รายงานผลการดำเนินงานของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง ปี 2556

Page 1

รายงานสรุปผลการดาเนินงาน ประจาปี

2556

ของ นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง

นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ โทรศัพท์ 038 – 636105 โทรสาร 038 – 636455 www.nikhomrayong.dsdw.go.th



คำนำ

นิคมสร้างตนเอง เป็นเครื่องมือสาคัญของรัฐบาล ในการแก้ไขปัญหาระบบการถือครองที่ดิน ของประชาชน และเป็นบริการทางสังคมสงเคราะห์รูปแบบหนึ่ง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม โดยการนา ที่ดินของรัฐที่รกร้างว่างเปล่ามาจัดสรรให้กับประชาชน เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่มีที่ดินทากินเป็นของตนเอง หรือมีแต่ไม่เพียงพอในการประกอบอาชีพ แล้วให้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน ก่อให้เกิดความรักความหวงแหน ที่ดนิ แล้วป็นมรดกตกทอดไปสู่บุตรหลาน ทาให้ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ที่ดีตอ่ ไป สาหรับ ผลการดาเนินงานของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง จัดทาเพื่อสรุปผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ สาหรับปรับปรุงการวางแผนปฏิบัติงาน และใช้เป็นข้อมูลสาหรับ เตรียมแผนถอนสภาพของนิคมสร้างตนเอง ซึ่งเป็นเป้าหมายสุดท้ายของงานจัดนิคมสร้างตนเองต่อไป

นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 30 กันยายน 2556


สารบัญ

หน้า ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดระยอง - ประวัติเมืองระยอง - ขนาดที่ตงั้ / การปกครอง - แผนที่จังหวัดระยอง - สถานการณ์ด้านสังคม - สภาพปัญหาทางสังคมและความต้องการของประชาชนจังหวัดระยอง

1 3 4 10 12

ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ / จังหวัดระยอง / นิคมสร้างตนเอง - ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - ยุทธศาสตร์กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ - ยุทธศาสตร์จังหวัดระยอง

19 20 21

ส่วนที่ 3 ข้อมูลทั่วไปของอาเภอนิคมพัฒนา - ขนาดและที่ตงั้ - แผนที่อาเภอนิคมพัฒนา / ลักษณะภูมปิ ระเทศ / สภาพภูมอิ ากาศ - ข้อมูลด้านการปกครอง - ข้อมูลประชากร / ข้อมูลทางเศรษฐกิจ

22 23 24 25

ส่วนที่ 4 ข้อมูลทั่วไปของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง - ความเป็นมาของงานนิคมสร้างตนเอง - วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง - วิสัยทัศน์ / ขั้นตอนการจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง - ลักษณะการจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง - การจาแนกพืน้ ที่ในนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง - การบรรจุสมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง - สภาพเศรษฐกิจ - อัตรากาลังเจ้าหน้าที่ - โครงสร้างการบริหารงานนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง

27 28 29 31 31 32 32 34 35


หน้า ส่วนที่ 5 แผนการดาเนินงานและแผนการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปี 2556 ส่วนที่ 6 ผลการดาเนินงานประจาปี 2556 - งบประมาณ - การดาเนินงานสารวจรังวัดที่ดนิ - การดาเนินงานการออกหนังสือแสดงการทาประโยชน์ (น.ค.3) - การดาเนินงานการจัดทรัพยากรนิคม - การดาเนินงานโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสังคม - การดาเนินการให้ความช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ ภาพกิจกรรมต่างๆ

40 42 43 45 47 61


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดระยอง


1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดระยอง ระยอง....เป็ น จั ง หวั ด ขนาดเล็ ก แห่ ง หนึ่ ง ในภาคตะวัน ออกของประเทศ เป็ น ที่ รู้ จั ก ในปั จ จุ บั น ว่ า เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีผลไม้ชั้นยอด เป็นแหล่งอุตสาหกรรมหลักของประเทศ มีสภาพเศรษฐกิจดี มีรายได้ ต่อหัวประชากรสูงเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ คือ 1,143,740 บาท/ คน ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) เท่ากับ 672,104 ล้านบาท ซึ่งมาจากสาขาการผลิตด้านอุตสาหกรรมและเหมืองแร่ กว่าร้อยละ 92 แต่เดิมจังหวัดระยองเป็นที่รู้จักในฐานะเมืองผลไม้ดีของภาคตะวันออ ไม่ว่าจะเป็นมังคุด ทุเรีย น เงาะ รวมทั้งอาหารทะเลสด แปรรูป กะปิ น้​้าปลา เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศที่เอื้ออ้านวย และสภาพภูมิประเทศ ที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังได้ชื่อว่าเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สวยงาม มีชายหาดยาวสวยเลียบขนานไปกับอ่าวไทย และเกาะสวยงามระดั บ โลก เช่ น เกาะเสม็ ด ที่ รู้ จั ก กั น แพร่ ห ลายท่ า มกลางนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยและ ชาวต่างประเทศฐานเศรษฐกิจที่ส้าคัญของจังหวัด คือ ภาคเกษตรกรรม การท่องเที่ยวและภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูลสรุปจังหวัดระยอง ปี 2553) จั ง หวั ด ระยองเริ่ ม มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเป็ น จั ง หวั ด อุ ต สาหกรรม นั บ ตั้ ง แต่ ค้ น พบก๊ า ซธรรมชาติ ในอ่าวไทยเมื่อปี พ.ศ. 2520 เป็นการเริ่มต้นยุค “โชติช่วงชัชวาล” และเป็นที่มาของ “โครงการพัฒนาพื้นที่ ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก” ( Eastern Seaboard Development Program ) ในปี 2524 ช่วงระยะเวลาเกือบ 30 ปี ท้ า ให้ โ ครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ระยองเปลี่ ย นเป็ น อุ ต สาหกรรมน้ า การท่ อ งเที่ ย วและ เกษตรกรรม ประวัติเมืองระยอง ระยองเริ่มปรากฏ ชื่อในพงศาวดาร เมื่อ ปี พ.ศ.2113 ในรัชสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชาแห่ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา โดยมี ป ระวั ติ ดั้ ง เดิ ม ตามข้ อ สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะก่ อ ตั้ ง เมื อ งขึ้ น เมื่ อ ป ระมาณ พ.ศ. 1500 ยุคที่ขอมมีอ้านาจเฟื่องฟูแถบดินแดนสุวรรณภูมิ นักโบราณคดีได้สันนิษฐานจากหลักฐานที่พบคือ ซากศิ ล าแลงและคู ค่ า ย ที่ ยั ง หลงเหลื อ อยู่ ใ นเขตอ้ า เภอบ้ า นค่ า ย อั น เป็ น ศิ ล ปะการก่ อ สร้ า งแบบขอม โดยในสมั ย โบราณ “ระยอง” มี ช นพื้ น เมื อ งคื อ ชาวซอง ซึ่ ง เป็ น เผ่ า ที่ อ าศั ย อยู่ ก ระจาย โดยทั่ ว ไป ในภาคตะวันออก ในประวัติศาสตร์ตอนหนึ่งได้ กล่าวถึงเมืองระยองในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาระหว่างที่ กรุงศรีอยุธยาใกล้จะเสียแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2 ในสมั ย พระเจ้ า เอกทั ศ น์ ในเดื อ นยี่ ปี พ .ศ.2309 พระยาวชิ ร ปราการ หรื อ พระยาตาก พร้อมไพร่พลประมาณ 500 คน ได้ตีฝ่าวงล้อมทัพพม่า มุ่งสู่ภาคตะวันออกมาหยุดพักไพร่พลที่ เมืองระยอง และได้ปราบปรามคณะกรรมการเมืองที่แข็งข้อยึดเมืองระยองได้จากความสามารถครั้งนั้นทหารจึงยกย่อง สถาปนาพระยาตากขึ้นเป็น "เจ้าตากสิน" เมื่อ พ.ศ. 2310 ณ วัดลุ่มมหาชัยชุมพล เมืองระยอง ก่อนเดินทัพ ไปยังเมืองจันทบุรี เพื่อยึดที่ดินในการกอบกู้อิสรภาพคืนจากพม่าได้ในปี พ.ศ.2113 -/ ตราสัญลักษณ์..........


2

ตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัด เกาะในภาพ คื อเกาะเสม็ด ซึ่ง อยู่น อกฝั่ง ของต้ า บลเพ อ้ า เภอเมื อ งระยอง เป็ น เกาะที่ มี มะพร้าวมาก หาดทรายขาวสะอาดเหมือนน้​้าตาลทราย พลับพลาในภาพ หมายถึง พลับพลาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ให้สร้างไว้เป็นที่ประทับระหว่างเสด็จพระพาสเกาะนี้ คาขวัญประจาจังหวัด

“ผลไม้รสลา อุตสาหกรรมก้าวหน้า นาปลารสเด็ด เกาะเสม็ดสวยหรู สุนทรภู่กวีเอก” สีประจาจังหวัด สีแดง

หมายถึง สีนักสู้ ที่พระเจ้าตากได้กอบกู้ประเทศชาติพักกองทัพที่ใต้ตน้ สะตือ วัดลุ่ม จังหวัดระยอง สีเหลือง หมายถึง สีรักชาติ สีนาเงิน หมายถึง สีแห่งความสดใส สีแห่งความเย็น หมายถึงสีของน้​้าทะเล ซึ่งจังหวัดระยองมีทางติดทะเลยาวไกลถึง 100 กิโลเมตร -/ ต้นไม้ประจ้าจังหวัด...


3 ต้นไม้ประจาจังหวัด

ต้นประดู่

ดอกไม้ประจาจังหวัด

ดอกประดู่

ต้นไม้พระราชทาน

ต้นสารภีทะเล

2. ขนาดและที่ตัง จังหวัดระยองมีพ้ืนที่ประมาณ 3,552 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,220,000 ไร่ ตั้งอยู่ในภาคตะวันออก ของประเทศไทยระหว่างเส้นรุ้งที่ 12-13 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 101-102 องศาตะวันออก ห่างจาก กรุงเทพฯ ประมาณ 179 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับเขตอ้าเภอหนองใหญ่ อ้าเภอบ่อทอง และอ้าเภอศรีราชา ของจังหวัดชลบุรี จดทะเลอ่าวไทย พืน้ ที่ฝงั่ ทะเลยาวประมาณ 100 กิโลเมตร ของอ่าวไทย ติดต่อกับเขตอ้าเภอท่าใหม่ อ้าเภอนายายอาม ของจังหวัดจันทบุรี ติดต่อกับเขตอ้าเภอสัตหีบ อ้าเภอบางละมุง ของจังหวัดชลบุรี -/ แผนที่ท่องเที่ยว...


4

3. สภาพภูมิประเทศ ภูมปิ ระเทศ เป็นที่ราบชายฝั่งที่เกิดจากการทับถมของตะกอนบริเวณแอ่งลุ่มน้​้าระยอง และที่ลาดสลับ เนินเขาและภูเขา มีลักษณะเป็นลอนลูกคลื่นสูงต่้าสลับกันไป โดยมีพื้นที่ ทิวเขา 2 แนว คือ ทิวเขาชะเมาทาง ทิศตะวันออก ซึ่งสูงจากระดับน้​้าทะเล 1,035 เมตร และทิวเขาที่อยู่ประมาณกึ่งกลางของตัวจังหวัดเป็นแนว ยาวจากอ้าเภอเมืองระยองขึน้ ไปทางเหนือจนสุดเขตจังหวัด มีแม่น้าสายสั้นๆ ซึ่งเกิดจากเทือกเขาจันทบุรีและ เทือกเขาบรรทัด ไหลลงสู่อ่าวไทย แม่น้าที่ส้าคัญ ได้แก่ แม่น้าบางประกง แม่น้าจันทบุรี แม่น้าระยอง เป็นต้น ลักษณะชายฝั่งทะเลมีหาดทรายสวยงามและมีเกาะใหญ่น้อยเรียงรายเลียบตามแนวชายฝั่งนับเป็นทรัพยากร การท่องเที่ยวที่ส้าคัญของประเทศ 4. ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดระยองมีลักษณะภูมิอากาศ แบบมรสุมเขตร้อน ลมทะเลพัดผ่านตลอดปี อากาศอบอุ่นไม่ร้อน จัด บริเวณชายฝั่งทะเลเย็นสบาย ในฤดูฝนจะมีฝนตกชุกระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมของทุกปี สามารถ เก็บน้​้าไว้ในอ่างเก็บน้​้าเพียงพอส้าหรับการใช้อุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมได้ตลอดทั้งปี

-/ 5. การปกครองและประชากร...


5 5. การปกครองและประชากร แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 อ้าเภอ โดยประกอบด้วย 54 ต้าบล 439 หมู่บ้าน 80 ชุมชน ส่วนด้านการ ปกครองท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลต้าบล 24 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต้าบล 40 แห่ง ประชากรของจังหวัดระยอง ณ ธันวาคม 2553 มีทั้งสิน้ 626,403 คน เป็นชาย 309,014 คน คิดเป็นร้อยละ 49.33 เป็นหญิง 317,388 คน คิดเป็นร้อย ละ 50.67 ของประชากรทั้งหมด อ้าเภอที่มีประชากรมากที่สุด คือ อ้าเภอเมือง มีจ้านวน 245,921 คน อ้าเภอที่มีประชากรน้อยที่สุด คือ อ้าเภอเขาชะเมา มีจ้านวน 23,324 คน จ้านวนครัวเรือนทั้งจังหวัดรวม 323,056 ครัวเรือน อ้าเภอเมืองระยองมีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด คือ 486.03 คนต่อหนึ่งตาราง กิโลเมตร รองลงมาคือ อ้าเภอบ้านฉาง 261.91 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร อ้าเภอที่มีประชากรหนาแน่นน้อย ที่สุด คืออ้าเภอวังจันทร์ 64.67 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร จากการคาดการณ์ว่าประชากรของจังหวัดระยอง จะเพิ่มเป็น 638,017 คนในปี 2560 แต่ในสภาพความเป็นจริง จังหวัดระยองมีประชากรมากกว่าตัวเลขใน ทะเบียนราษฎร์ไม่ต่้ากว่า 300,000 คน ทั้งนี้เกิดจากการอพยพเข้ามาในแรงงานภาคอุตสาหกรรมและการ บริการ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็วตามการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม 6. สถานที่ท่องเที่ยว 1. ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตะพง

เส้นทางจักรยานท่องเที่ยวตะพง เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ในเขตต้าบลตะพง อ้าเภอเมือง ระยองมีเส้นทางจักรยานท่องเที่ยว ได้แ ก่ เส้นทางที่เริ่มจาก องค์การบริหารส่วนต้าบลตะพงผ่านกลุ่มเกษตร ข้าวกล้อง อ่างเก็บน้​้าห้วยหินดาด และไปสิ้นสุดที่โครงการบ้านปลา โดยองค์การบริหารส่วนต้าบลตะพงมี จักรยานไว้บริการให้นักท่องเที่ยว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วนตะพง โทร. 0 3866 4053 นอกจากนี้ยังมีที่พักแบบโฮมสเตย์อยู่ในสวนปาหนัน หมู่ 3 ต้าบลตะพง อ้าเภอเมืองระยอง อัตราค่าที่ พัก 350 บาท/คน/คืน พร้อมอาหาร 2 มื้อ, บ้านพัก พักได้ 25 คน ราคา 1500 บาท (ไม่รวมค่าอาหาร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สวนปาหนัน โทร. 0 3866 4477, 08 1300 9018 -/ 2. บ้านเพ...


6 2. บ้านเพ

อยู่หา่ งจากตัวเมืองระยอง 19 กิโลเมตร จากถนนสุขุมวิทแยกขวาตรงกิโลเมตรที่ 231 ไป ประมาณ 5 กิโลเมตร หรือแยกขวาตรงกิโลเมตรที่ 238 ประมาณ 3 กิโลเมตร มีร้านขายของพื้นเมืองต่าง ๆ เช่น น้​้าปลา ปลาหมึก กุ้งแห้ง กะปิ ฯลฯ และเป็นที่ตงั้ ของท่าเรือไปเกาะเสม็ด และท่าเทียบเรือประมงด้วย 3.พระเจดีย์กลางนา

ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ 2 กิโลเมตร ใกล้ปากแม่น้าระยอง องค์พระเจดีย์ตั้งอยู่บนเกาะกลางแม่น้า ระยอง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2416 โดยพระยาศรีสมุทรโภคชัยโชค ชิตสงคราม (เกตุ ยมจินดา) เจ้าเมืองระยองคน แรกเป็นผู้สร้าง เจดีย์กลางน้​้า เป็นเจดีย์ก่ออิฐฉาบปูน ทรงระฆัง สูงประมาณ 10 เมตร นี้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของ ชาวเรือว่าได้เดินทางมาถึงเมืองระยองแล้ว ใกล้ ๆ กันยังเป็นป่าชายเลนที่มตี ้นโกงกางหนาแน่น มีสะพานไม้คด เยวเข้าไปด้านใน ปลายสุดของศาลาเป็นจุดชมวิวที่ให้นั่งชมบรรยากาศของปากน้​้าระยอง พอถึงวันเพ็ญเดือน สิบสองของทุกปีจะมีงานประเพณีหม่ ผ้าพระเจดีย์ แข่งเรือยาว และงานลอยกระทง -/ 4. พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่...


7 4. พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดบ้านดอน

ตั้งอยู่ที่วัดบ้านดอน เป็นที่เก็บรักษาตัวหนังใหญ่ จ้านวน 100 ตัว มีอายุมากกว่า 200 ปี ที่น้ามาจาก จังหวัดพัทลุง เมื่อ ปี พ.ศ. 2431 รวมถึงหนังใหญ่ชุดใหม่ที่ใช้แสดงในปัจจุบัน นักท่องเที่ยวที่สนใจจะเข้าชมการ แสดงหนังใหญ่ควรติดต่อก่อนล่วงหน้าประมาณ 3 วัน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 08 5087 0235, 08 9831 6053 5. วัดป่าประดู่

อยู่ในเขตเทศบาลนครระยอง ข้างโรงพยาบาลระยอง ถนนสุขุมวิท เป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้รับการยกฐานะเป็นพระอารามหลวงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 ภายในวัดมีสิ่งที่ น่าสนใจ ได้แก่ วิหารพระปาลิไลยก์ พระปางปาลิไลยก์ เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่อยู่คู่กับวัดนี้เช่นเดียวกับ พระพุทธไสยาสน์ องค์พระสูง 6.02 เมตร ประดิษฐานอยู่ในวิห ารที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2501 พระพุทธ ไสย์ ย าสน์ เป็ น พระพุ ท ธไสยาสน์ ซึ่ ง ประทั บ อยู่ ใ นท่ า นอนตะแคงซ้ า ย องค์ พ ระท้ า ด้ ว ยอิ ฐ ถื อ ปู น เดิมอยู่กลางแจ้ง ต่อมาสร้างวิหารครอบเมื่อปี พ.ศ. 2524 ความยาว 11.95 เมตร โบสถ์ หลังเก่า พระครูสมุทสมานคุณและชาวบ้านร่วมกันสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2449 การก่อสร้างใช้รูปแบบของสถาปัตยกรรม ในยุคสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีหลังคาซ้อนกันสองชั้นประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกา / นอกจากนี.้ ..


8 นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารผสมผสานศิ ล ปกรรมแบบจี น โดยเฉพาะลวดลายปู น ปั้ น ที่ห น้ า บั น ของโบสถ์ การเดินทาง สามารถใช้เส้นทางได้ 2 เส้นทาง เส้นทางแรก จากถนนสุขุมวิท สาย 3 ผ่านตัวเมือง จังหวัดระยองจุดสังเกตคือ ผ่านโรงพยาบาลระยอง โรงเรียนวัดป่าประดู่ แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าซอยถนนป่าประดู่ จะถึงวัดป่าประดู่ เส้นทางที่ 2 จากถนนสาย 36 (บายพาส) ถึงสี่แยกเกาะลอย ให้เลี้ยวขวาเข้าถนนจันทอุดม ผ่านตัวเมืองจังหวัดระยอง พอถึงสามแยกโรงพยาบาลให้เลี้ยวซ้ายเข้าถนนสุขุมวิท สาย 3 ผ่านโรงพยาบาลระยอง โรงเรียนวัดป่าประดู่ แล้วเลีย้ วซ้ายเข้าซอยถนนป่าประดู่จะเห็นวัดป่าประดู่ 6. วัดสารนารถธรรมาราม

อยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 265 ถนนสุขุมวิท ต้าบลทางเกวียน ปากทางเข้าอ้าเภอแกลง แยกซ้ายเข้าไป ประมาณ 1 กิโลเมตร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2488 มีมหาอุโบสถปูชนียสถานที่สวยงาม เป็นสถานที่บรรจุพระบรม สารีริกธาตุและพระพุทธรูป องค์พระประธานจ้าลองมาจากพระพุทธชินราช วัดมหาธาตุ จังหวัดพิษ ณุโลก บริเวณมุมก้าแพงแก้วรอบอุโบสถทั้ง 4 ได้จ้าลองเอาพระพุทธเจดีย์ที่ส้าคัญของแต่ละภาคไว้ คือ พระปฐม เจดีย์ พระธาตุพนม พระเจดีย์พุทธคยาจ้าลอง และพระบรมธาตุไชยา 7. วัดโขดทิมธาราม

ตั้งอยู่ที่ต้าบลท่าประดู่ สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2007 ผูส้ ร้างชื่อทิม เป็นเจ้าเมืองระยองในสมัย นั้น สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ภายในอุโบสถมีภาพจิตกรรมฝาผนัง และหลวงพ่อขาวที่เป็น ที่เคารพสักการะบูชาของชาวระยอง และมีการจัดงานบูชานมัสการประจ้าปี ในวันที่ 13-14 เมษายนของทุกปี -/ 8. ศาลสมเด็จ...


9 8. ศาลสมเด็จกรมหลวงชุมพรฯ

อยู่ตรงข้ามกับทางแยกเข้าอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง ตรงกิโลเมตรที่ 278 เลี้ยวขวา เข้าไปประมาณ 10 กิโลเมตร หรือจะเข้าทางถนนที่เข้าสู่ปากน้​้าประแสร์ก็ได้ ภายในศาลประดิษฐานรูปหล่อ เท่ า องค์ จ ริ ง ของพลเรื อ เอกพระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอกรมหลวงชุ ม พรฯ พระบิ ด าแห่ ง กองทั พ เรื อ ไทย และเป็นที่เคารพสักการะของชาวเมืองระยอง 6. ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

1. งานประเพณีกีฬา-ชิมปลาทะเลนึ่งบ้านฉาง จัดโดยเทศบาลต้าบลบ้านฉาง ช่วงเดือนมีนาคม ณ สนามกีฬาเทศบาลต้าบลบ้านฉาง อ้าเภอบ้านฉางจังหวัด ระยอง 2. งานวันเกาะแก้วพิสดาร เกิดจากความร่วมมือระหว่างสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวและหอการค้าจังหวัดระยอง เพื่อเป็นการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวของจังหวัด โดยจัดขึน้ ในเดือนเมษายน ที่เกาะเสม็ด มีกิจกรรมที่น่าสนใจ เช่น การแข่งขันว่ายน้​้า แข่งขันตกปลา แข่งขันกีฬาทางน้​้า และกีฬาพื้นบ้าน และออกร้านจ้าหน่ายสินค้าพื้นเมือง 3. งานเทศกาลผลไม้และของดีเมืองระยอง เป็นงานเทศกาลประจ้าปีที่จัดในช่วงฤดูผลไม้ ประมาณเดือนพฤษภาคมสถานที่จัดงาน จะสลับหมุนเวียนกัน ระหว่าง อ้าเภอเมืองระยองกับ อ้าเภอแกลง ในงานมีขบวนแห่รถ ประดับด้วยผลไม้ การประกวดผลไม้ ประกวดธิดาชาวสวน การจ้าหน่ายผลไม้และ ผลิตภัณฑ์จากอาหารทะเล ตลอดจนการแสดงนิทรรศการ ด้านเกษตร 4.งานวันสุนทรภู่ จัดเป็นประจ้าทุกปี ในวันที่ 26 มิถุนายน บริเวณอนุสาวรีย์สุนทรภู่ อ้าเภอแกลง มีพธิ ีสักการะอนุสาวรีย์สุนทร ภูใ่ นช่วงเช้า ชมนิทรรศการเกี่ยวกับผลงานและการแสดง ละครในวรรณกรรมของสุนทรภู่ และการแข่งขันอ่าน ท้านองเสนาะ / 5. งานพระเจดีย์...


10 5. งานพระเจดีย์กลางนา เป็นงานประเพณีที่จัดขึน้ เป็นประจ้าทุกปี ในช่วงวันเพ็ญเดือนสิบสอง ณ วัดปากน้​้า อ้าเภอเมือง ในงานมีพธิ ี ห่มผ้าพระเจดีย์กลางน้​้า การแข่งขันเรือยาว การลอยกระทง และการแสดงมหรสพต่าง ๆ 6. งานปีใหม่และงานกาชาด จัดขึน้ ระหว่างปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนมกราคม จัดขึน้ ระหว่างปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนมกราคม บริเวณสนามกีฬากลางจังหวัด ในงานมีการแสดงนิทรรศการของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การ จ้าหน่ายสินค้า 7. งานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและงานกาชาดจังหวัดระยอง วันที่จัดงานปลายเดือน ธ.ค. ถึงต้นเดือน ม.ค. ถือว่าเป็นงานประจ้าปีของชาวระยอง และถือเป็นงานส่งท้ายปี เก่า ต้อนรับปีใหม่ก็ได้ มีการออกร้าน ขายสินค้า อาหาร การแสดงที่น่าสนใจ บริเวณที่จัดงานที่สวนศรีเมือง 8. เทศกาลเที่ยวทะเลหาดบ้านเพ-เกาะเสม็ด จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 6-10 ธันวาคมของทุกปี มีกิจกรรมภายในงานได้แก่ การล่องเรือรอบเกาะเสม็ด มหกรรม อาหารทะเล การประกวดธิดาชาวเล สถานการณ์ด้านสังคม ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออก แบ่งการปกครองออกเป็น 8 อ้าเภอ 58 ต้าบล 388 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลต้าบล 30 แห่ง องค์ก ารบริหารส่วนต้าบล 38 แห่ง มีประชากรชาย 319,869 คน หญิง 329,406 คน รวม 649,275 คน จ้านวนครัวเรือนทั้งหมด 355,245 ครัวเรือน (ข้อมูล ระบบทะเบียนราษฎร์ จังหวัดระยอง ณ เดือนธันวาคม 2555) รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชาชนเพิ่มขึ้น เป็น 1,143,740 บาท/คน/ปี สูงเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ

-/ จังหวัดระยอง...


11 จังหวัดระยอง เป็นจังหวัดที่มีการประกอบอาชีพแบ่งเป็น

4

กลุ่ม ซึ่งจังหวัดระยองมีพื้นที่

- ด้านการเกษตรกรรม 1,512608 ไร่ จากพื้นที่ทั้งจังหวัด 2,220,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 66 ของ พืน้ ที่ทั้งจังหวัด มีครัวเรือนเกษตรจ้านวน 49,377 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 16 ของจ้านวนครัวเรือนทั้งหมด ของจังหวัด พืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ ได้แก่ ยางพารา สัปปะรด มันส้าปะหลัง ข้าว ปาล์มน้​้ามัน อ้อย ผลไม้ต่างๆ และมีผลไม้ที่ข้ึนชื่อประเทศ ได้แก่ ทุเรียน มังคุด เงาะ ล้าไย ลองกอง สละ ฯลฯ - ด้านการประมง เนื่องจากระยองมีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 100 กิโลเมตรเศษ การประกอบอาชีพ ประมงน้​้าเค็มจึงเป็นอาชีพส้าคัญอีกอาชีพหนึ่ง มีทั้งประมงน้​้าจืดและน้​้ากร่อย โดยมีเนื้อที่ท้าการประมงทะเล ประมาณ 1,500,000 ไร่ และมีประมงน้​้าจืดประมาณ 63,080 ไร่ ปัจจุบันมีครัวเรือนท้าการประมง 2,256 ครัวเรือน มีเรือประมงจ้านวน 813 ล้า ท่าเรือประมง 45 ท่า - ด้านการท่องเที่ ยว ระยองมีแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติที่ หลากหลายทั้งน้​้าตก ภูเขา ทะเล เกาะแก่งต่างๆ และ ศิลปวัฒนธรรม ท้าให้มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวจ้านวนมาก แหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยว นิยมมาเที่ยว มี 3

แห่ง คือ เกาะเสม็ด แหลมแม่พิมพ์ และหาดแม่ร้าพึง โดยในปีงบประมาณ 2553

มีจานวนนักท่องเที่ยวทังหมดในและนอกประเทศเข้ามาท่องเที่ยวพักค้างแรมและทัศนาจร จานวน 2,913,241 คน สร้างรายได้ปีละ 15,477 ล้านบาท - ด้ า นการอุ ต สาหกรรม

จั งหวั ด ระยองเป็ น พื้ นที่ ที่ ไ ด้ รับ ความสนใจในการเข้ ามาลงทุ น จาก

ต่างประเทศเป็นอย่างมาก ที่รัฐ บาลก้าหนดให้จังหวัดระยองเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ ชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) และถูกก้าหนดแนวทางการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางแห่งใหม่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 10,000 ไร่ ที่บริเวณต้าบลมาบตาพุด อ้าเภอเมือง จังหวัดระยอง เป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรม ที่ ส้ า คั ญ ๆ คื อ โรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี แ ละอุ ต สาหกรรมปุ๋ ย เคมี เป็ น ต้ น มีจ้านวนนิคมอุตสาหกรรม 8 แห่ง เขตประกอบการอุตสาหกรรม 5 แห่ง ชุมชนอุตสาหกรรม 5 แห่ง สวนอุตสาหกรรม 2 แห่ง มีจ้านวนโรงงานกระจาย อยู่ทั่วพื้นที่ใน 8 อ้าเภอ ของจังหวัดระยอง ประมาณ 1,781 โรงงาน โดยมีโรงงานตั้งอยู่ในเขตอ้าเภอเมืองมากที่สุดถึง 600 โรงงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานไม่ต่้ากว่า 200,000 คน แต่ละกลุ่มอาชีพ ท้าให้เ กิดปัญหาสังคมในจังหวัดระยอง อาทิเช่น ครอบครัวเกษตรทิ้งบุตรหลาน ให้อยู่กับปู่ย่า ตายาย มาท้างานโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มท้างานประมงทั้งประมงน้​้าจืดและประมงทะเล มีแรงงานต่างด้าวเข้ามาท้างานเป็นจ้านวนมากก่อให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ กลุ่มท่องเที่ยวซึ่งมีนักท่องเที่ยว จ า ก ต่ า ง ถิ่ น เ ข้ า ม า จ้ า น ว น ม า ก ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ม ล ภ า ว ะ แ ล ะ ก า ร ล่ อ ล ว ง ค้ า ป ร ะ เ ว ณี -/ ผลพวงของ...


12 ผลพวงของการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม เช่ น เรื่ อ งของการขยายพื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมในผั ง เมื อ ง (Buffer Zone) คือไม่มพี ืน้ ที่กันชนระหว่างพื้นที่อุตสาหกรรมกับพืน้ ที่ชุมชน เรื่องการขยายตัวของประชากรแฝง ส่งผลให้เ กิดปัญหาด้านอื่นมากมาย เช่น ปัญหาการควบคุมโรคระบาด เอดส์ การขาดแคลนที่อยู่อาศัย ชุมชนแออัด มีหอพักเอกชนเกิดขึ้นหลายแห่ง เกิดสถานการณ์รับเลี้ย งเด็กเอกชนจ้านวนมาก เนื่องจาก มี ป ระชากรกลุ่ ม ประชาชนต้ อ งท้ า งานในโรงงานไม่ มี เ วลาในการเลี้ ย งดู บุ ต ร เด็ ก เล็ ก ไม่ ไ ด้ รั บ การดู แ ล ขั้นพื้นฐาน ปัญหาการเพิ่มจ้านวนประชากรที่ไม่มีชื่อ ในทะเบียนราษฎร์ ปัญ หาเรื่องท้อง แท้ง ทิ้ง เกิด ปั ญ หาเรื่อ งของการค้ามนุษ ย์ ซึ่งมี ก ารประมาณการจ้านวนประชากรแฝงไม่ ต่ากว่า 600,000 คน โดยเฉพาะพื้นที่นิคมมาบตาพุด ท้าให้รัฐบาลประกาศให้พื้นที่นิคมมาบตาพุด และบริเวณใกล้เคียงเป็นเขต ควบคุ มมลพิษ

ปัญ หาเรื่องของที่อยู่อาศัย ปัญหาขยะ มลภาวะสิ่งแวดล้อมที่เ กิดจากคน และโรงงาน

อุตสาหกรรม ส่งผลกระทบเรื่องของการใช้บริการทางสาธารณสุข งานทะเบียนราษฎร์ การจัดระเบียบสังคม เป็นต้น ล้วนเป็นประเด็นปัญหาทางสังคมที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันทั้งสิน้ ท้าให้เกิดผลกระทบต่อประชากร ในทุกระดั บของจังหวั ด ตั้งแต่ ครอบครัว (เด็ก เยาวชน สตรี วันแรงงาน คนพิก าร ผู้สูงอายุ ) ชุมชน (กลุ่มผู้น้าทางธรรมชาติ และผูน้ ้าท้องถิ่น องค์กรต่างๆในชุมชน เครือข่ายต่างๆ ) เป็นต้น สภาพปัญหาทางสังคมและความต้องการของประชาชนจังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ได้จัดเก็บข้อมูลประชากรด้านสังคม โดยใช้แบบสอบถามรายงานสถานการณ์ทาง สังคมของท้องถิ่น (อปท.1) เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บประเด็นปัญหาประชากรตามกลุ่มเป้าหมาย และ ประเด็นปัญหาทางสังคมของจังหวัด ซึ่งส้านักตรวจและประมวลผล กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษ ย์ เป็นผู้ก้าหนดเครื่องมือแบบสอบถามดังกล่าว โดยได้จัดเก็ บทุกต้าบล และทุก ปี แล้ว ด้าเนินการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมส้าเร็จรูป ซึ่งเริ่มด้าเนินการตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้จังหวัดมีข้อมูลพื้นฐานด้านสังคมระดับท้องถิ่นรับทราบปัญหาและความต้องการด้านการพัฒนาสังคม ในแต่ละต้าบลและเพื่อบูรณาการข้อมูลทางสังคมระดับต้าบล และจังหวัด สามารถน้าไปใช้เป็นหลักฐาน เครื่องมือในการวางแผน และแก้ไขปัญหาต่อไป สรุ ป จากการเก็ บ ข้ อ มู ล พบประเด็ น ปั ญ หาสั ง คมด้ า นต่ า ง ๆ โดยแบ่ ง ออกเป็ น ปั ญ หาสั ง คมเชิ ง กลุ่มเป้าหมาย และปัญหาสังคมเชิงประเด็นตามมิติความมั่นคงของมนุษย์สรุปเป็นตารางเปรียบเทียบดังนี้

-/ 1. ปัญหาเชิง...


13 1. ปัญหาเชิงกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาเชิงกลุ่มเป้าหมายเปรียบเทียบข้อมูลปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 แยกเป็นปัญหาดังแผนภูมิ 8,000 6,000

่ องการได้ร ับ ปั ญหาสั7,377 งคมเชิงกลุ่มเป้ าหมายทีต้ 7,131 7,060 การพัฒนา 6,127 5,068 4,657

6,607 5,761

3,730

4,000 1,708 1,687 1,398

2,000

1,473 1,308 968

-

ปี 52

ปี 53

ปี 54

2. ปัญหาสังคมเชิงประเด็นสังคม

ปัญหาสังคมเชิงประเด็นสังคมที่ตอ้ งได้รับการพัฒนา เปรียบเทียบข้อมูลปี2552 ปี2553 ปี2554 แยกเป็น ประเด็นเชิงกลุ่มเป้าหมายดังแผนภูมิ 20,000

่ องการได้ร ับการ ปั ญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้ าหมายทีต้ พัฒนา 16,216

15,000 10,000

10,456 9,699 9,604

11,928 8,727

7,570 7,448

5,000 -

11,219

9,460

8,513 6,523

1,901 1,798884

่ อ ทีอยู ่ าศ ัย สุขภาพ และ อนามัย ่ สิงแวดล้ อม

การศึกษา การมีงาน ความไม่ ทาและ ปลอดภัยใน รายได้ ชีวต ิ และ ทร ัพย ์สิน ปี 52 ปี 53 ปี 54


14 จ้านวนผูส้ ูงอายุที่มสี ิทธิรับเงินยังชีพผูส้ ูงอายุ ประจ้าปีงบประมาณ 2556 จังหวัดระยอง (จ้านวนผูส้ ูงอายุที่ ลงทะเบียนภายในเดือนตุลาคม 2555) จานวนผู้สูงอายุ (คน) อาเภอ 60 - 69 70 - 79 80 - 89 90 ขึนไป รวม เมืองระยอง 10,729 6,343 2,176 255 19,503 บ้านฉาง 2,512 1,614 511 56 4,693 แกลง 7,658 4,979 1,832 269 14,734 ปลวกแดง 1,920 1,141 373 37 3,471 บ้านค่าย 3,699 2,564 1,048 154 7,465 นิคมพัฒนา 1,586 955 385 58 2,984 เขาชะเมา 1,207 836 263 28 2,334 วังจันทร์ 1,334 911 310 26 2,581 30,645 19,339 6,898 883 57,765 รวม ข้อมูล : ปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2556

จ้านวนผูพ้ ิการที่มสี ิทธิรับเบี้ยยังชีพของจังหวัดระยอง ประจ้าปีงบประมาณ 2556 (จ้านวนผูพ้ ิการที่ ลงทะเบียนภายในเดือนพฤศจิกายน 2555) อาเภอ

จานวนผู้จานวนผู้พิการที่ได้เบียยังชีพ (คน)

เมืองระยอง บ้านฉาง แกลง ปลวกแดง บ้านค่าย นิคมพัฒนา เขาชะเมา วังจันทร์ รวม

2,304 667 1,793 556 1,160 565 271 368 7,684

ข้อมูล : ปกครองท้องถิ่นจังหวัดระยอง ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2556


15 ตารางแสดงข้อมูลคนพิการจังหวัดระยอง จานวนคนพิการ ชาย หญิง 435 392 902 761 4,121 2,519 133 94 519 441 5 1 9 5 1,773 511 7,897 4,724

ประเภทความพิการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

พิการทางการมองเห็น พิการทางการได้ยินหรือสื่อสารความหมาย พิการทางการเคลื่อนไหว หรือร่างกาย พิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม หรือออทิสติก พิการทางสติปัญญา พิการทางการเรียนรู้ พิการออทิสติก พิการซ้​้าซ้อน รวม

รวม 827 1,663 6,640 227 960 6 14 2,284 12,621

ข้อมูล : ส้านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดระยอง ข้อมูล ณ เดือนกันยายน 2556

แผนภูมิแสดงจานวนผู้พิการจังหวัดระยอง

14 2,284

6

827

1,663

960 227 6,640

ทางการมองเห็น ทางการได้ยนิ หรือสื่อความหมาย ทางการเคลื่อนไหว หรือทางร่างกาย ทางจิตใจหรือพฤติกรรม หรือออทิสติก ทางสติปัญญา ทางการเรียนรู้ ออทิสติก


19 ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ วิสัยทัศน์ : “มุ่งสู่สังคมคุณภาพ บนพืน้ ฐานความรับผิดชอบร่วมกัน” พันธกิจ: 1. 2. 3. 4.

สร้างระบบสวัสดิการให้ประชาชนมีหลักประกัน และมีความมั่นคงในชีวติ พัฒนาคนและสังคมให้มคี ุณภาพ และมีภูมิคมุ้ กันต่อการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้างทุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคม พัฒนาองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนาสังคม

ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การผลักดันให้เกิดสังคมสวัสดิการ 2. การพัฒนาสังคมเข้มแข็ง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 3. การเสริมสร้างพลังทางสังคม 4. การยกระดับขีดความสามารถการบริหารจัดการด้านการพัฒนาสังคม เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้รับสวัสดิการพืน้ ฐานอย่างทั่วถึงเป็นธรรม 2. ประชาชนและสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีภูมคิ ุ้มกัน 3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างสร้างสรรค์ 4. บุคลากรและองค์กรด้านการพัฒนาสังคมมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล

-/ ยุทธศาสตร์...


16 จานวนเด็กและเยาวชนของจังหวัดระยอง ณ เดือนธันวาคม 2554 เด็กแรกเกิด ถึง 17 ปี และเยาวชนอายุตั้งแต่ 18 ปีบริบรูณ์ ถึง 25 ปี (เฉพาะผูท้ ี่มีสัญชาติไทยและมีชื่ออยู่ ในทะเบียนบ้าน) อายุ แรกเกิด - 17 ปี

ชาย (คน) 84,172

หญิง (คน) 80,197

รวม (คน) 164,369

18 ปี - 25 ปี รวม

34,089 118,261

34,662 114,859

68,751 233,120

319,869

329,406

649,275

ประชากรจังหวัดระยอง

ประชากรจังหวัดระยอง แรกเกิด - 17 ปี 18 ปี - 25 ปี

ข้อมูล : จากฐานข้อมูลกลาง กรมการปกครองข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2554 www.dopa.go.th


17 ตารางเปรียบเทียบจ้านวนเด็กและเยาวชนระหว่างปี 2552 ปี 2553 และปี 2554 ของจังหวัดระยอง โดยจ้าแนกตามช่วงอายุ เด็กและเยาวชน (จ้าแนกตามช่วงอายุ) เด็กแรกเกิด - น้อยกว่า 3 ปี 3 ปี - น้อยกว่า 6 ปี 6 ปี - น้อยกว่า 9 ปี 9 ปี - น้อยกว่า 12 ปี 12 ปี - น้อยกว่า 15 ปี 15 ปี - น้อยกว่า 18 ปี 18 ปี - น้อยกว่า 25 ปี รวม

ปี 2552 จ้านวน (คน) 27,397 27,173 24,903 25,811 29,024 26,840 57,539 218,687

ปี 2553 จ้านวน (คน) 27,175 27,655 26,041 25,293 28,880 27,561 68,162 230,767

ปี 2554 จ้านวน (คน) 27,397 27,173 24,903 25,811 29,024 26,840 66,244 227,392

แผนภูมิแสดงจานวนเด็กและเยาวชนระหว่างปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ของจังหวัดระยอง 80,000 60,000 40,000 20,000 0

ปี 2552

ปี 2553 ปี 2554


18 ข้อมูล : ฐานข้อมูลกลาง กรมการปกครองข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2554 www.dopa.go.th

ตารางแสดงจ้านวนและร้อยละของมารดาวัยรุ่นที่คลอดบุตร จังหวัดระยอง พ.ศ.

มารดาทุกอายุ (คน)

อายุต่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์

จ้านวน (คน) เกณฑ์เฝ้าระวังการตังครรภ์กอ่ นวัยอันควร 9,868 51 2553 10,411 46 2552 10,344 63 2551 10,091 43 2550 9,683 55 2549 9,664 59 2548 9,439 56 2547 8,592 33 2546 7,511 35 2545 7,442 25 2544

อายุต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์

ร้อยละ

ร้อยละ

จ้านวน (คน)

0.52 0.61 0.61 0.43 0.57 0.61 0.59 0.38 0.47 0.34

1,589 1,645 1,481 1,646 1,619 1,588 1,534 1,378 1,286 1,281

16.10 15.80 14.32 16.43 16.72 16.43 13.25 16.04 17.12 17.21

ข้อมูล : ระบบรายงานสภาวะการมีบตุ รของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิด ของส้านักบริหารการทะเบียน กรมการ ปกครอง

กราฟแสดงการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น จ้าแนกตามอายุ พ.ศ.2553 จังหวัดระยอง จ้านวน 1,589 ราย 500 450

464

438

400 350

314

จ้านวน (คน)

300 250 200

188

150

134

100 50

43 7

1

0

12 ปี

13 ปี

14 ปี

15 ปี

16 ปี

17 ปี

18 ปี

19 ปี


ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนา


20 ยุทธศาสตร์กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ภายใต้ ระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายพึ่งตนเองได้” ค่านิยมขององค์กร : 1. ความรับผิดชอบต่อสังคม 2. เป็นศูนย์กลางในการให้บริการ 3. การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน 4. การท้างานเป็นทีมและเป็นเครือข่าย 5. การมีจริยธรรม 6. การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน พันธกิจ : 1. ก้าหนด และพัฒนาระบบการจัดบริการทางสังคมให้มีมาตรฐาน 2. ป้องกัน แก้ไข ฟื้นฟู คุ้มครอง และพัฒนาศักยภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดระบบเครือข่าย และประสานให้มีการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ ที่เหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่ 4. พัฒนาระบบการจัดการที่มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และได้มาตรฐาน ประเด็นยุทธศาสตร์ : 1. การพัฒนารูปแบบและวิธีการให้บริการสวัสดิการแก่กลุ่มเป้าหมาย 2. การเสริมสร้างศักยภาพในการด้ารงชีวิตแก่กลุ่มเป้าหมาย 3. การส่งเสริมศักยภาพผูส้ ูงอายุในการใช้ประสบการณ์และภูมปิ ัญญา 4. การส่งเสริมองค์กรเครือข่ายในการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ 5. ส่งเสริมการใช้หลักธรรมาธิบาลในการบริหารองค์กร

-/ ยุทธศาสตร์...


21 ยุทธศาสตร์จังหวัดระยอง วิสัยทัศน์ : “เมืองแห่งคุณภาพชีวติ ที่ดีและเศรษฐกิจที่สมดุล” (City of Good Quality Of life and Balanced Economy) พันธกิจ : 1. พัฒนาฟื้นฟูและบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวของจังหวัดระยองให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมที่มีความปลอดภัยและได้ มาตรฐานสามารถสร้างและขยายโอกาสทางการตลาดได้ 3. สร้างเสริมสังคมระยองให้มีคุณธรรมน้าความรู้ สูก่ ารด้ารงชีวติ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่ได้มาตรฐานด้านความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและ สามารถอยู่รว่ มกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน 5. พัฒนาภาคธุรกิจด้านการขายสินค้าและบริการให้สามารถแข่งขันได้เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้า อาเซียน 6. มีระบบสาธารณูปโภคขั้นพืน้ ฐานรองรับการให้บริหารอย่างมีประสิทธิภาพและระบบการ บริหารงานภาครัฐมีธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ : 1. พัฒนาและฟื้นฟูการท่องเที่ยว (ระยอง) อย่างยั่งยืน 2. ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมที่ได้มาตรฐาน สามารถสร้าง และขยายโอกาสทางการตลาดได้ 3. สร้างเสริมสังคม (ระยอง) ให้มีคุณธรรมน้าความรู้ สู่การด้ารงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมของภูมิภาคที่ได้มาตรฐานด้านความปลอดภัยต่อ สิ่งแวดล้อม และสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนสังคมได้อย่างยั่งยืน

-/ ส่วนที่ 3...


ส่วนที่ 3 ข้อมูลทั่วไปของอาเภอนิคมพัฒนา


22 ส่วนที่ 3 ข้อมูลทั่วไปของอาเภอนิคมพัฒนา ท้องที่อ้าเภอนิคมพัฒนาเดิมเป็นส่วนหนึ่งของอ้าเภอบ้านค่าย ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครอง ออกมาตั้งเป็น กิ่ งอ้าเภอนิค มพั ฒนา ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวั นที่ 26 มิถุ นายน พ.ศ. 2539 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2539 และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ยกฐานะขึน้ เป็น อ้าเภอนิคมพัฒนา โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน พ.ศ.2550 ขนาดและที่ตัง อ้าเภอนิคมพัฒนา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดระยอง มีเนื้อที่ประมาณ 268.50 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 194,241.75 ไร่ แบ่งเป็นรายต้าบล ดังนี้ ตาบล

พืนที่(คิดเป็นตารางกิโลเมตร)

พืนที่ (คิดเป็นไร่)

มาบข่า

57.50

35,931.75

นิคมพัฒนา

57.00

34,372.00

พนานิคม

48.00

58,310.00

มะขามคู่

105.00

65,625.00

รวม

268.50

194,241.75

อาณาเขต - ทิศเหนือ - ทิศใต้

ติดต่อกับ ต้าบลแม่น้าคู้ ต้าบลมาบยางพร อ้าเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ติดต่อกับ ต้าบลห้วยห้วยโป่ง อ้าเภอเมืองระยอง ต้าบลส้านักท้อน อ้าเภอบ้านฉาง และอ้าเภอเมืองระยอง - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลหนองละลอก และต้าบลหนองตะพาน อ้าเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง - ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลเขาไม้แก้ว อ้าเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

คาขวัญประจาอาเภอนิคมพัฒนา “สับปะรดหวานฉ่้า อุตสาหกรรมน้อยใหญ่ เสียงลือไกลหลวงพ่อชื่น”

-/ ลักษณะภูมปิ ระเทศ...


23

ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบและเนินเขามีเทือกเขาที่ส้าคัญ 6 เทือกเขา คือ - เขาจอมแห, เขาหนังยอง อยู่ในเขตต้าบลมะขามคู่ - เขามะพูด อยู่ในเขตต้าบลพนานิคม - เขาหินโค่ง อยู่ในเขตต้าบลนิคมพัฒนา กับต้าบลมาบข่า - เขาทุ่งแฝก , เขาเขลง อยู่ในเขตต้าบลมาบข่า มีพ้นื ที่ป่าไม้จอมแห (เขตป่าไม้สมบัติส่วนกลางของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง) เนื้อที่ 4,552 – 3 – 52 ไร่ อยู่ในบริเวณหมู่ 7 ต้าบลมะขามคู่ มีแหล่งน้​้าธรรมชาติที่ส้าคัญ ได้แก่ คลองชากเจ้าเดียว คลองปลวกแก้ว คลองพลู คลองชากอ้อน คลองลึก คลองเปลงกระทิง คลองไม้ตายเห่า คลองหนองระก้า คลองชากใหญ่ คลองกระเฉด คลองป่าแดง คลองหนองหิน และมีอา่ งเก็บน้​้าดอกกรายอยู่ทางตอนเหนือ สภาพภูมิอากาศ โดยทั่วไปเป็นลักษณะมรสุมเมืองร้อน เนื่องจากมีพืน้ ที่ติดกับชายฝั่งทะเลประกอบกับสภาพพื้นที่มปี ่า เขาเป็นส่วนใหญ่ จึงท้าให้ฝนตกในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายนอยู่เสมอปริมาณน้​้าฝนเฉลี่ย 1,400 มิลลิเมตรต่อปี จะประสบปัญหาฝนทิง้ ช่วง ในห้วงเดือนกรกฎาคม ของทุกปี และปริมาณน้​้าฝนที่ตกมากที่สุด จะอยู่ในห้วงเดือนตุลาคมของทุกปี / ข้อมูลด้าน…


24 ข้อมูลด้านการปกครอง อ้าเภอนิคมพัฒนา แยกจากอ้าเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และ ยกฐานะเป็นอ้าเภอเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 ปัจจุบันประกอบไปด้วย 4 ต้าบล 30 หมูบ่ ้าน คือ 1. ต้าบลมาบข่า จ้านวน 8 หมูบ่ ้าน 2. ต้าบลนิคมพัฒนา จ้านวน 7 หมูบ่ ้าน 3. ต้าบลพนานิคม จ้านวน 8 หมูบ่ ้าน 4. ต้าบลมะขามคู่ จ้านวน 7 หมูบ่ ้าน

การปกครองท้องที่ อ้าเภอนิคมพัฒนา แบ่งการปกครองออกเป็น 4 ต้าบล มีก้านันเป็นผูป้ กครองท้องที่ดังนี้ 1. ต้าบลมาบข่า มี นายสานิต ล้​้าสุทธิ เป็นก้านัน 2. ต้าบลนิคมพัฒนา มี นายพัฒน์ จันมณี เป็นก้านัน 3. ต้าบลพนานิคม มี นายนภดล วรรณเจริญ เป็นก้านัน 4. ต้าบลมะขามคู่ มี นายนาวิน พูลสวัสดิ์ เป็นก้านัน การปกครองส่วนท้องถิ่น พืน้ ที่บางส่วนอยู่ในเขตเทศบาลต้าบลมาบตาพุด (หมูท่ ี่ 5,6,7,8 ต้าบลมาบข่า เป็นบางส่วน) มีหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน 5 แห่ง ได้แก่ เทศบาล 3 แห่ง คือ เทศบาลต้าบลมาบข่า เทศบาลต้าบลมะขามคู่ เทศบาลต้าบลมาบข่าพัฒนา และมีองค์การบริหารส่วนต้าบล 2 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนต้าบลพนานิคม และองค์การบริหารส่วนต้าบลนิคมพัฒนา รายละเอียดดังนี้ 1. เทศบาลต้าบลมาบข่าตั้งอยู่ในพืน้ ที่ หมูท่ ี่ 1,2 (บางส่วน) ต้าบลนิคมพัฒนา หมูท่ ี่ 5,8 (บางส่วน) ต้าบลมาบข่า มี นายอาจิณ อ่้าพุด เป็นนายกเทศมนตรี 2. เทศบาลต้าบลมะขามคู่ ตั้งอยู่ในพืน้ ที่ หมูท่ ี่ 1,7 ต้าบลมะขามคู่ มี นายมนูญ วงษ์ประยูร เป็นนายกเทศมนตรี 3. เทศบาลต้าบลมาบข่าพัฒนา ตั้งอยู่ในพืน้ ที่ หมู่ที่ 1,2,3 ต้าบลมาบข่า หมูท่ ี่ 4,5,6,7,8 (บางส่วน) ต้าบลมาบข่า มี นายสุกิจ จันทร์มณี เป็นนายกเทศมนตรี 4. องค์การบริหารส่วนต้าบลนิคมพัฒนา ตัง้ อยู่ในพืน้ ที่ หมูท่ ี่ 1,2 (บางส่วน) ต้าบลนิคมพัฒนา หมูท่ ี่ 3,4,5,6,7 ต้าบลนิคมพัฒนา มี นายอรุณ อินทร์แก้ว เป็นนายกองค์การบริหารส่วนต้าบล 5. องค์การบริหารส่วนต้าบลพนานิคม ตัง้ อยู่ในพืน้ ที่ หมู่ที่ 1 – หมูท่ ี่ 8 ต้าบลพนานิคม มีนายไพศาล อู่เจริญ เป็นนายกองค์การบริหารส่วนต้าบล / ข้อมูลประชากร...


25 ข้อมูลประชากร ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5

ตาบล นิคมพัฒนา พนานิคม เทศบาลต้าบลมาบข่าพัฒนา เทศบาลต้าบลมะขามคู่ เทศบาลต้าบลมาบข่า รวม

จานวนประชากร ชาย 4,025 3,329 3,340 5,089 3,785

หญิง 3,985 3,495 3,362 5,293 3,793

รวม 8,010 6,824 6,702 10,382 7,578

จานวน ครัวเรือน 5,092 3,160 4,103 6,892 4,780

19,568

19,928

39,496

24,027

** หมายเหตุ : มีประชากรแผงที่เข้ามาอาศัยท้างานโรงงานในพื้นที่ โดยประมาณ 100,000 คน

ข้อมูลทางเศรษฐกิจ อาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่ส้าคัญ ได้แก่ สับปะรด ยางพารา มัน ส้าปะหลัง เงาะ ทุเรียน อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้าง การพานิชยกรรม การค้าขาย และการบริการ ธนาคารพาณิชย์ จ้านวน 6 แห่ง ดังนี้ 1. ธนาคาร กรุงเทพ จ้ากัด (มหาชน) 2. ธนาคาร นครหลวงไทย 3. ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จ้ากัด (มหาชน) 4. ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) 5. ธนาคาร กรุงไทย จ้ากัด (มหาชน) 7. ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จ้ากัด (มหาชน) การเกษตรและกสิกรรม อ้าเภอนิคมพัฒนา มีพ้ืนที่การเกษตรทั้งสิ้น จ้านวน 117,936 ไร่ ประกอบอาชีพ เกษตรประมาณ 4,000 ครัวเรือน จ้าแนกได้ดังนี้ 1. พืน้ ที่ปลูกสับปะรด 59,914 ไร่ 2. พืน้ ที่ปลูกยางพารา 29,485 ไร่ 3. พืน้ ที่ปลูกมันส้าปะหลัง 10,980 ไร่ 4. พืน้ ที่ปลูกมะพร้าว 6,257 ไร่ 5. พืน้ ที่ปลูกพืชผักและผลไม้อ่นื ๆ 11,936 ไร่ -/ พืชที่ท้ารายได้...


26

พืชที่ท้ารายได้หลักให้เกษตรกรอ้าเภอนิคมพัฒนาคือสับปะรด ยางพารา มันส้าปะหลัง ตามล้าดับ ปัญหาที่ ส้าคัญเกษตรกรคือ 1. พืชผลทางการเกษตรราคาตกต่้า ราคาไม่แน่นอนขาดการประกันราคา โดยเฉพาะราคาสับปะรดตกต่้า เกิดขึ้นเป็นประจ้าทุกปี 2. เกษตรกรผูป้ ลูกสับปะรดบางราย ไม่มีที่ดินท้ากินเป็นของตนเอง ต้องเช่าที่ในการปลูกสับปะรด ท้าให้ต้นทุน การผลิตสูงขึ้น 3. ขาดแคลนน้​้าเพื่อการเกษตร ไม่มแี หล่งน้​้าทางธรรมชาติที่เหมาะสม การชลประทานไม่ทั่วถึง เกษตรกรต้อง ซือ้ น้​้าในหน้าแล้ง เพื่อรดน้​้าสับปะรด 4. ราคาที่ดินสูง เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมต้องการที่ดิน เพื่อประกอบโรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่ประกอบ การเกษตรลดน้อยลงเรื่อย ๆ การปศุสัตว์ ในเขตอ้าเภอนิคมพัฒนา ส่วนใหญ่ประชาชนจะท้าการเลี้ยงไก่เนื้อ ไก่พ้ืนเมือง และไก่ไข่กัน มากกว่าประเภทอื่น ๆ รองลงมาได้แก่ สุกร โคเนือ้ เป็ดเทศ เป็นต้น ปัญหาอุปสรรคของการปศุสัตว์ของอ้าเภอนิคมพัฒนา มีดังนี้ 1. พืน้ ที่ท้าการปศุสัตว์ลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่ในการอุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว 2. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการท้าปศุสัตว์ เนื่องจากชุมชนขยายตัวมากขึ้น ปัญหามลภาวะจาก ภาคอุตสาหกรรม 3. ราคาปศุสัตว์ไม่มั่นคง แน่นอนท้าให้เกษตรกรประสบภาวะขาดทุน ราคาอาหารสัตว์สูง ไม่มกี ารประกัน ราคา

-/ ส่วนที่ 4...


ส่วนที่ 4 ข้อมูลทั่วไปของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง


27 ส่วนที่ 4 ข้อมูลทั่วไปของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง

ความเป็นมาของงานนิคมสร้างตนเอง งานนิคมสร้างตนเองเป็นบริการทางสังคมสงเคราะห์รูปแบบหนึ่งซึ่งได้ด้าเนินการมาพร้อมกับการ ก่อตั้งกรมประชาสงเคราะห์ เมื่อปี 2483 โดยรัฐบาลสมัยนั้น (จอมพล ป.พิบูลสงคราม) ได้พิจารณาเห็นว่า ประเทศไทยมีที่ดินรกร้างว่างเปล่าที่ยังไม่ได้ น้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตรอยู่เป็นจ้านวนมาก และ ที่ดินเหล่านั้นมักจะอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดาร ห่างไกลความเจริญจึงเกินความสามารถของประชากรที่จะเข้าไป บุกเบิกท้าประโยชน์เป็นไร่นาและที่อยู่อาศัยได้โดยล้าพัง ในขณะเดียวกันก็มีราษฎรที่ยากจนขัดสนทุนรอน ขาดแคลนที่ดนิ ท้ากินและอยู่อาศัยในภูมิภาคต่างๆ เป็นจ้านวนมากเช่นเดียวกัน ราษฎรเหล่านั้นบางส่วนได้พา กันอพยพย้ายถิ่นเข้าไปประกอบอาชีพที่เสี่ยงอันตรายและมีรายได้ไม่มั่นคงอยู่ในเมืองหลวง บางกลุ่มก็ไป อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดหรือสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ก่อให้เกิดปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมตามมาหลาย ประการ ราษฎรในชนบทบางส่วนก็ได้เข้าไปจับจองหรือบุกรุกที่ดินของรัฐในป่าสงวนโดยพลการกระจายกัน อยู่เป็นหย่อม ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ ท้าให้ยากต่อการพัฒนาและจัดบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้มีนโยบายที่จะน้าที่ดินรกร้างว่างเปล่า มาจัดสรรในรูปของนิคมสร้างตนเองในลักษณะก่อตั้งเป็น ชุมชนใหม่ที่มกี ารวางผังตามหลักการวางผังชุมนุมชนเพื่อใช้นิคมสร้างตนเองเป็นมาตรการสกัดกั้นมิให้ราษฎร อพยพย้ายถิ่ นจากชนบทเข้ ามาประกอบอาชีพในเมื องหลวงหรือเมื องใหญ่และพยายามที่จะกระจายตั ว ประชากรที่อพยพเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ แล้วให้ออกไปตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพเกษตรกรรมในนิคมสร้าง ตนเองอย่างถาวรอีกด้วย เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลดังกล่าว กรมประชาสงเคราะห์จึงได้รับมอบหมายให้ด้าเนินการจัดตั้ง นิคมสร้างตนเองพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี และนิคมสร้างตนเองจังหวัดลพบุรี ขึ้นเป็น รุ่นแรก เมื่อปี พ.ศ.2483 นับเป็นก้าวแรกของการให้บริการสังคมในเรื่องที่ดินแก่ประชาชน -/ ในปีพ.ศ. 2485...


28 ในปี พ.ศ. 2485 รัฐบาลพิจารณาเห็นว่า ความจ้าเป็นในด้านการช่วยเหลือประชาชนในเรื่องที่ดินท้า กินจะต้องขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยล้าดับ จึงได้เสนอร่างพระราชบัญญั ติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พุทธศักราช 2485 ซึ่งต่อมาได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพดังกล่าว รวม 2 ครั้ง เพื่อให้ บทบัญ ญัติต่างๆ ที่ก้าหนดไว้ในกฎหมายมีความเหมาะสมกั บสภาพการณ์ใ นขณะนั้น และเพื่อให้อ้านาจ รัฐบาลด้าเนินการจัดสรรที่ดนิ ช่วยเหลือประชาชนได้มีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น การแก้ไขปรับปรุงครั้งสุดท้าย เมื่อปี พ.ศ.2511 เรียกว่า พระราชบัญญัติจัดที่ดนิ เพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 ซึ่งกรมประชาสงเคราะห์ได้ใช้ หลักในการจัดตั้งและด้าเนินงานนิคมสร้างตนเองต่อมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากการจัดตั้งนิคมสร้างตนเองเพื่อช่วยเหลือราษฎรยากจนขาดแคลนที่ดินท้ากินตามที่ได้กล่าว มาแล้ว การพัฒนาความเจริญ ของบ้านเมืองในสมัย ต่อมาท้าให้ราษฎรต้องประสบปัญหาความเดือดร้อน ในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น ต้องเสียสละการครอบครองที่ดินไปเพราะอยู่ในเขตพื้นที่น้าท่วมเนื่องจากการสร้าง เขือ่ นพลังงานไฟฟ้าและการชลประทาน ต้องละทิ้งที่ดินไปเนื่องจากถูกผู้ก่อการร้ายคุกคาม หรือต้องอพยพ จากพื้นที่อันตรายตามแนวชายแดน เป็นต้น จึงเป็นเหตุให้รัฐบาลในยุคสมัย ต่อมาถือเป็นความจ้าเป็นที่ จะต้องแก้ไขความเดือดร้อนและช่วยเหลือราษฎรดังกล่าว โดยมีมติคณะรัฐมนตรีเป็นการเฉพาะให้มีการ จัดตัง้ นิคมสร้างตนเองขึ้นเพื่อช่วยเหลือจัดสรรที่ดนิ ให้ราษฎรเหล่านั้นตามความจ้าเป็นและเหตุการณ์ วัตถุประสงค์ของการจัดนิคมสร้างตนเอง 1 . เพื่อจัดสรรที่ดนิ ให้ราษฎรเป้าหมายอพยพครอบครัวเข้าไปตั้งถิ่นฐานประกอบอาชีพและอยู่อาศัย ในนิคมสร้างตนเองอย่างเป็นระเบียบและถาวร พร้อมทั้งส่งเสริมให้ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินนัน้ เป็นของตนเอง และเป็นมรดกตกทอดไปสู่บุตรหลาน 2. เพื่อพัฒนานิคมในด้านต่างๆ ให้สมาชิกนิคมมีรายได้และความเป็นอยู่สูงขึ้นมีคุณภาพชีวติ สามารถ ช่วยตนเองและชุมชนได้ 3. เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลในลักษณะโครงการพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีในการแก้ไขปัญหา ทางสังคม เศรษฐกิจการเมืองการปกครอง

-/ ขั้นตอนการจัด...


29 วิสัยทัศน์ “มอบเอกสารสิทธิครบถ้วน ภาคีมีส่วนร่วม พัฒนาคุณภาพชีวิต มุ่งสู่ชุมชนต้นแบบ”

ขันตอนการจัดนิคมสร้างตนเอง 1. การเตรียมการ ได้แก่ การวางโครงการจัดนิคมสร้างตนเองและการจัดหาที่ดินมาด้าเนินการ เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งนิคมสร้างตนเองขึ้นในท้องที่ใด กรมประชาสงเคราะห์จะต้องจัดท้าโครงการ เสนอให้คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติพิจารณาตามประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 20 และเมื่อ คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติพิจารณาเห็นชอบด้วยแล้วจึงน้าเสนอส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพจิ ารณาเพื่อน้าเข้าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติต่อไป 2. การบริหารงานนิคม 2.1 การวางผังนิค ม กรมประชาสงเคราะห์ จะร่วมกับกรมพัฒนาที่ดินท้าการส้ารวจและวิเคราะห์ดิน เพื่อเป็นหลักในการวางผังก้าหนดรายละเอี ยดบริเวณการ ใช้ ที่ ดิ น ที่ ดิ น ทั้ ง หมดจะแบ่ ง ออกเป็ น ที่ ดิ น ท้ า กิ น ที่ อ ยู่ อาศัย และศูนย์ก ลางหมู่บ้าน ที่ส งวนเพื่อใช้ประโยชน์ ร่วมกัน รวมทั้งเป็นสถานที่ราชการของส่วนราชการต่างๆ นอกจากนั้ น ยั ง ต้ อ งสงวนไว้ เ ป็ น พื้ น ที่ ป่ า ส่ ว นกลางตาม ข้อก้าหนดของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติอกี ด้วย 2.2 การบรรจุสมาชิกนิคม กรมประชาสงเคราะห์จะมีประกาศรับสมัครราษฎรเข้าเป็นสมาชิก นิคม โดยมีคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและหัวหน้าส่วน ราชการในท้องที่นั้นร่วมเป็นกรรมการ ราษฎรที่จะเข้าเป็นสมาชิกนิคมต้องมีคุ ณสมบัติตามที่ก้าหนดไว้ใน พระราชบัญญัติจัดที่ดนิ เพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 มาตรา 22 ดังนี้ - มีสัญชาติไทย - บรรลุนิตภิ าวะและเป็นหัวหน้าครอบครัว - มีความประพฤติดแี ละตั้งใจปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ก้าหนด - ขยันขันแข็ง มีร่างกายสมบูรณ์ และสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้ -/ ไม่เป็นคน...


30 - ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ - ไม่มที ี่ดนิ ท้ากินเป็นของตนเอง หรือมีแต่เล็กน้อยไม่พอแก่การประกอบอาชีพ - ไม่มีอาชีพอย่างใดอย่างหนึ่งในขณะนั้นพอแก่การครองชีพ 2.3 การจัด ระเบีย บปกครองในนิคม โดยให้ราษฎรที่ได้รับ การคัดเลือกเข้าเป็นสมาชิก นิคม ท้าการเลือกตั้งหัวหน้าเขตและผูช้ ่วยขึน้ ท้าหน้าที่ดูแลความเป็นอยู่ของสมาชิกนิคม ตลอดจนความเป็นระเบียบ เรียบร้อยในนิคมสร้างตนเอง โดยมีผู้ปกครองนิคมท้าหน้าที่รับผิดชอบ 3 การพัฒนานิคม 3.1 การพัฒนาสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ การสร้างถนน สะพาน จัดแหล่ง น้​้าบริโภคและใช้สอย โดยจัดสร้างระบบชลประทานขนาดย่อย ได้แก่ ฝายน้​้าล้น อ่างเก็บน้​้า บ่อน้​้า สระน้​้า การประปา ไฟฟ้าชนบท รวมทั้งบริการสาธารณะอื่น ๆ เช่น โรงเรียน สุขศาลา สถานีต้ารวจ และย่านการค้า ของชุมชนในนิคม เป็นต้น 3.2 การพัฒนาอาชีพ จะส่งเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจให้เป็นพืชหลักในแต่ละนิคมโดยน้าเทคนิค วิชาการที่เ หมาะสมไปแนะน้าให้แก่ส มาชิก นิคมถึงไร่นาและบ้านเรือนเพื่อเพิ่มผลผลิตทั้งด้านบริ หารและ คุณภาพ จัดหาเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สมาชิกนิคมทั้งในระยะสั้นและระยะยาวนอกจากนี้ยังได้ส่งเสริมด้าน อุตสาหกรรมในครอบครัว เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดเป็นรายได้โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นเป็นหลัก 3.3 การจัด การตลาด ได้แก่ การจัดหาแหล่งซื้อขายและประสานงานกับ ภาคเอกชนให้เ กิด โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตรขึ้นในนิคม จัดให้มีการเปิดตลาดนัดขึ้นในนิคมรวมทั้งการ จัดการให้สมาชิกนิคมรวมตัวกันจัดตัง้ สหกรณ์การเกษตร 3.4 การพั ฒ นาสั ง คม ได้ แ ก่ การพั ฒ นาตั ว สมาชิ ก นิ ค ม จ้ า นวน 751 ราย เนื้ อ ที่ 11,285 ไร่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักปลูกพืชไร่ (สับปะรด, มันส้าปะหลัง) พืชสวนต่างๆ และยางพารา อาชีพรองได้แก่ การเลี้ยงสัตว์ รับจ้างทั่วไป และค้าขาย นิคมฯ ได้ด้าเนินการจัดบริการขั้นพื้นฐาน เช่น ทางคมนาคม การจัด แหล่งน้​้าบริโภคใช้สอยและการเกษตรมีหน่วยปกครองท้องถิ่นและแหล่ง สวัสดิการต่างๆ เช่น สถานีอนามัย โรงเรียน สถานีต้ารวจ สุขาภิบาล ที่ท้าการไปรษณีย์ ไฟฟ้า ประปา สหกรณ์การเกษตร ธนาคาร โรงงานต่าง ๆ รวมทั้ ง มี ชุ ม ชนใหม่ เ กิ ด ขึ้ น มี ก ารจั ด ระเบี ย บชุ ม ชนเป็ น ตลาดกลางและอาคารพาณิ ช ย์ จ้ า หน่ า ยผลิ ต ผล การเกษตรและค้าขาย ซึ่งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชนบท ท้าความเจริญมาสูท่ ้องถิ่น

-/ ลักษณะของการ...


31 ลักษณะของการจัดตังนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง เพื่อจัดที่ดินให้แก่ราษฎรในท้องที่จังหวัดระยอง จังหวัดใกล้เคียงและจังหวัดภาคอื่น ๆ ที่อพยพเข้ามา บุ ก เบิ ก แผ้ ว ถางป่ า เพื่ อ หาเลี้ ย งชี พ และลั ก ลอบการท้ า ไม้ ได้ มี ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ ท้ า กิ น เพื่ อ บรรเทาปั ญ หา การบุกรุกท้าลายป่าไม้ของชาติ พืนที่นิคมสร้างตนเอง ครอบคลุม 8 ต้าบล ในพื้นที่จังหวัดระยอง 1. ต้าบลห้วยโป่ง อ้าเภอเมืองระยอง 2. ต้าบลมาบข่า อ้าเภอนิคมพัฒนา 3. ต้าบลนิคมพัฒนา อ้าเภอนิคมพัฒนา 4. ต้าบลพนานิคม อ้าเภอนิคมพัฒนา 5. ต้าบลมะขามคู่ อ้าเภอนิคมพัฒนา 6. ต้าบลหนองละลอก อ้าเภอบ้านค่าย 7. ต้าบลแม่น้าคู้ อ้าเภอปลวกแดง 8. ต้าบลมาบยางพร อ้าเภอปลวกแดง ที่ตังและอาณาเขตที่ตัง ◦ ทิศเหนือ จดคลองหินลอย คลองระเวิง หมู่บ้านห้วยโป่งหนามมิด หมูบ่ ้านหนองมะปริง ต้าบลแม่น้าคู้ และอ้าเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ◦ ทิศใต้ จดต้าบลห้วยโป่ง เขานั่งยอง คลองซากใหญ่ และต้าบลส้านักท้อน อ้าเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ◦ ทิศตะวันออก จดเขาเขล็ง เขาหินโคร่ง ต้าบลหนองละลอก อ้าเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ◦ ทิศตะวันตก จดเขาห้วยใหญ่ และต้าบลเขาไม้แก้ว อ้าเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี พืน้ ที่ตาม พรก. ประกาศจัดตั้งนิคมฯ จ้านวน 253,556 ไร่ พืน้ ที่ด้าเนินการในปัจจุบัน จ้านวน 253,556 ไร่ การจาแนกพืนที่ในนิคมสร้างตนเอง 1. พืน้ ที่จัดสรรได้ จ้านวน 23,047 แปลง เนือ้ ที่ 203,014 ไร่ 1.1 พืน้ ที่ผังจัดสรร 3,786 ครอบครัว จ้านวน 3,816 แปลง เนือ้ ที่ 88,510 – 0 – 00 ไร่ 1.2 พืน้ ที่ครอบครองเดิม 4,516 ครอบครัว จ้านวน 4,546 แปลง เนือ้ ที่ 112,400 – 0 – 00 ไร่ 1.3 การรับสมัครสมาชิกนิคมฯ และการออกเอกสารสิทธิ จนถึงปัจจุบัน - สมาชิกนิคม ฯ ปัจจุบันมีทั้งหมด 8,562 ราย 8,990 แปลง - สมาชิกนิคมฯ ได้ออก น.ค.3 แล้ว จ้านวน 8,388 ราย - รับสมัครราษฎรเข้าเป็นสมาชิกนิคมฯ จ้านวน 8562 ราย เนื้อที่ 1954,692 ไร่ -/ 2. พืน้ ที่จัดสรร..


32 - สมาชิกนิคมฯ ผังจัดสรร จ้านวน 26 ราย 32 แปลง เนือ้ ที่ 624 ไร่ - สมาชิกนิคมฯ ที่มาจากราษฎรเดิม จ้านวน - ราษฎรเดิมที่ยังไม่เข้ามาสมัครเป็นสมาชิกนิคมฯ จ้านวน 164 ราย เนื้อที่ 7,166 ไร่ 1.4 การรังวัดที่ดินจนถึงปัจจุบัน จ้านวน 8,388 ราย 8,434 แปลง เนื้อที่ 193,120 ไร่ 1.5 ที่ดนิ ยังไม่ได้รังวัด จ้านวน 174 ราย 190 แปลง 7,790 ไร่ 2. พืน้ ที่จัดสรรไม่ได้ เนือ้ ที่ 18,571 – 0 – 36.81 ไร่ 2.1 ป่าไม้ส่วนกลาง 20% จ้านวน - แปลง เนือ้ ที่ - ไร่ 2.2 ที่ดนิ สงวนเพื่อกิจการนิคม เนือ้ ที่รวม 2,920 – 2 – 0.79 ไร่ แบ่งเป็น 2.2.1 อนุญาตให้ส่วนราชการขอใช้ประโยชน์ จ้านวน 37 แปลง เนื้อที่ 1,263 – 0 - 00 ไร่ 2.2.2 อนุญาตให้เอกชนขอใช้ประโยชน์ จ้านวน 2 แปลง เนื้อที่ 50 – 0 - 00 ไร่ 2.2.3 จัดสรรให้กับผูล้ งทะเบียนคนจนตามโครงการ จ้านวน 48 แปลง เนือ้ ที่ 139 – 2 – 86 ไร่ 2.3 ที่สาธารณประโยชน์ประเภทต่าง ๆ จ้านวน - แปลง เนื้อที่ 1,560 – 2 – 36.02 ไร่ 2.4 เอกสารสิทธิประเภท สค.1 โฉนด หรือ นส 3ก, น.ส.ล จ้านวน - แปลง เนื้อที่ - ไร่ 3. ข้อมูลประชากร ประชากรทั้งหมดในนิคมฯ จ้านวน 24,027 ครอบครัว ชาย 19,568 คน หญิง 19,928 คน รวม 39,496 คน จ้านวนสมาชิกทั้งหมด 8,508 ราย - แปลง เนื้อที่ - ไร่ การบรรจุสมาชิก โดยมีรายละเอียดดังนี เป็นสมาชิกครบ 5 ปี พ.ศ. 2555 จ้านวน 88 ราย 101 แปลง เนือ้ ที่ 1,182 – 2 - 8.32 ไร่ เป็นสมาชิกไม่ครบ 5 ปี พ.ศ. 2555 จ้านวน 177 ราย 197 แปลง เนือ้ ที่ 1,136 – 0 – 59.21 ไร่ เป้าหมาย (ในปี พ.ศ. 2556) จ้านวน 50 ราย เนือ้ ที่ 70 – 0 – 00 ไร่ บรรจุแล้ว (ถึงปัจจุบัน) จ้านวน 8,562 ราย เนือ้ ที่ 194,692 ไร่ โดยแบ่งเป็น ผังจัดสรร จ้านวน 3,786 ราย 3,816 แปลง เนือ้ ที่ 88,510 ไร่ ครอบครองเดิม จ้านวน 4,516 ราย 4,546 แปลง เนือ้ ที่ 112,400 ไร่ สภาพเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ อาชีพ การเกษตร ร้อยละ 60 ,อาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 40 การออกหนังสือแสดงการทาประโยชน์ (น.ค. 3) สมาชิกนิคมฯ ปัจจุบัน จ้านวน 8,562 ราย

-/ การออก...


33 การออกเอกสารสิทธิ์ (น.ค. 3) จ้านวน 8,438 ราย 22,985 แปลง เนื้อที่ 225,304 – 3 – 08.12 ไร่ โดยแบ่งเป็น -ผังจัดสรร จ้านวน 3,786 ราย 3,816 แปลง เนือ้ ที่ 202,374 ไร่ -การครองครองเดิม จ้านวน 4,516 ราย 4,546 แปลง เนือ้ ที่ 112,400 ไร่ ยังไม่ได้ออก น.ค. 3 จ้านวน 465 ราย 498 แปลง เนือ้ ที่ 11,385 – 0 – 39.60 ไร่ ด้าเนินการแล้วประมาณ 90% ของสมาชิกนิคมทั้งหมด ผลการออก น.ค. 3 ปี 2556 จ้านวน 93 ราย 101 แปลง เนื้อที่ 505 – 0 – 40.14 ไร่ 4. การออกโฉนดที่ดิน จ้านวน 8,297 ราย 21,487 แปลง เนือ้ ที่ 202,269 ไร่ 5. งานจัดทรัพยากรนิคมฯ ที่ดนิ สงวนเพื่อกิจารนิคมฯ ทั้งหมด จ้านวน 1,354 แปลง เนือ้ ที่ 2,920 – 2 – 0.79 ไร่ แบ่งออกเป็น 1. บริเวณที่ท้าการนิคมฯ จ้านวน 1 แปลง เนือ้ ที่ 30 -0 – 00 ไร่ 2. พืน้ ที่นิคมฯ ให้เช่า จ้านวน 1,354 แปลง เนือ้ ที่ 2,920 – 2 – 0.79 ไร่ แบ่งออกเป็น 2.1 ส่วนราชการ/เอกชน/รัฐวิสาหกิจ จ้านวน 39 แปลง เนือ้ ที่ 592 – 2 - 96 ไร่ 2.2 กิจการพาณิชย์ จ้านวน 921 แปลง เนื้อที่ 30 – 1- -95 ไร่ ผูเ้ ช่า 511 ราย 2.3 อาคารร้านค้าไม้ 2 ชั้น จ้านวน 76 แปลง เนื้อที่ 2 – 0 – 66 ไร่ ผูเ้ ช่า 511 ราย 2.4 เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย จ้านวน 211 แปลง เนือ้ ที่ 159 – 0 – 00 ไร่ ผูเ้ ช่า 105 ราย 2.5 เพื่อเกษตรกรรม จ้านวน 144 แปลง เนือ้ ที่ 1,737 – 0 – 00 ไร่ ผูเ้ ช่า 144 ราย 6 การพัฒนาสาธารณูปโภค ถนนในเขตนิคมฯ จ้านวน 41 สาย 214 กิโลเมตร - ถนนลาดยาง จ้านวน 38 สาย 199.5 กิโลเมตร ถ่ายโอนแล้ว 38 สาย 199.5 กิโลเมตร โอนให้แก่หน่วยงาน องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ส้านักงานทางหลวง ชนบท - ถนนลูกรัง จ้านวน 3 สาย 14.5 กิโลเมตร ถ่ายโอนแล้ว 3 สาย 14.5 กิโ ลเมตร โอนให้แก่หน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


34 7. อัตรากาลังเจ้าหน้าที่นิคมฯ - ข้าราชการ - ลูกจ้างประจ้า - พนักงานราชการ - พนักงานจ้างเหมาบริการ รวม

2 5 6 3 16

คน คน คน คน คน

- / โครงสร้างการ...


35 โครงสร้ างการบริหารงานนิคมสร้ างตนเองจังหวัดระยอง

นางสาวนิภาพร พรหมศิริ ผูป้ กครองนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นายจารี สวนียะ นักพัฒนาสังคมชานาญการ

ฝ่ ายบริ หารงานทัว่ ไป

กลุ่มงานพื้นที่เฉพาะ

นางสาวสารภี บุญร่ วม

งานจัดที่ดินและสมาชิก

ลูกจ้างประจา พนักงานพิมพ์ดีด ชั้น ๓ หัวหน้าฝ่ ายบริ หารงานทัว่ ไป งานธุรการ

งานการเงิน / พัสดุ

สารสนเทศ

งานจัดทรัพยากรนิคมฯ

นายแสงอาทิสตย์ คุณิรัตน์ ลูกจ้างประจา

นางสาวสารภีสบุญร่ วม ลูกจ้างประจา พนักงานพิมพ์ดีด ชั้น ๓

หัวหน้างานจัดที่ดินและสมาชิก

หัวหน้างานจัดทรัพยากรนิคมฯ

นางพัฒนชริ นทร์ ประสานศักดิ์

นางสาวนวรัตน์ พราหมทัศ

นางพัฒนชริ นทร์ ประสานศักดิ์

นางสาวเกิดศิริ สวนียะ

พนักงานราชการ พนักงานคอมพิวเตอร์

นายประไพ รุ่ งจารัส

พนักงานจ้างเหมาบริ การ

พนักงานราชการ พนักงานคอมพิวเตอร์

พนักงานราชการ นักพัฒนาสังคม

เจ้าหน้าที่งานจัดที่ดินและสมาชิก

ลูกจ้างประจา พนักงานบริ การเอกสารทัว่ ไป

เจ้าหน้าที่ธุรการ

หัวหน้าการเงินและบัญชี

เจ้าหน้าที่ระบบข้อมูล

นางอมรพันธ์ พานิชนาวา

เจ้าหน้าที่งานจัดทรัพยากรนิคมฯ

ลูกจ้างประจา เจ้าหน้าที่วิทยุ

นางวีณา มะริ ด

นางสุรียพ์ ร พราหมทัศ

เจ้าหน้าที่งานจัดที่ดินและสมาชิก

พนักงานจ้างเหมาบริ การ

พนักงานราชการ คนงานเกษตร

นายคมสัน ศรี สุทธิ์

คนสวน

เจ้าหน้าที่พสั ดุ

พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่พฒั นาสังคม

นางบุญมาก เสื อพันธุ์

นางสาวปาริ ฉตั ร ขันชารี

พนักงานจ้างเหมาบริ การ

พนักงานราชการ พนักงานบริ การ

คนสวนและแม่บา้ น

ผูช้ ่วยการเงินและบัญชี

เจ้าหน้าที่งานจัดที่ดินและสมาชิก

นายภิรมย์ กิจนพเก้า ลูกจ้างประจา พนักงานขับรถยนต์ เจ้าหน้าที่งานจัดที่ดินและสมาชิก

นายบุญส่ง รดพรม พนักงานราชการ เจ้าพนักงานพัฒนาสังคม

เจ้าหน้าที่งานจัดทรัพยากรนิคมฯ


ส่วนที่ 5 แผนการดาเนินงานและแผนการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปี 2556


36


37


38


39


40


41


ส่วนที่ 6 ผลการดาเนินงานประจาปี 2556


42

ส่วนที่ 6 ผลการดาเนินงานประจาปี 2556 1. งบประมาณที่ได้รับ - งบด้าเนินงาน - งบลงทุน - งบบุคลากร - งบอุดหนุน

จ้านวน 2,065,450.- บาท จ้านวน 770,000.- บาท จ้านวน 679,870.- บาท จ้านวน 450,000.- บาท

2. ผลการดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ตามงบประมาณปี 2556 ของสานักพัฒนาสังคม 2.1 ความก้าวหน้าของการดาเนินงานสารวจรังวัดที่ดิน นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง ได้ด้าเนินการส้ารวจรังวัดการถือครองที่ดินในนิคมสร้างตนเอง ปี 2556 มีก้าหนด 30 วัน ตั้งแต่วันที่ 30 พฤษภาคม 2556 - วันที่ 28 มิถุนายน 2556 โดยมอบหมายให้ นายก้ า พล พิ ม พาภั ย ต้ า แหน่ ง นายช่ า งส้ า รวจช้ า นาญงาน เป็ น ผู้ ด้ า เนิ น การ โดยมีแผนการปฏิบัติงาน ดังนี้.- รังวัดที่ดินเพื่อบรรจุเป็นสมาชิกนิคมฯ จ้านวน 44 แปลง - รังวัดที่ดินเดิมเพื่อออกนค. 3 จ้านวน 31 แปลง - รังวัดเพื่อแก้ไขรูปแปลงที่ดนิ จ้านวน 10 แปลง รวมจานวนแปลง จานวน 85 แปลง ผลการด้าเนินงานตามแผนปฏิบัติการดังกล่าวดังนี้ - รังวัดที่ดินเพื่อบรรจุเป็นสมาชิกนิคมได้ จ้านวน 34 ราย 36 แปลง - รังวัดที่ดินเพื่ออก น.ค.3 ได้ จ้านวน 33 ราย 36 แปลง - รังวัดเพื่อแก้ไขรูปแปลงที่ดนิ ได้ จ้านวน 13 ราย 14 แปลง รวมจานวน จานวน 80 ราย 86 แปลง ปัญหา/อุปสรรค - แนวเขตแปลงที่ดินไม่ตรงกับรายการค้านวณ การรังวัดที่ดิน (รุ่นก่อนปี 2538) - ความล่าช้าในการส่งรายงานค้านวณการรังวัดที่ดิน ข้อเสนอแนะ - มอบให้นคิ มสร้างตนเองตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง พร้อมรายงานกรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการก่อนด้าเนินการหนังสือแสดงการท้าประโยชน์ (น.ค.3) ให้กับสมาชิกนิคม - เร่งรัดให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการส่งรายการค้านวณการรังวัดที่ดินให้นคิ มฯ เร็วขึน้

- / 2.2 ความก้าวหน้า...


43 2.2 ความก้าวหน้าของการดาเนินงานการออกหนังสือแสดงการทาประโยชน์ (น.ค.3) นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง ได้ด้าเนินการออกหนังสือแสดงการท้าประโยชน์ (น.ค.3) ระหว่างเดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 จ้านวน 84 ราย โดยมีเป้าหมายการด้าเนินงานออกหนังสือ แสดงการท้าประโยชน์ในที่ดิน (น.ค.3) จ้านวน 73 ราย ปัญหา/อุปสรรค 1. พืน้ ที่ทับซ้อนในนิคมสร้างตนเอง ยังมีอีกจ้านวนมาก 2. แบบฟอร์มจ้านวนมาก 3. คณะกรรมการตรวจสอบหลักฐานมีไม่เพียงพอ 4. สอบสวนการเป็นทายาทโดยธรรม ตาม ป.พ.พ. (ปค.14) ต้องออกโดยอ้าเภอท้องที่ ตามหนังสือ ที่ พม 0318/ ว17441 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2555 แต่อ้าเภอท้องที่ขอให้สมาชิกนิคมฯ น้าทายาทโดยธรรม ของสมาชิกนิคมฯ ที่ถึงแก่กรรมทุกคนไปสอบสวนด้วย ท้าให้เกิดปัญหา ดังนี้ 1. ไม่ยอมไปอ้าเภอท้องที่ อ้างว่าได้ท้านิติกรรมกับนิคมฯ เรียบร้อยแล้ว 2. เรียกค่าใช้จ่ายจากสมาชิกนิคมฯ ผู้รับสิทธิแทนเพิ่ม ข้อเสนอแนะ 1. ลดและปรับปรุงแบบฟอร์มให้เหมาะสม เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติ และท้าให้กระชับขึน้ 2. เพิ่มคณะกรรมการตรวจสอบให้มากขึ้น 3. ให้มกี ารยกเว้นสมาชิกนิคมฯ รายเก่า ๆ ให้มีการสอบสวนการเป็นทายาทโดยธรรม ตามแบบ ป.พ.พ. (ปค.14) เฉพาะรายที่ขอรับสิทธิแทน ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป

…………………………………………………………………


44

-/ 2.3 ความก้าวหน้า...


45 2.3 ความก้าวหน้าของการดาเนินงานจัดทรัพยากรนิคม 1. เก็บเงินบ้ารุงกิจการนิคม จ้านวน 4,758 ราย เป็นเงิน 2,886,919.- บาท 2. โอนสิทธิอาคารร้านค้าและที่ดนิ สงวน จ้านวน 24 ราย เป็นเงิน 129,286.- บาท 3. จัดเก็บเงิน ค่าหน้าดิน ตลาดสด และตลาดพืชผลทางการเกษตร เป็นเงิน 2,750,5870.01.- บาท 4. ต่อสัญญาการใช้ประโยชน์ที่ดนิ สงวน (การเกษตร) และอาคารร้านค้า/ตึกแถว จ้านวน 260 ราย 5. ต่อสัญญาที่ดินสงวนเพื่อการเกษตรและที่อยู่อาศัย จ้านวน 73 ราย 6. ด้าเนินการแก้ไขปัญหากรณีพิพาทที่ดนิ สงวน จ้านวน 5 ราย ปัญหา/อุปสรรค 1. ประชาชนในพื้นที่นคิ มสร้างตนเองส่วนใหญ่เป็นประชากรที่ย้ายจากจังหวัดอื่น ประกอบ อาชีพในสถานประกอบการอุตสาหกรรม (ท้างานเป็นช่วงเวลา) ท้าให้การจัดเก็บค่าบ้ารุงกิจการนิคมฯ ไม่เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้ 2. ยังมีการบุกรุกในที่ดนิ สงวน โดยไม่ด้าเนินการเช่าพืน้ ที่ตามระเบียบของกรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ 3. ผูข้ ออนุญาตเช่าที่ดนิ สงวนและอาคาร ร้านค้า ไม่มาด้าเนินการต่อสัญญาให้เป็นปัจจุบัน บางรายไม่สามารถติดต่อได้ - ผูเ้ ช่าที่ดนิ สงวน ท้าการซือ้ – ขาย / โอนสิทธิ โดยไม่แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งเตือนการต่อสัญญาอนุญาตเช่าที่ดนิ สงวน อาคารร้านค้า และการจัดเก็บค่าบ้ารุง กิจการนิคมฯ อย่างต่อเนื่อง 2. ประสานผูน้ ้าท้องถิ่นในพืน้ ที่ เพื่อชี้แจงการท้าประโยชน์ในที่ดนิ สงวนและการปฏิบัติตาม ระเบียบที่ก้าหนด 3. ประชุมชีแ้ จงท้าความเข้าใจกับผูเ้ ช่าทุกกรณี ทั้งสิทธิที่พึงได้ และหน้าที่พึงปฏิบัติ

.........................................................................


46

-/ 2.4 ความก้าวหน้า...


47 2.4 ความก้าวหน้าของการดาเนินงานโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสังคม และจัดสวัสดิการสังคมในนิคมสร้างตนเอง ปีงบประมาณ 2556 2.4.1 แต่งตั้งคณะท้างานนิคมสร้างตนเอง และคณะท้างานศูนย์เรียนรู้การพัฒนา สวัสดิการสังคม และภูมปิ ัญญาชาวนิคม 2.4.2 ได้จัดประชุมรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลในชุมชน 2.4.3 ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคัดเลือกพืน้ ที่เป้าหมาย 2.4.4 จัดเวทีค้นหาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย 2.4.5 ประชุมเชิงปฏิบัติการการด้าเนินงานการจัดสวัสดิการชุมชน และการพัฒนาอาชีพ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 2.4.6 การศึกษาดูงานการด้าเนินงานสวัสดิการชุมชน และการพัฒนาอาชีพตามแนว เศรษฐกิจพอเพียงที่ศูนย์เรียนรูส้ วัสดิการชุมชน ต้าบลบ้านพร้าว จังหวัดนครนายก และศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจ พอเพียงบ้านลุงไสว ศรียา ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก 2.4.7 ส่งเสริม / สนับสนุนกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมสินค้า OTOP ตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อให้ประชาชนในนิคมสร้างตนเองมีรายได้ มีอาชีพที่มั่นคง น้าไปสู่การมีหลักประกันทางสังคม และความมั่นคงในชีวิต จ้านวน 2 กลุ่ม ๆ ละ 20,000 บาท รวม 40,000 บาท คือกลุ่มสตรีอาสาพัฒนา บ้านเขามะพูด ต้าบลพนานิคม อ้าเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ OTOP และ กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส่งเสริมอาชีพการผูกผ้าในงานพิธีต่าง ๆ 2.4.8 นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง และส้านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดระยอง ร่วมกันจัดประชุมสรุปบทเรียน ติดตามผลการด้าเนินงาน และจัดท้าแผนปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2557 ปัญหา/อุปสรรค - ประชาชนในพื้นที่นิคมสร้างตนเองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในสถานประกอบการอุตสาหกรรม (ท้างานเป็นช่วงเวลา) ท้าให้ไม่ค่อยมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม - เครือข่าย / อาสาสมัครในพืน้ ที่ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่หลายต้าแหน่ง ในหลายหน่วยงาน ท้าให้ร่วมกิจกรรมได้เต็มที่ ข้อเสนอแนะ สร้างความตะหนักให้สมาชิกนิคมมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึน้ ในนิคม เพื่อน้าไปขยายเครือข่าย ในชุมชนและให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคิด / วิเคราะห์ ร่วมแก้ไขปัญหาในชุมชน ร่วมส่งเสริม และร่วมรับ ผลประโยชน์

......................................................................... -/ โครงการส่งเสริม...


48 โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมในนิคมสร้างตนเอง ปี 2556 กิจกรรมหลักที่ 1 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดสวัสดิการในชุมชน - การเตรียมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 35 คน

- ประชุมเชิงปฏิบัติการภาคีเครือข่ายเพื่อการคัดเลือกพืน้ ที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 30 คน

/ การจัดเวที...


49 - การจัดเวทีค้นหาศักยภาพ กลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 120 คน (รวมประชาคมค้นหาศักยภาพความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมการพัฒนาอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง)


50

แนะน้าตัววิทยากร ประจ้ากลุ่ม

ร่วมกันแสดงความคิดเห็น และเสนอความต้องการในชุมชน

สรุปประเด็นปัญหา อุปสรรค ความต้องการ ข้อเสนอแนะ ภาพรวมในชุมชน

/ การประชุม...


51 - การประชุมเชิงปฏิบัติการการด้าเนินกิจกรรมการจัดสวัสดิการในชุมชน ในพืน้ ที่นคิ มสร้างตนเอง กลุ่มเป้าหมายจ้านวน 85 คน ผู้ ป กครองนิ ค มสร้ า งตนเองจั ง หวั ด ระยอง กล่าวต้อนรับและทักทายผู้เข้าร่วมประชุม พร้อม ทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ และรายละเอียด ของการด้าเนินโครงการฯ

- คุณปรีชา ภู่พันธ์ วิทยากรจากส้านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดระยอง ให้ความรู้ เรื่อง “พระราชบัญญัติสง่ เสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2554 - คุ ณนิตยา พลีพ รหม วิท ยากรให้ความรู้เ รื่อง “สวัสดิก ารชุมชน กั บการพัฒนาที่ยั่ งยืนของคนในชุมชน” - เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน / การศึกษาดูงาน...


52 - การศึกษาดูงานการด้าเนินงานสวัสดิการชุมชน ต้าบลบ้านพร้าว อ้าเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก จ้านวน 15 คน


53 - การจัดประชุมชี้แจงภารกิจ และการสนับสนุนกลุ่มสตรีอาสาพัฒนา บ้านเขามะพูด ด้าเนินการพัฒนา บรรจุภัณ ฑ์ OTOP เพื่อ เพิ่มมูล ค่ าสินค้า และกลุ่ มอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษ ย์ ส่ ง เสริ ม อาชี พ การผู ก ผ้ า ในงานพิ ธี ต่ า ง ๆ รวมถึ ง ประชาสั ม พั น ธ์ ศู น ย์ ช่ ว ยเหลื อ สั ง คม OSCC ในชุ ม ชน ให้ อ าสาสมั ค รพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ใ นเขตพื้ น ที่ นิ ค มสร้ า งตนเอง จ้ า นวน ๗๐ คน ในวั นอาทิตย์ที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ ณ ศูนย์เ รีย นรู้ชุมชนบ้านเขามะพูด หมู่ที่ ๔ ต้าบลพนานิคม อ้าเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง

คุ ณ กนกวรรณ สิ ง ห์ ก าล หั ว หน้ า บ้ า นพั ก เด็ ก และ ครอบครัว จัง หวั ด ระยอง บรรยายให้ค วามรู้เ กี่ ย วกั บ ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม oscc


54

เ ว ที ก า ร ป ร ะ ชุ ม ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ด้ า เ นิ น ง า น ก อ ง ทุ น ส วั ส ดิ ก า ร ชุ ม ช น และการจั ด ท้ า แผนปฏิ บั ติ ง าน ปี 2557 โดย นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง ร่วมกับ ส้ า นั ก งานพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คง ของมนุษย์จังหวัดระยอง

-/ กิจกรรมหลัก...


55 กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสวัสดิการสังคมและภูมิปัญญาชาวนิคม - การจัดเตรียม ค้นหาข้อมูล ภูมิปัญญาชาวนิคมสร้างตนเองในพื้นที่

สัมภาษณ์สมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นายกุ่ย พงษ์รักษา จ้านวนที่ดนิ 1 แปลง เนื้อที่ 24 ไร่

สัมภาษณ์สมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นายทวน ประดับรัตน์ จ้านวนที่ดนิ 2 แปลง เนื้อที่ 48 ไร่


56

สัมภาษณ์สมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นางบุญลาภ หนูอุดม จ้านวนที่ดนิ 1 แปลง เนื้อที่ 24 ไร่

สัมภาษณ์สมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นางบุญชม ข้าคล้า จ้านวนที่ดนิ 1 แปลง เนื้อที่ 24 ไร่


57

สัมภาษณ์สมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นายนิน คงเจริญ และนายกุ่ย พงษ์รักษา จ้านวนที่ดนิ 3 แปลง เนือ้ ที่ 72 ไร่

สัมภาษณ์สมาชิกนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง นายวิเชียร เอี่ยมสอาด จ้านวนที่ดนิ 1 แปลง เนื้อที่ 24 – 2 - 85 ไร่

-/ มุมศูนย์การเรียน...


58 - มุมศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสวัสดิการสังคมและภูมิปัญญาชาวนิคมในนิคมสร้างตนเอง

-/ กิจกรรมหลัก...


59 กิจกรรมหลักที่ 3 การพัฒนาอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง - การประชุมเชิงปฏิบัติการการด้าเนินกิจกรรมการการพัฒนาอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จ้านวน กลุ่มเป้าหมาย 50 คน

ผู้ ป กครองนิ ค มสร้ า งตนเอง จั ง หวั ด ระยอง กล่ า วต้ อ นรั บ ทั ก ทายผู้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม พร้ อ มทั้ ง ชี้ แ จง วัตถุประสงค์โครงการ และรายละเอียดของ การด้าเนินโครงการฯ

วิทยากรจากส้านักงานอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง ให้ความรู้เรื่องการพัฒนา ผลิตภัณฑ์

/ ศึกษาดูงาน...


60 - ศึกษาดูงานศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านลุงไสว ศรียา ต้าบลหินตั้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครนายก จ้านวน 20 คน

/ ความก้าวหน้า...


61 2.5 ความก้าวหน้าของการช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่พ ี ึ่ง และเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวช่วยเหลือเด็กขาดแคลนและฝากเลียงตามบ้าน นิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง มีภารกิจในการช่วยเหลือ และการให้บริการด้า นสวัสดิการ สังคมแก่กลุ่มเป้าหมาย ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง คือ เด็กและเยาวชน สตรี คนพิการ ผูส้ ูงอายุ ผู้ดอ้ ยโอกาส และผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน เพื่อเป็นการบรรเทาปัญหาความ เดือดร้อนเป็นการเฉพาะหน้า โดยส้านักพัฒนาสังคม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้สนับสนุนเงิน อุดหนุนเพื่อช่วยเหลือราษฎรในพืน้ ที่ดังนี้ - เงินสงเคราะห์ค รอบครัว ผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง จ้านวนทั้งสิ้น 400,000.- บาท (สี่แสนบาทถ้วน) ได้มอบให้ราษฎรที่ ประสบปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของนิคม สร้างตนเอง จ้านวนทั้งสิน้ 323 ราย - เงินสงเคราะห์เ ด็ ก ในครอบครั วช่ว ยเหลือเด็ก ขาดแคลนและเด็ก ฝากเลี้ย งตามบ้า น จ้านวนเงินทั้งสิ้น 50,000.- บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) ได้มอบให้แก่เด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจน ประสบ ปัญหาความเดือดร้อนในพืน้ ที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของนิคมสร้างตนเอง จ้านวนทั้งสิน้ 50 ราย ปัญหา/อุปสรรค 1. บัตรประจ้าตัวประชาชนของผูไ้ ด้รับการช่วยเหลือหมดอายุ เนื่องจาก * บัตรสมาร์ทการ์ด ณ ที่วา่ การอ้าเภอมีไม่เพียงพอ * ผูส้ ูงอายุ และผูพ้ ิการ บางรายไม่สามารถเดินทางมาท้าบัตรประชาชนใหม่ได้ 2. ผูป้ ระสบปัญหาความเดือดร้อน บางรายเป็นประชากรแฝง หรือไม่มีบัตรประจ้าตัวประชาชน จึงท้าให้ไม่ได้ รับสิทธิในการช่วยเหลือ ข้อเสนอแนะ ให้ พิ จ ารณาการช่ ว ยเหลื อ เป็ น กรณี ที่ ป ระสบปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นกรณี เ ร่ ง ด่ ว น ส้ า หรั บ บั ต ร ประชาชนที่ ห มดอายุ ของผู้ มี สิ ท ธิ รั บ เงิ น สงเคราะห์ เ งิ น สงเคราะห์ ค รอบครั ว ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ยและไร้ ที่ พึ่ ง และเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวช่วยเหลือเด็กขาดแคลนและฝากเลี้ยงตามบ้าน โดยอาจให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นหรือก้านัน ผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้รับรองตัวตน และในส่วนของเด็กนักเรียน ให้โรงเรียนเป็นผู้รับรอง ตัวตนแทน

.................................................................


ภาพกิจกรรม / โครงการ / ผลการดาเนินงาน


62


63 ร่ ว มกิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย ตริ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในโอกาสพระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๘๕ พรรษา เช่นกิจกรรม เดิน – วิ่ง เฉลิมพระเกียรติ ณ อ่างเก็บ น้​้าดอกกราย ท้าบุญตักบาตร ณ อบต.นิคมพัฒนา และจุดเทียน ชัยถวายพระพร ณ บริเวณตลาดนิคม กม. ๑๒

พิธีอัญเชิญองค์พระสังกัจจายน์หยกขาว และ องค์ไฉ่ซิงเอี๊ยะ ปางบุ๋น และ ปางบู๊, ประดิ ษ ฐาน ณ ศาลเจ้ า หลวงเตี่ ย (แป๊ะกง) ตลาดนิคม กม. ๑๒ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนเพื่อครอบครัวเข้มแข็ง


64


65 งานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เคลื่อนที่ ร่วมกับ โครงการ “บาบัดทุกข์ บารุงสุข สร้างรอยยิมให้ประชาชน” จังหวัดระยง ณ โรงเรียนวัดพลา อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556

กิจกรรมในงาน อาทิเช่น การมอบทุนการศึกษา เงินสงเคราะห์ครอบครัว มอบอุปกรณ์กีฬา และถุงยังชีพ การออกหน่วยเคลื่อนที่ ของหน่วยงานราชการ และเอกชน


70

กิจกรรม ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า สิ ริ กิ ติ์ พ ร ะ บ ร ม ร า ชิ นี น า ถ “วั น แม่ แห่ ง ชาติ ” ณ เขาจอมแห ตาบลมะขามคู่ อาเภอนิคมพัฒนา


66

การประชุมคณะกรรมการดูแลบ ารุงรักษาป่ าในที่ดินสงวนของนิคมสร้างตนเองจั ง หวั ด ระยอง โดยพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ จั ง หวั ด ระยอง เป็ น ประธาน และผู้ ป กครองนิ ค มสร้ า งตนเองจั ง หวั ดระยอง เป็ น กรรมการและ เลขานุการ รวมทังสิน 23 คน

การประชุ ม หาแนวทาง แก้ ไ ข ปั ญ หากรณี พิ พ า ท ในที่ ดิ น สงวนระหว่ า งศาล เจ้ า หลวงเตี่ ย และสหกรณ์ การเกษตรนิคมฯ ระยอง


67 ร่วมงานอาเภอยิม ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี ๓ ตาบลมาบข่า อาเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง

เยี่ยมสมาชิกนิคม และชีแจงวัตถุประสงค์ ภารกิจนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง พร้อมทังมอบเงินสงเคราะห์ครอบครัว ผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่พ ี ึ่ง


68

กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านความรุนแรง ยุติการค้ามนุษย์ โดย หน่วยงานภายใต้กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในจังหวัดระยอง ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง และประชาชนในพืนที่ ในวันที่ 4 มิถุนายน 2556


69 พิธีมอบหนังสือแสดงการทาประโยชน์ (น.ค.๓) มอบประกาศเกียรติบัตรสมาชิกนิคมสร้างตนเองตัวอย่าง มอบเงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่พ ี ึ่ง มอบสัญญา และปลูกต้นไม้มงคล โดยมีนายมนต์ชัย พินประเสริฐ นายอาเภอนิคมพัฒนา เป็นประธานในพิธี เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 ณ ที่ทาการนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.