Week5

Page 1

แผนการสอนแบบฐานสมรรถนะ (Competency-based Teaching Plan) สัปดาห์ ท่ ี (Week) 5 รหัสวิชา (Code) 3000-1601 วิชา (Subject) ห้ องสมุดกับการรู้สารสนเทศ หน่ วยที่ (Unit) 2 ชื่อหน่ วย (Name of Unit)ประเภทของข้ อมูลสารสนเทศรูปแบบต่างๆ ชื่อเรื่อง (Topic) แหล่งการเรียนรู้ 1. สาระสำาคัญ (Concept) แหล่งการเรียนรู้มีอยูท่ กุ หนทุกแห่งตามกระบวนการและพฤติกรรมการเรี ยนรู้ โดยจำาแนกลักษณะการเข้ าถึงและ การได้ รับสารสนเทศเป็ น 4 ประเภทได้ แก่ แหล่งสารสนเทศส่วนบุคคล แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศ สถานที่ และแหล่งสารสนเทศบนเครือข่ายโดยเฉพาะอินเตอร์ เน็ต สารสนเทศบนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตครอบคลุมบริ การ ต่าง ๆ บนเครื อข่ายโดยเฉพาะบริการสืบค้ นสารสนเทศผ่านเครื อข่ายใยแมงมุม (World Wide Web : WWW) 2. สมรรถนะหลัก/ย่ อย (Unit of Competence / Element of Competence) 3. จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective) 1. ผู้เรียนสามารถบอกความหมายของ การเรี ยนรู้ได้ อย่างถูกต้ อง 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายแหล่งการเรี ยนรู้ประเภทต่าง ๆ ได้ อย่างถูกต้ อง 3. เมื่อผู้สอนหมายงานผู้เรียนสามารถทำางานส่งตรงตามเวลาที่กำาหนด


43

4. แผนปฏิบัตกิ าร (Schedule) ระยะเวลา (นาที) : Time (Minute)

10

จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม (ข้ อที่) : Behavior Objective (No.) ขัน้ นำาเข้ าสู่บทเรี ยน (Motivation) ถาม - ตอบ (Quiz) ขัน้ การให้ เนือ้ หาความ ชี ้ทาง (Detail) รู้ (Information) สรุป (Conclusion) ขัน้ การประยุกต์ เนือ้ หา ทฤษฎี (Theory) (Application) ปฏิบตั ิ (Laboratory) ขัน้ ตรวจผลสำาเร็จ (Progress) ระดับกิจกรรมของผู้ กลาง (Average) เรี ยน (Students’ Comprehension สูง (High) Level)

กระดาน (Whiteboard) ใบความรู้ (Information สื่อการเรี ยนการสอน (Materials)

Sheet)

แบบทดสอบ (Test Paper)

ใบงาน (Worksheet) สไลด์ (Slides)

20

30

40

50

60

70

80

90

10 0

11 0

12 0

13 0

14 0

150


44

5. กิจกรรมการเรียนรู้ (Teaching / Learning Activities) หัวข้ อที่ (Sub Topic) 2. 1 : แหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ หัวข้ อที่ (Sub Unit) 2.1.1 : ความหมายของแหล่งการเรี ยนรู้ ขันนำ ้ าเข้ าสูบ่ ทเรียน (Motivation) ผู้สอนถามผู้เรียนเกี่ยวกับการปฎิบตั ิตนเองในห้ องสมุดว่าผู้เรี ยนปฎิบตั ิตนอย่างไรเวลาที่เข้ าไปใช้ บริ การห้ องสมุด ขันการให้ ้ เนื ้อหาความรู้ (Information) ความหมายของการเรียนรู้ การเรียนรู้เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ ้นภายในตัวบุคคล เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่าง ที่คอ่ นข้ าถาวรซึง่ กระบวนการเรียนรู้นี ้ยังคงเกิดขึ ้นอยู่ แม้ ภายหลังจบการศึกษาแล้ วและเป็ นกระบวนการที่ตอ่ เนื่อง ตลอดชีวิต รวมทังเป็ ้ นพื ้นฐานของดำาเนินชีวิตตังแต่ ้ แรกเกิดจนถึงก่อนตาย และการเรี ยนรู้จะช่วยในการพัฒนา คุณภาพชีวิตได้ เป็ นอย่างดี ทังนี ้ ้เราสามารถจำาแนกการเรี ยนรู้ตามลักษณะการจัดการศึกษาจะประกอบด้ วย 1. การเรี ยนรู้ในระบบ หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้ที่กำาหนดจุดมุง่ หมาย วิธีการศึกษาหลักสูตร ระยะเวลาของการ ศึกษา การวัดและประเมินผล ซึง่ เป็ นเงื่อนไขสำาคัญของความสำาเร็ จการศึกษาที่แน่นอน 2. การเรี ยนรู้นอกระบบ หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้ที่มีการยืดหยุน่ ในการกำาหนดจุดมุง่ หมาย รูปแบบ วิธีการจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึง่ เป็ นเงื่อนไขสำาคัญของการสำาเร็ จการศึกษา โดยเนื ้อหา และหลักสูตรจะต้ องมีความเหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพปั ญญาและความต้ องการของกลุม่ แต่ละกลุม่ 3. การเรี ยนรู้ตามอัธยาศัย หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตผู้เรี ยนที่ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ความถนัด โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้ อม ธรรมชาติ สื่อ หรื อแหล่งความรู้อื่น ๆ ความหมายของแหล่ งการเรียนรู้ จากความหมายของการเรียนรู้ เราสามารถสรุปได้ วา่ การเรี ยนรู้เกิดขึ ้นได้ ทกุ หนทุกแห่ง มีกระจายอยูท่ วั่ ไป โดย แหล่งการเรี ยนรู้ที่ใกล้ ตวั มากที่สดุ คือ ตัวเรา คำาที่มีความหมายเช่นเดียวกับแหล่งการเรี ยนรู้ ได้ แก่ แหล่งสารสนเทศเพื่อ การเรี ยนรู้ (Leaning Resources) แหล่งข้ อมูลสารสนเทศ (Information Sources)หรื อ แหล่งวิทยบริ การ ทังนี ้ ้หาก กล่าวถึงแหล่งสารสนเทศจะหมายถึง แหล่งหรือสถานที่จดั หาและรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ บริ การแก่ ผู้ใช้ โดยจัดตังในรู ้ ปแบบอย่างเป็ นทางการ ได้ แก่ ห้ องสมุด ศูนย์สารสนเทศต่าง ๆ และอาจหมายถึงแหล่ง สารสนเทศที่เป็ นเอกสาร ทังเอกสารปฐมภู ้ มิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ทังที ้ ่อยูใ่ นรูปแบบอย่างเป็ นทางการ เช่น การเรี ยน การสอนในสถานศึกษา การเข้ ารับการฝึ กอบรมและรูปแบบไม่เป็ นทางการ เช่น การดูขา่ วสารทางโทรทัศน์ หรื อ ฟั ง วิทยุ อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือแม้ กระทัง่ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ เป็ นต้ น


45

ประเภทของแหล่ งการเรียนรู้ จำาแนกตามลักษณะการเข้ าถึงและการได้ รับสารสนเทศ สามารถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี ้ 1. แหล่งสารสนเทศส่วนบุคคล 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน 3. แหล่งสารสนเทศสถานที่ 4. แหล่งสารสนเทศบนเครือข่ายอินเตอร์ เน็ต 1. แหล่ งสารสนเทศส่ วนบุคคล แหล่งสารสนเทศส่วนบุคคล หมายถึงสารสนเทศที่ได้ รับจากการประมวลความคิด ความรู้ ใช้ ความจำา ใช้ ประสบการณ์ของตนเอง หรือหาได้ จากแฟ้มข้ อมูล เอกสารที่รวบรวมไว้ รวมทังเพื ้ ่อนร่วมงาน สมาชิกในครอบครัว ผู้ เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เป็ นที่ยอมรับ และภูมิปัญญาท้ องถิ่นต่าง ๆ 2. แหล่ งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถาบันหายถึงแหล่งสารสนเทศสถาบันการศึกษา องค์กรของรัฐ เอกชน สถาบันศาสนา สถาบันสื่อสารมวลชน ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์วิทยาการต่าง ๆ และสถาบันที่ให้ บริ การสารสนเทศ ได้ แก่ ห้ องสมุด ศูนย์ สารสนเทศ ศูนย์เอกสาร หอจดหมายเหตุ สถาบันบริ การสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และแหล่งสารสนเทศเพื่อการค้ า เช่น ร้ านจำาหน่ายหนังสือ สำานักพิมพ์ เป็ นต้ น ในที่นี ้จะขอกล่าวเฉพาะ แหล่งสารสนเทศที่เป็ นสถาบันบริ การสารสนเทศ ซึง่ ทำาหน้ าที่จดั หาจัดเก็บรวบรวม ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ บริการแก่ผ้ ใู ช้ ซึง่ หมายความรวมถึงห้ องสมุดประเภท ต่าง ๆ ซึง่ เป็ นสถาบันบริ การ สารสนเทศที่เป็ นรูปแบบทางการ โดยห้ องสมุดได้ กล่าวถึงในบทที่กล่าวมาแล้ ว และสถาบันบริ การสารสนเทศรูปแบบอื่น ซึง่ เป็ นที่เก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเช่นเดียวกัน แต่เน้ นความลึกซึ ้งของเนื ้อหาเฉพาะด้ านและให้ บริ การเฉพาะกลุม่ เป้าหมาย ดังนี ้ สถาบันบริการสารสนเทศ สถาบันบริการสารสนเทศ อาจจำาแนกตามสารสนเทศที่จดั ขึ ้นและให้ บริ การดังนี ้ 2.1 ศูนย์ สารสนเทศเฉพาะวิชา ซึง่ เป็ นที่เก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา โดยเน้ นความ ลึกซึ ้งของเนื ้อหาข่าวสารในสาขาวิชา นัน้ ๆ ทรัพยากรสารสนเทศที่เก็บรวบรวมได้ แก่ หนังสือ วารสาร เอกสารทางวิชาการ และรายงานผลการวิจยั งานที่ สำาคัญของศูนย์สารสนเทศเฉพาะวิชาคือ การให้ บริ การที่ช่วยให้ ผ้ ใู ช้ เข้ าถึงสารสนเทศได้ สะดวกรวดเร็ วและมี ประสิทธิภาพ ได้ แก่ บริการรวบรวมและจัดทำาบรรณานุกรม ดรรชนี และสาระสังเขป เป็ นต้ น ผู้ใช้ บริ การจึงต้ องเป็ นผู้ เชี่ยวชาญทุกวิชา และสามารถใช้ เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ในการประมวลข้ อมูล เช่น ศูนย์สารสนเทศอีสาน สิริธรสังกัด สำานัก วิทยบริ การมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศูนย์สารสนเทศภาคเหนือ สังกัดสำานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์ข้อมูลภูมิภาคตะวันตก สำานักหอสมุดหลางมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็ นต้ น


46

2.2 ศูนย์ เอกสารหรือศูนย์ สารสนเทศ (Document Center or Information Center) เป็ นแหล่งจัดเก็บและให้ บริ การ สารสนเทศเฉพาะเรื่องแก่ผ้ ใู ช้ เฉพาะกลุม่ โดยเฉพาะนักวิทยาศาสตร์ นักวิจยั เพื่อประโยชน์ตอ่ การค้ นคว้ าวิจยั และ ปฏิบตั ิงาน อาจแบ่งได้ เป็ น 7 ประเภท คือ ศูนย์เอกสารสาธารณะ ศูนย์เอกสารกึ่งสาธารณะ ศูนย์เอกสารส่วน บุคคล ศูนย์เอกสารภายใน ศูนย์เอกสารเฉพาะวิชา หน่วยงานอื่นที่ทำาหน้ าที่ที่คล้ ายคลึงกัน และศูนย์สารสนเทศ แบบผสม ศูนย์สารสนเทศที่เกิดขึ ้นในยุคที่มีปัญหาอันเกิดจากการเพิ่มขึ ้นสารสนเทศอย่างมากมาย (Information Explosion) ห้ องสมุดในรูปแบบเดิมไม่สามารถสนอง ความต้ องการของผู้ใช้ ได้ สมบูรณ์ทงในด้ ั ้ านความสะดวก รวดเร็ วและทันเวลา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากการจัดเก็บและให้ บริ การสารสนเทศ จึงเปลี่ยนรูป แบบองค์กรมาเป็ นศูนย์สารสนเทศ ซึง่ มีวิธีการดำาเนินงานได้ ตรงกับความต้ องการของผู้ใช้ 2.3 ศูนย์ ข้อมูล (Data Center) เป็ นหน่วยงานที่ผลิตหรื อรวบรวมข้ อมูลตัวเลข ข้ อมูลดิบ ข้ อมูลหรื อผลที่ดำาเนินการ ไป แล้ วบางส่วน และมักจะเป็ นเรื่องราวในวงกว้ าง เพื่อเผยแพร่ให้ ผ้ ใู ช้ อย่างเป็ นระบบ โดยทัว่ ไปมักจะผ่านสื่อสิ่ง พิมพ์ นอกจากนี ้ยังรบรวมถึงคลังข้ อมูล (Data Bank) ซึง่ เก็บรวบรวมประมวลผลด้ วยคอมพิวเตอร์ แล้ วให้ บริ การ และเผยแพร่ข้อมูล ศูนย์ข้อมูลที่น่าสนใจมีหลายแห่ง เช่น ศูนย์ข้อมูลพลังงานแห่งประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ หลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลข่าวสารการตลาดของสภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย และหอการค้ าไทย 2.4 หน่ วยงานสถิติ (Statistic Department) สถิติเป็ นตัวเลขข้ อมูลที่ถกู นำามาใช้ ในการบริหารงาน การวางแผนงาน โครงการวิเคราะห์ ประเมินผล และนำามาช่วยใน การตัดสินใจของหน่วยงาน ลักษณะหน่วยงานสถิติของไทยแบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ 1. หน่วยงานสถิติทวั่ ไป 2. หน่วยงานสถิติเฉพาะเรื่อง 3. หน่วยงานสถิติขนาดใหญ่ 4. หน่วยงานประมวลผลข้ อมูลสถิติ 5. หน่วยงานของสถาบันการศึกษาและวิทยาการเฉพาะเรื่ อง 2.5 ศูนย์ วเิ คราะห์ สารสนเทศ (Information Analysis center) ทำาหน้ าที่ที่เลือกสรร ประเมินค่า จัดเก็บ และนำาเสนอ ข้ อสนเทศเฉพาะวิชา ซึง่ ส่วนใหญ่ ไม่ได้ ตีพิมพ์เผยแพร่ หรื อกำาลังดำาเนินการในรูปแบบที่สะดวก ประหยัดเวลาผู้ใช้ ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศมีปะโยชน์ตอ่ กลุม่ บุคคล นัก วิชาการ และนักวิจยั ในสาขาวิชา ทำาให้ สามารถติดตาม กิจกรรม ความรู้ และสิ่งพิมพ์ใหม่ ๆ ในสาขาวิชาที่ตน เชี่ยวชาญ ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศส่วนใหญ่จะตังอยู ้ ห่ รื อเป็ นส่วนหนึง่ ของศูนย์วิจยั และอาจแบ่งได้ เป็ น 3 ประเภทคือ ตามสาขาวิชา ภารกิจ และในวงกว้ าง ในแต่ละประเภทยังอาจแบ่งได้ ตามแหล่งข้ อมูลหรื อหน้ าที่ หรื อผลิตผลที่มงุ่ เน้ น ได้ อีกด้ วย ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศจำากัดขอบเขต เนื ้อหาที่ครอบคลุมลึกซึ ้งกว่าห้ องสมุดเฉพาะ และเน้ นการจัดหา


47

สะสมเอกสารที่ไม่ได้ เผยแพร่หรือกำาลังดำาเนินการ ในขณะที่ห้องสมุดเก็บเฉพาะเอกสารที่พิมพ์เผยแพร่ แล้ วบุคลากรของ ศูนย์เป็ นนักวิทยาศาสตร์ ที่ทรงคุณวุฒิ สามารถใช้ ความรู้ของตนให้ บริ การสอบถามทางวิชาการได้ ทนั ที แต่บคุ ลากรห้ อง สมุดเป็ นบรรณารักษ์ การให้ บริการตอบคำาถามอาศัยเอกสารสิ่งพิมพ์ที่มีอยู่ หรื อการแนะนำาไปยังผู้เชี่ยวชาญมากขึ ้น 2.6 ศูนย์ แจกจ่ ายเอกสาร (Clearing House of Information) คือ หน่วยงานที่ทำาหน้ าที่รวบรวม จัดเก็บเอกสาร หลักฐานต่าง ๆ เช่น ผลงานวิจยั รายงานความก้ าวหน้ าของโครงการที่สิ ้นสุดลงแล้ ว งานที่กำาลังดำาเนินอยู่ แล้ ว ออกเอกสารสรุปกิจการเหล่านี ้ ศูนย์แจกจ่ายเอกสารสนเทศเป็ นหน่วยงานอิสระหรื อแผนกเฉพาะ ในหน่วยงาน สารสนเทศ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นศูนย์รวบรวมเอกสารที่มีแหล่งผลิตต่าง ๆ กัน ผู้ผลิตจะส่งข่าวให้ ศนู ย์แจกจ่าย สารสนเทศได้ ทราบข่าวว่าขณะนี ้กำาลังผลิตเอกสารอะไรบ้ าง และเมื่อศูนย์ได้ รับข่าวแล้ วจะแจ้ งไปยังหน่วยงานที่มี ความต้ องการใช้ เอกสารในรูปแบบบรรณานุกรม ดรรชนี ฯลฯ 2.7 หน่ วยงานจดหมายเหตุ จัดเป็ นแหล่งเก็บเอกสารปฐมภูมิเพื่อใช้ อ้างอิงในการปฏิบตั ิหน้ าที่เป็ นหลักฐานสำาหรับ การค้ นคว้ าในเชิงปฏิวตั ิ และเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม หน่วยงานจดหมายเหตุจำาแนกได้ เป็ น 6 ประเภทคือ 1. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ 2. หอจดหมายเหตุสว่ นภูมิภาคและท้ องถิ่น 3. หน่วยงานจดหมายเหตุของวิทยาลัย 4. หน่วยงานจดหมายเหตุของวัดและสถาบันศาสนา 5. หน่วยงานจดหมายเหตุของสถาบันธุรกิจและอุตสาหกรรม 6. หอประวัติบคุ คลสำาคัญ 2.8 สถาบันบริการสารสนเทศเชิงพาณิชย์ คือ สถาบันที่ดำาเนินธุรกิจการค้ าสารสนเทศในรูปแบบของบริ ษัทค้ า สารสนเทศ นายหน้ าค้ าสารสนเทศ ผู้ผลิตและจำาหน่ายฐานข้ อมูล หัวข้ อที่ (Sub Topic) 2.1.2 : ประเภทของแหล่งการเรี ยนรู้ ขันนำ ้ าเข้ าสูบ่ ทเรียน (Motivation) ผู้สอนให้ ผ้ เู รียนช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับเรื่ องแหล่งสารสนเทศที่นิยมใช้ ในปั จจุบนั และนำาเข้ าสูบ่ ทเรี่ ยนเรื่ อง แหล่งสารสนเทศสถานที่ ขันการให้ ้ เนื ้อหาความรู้ (Information)


4. แหล่ งสารสนเทศสถานที่

48

แหล่งสารสนเทศสถานที่ หมายถึงสารสนเทศที่ได้ จากการเยี่ยมชมสถานที่ หน่วยงานที่จดั ตังขึ ้ ้นเพื่อทัศนศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีพที่จดั ตังและเปิ ้ ดให้ บริ การแก่ชมุ ชนของท้ องถิ่นนัน้ ๆ ซึง่ ครอบคลุมหน่วยงาน ต่าง ๆตามมาตรา 25 ของ พรบ.การศึกษา พ.ศ. 2542 ที่กล่าวว่า “รัฐต้ องส่งเสริ มการดำาเนินงานและจัดตังแหล่ ้ งการ เรี ยนรู้ตลอดชีพทุกรูปแบบได้ แก่ ห้ องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน การการศึกษา อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬาและนันทนาการ และแหล่งข้ อมูล แหล่งการเรี ยนรู้อื่นอย่าง เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 3.1 พิพธิ ภัณฑ์ เป็ นสถานที่ที่ไม่จดั หาผลประโยชน์ ให้ แบริ การแก่สงั คม ทำาหน้ าที่รวบรวม สงวนรักษา ค้ นคว้ า วิจยั เผยแพร่ความรู้ และจัดแสดง โดยมุง่ หมายเพื่อการค้ นคว้ า 3.2 ศูนย์ วัฒนธรรม เป็ นศูนย์กลางที่ใช้ ค้นคว้ าเรื่ องศิลปวัฒนธรรมพื ้นบ้ าน รวมทังบำ ้ ารุงรักษา ส่งเสริ ม เผยแพร่ ศิลป วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชีวิตและท้ องถิ่น 3.3 อุทยานการศึกษา เป็ นแหล่งการศึกษาสามารถแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ตามความสนใจ ความถนัด และ ความต้ องการที่เป็ นรูปธรรม สร้ างมโนทัศน์ได้ อย่างถูกต้ อง นอกเหนือจาก ตำาราเรี ยน 3.4 สวนสาธารณะ เป็ นสถาบันที่จดั แสดงสิ่งมีชีวิต เช่น สวนสัตว์ สวนสมุนไพร เป็ นส่วนหนึง่ ของการสนับสนุนการ ศึกษาในห้ องเรียน 3.5 ศูนย์ วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา เป็ นศูนย์การเรี ยนรู้สร้ างสรรค์สำาหรับเด็ก เยาวชน และประชาชน ในจังหวัด หรื อ ภูมิภาคนัน้ ๆ เป็ นการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้ อม รวมทังเป็ ้ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจสำาหรับประชาชน 3.6 ที่อ่านหนังสือประจำาหมู่บ้าน เป็ นสถานที่ให้ ความรู้ทวั่ ไปของชุมชนในหมูบ่ ้ าน มีหนังสือพิมพ์รายวันเพื่อติดตาม ข่าวสาร หอกระจายข่าวสารหมูบ่ ้ าน ระบบการกระจายเสียงของหมู่บ้านโดยผ่ านลำาโพงติดไว้ ปลายเสา เพื่อให้ ชาวบ้ านได้ รับ) ขันการประยุ ้ กต์เนื ้อหา (Application) ผู้สอนให้ ผ้ เู รียนทำาใบงานเรื่องมารยาทในการใช้ ห้องสมุดและการใช้ สารสนเทศ ขันตรวจผลสำ ้ าเร็ จ (Progress) ผู้สอนตรวจใบงานเรื่องมารยาทในการใช้ ห้องสมุดและการใช้ สารสนเทศที่ผ้ เู รี ยนทำา 6. การบูรณาการ (Integration) 6.1 เนือ้ หาที่บูรณาการ (Content) 6.2 ขัน้ ตอนการจัดทำา (Process)


7. สื่อ – อุปกรณ์ (Materials) 1. ใบงานเรื่อง มารยาทของห้ องสมุด 2. ใบความรู้เรื่องมารยาทของห้ องสมุด 8. การวัด และประเมินผล (Measurement and Evaluation) 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนจากการแสดงความคิดเห็น และการถามตอบในชันเรี ้ ยน 2. การตรวจผลงานการทำาใบงานภายในห้ องเรี ยน 3. ผลการวัดได้ ประเมินผลผ่านเกณฑ์ 80% ตามจุดประสงค์การเรี ยนรู้ทกุ ข้ อ 9. กิจกรรมเสนอแนะ (Optional Activities) 1.ให้ นกั เรี ยนศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมจาก Internet

49


50

10. รายละเอียดการปรับปรุ ง / พัฒนาการสอน (Teacher’s comment of the teaching) รหัสวิชา (Subject Code)………………. วิชา (Subject)………………….…….……..…. ระดับ (Level)………......... อาจารย์ ผ้ สู อน (Teacher)…………………….........................................................................สั ปดาห์ ที่ (Week) ............. รายการ ปัญหาที่พบ แนวทางการปรับปรุ ง/พัฒนาการสอน (Description) (Problems Occurred) (Improvement) 1. แผนการสอน ……………………………………………… ……………………………………………… (Plan Teaching) ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… 2. ผู้สอน (Teacher) ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… 3. ผู้เรียน (Student) ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ข้ อเสนอแนะ (Suggestions) ……………………………………………………………………………………………….............................................. …………………………………………………………………………………………………………………………….. (…………………………………….……………………….) (หัวหน้ าแผนก Head of Department / ครู แกนนำา Leader Teacher)


51

ตรวจสอบโดย (Audit by) …………………………………………………………………………………………………........................................ …………………………………………………………………………………………………………………………… (…………………………………….……………………….) (ผู้ช่วยผู้อาำ นวยการฝ่ ายวิชาการ Assistant Director for Academics / รองผู้ช่วยผู้อาำ นวยการฝ่ ายวิชาการ Deputy Assistant of Academic) ใบความรู้ท่ ี5 การเรียนรู้เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ ้นภายในตัวบุคคล เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่าง ทค่อนข้ าถาวรซึง่ กระบวนการเรียนรู้นี ้ยังคงเกิดขึ ้นอยู่ แม้ ภายหลังจบการศึกษาแล้ วและเป็ นกระบวนการที่ตอ่ เนื่อง ตลอดชีวิต รวมทังเป็ ้ นพื ้นฐานของดำาเนินชีวิตตังแต่ ้ แรกเกิดจนถึงก่อนตาย และการเรี ยนรู้จะช่วยในการพัฒนา คุณภาพชีวิตได้ เป็ นอย่างดี ทังนี ้ ้เราสามารถจำาแนกการเรี ยนรู้ตามลักษณะการจัดการศึกษาจะประกอบด้ วย 5. การเรี ยนรู้ในระบบ หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้ที่กำาหนดจุดมุง่ หมาย วิธีการศึกษาหลักสูตร ระยะเวลาของการ ศึกษา การวัดและประเมินผล ซึง่ เป็ นเงื่อนไขสำาคัญของความสำาเร็ จการศึกษาที่แน่นอน 6. การเรี ยนรู้นอกระบบ หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้ที่มีการยืดหยุน่ ในการกำาหนดจุดมุง่ หมาย รูปแบบ วิธีการจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึง่ เป็ นเงื่อนไขสำาคัญของการสำาเร็ จการศึกษา โดยเนื ้อหา และหลักสูตรจะต้ องมีความเหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพปั ญญาและความต้ องการของกลุม่ แต่ละกลุม่ 7. การเรี ยนรู้ตามอัธยาศัย หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตผู้เรี ยนที่ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ความถนัด โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้ อม ธรรมชาติ สื่อ หรื อแหล่งความรู้อื่น ๆ

ความหมายของแหล่ งการเรียนรู้ จากความหมายของการเรียนรู้ เราสามารถสรุปได้ วา่ การเรี ยนรู้เกิดขึ ้นได้ ทกุ หนทุกแห่ง มีกระจายอยูท่ วั่ ไป โดย แหล่งการเรี ยนรู้ที่ใกล้ ตวั มากที่สดุ คือ ตัวเรา คำาที่มีความหมายเช่นเดียวกับแหล่งการเรี ยนรู้ ได้ แก่ แหล่งสารสนเทศเพื่อ การเรี ยนรู้ (Leaning Resources) แหล่งข้ อมูลสารสนเทศ (Information Sources)หรื อ แหล่งวิทยบริ การ ทังนี ้ ้หาก กล่าวถึงแหล่งสารสนเทศจะหมายถึง แหล่งหรือสถานที่จดั หาและรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ บริ การแก่ ผู้ใช้ โดยจัดตังในรู ้ ปแบบอย่างเป็ นทางการ ได้ แก่ ห้ องสมุด ศูนย์สารสนเทศต่าง ๆ และอาจหมายถึงแหล่ง สารสนเทศที่เป็ นเอกสาร ทังเอกสารปฐมภู ้ มิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ทังที ้ ่อยูใ่ นรูปแบบอย่างเป็ นทางการ เช่น การเรี ยน การสอนในสถานศึกษา การเข้ ารับการฝึ กอบรมและรูปแบบไม่เป็ นทางการ เช่น การดูขา่ วสารทางโทรทัศน์ หรื อ ฟั ง วิทยุ อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือแม้ กระทัง่ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ เป็ นต้ น ประเภทของแหล่ งการเรียนรู้ จำาแนกตามลักษณะการเข้ าถึงและการได้ รับสารสนเทศ สามารถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี ้ 5. แหล่งสารสนเทศส่วนบุคคล


6. แหล่งสารสนเทศสถาบัน 7. แหล่งสารสนเทศสถานที่ 8. แหล่งสารสนเทศบนเครือข่ายอินเตอร์ เน็ต

52

1. แหล่ งสารสนเทศส่ วนบุคคล แหล่งสารสนเทศส่วนบุคคล หมายถึงสารสนเทศที่ได้ รับจากการประมวลความคิด ความรู้ ใช้ ความจำา ใช้ ประสบการณ์ของตนเอง หรือหาได้ จากแฟ้มข้ อมูล เอกสารที่รวบรวมไว้ รวมทังเพื ้ ่อนร่วมงาน สมาชิกในครอบครัว ผู้ เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เป็ นที่ยอมรับ และภูมิปัญญาท้ องถิ่นต่าง ๆ 2. แหล่ งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถาบันหายถึงแหล่งสารสนเทศสถาบันการศึกษา องค์กรของรัฐ เอกชน สถาบันศาสนา สถาบันสื่อสารมวลชน ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์วิทยาการต่าง ๆ และสถาบันที่ให้ บริ การสารสนเทศ ได้ แก่ ห้ องสมุด ศูนย์ สารสนเทศ ศูนย์เอกสาร หอจดหมายเหตุ สถาบันบริ การสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และแหล่งสารสนเทศเพื่อการค้ า เช่น ร้ านจำาหน่ายหนังสือ สำานักพิมพ์ เป็ นต้ น ในที่นี ้จะขอกล่าวเฉพาะ แหล่งสารสนเทศที่เป็ นสถาบันบริ การสารสนเทศ ซึง่ ทำาหน้ าที่จดั หาจัดเก็บรวบรวม ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ บริการแก่ผ้ ใู ช้ ซึง่ หมายความรวมถึงห้ องสมุดประเภท ต่าง ๆ ซึง่ เป็ นสถาบันบริ การ สารสนเทศที่เป็ นรูปแบบทางการ โดยห้ องสมุดได้ กล่าวถึงในบทที่กล่าวมาแล้ ว และสถาบันบริ การสารสนเทศรูปแบบอื่น ซึง่ เป็ นที่เก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเช่นเดียวกัน แต่เน้ นความลึกซึ ้งของเนื ้อหาเฉพาะด้ านและให้ บริ การเฉพาะกลุม่ เป้าหมาย ดังนี ้ สถาบันบริการสารสนเทศ สถาบันบริการสารสนเทศ อาจจำาแนกตามสารสนเทศที่จดั ขึ ้นและให้ บริ การดังนี ้ 2.2 ศูนย์ สารสนเทศเฉพาะวิชา ซึง่ เป็ นที่เก็บรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา โดยเน้ นความ ลึกซึ ้งของเนื ้อหาข่าวสารในสาขาวิชา นัน้ ๆ ทรัพยากรสารสนเทศที่เก็บรวบรวมได้ แก่ หนังสือ วารสาร เอกสารทางวิชาการ และรายงานผลการวิจยั งานที่ สำาคัญของศูนย์สารสนเทศเฉพาะวิชาคือ การให้ บริ การที่ช่วยให้ ผ้ ใู ช้ เข้ าถึงสารสนเทศได้ สะดวกรวดเร็ วและมี ประสิทธิภาพ ได้ แก่ บริการรวบรวมและจัดทำาบรรณานุกรม ดรรชนี และสาระสังเขป เป็ นต้ น ผู้ใช้ บริ การจึงต้ องเป็ นผู้ เชี่ยวชาญทุกวิชา และสามารถใช้ เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ในการประมวลข้ อมูล เช่น ศูนย์สารสนเทศอีสาน สิริธรสังกัด สำานัก วิทยบริ การมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศูนย์สารสนเทศภาคเหนือ สังกัดสำานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์ข้อมูลภูมิภาคตะวันตก สำานักหอสมุดหลางมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็ นต้ น 2.4 ศูนย์ เอกสารหรือศูนย์ สารสนเทศ (Document Center or Information Center) เป็ นแหล่งจัดเก็บและให้ บริ การสารสนเทศเฉพาะเรื่องแก่ผ้ ใู ช้ เฉพาะกลุม่ โดยเฉพาะนักวิทยาศาสตร์ นักวิจยั เพื่อประโยชน์ตอ่ การค้ นคว้ า


53

วิจยั และปฏิบตั ิงาน อาจแบ่งได้ เป็ น 7 ประเภท คือ ศูนย์เอกสารสาธารณะ ศูนย์เอกสารกึ่งสาธารณะ ศูนย์ เอกสารส่วนบุคคล ศูนย์เอกสารภายใน ศูนย์เอกสารเฉพาะวิชา หน่วยงานอื่นที่ทำาหน้ าที่ที่คล้ ายคลึงกัน และศูนย์ สารสนเทศแบบผสม ศูนย์สารสนเทศที่เกิดขึ ้นในยุคที่มีปัญหาอันเกิดจากการเพิ่มขึ ้นสารสนเทศอย่างมากมาย (Information Explosion) ห้ องสมุดในรูปแบบเดิมไม่สามารถสนอง ความต้ องการของผู้ใช้ ได้ สมบูรณ์ทงในด้ ั ้ าน ความสะดวกรวดเร็วและทันเวลา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากการจัดเก็บและให้ บริ การสารสนเทศ จึง เปลี่ยนรูปแบบองค์กรมาเป็ นศูนย์สารสนเทศ ซึง่ มีวิธีการดำาเนินงานได้ ตรงกับความต้ องการของผู้ใช้ 2.5 ศูนย์ ข้อมูล (Data Center) เป็ นหน่วยงานที่ผลิตหรื อรวบรวมข้ อมูลตัวเลข ข้ อมูลดิบ ข้ อมูลหรื อผลที่ดำาเนินการ ไป แล้ วบางส่วน และมักจะเป็ นเรื่องราวในวงกว้ าง เพื่อเผยแพร่ให้ ผ้ ใู ช้ อย่างเป็ นระบบ โดยทัว่ ไปมักจะผ่านสื่อสิ่ง พิมพ์ นอกจากนี ้ยังรบรวมถึงคลังข้ อมูล (Data Bank) ซึง่ เก็บรวบรวมประมวลผลด้ วยคอมพิวเตอร์ แล้ วให้ บริ การ และเผยแพร่ข้อมูล ศูนย์ข้อมูลที่น่าสนใจมีหลายแห่ง เช่น ศูนย์ข้อมูลพลังงานแห่งประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ หลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลข่าวสารการตลาดของสภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย และหอการค้ าไทย 2.4 หน่ วยงานสถิติ (Statistic Department) สถิติเป็ นตัวเลขข้ อมูลที่ถกู นำามาใช้ ในการบริหารงาน การวางแผนงาน โครงการวิเคราะห์ ประเมินผล และนำามาช่วยใน การตัดสินใจของหน่วยงาน ลักษณะหน่วยงานสถิติของไทยแบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ 1. หน่วยงานสถิติทวั่ ไป 2. หน่วยงานสถิติเฉพาะเรื่อง 3. หน่วยงานสถิติขนาดใหญ่ 4. หน่วยงานประมวลผลข้ อมูลสถิติ 5. หน่วยงานของสถาบันการศึกษาและวิทยาการเฉพาะเรื่ อง 2.9 ศูนย์ วเิ คราะห์ สารสนเทศ (Information Analysis center) ทำาหน้ าที่ที่เลือกสรร ประเมินค่า จัดเก็บ และนำาเสนอ ข้ อสนเทศเฉพาะวิชา ซึง่ ส่วนใหญ่ ไม่ได้ ตีพิมพ์เผยแพร่ หรื อกำาลังดำาเนินการในรูปแบบที่สะดวก ประหยัดเวลาผู้ใช้ ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศมีปะโยชน์ตอ่ กลุม่ บุคคล นัก วิชาการ และนักวิจยั ในสาขาวิชา ทำาให้ สามารถติดตาม กิจกรรม ความรู้ และสิ่งพิมพ์ใหม่ ๆ ในสาขาวิชาที่ตน เชี่ยวชาญ ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศส่วนใหญ่จะตังอยู ้ ห่ รื อเป็ นส่วนหนึง่ ของศูนย์วิจยั และอาจแบ่งได้ เป็ น 3 ประเภทคือ ตามสาขาวิชา ภารกิจ และในวงกว้ าง ในแต่ละประเภทยังอาจแบ่งได้ ตามแหล่งข้ อมูลหรื อหน้ าที่ หรื อผลิตผลที่มงุ่ เน้ น ได้ อีกด้ วย ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศจำากัดขอบเขต เนื ้อหาที่ครอบคลุมลึกซึ ้งกว่าห้ องสมุดเฉพาะ และเน้ นการจัดหา สะสมเอกสารที่ไม่ได้ เผยแพร่หรือกำาลังดำาเนินการ ในขณะที่ห้องสมุดเก็บเฉพาะเอกสารที่พิมพ์เผยแพร่ แล้ วบุคลากรของ


54

ศูนย์เป็ นนักวิทยาศาสตร์ ที่ทรงคุณวุฒิ สามารถใช้ ความรู้ของตนให้ บริ การสอบถามทางวิชาการได้ ทนั ที แต่บคุ ลากรห้ อง สมุดเป็ นบรรณารักษ์ การให้ บริการตอบคำาถามอาศัยเอกสารสิ่งพิมพ์ที่มีอยู่ หรื อการแนะนำาไปยังผู้เชี่ยวชาญมากขึ ้น 2.10 ศูนย์ แจกจ่ ายเอกสาร (Clearing House of Information) คือ หน่วยงานที่ทำาหน้ าที่รวบรวม จัดเก็บ เอกสารหลักฐานต่าง ๆ เช่น ผลงานวิจยั รายงานความก้ าวหน้ าของโครงการที่สิ ้นสุดลงแล้ ว งานที่กำาลังดำาเนินอยู่ แล้ วออกเอกสารสรุปกิจการเหล่านี ้ ศูนย์แจกจ่ายเอกสารสนเทศเป็ นหน่วยงานอิสระหรื อแผนกเฉพาะ ในหน่วย งานสารสนเทศ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นศูนย์รวบรวมเอกสารที่มีแหล่งผลิตต่าง ๆ กัน ผู้ผลิตจะส่งข่าวให้ ศนู ย์แจกจ่าย สารสนเทศได้ ทราบข่าวว่าขณะนี ้กำาลังผลิตเอกสารอะไรบ้ าง และเมื่อศูนย์ได้ รับข่าวแล้ วจะแจ้ งไปยังหน่วยงานที่มี ความต้ องการใช้ เอกสารในรูปแบบบรรณานุกรม ดรรชนี ฯลฯ 2.11 หน่ วยงานจดหมายเหตุ จัดเป็ นแหล่งเก็บเอกสารปฐมภูมิเพื่อใช้ อ้างอิงในการปฏิบตั ิหน้ าที่เป็ นหลักฐาน สำาหรับการค้ นคว้ าในเชิงปฏิวตั ิ และเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม หน่วยงานจดหมายเหตุจำาแนกได้ เป็ น 6 ประเภทคือ 1. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ 2. หอจดหมายเหตุสว่ นภูมิภาคและท้ องถิ่น 3. หน่วยงานจดหมายเหตุของวิทยาลัย 4. หน่วยงานจดหมายเหตุของวัดและสถาบันศาสนา 5. หน่วยงานจดหมายเหตุของสถาบันธุรกิจและอุตสาหกรรม 6. หอประวัติบคุ คลสำาคัญ 2.12 สถาบันบริการสารสนเทศเชิงพาณิชย์ คือ สถาบันที่ดำาเนินธุรกิจการค้ าสารสนเทศในรูปแบบของบริ ษัทค้ า สารสนเทศ นายหน้ าค้ าสารสนเทศ ผู้ผลิตและจำาหน่ายฐานข้ อมูล 3. แหล่ งสารสนเทศสถานที่ แหล่งสารสนเทศสถานที่ หมายถึงสารสนเทศที่ได้ จากการเยี่ยมชมสถานที่ หน่วยงานที่จดั ตังขึ ้ ้นเพื่อทัศนศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีพที่จดั ตังและเปิ ้ ดให้ บริ การแก่ชมุ ชนของท้ องถิ่นนัน้ ๆ ซึง่ ครอบคลุม หน่วยงานต่าง ๆตามมาตรา 25 ของ พรบ.การศึกษา พ.ศ. 2542 ที่กล่าวว่า “รัฐต้ องส่งเสริ มการดำาเนินงาน และจัดตังแหล่ ้ งการเรียนรู้ตลอดชีพทุกรูปแบบได้ แก่ ห้ องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานการการศึกษา อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬาและนันทนาการ และ แหล่งข้ อมูล แหล่งการเรียนรู้อื่นอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 3.7 พิพธิ ภัณฑ์ เป็ นสถานที่ที่ไม่จดั หาผลประโยชน์ ให้ แบริ การแก่สงั คม ทำาหน้ าที่รวบรวม สงวนรักษา ค้ นคว้ า วิจยั เผยแพร่ความรู้ และจัดแสดง โดยมุง่ หมายเพื่อการค้ นคว้ า 3.8 ศูนย์ วัฒนธรรม เป็ นศูนย์กลางที่ใช้ ค้นคว้ าเรื่ องศิลปวัฒนธรรมพื ้นบ้ าน รวมทังบำ ้ ารุงรักษา ส่งเสริ ม เผยแพร่ ศิลป วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชีวิตและท้ องถิ่น


3.9 อุทยานการศึกษา เป็ นแหล่งการศึกษาสามารถแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ตามความสนใจ ความถนัด และ ความต้ องการที่เป็ นรูปธรรม สร้ างมโนทัศน์ได้ อย่างถูกต้ อง นอกเหนือจาก ตำาราเรี ยน 3.10 สวนสาธารณะ เป็ นสถาบันที่จดั แสดงสิ่งมีชีวิต เช่น สวนสัตว์ สวนสมุนไพร เป็ นส่วนหนึง่ ของการสนับสนุน การศึกษาในห้ องเรียน 3.11 ศูนย์ วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา เป็ นศูนย์การเรี ยนรู้สร้ างสรรค์สำาหรับเด็ก เยาวชน และประชาชน ใน จังหวัดหรื อ ภูมิภาคนัน้ ๆ เป็ นการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้ อม รวมทังเป็ ้ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจสำาหรับประชาชน 3.12 ที่อ่านหนังสือประจำาหมู่บ้าน เป็ นสถานที่ให้ ความรู้ทวั่ ไปของชุมชนในหมูบ่ ้ าน มีหนังสือพิมพ์รายวันเพื่อ ติดตาม ข่าวสาร 3.13 หอกระจายข่ าวสารหมู่บ้าน ระบบการกระจายเสียงของหมูบ่ ้ านโดยผ่านลำาโพงติดไว้ ปลายเสา เพื่อให้ ชาว บ้ านได้ รับทราบข่าวสาร ความรู้ อย่างรวดเร็ ว เช่นเหตุดว่ นเหตุร้าย และความรู้ในการประกอบอาชีพ

55


56

ใบงานเรื่ องประเภทของแหล่ งเรี ยนรู้ 1. ประเภทของแหล่งการเรียนรู้มีกี่ประเภท …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. 2. หน่วยงานจดหมายเหตุมีหน้ าที่ให้ บริการทางด้ านใดบ้ าง …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. 3. แหล่งสารสนเทศเชิงพาณิชย์ให้ บริการทางด้ านใดบ้ างอธิบายพร้ อมยกตัวอย่างประกอบ …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. 4. ศูนย์วิทยาศาสตร์ ทางการศึกษาให้ บริการทางด้ านใด …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 5.ศูนย์วิเคราะห์สารเสนเทศมีหน้ าที่ให้ บริการอย่างไรบ้ างอธิบายพร้ อมยกตัวอย่างประกอบ …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………


57

…………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.