หลักการและเหตุผล kpi 14

Page 1

(ราง) การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555 เรื่อง การปฏิรปู ระบบรัฐสภา: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ (Parliamentary System Reform: Comparative Perspectives) วันที่ 8 – 10 พฤศจิกายน 2555 ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. หลักการและเหตุผล รั ฐ สภาถื อ ได ว า เป น สถาบั น การเมื อ งที่ มี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ในระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยเพราะเปนที่มาของอํานาจนิติบัญญัติ และยังเปนกลไกสําคัญในการออกกฎหมาย แตงตั้งและ ควบคุมการทํางานของฝายบริหาร โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับประเทศไทย ซึ่งมีรูปแบบการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภานั้น อาจกลาวไดวา ตนกําเนิดของอํานาจอธิปไตยอยูที่รัฐสภา เพราะประชาชน เปนผูเลือกผูแทนของตนเพื่อทําหนาที่ในรัฐสภาโดยตรง และพรรคที่มีเสียงขางมากในสภา จะทําหนาที่ บริหารประเทศในฐานะรัฐบาล ดวยเหตุนี้ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจึงมีความสําคัญยิ่งในฐานะ “ผูแทน” ของ ประชาชนในระบบรัฐสภา รัฐบาลซึ่งมีที่มาจากรัฐสภานั้นจะสามารถบริหารประเทศอยูในตําแหนงไดตราบ เทาที่รัฐสภาไววางใจใหอยูในตําแหนงได ประเทศไทยไดมีการนําระบบรัฐสภามาใชในการปกครองของไทยตั้งแตภายหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475 โดยแรกเริ่มอยูในรูปแบบของสภาเดี่ยวและในป พ.ศ. 2489 ไดมีการนําระบบสภาคูมา ใชในประเทศไทย แตจากภาพประวัติศาสตรการเมืองของประเทศไทยที่ผานมาไดพบขอจํากัดประการหนึ่งที่ ยืนยันไดประการหนึ่งวา การทํางานของรัฐสภาทั้งในแงของการตรากฎหมาย ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบ รัฐบาลนั้นยังมีความบกพรองในบางสวน ทําใหไมสามารถแสดงศักยภาพและประสิทธิภาพสมดังฐานะของ การเปนตัวแทนของประชาชนอยางไดอยางเต็มที่ ผลก็คือ กฎหมายที่ไดรับการบัญญัติออกมาบางฉบับยังมี ความลาชาและบทบาทของสมาชิกรัฐสภาบางสวนยังไมเขมแข็ง ไมอาจควบคุมฝายบริหารไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้ยังพบปญหาที่สมาชิกรัฐสภาขาดวินัยในการประชุม ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพของรัฐสภาไทย อีกดวย ดังนั้น เพื่อที่จะใหรัฐสภาเปนองคกรที่สามารถปฏิบัติภารกิจไดอยางเต็มประสิทธิภาพ และเปนที่ ภาคภูมิใจของประชาชนชาวไทย จึงนาจะมีการวิเคราะหและทบทวนบทบาทการปฏิบัติหนาที่ซึ่งสะทอนให เห็นถึงประสิทธิภาพของรัฐสภา ระบบการตรวจสอบและถวงดุลของรัฐสภา ความสัมพันธและความเชื่อมโยง ระหวางรัฐสภากับประชาชน ตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภา ทั้งมุมมองจากในประเทศ และ การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

1


มุมมองของตางประเทศ ซึ่งไมไดเนนแตเพียงในสวนของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเทานั้น แตยังตองเปนการ มองถึงระบบกลไก หรือโครงสรางที่สนับสนุนการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร รวมไปถึง โครงสรางของคณะกรรมาธิการ ซึ่งเปนกลไกที่มีบทบาทหลักในการทํางานในรายละเอียดในการตรากฎหมาย อีกดวย ดว ยเหตุ นี้ จึ ง มี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะมี ก ารระดมความคิ ด จากมุ ม มองของทุ ก ภาคส ว นในสั ง คม เพื่ อ ทําการศึกษาเปรียบเทียบ ตลอดจนทบทวนการเรียนรูจากนานาประเทศถึงรูปแบบการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ของรัฐสภา เพื่อวิเคราะห พัฒนาและคนหาแนวทางปฏิรูประบบรัฐสภาใหมีประสิทธิภาพสมกับการเปน ตัวแทนของประชาชน โดยทําการศึ กษาขององคประกอบที่สําคัญตางๆ เพื่อที่จะเปนกรอบที่สําคั ญที่จ ะ นําไปสูขอเสนอเพื่อการปฏิรูประบบรัฐสภาใหเปนสถาบันทางการเมืองหลักที่ปฏิบัติหนาที่ไดอยางสมบูรณ สมกับการเปนตัวแทนของประชาชนชาวไทย สถาบันพระปกเกลา ซึ่งมีพันธกิจสําคัญในการพัฒนาประชาธิปไตย จึงจัดใหมีการประชุมวิชาการ สถาบันพระปกเกลาครั้งที่ 14 ประจําป 2555 (KPI Congress 14) ในหัวขอ “การปฏิรูประบบรัฐสภา: มุมมอง เชิงเปรียบเทียบ” (Parliamentary System Reform: Comparative Perspectives) ขึ้น เพื่อเปนเวทีสาธารณะใน การแลกเปลี่ยนเรียนรูและทบทวนหาคําตอบถึงแนวทางการปฏิรูประบบรัฐสภา เพื่อสรางสังคมที่ยุติธรรม สมานฉันท และมีธรรมภิบาล ใหกับทุกภาคสวนของสังคมดวยโครงสรางของรัฐสภาที่เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพตอบริบทของสังคมประชาธิปไตยไทย 2. วัตถุประสงค 1. เพื่อเปนเวทีสาธารณะในการนําเสนอผลงานวิชาการในประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาการทํางานของ รัฐสภา ตลอดจนแนวทางการปฏิรูประบบรัฐสภา ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด อันจะ นําไปสูการพัฒนาประชาธิปไตยที่เขมแข็งและยั่งยืน 2. เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดานการทํางานของระบบรัฐสภาและแนวทางการปฏิรูป ระบบรัฐสภา จากผูทรงคุณวุฒิทั้งในและตางประเทศ รวมไปถึงภาคสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ 3. กลุมเปาหมาย จํานวน 500 คน ประกอบดวย 1. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา 2. ผูบริหาร และสมาชิกพรรคการเมือง 3. นักการเมืองระดับชาติ และระดับทองถิ่น 4. ขาราชการ เจาหนาที่ หรือบุคลากรในหนวยงานของรัฐ องคกรอิสระ หนวยงานรัฐวิสาหกิจ และ องคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. เจาหนาที่ หรือบุคลากรในองคกรระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการทํางานของรัฐสภา และสงเสริม การปฏิรูประบบรัฐสภา การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

2


6. นักวิชาการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาองคความรูดานระบบรัฐสภา และการปฏิรูประบบรัฐสภา 7. องคกรพัฒนาชุมชน ผูนําชุมชน ผูนําทองถิ่น กลุมหรือเครือขายภาคประชาชนและภาคประชาสังคม 8. ตัวแทนจากองคกรภาคเอกชน 9. สื่อมวลชนแขนงตางๆ 10. นักเรียน นิสิต นักศึกษา 11. ประชาชนผูสนใจทั่วไป 4. รูปแบบการดําเนินงาน กิจกรรมหลักของการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประกอบดวย 3 กิจกรรมหลัก ไดแก 4.1 การแสดงปาฐกถา การแสดงปาฐกถา มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูทรงคุณวุฒิ ที่มีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ ดานระบบรัฐสภาและการปฏิรูประบบรัฐสภา ปาฐกถาในหัวขอที่เกี่ยวของกับการจัดงาน ทั้งนี้ในการสัมมนา ทางวิชาการครั้งนี้ จัดใหมีการแสดงปาฐกถาพิเศษใน 2 ลักษณะ ไดแก 1) การแสดงปาฐกถานํา โดยผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผูมีประสบการณจากตางประเทศ ใน หัวขอ การปฏิรูปรัฐสภา หรือ “Parliamentary Reform” โดยจะมีประเด็นดานการพัฒนาและการปฏิรูปรัฐสภา ตลอดจนการทํางานของรัฐสภา 2) การแสดงปาฐกถาปด โดยผูทรงคุณวุฒิของประเทศไทยในหัวขอ “การปฏิรูประบบรัฐสภา” 4.2 การสัมมนาทางวิชาการ การสัมมนาทางวิชาการมีวัตถุประสงคที่จะใหเปนเวทีสําหรับการแลกเปลี่ยนและระดมความคิดเห็น ในประเด็ น การทํ า งานของระบบรั ฐ สภา และป ญ หา ตลอดจนแนวทางการปฏิ รู ป ระบบรั ฐ สภาให มี ประสิ ท ธิ ภ าพและเกิ ด ประโยชน ต อ การพั ฒ นาประชาธิ ป ไตย ระหว า งผู บ ริ ห ารภาครั ฐ และภาคเอกชน นั ก วิ ช าการ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผู แ ทนของรั ฐ บาล องค ก รอิ ส ระ ส ว นราชการองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น สถาบันการศึกษา องคกรภาคเอกชน สื่อมวลชน องคกรภาคประชาชน และประชาชนทั่วไป การสัมมนาทางวิชาการจะประกอบดวย การอภิปรายรวม และการสัมมนากลุมยอย มีรายละเอียดดังนี้ 1) การอภิปรายรวม (panel discussion) เปนการเสนอมุมมอง และแลกเปลี่ยนประสบการณในประเด็น ของการทํางานของระบบรัฐสภา และการปฏิรูประบบรัฐสภา ความสําคัญของระบบรัฐสภาที่มีประสิทธิภาพตอ การพัฒนาประชาธิปไตยระหวางผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ตลอดจนผูสนใจ ทั่วไป - การอภิ ป รายร ว มระหว า งผู แ ทนจากต า งประเทศ เป น การแลกเปลี่ ย นความคิ ด และ ประสบการณ เรื่องการปฏิรูประบบรัฐสภา ในมุมมองเชิงเปรียบเทียบ และประสบการณจากตางประเทศ การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

3


- การอภิปรายรวมระหวางนักวิชาการ และผูทรงคุณวุฒิในประเทศไทย เปนการแลกเปลี่ยน มุมมองและประสบการณในประเด็นปญหาและการพัฒนาการทํางานของรัฐสภา ตลอดจนการปฏิรูประบบ รัฐสภา 2) การประชุมกลุมยอย (group discussion) เปนการเสนอบทความ เอกสารทางวิชาการหรือ ผลการวิจัยทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการพัฒนาการทํางานของรัฐสภา และปฏิรูประบบรัฐสภา ตลอดจนประกอบดวยหัวขอยอยจํานวน 5 กลุม คือ - กลุมที่ 1 การปฏิรูปบทบาทในเชิงนิติบัญญัติของรัฐสภา - กลุมที่ 2 การปฏิรูปบทบาทในการตรวจสอบ และถวงดุลการทํางานของรัฐบาล และบทบาท ดานงบประมาณของรัฐสภา - กลุมที่ 3 การปฏิรูปบทบาทดานการเปนตัวแทนของประชาชน - กลุมที่ 4 เวทีการประชุมของรัฐสภา กับการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองที่เหมาะสมกับระบอบ ประชาธิปไตย - กลุมที่ 5 ประสบการณดานการพัฒนารัฐสภานานาประเทศ 4.3 การจัดนิทรรศการ การจัดนิทรรศการมีวัตถุประสงคที่จะเผยแพรขอมูล ความรูตางๆ อันเกี่ยวของกับรัฐสภา ในดานการ ทํางานของรัฐสภา ระบบรัฐสภา ตลอดจนความสําคัญของรัฐสภาตอการพัฒนาประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ โดย นําขอมูลมาจากงานวิจัยที่สถาบันพระปกเกลาไดทําการวิจัยขึ้นรวมกับองคกรภาคีเครือขาย นักศึกษาสถาบัน พระปกเกลา และจากภาคสวนตางๆทั้งในและตางประเทศ 6. วัน เวลา สถานที่จัดงาน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12.00 - 18.00 นาฬิกา วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.00 - 17.00 นาฬิกา วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.00 - 12.00 นาฬิกา ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดําเนินนอก กรุงเทพมหานคร 7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เปดโอกาสใหผูบริหาร นักวิชาการ ขาราชการ องคกรพัฒนาเอกชน และประชาชนที่สนใจได แลกเปลี่ยน ทบทวน แสดงความคิดเห็น รวมไปถึงรวมกันวางยุทธศาสตรในการพัฒนาการทํางาน ของรั ฐสภา และการปฏิ รู ประบบรั ฐสภาให มี ประสิ ทธิ ภาพ และเกิ ดประโยชน ต อการพั ฒนา ประชาธิปไตย 2. ไดขอเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนาและแกปญหาในการทํางานของรัฐสภา และการปฏิรูป ระบบรัฐสภาใหมีประสิทธิภาพ ********************************** การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกลา ครั้งที่ 14 ประจําป 2555

4


(ราง) สาระสําคัญและประเด็นหลักในการประชุมกลุมยอย KPI Congress 14 การปฏิรูประบบรัฐสภาไทย: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ (Thai Parliamentary System Reform: Comparative Perspective) กลุมยอยที่ 1 การปฏิรูปบทบาทในเชิงนิติบัญญัติของรัฐสภา - การปฏิรูประบบสนับสนุนเพื่อสงเสริมการทํางานดานนิติบัญญัติของรัฐสภา

การวิเคราะหรูปแบบและกลไกในการสงเสริมการทํางานของระบบสนับสนุนการ ทํางานดานนิติบัญญัติของรัฐสภา ทั้งในเรื่องระเบียบวิธีปฏิบัติ ขอบังคับ และขอกฎหมายที่ สงเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของทั้งสมาชิกรัฐสภา และระบบงานบริหารตางๆ ซึ่ง รวมถึงแนวทางในการเสริมสรางวัฒนธรรมองคกรการใชเทคโนโลยีที่เปนประโยชน การปรับ ระบบการบริ ห ารจั ด การ และการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล เพื่ อ เตรี ย มพร อ มรั บ มื อ กั บ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ตลอดจนวิกฤติปญหา เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังเปนการรับมือใหเขากับความสัมพันธ รัฐสภาในระดับนานาชาติ เชน องคกรรัฐสภาโลก หรือ สมัชชารัฐสภาอาเซียน ดวย - การปฏิรูปบทบาท อํานาจ หนาที่ และประสิทธิภาพของคณะกรรมาธิการ

การคนหาแนวทางในการแกไขปรับปรุง ปฏิรูปบทบาท และการปฏิบัติงานของ คณะกรรมาธิการในรัฐสภา เพื่อใหเปนกลไกที่สามารถปฏิบัติงานดานนิติบัญญัติไดอยางมี ประสิทธิภาพ เพิ่มความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของสมาชิกคณะกรรมาธิการ ใหสามารถเปนกลไก และตั ว เชื่ อ มต อ ที่ สํ า คั ญ ระหว า งภาคส ว นต า งๆ ของสั ง คมในกระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ และ สามารถเปนกลไกที่เขมแข็งในการถวงดุลการทํางานของรัฐบาล

1


กลุมยอยที่ 2 การปฏิรูปบทบาทในการตรวจสอบ และถวงดุลการทํางานของรัฐบาล และบทบาท ดานงบประมาณของรัฐสภา - การปฏิรูปกลไกเพื่อการตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล

การนํ า เสนอแนวทางในการสร างกลไกที่ จะทํ าให ส ถาบัน รั ฐสภาเป น สถาบั น ที่ สามารถปฏิบัติหนาที่เพื่อตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารไดอยางมีประสิทธิภาพรวมถึง การกําหนดรูปแบบและความสัมพันธของสถาบันนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการบทบาทของ รัฐบาลและผูนําฝายคาน เพื่อเปนตัวแบบความสัมพันธเชิงโครงสรางและการตรวจสอบการใช อํานาจระหวางฝายนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ โดยศึกษารูปแบบของประเทศตางๆ ที่ได ปฏิรูปสถาบันรัฐสภาเพื่อการตรวจสอบถวงดุลการทํางานของรัฐบาล หรือการนําแนวทางของ ประเทศที่ใชระบบถวงดุลอํานาจมาประยุกตใชในบริบทสภาพแวดลอมของประเทศไทย - องคกรเพื่อตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

เพื่อศึกษาหาแนวทางในการสงเสริมบทบาท อํานาจ หนาที่ การสรางความเปนกลาง ความเชื่อมั่น และความโปรงใส ขององคกรที่ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ เชน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง คณะกรรมการปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบ ผูตรวจการ แผนดิน คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ตลอดจนศาลฎีกาของผู ดํารงตําแหนงทางการเมือง และหาแนวทางในการสรางระบบที่สามารถเชื่อมโยงองคประกอบ และการปฏิบัติหนาที่ขององคกรเหลานี้ใหสัมพันธกับภาคประชาชน เพื่อใหเปนกลไกสําคัญใน การทํางานเคียงคูกับรัฐสภาในการตรวจสอบถวงดุลการใชอํานาจรัฐบาล - เพื่อเสริมสรางศักยภาพในการวิเคราะหงบประมาณใหมีประสิทธิภาพ

บทบาทของฝ ายนิ ติ บั ญ ญัติ ใ นการควบคุม โดยเฉพาะการควบคุ ม การใช จ ายเงิ น งบประมาณแผนดิน เปนบทบาทสําคัญที่รัฐธรรมนูญไดกําหนดไวเปนการเฉพาะในหมวด 8 วา 2


ดวย การเงิน การคลัง และงบประมาณ ความเขมแข็งของฝายนิติบัญญัติในเรืองดังกลาว เปนปจจัย เชิงสถาบันที่สามารถชวยสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี ในการบริหารราชการแผนดิน ควบคูกับ สนั บ สนุ น ให เกิ ด ความรั บ ผิ ด รั บ ชอบ ในระบบภาครั ฐ ช ว ยชี้ แ นะและกํ ากั บ ให ก ารใช จ า ย งบประมาณแผนดินเกิดความประหยัด คุมคา ลดความรั่วไหลของรายจายภาครัฐอยางไรก็ตาม ฝาย นิติบัญญัติเองมีขอจํากัดในเรื่องของการเขาถึงขอมูลการใชจายงบประมาณจากหนวยงานภาครัฐ และขาดเครื่องมือหรือกลไกในการวิเคราะห ตรวจสอบงบประมาณรายจายประจําปของรัฐบาล ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายในระยะเวลาอันจํากัด การปรับปรุงขีดสมรรถนะการ ทํางานของรัฐสภาไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่เกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณแผนดิน ทั้งในขั้น กอนการใชงบประมาณ( Ex Ante) และหลังการใชงบประมาณ(Ex Post) จึงจําเปนตองเพิ่มความรู และสนับสนุนใหสมาชิกสภานิติบัญญัติมีขาวสารขอมูลดานงบประมาณ ดานการใชจายของภาครัฐ - เพื่อเปนแนวทางทางการจัดองคกรเพื่อสนับสนุนการทํางานดานงบประมาณของ

สมาชิกรัฐสภา การดําเนินการดังกลาว เปนไปไดทั้งการเสริมสรางศักยภาพของสมาชิกรัฐสภาเองที่ ต องมี ความสามารถในการวิ เคราะห งบประมาณ และในรู ปแบบของหน วยงานวิ ชาการด าน งบประมาณของรัฐสภา เพื่อเปนหนวยงานที่ชวยการวิเคราะหความเหมาะสมของงบประมาณและ ประเมินความคุมคาของรายจายรัฐ ใหสมาชิกรัฐสภาอยางเปนระบบ ทั้งนี้ มีหลักฐานเชิงประจักษ ในหลายประเทศที่ไดผานประสบการณการพัฒนารัฐสภามายาวนานกวาของประเทศไทย การ แลกเปลี่ยนเรียนรูถึงบทบาทการทํางานของหนวยงานดังกลาวในตางประเทศ รวมถึงปรัชญา เบื้องหลังที่สําคัญที่จะเปนแกนในการสรางหนวยงานที่ทําหนาที่ใหขอมูล ความเห็น และบท วิเคราะหที่เหมาะสมแกสมาชิกรัฐสภา กลุมยอยที่ 3 การปฏิรูปบทบาทดานการเปนตัวแทนของประชาชน - เพิ่มประสิทธิภาพและบทบาทในการเปนตัวแทนของประชาชน

3


เพื่ อ ศึ ก ษาหาแนวทางที่ ทํ า ให รั ฐ สภาสามารถตอบสนองความต อ งการของ ประชาชนสวนรวมใหไดมากที่สุด โดยอางอิงอยูกับผลประโยชนโดยรวมของประเทศชาติไมยึด ติดกับผลประโยชนสวนตนสวนบุคคลหรือกลุมใดกลุมหนึ่ง และวิเคราะหแนวทางการสงเสริม ที่ใหรัฐสภาสามารถเปนภาพสะทอนของความหลากหลายของสังคมใหมากที่สุด และสามารถ ตอบสนองตอความตองการและการเรียกรองของประชาชนทุกภาคสวนไดอยางฉับไว ถูกตอง และเปนธรรมมีการทํางานเชิงรุกเพื่อศึกษาและทบทวนปญหาจากทุกภาคสวนของสังคมและมี สวนสําคัญในการผลักดันนําเสนอและตรวจสอบนโยบายตอรัฐบาล - เพิ่มประสิทธิภาพของการเปนชองทางในการสื่อสารระหวางประชาชนกับรัฐบาล

ศึก ษาหาแนวทางในการที่ ใ ห รั ฐ สภาสามารถเป น สถาบัน ที่ ทํ า หน าที่ ใ กล ชิ ด กั บ ประชาชนยิ่งขึ้น โดยสงเสริมแนวทางการสรางชองทางการเขาถึงอํานาจรัฐใหประชาชนและ องคกรภาคประชาสังคมสามารถเขาถึงและตรวจสอบการทํางานของรัฐบาลไดมากขึ้นเพื่อให รัฐสภาเปนเวทีสื่อกลางระหวางประชาชนและรัฐบาล เพื่อประชาชนไดแสดงความเห็นและ เรียกรองความตองการสูฝายบริหารไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมยอยที่ 4 เวทีการประชุมของรัฐสภา กับการสรางวัฒนธรรมทางการเมืองที่เหมาะสมกับ ระบอบประชาธิปไตย - การเพิ่มประสิทธิภาพในการใหคําปรึกษา

เพื่อใหรัฐสภาเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพในการใหคําปรึกษาตอรัฐบาลและองคกร ตางๆ ของรัฐ ในประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องที่สําคัญตอชาติและประเด็นสาธารณะโดยสงเสริมให สมาชิกรัฐสภามีโอกาสในการนําความรูความสามารถความเชี่ยวชาญ ความใกลชิดและการรับรู ปญหาจากภาคประชาชนมาอภิปรายถกเถียงในรัฐสภาไดอยางแมนยําและตรงประเด็น ซึ่งจะทํา 4


ใหการกําหนดนโยบายของภาครัฐมีขอมูลที่ครบถวนรอบดานโปรงใส และเพิ่มบทบาทของ รัฐสภาในการเปนการสื่อสารระหวางรัฐบาลกับประชาชนไดโดยตรง - เพื่อเปนเวทีแหงความปรองดองและสมานฉันทในการประชุมและอภิปราย

ศึกษาหากลไกและวิธีการในการเจรจาตอรองภายในสมาชิกรัฐสภาทังจากพรรค การเมืองเดียวกันและจากพรรครัฐบาลและพรรคฝายคาน เพื่อใหการประชุมและอภิปรายมี สาระประโยชนในประเด็นที่กําลังถกเถียง และสามารถทําใหนโยบายของชาติสามารถสะทอน ถึงผลประโยชนของทุกภาคสวนไดอยางเทาเทียมกัน สรางสรรคเวทีในรัฐสภาใหเปนภาพ จําลองของสังคมที่สมานฉันทเพื่อใหประชาชนไดมีความคาดหวังตอตัวแทนไดอยางแทจริง กลุมยอยที่ 5 ประสบการณดานการพัฒนารัฐสภานานาประเทศ นอกเหนือจากการที่จะวิเคราะหถึงการทํางานของรัฐสภาของไทยแลวนั้น โดยการรับรู และแลกเปลี่ยนประสบการณของการทํางานและระบบรัฐสภาของตางประเทศ ทั้งในดานของ สภาพปญหา และแนวทางการเสริมสรางประสิทธิภาพการทํางานของรัฐสภานั้นจะสงผลใหเกิด แนวทางการพั ฒนาประสิ ทธิภาพของรัฐสภาอันจะกอใหเกิ ดประโยชนสูงสุดตอประชาชน เจาของอํานาจอธิปไตยและประเทศชาติ นอกจากนี้แลวการสรางความรวมมือ หรือการสราง เครือขายระหวางรัฐสภาของแตละประเทศ ก็เปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะทําใหรัฐสภานั้นทํางานได อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในลักษณะของการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการใหความชวยเหลือ รวมมือ ในดานตางๆอีกดวย โดยมีประเด็นสําคัญในการอภิปรายคือ - ประสบการณทํางานของรัฐสภาในตางประเทศ - แนวทางการสรางความรวมมือกับรัฐสภาของตางประเทศ

5


(ร่าง)กาหนดการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจาปี 2555 เรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภา: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ” (Parliamentary Reform: Comparative Perspectives) ระหว่างวันที่ 8 - 10 พฤศจิกายน 2555 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดาเนินนอก กรุงเทพมหานคร 

วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน2555 11.00-13.00 น. 13.30-14.30 น.

ลงทะเบียน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จฯแทนพระองค์ มาทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการ ประชุมวิชาการสถาบัน พระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจาปี 2554

14.30-14.40 น.

ชมวีดีทัศน์เรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภา”

14.40-15.30 น.

การแสดงปาฐกถานา เรื่อง “Parliamentary Reform” โดย Mr. Anders B. Johnsson (Secretary General of Inter-Parliamentary Union)

15.30-17.30 น.

การอภิปรายร่วมระหว่างผู้แทนจากต่างประเทศ เรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภา: ประสบการณ์จากต่างประเทศ (Parliamentary Reform : International Perspectives) โดย 1. Mrs. Timo Panagerang (อินโดนีเซีย) 2. ผู้อภิปรายจากประเทศอังกฤษ 3. ผู้อภิปรายจากประเทศเยอรมนี 4. Mr. Stephen Owen (แคนาดา) 5. Dr. Sonam Kinga (ภูฏาน)


การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจาปี 2555

ผู้ดาเนินการอภิปราย ดร.ชิงชัย หาญเจนลักษณ์ ประธานกรรมการจัดงานประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2555 08.00-09.00 น. 09.00-10.00 น.

ลงทะเบียน การแสดงปาฐกถาเรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภาไทย” โดย ประธานรัฐสภา สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

10.00-10.30 น. 10.30-12.00 น.

พักรับประทานอาหารว่าง อภิปราย เรื่อง “แนวทางการปฏิรูปรัฐสภาไทย” โดย 1. ดร. ดิเรก ถึงฝั่ง 2 จาตุรนต์ ฉายแสง 3. ศาสตราจารย์ ดร. ลิขิต ธีรเวคิน 4. ศาสตราจารย์ ดร. ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ผู้ดำเนินกำรอภิปรำย: จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์

12.00-13.00 น. 13.00-17.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน ลงทะเบียน (แยกลงทะเบียนในแต่ละกลุ่ม)

การประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มย่อยที่ 1

บทบาทด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา

วิทยากร: 1. ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ 2. ดร.พีรพันธ์ พาลุสุข 3. ประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์ ผู้ดำเนินกำรอภิปรำย: รองศาสตราจารย์ ดร. มนตรี รูปสุวรรณ ผู้สรุป: ผู้อานวยการวิทยาลัยการเมืองการปกครอง กลุ่มย่อยที่ 2

บทบาทด้านการตรวจสอบ และถ่วงดุลของรัฐสภา

วิทยากร: 1. รองศาสตราจารย์ ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ 2. จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ 3. Mr. Andrew Ellis (IDEA)

ผู้ดำเนินกำรอภิปรำย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ ผู้สรุป: ผู้อานวยการวิทยาลัยพัฒนาปกครองท้องถิ่น

2


การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจาปี 2555

กลุ่มย่อยที่ 3

บทบาทด้านงบประมาณของรัฐสภา

กลุ่มย่อยที่ 4

บทบาทด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน

วิทยากร: 1. ตัวแทนจาก World Bank 2. ศาสตราจารย์ ดร. จรัส สุวรรณมาลา 3. วลัยรัตน์ ศรีอรุณ ผู้ดำเนินกำรอภิปรำย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มานวิภา อินทรทัต ผู้สรุป: ผู้อานวยการสานักวิชาการส่งเสริมวิชาการรัฐสภา

วิทยากร: 1. ดร. ถวิลวดี บุรีกุล 2. สน รูปสูง 3. ไพจิต ศรีวรขาน 4. Prof. Yang Fengchun (University of Peking) ผู้ดำเนินกำรอภิปรำย : รองศาสตราจารย์ สมชัย ศรีสุทธิยากร ผู้สรุป: ผู้อานวยการสานักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง กลุ่มย่อยที่ 5

รัฐสภากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

วิทยากร: 1. รองศาสตราจารย์ ดร. นิยม รัฐอมฤต 2. เจริญ ภักดีวานิช 3. ดร.ผุสดี ตามไท 4. นพ. ชลน่าน ศรีแก้ว ผู้ดำเนินกำรอภิปรำย : ดร. บัณฑิต จันทร์โรจน์กิจ ผู้สรุป: ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมภิบาล วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2555 08.00-08.30 น. 08.30-10.30 น.

ลงทะเบียน นาเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม กลุ่มย่อยที่ 1 บทบาทด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา โดย ผู้อำนวยกำรวิทยำลัยกำรเมืองกำรปกครอง กลุ่มย่อยที่ 2 บทบาทด้านการตรวจสอบ และถ่วงดุลของรัฐสภา โดย ผู้อำนวยกำรวิทยำลัยพัฒนำปกครองท้องถิ่น กลุ่มย่อยที่ 3 บทบาทด้านงบประมาณของรัฐสภา

3


การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจาปี 2555

4

โดย ผู้อำนวยกำรสำนักวิชำกำรส่งเสริมวิชำกำรรัฐสภำ กลุ่มย่อยที่ 4 บทบาทด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน โดย ผู้อำนวยกำรสำนักส่งเสริมกำรเมืองภำคพลเมือง กลุ่มย่อยที่ 5 รัฐสภากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย โดย ผู้อำนวยกำรสำนักสันติวิธีและธรรมภิบำล ผู้ดำเนินรำยกำร: รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย รองเลขาธิการ สถาบันพระปกเกล้า 10.30-10.45 น. 10.45-11.45 น. 11.45-12.00 น.

ชมวีดิทัศน์รางวัลพระปกเกล้าและพิธีมอบรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ประจาปี 2555 แสดงปาฐกถาปิดและกล่าวปิดการประชุม โดย ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า ชมวีดิทัศน์การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.