
สุนทรียภาพและสถาปตยกรรม และภูมิทัศนพื้นถิ่น 6311200881 พัชรมัย ขำกา


ศาลเจาโรงเกือก
ตลาดนอย

สารบัญ เรื่อง บทนำ ความหมายของสุนทรียภาพ สุนทรียภาพและสถาปตยกรรมพื้นถิ่น ตัวอยางชุมชนหมูบาน และตลาดพื้นถิ่น แนวทางในการสรางใหชุมชนและบานเรือนยังยื่น สารบัญ หนา 1 4 5 8 14 16
ทำใหไดมองเห็นและเขาใจสุนทรียภาพและภูมิทัศนในงานสถาปตยกรรมพื้น

บทนำ
ถึงการไปทัศนศึกษา
ถิ่นมากขึ้น การเขาถึงความงามในงานสถาปตยกรรม การมองหรือดูอาคารบานเรือนที่มากขึ้น ลึก ซึ้งขึ้น ซึ่งสิ่งเลานี้สอดคลองกับผูคน วิถีชีวิต เวลา สถานที่ ความเชื่อ ทำใหอาคารบานเรือนที่ไมมี ชีวิตกลับมีชีวิตชีวา สิ่งเลานี้ลวนสงตอผานกาลเวลา ไมใชแคสถาปตยกรรมที่อาศัยอยูไปวันๆ แต ทิ้งรองรอย กลิ่นอาย และความรูของคนพื้นที่นั้นๆเอาไวดวย 1
จากการเรียนรูบทเรียนในรายวิชาสุนทรยภาพสถาปตยกรรมและภูมิทัศนพื้นถิ่น รวมไป


2 ตรอกศาลเจาโรงเกือก ตลาดนอย

3
ตรอกศาลเจาโรงเกือก
ตลาดนอย


4 ความหมายของสุนทรียภาพ 6 สุนทรียศาสตรและสุนทรียภาพ สุนทรียศาสตร (Aestheties) เปนเนื้อหาวาดวยการศึก ษาเรื่องมาตรฐานของความงามในเชิงทฤษฎีอันเกี่ยวกับประสบการณทางสุนทรียภาพ กฎเกณฑ ทางศิลปะ
คา (Axiology) ในสมัยกอนวิชานี้เปนที่รูจักกันในรูปของวิชา “ทฤษฎีแหงความงาม” (Theory of Beauty) หรือปรัชญาแหงรสนิยม (Philosophy of taste) คำวา “สุนทรียศาสตร” มาจากศัพทภาษาบาลีวา“สุนทรียะ” แปลวาดี งานสุนทรียศาสตรจึงมีความหมายตามรากศัพทวาวิชาที่วาดวยความงาม ในความหมายของคำเดียวกันนี้ นักปราชญ ชาวเยอรมันชื่อAisthetics Baumgarten (1718 – 1762) ไดเลือกคำในภาษากรีก มาใชคำวา Aisthetics ซึ่งหมายถึงการรับรูตามความรูสึก (Sense Perception) เปนวิชาเกี่ยว กับเรื่องทฤษฎีแหงความงามตรงกับคำในภาษาอังกฤษวา Aesthetics สวนในภาษาไทยใชคำวา สุนทรียศาสตรหรือวิชาศิลปะทั่วไป ดังนั้น จึงถือวาศิลปะเปนสวนหนึ่งของสุนทรียศาสตรหรือ เมื่อกลาวถึงสนุทรียศาสตรเมื่อใดก็มักจะเกี่ยวของกับงานศิลปะนั่นเอง “สุนทรีภาพ” (Aisthetic) หมายถึง ความซาบซึ้งในคุณคาของสิ่งที่งาม ไพเราะ หรือ รื่นรมย ไมวาจะเปนธรรมชาติ หรือศิลปะ (พจนานุกรมศัพทศิลปะ. 2530 : 6) ซึ่งความรูสึกซาบ ซึ้งในคุณคาดังกลาวนี้ยอมจะเจริญเติบโตไดโดยประสบการณ หรือการศึกษา อบรม ฝกฝน จน เปนอุปนิสัยเกิดขึ้นเปนรสนิยม (Teste) ขึ้นตามตัวบุคคล
สุนทรียศาสตรนับวาเปนแขนงหนึ่งของปรัชญาในสวนที่เกี่ยวของกับการแสวงหาคุณ
สุนทรีศาสตร Aesthetices คืออะไรที่เกี่ยวกับความรูสึก วิชานี้เปนการวิเคราะหคุณคา ของความงาม การเรียนรูเชิงประวัติศาสตร การรับรูสุนทรี แบงออกเปน 2 แบบ คือโดยตรง และ ประสบการณ ในรายวิชาเราไดเรียนรูทั้งในหองเรียน ประสบการณของอาจารย และการรับรู โดยตรงผานจาดการทัศนศึกษา บทบาทของสุนทรี คือ เกิดความสนใจ เกิดมิติความคิด ความเขาใจเหตุผล จุดมุงหมาย ของรายวิชา คือ ยกระดับ สรางสรรค สนใจในภูมิปญญา คนหาคุณคาความงามตอไป สุนทรียภาพ นำไปสูปรากฏการณทางวัฒนธรรม สถาปตยกรรมพื้นถิ่น Vernacular ลักษณะคือ มีความเรียบงาย หลากหลาย กลมกลืน เทคนิคการกอสรางถายทอดมาจากบรรพบุรุษ และสถาปนิกและภูมิสถาปนิกนิรนาม อิทธิพลของสถาปตยกรรมแบงออกเปน สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมสรางสรรค บาน เรืือนไทย แบงตาม ชนชาติพันธุ โครงสราง/วัสดุ และภูมิภาค สรุปสุนทรียภาพและสถาปตยกรรมและภูมิทัศนพื้นถิ่น คือการรับรูถึงความงาม ของ สถาปตยกรรมพื้นถิ่น ถายทอดผานกระบวนการรับรู มอง รส กลิ่น เสียง สัมผัส ถูกเลาผาน ประวัติศาสตรของคนในชุมชนพื้นที่ วิถีชีวิต ความเปนอยูที่กอใหเกิดสถาปตยกรรมในพื้นถิ่นที่ สุนทรียภาพและสถาปตยกรรมพื้นถิ่น 5 Enviroment Built Sociology-Culture

ชุมชนตลาดน้ำวัดไทร

7
ชุมชนตลาดน้ำวัดไทร


ตลาดน้ำวัดไทร ซอย เอกชัย 24 แขวงบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ตลาดน้ำวัดไทรเคยเปนสถานที่ทองเที่ยวที่โดงดัง และเคยมีตลาดน้ำที่ผูคนมากมาย ปจ บันมีเพียงตลาดหนาวัดไทร ไมมีตลาดน้ำเสียแลว เริ่มมีมากอนสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือราวๆ ยุค 2470-2480 ราวๆ80 กวาปกอนนี้เอง ความคึกคักของตลาดน้ำวัดไทร อุตสาหกรรมการทองเที่ยว คอยๆ เติบโตขึ้น ไกดไทยก็เริ่มนิยมพานักทองเที่ยวไปดูตลาดน้ำวัดไทรกันอยางสนุกสนาน จนถึง ยุค 2520 ตลาดน้ำวัดไทรก็เริ่มวาย ประกอบกับถนนเริ่มไปมาสะดวกขึ้น ที่สุดตลาดน้ำวัดไทรก็ เหลือแตชื่อ สถาปตยกรรมสวนใหญในปจจุบันมีทั้งบานไมและบานคอนกรีต ทั้งบนบก และริม แมน้ำ เปนชุมชนริมน้ำ ที่ติดกับรางรถไฟอีกดวย การเขาถึงของตัวตลาดจึงมีความหลากหลาย ทั้ง รถ ราง เรือ และจะมีบีทีเอสสายสีแดงในอนาคตอีกดวย ปจจุบันมีเพียงตลาดบนบนที่ขนาบ ขางดวยบานเชาในเขตที่ดินวัด ทั้งตลาดและชุมชนมีประวัติมานานเกี่ยวของกับวิถีชีวิตริมน้ำ ปจจุบันตัวตลาดซบเซาลง เปนอยางมาก ทั้งที่พื้นที่มีศักยภาพไมแพกับตลาดนอยที่เราเคยไปศึกษา ตลาดน้ำวัดไทร มีความ อบอุน กลิ่นอายของวิถีชีวิตเกาๆ เพราะคนที่นี่ยังคงสัญจรทางเรือ บานริมน้ำก็จะมีพื้นที่ที่เวนไว เพื่อเก็บเรืออีกดวย และยังคงมีการเดินทางดวยรถไฟ พื้นที่ชุมชนนี้ประกอบไปดวยวัด โรงเรียน ทำใหคึกคัก หากตลาดน้ำวัดไทรไดฟนฟูและสงเสริมการทองเที่ยว พื้นที่แหงนี้จะกลับมามีชีวิต อีกครั้ง ตัวอยางชุมชนหมูบาน และตลาดพื้นถิ่น ชุมชนตลาดน้ำวัดไทร 8





9






ขอเสนอในการปรับเปลี่ยนพื้นที่ในอนาคต ขอเสนอการพัฒนา พื้นที่ในอนาคต 10


ชุมชนตลาดน้ำวัดไทร 11


ชุมชนตลาดน้ำวัดไทร 12





13
การสรางชุมชนอยางยั่งยืนแบบพึ่งพาตนควรสงเสริมสนับสนุนใหชุมชนมีการรวมตัวกัน




แนวทางในการสรางใหชุมชนและบานเรือนยังยื่น การคงอยูของชุมชนและบานเรือนพื้นถิ่น รวมถึงตลาดน้ำวัดไทรที่ยกตัวอยาง ปจจุบันที่มีอยูไดเพราะคนสืบทอดกันรุนตอรุน การเขามาของเทคโนโลยี ความสะดวกสบายอาจ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตผูคนไป ทุกชุมชนลวนมีปญหา เชนตลาดน้ำวัดไทรก็มีปญหาเรื่องพื้นที่การเขา ถึงตลาด ที่มีอาคารขวาง พื้นที่สวนกลางนอย ทำใหพื้นที่มันซบเซา
รูจักกันดี
วิเคราะห วิจารณปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง เพื่อรวมกันเสนอหาทางเลือก และแกปญ หา การที่จะสรางชุมนและบานเรือนใหยั่งยืนอยูได นาจะเปนจุดยืนเอกลักษณของพื้นที่นั้นๆ ที่ เปนเสนหและวิถีชีวิตเดิม อาจจะมีการปรับเปลี่ยนตามยุคตามสมัย แตเชื่อวาประวัติศาสตร และ วิถีชีวิตของชุมชนและพื้นที่ จะรอยเรียงใหชุมชนยังคงอยูตอไป ซึ่งสถาปตยกรรมก็เปนสวนหนึ่ง ของเรื่องราวที่ถูกถายทอดออกมาใหผูคนรับรูความเปนมาของพื้นที่เชนกัน 14
ทั้งๆที่เปนชุมชน ทุกคนลวน



15
<https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10 000/generality/10000-10184.html> เขาถึงขอมูลเมื่อ 20
2566 สุนทรียะในงานสถาปตยกรรม <https://www.finearts.cmu.ac.th/e_doc/58/109115/17.pdf>


Vernacular Architecture<https://www.wazzadu.com/article/5431>
<https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_

บรรณานุกรม สุนทรียศาสตรและสุนทรียภาพ
มีนาคม
เขาถึงขอมูลเมื่อ
มีนาคม
สถาปตยกรรมพื้นถิ่น
เขาถึงขอมูลเมื่อ 20 มีนาคม 2566 ตลาดน้ำวัดไทร
16519> เขาถึงขอมูลเมื่อ 20 มีนาคม 2566 16 ชุมชนตลาดน้ำวัดไทร
20
2566

