่อนสูงเนื่องจากถูกจ�ากัดเรื่องความสวยงามและการบดบังทัศนียภาพของชายหาด

รูปที่ 11 เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) ในอ�าเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รูปที่ 12 เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) บริเวณหมู่บ้านชาวประมงในอ�าเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

เขือ่ นกันคลืน่ นอกฝัง่ (Detached breakwater) เป็นโครงสร้างทีเ่ หมาะส�าหรับการกัดเซาะ ชายฝั่งที่มีสาเหตุเกิดจากคลื่นสูง และเป็นโครงสร้างเขื่อนที่ก่อสร้างห่างจากฝั่งไม่มาก โดยทั่วไป ระยะห่างจากฝั่งจะมีค่าประมาณ 50 - 100 เมตร (รูปที่ 13) เมื่อเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ง (Detached breakwater) ตั้งอยู่กลางทะเลย่อมท�าให้มันต้องรับแรงจากคลื่นที่สูงกว่าโครงสร้างที่อยู่บนฝั่ง วิศวกรชายฝั่งมีหน้าที่จะต้องค�านวณความสูงคลื่นที่จะเข้าปะทะกับตัวเขื่อน ค�านวณหาขนาดหิน ออกแบบรูปร่างความสูงและความกว้างของเขือ่ น ออกแบบจัดวางรูปแบบเขือ่ น ความยาวของเขือ่ น และช่องว่างระหว่างเขือ่ นแต่ละตัว เป็นต้น ข้อดีของเขือ่ นกันคลืน่ นอกฝัง่ (Detached breakwater) คือนอกจากมันจะสามารถสลายพลังงานคลืน่ ทีเ่ ข้ามาปะทะฝัง่ ด้วยกระบวนการเลีย้ วเบน (Diffraction) และการบังคับให้คลืน่ แตกตัวเมือ่ ปะทะเขือ่ น (Wave breaking on slope) แล้ว มันยังสามารถ ลดปริมาณน�้าที่จะท่วมฝั่งได้อย่างดี อย่างไรก็ตามค่าก่อสร้างของเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ง (Detached breakwater) นั้นสูง โดยอาจมีราคาประมาณ 80,000 - 120,000 บาทต่อความยาวเขื่อน 1 เมตร 244


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

ขึ้นอยู่กับต�าแหน่งความลึกของเขื่อน ระยะห่างจากฝั่งและระดับของสันเขื่อน นอกจากนี้วิธีการ ก่อสร้างยังยุ่งยากซับซ้อนกว่าการก่อสร้างโครงสร้างที่อยู่บนฝั่งอีกด้วย

รูปที่ 13 เขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ง (Detached breakwater) ในอ�าเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

โครงสร้างประเภทรอดักทราย (Groin) เป็นโครงสร้างที่ใช้แก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง เนือ่ งจากการกีดขวางการเคลือ่ นทีข่ องตะกอนในแนวขนานฝัง่ เขือ่ นรอดักทราย (Groin) มีลกั ษณะ ตัง้ ฉากกับฝัง่ (Reeve et al., 2004) ทรายจะเกิดการทับถมด้าน Updrift ในขณะทีห่ าดด้าน Downdrift อาจเกิดการกัดเซาะชายฝั่งเพิ่มขึ้น วิศวกรชายฝั่งมีหน้าที่จะต้องค�านวณความสูงคลื่นที่จะเข้า ปะทะกับตัวรอดักทราย ค�านวณหาขนาดหิน ออกแบบรูปร่างความสูงและความกว้าง ออกแบบ จัดวางระยะห่างของตัวรอดักทราย ความยาวของเขื่อนและช่องว่างระหว่างเขื่อนแต่ละตัว เป็นต้น ข้อเด่นของเขื่อนประเภทรอดักทราย (Groin) คือมันเป็นโครงสร้างที่ก่อสร้างได้ง่าย ราคาถูก แต่มี ข้อเสียคือมันไม่สามารถกันคลื่นที่เคลื่อนที่เข้ามาในแนวตั้งฉากกับฝั่งได้ จึงมีการเพิ่มประสิทธิภาพ ของรอดักทราย (Groin) โดยการสร้างเขื่อนกันคลื่นที่ปลายท�าให้มีรูปร่างเหมือนตัวที เราจะเรียก เขื่อนรอดักทรายประเภทนี้ว่า T-groin (รูปที่ 14)

รูปที่ 14 รอดักทราย ในอ�าเภอมาบตาพุด จังหวัดระยอง (ที่มา: Google Earth)

245


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ถ้าพิจารณาประสิทธิภาพของ T-groin ให้รอบคอบจะพบว่า ประสิทธิภาพของ T-groin นั้นแทบจะไม่มีความแตกต่างกับการสร้างเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ง (Offshore breakwater) เลย ส่วนปลายของเขื่อน T-groin จะท�าหน้าที่เป็นเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ง (Offshore breakwater) และ ชายหาดด้านหลังจะก่อตัวเป็น Tombolo อยูแ่ ล้ว ดังนัน้ ส่วนขาของ T-groin จึงไม่มปี ระโยชน์และ เป็นการสูญเสียงบประมาณในการก่อสร้างโดยใช่เหตุ โครงสร้างประเภทรอดักทราย (Groin) พบ ได้ทั่วไปในประเทศไทย เช่น ในอ�าเภอมาบตาพุด จังหวัดระยอง ที่มีการปรับแต่งรูปร่างของรอดัก ทรายให้เป็นแฉกคล้ายหางปลา (Fish-tailed groin) และมีการก่อสร้างเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่งเพิ่ม เติมด้วย (รูปที่ 14)

4. บทสรุป การกัดเซาะชายฝั่งทะเลของประเทศไทย มีมานานตั้งแต่ในอดีต จากการพัฒนาประเทศ อย่างรวดเร็ว ท�าให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ชายฝั่ง เช่น การก่อสร้างท่าเทียบเรือ ท่าเรือ การถมทะเลและสิ่งปลูกสร้างที่บุกรุกลงไปในทะเล ท�าให้บางพื้นที่มีปัญหาการกัดเซาะมากยิ่งขึ้น แนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งอันเนื่องมา จากภัยธรรมชาติและการกระท�าของมนุษย์ ข้อมูลการกัดเซาะชายฝัง่ ทะเล กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ระบุว่า ประเทศไทยมีแนวชายฝั่งยาว 2,055 กม. ประสบปัญหาการกัดเซาะรวมระยะทางประมาณ 830 กม. แยกเป็นแนวชายฝั่งทะเล ด้านอ่าวไทยที่ประสบปัญหาการกัดเซาะระยะทางประมาณ 730 กม. (แยกเป็นกัดเซาะปานกลาง 502 กม. และกัดเซาะรุนแรง 225 กม.) แนวชายฝั่งทะเลด้านอันดามันที่ประสบปัญหาการกัดเซาะ ระยะทางประมาณ 100 กม. (แยกเป็นระยะทางประมาณ 75 กม. และกัดเซาะรุนแรง 25 กม.) ในปัจจุบันได้มีการป้องกันแก้ไขการกัดเซาะในหลายพื้นที่ในรูปแบบต่างๆ กัน แต่ก็ยังคง มีปัญหาการกัดเซาะอยู่ในหลายพื้นที่ หรือเมื่อมีการก่อสร้างแนวป้องกันก็เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง ในพืน้ ทีห่ า่ งออกไป หน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องต้องมาด�าเนินการแก้ไขการกัดเซาะอย่างเป็นระบบ และบูรณาการในเชิงพื้นที่ ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน มองปัญหาในภาพรวมของการกัดเซาะ ที่เกิดขึ้น เพื่อให้สามารถลดปัญหาการกัดเซาะที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกัน นอกจากนั้นสาเหตุของ การกัดเซาะในพืน้ ทีต่ า่ งๆ มีความแตกต่างกัน ท�าให้การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝัง่ ในแต่ละพืน้ ที่ ต้องมีการศึกษา และคัดเลือกรูปแบบการกัดเซาะให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ป้องกัน การกัดเซาะชายฝั่งได้อย่างยั่งยืน ถึงเวลาแล้วทีห่ น่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต้องบูรณาการทัง้ แผนการพัฒนาและแนวทางการป้องกัน การกัดเซาะให้มคี วามชัดเจน และท�างานร่วมกัน เพือ่ ให้ปญ ั หาการกัดเซาะทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากสาเหตุ ทางธรรมชาติ และสาเหตุจากการพัฒนามีความชัดเจนของแนวทางแก้ไขป้องกันการกัดเซาะ 246


การพัฒนาชายฝั่งทะเลและการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ

เป็นการลดการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะที่ซ�้าซ้อน และประหยัดงบประมาณในการด�าเนินงาน รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหาการกัดเซาะอย่างได้ผลและมีประสิทธิภาพ

เอกสารอ้างอิง 1. 2. 3. 4. 5.

Franco, L., 1996. History of Coastal Engineering in Italy: History and Heritage of Coastal Engineering. American Society of Civil Engineers, New York. Pilarczyk, K.W., 1998. Dikes and revetments: Design, maintenance, and safety assessment. A.A. Balkema, Netherlands. Reeve, D., Chadwick, A., Fleming, C., 2004. Coastal engineering: Processes, theory and design practice. Spon Press, New York. Saengsupavanich, C., Chonwattana, S., Naimsampao, T., 2009. Coastal erosion through integrated management: A case of Southern Thailand. Ocean & Coastal Management 52, 307–316. US Army Corps of Engineers, 2006. Coastal Engineering Manual. Available on-line at http://users.coastal.ufl.edu/~sheppard/eoc6430/Coastal_Engineering_Manual. htm (accessed 1 April 2011).

247


ชีวิตและควำมตำย ชีวิตเปรียบเหมือนตะเกียงน�้ามัน

ตะเกียงจะดับ ก็ดับด้วยเหตุ ๔ ประการ ๑. ดับเพราะน�้ามันหมด ๒. ดับเพราะไส้หมด

๓. ดับเพราะน�้ามันและไส้หมด

๔. ดับเพราะมีอุบัติเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง เหตุแห่งการตาย มี ๔ ได้แก่ ๑. ตายเพราะสิ้นอายุ

๒. ตายเพราะสิ้นกรรม

๓. ตายเพราะสิ้นอายุและสิ้นกรรม

๔. ตายเพราะอุบัติเหตุต่างๆ มาตัดรอน หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม

248


Desalination ไทยภักดิ์ ธรรมมงคล1

1. บทน�า การท�าน�า้ จืดจากน�า้ ทะเล (Desalination) ในส่วนใหญ่กค็ อื การกดดันน�า้ ให้ผา่ นแผ่นกรอง (membrane) น�า้ ทีไ่ ด้จะเป็นน�า้ จืดทีบ่ ริสทุ ธิ ์ วิธนี เี้ รียกว่า Reverse Osmosis (RO) ดังแสดงในรูปที่ 1 ในอดีต Desalination มีในวงจ�ากัด เฉพาะเกาะที่มีทรัพยากรน�้าน้อยไม่พอกับความต้องการหรือ สถานที่โดดเดี่ยวริมทะเล แต่เพราะกรรมวิธีต้องใช้พลังงานมาก ท�าให้มีราคาแพง ในขณะเดียวกัน สถานการณ์เริ่มเปลี่ยนแปลงไป จากการเพิ่มของพลเมือง การอุตสาหกรรมซึ่งต้องใช้น�้ามากขึ้น และเพาะปลูกก็เพิม่ มากขึน้ ท�าให้นา�้ ทีม่ อี ยูต่ ามธรรมชาติไม่เพียงพอ แม้จะมีเขือ่ นเข้ามาช่วยได้บา้ ง แต่กเ็ จอการต่อต้านตลอดมา ในทีส่ ดุ น�า้ ก็ไม่พอใช้ ไม่ชา้ ไม่นานอาจต้องใช้นา�้ ทะเลช่วย เพราะน�า้ จืด ในโลกมีแค่ 2.5% ส่วนน�้าทะเลมีถึง 97.5% ดังแสดงในรูปที่ 2 ในขณะเดียวกันนักวิจัยก็พยายามหาเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาช่วยทางด้าน Desalination ท�าให้ราคาลดลงเรื่อยๆ

รูปที่ 1 Reserse Osmosis

2. การพัฒนาด้าน Desalination ประเทศที่พัฒนามากเกี่ยวกับ Desalination ได้แก่ สเปน เนื่องจากสถานการณ์บังคับให้ ใช้ระบบนี้ที่เกาะ Canary ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�าคัญแต่ขาดแคลนน�้าสะอาด การพัฒนาเริ่ม 1

สมาชิกสมาคมอุทกวิทยาไทย เลขที่ 03

249


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รูปที่ 2 ความต้องการใช้น�้าทั่วโลก

ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ระยะต่อมาก็ท�าโครงการบริเวณที่แห้งแล้งในภาคใต้ในการผลิตอาหารป้อนยุโรป ปัจจุบนั สเปนท�าโครงการผลิตน�า้ สะอาดจากน�า้ ทะเลมากกว่าประเทศใดๆในยุโรปและท�าให้สเปนมี ประสบการณ์เพิม่ ขึน้ ทัง้ ทางเทคโนโลยี การก่อสร้างและทางบริหาร สเปนมีสว่ นในการร่วมมือสร้าง Desalination Plant ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีผลงานในกว่า 30 ประเทศ ในอเมริกาเหนือและใต้ ออสเตรเลีย แอฟริกาเหนือ เอเชียกลาง อินเดียและในประเทศจีน และปัจจุบันนี้มีบริษัทชั้นยอด ที่ให้บริการทาง Desalination 20 บริษัท จะเป็นของสเปนถึง 7 บริษัท งานที่ส�าคัญๆ มีดังนี้ 1. สร้าง Desalination Plant ทีเ่ มืองบาร์เซโลนาซึง่ ให้บริการน�า้ ดืม่ ถึง 20% ของทัง้ เมือง 2. ร่วมมือกับประเทศออสเตรเลียในการสร้าง Desalination Plant ขนาดใหญ่ที่เมือง Adelaide 3. สร้าง Desalination Plant ที่ Perth ซึ่งสามารถจ่ายน�้าได้ 300,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน 4. สร้างและร่วมปฏิบัติงาน Desalination Plant ในประเทศจีน หลังจากประสพความ ส�าเร็จในประเทศอินเดียและไนจีเรีย 5. ร่วมกับประเทศอิสราเอลในการสร้าง Desalination Plant ที่ใหญ่ที่สุด สามารถจ่าย น�้าได้ 15% ของความต้องการใช้น�้าในปี 2556 6. สร้าง Desalination Plant แก่ประเทศฟิลิปปินส์ ตูนีเซีย และโมร็อกโก 7. แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งได้สร้าง Desalination Plant ที่ Tampa Bay พ.ศ. 2542 แต่ไม่สามารถสร้างเสร็จ ต้องให้บริษัทสเปนมาช่วยสร้างต่อจนเสร็จ โครงการนี้สามารถผลิต น�้าสะอาด 25 ล้านแกลลอนต่อวัน อีกบริษัทหนึ่งของสเปนมีหลายโครงการที่ก�าลังด�าเนินการในรัฐ เทกซัส และจะขยายไปยังรัฐโอกลาโฮมา แอริโซน่าและรัฐแคลิฟอร์เนีย 8. บริษัทสเปนได้เริ่มก่อสร้างโครงการใหม่ในประเทศกานาใน พ.ศ.2555 รัฐบาลของ กานาและจีนได้ร่วมมือกับสเปนในการสร้าง Desalination Plant ส�าหรับโครงการอุตสาหกรรม เจาะน�้ามันในกานาและอุตสาหกรรมบนเกาะในประเทศจีน ส�าหรับในประเทศสเปนเองได้หันมาผลิตเครื่องขนาดเล็กเป็นจ�านวนร้อยเรียงรายตาม ฝั่งทะเล และได้สร้างเครื่องเป็นการทดลองที่ชายฝั่งทะเลทางภาคใต้โดยใช้เทคโนโลยีใหม่ เช่นวิธี Pretreatment ในการก�าจัดสารที่อาจเป็นอันตรายต่อ membrane พ.ศ. 2555 สเปนได้ร่วมมือ กับ MIT ในการใช้ Modeling และ Simulation ของ MIT ซึ่งช่วยให้ประหยัดพลังงานได้สูงสุด 250


Desalination

รูปที่ 3 Desalination Plant ในสเปน

บริษทั ของสเปนเป็นอีกแห่งหนึง่ ได้ทดลองย้ายการผลิตไปยังทะเลลึกแทนวิธรี มิ ชายฝัง่ ทะเลซึง่ ช่วย ประหยัดพลังงานได้ ดังแสดงในรูปที่ 3 Desalination ไม่เพียงแต่ใช้กบั น�้าทะเลเท่านัน้ ยังใช้ได้กบั ชัน้ น�้ากร่อยหรือแม่นา�้ ทีม่ ซี ลั เฟต หรือไนเตร์ตมาก แม่น�้า Llobregat ที่ไหลผ่านเมืองบาร์เซโลน่า ปนเปื้อนด้วยสาร inorganic ซึ่งจะ ท�าให้ membrane reversal system ของ RO (reversal osmosis) เสื่อมเร็ว จึงสร้าง electro dialysis reversal osmosis ที่ใหญ่ที่สุดเพื่อผลักดันให้ ion ของเกลือไปยังขั้ว electrodes ท�าให้ membrane ไม่เสื่อมเร็ว นอกจากนีบ้ ริษทั สเปนยังพบว่า Desalination Plant ในภาคใต้ ยังปรับแต่งน�า้ ให้มคี ณ ุ ภาพ ตามความต้องการของชนิดของพืชที่ปลูก และโครงการนี้ได้น�าไปใช้ในเอเชียกลาง อเมริกาใต้ และ ออสเตรเลีย บริษทั จากบาร์เซโลน่าได้ทดลองโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น Pretreatment ทีใ่ ช้ลกู พลาสติก ลอยเป็นการเพิม่ พืน้ ทีผ่ วิ น�า้ ส�าหรับให้แบคทีเรียขยายตัวไปท�าลายสาร organic ช่วยให้ membrane ไม่เสื่อมเร็ว และช่วยให้ Desalination Plant มีขนาดเล็กลง เป็นการประหยัดเงินในการก่อสร้าง อีกกรรมวิธคี อื ท�าน�า้ ทะเลให้เป็นฟองซึง่ ท�าให้เชือ้ ราลอยขึน้ มาให้กา� จัดได้งา่ ยขึน้ ทางบริษทั ได้ใช้วธิ ี นี้ส�าหรับ Desalination Plant ใหม่ของโครงการเหมืองแร่ในประเทศชิลี นอกเหนือไปจากการท�า Desalination Plant ขนาดใหญ่แล้วก็ยงั ได้ทา� เครือ่ งขนาดเล็กซึง่ ย้ายที่ได้ เช่น ไปในบริเวณที่เกิดภัยธรรมชาติเพื่อผลิตน�้าดื่มให้แก่ผู้ประสบภัย และจัดหาน�้าสะอาด ให้แก่หน่วยทหารสเปนในอัฟกานิสถานและอิรัก เครื่องผลิตดังกล่าวได้ใบรับรองจากกาชาดสากล และสถาบันต่างๆ นอกจากน�้าทะเลแล้วสเปนยังผลิตน�้าประปาจากแม่น�้าและชั้นน�้าให้แก่ประชากรเป็นล้าน ทั่วโลก ขณะนี้ก�าลังก่อสร้างโรงท�าน�้าประปาโดยวิธีธรรมดาในภาคใต้ของอินเดีย บริษัทสเปนยัง 251


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

ได้ท�าน�้าประปามากกว่า 100 โครงการให้แก่ประชากรมากกว่า 20 ล้านคนใน 20 ประเทศ เช่น ในประเทศ เปรู เม็กซิโก ศรีลังกาและโมร็อกโก

3. การบ�าบัดน�้าเสีย ในปัจจุบันนี้มีสารปนเปื้อนต่างๆ เพิ่มขึ้นในน�้าเสีย ได้แก่ ยาฆ่าแมลง ยา และฮอร์โมนซึ่ง ยังคงตกค้างหลังจากการบ�าบัด และปล่อยลงแม่นา�้ ไป และใช้เป็นน�า้ ส�าหรับท�าน�า้ ดืม่ ต่อไป สารบาง ตัวอาจถูกก�าจัดในการท�าน�า้ ประปาหรือน�า้ ดืม่ แต่สารบางตัวไม่อาจก�าจัดโดยการบ�าบัดน�า้ เสีย หรือ ท�าน�า้ ให้บริสทุ ธิ ์ การก�าจัดสารปนเปือ้ นบางตัวต้องใช้เทคโนโลยีสงู จนถึงวันนีก้ ารท�าน�า้ ประปาง่าย มาก ก�าจัดตะกอนแขวนลอย เติมคลอรีนแล้วก็เป็นน�้าประปา แต่จากนี้ไปไม่ง่ายแล้ว การก�าจัดยา ฆ่าแมลงและยาต่างๆ ต้องใช้เทคโนโลยีสูงขึ้นไปอีก หรือใช้ membrane ซึ่งจะท�าให้ค่าใช้จ่ายมาก ขึ้น ทางสเปนก�าลังเริ่มท�าโครงการน�าร่อง แทนที่ใช้คลอรีนใช้วิธี Photo Chemical Oxidation รวมทั้งการใช้ Ozone Ultraviolet Radiation และ Peroxide ไปลดยาฆ่าแมลงและยาต่างๆ ซึ่ง ต้องใช้พลังงานมาก แต่วิศวกรของบริษัทก�าลังหาทางลดการใช้พลังงานให้น้อยลง ในการก�าจัดน�้าเสียตามวิธีทั่วไปโดยท�าให้ตกตะกอน แล้วแยกตะกอนออกจากของเหลว น�าเอาของเหลวไปบ�าบัดต่อโดยวีธีต่างๆ เช่น ใช้แบคทีเรียส�าหรับท�าให้สาร organic สลายไป ส่วน ตะกอนก็น�าไปถมที่ วิธีนี้ไม่ใช่วิธีที่ดีนัก เพราะไม่อาจสลายสารบางอย่างและโลหะซึ่งไม่เหมาะสม ส�าหรับการเพาะปลูก บริษัทจากมาดริด ซึ่งมีหลายผลงาน Desalination น�้าประปาและการก�าจัด น�้าเสียกว่า 17 ประเทศ กล่าวว่าประเทศในเขตร้อนควรใช้เทคโนโลยีต่างออกไปเช่น วิธี Microorganisms ซึ่งเปลี่ยนตะกอนมาเป็นเชื้อเพลิง บริษัทได้เริ่มท�าการทดลองเปลี่ยนจากการตกตะกอน มาใช้ระบบ membrane bioreactor (MBR) โดยใช้เงินสนับสนุนจาก European Union วีธีการ นี้ใช้ membrane เป็นตัวกรอง น�้าที่ผ่าน membrane เรียกได้ว่าเป็น Ultra filter หรือ Micro filter ได้น�้าที่มีคุณภาพสูง ใช้รดสนามหรือสวนสาธารณะ ส่วนตะกอนที่เหลือใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ วิธ ี MBR นีไ้ ม่ได้ความสนใจมากนัก เนือ่ งจากมีราคาค่อนข้างสูง แต่ membrane ได้รบั การ พัฒนาจนราคาถูกลง จึงเริ่มมีการใช้มากขึ้น บริษัทหนึ่งของสเปนได้ใช้ระบบ MBR สร้างโรงกรอง ขนาดใหญ่เป็นแห่งแรก และก�าลังสร้างระบบนี้ในประเทศโอมาน ในอนาคตน�้าเสียจะกลายเป็นทรัพยากร ให้ทั้งน�้าและพลังงาน ทั้งนี้เพราะในน�้าเสียมีทั้ง ฟอสฟอรัสและไนโตรเจนซึ่งเป็นที่ต้องการของการเพาะปลูกและอุตสาหกรรม ทุกวันนี้ไนโตรเจน ส�าหรับท�าแอมโมเนียท�ามาจากอากาศซึ่งต้องใช้พลังงานมาก แต่ในน�้าปัสสวะมีไนโตรเจน 90% ในประเทศที่มีทรัพยากรน�้าน้อยไม่ควรทิ้งน�้าเสียและใช้ประโยชน์ได้ บริษัทหนึ่งก�าลังหาวิธีที่จะดึง ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสมาใช้ประโยชน์ และก�าลังท�าโครงการน�าร่องส�าหรับโรงงานที่ผลิตมันฝรั่ง ทอดที่ภาคใต้ของสเปน โดยใช้ระบบใหม่ในการฆ่าเชื้อในตะกอนและท�าลายสารปนเปื้อน 252


Desalination

ในขณะเดียวกันอีกบริษัทหนึ่งได้ร่วมมือกับวิศวกร MIT สหรัฐอเมริกาในการใช้พลังงาน สารอินทรีย์ให้ได้ความร้อนและความดันสูงในการดึงน�้าจากตะกอนให้เป็นตะกอนคล้ายทรายและ ปลอดสารพิษ และได้เริ่มโครงการน�าร่องที่ Seville ในการทดสอบเทคนิคดังกล่าว

4. Desalination แบบพกพา นักวิจัยที่ MIT และที่ประเทศเกาหลี ได้ร่วมมือกันในการพัฒนาเทคโนโลยี Desalination แบบพกพาใช้พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์หรือแบตเตอรี ่ เครือ่ งมือนีจ้ ะดึงเอาไวรัส แบคทีเรีย สารต่างๆ รวมทัง้ เกลือออกไป สามารถจ่ายน�า้ ดืม่ ส�าหรับครอบครัวหรือหมูบ่ า้ นเล็กๆได้ แม้จะออกแบบส�าหรับ ฉุกเฉิน แต่อาจใช้ส�าหรับหมู่บ้านห่างไกล ในประเทศที่ก�าลังพัฒนา เทคนิคใหม่นี้ใช้ปรากฏการณ์ ion concentration polarization ในการแยกเกลือและ เชื้อโรคจากน�้า น�้าทะเลจะไหลผ่าน microchip ใน micro channel ซึ่งจะแยกเป็น 2 แขนง ตรง จุดแยกน�้าที่ไหลจะต่อกับ nano channel หุ้มด้วย ion selective membrane ท�าด้วย nofian ซึ่งเป็น polymer เทียม เมื่อกระแสไฟผ่าน membrane ก็จะเกิด electrostatic barrier ผลักดัน เอาเกลือและเชือ้ โรคไปทางหนึง่ และให้นา�้ สะอาดไหลไปอีกทางหนึง่ โดยน�า้ เค็มไม่ผา่ น membrane จึงไม่ท�าให้ membrane เชื่อมเร็ว ขบวนการนี้เป็นแบบ microscopic scale จึงได้น�้าบริสุทธิ์เพียง เล็กน้อย แต่ถ้าจัดเรียง 1,600 units เข้าด้วยกันเป็นแผ่นกลมขนาด 20 เซ็นติเมตร ก็จะผลิตน�้า บริสุทธิ์ได้ 18 ลิตรต่อชั่วโมง ทั้งหมดเมื่อบรรจุลงในภาชนะขนาดเล็กซึ่งตอนบนมีที่ส�าหรับเทน�้า ทะเลลงไปข้างล่างมีรู 2 รูส�าหรับให้น�้าบริสุทธิ์ลงรูหนึ่ง และน�้าที่ปนเปื้อนลงรูหนึ่ง ผู้ออกแบบกะ ว่าจะผลิต 100 เครื่องเป็นการทดลองว่าใช้การได้ micro unit ดังแสดงในรูปที่ 4

รูปที่ 4 Micro Unit

253


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

5. Nanopore Desalination Desalination ส่วนใหญ่จะใช้วธิ ี “reversal osmosis” ในการขับดันน�า้ ทะเลผ่าน membrane ซึ่งเกลือผ่านไปไม่ได้ แต่ขบวนการนี้สิ้นเปลืองพลังงานและใช้เวลานาน นักวิจยั ที ่ MIT ใช้ graphene ซึง่ มีรเู ล็กจนน�า้ ทะเลผ่านไปไม่ได้ แต่นา�้ ทีม่ อี ณูเล็กกว่ารูจงึ ผ่านไป ได้ ส่วนเกลือผ่านไปไม่ได้ วิธนี ใี้ ช้พลังงานน้อยกว่าและน�า้ ไหลผ่านรูเหล่านัน้ ได้เร็วกว่า ดังแสดงในรูปที่ 5

6. ประเทศไทยกับ Desalination ประเทศไทยยังไม่มี Desalination plant เพราะยังไม่มีความจ�าเป็นที่จะต้องใช้ แต่ใน อนาคตเมือ่ ทรัพยากรน�า้ เริม่ ขาดแคลน โดยเฉพาะเมือ่ มีภยั แล้ง เช่นเมือ่ พ.ศ.2537 เมือ่ น�า้ ทะเลเข้าไป ถึง intake ของคลองประปา เคราะห์ดีที่เรามีเขื่อนภูมิพลและสิริกิต์ระบายน�้าลงมาช่วย ประกอบ กันมีฝนตกลงมาด้วย จึงรอดจากการกินน�้ากร่อยไปอย่างหวุดหวิด อย่างไรก็ตามลมฟ้าอากาศ อาจ แปรปรวนจากภาวะโลกร้อน เกิดฝนตกหนักท�าให้น�้าท่วมหรือภาวะฝนแล้งติดต่อกัน 2-3 ปี เมื่อ นั้นเราก็มีความจ�าเป็นที่จะต้องใช้บริการ Desalination มาช่วยท�าให้น�้าบริสุทธิ์ และบ�าบัดน�้าเสีย อย่างมีคุณภาพ บริเวณที่ต้องใช้บริการนี้คงจะเป็นที่เกาะใหญ่ๆ ที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว เช่น ภูเก็ต เกาะสมุย เกาะพงัน และเกาะช้างเป็นต้น

รูปที่ 5 Nanopore Desalination

เอกสารอ้างอิง 1. MTI technology Review 2013 2. MTI technology Review 2012 3. MTI technology Review 2010 254


ประสบการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับงานด้านอุทกวิทยา

ประสบการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับงานด้านอุทกวิทยา ดร.สุบิน ปิ่นขยัน

ค�าน�า ผมขอแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผม ที่ไม่เกี่ยวกับงานด้านอุทกวิทยา คือ งานการเมือง ของประเทศไทย ในช่วงที่ผมเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และรัฐมนตรีสังกัดพรรคกิจสังคม ในปี พ.ศ. 2526 - 2534 โดยมีท่านอาจารย์ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นหัวหน้าพรรคคนแรกและ พล อ.อ. สิทธิ เศวตศิลา เป็นคนที่สอง ผมในฐานะสมาชิกพรรคฯ กรรมการบริหารพรรคฯ และรัฐมนตรีรว่ มรัฐบาลหลายกระทรวง ในนามของพรรคฯ ได้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในรูปแบบต่าง ๆ ภายในพรรคฯ และต่อ สาธารณชน เมื่อ 27 ปีก่อน ซึ่งผมเห็นว่าประเทศไทยไม่ได้ผ่านปัญหาเดิม ๆ เลย ผมจึงอยากจะ มอบปัญหาเหล่านี ้ เพือ่ คนรุน่ ใหม่ได้รบั ทราบและช่วยกันหาทางแก้ไข เพือ่ ให้ประเทศผ่านพ้นระดับ ประเทศก�าลังพัฒนา ไปสู่ประเทศพัฒนาในอนาคตอันเร็วไว

สส.ไปร่วมงานชาวบ้านกับหัวหน้าพรรคกิจสังคม

สส.ไปร่วมงานกิจกรรมกับชาวบ้าน

บทความที่ 1 : เราต้องการอะไรจากรัฐบาล1 ปัญหาใหญ่ซึ่งรัฐบาลก�าลังเผชิญหน้าอยู่ในขณะนี้ มิใช่มีแต่เพียงเพื่อหาทางลดช่องว่าง ระหว่างคนร�่ารวยและคนยากจนเท่านั้น แม้ว่าปัญหานี้รัฐบาลจะได้รับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 1

พิมพ์ในวารสารพรรคกิจสังคม 6 กันยายน 2529

255


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

มาแล้วอย่างกว้างขวางก็ตาม รัฐบาลยังประสพปัญหาทางสังคมอีกอย่างหนึง่ คือ สังคมอันประกอบ ไปด้วยคนทีม่ อี ายุแตกต่างกันอีก กล่าวคือสังคมจะต้องมีเด็กเล็กตัง้ แต่เริม่ เกิด คนหนุม่ คนสาว ผูใ้ หญ่ และคนแก่ที่ท�าอะไรไม่ได้ ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าเราจะไม่ผ่านชีวิตเหล่านี้ ชีวิตมนุษย์เราช่างสั้นเหลือ เกิน เมือ่ เปรียบเทียบกับโลกและระบบสุรยิ จักรวาล ในช่วงทีม่ นุษย์มชี วี ติ อยูน่ นั้ เขาควรจะมีชวี ติ อยู่ อย่างน่าพึงพอใจบ้างตามสภาพของแต่ละบุคคล ฉะนั้นเราต้องยอมรับความส�าคัญของคนทุก ๆ วัย เพราะโลกเราจะมีคนหนุ่มคนสาวหรือผู้ใหญ่ จะขาดเด็กและคนแก่ไม่ได้ สังคมซึ่งประกอบด้วยคน หลายวัย จะมีความสุขและความพอใจกันทั่วหน้าได้ รัฐบาลจะต้องจัดการให้แต่ละกลุ่มคนเหล่านี้ ให้ได้รับสิ่งที่เขาต้องการโดยทั่วถึงกัน สถานการณ์บ้านเมืองขณะนี้ คนส่วนมากมีความรู้สึกว่าไม่ทราบหรือสามารถคาดคะเนได้ ว่าอนาคตบ้านเมืองของเราจะเป็นอย่างไร เราต้องการเห็นรัฐบาลพร้อมทีจ่ ะแสดงออกมาว่าอนาคต ของประเทศและของคนไทยจะเป็นอย่างไร ผู้เยาว์หมายถึง เด็ก นักเรียน นิสิตนักศึกษา และรวมถึงผู้พึ่งส�าเร็จการศึกษาเป็นจ�านวน มาก มองเห็นสังคมไทยเราด้วยความสิ้นหวัง มองไม่เห็นอนาคตของตนเองและประเทศชาติ มอง เห็นญาติพี่น้อง และรุ่นพี่จากสถาบันการศึกษาแห่งเดียวกัน เรียนจบแล้วไม่มีงานท�า ฉะนั้นรัฐบาล จะต้องให้ความหวังแก่ผู้เยาว์เหล่านี้ว่าอนาคตของเขาเมื่อจบการศึกษาแล้ว เขาจะมีงานท�า มีราย ได้ สามารถที่จะมีครอบครัว และด�ารงชีวิตต่อไปได้เหมือนกับผู้อื่น ผูใ้ หญ่หมายถึง ผูซ้ งึ่ พ้นจากวัยเยาว์ จะต้องมีชวี ติ ต่อไปอีก บางคนมีงานท�า รับราชการหรือ ประกอบอาชีพต่าง ๆ และมีคนจ�านวนไม่นอ้ ยทีไ่ ม่มงี านท�า รัฐบาลจะต้องรีบแก้ไขปัญหาคนว่างงาน ให้เร็วทีส่ ดุ กลุม่ คนทีม่ งี านท�าแล้ว รัฐบาลต้องให้การสนับสนุนและความเป็นธรรมแก่เขา มีนโยบาย และจุดยืนที่แน่นอน ผู้เฒ่าหมายถึง ผู้ปลดเกษียณอายุ บางคนมีลูกหลานเลี้ยงดู หรือมีรายได้ประจ�าเป็นของ ตนเอง บุคคลเหล่านีไ้ ม่นา่ จะเป็นห่วง แต่ยงั มีคนกลุม่ ใหญ่ทแี่ ก่อายุแล้วไม่มผี อู้ ปุ การะ ฉะนัน้ รัฐบาล จะต้องช่วยเหลือเลี้ยงดูเขาพอสมควรกับฐานะของรัฐบาล สิ่งที่กล่าวมานี้เป็นเพียงแต่ความต้องการของสังคมไทยในขณะนี้ และเชื่อว่าเมื่อรัฐบาล จัดการให้ได้ตามสิง่ ทีก่ ล่าวมานี ้ ความต้องการของสังคมไทยอาจเปลีย่ นแปลงไปอีก จะเห็นได้วา่ การ บริหารประเทศ เพื่อให้ประชาชนทุกคนทุกวัยอยู่เย็นเป็นสุขทั่วหน้ากันนั้น จึงไม่ง่ายนัก ฉะนั้นเรา จึงจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี “รัฐบาลที่มีประสิทธิภาพ”

บทความที่ 2 : ขณะนี้เราต้องการรัฐบาลที่มีเสถียรภาพ2 รัฐบาลทีด่ ตี ามค�าจ�ากัดความแล้วก็คงจะลอกจากต�ารามากล่าวในทีน่ ไี้ ด้โดยไม่มใี ครโต้แย้ง แต่สถานการณ์บา้ นเมืองซึง่ เป็นอยูข่ ณะนี ้ คิดว่าเราต้องการรัฐบาลทีม่ เี สถียรภาพก่อนสิง่ อืน่ ใด ทัง้ นี้ 2

พิมพ์ในวารสารพรรคกิจสังคม 26 กรกฎาคม 2529

256


ประสบการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับงานด้านอุทกวิทยา

ไม่ได้หมายความว่าสิง่ อืน่ ๆ ไม่สา� คัญ กล่าวคือรัฐบาลทีป่ ราศจากคอร์รปั ชัน่ รัฐบาลทีม่ คี วามสามารถ และรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพ ก่อนอืน่ เราควรจะพิจารณาและศึกษาดูสาเหตุวา่ ท�าไมรัฐบาลจึงขาดเสถียรภาพ ใครเป็นต้น เหตุ บ่อเกิด และเป็นผู้ท�าให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพ สาเหตุเหล่านี้มีด้วยกันหลายประการคือ เช่น มาจากกลุ่มพลัง กฎหมู่อยู่เหนือกฎหมาย การแทรกซึมและบ่อนท�าลายของฝ่ายที่คิดตรงกันข้าม กับรัฐบาล แต่ประการส�าคัญทีส่ ดุ ซึง่ จะท�าให้รฐั บาลล้มครืนลงก็คอื ความแตกแยกของสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎร ผู้ที่ดลบันดาร และคุมชะตาของรัฐบาล จะให้อยู่หรือจะให้ไปทั้งนี้เพราะรัฐธรรมนูญ ให้สิทธิของ ส.ส. ที่จะยอมให้รัฐบาลบริหารประเทศหรือไม่ไว้วางใจให้ลาออก ดังนั้น ส.ส. แต่ละ ท่านจึงมีพลังมากมหาศาล ไม่แพ้รัฐมนตรีที่มีความส�าคัญในการบริหารประเทศ ขอให้เราคิดย้อนหลังไปถึงการเลือกตั้งว่า ส.ส. เป็นจ�านวนไม่น้อยที่ได้ลงทุน เสียค่าใช้จ่าย ในการหาเสียงเลือกตั้ง ได้ให้ค�ามั่นสัญญากับราษฎรจะท�าสิ่งต่าง ๆ ถ้าตนเองได้เป็นผู้แทน บางราย อาจมีหนีส้ นิ ล้นตัว เมือ่ เป็น ส.ส. แล้วค่าใช้จา่ ยประจ�าก็มไี ม่นอ้ ยเลย นอกจากค่าใช้จา่ ยส่วนตัว และ ครอบครัวแล้ว ยังจะต้องใช้จา่ ยในการงานกุศล ท�าบุญ และสังคม เช่น ต้อนรับเพือ่ นฝูง ราษฎร และ สิ่งที่เป็นรายการใหญ่ก็คือ หัวคะแนนเก่า โดยทั่วไปแล้ว ส.ส. จะไม่ปฏิเสธการเรี่ยราย และจ่ายเงิน เพือ่ กิจกรรมดังกล่าวมานี ้ เพราะไม่ตอ้ งการให้คนอืน่ เข้าใจว่าตนเองขีเ้ หนียว ไม่เอาเพือ่ นฝูง ถ้าไม่ทา� ก็กลัวจะไม่ได้รบั เลือกในสมัยหน้า ทีก่ ล่าวมานีไ้ ม่ได้หมายถึง ส.ส. ทุกท่าน ส.ส. ทีด่ กี ม็ แี ต่ไม่ทราบว่า มีจา� นวนเท่าไร ดังนัน้ จึงจะเห็นได้วา่ ค่าใช้จา่ ยประจ�าเดือนของ ส.ส. แต่ละท่านสูง โดยเฉลีย่ แล้วคิด ว่าจะต้องเกินกว่าเงินเดือนที่ได้รับคือ 15,000 บาท เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ส.ส. ที่ไม่มีรายได้นอกเหนือ ไปจากเงินเดือนตนแล้วก็เดือดร้อนและเป็นสิ่งธรรมดาที่จะต้องดิ้นรนหาทางที่จะมีรายได้เพิ่มเติม วิธีการของ ส.ส. ประเภทนี้คงเป็นที่ปรากฏให้เราเห็น ซึ่งไม่จ�าเป็นต้องมาบรรยายไว้ในที่นี้ ส.ส. อีกประเภทหนึ่ง ซึ่งได้รับเลือกมาโดยการทุ่มเทเงินจ�านวนมากในการเลือกตั้ง เมื่อได้ มีโอกาสเข้ามาเป็น ส.ส. แล้ว ยังทุม่ เทเงินลงทุนต่อไปอีกในการใช้จา่ ยเพือ่ สร้างบารมีและความเป็น ลูกพีใ่ นหมูเ่ พือ่ น ส.ส. ด้วยกัน เพือ่ ต้องการ การสนับสนุนให้เป็นรัฐมนตรี เชือ่ ว่าการลงทุนของ ส.ส. ประเภทนี ้ ส่วนมากมักจะคิดถอนทุนเมือ่ ตนเองมีโอกาส เมือ่ วิธกี ารแต่งตัง้ รัฐมนตรีโดยได้รบั อิทธิพล จาก ส.ส. ประเภททุ่มเงินซื้อเสียงของราษฎร และของเพื่อน ส.ส. เอง ก็เป็นที่แน่นอนเหลือเกินเรา จะได้รัฐมนตรีที่ต้องการหาผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าที่จะท�าประโยชน์ให้ส่วนรวม ส.ส. ที่ดีบางคนได้รับความไว้วางใจจากประชาชนหลายสมัย หรือทุก ๆ สมัยที่มีการเลือก ตัง้ โดยทีท่ า่ น ส.ส. เหล่านัน้ ไม่ได้ใช้จา่ ยเงินในการหาเสียงอย่างฟุม่ เฟือย ท่าน ส.ส. ประเภทนีม้ กั จะ มีคุณสมบัติดีเด่นเป็นพิเศษ เช่นเป็นนักพูด นักด่าและนักอภิปรายในสภาผู้แทน เป็นปากเสียงและ ตัวแทนของราษฎรอย่างจริงใจ แต่บางท่านมีความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการท�างาน น้อยไม่เหมาะส�าหรับบริหารประเทศทีจ่ ะต้องรับผิดชอบต่อกิจกรรมและประชาชนเป็นจ�านวนมาก แต่ในฐานะ ส.ส. อาวุโสของพรรคการเมือง ที่มีโอกาสจัดตั้งรัฐบาล ท่านจึงมีสิทธิที่จะได้ต�าแหน่ง 257


วารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

รัฐมนตรี โดยทางพรรคการเมืองไม่ได้คา� นึงถึงความรู ้ ความสามารถของท่านว่าจะสามารถปฏิบตั งิ าน และรับผิดชอบกับต�าแหน่งที่ได้รับมอบหมายได้และดีเพียงไร ประชาชนเลือกท่านเหล่านี้เข้ามา เป็น ส.ส. ประชาชนไม่ได้เลือกท่านมาเป็นรัฐมนตรี เชื่อแน่เหลือเกินว่า ถ้าท่านเหล่านี้สมัครมาเป็น รัฐมนตรี คะแนนเสียงทีจ่ ะได้รบั การสนับสนุนจากประชาชนก็คงจะไปในทางตรงกันข้าม เราไม่ควร โทษ ส.ส. เหล่านี้ แต่เราน่าจะคิดถึงระบบการจัดตั้งรัฐบาล คุณสมบัติของรัฐมนตรี และหน้าที่ของ ส.ส. ถ้าทุกคนตั้งแต่ผู้สมัคร ส.ส. และประชาชนที่จะไปเลือก ส.ส. ทราบก่อนว่า เราเลือก ส.ส. เพื่อ ท�าหน้าทีอ่ ะไรบ้าง เราเลือก ส.ส. ให้มาท�าหน้าทีอ่ อกกฎหมาย เป็นตัวแทนของเรา และควบคุมการ บริหารงานของรัฐบาล ไม่ใช่เลือกท่านเข้ามาเพื่อคอยบีบรัฐบาล ให้ท�าตามความประสงค์ของท่าน เองและพรรคพวก เพราะถือว่าพรรคพวกของท่านเอง มีเสียงมากพอที่จะมีก�าลังต่อรองกับรัฐบาล ถ้ารัฐบาลไม่ทา� ตามค�าขอร้องของท่าน ๆ ก็วางแผนล้มรัฐบาล เหตุการณ์เช่นนีเ้ กิดมาทุกยุคทุกสมัย ของรัฐบาลที่ต้องคอยเอาใจ ส.ส. และขณะนี้ก�าลังเกิดขึ้นในรัฐบาลปัจจุบันบ้านเมืองเราจะเจริญ ก้าวหน้าไปได้อย่างไรเมื่อทุกคนไม่ท�างาน คอยแต่กลัวจะถูกล้มเอาวันใดวันหนึ่งก็ได้ รัฐบาลที่ไม่มีเสถียรภาพ รัฐบาลเปลี่ยนไปทุก ๆ 6 เดือน หรือหนึ่งปี สิ่งที่รัฐบาลเก่าเคยท�า ไว้ทงั้ ๆ ทีบ่ างอย่างเป็นสิง่ ทีด่ แี ละปฏิบตั มิ าแล้วอย่างได้ผลก็ถกู ยกเลิกและพยายามท�าขึน้ มาใหม่ แต่ ถ้าพิจารณาให้ดีแล้ว บางอย่างก็ต้องกลับสู่ของเดิม ท่านรัฐมนตรีเหล่านี้ท่านท�าเพื่อต้องการแสดง ให้ประชาชนทราบว่าสิ่งที่ท่านท�านั้นคือของใหม่ แต่เบื้องหน้าเบื้องหลังนั้นจะไม่ขอกล่าวถึง สิ่งที่ กล่าวมานีท้ �าให้การพัฒนาและการบริหารประเทศระยะยาวไม่ได้รบั การสนใจจากรัฐบาล และไม่มี การวางแผนด�าเนินการ สถานการณ์บา้ นเมืองเราก็เป็นอย่างทีเ่ ราประสพอยูท่ กุ วันนี ้ เพราะไม่มใี คร กล้าท�าอะไร ทั้งนี้รวมถึงประชาชน พ่อค้า นักลงทุน ข้าราชการ และตลอดจนถึงนักการเมือง และ ผู้บริหารประเทศ ลองมาพิจารณากรุงเทพมหานคร ซึ่งมีพลเมือง 4 ล้านเศษ ถ้าจะเรียกว่าประเทศก็พอจะ อนุโลมได้ กรุงเทพมหานครมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการเมื่อประมาณ 1 ปีมาแล้ว เราได้ผู้ว่าราชการ พร้อมกับรองผู้ว่าราชการเป็นคณะอีก 4 ท่านมาบริหาร กทม. ตามกฎหมายให้อยู่ได้ 4 ปี สังเกต ได้ว่าท่านเหล่านี้ตั้งหน้าตั้งตาท�างานเหลือเกิน มีการวางแผนการท�างานทั้งระยะสั้นและระยะยาว (ระยะยาวส่วนมากเป็นระยะไม่เกิน 4 ปี) ไม่ต้องไปเอาใจสมาชิก กทม. และสร้างบารมีต่อท่าน สมาชิกเหล่านั้น เพื่อให้ท่านสมาชิกสนับสนุน เพื่อรักษาต�าแหน่งของตน แต่คณะท่านผู้ว่าราชการ กทม. เอาใจใส่ต่อประชาชนมาก เพราะเป็นหน้าที่ของท่านที่ท่านได้รับมอบหมายจากประชาชน และเพื่ออนาคตของท่านเองในสมัยเลือกตั้งครั้งต่อไป ประเทศไทยมีพลเมือง 40 ล้านเศษ คิดอย่างคร่าว ๆ ก็ประมาณ 10 เท่าของกรุงเทพมหานคร จะเป็นไปได้ไหมว่าเราน่าจะมีการเลือกตั้งนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี เหมือนเราเลือกผู้ว่า ราชการ กทม. และรองผูว้ า่ ราชการอีก 4 ท่าน พร้อม ๆ กับเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เหมือน กับเลือกสมาชิกกรุงเทพมหานคร เพื่อเราจะได้รัฐบาลที่มีเสถียรภาพ มีโอกาสท�างานได้เต็มที่ และ 258


ประสบการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับงานด้านอุทกวิทยา

รัฐมนตรีทุกท่านไม่ต้องคอยรักษาต�าแหน่งของตนเอง โดยสร้างบารมีในหมู่เพื่อน ส.ส. เพื่อคอยค�้า เก้าอี้ของตนเองไว้ ท่าน ส.ส. ทั้งหลายก็ไม่จ�าเป็นต้องทุ่มเทเงินใช้จ่ายในการเลือกตั้ง เพราะเมื่อได้ รับเลือกเข้ามาแล้ว ก็ทราบดีอยู่ว่าไม่สามารถบีบรัฐบาลขออภิสิทธิ์ต่าง ๆ และตลอดจนคอร์รัปชั่น แต่ท่าน ส.ส. ต้องเข้าใจและทราบให้แจ่มแจ้งว่า ประชาชนเลือกท่านเข้ามาท�าหน้าที่นติ บิ ัญญัตเิ ป็น ตัวแทนของราษฎร คอยดูแลและควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล และคอยรักษาผลประโยชน์ของ ประเทศชาติ เมื่อทุกคนนับตั้งแต่ประชาชน ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. และรัฐมนตรีทราบ ถึงหน้าที่และขอบเขตแห่งอ�านาจของตนเอง เชื่อว่าเราจะได้ ส.ส. ที่เป็นตัวแทนของประชาชน อย่างแท้จริง เราจะได้นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีที่มีคุณสมบัติ และความสามารถในการบริหาร ประเทศ และแน่นอนเราจะได้รฐั บาลทีม่ เี สถียรภาพ หวังว่าบทความนีค้ งจะเป็นโอกาสให้ประชาชน แสดงความคิด ทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย เพื่อจะเป็นทางที่จะได้มาซึ่งรัฐบาลที่มีเสถียรภาพต่อไป ในอนาคต

259


มรดกเรื่อง สุขที่แท้จริง ควำมสุขที่แท้จริงไม่ต้องใช้เงินเลย แต่กลับท�ำให้เงินเหลือ

ควำมสุขที่หลอกลวงยิ่งต้องใช้เงินจนเงินไม่พอใช้

ควำมสุขทีแ่ ท้จริงเกิดจำกกำรท�ำงำนด้วยควำมพอใจ จนเกิดควำมสุขเมื่อก�ำลังท�ำงำน

จึงไม่ต้องกำรควำมสุขชนิดไหนอีก

เงินที่เป็นผลของงำนจึงยังเหลืออยู่ ส่วนควำมสุขที่หลอกลวงนั้น

คนท�ำควำมพอใจให้แก่กิเลส ซึ่งไม่รู้จักอิ่มจักพอ เงินจึงไม่มีเหลือ

พุทธทำส อินทปัญโญ

260


รายนามคณะกรรมการ อนุกรรมการ และคณะท�างานสมาคมอุทกวิทยาไทย


รายนามคณะกรรมการ และอนุกรรมการ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย คณะกรรมการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย นายกสมาคม ดร.สุบิน บิ่นขยัน ที่ปรึกษากรรมการ 1. นายรุ่งเรือง จุลชาต 2. นายปราโมทย์ ไม้กลัด 3. ดร.สมิทธ ธรรมสโรช 4. นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ 5. ม.ล.ชนะพันธุ์ กฤดากร 6. ดร.สมศรี อรุณินท์ 7. นางกรณิการ์ ทวีทรัพย์ อุปนายก 1. นายวีระ วงศ์แสงนาค 2. ดร.วีระพล แต้สมบัติ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก นายปรีชา เศขรฤทธิ์ นางศรีสุพร ศรีสุภาพ กรรมการและนายทะเบียน กรรมการและปฎิคม ดร.วจี รามณรงค์ นายประสิทธิ์ ผลวิไล กรรมการและประชาสัมพันธ์ กรรมการและสวัสดิการ ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์ น.ส. สมคิด บัวเพ็ง กรรมการและสาราณียกร กรรมการและกิจการต่างประเทศ นายชูลิต วัชรสินธุ์ ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ กรรมการและเตือนภัยธรรมชาติ ดร.สุทัศน์ วีสกุล กรรมการ 1. นางนพคุณ โสมสิน 2. นายนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล 3. นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา 4. ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย 5. นายสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน์ 6. นายพิสิฐ พุฒิไพโรจน์ 7. นายอดิศักดิ์ ขันตี 8. นายชวลิต จันทรรัตน์ 9. ดร.ชวลิต ชาลีรักษ์ตระกูล 10. ดร.ทองเปลว กองจันทร์ 11. รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ 12. ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ 13 ดร.บัญชา ขวัญยืน 14. นายชัยวัฒน์ ผลพิรุฬห์ 15. ดร.วัชระ เสือดี 16. ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์ 17. นายสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล 18. ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง 19. ดร.เกษม ปิ่นทอง 20. ดร.อมร พิมานมาศ 21. ดร.ธนสิทธิ์ ธรรมศิริโรจน์


รายนามคณะกรรมการ และอนุกรรมการ สมาคมนักอุทกวิทยาไทย คณะอนุกรรมการฝ่ายบริหาร และการเงิน (คณะที่ 1)

ประธาน 1. คุณวีระ วงศ์แสงนาค อนุกรรมการ 2. คุณศรีสุพร ศรีสุภาพ 3. ดร.วจี รามณรงค์ 4. คุณประสิทธิ์ ผลวิไล อนุกรรมการ และเลขานุการ 5. คุณปรีชา เศขรฤทธิ์ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ 6. คุณชัยวัฒน์ ผลพิรุฬห์

คณะอนุกรรมการฝ่ายกิจการ ต่างประเทศ (คณะที่ 3)

ที่ปรึกษา 1. ดร.สมิทธ ธรรมสโรช 2. ม.ล.ชนะพันธุ์ กฤดากร ประธาน 1. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ รองประธาน 2. ดร.สุทัศน์ วีสกุล อนุกรรมการ 3. คุณสมคิด บัวเพ็ง 4. คุณสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน์ คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ (คณะที่ 2) 5. ดร.เสรี ศุภราทิตย์ ที่ปรึกษา 6. คุณพิสิฐ พุฒิไพโรจน์ 1. ดร.วจี รามณรงค์ 7. ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง คณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ ประธาน 1. ดร.วีระพล แต้สมบัติ และกิจกรรมมวลชน (คณะที่ 4) รองประธาน ที่ปรึกษา 2. ดร.บัญชา ขวัญยืน 1. คุณกรณิการ์ ทวีทรัพย์ อนุกรรมการ 2. ม.ล.ชนะพันธุ์ กฤดากร 3. คุณนพคุณ โสมสิน 3. ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย 4. คุณสมคิด บัวเพ็ง ประธาน 5. คุณชวลิต จันทรรัตน์ 1. ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์ 6. ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์ รองประธาน 7. ดร.ทองเปลว กองจันทร์ 2. คุณชวลิต จันทรรัตน์ 8. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ อนุกรรมการ 9. ดร.เสรี ศุภราทิตย์ 3. คุณนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล 10. ดร.สมปอง บุญประเสริฐ 4. ดร.เสรี ศุภราทิตย์ 11. ดร.นุชนารถ ศรีวงศิตานนท์ 5. ดร.ทองเปลว กองจันทร์ 12. ดร.วัชระ เสือดี 6. ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์ 13. ดร.ชวลิต ชาลีรักษ์ตระกูล อนุกรรมการ และเลขานุการ 14. ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์ 7. ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ 15. ดร.เกษม ปิ่นทอง อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการ และเลขานุการ 8. ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง 16. ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ 17. ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง


รายนามคณะกรรมการ อนุกรรมการ และคณะท�างาน สมาคมนักอุทกวิทยาไทย

คณะอนุกรรมการฝ่ายงานสาราณียกร (คณะที่ 5)

อนุกรรมการ 3. คุณปานโชติ กุลวานิช ที่ปรึกษา 4. ดร.อรัญญา เฟื่องสวัสดิ์ 1. ดร.สุบิน ปิ่นขยัน 5. ดร.อักษรา พฤทธิวิทยา 2. คุณรุ่งเรือง จุลชาต 6. ดร.อุมา ศรีบุญเรือง ประธาน 7. คุณรัตนา รัตนจารุรักษ์ 1. คุณชูลิต วัชรสินธุ์ 8. ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ อนุกรรมการ 9. คุณสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล 2. ดร.ยิ่งปลิว ศุภกิตติวงศ์ อนุกรรมการ และเลขานุการ 3. ดร.ชวลิต ชาลีรักษ์ตระกูล 10. คุณผกาวรรณ จุฬามาณี 4. คุณธาดา สุขะปุณพันธุ์ คณะอนุกรรมการฝ่ายเตือนภัยธรรมชาติ 5. ดร.วัชระ เสือดี (คณะที่ 8) 6. ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ และเลขานุการ 1. คุณรุ่งเรือง จุลชาต 7. คุณกษิดิ วิชิตอักษรพงศ์ 2. ดร.สมิทธ ธรรมสโรช อนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ ประธาน 8. ดร.ยุพา ชิดทอง 1. ดร.สุทัศน์ วีสกุล คณะอนุกรรมการฝ่ายจัดหารายได้ อนุกรรมการ (คณะที่ 6) 2. คุณนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล ที่ปรึกษา 3. ดร.วีระพล แต้สมบัติ 1. คุณรุ่งเรือง จุลชาต 4. ดร.ทองเปลว กองจันทร์ 2. คุณเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ 5. คุณอดิศักดิ์ ขันดี 3. คุณสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา 6. ดร.บัญชา ขวัญยืน 4. ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย 7. ดร.เสรี ศุภราทิตย์ ประธาน อนุกรรมการ และเลขานุการ 1. ดร.สุบิน ปิ่นขยัน 8. ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง คณะอนุกรรมการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ อนุกรรมการ 2. คุณเจริญสุข วรพรรณโสภาค (คณะที่ 9) 3. คุณประสิทธิ์ ผลวิไล ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการฝ่ายสวัสดิการและ 1. คุณปราโมทย์ ไม้กลัด สมาชิกสัมพันธ์ (คณะที่ 7) 2. ดร.สมศรี อรุณินท์ ที่ปรึกษา 3. คุณกรณิการ์ ทวีทรัพย์ 1. คุณกรณิการ์ ทวีทรัพย์ ประธาน 2. ดร.วจี รามณรงค์ 1. คุณประสิทธิ์ ผลวิไล 3. คุณเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ อนุกรรมการ ประธาน 2. คุณนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล 1. คุณสมคิด บัวเพ็ง 3. คุณสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน์ รองประธาน 4. ดร.ทองเปลว กองจันทร์ 2. คุณสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน์ อนุกรรมการ และเลขานุการ 5. คุณสมเกียรติ กิจสุวรรณกุล


สําหรับท่านทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงตําแหน่ง ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ กรุณากรอกแบบสอบถามนี้ส่งกลับที่ สมาคมนักอุทกวิทยาไทยเพื่อฝ่ายทะเบียนจะได้แก้ไขข้อมูลสมาชิกฯให้ทันสมัย  ข้อมูลสมาชิก  ชื่อสกุล  ตําแหน่ง  สถานที่ทํางาน  ที่อยู่ทีท่ ํางาน  ถนน ซอย  ตําบลแขวง เขตอําเภอ  จังหวัด รหัสไปรษณีย์  โทรศัพท์  มือถือ  ที่อยู่บ้าน    ถนน  ซอย  ตําบลแขวง  เขตอําเภอ  จังหวัด  รหัสไปรษณีย์  โทรศัพท์  มือถือ       ข้อเสนอแนะ                                      


     

กรุณาส่ง

สํานักงานเลขาธิการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย กรมชลประทาน ถสามเสนเขตดุสิต  กรุงเทพฯ 

ติดแสตมป์ บาท


สมาคมนักอุทกวิทยาไทย

สํานักงานเลขาธิการสมาคมนักอุทกวิทยาไทยกรมชลประทาน๘๑๑ถสามเสนเขตดุสติ กรุงเทพฯ๑๐๓๐ โทรศัพท์๐๒๖๖๙๕๐๕๐๐๒๒๔๑๐๐๒๐๒๙ต่อ๒๒๙๙โทรสาร๐๒๖๖๙๕๐๕๐ 

ใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

                 

ชื่อภาษาไทยนายนางนส ชื่อภาษาอังกฤษ เกิดเมื่อวันที่ เดือน พศ อายุ ที่ทํางาน   ที่ตั้ง  ตําแหน่ง โทรศัพท์ โทรสาร  มือถือ อีเมล์  ที่อยู่สถานที่ตดิ ต่อ   โทรศัพท์ โทรสาร  คุณวุฒิการศึกษา จาก ปีพศ จาก ปีพศ   จาก ปีพศ ความเชี่ยวชาญในงานสาขา   ประสบการณ์การทํางาน      ผลงานทางวิชาการ      มีความประสงค์ขอยื่นใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกสามัญของสมาคมนักอุทกวิทยาลัย  ลงชื่อ 

 



วันที่

ลงชื่อ

 



 

วันที่

 ประกาศณสํานักงานของสมาคมไม่น้อยกว่าวัน

ลงชื่อ 



วันที่ 

เลขาธิการสมาคม 

 

  ปี              

ผู้สมัคร

สมาชิกสามัญผู้รับรอง


     

นําเข้าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการสมาคมฯครั้งที่ ผลพิจารณาการสมัคร  รับเป็นสมาชิกสามัญ  ไม่รับเป็นสมาชิกสามัญ  เหตุผล ลงชื่อ 



วันที่ 

 



 

ผู้ส่งหนังสือแจ้งผล  

เลขาธิการสมาคม

 ทําหนังสือแจ้งผู้สมัครรับทราบผลการสมัครเมื่อวันที่ 

เมื่อวันที่



วันที่

เลขาธิการสมาคม



 ได้รับชําระ   ค่าลงทะเบียนครั้งแรก  บาท   ค่าบํารุงตลอดชีพ  บาท    โดย  เงินสด  เช็คไปรษณีย์เลขที่     ธนาณัติเลขที่ สั่งจ่ายสมาคมนักอุทกวิทยาไทย     โอนเข้าบัญชีสมาคมเงินฝากสะสมทรัพย์บัญชีเลขที่      ธนาคารกรุงเทพสาขาศรีย่าน     อื่นๆระบุ     ลงชื่อ 

ผู้รับเงิน





วันที่

     

   


สมาคมนักอุทกวิทยาไทย

สํานักงานเลขาธิการสมาคมนักอุทกวิทยาไทยกรมชลประทาน๘๑๑ถสามเสนเขตดุสติ กรุงเทพฯ๑๐๓๐ โทรศัพท์๐๒๖๖๙๕๐๕๐๐๒๒๔๑๐๐๒๐๒๙ต่อ๒๒๙๙โทรสาร๐๒๖๖๙๕๐๕๐  

ที่สอท        วันที่  เรื่อง แจ้งผลการสมัครเข้าเป็นสมาชิกสมาคมนักอุทกวิทยาไทย เรียน      

  ตามที่ท่านได้ยื่นใบสมัครเป็นสมาชิกสามัญของสมาคมนักอุทกวิทยาไทยเมื่อวันที่  นั้น    คณะกรรมการสมาคมนักอุทกวิทยาไทยได้พิจารณาแล้ว อนุมัติให้รบั ท่านเป็นสมาชิกสามัญของ สมาคมฯนับตัง้ แต่วันที่   เป็นต้นไป   จึงขอให้ท่านชําระเงินค่าลงทะเบียนครั้งแรกจํานวนบาทหนึ่งร้อยบาทถ้วนและค่าบํารุง สมาคมตลอดชีพบาทหนึ่งพันบาทถ้วนรวมเป็นเงินบาทหนึ่งพันหนึง่ ร้อยบาทถ้วนให้เสร็จ เรียบร้อยภายในวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งนี้โดยวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ 



ชําระเงินสดที่สมาคมอุทกวิทยาไทย



ส่งเช็คไปรษณีย์เลขที่ 



ส่งธนาณัติเลขที่

สั่งจ่ายสมาคมนักอุทกวิทยาไทย

       

  

โอนเข้าบัญชีสมาคมเงินฝากสะสมทรัพย์บัญชีเลขที่  ธนาคารกรุงเทพสาขาศรีย่าน กรุณาส่งสําเนาใบโอนเงินมายังสมาคมฯแฟกซ์

จึงเรียนมาเพื่อทราบ  

    

  

ขอแสดงความนับถือ นายปรีชาเศขรฤทธิ์ เลขาธิการสมาคม


     

กรุณาส่ง

สํานักงานเลขาธิการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย กรมชลประทาน ถสามเสนเขตดุสิต  กรุงเทพฯ 

ติดแสตมป์ บาท


สมาคมนักอุทกวิทยาไทย ขอขอบคุณ

ผู้สนับสนุนการจัดท�าวารสารสมาคมนักอุทกวิทยาไทย


บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�า้ ภาคตะวันออก จ�ากัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดี แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2272-1600 โทรสาร : 0-2272-1601 www.eastwater.com

บริษัท น�้าประปาไทย จ�ากัด (มหาชน) 30/10 หมู่ที่ 12 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ต�าบลไร่ขิง อ�าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 โทรศัพท์ : 0-2811-7526 , 0-2811-7528 โทรสาร : 0-2420-6064 www.thaitap.com

บริษัท เซ้าท์อี๊สท์เอเชียเทคโนโลยี่ จ�ากัด 281 ซอยพานิชอนันต์ (ปรีดีพนมยงค์ 42) สุขุมวิท 71 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพ ฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2713-3888 โทรสาร : 0-2713-3889 E-mail : sectec@seatec.co.th www.seatecgroup.com

บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จ�ากัด 151 ถนนนวลจันทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท์ : 0-2509-9000 โทรสาร : 0-2509-9090 E-mail : teamgroup@team.co.th www.teamgroup.co.th

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด อาคารเดอะปัณณ์ ชั้น 3 125 ถนนคลองล�าเจียก แขวงนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท์ : 0-2943-9600-10 โทรสาร : 0-2943-9611 E-mail : panyaconsult.co.th www.panyaconsult.co.th


บริษัท ซิกม่า ไฮโดร คอนซัลแตนท์ จ�ากัด 22/33 หมู่ที่ 12 ถนนเกษตรนวมินทร์ ซอยสุคนธสวัสดิ์ แขวง/เขต ลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท์ : 0-2713-3888 โทรสาร : 0-2713-3889 E-mail : sectec@seatec.co.th www.seatecgroup.com

บริษัท แอสดีคอน คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด 2782 ลาดพร้าว ซอย 130 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ : 0-2731-1592 โทรสาร : 0-2731-0490, 3744537 E-mail : infoasd@asdecon.com www.asdecon.com

บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จ�ากัด (มหาชน) อาคาร UM ชั้น 18, 9 ถนนรามค�าแหง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ : 0-2719-9555 , 0-2719-9559 โทรสาร : 0-2719-9546 Email : marketing@hemaraj.com www.hemaraj.com

บริษัท มหานคร คอนซัลแตนท์ จ�ากัด เลขที่ 20/13 หมู่ 6 ซอยชินเขต 1/20 ถนนงามวงศ์วาน แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0-2955-5440-43 โทรสาร : 0-2954-1856


คณะผู้จัดท�า 1. ดร.สุบิน 2. นายชูลิต 3. นายกษิดิ 4. ดร.ยุพา 5. นางพุทธิพร 6. นายศักรินทร์ 7. นางมารยาท

ปิ่นขยัน วัชรสินธุ์ วิชิตอักษรพงศ์ ชิดทอง ปราบอักษร นันทะจันทร์ เพชรรัตน์

ที่ปรึกษา สาราณียกร ผู้ประสานงาน ผู้ช่วยประสานงาน ผู้ช่วยประสานงาน ผู้ช่วยประสานงาน ผู้ช่วยประสานงาน

สมาคมนักอุทกวิทยาไทย ส�านักงานเลขาธิการสมาคมนักอุทกวิทยาไทย 811 ถ.สามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2669-4189, 0-2669-5050 0-2241-0020-29 ต่อ 2299 โทรสาร 0-2669-5048



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.