kpi 14 การปฏิรูประบบรัฐสภา : มุมมองเชิงเปรียบเทียบ

Page 1

(ราง) การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555 เรื่อง การปฏิรปู ระบบรัฐสภา: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ (Parliamentary System Reform: Comparative Perspectives) วันที่ 8 – 10 พฤศจิกายน 2555 ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. หลักการและเหตุผล รั ฐ สภาถื อ ได ว า เป น สถาบั น การเมื อ งที่ มี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ในระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยเพราะเปนที่มาของอํานาจนิติบัญญัติ และยังเปนกลไกสําคัญในการออกกฎหมาย แตงตั้งและ ควบคุมการทํางานของฝายบริหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับประเทศไทย ซึ่งมีรูปแบบการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภานั้น อาจกลาวไดวา ตนกําเนิดของอํานาจอธิปไตยอยูที่รัฐสภา เพราะประชาชน เปนผูเลือกผูแทนของตนเพื่อทําหนาที่ในรัฐสภาโดยตรง และพรรคที่มีเสียงขางมากในสภา จะทําหนาที่ บริหารประเทศในฐานะรัฐบาล ดวยเหตุนี้ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจึงมีความสําคัญยิ่งในฐานะ “ผูแทน” ของ ประชาชนในระบบรัฐสภา รัฐบาลซึ่งมีที่มาจากรัฐสภานั้นจะสามารถบริหารประเทศอยูในตําแหนงไดตราบ เทาที่รัฐสภาไววางใจใหอยูในตําแหนงได ประเทศไทยไดมีการนําระบบรัฐสภามาใชในการปกครองของไทยตั้งแตภายหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475 โดยแรกเริ่มอยูในรูปแบบของสภาเดี่ยวและในป พ.ศ. 2489 ไดมีการนําระบบสภาคูมา ใชในประเทศไทย แตจากภาพประวัติศาสตรการเมืองของประเทศไทยที่ผานมาไดพบขอจํากัดประการหนึ่งที่ ยืนยันไดประการหนึ่งวา การทํางานของรัฐสภาทั้งในแงของการตรากฎหมาย ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบ รัฐบาลนั้นยังมีความบกพรองในบางสวน ทําใหไมสามารถแสดงศักยภาพและประสิทธิภาพสมดังฐานะของ การเปนตัวแทนของประชาชนอยางไดอยางเต็มที่ ผลก็คือ กฎหมายที่ไดรับการบัญญัติออกมาบางฉบับยังมี ความลาชาและบทบาทของสมาชิกรัฐสภาบางสวนยังไมเขมแข็ง ไมอาจควบคุมฝายบริหารไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้ยังพบปญหาที่สมาชิกรัฐสภาขาดวินัยในการประชุม ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพของรัฐสภาไทย อีกดวย ดังนั้น เพื่อที่จะใหรัฐสภาเปนองคกรที่สามารถปฏิบัติภารกิจไดอยางเต็มประสิทธิภาพ และเปนที่ ภาคภูมิใจของประชาชนชาวไทย จึงนาจะมีการวิเคราะหและทบทวนบทบาทการปฏิบัติหนาที่ซึ่งสะทอนให เห็นถึงประสิทธิภาพของรัฐสภา ระบบการตรวจสอบและถวงดุลของรัฐสภา ความสัมพันธและความเชื่อมโยง ระหวางรัฐสภากับประชาชน ตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภา ทั้งมุมมองจากในประเทศ และ การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

1


มุมมองของตางประเทศ ซึ่งไมไดเนนแตเพียงในสวนของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเทานั้น แตยังตองเปนการ มองถึงระบบกลไก หรือโครงสรางที่สนับสนุนการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร รวมไปถึง โครงสรางของคณะกรรมาธิการ ซึ่งเปนกลไกที่มีบทบาทหลักในการทํางานในรายละเอียดในการตรากฎหมาย อีกดวย ดว ยเหตุ นี้ จึ ง มี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะมี ก ารระดมความคิ ด จากมุ ม มองของทุ ก ภาคส ว นในสั ง คม เพื่ อ ทําการศึกษาเปรียบเทียบ ตลอดจนทบทวนการเรียนรูจากนานาประเทศถึงรูปแบบการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ของรัฐสภา เพื่อวิเคราะห พัฒนาและคนหาแนวทางปฏิรูประบบรัฐสภาใหมีประสิทธิภาพสมกับการเปน ตัวแทนของประชาชน โดยทําการศึ กษาขององคประกอบที่สําคัญตางๆ เพื่อที่จะเปนกรอบที่สําคั ญที่จ ะ นําไปสูขอเสนอเพื่อการปฏิรูประบบรัฐสภาใหเปนสถาบันทางการเมืองหลักที่ปฏิบัติหนาที่ไดอยางสมบูรณ สมกับการเปนตัวแทนของประชาชนชาวไทย สถาบันพระปกเกลา ซึ่งมีพันธกิจสําคัญในการพัฒนาประชาธิปไตย จึงจัดใหมีการประชุมวิชาการ สถาบันพระปกเกลาครั้งที่ 14 ประจําป 2555 (KPI Congress 14) ในหัวขอ “การปฏิรูประบบรัฐสภา: มุมมอง เชิงเปรียบเทียบ” (Parliamentary System Reform: Comparative Perspectives) ขึ้น เพื่อเปนเวทีสาธารณะใน การแลกเปลี่ยนเรียนรูและทบทวนหาคําตอบถึงแนวทางการปฏิรูประบบรัฐสภา เพื่อสรางสังคมที่ยุติธรรม สมานฉันท และมีธรรมภิบาล ใหกับทุกภาคสวนของสังคมดวยโครงสรางของรัฐสภาที่เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพตอบริบทของสังคมประชาธิปไตยไทย 2. วัตถุประสงค 1. เพื่อเปนเวทีสาธารณะในการนําเสนอผลงานวิชาการในประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาการทํางานของ รัฐสภา ตลอดจนแนวทางการปฏิรูประบบรัฐสภา ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด อันจะ นําไปสูการพัฒนาประชาธิปไตยที่เขมแข็งและยั่งยืน 2. เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดานการทํางานของระบบรัฐสภาและแนวทางการปฏิรูป ระบบรัฐสภา จากผูทรงคุณวุฒิทั้งในและตางประเทศ รวมไปถึงภาคสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ 3. กลุมเปาหมาย จํานวน 500 คน ประกอบดวย 1. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา 2. ผูบริหาร และสมาชิกพรรคการเมือง 3. นักการเมืองระดับชาติ และระดับทองถิ่น 4. ขาราชการ เจาหนาที่ หรือบุคลากรในหนวยงานของรัฐ องคกรอิสระ หนวยงานรัฐวิสาหกิจ และ องคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. เจาหนาที่ หรือบุคลากรในองคกรระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการทํางานของรัฐสภา และสงเสริม การปฏิรูประบบรัฐสภา การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

2


6. นักวิชาการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาองคความรูดานระบบรัฐสภา และการปฏิรูประบบรัฐสภา 7. องคกรพัฒนาชุมชน ผูนําชุมชน ผูนําทองถิ่น กลุมหรือเครือขายภาคประชาชนและภาคประชาสังคม 8. ตัวแทนจากองคกรภาคเอกชน 9. สื่อมวลชนแขนงตางๆ 10. นักเรียน นิสิต นักศึกษา 11. ประชาชนผูสนใจทั่วไป 4. รูปแบบการดําเนินงาน กิจกรรมหลักของการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประกอบดวย 3 กิจกรรมหลัก ไดแก 4.1 การแสดงปาฐกถา การแสดงปาฐกถา มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูทรงคุณวุฒิ ที่มีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ ดานระบบรัฐสภาและการปฏิรูประบบรัฐสภา ปาฐกถาในหัวขอที่เกี่ยวของกับการจัดงาน ทั้งนี้ในการสัมมนา ทางวิชาการครั้งนี้ จัดใหมีการแสดงปาฐกถาพิเศษใน 2 ลักษณะ ไดแก 1) การแสดงปาฐกถานํา โดยผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผูมีประสบการณจากตางประเทศ ใน หัวขอ การปฏิรูปรัฐสภา หรือ “Parliamentary Reform” โดยจะมีประเด็นดานการพัฒนาและการปฏิรูปรัฐสภา ตลอดจนการทํางานของรัฐสภา 2) การแสดงปาฐกถาปด โดยผูทรงคุณวุฒิของประเทศไทยในหัวขอ “การปฏิรูประบบรัฐสภา” 4.2 การสัมมนาทางวิชาการ การสัมมนาทางวิชาการมีวัตถุประสงคที่จะใหเปนเวทีสําหรับการแลกเปลี่ยนและระดมความคิดเห็น ในประเด็ น การทํ า งานของระบบรั ฐ สภา และป ญ หา ตลอดจนแนวทางการปฏิ รู ป ระบบรั ฐ สภาให มี ประสิ ท ธิ ภ าพและเกิ ด ประโยชน ต อ การพั ฒ นาประชาธิ ป ไตย ระหว า งผู บ ริ ห ารภาครั ฐ และภาคเอกชน นั ก วิ ช าการ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผู แ ทนของรั ฐ บาล องค ก รอิ ส ระ ส ว นราชการองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น สถาบันการศึกษา องคกรภาคเอกชน สื่อมวลชน องคกรภาคประชาชน และประชาชนทั่วไป การสัมมนาทางวิชาการจะประกอบดวย การอภิปรายรวม และการสัมมนากลุมยอย มีรายละเอียดดังนี้ 1) การอภิปรายรวม (panel discussion) เปนการเสนอมุมมอง และแลกเปลี่ยนประสบการณในประเด็น ของการทํางานของระบบรัฐสภา และการปฏิรูประบบรัฐสภา ความสําคัญของระบบรัฐสภาที่มีประสิทธิภาพตอ การพัฒนาประชาธิปไตยระหวางผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ตลอดจนผูสนใจ ทั่วไป - การอภิ ป รายร ว มระหว า งผู แ ทนจากต า งประเทศ เป น การแลกเปลี่ ย นความคิ ด และ ประสบการณ เรื่องการปฏิรูประบบรัฐสภา ในมุมมองเชิงเปรียบเทียบ และประสบการณจากตางประเทศ การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

3


- การอภิปรายรวมระหวางนักวิชาการ และผูทรงคุณวุฒิในประเทศไทย เปนการแลกเปลี่ยน มุมมองและประสบการณในประเด็นปญหาและการพัฒนาการทํางานของรัฐสภา ตลอดจนการปฏิรูประบบ รัฐสภา 2) การประชุมกลุมยอย (group discussion) เปนการเสนอบทความ เอกสารทางวิชาการหรือ ผลการวิจัยทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทํางานของรัฐสภา และปฏิรูประบบรัฐสภา ตลอดจนประกอบดวยหัวขอยอยจํานวน 5 กลุม คือ - กลุมที่ 1 การปฏิรูปบทบาทในเชิงนิติบัญญัติของรัฐสภา - กลุมที่ 2 การปฏิรูปบทบาทในการตรวจสอบ และถวงดุลการทํางานของรัฐบาล และบทบาท ดานงบประมาณของรัฐสภา - กลุมที่ 3 การปฏิรูปบทบาทดานการเปนตัวแทนของประชาชน - กลุมที่ 4 เวทีการประชุมของรัฐสภา กับการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองที่เหมาะสมกับระบอบ ประชาธิปไตย - กลุมที่ 5 ประสบการณดานการพัฒนารัฐสภานานาประเทศ 4.3 การจัดนิทรรศการ การจัดนิทรรศการมีวัตถุประสงคที่จะเผยแพรขอมูล ความรูตางๆ อันเกี่ยวของกับรัฐสภา ในดานการ ทํางานของรัฐสภา ระบบรัฐสภา ตลอดจนความสําคัญของรัฐสภาตอการพัฒนาประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ โดย นําขอมูลมาจากงานวิจัยที่สถาบันพระปกเกลาไดทําการวิจัยขึ้นรวมกับองคกรภาคีเครือขาย นักศึกษาสถาบัน พระปกเกลา และจากภาคสวนตางๆทั้งในและตางประเทศ 6. วัน เวลา สถานที่จัดงาน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12.00 - 18.00 นาฬิกา วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.00 - 17.00 นาฬิกา วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.00 - 12.00 นาฬิกา ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดําเนินนอก กรุงเทพมหานคร 7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เปดโอกาสใหผูบริหาร นักวิชาการ ขาราชการ องคกรพัฒนาเอกชน และประชาชนที่สนใจได แลกเปลี่ยน ทบทวน แสดงความคิดเห็น รวมไปถึงรวมกันวางยุทธศาสตรในการพัฒนาการทํางาน ของรั ฐสภา และการปฏิ รู ประบบรั ฐสภาให มี ประสิ ทธิ ภาพ และเกิ ดประโยชน ต อการพั ฒนา ประชาธิปไตย 2. ไดขอเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนาและแกปญหาในการทํางานของรัฐสภา และการปฏิรูป ระบบรัฐสภาใหมีประสิทธิภาพ ********************************** การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

4


(ราง)กําหนดการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555 เรื่อง “การปฏิรูประบบรัฐสภา: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ” (Parliamentary System Reform: Comparative Perspectives) ระหวางวันที่ 8 - 10 พฤศจิกายน 2555 ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดําเนินนอก กรุงเทพมหานคร HHHHHIIIII

วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน2555 11.00-13.00 น. 13.30-14.30 น.

ลงทะเบียน สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ เสด็จฯแทนพระองค มาทรงเปนองคประธานในพิธีเปดการประชุมวิชาการสถาบัน พระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2554

14.30-14.40 น.

ชมวีดีทัศนเรื่อง “การปฏิรูประบบรัฐสภา”

14.40-15.30 น.

การแสดงปาฐกถานํา เรื่อง “Parliamentary Reform” โดย ……..

15.30-17.30 น.

การอภิปรายรวมระหวางผูแทนจากตางประเทศ เรื่อง “การปฏิรูประบบรัฐสภาประสบการณจากตางประเทศ (Parliamentary System Reform : International Perspectives) โดย 1. ……. 2. ……. 3……... 4……… ดําเนินรายการโดย ดร.ชิงชัย หาญเจนลักษณ ประธานกรรมการจัดงานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14


การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 13 ประจําป 2554

2

วันศุกรที่ 9 พฤศจิกายน 2555 08.00-09.00 น. 09.00-10.00 น.

ลงทะเบียน การแสดงปาฐกถา เรื่อง “การปฏิรูประบบรัฐสภาไทย” โดย........

10.00-10.30 น. 10.30-12.00 น.

พักรับประทานอาหารวาง อภิปราย เรื่อง “........” โดย 1. 2. 3. 4. ดําเนินรายการ : ..........

12.00-13.00 น. 13.00-17.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน ลงทะเบียน (แยกลงทะเบียนในแตละกลุม)

การประชุมกลุมยอย กลุมยอยที่ 1

การปฏิรูปบทบาทในเชิงนิติบัญญัติของรัฐสภา วิทยากร: ผูดําเนินรายการ : ผูสรุป:

กลุมยอยที่ 2

การปฏิรูปบทบาทในการตรวจสอบ และถวงดุลการทํางานของรัฐบาล และ บทบาทดานงบประมาณของรัฐสภา วิทยากร:

ผูดําเนินรายการ : ผูสรุป: กลุมยอยที่ 3

การปฏิรูปบทบาทดานการเปนตัวแทนของประชาชน วิทยากร: ผูดําเนินรายการ: ผูสรุป:


การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 13 ประจําป 2554

กลุมยอยที่ 4

3

เวทีการประชุมของรัฐสภา กับการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองที่เหมาะสมกับ ระบอบประชาธิปไตย วิทยากร: ผูดําเนินรายการ : ผูสรุป:

กลุมยอยที่ 5

ประสบการณดานการพัฒนารัฐสภานานาประเทศ วิทยากร: ผูดําเนินรายการ : ผูสรุป:

วันเสารที่ 10 พฤศจิกายน 2555 08.00-08.30 น. 08.30-10.30 น.

ลงทะเบียน นําเสนอผลการประชุมกลุมยอย 5 กลุม กลุมยอยที่ 1 การปฏิรูปบทบาทในเชิงนิติบัญญัติของรัฐสภา โดย ...... กลุ ม ย อ ยที่ 2 การปฏิ รู ป บทบาทในการตรวจสอบ และถ วงดุ ล การทํา งานของ

รัฐบาล และบทบาทดานงบประมาณของรัฐสภา โดย ...... กลุมยอยที่ 3 การปฏิรูปบทบาทดานการเปนตัวแทนของประชาชน โดย ....... กลุมยอยที่ 4 เวทีการประชุมของรัฐสภา กับการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองที่

เหมาะสมกับระบอบประชาธิปไตย โดย ....... กลุมยอยที่ 5 ประสบการณดานการพัฒนารัฐสภานานาประเทศ โดย ....... ผูดําเนินรายการ: รองศาสตราจารยวุฒิสาร ตันไชย รองเลขาธิการ สถาบันพระปกเกลา


การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 13 ประจําป 2554

10.30-10.45 น. 10.45-11.45 น. 11.45-12.00 น.

4

ชมวีดิทัศนรางวัลพระปกเกลาและพิธีมอบรางวัลพระปกเกลาสําหรับองคกรปกครอง สวนทองถิ่น ประจําป 2555 แสดงปาฐกถาปดและกลาวปดการประชุม โดย ศาสตราจารย ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกลา ชมวีดิทัศนการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 15 #####


(ราง) สาระสําคัญและประเด็นหลักในการประชุมกลุมยอย KPI Congress 14 การปฏิรูประบบรัฐสภาไทย: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ (Thai Parliamentary System Reform: Comparative Perspective) กลุมยอยที่ 1 การปฏิรูปบทบาทในเชิงนิติบัญญัติของรัฐสภา - การปฏิรูประบบสนับสนุนเพื่อสงเสริมการทํางานดานนิติบัญญัติของรัฐสภา

การวิเคราะหรูปแบบและกลไกในการสงเสริมการทํางานของระบบสนับสนุนการ ทํางานดานนิติบัญญัติของรัฐสภา ทั้งในเรื่องระเบียบวิธีปฏิบัติ ขอบังคับ และขอกฎหมายที่ สงเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของทั้งสมาชิกรัฐสภา และระบบงานบริหารตางๆ ซึ่ง รวมถึงแนวทางในการเสริมสรางวัฒนธรรมองคกรการใชเทคโนโลยีที่เปนประโยชน การปรับ ระบบการบริ ห ารจั ด การ และการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล เพื่ อ เตรี ย มพร อ มรั บ มื อ กั บ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ตลอดจนวิกฤติปญหา เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังเปนการรับมือใหเขากับความสัมพันธ รัฐสภาในระดับนานาชาติ เชน องคกรรัฐสภาโลก หรือ สมัชชารัฐสภาอาเซียน ดวย - การปฏิรูปบทบาท อํานาจ หนาที่ และประสิทธิภาพของคณะกรรมาธิการ

การคนหาแนวทางในการแกไขปรับปรุง ปฏิรูปบทบาท และการปฏิบัติงานของ คณะกรรมาธิการในรัฐสภา เพื่อใหเปนกลไกที่สามารถปฏิบัติงานดานนิติบัญญัติไดอยางมี ประสิทธิภาพ เพิ่มความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของสมาชิกคณะกรรมาธิการ ใหสามารถเปนกลไก และตั ว เชื่ อ มต อ ที่ สํ า คั ญ ระหว า งภาคส ว นต า งๆ ของสั ง คมในกระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ และ สามารถเปนกลไกที่เขมแข็งในการถวงดุลการทํางานของรัฐบาล

1


กลุมยอยที่ 2 การปฏิรูปบทบาทในการตรวจสอบ และถวงดุลการทํางานของรัฐบาล และบทบาท ดานงบประมาณของรัฐสภา - การปฏิรูปกลไกเพื่อการตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล

การนํ า เสนอแนวทางในการสร างกลไกที่ จะทํ าให ส ถาบัน รั ฐสภาเป น สถาบั น ที่ สามารถปฏิบัติหนาที่เพื่อตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารไดอยางมีประสิทธิภาพรวมถึง การกําหนดรูปแบบและความสัมพันธของสถาบันนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการบทบาทของ รัฐบาลและผูนําฝายคาน เพื่อเปนตัวแบบความสัมพันธเชิงโครงสรางและการตรวจสอบการใช อํานาจระหวางฝายนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ โดยศึกษารูปแบบของประเทศตางๆ ที่ได ปฏิรูปสถาบันรัฐสภาเพื่อการตรวจสอบถวงดุลการทํางานของรัฐบาล หรือการนําแนวทางของ ประเทศที่ใชระบบถวงดุลอํานาจมาประยุกตใชในบริบทสภาพแวดลอมของประเทศไทย - องคกรเพื่อตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

เพื่อศึกษาหาแนวทางในการสงเสริมบทบาท อํานาจ หนาที่ การสรางความเปนกลาง ความเชื่อมั่น และความโปรงใส ขององคกรที่ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ เชน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง คณะกรรมการปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบ ผูตรวจการ แผนดิน คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ตลอดจนศาลฎีกาของผู ดํารงตําแหนงทางการเมือง และหาแนวทางในการสรางระบบที่สามารถเชื่อมโยงองคประกอบ และการปฏิบัติหนาที่ขององคกรเหลานี้ใหสัมพันธกับภาคประชาชน เพื่อใหเปนกลไกสําคัญใน การทํางานเคียงคูกับรัฐสภาในการตรวจสอบถวงดุลการใชอํานาจรัฐบาล - เพื่อเสริมสรางศักยภาพในการวิเคราะหงบประมาณใหมีประสิทธิภาพ

บทบาทของฝ ายนิ ติ บั ญ ญัติ ใ นการควบคุม โดยเฉพาะการควบคุ ม การใช จ ายเงิ น งบประมาณแผนดิน เปนบทบาทสําคัญที่รัฐธรรมนูญไดกําหนดไวเปนการเฉพาะในหมวด 8 วา 2


ดวย การเงิน การคลัง และงบประมาณ ความเขมแข็งของฝายนิติบัญญัติในเรืองดังกลาว เปนปจจัย เชิงสถาบันที่สามารถชวยสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี ในการบริหารราชการแผนดิน ควบคูกับ สนั บ สนุ น ให เกิ ด ความรั บ ผิ ด รั บ ชอบ ในระบบภาครั ฐ ช ว ยชี้ แ นะและกํ ากั บ ให ก ารใช จ า ย งบประมาณแผนดินเกิดความประหยัด คุมคา ลดความรั่วไหลของรายจายภาครัฐอยางไรก็ตาม ฝาย นิติบัญญัติเองมีขอจํากัดในเรื่องของการเขาถึงขอมูลการใชจายงบประมาณจากหนวยงานภาครัฐ และขาดเครื่องมือหรือกลไกในการวิเคราะห ตรวจสอบงบประมาณรายจายประจําปของรัฐบาล ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายในระยะเวลาอันจํากัด การปรับปรุงขีดสมรรถนะการ ทํางานของรัฐสภาไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่เกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณแผนดิน ทั้งในขั้น กอนการใชงบประมาณ( Ex Ante) และหลังการใชงบประมาณ(Ex Post) จึงจําเปนตองเพิ่มความรู และสนับสนุนใหสมาชิกสภานิติบัญญัติมีขาวสารขอมูลดานงบประมาณ ดานการใชจายของภาครัฐ - เพื่อเปนแนวทางทางการจัดองคกรเพื่อสนับสนุนการทํางานดานงบประมาณของ

สมาชิกรัฐสภา การดําเนินการดังกลาว เปนไปไดทั้งการเสริมสรางศักยภาพของสมาชิกรัฐสภาเองที่ ต องมี ความสามารถในการวิ เคราะห งบประมาณ และในรู ปแบบของหน วยงานวิ ชาการด าน งบประมาณของรัฐสภา เพื่อเปนหนวยงานที่ชวยการวิเคราะหความเหมาะสมของงบประมาณและ ประเมินความคุมคาของรายจายรัฐ ใหสมาชิกรัฐสภาอยางเปนระบบ ทั้งนี้ มีหลักฐานเชิงประจักษ ในหลายประเทศที่ไดผานประสบการณการพัฒนารัฐสภามายาวนานกวาของประเทศไทย การ แลกเปลี่ยนเรียนรูถึงบทบาทการทํางานของหนวยงานดังกลาวในตางประเทศ รวมถึงปรัชญา เบื้องหลังที่สําคัญที่จะเปนแกนในการสรางหนวยงานที่ทําหนาที่ใหขอมูล ความเห็น และบท วิเคราะหที่เหมาะสมแกสมาชิกรัฐสภา กลุมยอยที่ 3 การปฏิรูปบทบาทดานการเปนตัวแทนของประชาชน - เพิ่มประสิทธิภาพและบทบาทในการเปนตัวแทนของประชาชน

3


เพื่ อ ศึ ก ษาหาแนวทางที่ ทํ า ให รั ฐ สภาสามารถตอบสนองความต อ งการของ ประชาชนสวนรวมใหไดมากที่สุด โดยอางอิงอยูกับผลประโยชนโดยรวมของประเทศชาติไมยึด ติดกับผลประโยชนสวนตนสวนบุคคลหรือกลุมใดกลุมหนึ่ง และวิเคราะหแนวทางการสงเสริม ที่ใหรัฐสภาสามารถเปนภาพสะทอนของความหลากหลายของสังคมใหมากที่สุด และสามารถ ตอบสนองตอความตองการและการเรียกรองของประชาชนทุกภาคสวนไดอยางฉับไว ถูกตอง และเปนธรรมมีการทํางานเชิงรุกเพื่อศึกษาและทบทวนปญหาจากทุกภาคสวนของสังคมและมี สวนสําคัญในการผลักดันนําเสนอและตรวจสอบนโยบายตอรัฐบาล - เพิ่มประสิทธิภาพของการเปนชองทางในการสื่อสารระหวางประชาชนกับรัฐบาล

ศึก ษาหาแนวทางในการที่ ใ ห รั ฐ สภาสามารถเป น สถาบัน ที่ ทํ า หน าที่ ใ กล ชิ ด กั บ ประชาชนยิ่งขึ้น โดยสงเสริมแนวทางการสรางชองทางการเขาถึงอํานาจรัฐใหประชาชนและ องคกรภาคประชาสังคมสามารถเขาถึงและตรวจสอบการทํางานของรัฐบาลไดมากขึ้นเพื่อให รัฐสภาเปนเวทีสื่อกลางระหวางประชาชนและรัฐบาล เพื่อประชาชนไดแสดงความเห็นและ เรียกรองความตองการสูฝายบริหารไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมยอยที่ 4 เวทีการประชุมของรัฐสภา กับการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองที่เหมาะสมกับ ระบอบประชาธิปไตย - การเพิ่มประสิทธิภาพในการใหคําปรึกษา

เพื่อใหรัฐสภาเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพในการใหคําปรึกษาตอรัฐบาลและองคกร ตางๆ ของรัฐ ในประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องที่สําคัญตอชาติและประเด็นสาธารณะโดยสงเสริมให สมาชิกรัฐสภามีโอกาสในการนําความรูความสามารถความเชี่ยวชาญ ความใกลชิดและการรับรู ปญหาจากภาคประชาชนมาอภิปรายถกเถียงในรัฐสภาไดอยางแมนยําและตรงประเด็น ซึ่งจะทํา 4


ใหการกําหนดนโยบายของภาครัฐมีขอมูลที่ครบถวนรอบดานโปรงใส และเพิ่มบทบาทของ รัฐสภาในการเปนการสื่อสารระหวางรัฐบาลกับประชาชนไดโดยตรง - เพื่อเปนเวทีแหงความปรองดองและสมานฉันทในการประชุมและอภิปราย

ศึกษาหากลไกและวิธีการในการเจรจาตอรองภายในสมาชิกรัฐสภาทังจากพรรค การเมืองเดียวกันและจากพรรครัฐบาลและพรรคฝายคาน เพื่อใหการประชุมและอภิปรายมี สาระประโยชนในประเด็นที่กําลังถกเถียง และสามารถทําใหนโยบายของชาติสามารถสะทอน ถึงผลประโยชนของทุกภาคสวนไดอยางเทาเทียมกัน สรางสรรคเวทีในรัฐสภาใหเปนภาพ จําลองของสังคมที่สมานฉันทเพื่อใหประชาชนไดมีความคาดหวังตอตัวแทนไดอยางแทจริง กลุมยอยที่ 5 ประสบการณดานการพัฒนารัฐสภานานาประเทศ นอกเหนือจากการที่จะวิเคราะหถึงการทํางานของรัฐสภาของไทยแลวนั้น โดยการรับรู และแลกเปลี่ยนประสบการณของการทํางานและระบบรัฐสภาของตางประเทศ ทั้งในดานของ สภาพปญหา และแนวทางการเสริมสรางประสิทธิภาพการทํางานของรัฐสภานั้นจะสงผลใหเกิด แนวทางการพั ฒนาประสิ ทธิภาพของรัฐสภาอันจะกอใหเกิ ดประโยชนสูงสุดตอประชาชน เจาของอํานาจอธิปไตยและประเทศชาติ นอกจากนี้แลวการสรางความรวมมือ หรือการสราง เครือขายระหวางรัฐสภาของแตละประเทศ ก็เปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะทําใหรัฐสภานั้นทํางานได อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในลักษณะของการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการใหความชวยเหลือ รวมมือ ในดานตางๆอีกดวย โดยมีประเด็นสําคัญในการอภิปรายคือ - ประสบการณทํางานของรัฐสภาในตางประเทศ - แนวทางการสรางความรวมมือกับรัฐสภาของตางประเทศ

5


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.