โครงการประชาเสวนาหาทางออกและการกำหนดนโยบายสาธารณะ

Page 1

บทสรุปผูบ ริหาร โครงการประชาเสวนาหาทางออกและการกําหนดนโยบายสาธารณะ : การศึกษาเชิงปฏิบตั ิการในพื้นที่ตําบลสัตหีบ อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี * การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น อํานาจการปกครองเปนของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน กลาวไดวา “ประชาชน” เปน “หัวใจ” สําคัญในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ดังนั้น หากประชาชนนิ่งเฉยไมใสใจตอความเปนไปของประเทศชาติ ไมตระหนักในศักยภาพของตนเองวา สามารถแกไขและพัฒนาประเทศดวยตนเองได รังแตเฝารอความชวยเหลือจากหนวยงานตางๆสังคมและ ประเทศชาติยอมพัฒนาไมได ด ว ยเหตุ นี้ การส ง เสริ ม ให พ ลเมื อ งมี ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย ในหลักการที่สําคัญตางๆ เชนเรื่องสิทธิเสรีภาพ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ความเสมอภาค เรียนรูที่จะอดทนอดกลั้น รับฟง รูจักตั้งคําถาม ตั้งขอสังเกต คิดและวิเคราะหเปน รวมทั้งกระตุนใหพลเมือง ตระหนักถึงประโยชนของสวนรวม และไมนิ่งดูดายตอปญหาตางๆที่เกิดขึ้นกับประเทศชาติ พรอมที่จะยื่น มือเขามาปกปองและแกไขปญหาตางๆที่เกิดขึ้นรวมกับผูแทนและเพื่อนรวมชาติ จึงเปนสิ่งสําคัญที่พึง ส ง เสริ ม และปลู ก ฝ งให เ กิ ด ขึ้ น ในจิต ใจของพลเมื อ งทุ ก คน เพราะคุณ สมบั ติ เ หลา นี้ เ ป น สิ่ง สํา คั ญที่ จ ะ สนับสนุนใหการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีคุณภาพ สังคมมีความเขมแข็งและพรอมที่จะเคลื่อน ไปสูจุดหมายที่พึงปรารถนาของทุกฝาย สํานักสงเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกลา ในฐานะหนวยงานที่มีภารกิจในการ สงเสริมและเผยแพรองคความรูเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การมีสวนรวมทางการเมือง ใหเปนที่รับรูเขาใจในวงกวาง รวมทั้ง หนุนเสริมใหภาคพลเมืองมีความเขมแข็ง จึงจัดทําโครงการประชา เสวนาหาทางออก ขึ้น เพื่อเปนเวทีสาธารณะในการเผยแพรองคความรูที่เกี่ยวของกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยใหกวางขวางออกไป รวมทั้งเพื่อเปดโอกาสใหคนในพื้นที่ไดเรียนรูรูปแบบการมีสวนรวม ทางการเมืองที่มีอยูหลากหลาย และเพื่อเปนชองทางหนึ่งที่จะกระตุนใหคนในพื้นที่ตระหนักในศักยภาพ ของตนเองในการเปนสวนหนึ่งและมีสวนรวมกับองคกรเครือขายในการปกครองและพัฒนาบานเมืองได ผานกระบวนการประชาเสวนาหาทางออก (public deliberation) และการแสวงหาแนวทางนโยบายรวมกัน ดวยกระบวนการหาฉันทามติ *

บทความนี้เปนสวนหนึ่งของรายงานการวิจัย เรื่อง การประชาเสวนาหาทางออกและการกําหนดนโยบายสาธารณะ :

การศึกษาเชิงปฏิบัติการในพื้นที่ตําบลสัตหีบ อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (2554) โดย จารุวรรณ แกวมะโน นักวิชาการ สํานักสงเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกลา


เปาหมายสําคัญของโครงการประชาเสวนาหาทางออกมุงหวังเปนเวทีหนึ่งในการสงเสริมความ เขมแข็งใหแ กการเมืองภาคพลเมืองของคนในพื้น ในแงที่คนในพื้นที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย และสามารถรวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาและพัฒนาชุมชนของตนเองได สําหรับกระบวนการสงเสริมความเขมแข็งของการเมืองภาคพลเมืองในโครงการประชาเสวนา หาทางออกนี้ เปนการผสานระหว างการจัด เวทีเผยแพรและใหความรูเ กี่ยวกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยและการมีสวนรวมทางการเมือง เขากับการถายทอดกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ 6 ขั้นตอน และเปดเวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการใหคนในพื้นที่ไดฝกปฏิบัติจริงตามขั้นตอนตางๆ ในการระบุ ปญหาสาธารณะและรวมกันกําหนดแนวทางแกไข โดยผลลัพธที่คาดหวังจะไดรับจากการประชาเสวนาครั้ง นี้คือ กิจกรรม โครงการ หรือนโยบายที่คนในชุมชนรวมกันกําหนดขึ้น เพื่อแกไขหรือพัฒนาพื้นที่ของตน ขณะที่ผลลัพธสุดทายที่ตองการคือ คนในชุมชนมีความเขมแข็ง ตระหนักในศักยภาพของตนเรียนรูที่จะ รวมตัวแกไขปญหาตางๆตอไปได โดยในครั้งนี้มุงดําเนินการในพื้นที่เปาหมายคือ 9 หมูบาน ในตําบลสัต หีบ อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สําหรับกระบวนการที่สําคัญที่นํามาใชในการประชาเสวนาหาทางออกก็คือ การจัดประชาเสวนา หาทางออก (public deliberation) อันเปนรูปแบบของการเปดเวทีสาธารณะใหทุกคนทุกฝายที่เกี่ยวของไดมี โอกาสพบปะแลกเปลี่ยนกันในประเด็นที่แตละฝายสนใจเพื่อกําหนดแนวทางปฏิบัติรวมกันตอไป โดยเวที สาธารณะนี้ทุกฝายจะมีเสรีภาพในการแสดงความเห็นอยางเต็มที่ภายใตกติกาที่ทุกฝายรวมกันกําหนดขึ้น อยางไรก็ตาม การประชาเสวนาหาทางออกจะดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพก็ตอเมื่อ ผูเขารวม เวทีเสวนามีความรูในเบื้องตนเกี่ยวกับกระบวนการตางๆที่จําเปนในการเสวนาเสียกอน อาทิ ความรูพื้นฐาน เรื่องการฟงอยางตั้งใจ การมีสวนรวมทางการเมืองในรูปแบบตางๆ เชน การมีสวนรวมผานการกําหนด นโยบายสาธารณะ และ กระบวนการหาฉันทามติ เปนตน ดวยเหตุนี้ ขั้นแรกของกระบวนการจึงตองเริ่มตนจากการถายทอดองคความรูที่จําเปนเกี่ยวกับ กระบวนการประชาเสวนาหาทางออกแกผูเขารวมเวที จากนั้นจึงเริ่มตนฝกฝนปฏิบัติตามกระบวนการทีละ ขั้น เริ่มตั้งแตการระดมความเห็นเกี่ยวกับปญหาความตองการในกลุมยอย เพื่อระบุปญหาที่หมูของตนเห็น วามีความสําคัญมาหมูละ 3 ปญหา จากนั้น เปนขั้นของการนําปญหาทั้งหมดที่ไดจากการระดมความเห็น กลุมยอยมารวมกัน และใหผูเขารวมระบุปญหาสาธารณะที่ทุกฝายเห็นวาสําคัญที่สุดโดยกระบวนการฉันทา มติในเวทีประชาเสวนาขนาดใหญ เพื่อนํามาเปนปญหาตั้งตนในการขับเคลื่อนเพื่อแกไขปญหาและสราง ความเขมแข็งสามัคคีใหแกคนในชุมชน จากแนวทางกระบวนการขางตน สํานักสงเสริมการเมืองภาคพลเมือง ดําเนินการในพื้นที่ดวยการจัด เวทีประชาเสวนาหาทางออกกวา 20 ครั้ง ผลจากการจัดเวทีประชาเสวนาหาทางออก ทําใหคนในพื้นที่ไดมี โอกาสและเปลี่ยนในประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของตน กระทั่งสามารถระบุปญหาออกมาไดดังตาราง ดานลาง 2


ตารางที่ 1

ประเด็นปญหาจากเวทีประชาเสวนาหาทางออก แยกตามหมู

หมูที่

ประเด็นปญหา

หมูที่ 1

วัยรุน

ขยะ

หมูที่ 2

ปญหาเรื่องน้ํา (ไมพอ

ปญหาสุนัขและแมวถาย

และไมสะอาด)

อุจาระไมเปนที่

ปญหาขยะทีเ่ ขาเพชร

ปญหายาเสพติด

หมูที่ 3

ทอระบายน้ํา

ปญหาถนนไมมีทอ ระบายน้ํา

หมูที่ 4

ปญหายาเสพติด

ปญหาขยะสงกลิ่นเหม็น

ปญหาความสามัคคี

หมูที่ 5

ปญหายาเสพติด

ปญหาทอระบายน้ํา

ปญหาเสียงรบกวนจาก สถานประกอบการ

หมูที่ 6

ปญหาน้ําประปา

ไฟสองทาง

หมูที่ 7

ปญหามลพิษทางเสียง

ปญหาทางกลิ่นจาก

ปญหาทีเปนผลกระทบ

จากสถานประกอบการ

โรงงานพลาสติก

จากการขนสง

ปญหาถนนชํารุด

ปญหาคลองหนอง

ปญหาขยะ

หมูที่ 8

ตาลอกเนา หมูที่ 9

ปญหาขาดความสามัคคี

ปญหายาเสพติด

ปญหาภาครัฐไมใหความ รวมมือในการแกปญหา

3


ซึ่งเมื่อนํ าประเด็ นป ญหาที่เหมือนกันรวมกันเขา ทําให ไดประเด็น ปญหาที่ชาวสัตหีบเห็ นว ามี ความสําคัญทั้งสิ้น 13 ปญหาดวยกัน ประกอบดวย 1. ปญหาคลองตาลอก 2. ปญหาขาดความสามัคคี 3. ปญหาภาครัฐไมใหความรวมมือในการแกไขปญหา 4. ปญหาถนนชํารุด 5. ปญหาประปา ทอน้ํา น้ําไมสะอาด 6. ปญหาไฟสองทาง 7. ปญหาขยะ 8. ปญหาวัยรุน 9. ปญหายาเสพติด 10. ปญหาสุนัข / แมว ถายไมเปนที่ 11. ปญหาผลกระทบจากการขนสง 12. ปญหาเสียงรบกวนจากสถานประกอบการ 13. ปญหามลพิษจากโรงงานพลาสติก อยางไรก็ตาม ในกระบวนการแกไขปญหาตามแนวทางประชาเสวนาหาทางออกนั้น จะตองเลือกมา เพียง 1 ประเด็น เพื่อหาทางออกรวมกัน ทั้งนี้เพราะการดําเนินการแกไขปญหาไปทีละเรื่องมีแนวโนมที่จะ ประสบความสําเร็จมากกวา อีกทั้ง ยังนําไปสูความรวมแรงรวมใจกันของทุกฝายที่เกี่ยวของไดมากกวาการ แกไขหลายปญหาในคราวเดียว การระบุปญหาจึงมีความสําคัญมาก ปญหาที่ไดตองมีความสําคัญที่สุด เปนปญหาสาธารณะที่สงผลกระทบตอหลายฝาย และเปนปญหาที่มีหนวยงานรับผิดชอบชัดเจน เพื่อให สามารถผลักดันขอเสนอเขาสูการปฏิบัติทางนโยบายอยางมีประสิทธิภาพและตอเนื่อง การระบุปญหาและแนวทางแกไขดวยกระบวนการฉันทามติ นี้ แตกตางจากการใชเสียงขางมากใน แงที่กระบวนการฉันทามติมุงเนนการเปดโอกาสใหเสียงสวนนอยไดแสดงความคิดเห็นและใหเหตุผลของ ตนดว ย โดยฉันทามติที่ ไดคือขอเสนอที่ทุ กฝาย ยอมรับได แมจะไมทั้ งหมดก็ตาม แตก็เ ห็นตรงกันวา ขอเสนอดัง กลา วเป นข อเสนอที่ มีเหตุมีผลและมีความเปน ไปไดม ากที่ สุด ในขณะนั้น ฉันทามติจึง เปน กระบวนการที่เป น ไปเพื่ อส งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย (democratization) ที่ มี คุณภาพ ลดความ ขัดแยง รวมทั้งยังเพิ่มโอกาสและประสิทธิภาพในการแกไขปญหา ภายหลังจากไดประเด็นปญหาจากทั้ง 9 หมูแลว ดังตารางขางตน ก็ถึงขั้นของการระบุปญหาดวย กระบวนการฉันทามติ ซึ่งชาวสัตหีบไดรวมกันระบุปญหาสําคัญเรงดวนมาได 2 ปญหา คือ ปญหายาเสพติด และปญหาความสามัคคี อยางไรก็ตาม ภายหลังการแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นอยางกวางขวาง 4


ชาวสัตหีบมีฉันทามติที่จะดําเนินการแกไขปญหายาเสพติดในอําเภอสัตหีบกอน เนื่องจากปญหานี้เปน ปญหาสาธารณะที่สงผลกระทบในวงกวาง เนื่องจาก สงผลตอเยาวชนอนาคตของชาติและนําไปสูปญหา อาชญากรรมอื่นๆตามมา ยาเสพติดจึงเปนปญหาสาธารณะที่สมควรไดรับการแกไขเปนอันดับแรก ด ว ยเหตุ นี้ ชาวสั ต หี บ จึ ง รวมตั ว กั น ภายใต ชื่ อ “เครื อ ข า ยสมานฉั น ท อํ า เภอสั ต หี บ ” ขึ้ น เพื่อขับเคลื่อนปองปรามปญหายาเสพติดในพื้นที่อําเภอสัตหีบ ดวยการจัดการอบรมใหความรูแกเยาวชนนํา รองใน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนบานสัตหีบ และ อนุบาลบานเตาถานเมื่อวันที่ 22- 23 กันยายน พ.ศ. 2554 ในกิจกรรมที่ชื่อ “จิตอาสาปองปรามยาเสพติด” โดยมีเปาหมายสําคัญในการสรางความรูความเขาใจและ ความตระหนักเกี่ยวกับโทษและพิษภัยที่เกิดจากยาเสพติด ใหแกเยาวชนทราบ เพื่อปองกันตนเองไมใหเขา ไปเกี่ยวของกับยาเสพติด อันเปนการ “ตัดไฟแตตนลม” ที่สําคัญ วัตถุประสงคของกิจกรรมจิตอาสาปองปรามยาเสพติดนี้ เกิดจากความตองการของชาวสัตหีบที่ ตองการเห็นลูกหลานคนในพื้นที่มีรางกายและจิตใจที่เขมแข็ง ไมเปนภาระและไมสรางปญหา ทั้งยังพรอมที่ จะเปนหูเปนตา รวมกันกับหนวยงานและองคตางๆในพื้นที่ในการปองกันยาเสพติดและพัฒนาพื้นที่สัตหีบ ใหนาอยูตอไป แนวคิด หลั ก ในการแก ไขป ญ หายาเสพติด ของคนในพื้น ที่ สัตหีบครั้งนี้ จึ ง อยูที่ ก าร “ตัด ไฟแต ตนลม” ทั้งนี้เพราะผูเขารวมเล็งเห็นตรงกันวาปญหายาเสพติดนั้นมีเครือขายใหญโตเกินกวาที่จะแกไขไดใน คราวเดียว สิ่งที่ทําไดจึงเปนเพียงการลดทอนปญหาดังกลาวใหเหลือเปนปญหานอยที่สุดจนกระทั่งหมดไป เอง จากแนวคิดขางตนจึงเปนที่มาของโครงการ “จิตอาสาปองปรามยาเสพติด” ดังกลาว จะเห็นไดวา ขั้นตอนกระบวนการประชาเสวนาหาทางออก นั้นสามารถหนุนเสริมใหคนในพื้นที่มี ความเขมแข็ง สามารถดึงศักยภาพออกมาเพื่อแกไขปญหาและพัฒนาพื้นที่ของตนเองดวยตนเองได อันเปน เปาหมายหลักของกระบวนการนี้ อยางไรก็ตาม ความสําเร็จในการดําเนินโครงการในพื้นที่ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ทั้งเรื่อง บริบทของพื้นที่ สภาพแวดลอม ความพรอมและความสมัครใจของคนในพื้นที่ ระยะเวลาในการดําเนินการ รวมไปถึงกิจกรรมที่นําลงไปปฏิบัติในพื้นที่มีความสอดคลองกับความตองการและไดรับความสนใจจากคน ในพื้นที่หรือไม เปนตน เหล านี้ คื อข อ สั ง เกตที่ ป ระมวลได จ ากการดํ า เนิ น การประชาเสวนาหาทางออกในพื้ น ที่สั ต หี บ เพื่อเปนขอเสนอสําหรับการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการประชาเสวนาหาทางออกใหมีประสิทธิภาพ ในการดําเนินการมากยิ่งขึ้น สําหรับผูสนใจนํากระบวนการดังกลาวไปปรับใชในพื้นที่ ขอสังเกตที่ 1 เรื่องบริบทของพื้นที่ ควรมีการสํารวจบริบทของพื้นที่ที่ศึกษา เพื่อใหทราบวาพื้นที่ นั้นมีกลุมเปาหมายใดที่เกี่ยวของบาง ประกอบอาชีพใด มีวัฒนธรรมเชนใด มีสภาพแวดลอมแบบใด และมี ชวงเวลาใดบางที่สะดวกในการจัดเวที 5


ในสวนของสัตหีบเปนพื้นที่ที่อยูในเขตที่มีความเจริญ มีความเปนเมืองสูง สงผลใหการรวมตัวกัน ของคนในชุมชนเปนไปไดยาก ความซับซอนของโครงสรางการปกครองในพื้นที่ที่ซอนทับกันอยูระหวาง เทศบาลเมืองและเทศบาลตําบล สงผลตอการบริหารจัดการและการกําหนดนโยบายบางอยาง ขอสังเกตที่ 2 เรื่อง กลุมเปาหมาย ควรมีการคัดเลือกกลุมเปาหมายที่มีความรูความสามารถใกลเคียง กัน ใหอยูในกลุมเดียวกัน ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ตองมีการอานหรือเขียน กรณีที่ผูเขารวมเปนผูสูงอายุ เนื่องจากอาจมีปญหาเรื่องการอานออกเขียนได นอกจากนั้น ควรเลือกกลุมเปาหมายใหครอบคลุมทุกภาค สวนที่อยูในพื้นที่ และควรทําความเขาใจกับผูปกครองทองถิ่นเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมดังกลาวเพื่อให หนวยงานองคกรดังกลาวรับทราบและใหความรวมมือตอไปในอนาคต ในสวนของพื้นที่สัตหีบเปนพื้นที่ที่มีความหลากหลายของผูคน ประชากรในพื้นที่ประกอบไปดวย ผูที่เปนขาราชการ ทหาร พอคา ประชาชน โดยสวนใหญเปนขาราชการที่เกษียณอายุราชการแลว ทําใหการ ลงพื้นที่จัดเวทีสัมมนาหลายครั้งผูที่มีเวลาวางและเขารวมเวทีสัมมนามักเปนผูสูงอายุ ขอสังเกตที่ 3 เรื่องชวงเวลา การลงพื้นที่ควรสํารวจชวงเวลาวางของคนในพื้นที่ดวย ซึ่งสวนใหญ มักสะดวกในชวงเวลาตั้งแต 09.00-14.00 เทานั้น หากเลยจากชวงเวลานั้นคนในพื้นที่มักมีภารกิจตองปฏิบัติ ทําใหไมสะดวกมาเขารวมเวที ขอสังเกตที่ 4 เรื่องสภาพแวดลอมในการถายทอดความรูในการจัดกิจกรรม สําหรับกระบวนการที่ นําไปดําเนิ นการในพื้ นที่ ครั้งนี้ คื อ ประชาเสวนาหาทางออก ซึ่งคนในพื้นที่ไมคุนชินกั บกระบวนการ ดังกลาว ทําใหเกิดความไมเขาใจตองเริ่มตนจากการถายทอดองคความรูเกี่ยวกับกระบวนการดังกลาวกอน แตเนื่องจากระยะเวลาอันสั้น กระบวนการที่ถายทอดจึงมีจํากัด ประกอบกับการจัดเวทีสัมมนาขนาดใหญ เพื่ออบรม ก็สงผลตอความสนใจที่มีจํากัด ดังนั้น หากตองมีการอบรมเพื่อถายทอดองคความรูกอนการ ดําเนินการควรเปนการสัมมนาในกลุมเล็กไมเกิน 30 คน เพื่อใหผูเขารวมไดแลกเปลี่ยนและเกิดความเขาใจ อยางแทจริง กลาวโดยสรุปผลการดําเนินการ จากวัตถุประสงคในการดําเนินโครงการในการมุงสงเสริมใหคน ในพื้นที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การมีสวนรวมทางการเมืองโดย ผานการกําหนดนโยบายสาธารณะ และการหนุนเสริมใหคนในพื้นที่รวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาและพัฒนา พื้นที่ดวยตนเอง ผานการเปดเวทีสาธารณะในกระบวนการประชาเสวนาหาทางออกและหาฉันทามตินั้น พบวาผูคนในชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการประชาเสวนาหาทางออกและการกําหนด นโยบายสาธารณะมากขึ้น สามารถใชความรูดังกลาวดําเนินกระบวนการตามขั้นตอนตางๆไดเกือบทุก ขั้นตอน กระทั่งสามารถระบุปญหาและกําหนดแนวทางดําเนินการตอปญหาดังกลาวไดในที่สุด แมวาใน หลายขั้นตอนกระบวนการยังคงตองไดรับการฝกฝนอยางตอเนื่องเพื่อใหกระบวนการดังกลาวสามารถแสดง

6


ออกมาไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เชน กระบวนการระบุปญหาและแนวทางแกไขปญหาดวยฉันทามติ การมีสวนรวมทางการเมืองผานการกําหนดนโยบายสาธารณะ เปนตน ดังที่พบวา แมผูเขารวมสัมมนาจะมีความรูความเขาใจวานโยบายสาธารณะคืออะไรมากขึ้น และ เขาใจวาพลเมืองสามารถเขาไปมีสวนรวมทางการเมืองผานการเสนอนโยบายสาธารณะไดนอกเหนือจาก การเลือกตั้ง การเสนอกฎหมาย หรือการเดินขบวนเรียกรอง อยางไรก็ตาม ในเรื่องของการแสดงออกซึ่งการ มีสวนรวมทางการเมืองในรูปแบบนี้ ก็จําเปนตองมีการฝกฝนเนื่องจากเปนทักษะประการหนึ่ง เชนเดียวกันกับกระบวนการหาฉันทามติ อันเปนกระบวนการหลักในการประชาเสวนาหาทางออก ที่แมผูเขารวมสัมมนาจะมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนกระบวนการหาฉันทามติและปฏิบัติไดอยาง ถูกตอง อีกทั้งยังสามารถอธิบายไดวากระบวนการดังกลาวคืออะไร ทําอยางไร และมีเปาหมายเพื่ออะไร กระนั้น ก็ยังมีบางที่นําเอากระบวนการไปใชปนเปกับกระบวนการเสียงขางมาก (majority vote) ซึ่งไมใช เรื่องแปลก เพราะที่ผานมาการใชเสียงขางมาก (majority vote) เปนกระบวนการหลักที่ใชกันอยางคุนชินใน การปกครองระบอบประชาธิปไตย ดังนั้น การหาฉันทามติจึงเปนอีกกระบวนการหนึ่งที่ตองไดรับการฝกฝน ปฏิบัติอยางสม่ําเสมอตอเนื่องเพื่อใหการแสดงออกเปนไปอยางธรรมชาติและสามารถแกไขปญหาไดอยาง แทจริง อยางไรก็ตาม เพื่อนําไปสูความเขมแข็งอยางยั่งยืนของชุมชน จําเปนตองมีการดําเนินโครงการตางๆ อยางตอเนื่องโดยคนในพื้นที่เอง ดวยการจัดเวทีประชาเสวนาหาทางออกเปนระยะ เพื่อเปดเวทีใหทุกฝายใน ชุมชนไดพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและแนวทางแกไขปญหาในพื้นที่เพื่อการพัฒนา อั น จะนํ า ไปสู ก ารสร า งความเข ม แข็ ง และความพร อ มในการดู แ ลตนเองของคนในชุ ม ชนได อ ย า งมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน

7


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.