Sugar Asia Magazine Vol.7 No.25 April - June 2021

Page 1

Vol. 7 No.25 April - June 2021 : TH/EN

www.sugar-asia.com Published By

Baling Sugarcane Leaves: Fuelling Power Plants and Reducing Air Pollution อัดใบอ้อยด้วยเครื่องอัดก้อนเหลี่ยมของ CLAAS (คลาส) แทนการเผา ช่วยเพิ่มเงินในกระเป๋า แถมลดปัญหาเรื่องฝุ่นละออง Page 20

www.sugar-asia.com

THB 150 : USD 5




www.sugar-asia.com

Kenny Yong Guest Editor Managing Director

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd.

EDITOR’S MESSAGE Editor Managing Director Kenny Yong Publications Manager Rungnapa Manathanakit rungnapa@fireworksbi.com

Editorial Consultants Poontarika Saenrit Board of Directors Kenny Yong Susan Tricia Content Editor Apissara Kaewraksa editor.th@fireworksbi.com

Media Executive Naritsara Saengnoi sales.th@fireworksbi.com

Translator Korapat Pruekchaikul Designer Tansit Sachare

Greetings Readers! Welcome to the April 2021 edition of Sugar Asia Magazine! By this time, for those of you in the ASEAN region, most of us would have returned to work and the pace of inoculations is gaining traction. The intermittent lockdowns have caused devastation to the tourism industry and hurt the manufacturing industry due to a lack of manpower citing distancing measures and companies having to adhere stringently to the regulations of the “new normal”. In this edition, we are honored as the exclusive interview in this issue’s in In the Hot Seat with Mr. Prasit Vongsatieam, the director of OCSB’s Department of Cane, Sugar and Continuous Industries, and Mr. Thawat Hamarn, the Scientific Specialist Senior Professional Level and Chief Officer of the Department to discuss in the topic includes the origin of new 4 cane species development as well as future directions for OCSB’s cane research and development which will be able to enhance capacities of the world market competitiveness. On behalf of the editorial team, I thank you for your continuous support in Sugar Asia Magazine. Stay in touch with us on www.sugar-asia.com and follow us on Facebook and LinkedIn for more updates. Let’s pray for a better future, stay at home, and together we can fight the COVID-19 virus. For any interesting articles pertaining to the sugar or ethanol industry, please feel free to share it with us at editor.th@fireworksbi.com. Cheerios!

Follow us on Sugar Asia Magazine

FBI Publications (Thailand) Promphan 2 Office & Residence, 8th Floor (Office Zone, Room 807) 1 Soi Lat Phrao 3, Lat Phrao Road, Jompol, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand

Tel : (+66) 2513-1418 ext 108 Fax : (+66) 2513-1419 Email : thai@fireworksbi.com

Publisher :

SugarAsiaMag

Sugar Asia Magazine

Sugar TV


YOUR SPECIALIST FOR BAGGING & PALLETIZING OPENMOUTH & FFS bagging machines

ROBOT, PORTAL & HIGH-LEVEL palletizing systems

more than

more than

years

successfully installed machines

40

of experience

1500

Thailand branch office SB (Thailand) Co., Ltd. 101 Rama-9 Road Soi 60 Suanluang, Bangkok 10250 Tel.: +66 81 822 9569 attawit.ar@statec-binder.in.th

Global customer service

PROPAK ASIA BOOTH #AP31

STATEC BINDER GmbH Industriestrasse 32, 8200 Gleisdorf, Austria Tel.: +43 3112 38580-0 E-Mail: office@statec-binder.com www. statec-binder.com


C

ONTENTS Vol. 7 No.24 January - March 2021

REGIONAL INDUSTRY NEWS

6

มิ​ิตรผลแสดงศั​ักยภาพ ‘มิ​ิตรผล โมเดิ​ิร์​์นฟาร์​์ม’ คว้​้าอั​ันดั​ับ 4 ผู้​้�นำำ�ความยั่​่�งยื​ืนอุ​ุตฯ อาหารระดั​ับโลก Mitr Phol’s Modern Farm Ranked 4th on Leader of World Class Sustainable Food Industry

7

กลุ่​่�ม KTIS เดิ​ินหน้​้าโครงการ “ปั้​้น� ทายาทชาวไร่​่อ้อ้ ยสู่​่เ� ถ้​้าแก่​่น้อ้ ย” KTIS Group Launches Program to Transform Local Sugarcane Growers to Young Entrepreneurs

8

เวี​ียดนามคาดอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลจะดี​ีขึ้​้�นในปี​ี 64 Vietnam Sugar industry Eyes Solid 2021 after Bitter Year

6 7

ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์คาดน้ำำ�� ตาลดิ​ิบผลิ​ิตพุ่​่�งถึ​ึงกว่​่าสองล้​้านเมตริ​ิกซ์​์ตั​ัน 10 Philippine Raw Sugar Output Seen at 2.1 Million MT

12

16

10 INTERNATIONAL NEWS

11

อั​ัฟกานิ​ิสถานเป็​็นผู้​้�นำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่จากอิ​ินเดี​ีย Afghanistan Becomes One of Major Importers of Indian Sugar

ยหนุ​ุน 1.9 ล้​้านสร้​้างโครงสร้​้างพื้​้น� ฐานเพื่​่�อขนถ่​่ายอ้​้อย 12 ออสเตรเลี​ี Australia Commits $1.9 Million to Sugarcane Transloading Facility Infrastructure

13

แผนแม่​่บทน้ำำ�� ตาลของแอฟริ​ิกาใต้​้เริ่​่ม� ฟื้​้นฟู​ู � ภาคอุ​ุตสาหกรรม South Africa’ Sugar Masterplan Starting to Uplift Industry

IN THE HOT SEAT

16 เปิ​ิอ้​้อดตัยพั​ั​ัวนอ้​้ธุ์อ์�เยส่​่ดิ​ิมงเสริ​ิม 4 สายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ ทางเลื​ือกใหม่​่เพื่​่�อทดแทน OCSB Introduces 4 New Alternative Canes

www.sugar-asia.com


SUGAR ASIA MAGAZINE

PLANTER CORNER ดใบอ้​้อยด้​้วยเครื่​่�องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมของ CLAAS (คลาส) แทน 20 อั​ัการเผา ช่​่วยเพิ่​่�มเงิ​ินในกระเป๋​๋า แถมลดปั​ัญหาเรื่​่�องฝุ่​่�นละออง

20

Baling Sugarcane Leaves: Fuelling Power Plants and Reducing Air Pollution

SPECIAL INSIGHT มุ่​่�ง “ลดผลกระทบเพื่​่�ออนาคตที่​่�ยั่​่�งยื​ืน” 26 สามารถเกษตรยนต์​์ “Low Impact is The Future” says Samart พเกรดคอนโทรลเลอร์​์ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิในโรงงานน้ำำ�� ตาล 30 การอั​ั ประเทศไทย

MIGI Rapper Controller Upgrade at Sugar Plant in Thailand

คั​ัปปลิ​ิงที่​่�ดี​ีต้​้องเลื​ือกคุ​ุณภาพสู​ูงจาก Optibelt 32 เลื​ือกใช้​้ The best quality of coupling is Optibelt

34

35

ETHANOL NEWS กาเผยการผลิ​ิตโมโนเอทิ​ิลี​ีนไกลคอลจากน้ำำ�� ตาลเป็​็นครั้​้�งแรก 34 อเมริ​ิ United States Unveiled First Production of Bio-Based MEG

39

from Sugar

BIOENERGY NEWS �อเพลิ​ิงชี​ีวภาพ สิ่​่�งที่​่�อินิ เดี​ียเรี​ียนรู้​้�ได้​้จากบราซิ​ิล 35 เชื้​้Biofuel: What India can learn from Brazil อ้อ้ ย” ความต้​้องการพุ่​่�ง ต่​่อยอดนวั​ัตกรรมมู​ูลค่​่าสู​ูง 38 “ไฟเบอร์​์ Rising Demand for “Cane Fiber” for High Value Innovations

RESEARCH NEWS ัยไทย พั​ัฒนาวิ​ิธี​ีการเร่​่งการสุ​ุก-แก่​่ เพิ่​่�มความหวานอ้​้อย 39 นั​ัThaiกวิ​ิจัresearchers to boost sugarcane maturation and sweetness www.sugar-asia.com


Regional News

มิ​ิตรผลแสดงศั​ักยภาพ ‘มิ​ิตรผล โมเดิ​ิร์​์นฟาร์​์ม’ คว้​้าอั​ันดั​ับ 4 ผู้​้�นำำ�ความยั่​่�งยื​ืนอุ​ุตฯ อาหารระดั​ับโลก Mitr Phol’s Modern Farm Ranked 4th on Leader of World Class Sustainable Food Industry

ลุ่​่�มมิ​ิตรผล คว้​้าอั​ันดั​ับ 4 ด้​้านความยั่​่�งยื​ืนระดั​ับ โลกในกลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรมอาหาร พร้​้อมด้​้วยรางวั​ัล “Sustainability Awards Silver Class 2021” จาก ผลการประเมิ​ินความยั่​่�งยื​ืนขององค์​์กร หรื​ือ Corporate Sustainability Assessment (CSA) โดย S&P Global ซึ่​่�งเป็​็นมาตรฐานสากลที่​่�ทั่​่ว� โลกให้​้การยอมรั​ับ ตอกย้ำำ�� ความมุ่​่�งมั่​่�นในการยกระดั​ับองค์​์กรสู่​่ม� าตรฐานการพั​ัฒนา ที่​่�ยั่​่�งยื​ืนบนเวที​ีโลก พร้​้อมตามปรั​ัชญา “ร่​่วมอยู่​่� ร่​่วม เจริ​ิญ” ที่​่�ให้​้ความสำำ�คัญกั ั บั การพั​ัฒนาศั​ักยภาพชาวไร่​่ อ้​้อย ชุ​ุมชน สั​ังคม สิ่​่�งแวดล้​้อม และการบริ​ิหารจั​ัดการ ทรั​ัพยากรน้ำำ��อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ตามแนวทาง “มิ​ิตร ผล โมเดิ​ิร์นฟ ์ าร์​์ม” คุ​ุณบรรเทิ​ิง ว่​่องกุ​ุศลกิ​ิจ ประธานกรรมการบริ​ิษั​ัท และประธานกรรมการบริ​ิหาร กลุ่​่�มมิ​ิตรผล กล่​่าวถึ​ึงรางวั​ัล ผลการประเมิ​ินความยั่​่�งยื​ืนระดั​ับสากลที่​่�ได้​้รั​ับในครั้​้�งนี้​้�ว่​่า “กระแสความท้​้าทายและการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในโลก ทั้​้�งจากสภาวะสิ่​่�งแวดล้​้อม เศรษฐกิ​ิจ บริ​ิบททางสั​ังคม รวม ทั้​้�งบทบาทของเทคโนโลยี​ีที่​่เ� ข้​้ามาควบคุ​ุมการใช้​้ชีวิี ติ มากขึ้​้น� ส่​่งผลให้​้ธุรุ กิ​ิจทั้​้�งรายใหญ่​่ และรายย่​่อย ต้​้องเร่​่งปรั​ับตั​ัวให้​้ทันั เพื่​่�อเพิ่​่�มขี​ีดความสามารถในการแข่​่งขั​ันให้​้ธุรุ กิ​ิจเดิ​ินหน้​้าต่​่อ ไปได้​้อย่​่างมั่​่�นคง โดยมี​ีเรื่​่อ� งของความยั่​่�งยื​ืนเป็​็นหัวั ใจสำำ�คัญ ั ที่​่�ทุ​ุกองค์​์กรต้​้องใส่​่ใจและไม่​่ควรมองข้​้าม” กลุ่​่�มมิ​ิตรผลก้​้าวกระโดดจากการเป็​็นอั​ันดั​ับที่​่� 17 ใน กลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรมอาหาร สู่​่�อันดั ั ับที่​่� 4 ในปี​ี 2563 เพราะ เราให้​้ความสำำ�คัญกั ั บั การสร้​้างความยั่​่ง� ยื​ืนมาตลอดระยะเวลา กว่​่า 65 ปี​ี ด้​้วยการดำำ�เนิ​ินงานตามหลั​ักปรั​ัชญา “ร่​่วมอยู่​่� ร่​่วมเจริ​ิญ” ที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับการพั​ัฒนาศั​ักยภาพชาวไร่​่ อ้​้อย ชุ​ุมชน สั​ังคม และสิ่​่�งแวดล้​้อม เพราะการที่​่�องค์​์กร หนึ่​่�งจะเติ​ิบโตได้​้อย่​่างยั่​่�งยื​ืนนั้​้�น เราจะต้​้องคิ​ิดถึ​ึงคนอื่​่�นและ ไม่​่สร้​้างผลกระทบให้​้กั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมหรื​ือสั​ังคม ดั​ังนั้​้�น เรื่​่�อง ของความยั่​่�งยื​ืนจึ​ึงไม่​่ได้​้เป็​็นเพี​ียงกลยุ​ุทธ์​์เพื่​่�อเพิ่​่�มขี​ีดความ สามารถในการแข่​่งขั​ันให้​้กั​ับธุ​ุรกิ​ิจเท่​่านั้​้�น แต่​่ยั​ังถื​ือเป็​็นการ แสดงความมุ่​่�งมั่​่�นขององค์​์กรในการช่​่วยดู​ูแลสั​ังคมและสิ่​่�ง แวดล้​้อมในฐานะของพลเมื​ืองประเทศและโลก ซึ่​่�งทำำ�ให้​้ได้​้รั​ับรางวั​ัลองค์​์กรโปร่​่งใสในปี​ี 2563 ด้​้าน สิ่​่�งแวดล้​้อม ได้​้มี​ีการดำำ�เนิ​ินกิ​ิจกรรมเพื่​่�อความยั่​่�งยื​ืนหลาก หลายโครงการ อาทิ​ิ การส่​่งเสริ​ิมให้​้เกษตรกรชาวไร่​่อ้อ้ ยตั​ัด อ้​้อยสด งดเผา โดยรั​ับซื้​้�อใบอ้​้อยเพื่​่�อนำำ�ไปใช้​้เป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิง สำำ�หรั​ับผลิ​ิตไฟฟ้​้าชี​ีวมวล ช่​่วยลดปั​ัญหาด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม พร้​้อมให้​้ความรู้​้�เกษตรกรตามแนวทาง “มิ​ิตรผล โมเดิ​ิร์​์น ฟาร์​์ม” ซึ่​่�งเป็​็นการทำำ�ไร่​่อ้​้อยสมั​ัยใหม่​่ที่​่�ลดการเผาอ้​้อย, ปลู​ูกพื​ืชตระกู​ูลถั่​่�วเพื่​่�อบำำ�รุ​ุงดิ​ินและลดการใช้​้สารเคมี​ี, ใช้​้

6

น้ำำ��อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ, ไม่​่ปลู​ูกอ้​้อยในพื้​้�นที่​่�ป่​่าสงวน และ ไม่​่จ้​้างแรงงานเด็​็กที่​่�อายุ​ุต่ำำ��กว่​่า 18 ปี​ี ซึ่​่�งสอดคล้​้องกั​ับมาตรฐานความยั่​่�งยื​ืนระดั​ับโลก BONSUCRO อี​ีกทั้​้�งด้​้านการบริ​ิหารจั​ัดการทรั​ัพยากรน้ำำ�� ที่​่�จั​ัดทำำ�ได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ด้​้วยการนำำ�เครื่​่�องมื​ือการ ประเมิ​ินความเสี่​่�ยงด้​้านน้ำำ��ในพื้​้นที่​่ � ที่​่� โ� รงงานตั้​้�งอยู่​่� มาช่​่วยใน การวางแผนและพั​ัฒนาการบริ​ิหารจั​ัดการน้ำำ�� การหมุ​ุนเวี​ียน น้ำำ��ในกระบวนการผลิ​ิตเพื่​่�อกลั​ับมาใช้​้ซ้ำำ��ให้​้เกิ​ิดประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุด และการบริ​ิหารจั​ัดการน้ำำ��ในไร่​่อ้อ้ ยอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ หลั​ังจากประสบความสำำ�เร็​็จในการเป็​็นองค์​์กรไทยที่​่� ก้​้าวสู่​่� Top 4 ด้​้านความยั่​่�งยื​ืนในกลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรมอาหาร ระดั​ับโลกในปี​ีนี้​้แ� ล้​้ว ในอนาคตกลุ่​่�มมิ​ิตรผลยั​ังมี​ีความมุ่​่�งมั่​่�น และตั้​้�งใจเพื่​่�อที่​่�จะยกระดั​ับองค์​์กร และดำำ�เนิ​ินการเพื่​่�อให้​้เกิ​ิด ความยั่​่�งยื​ืน ตามหลั​ักปรั​ัชญา “ร่​่วมอยู่​่� ร่​่วมเจริ​ิญ” ที่​่�กลุ่​่�ม มิ​ิตรผลถื​ือเป็​็นหั​ัวใจหลั​ักในการวางแผนพั​ัฒนาการดำำ�เนิ​ิน งานให้​้เกิ​ิดความยั่​่�งยื​ืนอย่​่างต่​่อเนื่​่�องต่​่อไป.

M

itr Phol Group was awarded the 4th prize on the world class sustainable food industry, along with the Sustainable Awards Silver Class 2021, following the results of Corporate Sustainability Assessment (CSA) by the globally known S&P Global standard. The prize will emphasize the company’s determination to upgrade itself for sustainable development standards of the world, apart from observing the “joint-living, joint-growing” principle which concerns improving sugar cane farm owners’ potentiality, local communities, society, environment and effective water resource management according to ‘Mitr Phol Modern Farm’.

After receiving the award, Mr. Buntoeng Vongkuslkit, Chairman of the Board of Director of Mitr Phol Group, said that the world’s challenges and changes currently existing from environment, economy and social contexts as well as technology were playing a key role to

people’s life, resulting in business effects, whether big or small. Therefore, entrepreneurs had to adjust themselves to enhance their capacities for stable business competition with a major concern to sustainability. Mitr Phol Group has leaped from the 17th to the 4th in food industry since 2020 because the company puts emphasis on building sustainability for over 65 years. The ‘joint-living joint-growing’ principle of the company helps develop capacities of sugar cane farm owners, local communities, society and environment since, in order that a company grows sustainably, it needs to be aware of others and not causing any negative effects to society and environment. Therefore, sustainability is not a strategy to upgrade business competition capacities, but also manifestation of organizational determination to care for society and environment on behalf of a national and global citizen. Mitr Phol Group received the Transparent Organization Award of 2020 because it conducted a lot of sustainability promotion campaigns, such as encouraging local farmers to harvest sugar cane by cutting, not burning, it, buying fresh sugar cane leaves to generate biomass electricity, planting beans to promote soil quality while reducing chemical substances, effectively using water and neither farming sugar cane in any reserved forests nor hiring workers under 18 years old. The above practices correspond to the world sustainability standard BONSUCRO, besides effective water management, which was done by using equipment to assess water risks in the location of the company’s factory. Th e equipment enables Mitr Phol Group to plan and develop water management, wisely recycle water during the production process and effectively manage water used in sugar cane farms.

Enjoying the success of being one of the top 4 companies of Thailand in terms of sustainable food industry of the world this year, Mitr Phol is strongly determined to upgrade itself according to the ‘joint-living, joint-growing’ principle towards the future because it is a core to continually plan, develop and operate the company’s work in a long-standing way.

www.sugar-asia.com


Regional News

กลุ่​่�ม KTIS เดิ​ินหน้​้าโครงการ “ปั้​้� นทายาทชาวไร่​่อ้​้อย สู่​่�เถ้​้าแก่​่น้​้อย” KTIS Group Launches Program to Transform Local Sugarcane Growers to Young Entrepreneurs

people will have a clear goal to continue working for their parents, thus solving problems on local farmers who leave home to work in a big city as a company staff. Due to the spread of Covid-19, many companies are downsizing or even laying off their employees.

นายภู​ูมิ​ิรั​ัฐ หวั​ังปรี​ีดาเลิ​ิศกุ​ุล ผู้​้�อำ�ำ นวยการฝ่​่ายไร่​่ กลุ่​่�มบริ​ิษั​ัท เกษตรไทย อิ​ินเตอร์​์เนชั่�น่ แนล ชู​ูการ์​์ คอร์​์ปอเรชั่​่�น จำำ�กั​ัด (มหาชน) หรื​ือ KTIS

.น.

ายภูมิรัฐ หวังปรีดาเลิศกุล ผู้อ�ำนวยการฝ่ายไร่ กลุม่ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์​์ปอเรชั่​่�น จำำ�กั​ัด (มหาชน) หรื​ือ KTIS เปิ​ิดเผยว่​่า กลุ่​่�ม KTIS ได้​้ริ​ิเริ่​่�มโครงการ “ปั้​้�นทายาทชาวไร่​่อ้​้อย สู่​่�เถ้​้าแก่​่น้อ้ ย” ซึ่​่�งเป็​็นโครงการที่​่�บริ​ิษัทั ทำำ�งานร่​่วมกั​ับ เกษตรกรชาวไร่​่ เพื่​่�อพั​ัฒนาส่​่งเสริ​ิมความรู้​้�ความเข้​้าใจ ในเรื่​่อ� งของการทำำ�ไร่​่อ้อ้ ยสมั​ัยใหม่​่ให้​้กับั บุ​ุตรหลานชาวไร่​่ อ้​้อย ผ่​่านกระบวนการอบรมและเรี​ียนรู้​้�ร่​่วมกั​ันในหลาย หั​ัวข้​้อ เช่​่น การบริ​ิหารจั​ัดการเพื่​่�อเพิ่​่�มผลผลิ​ิตต่​่อไร่​่ การนำำ�เครื่​่�องมื​ือและเทคโนโลยี​ีที่​่�ทั​ันสมั​ัยเข้​้ามาช่​่วย ในการทำำ�การเกษตร โดยเน้​้นองค์​์ความรู้​้�ที่​่�จะพั​ัฒนา ทั้​้�งปริ​ิมาณและคุ​ุณภาพของอ้​้อยได้​้อย่​่างยั่​่�งยื​ืน ซึ่​่�งจะ ทำำ�ให้​้คนรุ่​่�นใหม่​่มีเี ป้​้าหมายในการเข้​้ามาสานต่​่ออาชี​ีพ ชาวไร่​่อ้อ้ ยจากรุ่​่�นพ่​่อรุ่​่�นแม่​่ ช่​่วยลดปั​ัญหาทายาทชาวไร่​่ ที่​่�เข้​้าไปหางานทำำ�ในเมื​ือง เป็​็นพนั​ักงานบริ​ิษั​ัท แต่​่เมื่​่�อ เกิ​ิดปั​ัญหา เช่​่น การแพร่​่ระบาดของโควิ​ิด-19 ที่​่�ทำำ�ให้​้ บริ​ิษั​ัทต่​่างๆ ลดคนงาน เลิ​ิกจ้​้าง หรื​ือปิ​ิดกิ​ิจการ แล้​้ว ไม่​่มี​ีงานรองรั​ับ “เราเชื่​่�อว่​่าการทำำ�ไร่​่อ้​้อยเป็​็นอาชี​ีพที่​่�สามารถเลี้​้�ยงชี​ีพ เกษตรกรชาวไร่​่ได้​้อย่​่างมั่​่�นคง เพราะความต้​้องการอ้​้อยยั​ัง มี​ีเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ไม่​่ใช่​่เฉพาะในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล ทราย แต่​่อ้อ้ ยซึ่​่�งเป็​็นพื​ืชพลั​ังงานยั​ังเป็​็นที่​่ต้� อ้ งการของโรงงาน เอทานอลและโรงไฟฟ้​้าด้​้วย นอกจากนี้​้� อ้​้อยยั​ังสามารถนำำ� ไปทำำ�เยื่​่�อกระดาษ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เพื่​่�อสิ่​่�งแวดล้​้อมจากเยื่​่�อชาน อ้​้อย หลอดชานอ้​้อย และเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบตั้​้�งต้​้นในสายธุ​ุรกิ​ิจ อุ​ุตสาหกรรมชี​ีวเคมี​ีด้​้วย ซึ่​่�งหากทำำ�ไร่​่อย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ี มี​ีความ รู้​้�ความเข้​้าใจในการใช้​้เทคโนโลยี​ีสมั​ัยใหม่​่ ก็​็จะสามารถ สร้​้างรายได้​้ที่​่�สู​ูงขึ้​้�น แถมยั​ังเหนื่​่�อยน้​้อยลง และเมื่​่�อมี​ีราย ได้​้ที่​่�ดี​ีขึ้​้�นแล้​้ว เราก็​็ยั​ังสอนวิ​ิธี​ีการเก็​็บออมเงิ​ิน โดยการจั​ัด ทำำ�บั​ัญชี​ีรายรั​ับรายจ่​่ายและให้​้ความรู้​้�เรื่​่�องการบริ​ิหารเงิ​ิน ทำำ�ให้​้เกษตรกรมี​ีเงิ​ินเหลื​ือเก็​็บมากขึ้​้�น ทำำ�ให้​้คุ​ุณภาพชี​ีวิ​ิตดี​ี ขึ้​้�นอย่​่างยั่​่�งยื​ืนด้​้วย” นายภู​ูมิ​ิรั​ัฐกล่​่าว ผู้​้�อำำ�นวยการฝ่​่ายไร่​่ กลุ่​่�ม KTIS กล่​่าวว่​่า โครงการนี้​้� ทำำ�ต่​่อเนื่​่�องมา 4-5 ปี​ีแล้​้ว โดยการให้​้ความรู้​้�กั​ับเกษตรกร ที่​่�เข้​้าร่​่วมโครงการทั้​้�งด้​้านทฤษฎี​ีและปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ครอบคลุ​ุม กระบวนการสร้​้างอ้​้อยในทุ​ุกขั้​้�นตอน ตั้​้�งแต่​่การเลื​ือกพั​ันธุ์​์� อ้​้อย การปลู​ูกอ้​้อยอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ี การให้​้น้ำำ��และสารอาหารกั​ับ www.sugar-asia.com

อ้​้อย ไปจนถึ​ึงการตั​ัดอ้​้อยสด โดยจะเน้​้นการนำำ�เทคโนโลยี​ี เข้​้ามาปรั​ับใช้​้ในการเกษตร ที่​่�จะช่​่วยให้​้ได้​้ผลผลิ​ิตต่​่อไร่​่สู​ูง ขึ้​้�น โดยจะมี​ีชาวไร่​่อ้​้อยที่​่�มี​ีประสบการณ์​์หรื​ือที่​่�เรี​ียกว่​่ารุ่​่�น พ่​่อรุ่​่�นแม่​่ มาช่​่วยถ่​่ายทอดประสบการณ์​์ให้​้กั​ับลู​ูกหลาน ด้​้วย พร้​้อมกั​ับเรี​ียนรู้​้�เทคโนโลยี​ีใหม่​่ๆ ไปพร้​้อมกั​ัน “ชาวไร่​่รุ่​่�นพ่อ่ แม่​่กับั รุ่​่�นลู​ูกหลานนี้​้�เป็​็นคนละเจเนอเรชั่​่� นกั​ัน ย่​่อมมี​ีวิ​ิธี​ีคิดวิ ิ ิธี​ีการทำำ�งานต่​่างกั​ัน โดยรุ่​่�นลู​ูกหลานจะ สามารถเรี​ียนรู้​้�เทคโนโลยี​ีใหม่​่ๆ ได้​้เร็​็ว แต่​่ในช่​่วงต้​้นอาจจะ ต้​้องใช้​้เงิ​ินลงทุ​ุนสู​ูงกว่​่าที่​่�รุ่​่�นพ่​่อแม่​่เคยทำำ� ตรงนี้​้�ต้​้องเรี​ียนรู้​้� ร่​่วมกั​ัน ว่​่าช่​่วงแรกลงทุ​ุนสู​ูงขึ้​้�นหน่​่อย แต่​่ในระยะถั​ัดไปจะ ได้​้ผลตอบแทนคุ้​้�มค่​่ากว่​่า กำำ�ไรมากกว่​่าเดิ​ิมหลายเท่​่า ซึ่​่�ง หากทั้​้�งสองรุ่​่�นเข้​้าใจกั​ัน การพั​ัฒนาก็​็ทำำ�ได้​้ง่​่าย อี​ีกทั้​้�งยั​ัง เป็​็นการกระชั​ับความสั​ัมพั​ันธ์​์ในครอบครั​ัวได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ีอี​ีก ด้​้วย” นายภู​ูมิ​ิรั​ัฐกล่​่าว.

“We believe that sugarcane farming will enable local people to sustain themselves thanks to consistent needs of sugarcane, particularly the sugar industry. Moreover, sugarcane is also an energy plant as ethanol factories and electricity generating plants are requiring it. Sugarcane can be used to produce paper tissues, environmentally friendly containers like a plate or a straw. It can serve as a precursor for biochemical industries. If one has right knowledge and understanding on modern technology, one will earn more, but work less. Apart from that, we teach local sugarcane growers to save money by making an expense account and tell them about financial management. The knowledge allows them to have more money, thus better quality of life,” explained Mr. Phumrat. Mr. Phumrat also added that the above-mentioned program had been being carried out for up to 5 years by providing local sugarcane growers with theory and practice that covers all processes on sugarcane planting and harvesting, from selection of sugarcane species, sugarcane planting, how to water and feed the plant and how to harvest it. The emphasis focuses on modern technology to boost more products per a Rai land. Experienced sugarcane growers will share their knowledge with young ones and learn new technology at the same time.

M

r. Phumrat Wangpridalertkul, the director of the Farming Department to Kaset Thai International Sugar Corp. (Public Company) or KTIS, has recently announced a program entitled, Creating Heirs of Local Sugarcane Growers to Be Young Entrepreneurs. A joint campaign with Thai local farmers, the program aims to improve and promote knowledge and understanding in terms of modern sugarcane farming among young generations of local sugarcane growers. Such knowledge will be passed on through training and joint learning on various topics, such as administration and management to increase products per a Rai land, as well as using modern technology and innovation to assist farming, with an emphasis on knowledge that can sustainably develop quantity and quality of sugarcane. In doing so, young

“The sugarcane growers and their children are of different generations. They have different ways of thinking and working. The young ones can learn new technology more quickly, but, initially, they may have to use more money to invest than their parents did, so both must learn together and understand that, even though a lot of money for investment is high, profits will become worthwhile later. Understanding it will enable both agricultural development and family relations,” concluded Mr. Phumrat.

7


Regional News

เวี​ียดนามคาดอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลจะดี​ีขึ้�น ้ ในปี​ี 64 Vietnam Sugar industry Eyes Solid 2021 after Bitter Year

สาหกรรมน้ำำ��ตาลของเวี​ียดนามดู​ูสดใสขึ้​้�นในปี​ี อุ​ุ ต2564 หลั​ังจากความพยายามควบคุ​ุมการลั​ักลอบ

นำำ�เข้​้าและการเรี​ียกเก็​็บภาษี​ีนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจากไทยเพื่​่�อ สนองความต้​้องการในประเทศและราคาน้ำำ��ตาลที่​่�คาด ว่​่าจะเพิ่​่�มขึ้​้�น ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงเป็​็นเรื่​่�องสำำ�คั​ัญในการปรั​ับปรุ​ุง ความสามารถเพื่​่�อแข่​่งขั​ันของอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลใน ประเทศเวี​ียดนามเพื่​่�อให้​้แน่​่ใจว่​่าการผลิ​ิตที่​่�มั่​่น� คงก็​็เป็​็น สิ่​่�งสำำ�คั​ัญเช่​่นกั​ัน

อั​ัลเวี​ียน บริ​ิษั​ัทผู้​้�ค้​้าน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดของโลกซึ่​่�ง เป็​็นผู้​้�ร่​่วมทุ​ุนระหว่​่างบริ​ิษั​ัทคาร์​์จิ​ิล อิ​ิงค์​์และคอเปอร์​์ ซู​ูการ์​์ เอส เอ จากบราซิ​ิล เปิ​ิดเผยว่​่าตลาดน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกจะเผชิ​ิญ กั​ับภาวะขาดแคลนไปอี​ีก 2 ปี​ีและคาดว่​่าการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลจะ ขาดความต้​้องการประมาณ 5 ล้​้านเมตริ​ิกตั​ัน ราคาน้ำำ��ตาล ทั่​่�วโลกเพิ่​่�มขึ้​้น� 11% ในปี​ี 2563 และ 56% จากระดั​ับต่ำำ��สุดุ ที่​่�บันทึ ั กึ ไว้​้ในเดื​ือนเมษายน 2563 นอกจากนี้​้� ศู​ูนย์​์วิจัิ ยั เอส เอส ไอ ซึ่​่�งเป็​็น แผนกวิ​ิจัยั ของบริ​ิษัทั นายหน้​้าหลั​ักทรั​ัพย์​์ เอส เอส ไอ ซิ​ิเคี​ียวริ​ิตี้​้� กล่​่าวว่​่ายั​ังมี​ีช่​่องว่​่างสำำ�หรั​ับราคาน้ำำ��ตาล ที่​่�จะเพิ่​่�มขึ้​้น� เพราะอุ​ุปสงค์​์ของโลกยั​ังคงอยู่​่ใ� นระดั​ับสู​ูง ในเวี​ียดนาม เกิ​ิดปั​ัญหาการขาดแคลนน้ำำ��ตาลเนื่​่�องจาก ผลผลิ​ิตพื​ืชในปี​ี 2563-2564 อยู่​่�ที่​่�ประมาณ 600,000 ตั​ัน หรื​ือลดลง 34% เมื่​่�อเที​ียบเป็​็นรายปี​ี ซึ่​่�งลดลง 34% จาก ข้​้อมู​ูลของสมาคมอ้​้อยและน้ำำ��ตาลของเวี​ียดนาม อุ​ุปสงค์​์ใน ประเทศคาดว่​่าจะเพิ่​่�มขึ้​้�นประมาณร้​้อยละ 3-5 ต่​่อปี​ีหรื​ือ 2.2 ล้​้านตั​ันในปี​ี 2564 ซึ่​่�งหมายความว่​่าอุ​ุปทานในประเทศ สามารถตอบสนองความต้​้องการได้​้เพี​ียงร้​้อยละ 30 และ ส่​่วนที่​่�เหลื​ือจะเป็​็นน้ำำ��ตาลที่​่�กลั่​่�นจากน้ำำ��ตาลทรายดิ​ิบที่​่�นำำ� เข้​้า น้ำำ�� ตาลนำำ�เข้​้าและน้ำำ��ตาลเถื่​่�อน กระทรวงอุ​ุตสาหกรรมและการพาณิ​ิชย์​์เวี​ียดนามตั​ัดสินิ ใจกำำ�หนดภาษี​ีตอบโต้​้การทุ่​่�มตลาดชั่​่�วคราวในอั​ัตราร้​้อยละ 48.88 สำำ�หรั​ับน้ำำ�� ตาลทรายขาวบริ​ิสุ​ุทธิ์​์�และร้​้อยละ 33.88 สำำ�หรั​ับน้ำำ��ตาลทรายขาวที่​่�นำำ�เข้​้าจากประเทศไทยมี​ีผลบั​ังคั​ับ ใช้​้เป็​็นเวลา 120 วั​ันนั​ับจากเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์โดยอาจมี​ีผล ย้​้อนหลั​ัง 90 วั​ันหากมี​ีการสอบสวนพบความเสี​ียหายหรื​ือ หรื​ือภั​ัยคุ​ุกคามต่​่ออุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลในประเทศ ศู​ูนย์​์วิจัิ ยั เอสเอสไอ กล่​่าวว่​่า จากการปฏิ​ิบั​ัติ​ิหน้​้าที่​่�ชั่​่�วคราว น้ำำ��ตาลที่​่� นำำ�เข้​้าจากไทยในราคาต่ำำ��ในช่​่วงปลายปี​ี 2563 จะถู​ูกเทออก สู่​่ต� ลาดในช่​่วงไตรมาสแรกของปี​ีนี้​้ซึ่​่� ง� จะแข่​่งขั​ันกับั น้ำำ��ตาลใน ประเทศได้​้ในช่​่วงเวลาสั้​้�น ๆ ราคาน้ำำ��ตาลมาตรฐานจากการกลั่​่น� เพิ่​่�มขึ้​้น� จาก 13,500 ด็​็องต่​่อกิ​ิโลจากปลายปี​ี 2563 เป็​็น 15,000-16,000 ด็​็อง ณ สิ้​้�นเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ในขณะที่​่�ราคาน้ำำ�� ตาลสำำ�เร็​็จรู​ูปเพิ่​่�ม ขึ้​้�นจาก 14,000 ด็​็องเป็​็น 16,500 ด็​็อง โดยคาดว่​่าราคา น้ำำ��ตาลในประเทศจะยั​ังคงเพิ่​่�มขึ้​้�นเนื่​่�องจากราคาในประเทศ เวี​ียดนามในปั​ัจจุ​ุบั​ันยั​ังคงต่ำำ��กว่​่าประเทศอื่​่�น ๆ ในภู​ูมิ​ิภาค ประมาณร้​้อยละ 30-40 ภาษี​ีที่​่�เรี​ียกเก็​็บจากน้ำำ�� ตาลนำำ�เข้​้า จะผลั​ักดั​ันให้​้ราคาน้ำำ�� ตาลสู​ูงขึ้​้�นประมาณ 4,000-5,000 ด็​็ องต่​่อกิ​ิโลกรั​ัม ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� คาดว่​่าราคาน้ำำ��ตาลจะสู​ูงถึ​ึง 17,000 ด็​็อง ต่​่อกิ​ิโลกรั​ัมในตลาดในประเทศเวี​ียดนาม และราคาอ้​้อยจะ

8

เพิ่​่�มขึ้​้นร้ � อ้ ยละ 15-20 เมื่​่�อเที​ียบกั​ับฤดู​ูกาลก่​่อนหน้​้า อย่​่างไร ก็​็ตามราคาน้ำำ��ตาลในประเทศจะได้​้รับั ผลกระทบจากน้ำำ��ตาล ที่​่�ลักั ลอบนำำ�เข้​้า โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งเนื่​่�องจากภาษี​ีตอบโต้​้การ ทุ่​่�มตลาดจะทำำ�ให้​้ราคาน้ำำ��ตาลนำำ�เข้​้าและน้ำำ��ตาลหนี​ีภาษี​ีมี​ี ช่​่วงห่​่างอย่​่างมี​ีนั​ัยสำำ�คั​ัญ การลั​ักลอบนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลในช่​่วง เดื​ือนแรกๆ ของปี​ี 2564 ลดลงอย่​่างมากเนื่​่�องจากมี​ีการใช้​้ มาตรการที่​่�รัดกุ ั มุ ในการควบคุ​ุมพื้​้นที่​่ � ช� ายแดนเพื่​่�อป้​้องกั​ันไม่​่ ให้​้เชื้​้�อโควิ​ิด -19 แพร่​่ระบาด จากรายงานของบริ​ิษัทั หลั​ักทรั​ัพย์เ์ วี​ียดคอมแบงก์​์ แนว โน้​้มของอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลในประเทศเวี​ียดนามเป็​็นบวก ในระยะสั้​้�นเนื่​่�องจากการลดลงของผลผลิ​ิตในประเทศเพื่​่�อน บ้​้านเป็​็นโอกาสสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลของเวี​ียดนามใน ฤดู​ูกาลเพาะปลู​ูกนี้​้� นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ีโอกาสในการส่​่งออกไป ยั​ังสหภาพยุ​ุโรปด้​้วยข้​้อตกลงการค้​้าเสรี​ีระหว่​่างสหภาพยุ​ุโรป และเวี​ียดนาม และไทยกั​ับจี​ีนสามารถฟื้​้�นการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล จากฤดู​ูการเพาะปลู​ูกปี​ี 2564-2565 ซึ่​่�งจะสร้​้างแรงกดดั​ัน ต่​่อราคาน้ำำ��ตาลให้​้เกิ​ิดขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม บริ​ิษั​ัทหลั​ักทรั​ัพย์​์เวี​ียดคอมแบงก์​์ชี้​้� ว่​่า อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลในประเทศเวี​ียดนามต้​้องเผชิ​ิญกั​ับ ความท้​้าทายหลายประการในระยะยาวรวมถึ​ึงผลผลิ​ิตอ้​้อยที่​่� แข่​่งขั​ันได้​้น้อ้ ยกว่​่าประเทศไทยซึ่​่�งส่​่งผลให้​้ต้นทุ ้ นุ การผลิ​ิตสู​ูง ขึ้​้น� และบริ​ิษัทั นี้​้�ยังั เสริ​ิมว่​่าการปรั​ับปรุ​ุงความสามารถในการ แข่​่งขั​ันของอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ�� ตาลในประเทศเวี​ียดนามเป็​็นสิ่​่ง� สำำ�คัญ ั โดยเฉพาะการยกระดั​ับเทคโนโลยี​ีและการเชื่​่�อมโยง ระหว่​่างเกษตรกรและโรงงานน้ำำ��ตาลเพื่​่�อให้​้แน่​่ใจว่​่าการผลิ​ิต มี​ีเสถี​ียรภาพอี​ีกด้​้วย.

T

he Vietnam sugar industry looks brighter in 2021 on the effort to control smuggling and the imposition of duties on sugar imported from Thailand as the domestic demand and sugar price are expected to increase. So, it would be important to improve the competitiveness of the domestic sugar industry to ensure stable production would also be critical.

The world’s largest sugar trader Alvean, a joint venture between Cargill Inc and Brazilian producer Copersucar SA reveal that the global sugar market will face two years of shortages and sugar production is expected to fall short of demand by about 5 million metric tonnes. Global sugar prices went up 11 per cent from 2020 and 56 per cent from the bottom level recorded in April 2020. In addition, SSI Research, the research division of brokerage firm SSI Securities said there was still significant room for sugar prices to increase as global demand remained high. In Viet Nam, there would be a shortage of sugar as the 2020-21 crop output is estimated at just 600,000 tonnes, a year-on-year drop of 34 per cent, according to the Viet Nam Sugarcane and Sugar Association. Domestic demand is expected to increase by about 3-5 per cent per year, or 2.2 million tonnes in 2021, meaning domestic supply could meet just 30 per cent of demand. The rest would be made up of sugar refined from imported raw sugar, smuggled sugar and imported sugar. The Ministry of Industry and Trade decided to impose a temporary anti-dumping duty of 48.88 per cent on refined sugar and 33.88 per

cent on unrefined sugar imported from Thailand, applicable for 120 days from February with potential retroactivity of 90 days if the investigation funds significant injuries or threats to the domestic sugar industry. SSI Research said with the temporary duty, the inventories of sugar imported from Thailand at low prices at the end of 2020 would be dumped into the market in the first quarter of this year, which would compete with domestic sugar for a short period of time. The refined standard (RS) sugar price increased from VND13,500 per kilo from the end of 2020 to VND15,000-16,000 at the end of February while refined extra (RE) increased from VND14,000 to VND16,500. The domestic sugar prices are expected to continue to increase as the current domestic price remains 30-40 per cent lower than other countries in the region. The duties imposed on imported sugar would also push up sugar price by about VND4,0005,000 per kilogramme. Accordingly, sugar is anticipated to reach VND17,000 per kilo in the domestic market. The sugarcane prices also increased by 15-20 per cent compared to the previous season. Still, domestic sugar prices would be affected by smuggled sugar, especially as anti-dumping duties would create a significant gap in prices between imported sugar and smuggled sugar. The smuggling of sugar in the early months of 2021 reduced considerably as strong measures were taken to control border areas in the effort to prevent COVID-19 from spreading. According to Vietcombank Securities’ report, the prospects for the domestic sugar industry are positive in the short term, as declines in output in neighbouring countries provide opportunities for Viet Nam’s sugar industry this crop season. There are also opportunities for exports to the European Union with the EU-Viet Nam Free Trade Agreement. In addition, Thailand and China could recover sugar production from the 2021-22 crop seasons, which would create pressure on sugar prices.

Source: shutterstock.com However, Vietcombank Securities pointed out that the domestic sugar industry faced a number of challenges in the long term, including less competitive sugarcane output than Thailand, which was pushing up production costs. It was important to improve the competitiveness of the domestic sugar industry through upgrading technologies, Vietcombank Securities said, adding that links between farmers and sugar plants to ensure stable production would also be critical.

www.sugar-asia.com


ASIA'S LARGEST SPECIALIZED SUGAR, SUGARCANE, BIOETHANOL AND AGRICULTURE EXHIBITION & CONFERENCE

3 rd Edition

Co-Located With: Thailand

UGAR S 2021

THAILAND 2021

9-10 SEPTEMBER 2021

Conference

KICE

KHONKAEN THAILAND

Sugar Expo & Conference

www.thaisugarexpo.com

CALL FOR MORE INFORMATION

(+66) 2 513 1418

thai@asiafireworks.com

CONFERENCE BY :

OFFICIAL MEDIA :

ORGANIZED BY :

JuzTalk (Thailand)

Sugar Asia Magazine

Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group


Regional News

ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์คาดน้ำำ��ตาลดิ​ิบผลิ​ิตพุ่​่� งถึ​ึงกว่​่าสองล้​้าน เมตริ​ิกซ์​์ตั​ัน Philippine Raw Sugar Output Seen at 2.1 Million MT

ลผลิ​ิตน้ำำ��ตาลดิ​ิบของฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์สำำ�หรั​ับปี​ีการเพาะ ปลู​ูก 2564-2565 ในเดื​ือนกั​ันยายนนี้​้�คาดว่​่า จะทรงตั​ัวอยู่​่�ที่​่� 2.1 ล้​้านเมตริ​ิกตั​ัน ตามรายงานของ กระทรวงเกษตรแห่​่งสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ในรายงานของสำำ�นักั การเกษตรต่​่างประเทศของกระทรวง เกษตรฯ ชี้​้ว่� า่ มี​ีการคาดการณ์​์ผลผลิ​ิตในอั​ัตราคงที่​่� เนื่​่�องจาก ผลผลิ​ิตในฟาร์​์มต่ำำ�� และสภาพอากาศไม่​่เอื้​้�ออำำ�นวย กระทรวงเกษตรฯ กล่​่าวว่​่า ปั​ัจจั​ัยที่​่�จำำ�กัดั การเพิ่​่�มขึ้​้�น ของผลผลิ​ิต ได้​้แก่​่ พื้​้�นที่​่�ปลู​ูกอ้​้อยที่​่�ลดลงอย่​่างช้​้าๆ และ ผลผลิ​ิตในไร่​่ต่ำำ�� โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งในพื้​้�นที่​่�นอกเกาะเนโก รสที่​่�ทำำ�ให้​้ค่​่าเฉลี่​่�ยของจำำ�นวนผลผลิ​ิตในประเทศลดลง ใน ขณะที่​่�อุ​ุตสาหกรรมมี​ีเป้​้าหมายเพื่​่�อเพิ่​่�มผลตอบแทน แต่​่ คาดว่​่าจะไม่​่ได้​้ผลลั​ัพธ์เ์ ป็​็นเวลาสองถึ​ึงสามปี​ีเมื่​่�อกองทุ​ุนและ กลยุ​ุทธ์​์การดำำ�เนิ​ินการต่​่างๆ ด้​้านการเกษตรยั​ังคงนิ่​่�งอยู่​่� กระทรวงเกษตรฯ ยั​ังย้ำำ��เสริ​ิมว่​่าสภาพภู​ูมิ​ิอากาศจะ ยั​ังคงเป็​็นปั​ัจจั​ัยหลั​ัก เนื่​่�องจากความแห้​้งแล้​้งหรื​ือฝนตกมาก เกิ​ินไปจะส่​่งผลเสี​ียต่​่อการผลิ​ิต ในขณะที่​่�การกระจายพั​ันธุ์​์� พื​ืชก็​็มี​ีความเป็​็นไปได้​้เช่​่นกั​ัน เนื่​่�องจากเกษตรกรบางราย อาจตั​ัดสินิ ใจเปลี่​่�ยนไปใช้​้ทางเลื​ือกที่​่�ทำำ�กำำ�ไรได้​้มากขึ้​้น� กระทรวงเกษตรของสหรั​ัฐอเมริ​ิกาอธิ​ิบายว่​่า การ คาดการณ์​์นี้​้�อาจเปลี่​่�ยนแปลงได้​้ถ้​้ามี​ีข้​้อเสนอเพื่​่�อเปิ​ิดเสรี​ี อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล โดยกระทรวงฯ ได้​้อ้​้างถึ​ึงการศึ​ึกษาที่​่� จั​ัดทำำ�โดยหน่​่วยงานพั​ัฒนาเศรษฐกิ​ิจแห่​่งชาติ​ิในเดื​ือนตุ​ุลาคม ซึ่​่�งให้​้คำำ�แนะนำำ�เชิ​ิงนโยบายเพื่​่�อเสริ​ิมสร้​้างผลผลิ​ิตลดต้​้นทุนุ และปรั​ับปรุ​ุงการริ​ิเริ่​่�มสนั​ับสนุ​ุน โดยสรุ​ุป ผู้​้�มี​ีส่ว่ นได้​้ส่ว่ นเสี​ียเชื่​่อ� ว่​่าการเปิ​ิดเสรี​ีทางการ ค้​้าที่​่�เสนอไปนั้​้�นจะสร้​้างความท้​้าทายอย่​่างมี​ีนั​ัยยะสำำ�คั​ัญ ให้​้กั​ับอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลซึ่​่�งยั​ังไม่​่พร้​้อมที่​่�จะเผชิ​ิญกั​ับการ แข่​่งขั​ันที่​่�เปิ​ิดกว้​้าง.

million metric tons (MT), according to the United States Department of Agriculture (USDA). In a report, USDA’s Foreign Agricultural Service said the flat projection for output is due to low farm productivity and unfavorable climate. “Factors limiting growth include the slow decline in sugarcane area and low farm productivity, particularly in areas outside Negros Island that pull down the national average. While the industry aims to boost yields, results are not expected for two to three years when funds and implementation strategies are in place,” the USDA said.

“Climate will remain a major factor as drought or too much rain have an adverse effect on production, while crop diversification is also a possibility, as some farmers may decide to shift to more profitable options,” it added. The USDA said its projection could be altered by proposals to liberalize the sugar industry. It cited a study conducted by the National Economic Development Authority in October which yielded policy recommendations to strengthen output, cut costs, and improve support initiatives. “Stakeholders believe that the proposed trade liberalization would place significant challenges on the sugar industry, which is not yet equipped to face open competition,” the USDA said.

P

HILIPPINE RAW SUGAR output for the crop year 2021-2022 starting in September is expected to be flat at 2.1

10

www.sugar-asia.com


International News

อั​ัฟกานิ​ิสถานเป็​็นผู้​้�นำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่จากอิ​ินเดี​ีย Afghanistan Becomes One of Major Importers of Indian Sugar

อั​ั

.ฟกานิ​ิสถานและอิ​ินโดนี​ีเซี​ียเป็​็นประเทศที่​่�รั​ับ การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลจนถึ​ึงวั​ันที่​่� 15 เมษายนที่​่�ผ่​่านมาอยู่​่�ที่​่� .น้ำำ��ตาลที่​่�ส่​่งออกจากอิ​ินเดี​ียถึ​ึงร้​้อยละ 48 ตาม 24.82 ล้​้านตั​ัน ซึ่​่�งสู​ูงกว่​่าช่​่วงเดี​ียวกั​ันของปี​ีก่​่อนประมาณ รายงานตั​ัวเลขของสมาพั​ันธ์​์โรงงานน้ำำ��ตาลอิ​ินเดี​ียหรื​ือ 4.26 ล้​้านตั​ันหรื​ือ 21% ในขณะที่​่�โรงงานน้ำำ��ตาลประมาณ 170 แห่​่งยั​ังคงทำำ�การหี​ีบอ้​้อยในวั​ันที่​่� 15 เมษายน ซึ่​่�งในปี​ีที่​่� ไอ เอส เอ็​็ม เอ อิ​ินโดนี​ีเซี​ียซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�นำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจากอิ​ินเดี​ียรายใหญ่​่ ที่​่�สุ​ุด ได้​้นำำ�เข้​้าจำำ�นวนประมาณ 11.5 แสนตั​ันในช่​่วงเดื​ือน ตุ​ุลาคมถึ​ึงมี​ีนาคม ส่​่วนอั​ัฟกานิ​ิสถานได้​้นำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลจำำ�นวน 4.7 แสน ตั​ันจากอิ​ินเดี​ีย

ประเทศผู้น�ำเข้าน�้ำตาลรายใหญ่

นายอภินาช เวอร์มา อธิบดีของสมาพันธ์ฯ แถลงว่า ไทยเคยเป็นผู้ส่งออกน�้ำตาลรายใหญ่ท่ีสุดไปยังอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นผู้น�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบรายใหญ่เช่นเดียวกับจีน เนื่องจากการผลิตน�้ำตาลของไทยลดลงครึง่ หนึง่ การส่งออก น�้ำตาลไปอินโดนีเซียจึงลดลง ดังนั้นอินเดียจึงคว้าโอกาสเข้า สู่ตลาดอินโดนีเซียไว้ ที่จริงแล้ว อินโดนีเซียได้ขยายเวลาการเรียกเก็บภาษี น�ำเข้าให้แก่อินเดียไปอีก 1 ปีครึ่ง ส่วนไทยและออสเตรเลีย เป็นอีกสองประเทศที่ได้รับการขยายเวลาเรียกเก็บภาษีน�ำ เข้าจากอินโดนีเซีย

การส่งออกของอินเดีย

สมาพันธฯ์ กล่าวว่ามีการส่งออกประมาณ 29.72 แสน ตันในช่วงเดือนตุลาคมถึงมีนาคม 2564 เทียบกับ 30.64 แสน ตันในช่วงเวลาเดียวกันของปีทีแ่ ล้ว โรงงานน�้ำตาลได้สง่ ออก มากกว่า 25 แสนตันภายในช่วงสามเดือนของนโยบายการ ส่งออกปี 2563-2564 ตามที่ประกาศในวันที่ 31 ธันวาคม 2563 นั่นคือเกือบร้อยละ 42 ของโควต้าการส่งออก 60 แสนตันในปีปัจจุบัน นอกจากนีย้ งั มีรายงานว่ามีการส่งออกน�้ำตาลประมาณ แปดแสนตันอยู่ในช่วงเดือนเมษายนอีกด้วย www.sugar-asia.com

แล้​้วมี​ีโรงงานน้ำำ��ตาลเพี​ียง 140 แห่​่งทำำ�การหี​ีบอ้​้อย.

A

fghanistan and Indonesia account for 48% of sugar exports from India, according to figures from Indian Sugar Mills Association (ISMA).

Indonesia, being the largest importer of Indian sugar, has imported about 11.5 lakh tonnes during the period of October-March. Afghanistan has imported 4.7 lakh tonnes from India.

India Exports ISMA said about 29.72 lakh tonnes have been shipped out during October-March 2021 compared with 30.64 lakh tonnes in the same period a year ago. Mills have shipped out more than 25 lakh tonnes within three months of the 2020-21 export policy being announced on December 31, 2020. This is almost 42 per cent of the 60 lakh tonnes of export quota for the current year. It is also reported that about eight lakh tonnes of sugar is in pipeline for export in April, ISMA said. Sugar production till April 15 stood at 24.82 million tonnes, about 4.26 million tonnes or 21 per cent higher than same period last year. About 170 sugar mills were still crushing cane as on April 15 compared with140 in the same period last year.

Major sugar importers Thailand used to be the largest exporter of sugar to Indonesia, a major importer of raw sugar along with China. With Thailand’s sugar production coming down by half, its exports to Indonesia have reduced. Therefore, India is getting a chance to enter the Indonesian market and we have grabbed the opportunity, said Abinash Verma, Director General of ISMA. In fact, Indonesia has extended the concessional import duty to India t a year-and-half ago. Thailand and Australia are the only other countries that enjoy Indonesia’s concessional import duty.

A Farmer harvests sugar cane for gora production in Nang Province, Afghanistan, December 26. [Noorullah Shirzada-AFP]

11


International News

ออสเตรเลี​ียหนุ​ุน 1.9 ล้​้านสร้​้างโครงสร้​้างพื้​้� นฐาน เพื่​่� อขนถ่​่ายอ้​้อย Australia Commits $1.9 Million to Sugarcane Transloading Facility Infrastructure

hauled in the Maryborough region milled into raw sugar at the Isis Central Sugar Mill at Childers.

เๆ

กษตรกรผู้​้�ปลู​ูกอ้​้อยในรั​ัฐแมรี่​่�บะระของออสเตรเลี​ีย และอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลในประเทศยอมรั​ับข้​้อผู​ูกพั​ัน ในการระดมทุ​ุน 1.9 เหรี​ียญออสเตรเลี​ียจากรั​ัฐบาล สำำ�หรั​ับสนั​ับสนุ​ุนโครงสร้​้างพื้​้�นฐานด้​้านการขนถ่​่าย อ้​้อย พั​ันธะหน้​้าที่​่�ดั​ังกล่​่าวเกิ​ิดขึ้​้�นประจวบเหมาะกั​ับ การสนั​ับสนุ​ุนเงิ​ิน 2.5 ล้​้านดอลลาร์​์จากรั​ัฐบาลกลาง สำำ�หรั​ับแผนการปลู​ูก เก็​็บเกี่​่�ยวและขนถ่​่ายอ้​้อยในภู​ูมิ​ิ ภาคแมรี่​่�บะระมาแปรรู​ูปเป็​็นน้ำำ��ตาลทรายดิ​ิบที่​่�โรงงาน น้ำำ��ตาลไอซิ​ิส เซ็​็นทรั​ัล ในรั​ัฐชิ​ิลเดอร์​์ส

เกี่​่�ยวในไร่​่และการขนส่​่งอ้​้อย มิ​ิฉะนั้​้�นจะเกิ​ิดความเสี่​่�ยงหาก ไม่​่สามารถขนส่​่งอ้​้อยไปยั​ังโรงงานไอซิ​ิสได้​้ นอกจากนี้​้� ยั​ังเกิ​ิดการสนั​ับสนุ​ุนงานทั้​้�งทางตรงและ ทางอ้​้อมถึ​ึง 681 ประเภทที่​่�โรงงานอ้​้อยไอซิ​ิสและกิ​ิจกรรม ทางเศรษฐกิ​ิจถึ​ึง 99.2 ล้​้านดอลลาร์​์ออสเตรเลี​ีย งานใน ฤดู​ูกาลใหม่​่ 40 ตำำ�แหน่​่งจะถู​ูกสร้​้างขึ้​้�นภายใต้​้การดำำ�เนิ​ิน งานของโรงงานไอซิ​ิสและงานในการก่​่อสร้​้างโรงงานขนส่​่ง จำำ�นวน 44 ตำำ�แหน่​่ง รวมทั้​้�งยั​ังเพิ่​่�มชั่​่�วโมงในการผลิ​ิตไฟฟ้​้า หมุ​ุนเวี​ียนเพิ่​่�มเติ​ิมอี​ีก 8027 เมกะวั​ัตต์​์จากโรงงานน้ำำ��ตาล กลางดั​ังกล่​่าวอี​ีกด้​้วย

Australian Sugar Milling Council chief executive David Pietsch said the transloading facility infrastructure will help safeguard hundreds of jobs in the Wide Bay-Burnett region. Mr. Pietsch said the funding was critical for enabling cane to be transported to Isis Central Sugar Mill, and he commended the Australian and Queensland governments for their funding commitments. “We have worked to support our member Isis Central Sugar Mill and are pleased they have secured government support for this transport infrastructure to allow Maryborough region growers to deliver an estimated 380,000 tonnes of cane to the mill at Childers from this season,” Mr Pietsch said. “The funding commitments announced by Deputy Prime Minister Michael McCormack and Federal Member for Hinkler Keith Pitt, and Queensland Deputy Premier Steven Miles and Member for Maryborough and Assistant Minister Bruce Saunders, highlight the importance both governments place on the sugar industry for jobs,’’ Mr Pietsch said. “At a time of economic upheaval for many industries and Queensland households, the sugar industry has continued to deliver jobs and economic activity in our regions.” Mr Pietsch also acknowledged the engagement of the Department of State Development which was critical to securing the Queensland Government’s support. He said the funding will help secure 110 jobs in harvesting and field haulage operations and cane transportation otherwise at risk if cane cannot be transported to Isis Mill. It will also support 681 direct and indirect jobs at Isis Central Mill and $99.2 million in economic activity. Forty new ongoing seasonal jobs will be created in the operation of the Isis Central Mill and 44 jobs in the construction of the transloader facility. It will also mean 8027 megawatt hours of additional renewable electricity generated from the Isis Central Sugar Mill.

นายเดวิ​ิด พี​ีทส์​์ช ผู้​้�บริ​ิหารระดั​ับสู​ูงของสภาโรงงาน ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลแห่​่งออสเตรเลี​ีย กล่​่าวว่​่า โครงสร้​้างพื้​้น� ฐานของ สิ่​่�งอำำ�นวยความสะดวกเพื่​่�อการขนถ่​่ายอ้​้อยจะช่​่วยคุ้​้�มครอง ustralia’s Maryborough sugarcane แรงงานหลายร้​้อยตำำ�แหน่​่งในภู​ูมิ​ิภาคไวลด์​์ เบย์​์ เบอร์​์เน็​็ต growers and the wider sugar industry และเงิ​ินทุ​ุนดั​ังกล่​่าวยั​ังมี​ีความสำำ�คั​ัญมากในการขนส่​่งอ้​้อย have welcomed a $1.9 million funding ไปยั​ังโรงงานอ้​้อยที่​่�ไอซิ​ิส เซ็​็นทรั​ัล นายเดวิ​ิดยังั ชื่​่น� ชมรั​ัฐบาล commitment from the state government ออสเตรเลี​ียและรั​ัฐบาลของรั​ัฐควี​ีนส์แ์ ลนด์​์สำำ�หรั​ับคำำ�มั่​่นสั � ญญ ั า for transloading facility infrastructure. The ในการส่​่งเสริ​ิมทางด้​้านการเงิ​ินนี้​้� นายเดวิ​ิดกล่​่าวเสริ​ิมว่​่า “เราทำำ�งานอย่​่างเต็​็มที่​่�เพื่​่�อ commitment follows close on the heels สนั​ับสนุ​ุนโรงงานอ้​้อยที่​่�ไอซิ​ิส เซ็​็นทรั​ัลซึ่​่�งเป็​็นสมาชิ​ิกของ of a $2.5 million pledge from the federal เราและยิ​ินดี​ีที่​่�พวกเขาได้​้รั​ับการสนั​ับสนุ​ุนจากรั​ัฐบาลเกี่​่�ยว government to support the plan that กั​ับโครงสร้​้างพื้​้น� ฐานด้​้านการขนส่​่งนี้​้�เพื่​่�อให้​้ผู้​้�ปลู​ูกอ้​้อยในภู​ูมิ​ิ will see sugarcane grown, harvested and ภาคแมรี่​่บ� ะระ สามารถส่​่งอ้​้อยประมาณ 380,000 ตั​ันไปยั​ัง โรงงานอ้​้อยที่​่�ชิลิ เดอร์​์สได้​้ตั้​้�งแต่​่ฤดู​ูกาลนี้​้�” นายเดวิ​ิดยั​ังย้ำำ��อี​ีกว่​่า “คำำ�มั่​่�นสั​ัญญาด้​้านเงิ​ินทุ​ุนที่​่� ประกาศโดยรองนายกรั​ัฐมนตรี​ีไมเคิ​ิล แม็​็คคอร์​์แม็​็ค สมาชิ​ิก สหพั​ันธรั​ัฐของฮิ​ินคเลอร์​์ คี​ีธ พิ​ิทท์​์ รองนายกรั​ัฐมนตรี​ีของ ควี​ีนส์แ์ ลนด์​์สตี​ีเวน ไมลส์​์ สมาชิ​ิกรั​ัฐแมรี่​่บ� ะระและรั​ัฐมนตรี​ี ช่​่วยบรู​ูซ ซอนเดอร์​์ได้​้เน้​้นย้ำำ��ถึงึ ความสำำ�คัญที่​่ ั รั� ฐั บาลทั้​้�งสองให้​้ ความสำำ�คัญกั ั บั อุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลในการจ้​้างแรงงาน” นายเดวิ​ิดแสดงความรู้​้�สึ​ึกของตนเองว่​่า “ในช่​่วงเวลา แห่​่งความผั​ันผวนทางเศรษฐกิ​ิจ หลายอุ​ุตสาหกรรมและ ครั​ัวเรื​ือนในรั​ัฐควี​ีนส์​์แลนด์​์รวมทั้​้�งอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลยั​ัง คงมี​ีงานและกิ​ิจกรรมทางเศรษฐกิ​ิจเพื่​่�อส่​่งมอบให้​้แก่​่แรงงาน ในภู​ูมิ​ิภาคนี้​้�” นายพี​ีทช์​์สยั​ังยอมรั​ับการมี​ีส่​่วนร่​่วมของกระทรวง การพั​ัฒนาแห่​่งรั​ัฐซึ่​่�งมี​ีความสำำ�คั​ัญอย่​่างยิ่​่�งต่​่อการได้​้รั​ับการ สนั​ับสนุ​ุนจากรั​ัฐบาลควี​ีนส์แ์ ลนด์​์ เขากล่​่าวว่​่าเงิ​ินทุนดั ุ งั กล่​่าว The funding will help secure 110 jobs in harvesting and field haulage operations and cane transportation otherwise at risk if cane จะช่​่วยให้​้มีงี าน 110 ตำำ�แหน่​่งในการเก็​็บเกี่​่�ยว รวมทั้​้�งการเก็​็บ cannot be transported to Isis Mill.

A

12

www.sugar-asia.com


International News

แผนแม่​่บทน้ำำ��ตาลของแอฟริ​ิกาใต้​้เริ่​่�มฟื้� นฟู​ู ้ ภาคอุ​ุตสาหกรรม South Africa’ Sugar Masterplan Starting to Uplift Industry

อุ​ุ

ตสาหกรรมอ้​้อยของแอฟริ​ิกาใต้​้ประสบกั​ับรายได้​้และ การผลิ​ิตที่​่�ลดลงอย่​่างรวดเร็​็วในช่​่วงไม่​่กี่​่�ปี​ีที่​่�ผ่​่านมา โดยส่​่วนใหญ่​่เป็​็นผลมาจากการนำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลราคาถู​ูกที่​่� ท่​่วมตลาดน้ำำ��ตาลในประเทศ รวมทั้​้�งมี​ีการจั​ัดเก็​็บภาษี​ี สุ​ุขภาพหรื​ือเรี​ียกอี​ีกชื่​่�อว่​่าภาษี​ีน้ำำ��ตาลซึ่​่�งกำำ�ลั​ังคุ​ุกคาม โอกาสในอนาคต

คณะกรรมการพอร์​์ตข้​้อมู​ูลการลงทุ​ุนด้​้านการค้​้าและ อุ​ุตสาหกรรมของแอฟริ​ิกาใต้​้ได้​้มีกี ารประชุ​ุมแบบออนไลน์​์เมื่​่�อวั​ัน ที่​่� 11 พฤษภาคมกั​ับผู้​้�มี​ีส่ว่ นได้​้ส่ว่ นเสี​ียในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล ซึ่​่ง� มี​ีส่ว่ นร่​่วมในประเด็​็นสำำ�คัญ ั และการพั​ัฒนาที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับแผน แม่​่บทน้ำำ��ตาลซึ่​่�งได้​้รับั การลงนามอย่​่างเป็​็นทางการจากผู้​้�มี​ีส่ว่ น ได้​้ส่​่วนเสี​ียทั้​้�งหมดเมื่​่�อวั​ันที่​่� 16 พฤศจิ​ิกายน 2563 การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลรายปี​ีในแอฟริ​ิกาใต้​้ลดลงเกื​ือบ 25% จาก 2.75 ล้​้านตั​ันเป็​็น 2.1 ล้​้านตั​ันต่อ่ ปี​ีในช่​่วง 20 ปี​ีที่​่ผ่� า่ นมา ในช่​่วงเวลาเดี​ียวกั​ัน จำำ�นวนชาวไร่​่อ้​้อยลดลง 60% ในขณะที่​่�งานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลคาดว่​่าจะ ลดลง 45% คณะกรรมการยั​ังได้​้ข่​่าวมาว่​่าโรงงานน้ำำ��ตาลสองแห่​่ง ต้​้องเผชิ​ิญกั​ับ “ความยากลำำ�บากอย่​่างแสนสาหั​ัส” นายโนมาลั​ังเจโล จี​ีนา รั​ัฐมนตรี​ีช่​่วยว่​่าการกระทรวง การค้​้า อุ​ุตสาหกรรมและการแข่​่งขั​ันทางพาณิ​ิชย์​์ กล่​่าวกั​ับ คณะกรรมการว่​่าความหวั​ังของกรมการค้​้าอุ​ุตสาหกรรมและ การแข่​่งขั​ันทางพาณิ​ิชย์​์ที่​่�จะเปลี่​่�ยนแนวโน้​้มที่​่�ลดลงดั​ังกล่​่าว ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับแผนแม่​่บทน้ำำ��ตาล จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน การลงทุ​ุนมู​ูลค่​่าพั​ันล้​้านของแผนแม่​่บท ในการปรั​ับโครงสร้​้างอุ​ุตสาหกรรมได้​้แจกจ่​่ายเงิ​ินจำำ�นวน 400 ล้​้านเหรี​ียญแอฟริ​ิกาใต้​้ให้​้กับั ผู้​้�มี​ีส่ว่ นได้​้ส่ว่ นเสี​ียที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง เงิ​ินนี้​้ถู​ู� กนำำ�มาใช้​้เพื่​่�อเปลี่​่�ยนแปลงอุ​ุตสาหกรรมมากขึ้​้น� โดยสร้​้างการแข่​่งขั​ันที่​่ยั่​่� ง� ยื​ืนและอุ​ุตสาหกรรมที่​่�หลากหลายซึ่​่�ง จะช่​่วยเพิ่​่�มวั​ัฏจั​ักรคุ​ุณค่​่าของตนเอง กรมการค้​้าฯ บอกกั​ับคณะกรรมการว่​่าวั​ัตถุ​ุประสงค์​์หลั​ัก ของแผนแม่​่บท รวมถึ​ึงการรั​ักษาความสามารถในการแข่​่งขั​ัน ของสิ​ินทรั​ัพย์ที่​่์ มี� ปี ระสิ​ิทธิ​ิผลของอุ​ุตสาหกรรมและการกระจาย ความเสี่​่�ยงเป็​็นไปเพื่​่�อต้​้านทานการแข่​่งขั​ันเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ แผนดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อฟื้นฟูตลาดในประเทศ ในขณะเดียวกันก็ท�ำให้เกิดความมั่นใจว่าอุตสาหกรรมจะ www.sugar-asia.com

ปรับโครงสร้างตัวเองให้มคี วามครอบคลุมและสะท้อนให้เห็น เพราะมี​ีการวางรากฐานไว้​้แล้​้วและจำำ�เป็​็นต้​้องใช้​้ประโยชน์​์ จากสิ่​่�งที่​่�มี​ีอยู่​่�นั้​้�น” ถึงข้อมูลประชากรของแอฟริกาใต้ กรมการค้​้าฯ ยั​ังตั้​้�งข้​้อสั​ังเกตว่​่าการดำำ�เนิ​ินการตามแผน แม่​่บทส่​่งผลให้​้ยอดขายในประเทศเพิ่​่�มขึ้​้น� 15% โดยเพิ่​่�มขึ้​้น� he South African sugarcane industry 188,233 ตั​ัน (เที​ียบกั​ับเป้​้าหมาย 150,000 ตั​ัน) การเจาะ ตลาดโดยตรงเพิ่​่�มขึ้​้น� 22% และการจั​ัดหาน้ำำ��ตาลในท้​้องถิ่​่�น has experienced a sharp decline in ของผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��อั​ัดลมเพิ่​่�มขึ้​้�น 7% revenue and production in recent years, นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีการจั​ัดตั้​้�งที​ีมงาน 10 ที​ีมและผู้​้�เข้​้าร่​่วม mainly as a result of cheap sugar imports ประชุ​ุมสำำ�หรั​ับแต่​่ละที​ีมงานที่​่�ได้​้รั​ับเลื​ือก that have flooded the local sugar market, เป้​้าหมายของกรมการค้​้าฯ ในอี​ีกสามเดื​ือนข้​้างหน้​้าคื​ือ as well as the Health Promotion Levy (HPL), การสรุ​ุปเหตุ​ุการณ์​์สำำ�คัญ ั ให้​้เสร็​็จสิ้​้�น รวมทั้​้�งเร่​่งและยกระดั​ับ การประสานงานระหว่​่างรั​ัฐบาลและการมี​ีส่ว่ นร่​่วมของผู้​้�มี​ีส่ว่ น or so-called sugar tax, that is threatening its future prospects. ได้​้ส่​่วนเสี​ียต่​่างๆของรั​ัฐบาลเพื่​่�อให้​้แผนแม่​่บทเป็​็นจริ​ิง ประธานคณะกรรมการกรมการค้​้าฯ นายดู​ูมา โคซี​ี The Portfolio Committee on Trade and เน้​้นย้ำำ��ถึงึ ความจำำ�เป็​็นที่​่ผู้​้�มี � บี ทบาทในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลจะ Industry held a meeting on May 11, during which ต้​้องกระจายผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของตนหากต้​้องการมี​ีวิถีิ ที างเศรษฐกิ​ิจ stakeholders within the sugar industry engaged ที่​่�ยั่​่�งยื​ืนในอนาคต on key matters and developments with regard to เขายั​ังระบุ​ุด้​้วยว่​่าคณะกรรมการมี​ีความสนใจที่​่�จะ the Sugar Masterplan – which was formally signed เห็​็นความคื​ืบหน้​้าของที​ีมงานต่​่างๆ ในการนำำ�แผนแม่​่บทไป off by all stakeholders in a virtual ceremony held สู่​่�ผลลั​ัพธ์​์ และกล่​่าวว่​่า “เราซาบซึ้​้�งกั​ับงานที่​่�ทำำ�จนถึ​ึงตอนนี้​้� on November 16, 2020.

T

13


International News Yearly sugar production in South Africa has declined by nearly 25%, from 2.75-million tonnes to 2.1-million tonnes a year, over the past 20 years. Over the same period, the number of sugarcane farmers have decreased by 60%, while sugar industry-related jobs are estimated to have reduced by 45%. The committee also heard that two sugar mills have faced “extreme difficulty”. Trade, Industry and Competition Deputy Minister Nomalungelo Gina told the committee that the hope of the Department of Trade, Industry and Competition (DTIC) to turn this downward trend around hinges on the Sugar Masterplan. To date, of the Masterplan’s R1-billion investment in restructuring the industry, R400-million has been distributed to relevant stakeholders. This money has been used to transform the industry to be more representative, to build a competitive and sustainable and a diversified industry that will enhance its value chain. The department told the committee that the chief objectives of the Masterplan include the preservation of competitiveness of the industry’s productive assets and to diversify it to withstand competition. The plan is also intended to restore the local market, while ensuring that the industry restructures itself to be inclusive and reflective of South Africa’s demographics. The DTIC also noted that implementation of the Masterplan had, so far, resulted in a 15% increase in local sales, adding 188 233 t (compared with a target of 150 000 t); a 22% increase

A truck in Tongaat carrying sugar cane from farmers. South Africa in direct market penetration and a 7% increase in soft drink manufacturers’ procurement of local sugar. In addition, ten task teams have been established and convenors for each task team elected. The department’s target in the next three months is to finalise its milestones and accelerate and upscale the intergovernmental coordination and participation of the various government stakeholders towards the realisation of the Masterplan.

Committee chairperson Duma Nkosi emphasised the need for the sugar industry’s role-players to diversify their products if they want to have a sustainable economic trajectory in the future. He also stated that the committee was interested to see the progress of various task teams in bringing the Masterplan into fruition. “We appreciate the work done thus far. A foundation has been set, and there is a need to take advantage of that.”

ONE-STOP COOLING SOLUTION PROVIDER

1

Field Erected Cooling Towers

2

Packaged Cooling Towers

3 14

20th Fl.,Thanapoom Tower, Ratthawi, Bangkok, Thailand

(+66)2 037 7228

info@seagull-ct.com

After Market Services • Retro-fitting • Reconstruction • Refurbishment

www.sugar-asia.com Seagull Cooling Technologies www.sap-ct.com


Quick, clean and safe – quality speaks for itself. The QUADRANT from CLAAS.

Three square balers - an impressive line-up.

ครบเคร�่องเร�่องการอัดก อน

All QUADRANT models offer many additional benefits: - High throughput - Automatic baling pressure control for very high bale density - High rotor speed for outstanding crop flow - Good tying reliability, thanks to six high-performance knotters with no twine waste - Knife drawer available for all QUADRANT models – now also available for the QUADRANT 4200 - Crop feed systems to suit a variety of needs: ROTO FEED, ROTO CUT, SPECIAL CUT - Innovative bale weighing system for all QUADRANT models

เคร�่องอัดแบบก อนเหลี่ยมของ CLAAS (คลาส) มีให เลือกสามรุน ด วยกัน เร�ม� ต นทีร่ น ุ เล็กสุด คือ รุน QUADRANT 4200 และ รุน ที่ ใหญ ข�้น ได แก 5200 และ 5300 โดยขนาดก อนที่อัด คือ 1.20 x 0.70 เมตร และ 1.20 x 0.90 เมตร ตามลําดับ เคร�่องอัดก อน เหลี่ยมรุ น QUADRANT สามารถใช อัดวัสดุพ�ชหลายชนิดไม ว า จะเป น ใบอ อย ฟางข าว หร�อต นข าวโพดที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว เศษวัสดุพช� อัดก อนเหล านี้ สามารถนําไปใช สาํ หรับผลิตพลังงาน ไฟฟ าชีวมวลได เป นอย างดี

NEW: Integrated bale weighing system. The exact bale weight is displayed on the terminal of the QUADRANT models during working, and is saved to the customer order. Thanks to the new bale weighing system, the bale weights can be called up anywhere via TELEMATICS and undergo further processing.

สอบถามข อมูลเพ��มเติม / For more information: บร�ษัทคลาส ร�เจ�ยนัล เซ็นเตอร เซาท อีส เอเซีย จํากัด โทร. 02 726 9667 ต อ 115 claas.com (English) claas.co.th (ภาษาไทย)

CLAAS Regional Center South East Asia Ltd. 29 Bangkok Business Center Building 18th FL., Unit 1803, Sukhumvit 63 Road, Kwang Klongton - Nua, Khet Wattana Bangkok 10110, Thailand Tel : +66 272 69 667 ext.115 Fax : +66 272 69 669

CLAAS.SouthEastAsia @claas_sea

CLAAS South East Asia @claas.sea


In the Hot Seat

เปิ​ิดตั​ัวอ้​้อยส่​่งเสริ​ิม 4 สายพั​ั นธุ์​์�ใหม่​่ ทางเลื​ือกใหม่​่เพื่​่� อทดแทนอ้​้อยพั​ั นธุ์​์�เดิ​ิม OCSB Introduces 4 New Alternative Canes

คุ​ุณประสิ​ิทธิ์�์ วงษาเที​ียม Mr. Prasit Wongsathiem

ผู้​้�อำำ�นวยการกองอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อย น้ำำ��ตาลทรายและอุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่�อง สำำ�นั​ักงานคณะกรรมการอ้​้อยและน้ำำ��ตาลทราย The Director of OCSB’s Department of Cane, Sugar and Continuous Industries

อยและน้ำำ��ตาลทรายของประเทศ อุ​ุตไทยสาหกรรมอ้​้ มี​ีการพั​ัฒนามาหลายปี​ี จนมี​ีจุดุ แข็​็งที่​่�สามารถ

สำำ�คั​ัญในการวิ​ิจั​ัยสายพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยใหม่​่ๆ เพื่​่�อรองรั​ับความต้​้องการมาทดแทน อ้​้อยสายพั​ันธุ์​์�เดิ​ิมๆ ดั​ังนั้​้�น ทาง Sugar Asia จึ​ึงได้​้รั​ับเกี​ียรติ​ิจาก คุ​ุณ ประสิ​ิทธิ์​์� วงษาเที​ียม ผู้​้�อำำ�นวยการกองอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อย น้ำำ��ตาลทราย แข่​่งขั​ันกั​ับต่​่างประเทศได้​้ ทำำ�ให้​้ทุกวั ุ นั นี้​้�ไทยเป็​็นผู้​้�ส่​่ง และอุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่อ� ง และคุ​ุณธวั​ัช หะหมาน นั​ักวิทิ ยาศาสตร์​์ชำำ�นาญ การพิ​ิเศษ หั​ัวหน้​้ากลุ่​่�มพั​ัฒนาด้​้านอ้​้อย น้ำำ��ตาลทราย และอุ​ุตสาหกรรม ออกน้ำำ��ตาลอั​ันดั​ับ 2 ของโลก ต่​่อเนื่​่อ� ง สำำ�นั​ักงานคณะกรรมการอ้​้อยและน้ำำ��ตาลทราย ร่​่วมพู​ูดคุ​ุยถึ​ึงที่​่� รองจากบราซิ​ิล โดย ‘อ้​้อย’ เป็​็นหั​ัวใจหลั​ักของการพั​ัฒนา มี​ีการวิ​ิจั​ัย มาของการพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้​้อยส่​่งเสริ​ิม 4 สายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ พร้​้อมทิ​ิศทางใน และพั​ัฒนาต่​่อเนื่​่�อง เพื่​่�อเพิ่​่�มผลผลิ​ิตและปรั​ับปรุ​ุงคุ​ุณภาพ ก่​่อนส่​่งเสริ​ิมให้​้ อนาคตสำำ�หรั​ับการวิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้​้อยของ สอน. ที่​่�จะช่​่วยเพิ่​่�มขี​ีด เกษตรกรนำำ�ไปเพาะปลู​ูก ล่​่าสุ​ุด สำำ�นั​ักงานคณะกรรมการอ้​้อยและน้ำำ��ตาล ความสามารถในการแข่​่งขั​ันได้​้ในระดั​ับโลก ทราย ได้​้เปิ​ิดตั​ัวการพั​ัฒนา พั​ันธุ์​์�อ้​้อยส่​่งเสริ​ิม 4 สายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ ที่​่�มี​ีชื่​่�อว่​่า ความเป็​็นมาการวิ​ิจัยอ้ ั อ้ ยพั​ันธุ์​์�ส่​่งเสริ​ิม 4 สายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ ฝอยทอง (AA142224-028) ทองเอก (CSB11-303) ทองหยอด (CSB11612) และทองหยิ​ิบ (CSB11-615) เผยลั​ักษณะพั​ันธุ์​์�อ้​้อยส่​่งเสริ​ิมใหม่​่มี​ีจุ​ุด คุ​ุณธวั​ัช เปิ​ิดเผยว่​่า โดยปกติ​ิแล้​้ว การวิ​ิจัยั และพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยแต่​่ละ เด่​่น ให้​้ผลผลิ​ิตดี​ี ค่​่าความหวานสู​ูง 13-14 ซี​ีซี​ีเอส เหมาะสำำ�หรั​ับปลู​ูกภาค ครั้​้�ง ใช้​้เวลา 12-14 ปี​ี กว่​่าจะคั​ัดเลื​ือกได้​้อ้​้อยสายพั​ันธุ์​์�ที่​่�เหมาะสมนำำ�มา อี​ีสาน ภาคเหนื​ือ ภาคกลาง อยู่​่�ระหว่​่างขยายพั​ันธุ์เ์� พิ่​่�มปริ​ิมาณ คาด 1-2 ปี​ี ส่​่งเสริ​ิมให้​้ชาวไร่​่อ้​้อยนำำ�ไปปลู​ูกได้​้สั​ักหนึ่​่�งสายพั​ันธุ์​์� แต่​่ สอน. ได้​้ร่​่วมมื​ือ กั​ับมหาวิ​ิทยาลั​ัยเกษตรศาสตร์​์ วิ​ิทยาเขตกำำ�แพงแสน พั​ัฒนาองค์​์ประกอบ เกษตรกรได้​้ปลู​ูกครอบคลุ​ุมทั่​่�วประเทศไทยแน่​่นอน ‘พั​ันธุ์​์�อ้อ้ ย’ คื​ือ จุ​ุดเริ่​่ม� ต้​้นความสำำ�เร็​็จของอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยและน้ำำ�� ตาล ความรู้​้�ต่​่างๆ เพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการปรั​ับปรุ​ุงพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ย สามารถลดระยะเวลา ทรายไทย เนื่​่�องจากพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยเป็​็นเทคโนโลยี​ีขั้​้น� พื้​้น� ฐาน และเกษตรกรชาวไร่​่ การปรั​ับปรุ​ุงพั​ันธุ์​์�ลงเหลื​ือ 8-10 ปี​ี จนได้​้อ้​้อยสายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ มาทดแทน อ้​้อยสามารถเข้​้าถึ​ึงได้​้ง่​่ายที่​่�สุ​ุด หากพั​ันธุ์​์�อ้​้อยดี​ี ก็​็สามารถให้​้ผลผลิ​ิตและ อ้​้อยสายพั​ันธุ์​์�เดิ​ิมที่​่�เริ่​่�มมี​ีปั​ัญหาความอ่​่อนแอต่​่อโรคและศั​ัตรู​ูอ้​้อยต่​่างๆ คุ​ุณภาพสู​ูง ความเหมาะสมกั​ับสภาพพื้​้นที่​่ � ปลู​ู � กได้​้ โดยภาครั​ัฐมี​ีบทบาทหน้​้าที่​่� และสอดคล้​้องกั​ับความต้​้องการอ้​้อยสายพั​ันธุ์ใ์� หม่​่ของชาวไร่​่อ้อ้ ยด้​้วย

16

www.sugar-asia.com


In the Hot Seat อดี​ีตที่​่�ผ่า่ นมา พั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยที่​่�ส่ง่ เสริ​ิมให้​้ชาวไร่​่อ้อ้ ยปลู​ูกมี​ีไม่​่มากนั​ัก ชาวไร่​่ อ้​้อยไม่​่มี​ีทางเลื​ือกมาก ปลู​ูกช่​่วงหนึ่​่�ง พบว่​่าพั​ันธุ์​์�อ้​้อยเหล่​่านี้​้� ไม่​่สามารถให้​้ ผลผลิ​ิตและคุ​ุณภาพได้​้ตามเป้​้าหมาย เนื่​่�องจากอ้​้อยไม่​่สามารถปรั​ับตั​ัวให้​้ เข้​้ากั​ับทุ​ุกพื้​้�นที่​่�ได้​้ ประกอบกั​ับมี​ีความเสี่​่�ยงต่​่อโรคและแมลงศั​ัตรู​ูอ้​้อย ความ ต้​้องการอ้​้อยพั​ันธุ์​์�ใหม่​่มาทดแทนอ้​้อยพั​ันธุ์​์�เดิ​ิม จึ​ึงเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างมาก ล่​่าสุ​ุด คณะกรรมการอ้​้อยและน้ำำ�� ตาลทราย (กอน.) ในการประชุ​ุมเมื่​่�อ วั​ันที่​่� 13 มกราคม 2564 เห็​็นชอบให้​้ประกาศพั​ันธุ์​์�อ้​้อยส่​่งเสริ​ิมใหม่​่ 4 สาย พั​ันธุ์​์� โดยมี​ีการตั้​้�งชื่​่�ออ้​้อยเป็​็นหมวดหมู่​่�ขนมหวานไทย ให้​้จำำ�ชื่​่�อพั​ันธุ์​์�ได้​้ง่​่าย และสามารถสื่​่�อถึ​ึงความหวานได้​้ด้​้วย

ความโดดเด่​่นของอ้​้อยพั​ันธุ์​์�ส่​่งเสริ​ิม ตั​ัวเลื​ือกใหม่​่ที่​่�ดี​ี แก่​่เกษตรกร พั​ันธุ์​์�แรกที่​่�พั​ัฒนาขึ้​้�นมาคื​ือ ‘ฝอยทอง’ หรื​ือ AA142224-028 เป็​็น ลู​ูกผสมของ K84-200 x 85-2-352 ค่​่าความหวาน 12.5-13.5 ซี​ีซี​ีเอส ปลู​ูกได้​้ในสภาพดิ​ินร่​่วนปนทราย ไม่​่เหมาะกั​ับพื้​้�นที่​่�ลุ่​่�ม พื้​้�นที่​่�ระบายน้ำำ��ได้​้ดี​ี ไม่​่ออกดอก ไม่​่หั​ักล้​้ม เก็​็บเกี่​่�ยวได้​้ง่​่าย เหมาะสมกั​ับภาคอี​ีสาน ถ้​้าปลู​ูกใน เขตน้ำำ��ฝน จะได้​้ผลผลิ​ิตประมาน 20 ตั​ันต่​่อไร่​่ และเขตชลประมาน จะได้​้ ผลผลิ​ิต 25 ตั​ันต่​่อไร่​่

“ฝอยทอง” อ้​้อยสายพั​ันธุ์​์� AA14224-028

“ทองเอก” พันธุ์อ้อย ซีเอสบี 11-303

พั​ันธุ์​์�ที่​่�สองคื​ือ ‘ทองเอก’ หรื​ือ CSB11-303 เป็​็นลู​ูกผสมเปิ​ิดของ H474991 ค่​่าความหวาน 13-14 ซี​ีซี​ีเอส ปลู​ูกได้​้ในสภาพที่​่�ดิ​ินร่​่วนเหนี​ียว กั​ับ ดิ​ินร่ว่ นทราย ไม่​่ออกดอก ไม่​่หักั ล้​้ม เหมาะสมกั​ับพื้​้นที่​่ � ภ� าคกลาง ภาคอี​ีสาน ภาคเหนื​ือ ให้​้ผลผลิ​ิต 18-20 ตั​ันต่​่อไร่​่ พั​ันธุ์​์�ที่​่ส� ามคื​ือ “ทองหยอด” หรื​ือ CSB11-612 เป็​็นลู​ูกผสมเปิ​ิดของ K99209 ค่​่าความหวาน 12-13 ซี​ีซีเี อส ปลู​ูกได้​้ในสภาพดิ​ินร่ว่ นเหนี​ียว ไม่​่หักั ล้​้ม ไม่​่ออกดอก อาจไม่​่เหมาะกั​ับภาคอี​ีสาน ให้​้ผลผลิ​ิต 18-20 ตั​ันต่​่อไร่​่ พั​ันธุ์​์�ที่​่�สี่​่� คื​ือ “ทองหยิ​ิบ” หรื​ือ CSB11 – 615 เป็​็นลู​ูกผสมเปิ​ิดของ K99-209 ค่​่าความหวาน 12-13 ซี​ีซี​ีเอส ไม่​่หั​ักล้​้ม ไม่​่ออกดอก ปลู​ูกได้​้ใน สภาพดิ​ินร่ว่ นเหนี​ียว อ่​่อนแอปานกลางต่​่อเหี่​่�ยวเน่​่าแดง ต้​้องเป็​็นพื้​้นที่​่ � ร� ะบาย น้ำำ��ได้​้ดี​ี ให้​้ผลผลิ​ิตจำำ�นวน 16-18 ตั​ันต่​่อไร่​่

สอน. หน่​่วยงานที่​่�มีบี ทบาทสำำ�คั​ัญในขั​ับเคลื่​่อ� นการวิ​ิจัยั พั​ันธุ์​์�อ้​้อยในประเทศไทย “สอน. เป็​็นหน่​่วยงานที่​่�มี​ีภารกิ​ิจเกี่​่�ยวกั​ับการปรั​ับปรุ​ุงพั​ันธุ์​์�อ้​้อย พร้​้อม ส่​่งเสริ​ิมพั​ันธุ์​์�อ้​้อยให้​้แก่​่ชาวไร่​่ เพื่​่�อประโยชน์​์ของวงการอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อย ในประเทศไทย โดยพั​ันธุ์​์�อ้​้อยที่​่�ชาวไร่​่อ้​้อยใช้​้ผั​ันเปลี่​่�ยนไปตามช่​่วงเวลาและ ความนิ​ิยม จากพั​ันธุ์​์� K88-92 มาเป็​็น LK92-11 และปั​ัจจุ​ุบันก็ ั เ็ ป็​็นพันั ธุ์​์�อ้อ้ ย ขอนแก่​่น 3 ของกรมวิ​ิชาการเกษตร ซึ่​่�งชาวไร่​่อ้อ้ ยใช้​้มากกว่​่าร้​้อยละ 90 ของ พื้​้�นที่​่�ปลู​ูกอ้​้อยทั่​่�วประเทศในปั​ัจจุ​ุบั​ัน” คุ​ุณประสิ​ิทธิ์​์� กล่​่าว www.sugar-asia.com

อย่​่างไรก็​็ตาม หากมี​ีการปลู​ูกอ้​้อยเพี​ียงชนิ​ิดเดี​ียวในทุ​ุกพื้​้นที่​่ � � ก็​็จะเสี่​่�ยง ต่​่อปั​ัญหาของโรคหรื​ือแมลงศั​ัตรู​ูอ้​้อย ซึ่​่�งจะส่​่งผลกระทบจำำ�นวนอ้​้อยเข้​้าหี​ีบ และมี​ีผลต่​่อการผลิ​ิตน้ำำ�� ตาลในระดั​ับประเทศ ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงจำำ�เป็​็นต้​้องหาพั​ันธุ์​์� อ้​้อยใหม่​่เข้​้ามารองรั​ับ เพื่​่�อให้​้ชาวไร่​่อ้อ้ ยเลื​ือกใช้​้ปลู​ูกในพื้​้นที่​่ � ข� องตั​ัวเอง เพื่​่�อ ทดแทนอ้​้อยสายพั​ันธุ์​์�เดิ​ิม อั​ันจะเป็​็นช่​่องทางในการสร้​้างความยั่​่�งยื​ืนให้​้แก่​่ อุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยและน้ำำ��ตาลทราย

ทิ​ิศทางในอนาคตสำำ�หรั​ับการวิ​ิจัยั และพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้​้อย ของ สอน. คุ​ุณประสิ​ิทธิ์​์� กล่​่าวว่​่า “นายเอกภั​ัทร วั​ังสุ​ุวรรณ เลขาธิ​ิการคณะกรรมการ อ้​้อยและน้ำำ��ตาลทราย ได้​้มอบนโยบายการวิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้​้อยพร้​้อม การส่​่งเสริ​ิมพั​ันธุ์​์�อ้​้อยของ สอน. เป็​็นแนวทางการปฏิ​ิบั​ัติ​ิงาน โดยให้​้มุ่​่�ง เน้​้นการใช้​้เทคโนโลยี​ีที่​่�ทั​ันสมั​ัยเพื่​่�อการวิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้​้อย และให้​้ใช้​้ นวั​ัตกรรมใหม่​่มาลดรอบเวลาในการปรั​ับปรุ​ุงพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยจาก 12-14 ปี​ีให้​้เหลื​ือ 8-10 ปี​ี พร้​้อมคั​ัดเลื​ือกพั​ันธุ์​์�อ้​้อยที่​่�มี​ีลั​ักษณะโดดเด่​่นในด้​้านการให้​้ผลผลิ​ิต และคุ​ุณภาพที่​่�สู​ูงขึ้​้น� กว่​่าอ้​้อยพั​ันธุ์​์�เดิ​ิม ประกอบกั​ับต้​้องเป็​็นพันั ธุ์​์�อ้อ้ ยที่​่�รองรั​ับ การใช้​้เครื่​่อ� งจั​ักรกลการเกษตรและแนวโน้​้มการลดลงของแรงงานในภาคการ

“ทองหยอด” พันธุ์อ้อย ซีเอสบี 11-612

“ทองหยิ​ิบ” พั​ันธุ์​์�อ้​้อย ซี​ีเอสบี​ี 11-615

ผลิ​ิตอ้​้อย และลดการเผาอ้​้อยก่​่อนการเก็​็บเกี่​่�ยวให้​้เหลื​ือศู​ูนย์​์ (zero burn) ร่​่วมกั​ับการผลิ​ิตอ้​้อยภายใต้​้เงื่​่�อนไขที่​่�สภาพแวดล้​้อมแปรปรวน ทั้​้�งแล้​้งและ น้ำำ��ท่​่วม นอกจากนั้​้�น ในอนาคตอาจมุ่​่�งเน้​้นไปสู่​่�อุ​ุตสาหกรรมทางเลื​ือกอื่​่�น เช่​่น อ้​้อยเพื่​่�อการผลิ​ิตเป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวมวล มุ่​่�งเน้​้นมวลชี​ีวภาพ (biomass) นอกจากนั้​้�น ยั​ังให้​้ความสำำ�คัญกั ั บั เครื​ือข่​่ายชาวไร่​่อ้อ้ ยที่​่�ร่ว่ มเรี​ียนรู้​้�เรื่​่อ� งพั​ันธุ์​์� อ้​้อย และเครื​ือข่​่ายการกระจายพั​ันธุ์​์�อ้​้อยที่​่�เป็​็นผู้​้�ประกอบการ และร่​่วมมื​ือ กั​ับโรงงานน้ำำ��ตาล ในการกระจายอ้​้อยพั​ันธุ์ใ์� หม่​่ ให้​้ชาวไร่​่อ้อ้ ยทั่​่�วไปสามารถ ใช้​้เพื่​่�อการปลู​ูกขยายทดแทนอ้​้อยพั​ันธุ์​์�เดิ​ิมได้​้อย่​่างทั่​่�วถึ​ึง” กล่​่าวได้​้ว่​่า อ้​้อยพั​ันธุ์​์�ส่​่งเสริ​ิม 4 สายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่ เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของ ความสำำ�เร็​็จในการใช้​้เทคโนโลยี​ีและนวั​ัตกรรมวิ​ิจัยั และพั​ัฒนาพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยของ สอน. ภายใต้​้ความร่​่วมมื​ือกั​ับหน่​่วยวิ​ิชาการ โรงงานน้ำำ��ตาล และชาวไร่​่อ้อ้ ย ร่​่วมกั​ันขั​ับเคลื่​่�อนเพื่​่�อเป็​็นตั​ัวเลื​ือกใหม่​่ให้​้แก่​่ชาวไร่​่อ้​้อยนำำ�ไปปลู​ูก ก่​่อนที่​่� อุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยของไทยจะล่​่มสลายไปเนื่​่�องจากพั​ันธุ์​์�อ้อ้ ยที่​่�ปลู​ูกในประเทศ ไม่​่มี​ีความหลากหลาย ดั​ังนั้​้�น หากชาวไร่​่อ้อ้ ยท่​่านใด หรื​ือโรงงานน้ำำ��ตาล สนใจพั​ันธุ์​์�ส่​่งเสริ​ิมนี้​้� ทาง สอน. มี​ีแผนที่​่�จะขยายพั​ันธุ์​์�ให้​้ครอบคลุ​ุมพื้​้�นที่​่�ทั่​่�วประเทศไทยอยู่​่�แล้​้ว โดยได้​้เพิ่​่�มปริ​ิมาณร่​่วมกั​ับชาวไร่​่อ้​้อยเครื​ือข่​่าย และโรงงานน้ำำ��ตาล เพื่​่�อ ทำำ�การขยายพั​ันธุ์​์�ให้​้ได้​้อย่​่างเพี​ียงพอ คาดว่​่าไม่​่เกิ​ิน 2-3 ปี​ี ชาวไร่​่อ้​้อยทั่​่�ว ประเทศจะสามารถเข้​้าถึ​ึงพั​ันธุ์​์�อ้​้อยส่​่งเสริ​ิมได้​้อย่​่างทั่​่�วถึ​ึง

17


In the Hot Seat

T

hailand’s cane and sugar industries have for several years developed so much that they are sufficiently competitive in the world market. Presently, Thailand is ranked the 2nd sugar exporter of the world, following Brazil, and ‘cane’ is central for constant research and development to increase products and improve their quality before providing it to local farmers. Recently, the Office of Cane and Sugar Board (OCSB) has introduced 4 newly developed cane species: Foi Thong (AA142224-028), Thong Ek (CSB11303), Thong Yod (CSB11-612) and Thong Yib (CSB11-615). All of them feature good products with sweetness of as high as 13-14 CCS, thus ideal for planting in the northeast, the north and the central parts of the country. The species are being propagated and it is expected that within a couple of years Thai farmers can plant them throughout Thailand. ‘Cane species’ are the beginning of successful cane and sugar industries in Thailand because they are fundamental technologies and accessible easily among local farmers. Good cane species mean good products with high values. In terms of appropriate plantation location, governmental sectors play a major role in researching for new cane species to accommodate needs to replace the existing ones. Therefore, Sugar Asia was honored to discuss about the issue with Mr. Prasit Vongsatieam, the director of OCSB’s Department of Cane, Sugar and Continuous Industries, and Mr. Thawat Hamarn, the Scientific Specialist Senior Professional Level and Chief Officer of the Department. The main topic discussion includes the origin of the 4 cane species development as well as future directions for OCSB’s cane research and development which will be able to enhance capacities of the world market competitiveness.

Research Background of 4 New Alternative Canes According to Mr. Thawat, individual research and development of cane species normally takes 12-14 years until a single one come up for local farmers to plant. However, the OCSB, with cooperation of Kasetsart University’s Kampaeng Saen Campus, has developed various knowledge paradigms to improve cane species, thus reducing time for species improvement to 8-10 years until new species were obtained to replace the existing ones which are weak and prone to diseases and pests. The new cane species also serve the needs of local farmers. Formerly, there were not many cane species favored by local farmers, so they had no choice. After planting them for a period of time, the cane was found unable to yield crops with expected products and quality as the plant could not adjust itself to every area of plantation. Moreover, it was prone to diseases and pests. As a result, needs occurred for new species of cane to replace the old ones. Lately, the OCSB, at the meeting on 13 January 2021, resolved to declare officially 4 cane species with titles similar to Thai sweets so that people can recognize them easily as the titles symbolize sweetness.

Alternative Cane as Alternative Choice for Local Farmers Foi Thong (AA142224-028), a hybrid of K84-200 x 85-2-352 with sweetness of 12.5-13.5 CCS, can grow well in sandy soil. However, it is not suitable for lowland and well drained areas. It does not give any flowers although it is not easily broken.

18

Since it is easily harvested, Foi Thong can grow well in the northeast. If it is planted in a rainy zone, it yields around 20 tons per Rai while it yields around 25 tons per Rai if it is planted in an irrigated zone.

www.sugar-asia.com


In the Hot Seat

คุ​ุณธวั​ัช หะหมาน

Mr. Prasit Wongsathiem

นั​ักวิ​ิทยาศาสตร์​์ชำำ�นาญการพิ​ิเศษ หั​ัวหน้​้ากลุ่​่�มพั​ัฒนาด้​้านอ้​้อย น้ำำ�� ตาลทราย และอุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่�อง สำำ�นั​ักงานคณะกรรมการอ้​้อยและน้ำำ�� ตาลทราย The Scientific Specialist and Chief Officer of The Department

Thong Ek (CSB11-303), an open hybrid of H47-4991 with sweetness of 13-14 CCS, can be planted in sticky loam or sandy soils. Like Foi Thong, it does not give any flowers and is not easily broken. An ideal for the central part of Thailand as well as the northeast and the north. It yields 18-20 tons of crop per Rai. Thong Yod (CSB11-612), an open hybrid of K99-209 with sweetness of 12-13 CCS, can be grown in sticky loam soil. Since it is not easily broken and does not yield any flowers, it may not be suitable to plant in the northeast. It yields 18-20 tons of crop per Rai in general. Thong Yib (CSB11-615), an open hybrid of K99-209 with sweetness of 12-13 CCS, can be planted in sticky loam soil. Although it is not easily broken and does not yield any flowers, it is somewhat prone to diseases and must be planted in a well-irrigated zone. It yields 16-18 tons of crop per Rai.

OCSB: Crucial Mechanism to Mobilize Thailand’s Cane Species Research “The OCSB major mission concerns improvement and promotion of cane species for local farmers for the benefits of the country’s cane industry. The cane species used by local farmers changed in terms of time and popularity, such as from K88-92 to LK92-11. Nowadays, the Khon Kaen 3 one introduced by the Department of Agriculture is favored by over 90% of local farmers throughout the country,” explained Mr. Prasit. Nonetheless, if only individual cane species are planted in all areas, risks to diseases and pests will become high, affecting the number of canes for extraction and national amount of granulated sugar produced in Thailand. New cane species have to be found so that farmers have a choice for their own area to replace the existing ones, resulting in sustainability for local cane and sugar industries.

www.sugar-asia.com

Future Directions for OCSB’s Cane Research and Development Mr. Prasit said that the OCSB’s Director General Mr. Ekapat Wangsuwan had already given policy on cane species research and development along with cane species promotion as a working guideline with an emphasis on using modern technology for cane species research and development. Also, Mr. Ekapat encouraged using new innovations to reduce time for cane species improvement from 12-14 years to 8-10 years together with selection of cane species with distinctive features regarding higher products and quality than the existing ones. The new species should accommodate using of agricultural machines and decreasing number of labors while promoting zero burn during the harvest together with cane production under conditions of unpredictable environment, namely drought and floods. Besides, in the future, the OCSB will focus on other alternative industries, such as cane for biomass energy. Also, it emphasizes the importance of a network of local cane farmers who would like to learn about cane species and a network for cane species distribution launched by entrepreneurs and sugar mills so that alternative cane species are widely and thoroughly given to local farmers in replacement of old ones. In other words, the 4 new alternative canes are a part of success in using technology and innovations to research and develop cane species by the OCSB with cooperation of academic sectors, sugar mills and local farmers who jointly mobilized a new option for Thai farmers. More importantly, it helps sustain Thailand’s cane industry from collapsing due to mundane cane species in the country. Anyone interested in the 4 new cane species can contact the OCSB because the organization has a plan to distribute them in Thailand via local farmers, networks and sugar mills. It is expected that, in the next 2-3 years, all Thai farmers will have access to alternative cane species without any problems.

19


Planters Corner

CLAAS QUADRANT 4200 and CLAAS Tractor baling sugarcane leaves at Lopburi, Thailand

อัดใบอ้อยด้วยเครื่องอัดก้อนเหลี่ยมของ CLAAS (คลาส) แทนการเผา ช่วยเพิ่มเงินใน กระเป๋า แถมลดปัญหาเรื่องฝุ่นละออง Baling Sugarcane Leaves: Fuelling Power Plants and Reducing Air Pollution

เครื่องอัดก้อนเหลี่ยมรุ่น QUADRANT 4200 ก�ำลังอัดใบอ้อยในแปลงที่จังหวัดลพบุรี ประเทศไทย

20

www.sugar-asia.com


Planters Corner

ปั

จจุบันที่ปัญหาเรื่องมลพิษทางอากาศก�ำลังเป็นที่วิตกกังวลกัน อย่างหนัก โดยเฉพาะเรื่องฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ที่ ปกคลุมในเกือบทั่วทุกพื้นที่ของประเทศไทย เราต่างก็ปฏิเสธ ไม่ได้ว่าหนึ่งในปัจจัยที่ก่อให้เกิดฝุ่นนี้เกิดจากการเผาวัสดุทางการ เกษตรโดยเฉพาะในไร่อ้อยที่ก่อนหน้านี้เกิดการขาดแคลนรถตัดอ้อย จึงมักจะเผาเพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวได้ง่ายขึ้น ทางภาครัฐและหน่วย งานเอกชนโดยเฉพาะโรงงานน�้ำตาลจึงมีนโยบายร่วมกันเพื่อส่งเสริม ให้ตัดอ้อยสด ลดการเผา แต่ด้วยสภาวะของการขาดแคลนแรงงาน และรถตัดอ้อยจึงยังคงมีการเผาหลงเหลืออยู่บ้าง เนื่องจากอ้อยสด ใช้เวลาในการตัดมากกว่าอ้อยเผา ซึ่งถ้าใช้เฉพาะแรงงานคนก็จะ เกิดปัญหาเก็บเกี่ยวไม่ทันฤดูกาลและส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการ เตรียมฤดูเพาะปลูกครัง้ ต่อไป จึงมีนโยบายส่งเสริมการน�ำเครอื่ งจักรฯ เข้ามาใช้ทัง้ ในการตัดอ้อยและการอัดใบอ้อยทีห่ ลงเหลืออยใู่ นแปลงเพื่อ น�ำไปจ�ำหน่ายเป็นเชื้อเพลิงเข้าโรงไฟฟ้าชีวมวลแทนการเผาทิ้ง เครื่องอัดก้อนเหลี่ยมของ CLAAS (คลาส) รุ่น QUADRANT (ควอดแรนท์) น�ำ เสนอฟังก์ชันการใช้งานที่ท�ำให้การอัดใบอ้อยท�ำได้อย่างง่ายดายและเร็วขึ้น ซึ่งคุณสมบัติ นี้ของ QUADRANT (ควอดแรนท์) ช่วยขจัดปัญหาเรื่องการขาดแคลนวัสดุในการผลิตเชื้อ เพลิงชีวมวลของโรงไฟฟ้าให้หมดไปและในขณะเดียวกันเกษตรกรก็สามารถเตรียมแปลง เพาะปลูกส�ำหรับฤดูกาลถัดไปได้ง่ายและเร็วขึ้น “การอัดใบอ้อยด้วยเครื่องอัดก้อนเหลีย่ มรุน่ QUADRANT (ควอดแรนท์) ของ CLAAS (คลาส) นอกจากจะท�ำให้โรงไฟฟ้าชีวมวลมีวสั ดุใช้ได้ตลอดทัง้ ปี (เพราะนอกจากใบอ้อยแล้ว วัสดุจากพืชอื่นๆ เช่น ฟางข้าวและต้นข้าวโพดทีห่ ลงเหลือจากการเก็บเกีย่ วก็สามารถอัดก้อน เพื่อท�ำเชอื้ เพลิงชีวมวลได้เช่นกัน) เกษตรกรเองก็มรี ายได้เพิม่ จากการจ�ำหน่ายวัสดุทอี่ ดั ก้อนดัง กล่าว อีกทัง้ ยังสามารถช่วยลดฝุ่นละอองจากการเผาได้อกี ด้วย นับว่าเป็นประโยชน์กบั ทุกคน” คุณยาน เคลาส โทบีอาส กรรมการผู้จัดการบริษัทคลาส รีเจียนัล เซ็นเตอร์ เซาท์ อีส เอเซีย จ�ำกัด กล่าว

คุณยาน เคลาส โทบีอาส กรรมการผู้จัดการ

บริษัทคลาส รีเจียนัล เซ็นเตอร์ เซาท์ อีส เอเซีย จ�ำกัด Mr. Jan-Klaus Tobias, Managing Director, CLAAS Regional Center South East Asia Ltd.

การอัดใบอ้อยท�ำอย่างไร ปัจจุบันเครื่องอัดก้อนแบบก้อนสี่เหลี่ยมของ CLAAS (คลาส) รุ่น QUADRANT (ควอดแรนท์) แบรนด์ช้นน�ำ ั ระดับโลกจากประเทศเยอรมนีได้ถูกน�ำเข้ามาใช้อัดใบอ้อยใน บ้านเราค่อนข้างเยอะ มีทั้งมือหนึ่งและมือสอง โดยมือหนึ่งรุ่น QUADRANT 4200 ได้ถูก น�ำเข้ามาใช้ครัง้ แรก เมื่อเกือบสี่ปที ผี่ า่ นมาโดยบริษทั ผลิตน�้ำตาลยักษ์ใหญ่ของประเทศไทย รวมทัง้ หมดจ�ำนวนหกเครื่องด้วยกัน หลังจากนั้นเพียงไม่กี่ปผี รู้ บั เหมาทีท่ �ำหน้าทีอ่ ดั ใบอ้อย เพื่อป้อนเข้าโรงไฟฟ้าชีวมวลก็ได้เริม่ หันมาใช้เครอื่ งอัดรุน่ QUADRANT (ควอดแรนท์) ของ CLAAS (คลาส) เพิ่มมากขึ้น การอัดใบอ้อยด้วยเครื่องอัดก้อนเหลี่ยมนั้นเกิดจากกลไก การท�ำงานของเครื่องอัดที่ประกอบด้วยชุดเก็บที่ท�ำหน้าที่กวาดวัสดุส่งเข้าไปที่ห้องอัด และ CLAAS QUADRANT 1200 - the first QUADRANT model ในห้องอัดนั้นจะเกิดกลไกการอัดก้อนทีใ่ ช้แรงดันสงู เพื่อให้ได้กอ้ นทีม่ คี วามหนาแน่นสูง โดย มีน�้ำหนักเฉลี่ยต่อก้อนอยู่ที่ประมาณ 350 กิโลกรัม ที่ขนาดก้อน 1.2 x 0.70 เมตร (น�้ำ บริษัทคลาส เป็นธุรกิจครอบครัวสัญชาติเยอรมัน ก่อตั้งมากว่าร้อยปี ตั้งแต่ หนักก้อนสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามการปรับขนาดก้อน) ความยาวของก้อนสามารถปรับ ปี 2456 เป็นผู้น�ำระดับโลกในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรกลเกษตรทั้งรถเก็บ ให้ยาวได้มากถึง 3 เมตร ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับขนาดของรถบรรทุกในแต่ละท้องที่ เกีย่ ว รถเกีย่ วนวด รถแทรกเตอร์ เครอื่ งอัดฟาง เครอื่ งอัดใบอ้อย และรถบมู แขนยาว เพื่อให้สามารถขนย้ายก้อนได้ง่ายและรวดเร็ว รวมถึงเสถียรภาพเมื่อขับขี่บนท้องถนนและ ส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เมือง Harsewinkel รัฐ North Rhine-Westphalia ประเทศ ในแปลง (ดูส่วนประกอบที่ส�ำคัญของเครื่องอัดฯ จากภาพ Key Features of the CLAAS เยอรมนี ในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส�ำนักงานประจ�ำภมู ภิ าคได้กอ่ ตัง้ ขึ้นในปี QUADRANT 4200) 2555 ภายใต้ชื่อบริษัท คลาส รีเจียนัล เซ็นเตอร์ เซาอีสท์ เอเชีย จ�ำกัด โดยตั้งอยู่ ที่ถนนสุขุมวิท 63 กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย คลาสผลิตแทรกเตอร์หลากหลายรุ่นให้เลือกตั้งแต่ 47 แรงม้าไปจนถึง 524 แรงม้า มีรถเกี่ยวนวดที่ใช้งานได้กับพืชหลายชนิดในหลายพื้นที่ พร้อมรถเก็บเกี่ยว หญ้าที่สามารถตัดข้าวโพดและหญ้าเนเปียร์ เพื่อใช้ผลิตอาหารสัตว์หรือวัสดุชีวมวล และเครื่องอัดฟางที่มีให้เลือกทั้งแบบก้อนกลม ก้อนเหลี่ยมที่สามารถน�ำมาอัดใบอ้อย เพื่อลดการเผาได้อีกด้วย ในปี 1988 หรือเมื่อ 33 ปีที่ผ่านมาเครื่องอัดก้อนเหลี่ยมรุ่น QUADRANT (ควอด ถึงเวลาแล้วที่เกษตรกรชาวไทยจะได้เลือกใช้เครื่องจักรกลการเกษตรอันทรง แรนท์) ของ CLAAS (คลาส) รุ่นแรกได้ถือก�ำเนิดขึ้น นั่นคือรุ่น QUADRANT 1200 ซึ่ง พลังจากเยอรมนี ท่านสามารถติดตามข่าวกิจกรรมความเคลื่อนไหวจากคลาสได้ทาง เป็นการพัฒนาต่อจากเครอื่ งอัดก้อนกลมและเครอื่ งอัดก้อนเหลีย่ มขนาดเล็กและมีการพัฒนา เวบไซต์และโซเชียลมีเดียของ คลาส รีเจียนัล เซ็นเตอร์ เซาท์ อีส เอเซีย จ�ำกัด หรือ มาอย่างต่อเนื่อง อาทิ รุน่ QUADRANT 2200 ในปี 1996 QUADRANT 3400 ในปี 2006 ผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายใกล้บ้านท่าน จนกระทั่งในปัจจุบันที่ CLAAS (คลาส) น�ำเสนอเครื่องอัดก้อนเหลี่ยมรุ่นล่าสุด 3 รุ่นด้วย กัน เริม่ ต้นทีร่ นุ่ เล็กสุด คือ QUADRANT 4200 และรุน่ ทีใ่ หญ่ขึ้น ได้แก่ 5200 และ 5300 โดยขนาดก้อน ที่อัดคือ 1.20 x 0.70 เมตรและ 1.20 x 0.90 เมตร ตามล�ำดับ ในเยอรมนีและประเทศต่างๆทางตะวันตกจะใช้เครื่องอัดเหล่านี้ในการอัดฟาง หญ้า อาหารสัตว์ และพืชพลังงานชีวมวลอื่นๆ เรียกได้วา่ QUADRANT (ควอดแรนท์) ผ่านการ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ใช้งานมาแล้วทั่วโลก ต้องพบกับสภาพการท�ำงานที่ต่างกันไป อาทิ ความแข็งของใบ ตอพืช www.claas.co.th (ภาษาไทย) ปลูกในแปลง พื้นดินทีไ่ ม่เรียบ ก้อนหินต่างๆ รวมถึงฝุ่นในแปลงที่ปนไประหว่างการเก็บและ Facebook@CLAAS.SouthEastAsia การอัด ซึ่งสภาพเหล่านี้นับว่าเป็นความท้าทายของเครื่องจักรฯที่ลงไปท�ำงานเป็นอย่างยิ่ง Instagram@claas_sea แต่ QUADRANT (ควอดแรนท์)ของ CLAAS (คลาส) ก็ได้พสิ จู น์ให้เห็นแล้วว่าประสิทธิภาพ Line@claas.sea และความทนทานของสินค้าสัญชาติเยอรมันนั้นไม่ใช่เพียงต�ำนานเล่าขาน แต่มนั คือต�ำนาน ที่ยังมีชีวิต และก�ำลังสร้างต�ำนานบทใหม่บนผืนไร่ของแผ่นดินไทย

เครื่องอัดรุ่น QUADRANT (ควอดแรนท์) จาก CLAAS (คลาส)

www.sugar-asia.com

21


Planters Corner

I

t is undeniable, that agricultural burning is a major contributor to the air pollution problem in Thailand. Still, farmer’s options to collect crop

residue were limited. The CLAAS QUADRANT offers farmers the opportunity to bale the sugarcane leaves and other agricultural waste instead of

A while ago, Asia’s biggest sugar and bio-energy producer bought six CLAAS QUADRANT 4200 as an attempt to realize the goals set by the “Stop Burning” national program in Thailand. The CLAAS QUADRANT has proven to be particularly efficient and reliable, which is why word of the CLAAS QUADRANT had spread fast throughout the agricultural industry. Farmers and contractors saw the benefits and have made use of the QUADRANT since then. This made the CLAAS QUADRANT square baler the most popular choice for baling biomass in tough conditions all over Thailand.

Collect sugarcane leaves with CLAAS QUADRANT 4200

burning them. It has been common practice to burn sugarcane fields before the harvest to allow faster cutting by hand, once the sharp leaves had been burned off. The process of manual harvesting can take up a long time and burning can make it faster. But the degree Brix and weight can decrease drastically within 48 hrs. Rising mechanization with sugarcane harvesters already requires less pre-harvest burning; however, the leaves are still left on the field after the harvest as waste material. The fields need to be cleared quickly to start the next cropping cycle and thus burning was often the first choice, which brings along also heavy air pollution. Even though often referred to as sugarcane trash, the agricultural residue is valuable fuel for power plants to generate green energy. Here, CLAAS offers with its QUADRANT square baler a practical solution to allow easier and faster collection of sugarcane leaves. This serves two key purposes: fulfilling the material demand of the power plants while clearing the fields for the next crop. “Power plants can source sustainably material locally, farmers earn additional income from selling the sugarcane straw and above all, heavy air pollution caused by field burning can be avoided – it is a win-win situation for everyone”, explains Mr. Jan-Klaus Tobias, Managing Director of the CLAAS Regional Center South East Asia.

The CLAAS QUADRANT 4200 is the most recent model for sugarcane leaves baling. Compared to small square balers, the QUADRANT’s main benefit is its higher throughput, wherefore the field can be cleaned faster allowing the sugarcane plants to start growing for the next harvest season earlier. Moreover, the high-density baling of sugarcane leaves provides significant savings on transport costs by utilizing the full weight capacity during truck transport. The bale size of 1.2 m width, 0.7 m height and an adjustable bale length of up to 3 m ensures that local trucks can be loaded and unloaded quickly while constantly maintaining high stability during transport on the field and the road. All these benefits make the CLAAS QUADRANT 4200 the ideal choice for baling sugarcane leaves and other crop residue. One distinctive feature of the CLAAS QUADRANT is that the baling pressure is controlled not just by the load on the main frame, but also the twine tension. As the driver, you have a clear view of the load limits at all times, with no need to intervene directly. The automatic baling pressure system detects and adjusts the baling chamber accordingly to keep a consistent baling quality in all conditions.

KEY FEATURES OF THE CLAAS QUADRANT 4200

8

9

10

6

12 5

7

3

2 1

11 4

1. 2.35 m pick-up with PFS

7. 40 cm longer and reinforced bale chamber

2. Infinitely variable, hydraulically driven reversible intake optional

8. Automatic pressure control (APC)

3. Chopping system ROTO FEED or ROTO CUT

9. Six high-power knotters

4. Knife drawer with knife group selection

10. Knotter monitoring (KM) optional

5. Fixed-cycle pre-chamber

11. Weighing system

6. 51 piston strokes per minute

12. ISOBUS operation with COMMUNICATOR II or EASY on board

22

www.sugar-asia.com


Planters Corner Evolution of the CLAAS QUADRANT square baler In 1988, CLAAS introduced its first large square baler, the QUADRANT 1200, designed specifically for larger farms and contractors. It had a capacity of 30 tonnes of straw per hour, and produced straw bales of up to 360 kg in weight. With bale dimensions of 0.70 m high, 1.20 m wide and 1.00 to 2.50 m long, it corresponded exactly to the usual transport measurements in the European market, and was therefore ideal for loading bales onto trucks. Eight years later, in 1996 CLAAS launched the QUADRANT 2200 in the market. With a completely new powertrain, new baler frame construction and the ultra-convenient CLAAS Control Terminal, that promoted even higher worker/hour profitability ratios for contracting operations. The updated version the QUADRANT 3400, introduced in 2006. Currently CLAAS provides three models of the QUADRANT. The QUADRANT 4200 can be viewed as the entry model with bale size of 1.2 x 0.7 meters, while the QUADRANT 5200 and 5300 come with a bale size of 1.20 x 0.90 meters. The special feature of the QUADRANT 4200 and 5200 is the all-new CLAAS high-power knotter. The new automatic

CLAAS QUADRANT 2200 (since 1996) pressure control system (APC) makes it even easier to operate these new balers at maximum power. The new QUADRANT also has a hydraulic feeder system and higher ram frequency. In 2017 CLAAS launched the QUADRANT 5300, with bale dimensions of 1.20 x 0.90 m.

CLAAS QUADRANT 4200 the entry model with bale size of 1.2 x 0.7 meters

About CLAAS: CLAAS (www.claas-group.com) is a family business founded in 1913 and is one of the world’s leading manufacturers of agricultural engineering equipment. The company, with corporate headquarters in Harsewinkel, Germany, is the European market leader in combine harvesters. CLAAS is the world leader in another large product group, self-propelled forage harvesters. CLAAS is also a top performer in world-wide agricultural engineering with tractors, agricultural balers and green harvesting machinery. The CLAAS product portfolio also includes state-of-the-art farming information technology. CLAAS employs around 11,395 workers worldwide and reported a turnover of 4.04 billion euros in the financial year of 2020.

www.sugar-asia.com

For more information:

www.claas.com (English) Facebook@CLAAS.SouthEastAsia Instagram@claas_sea Line@claas.sea

23


Nagasaki Kiki (Thailand) Co., Ltd. Automatic Weighing & Bagging Machine

Automate your plant with our machines

About Nagasaki Kiki (Thailand)

Nowadays, automatic bagging machines are taking part in many factories around the world in the packaging process. They are considered a crucial final process in the manufacturing chain of production. Without the high-speed and efficiency of an automatic bagging system, many factories would not be able to remain profitable in the face of increased competition. So, we proudly present the automatic bagging machine "BM-Series". This series represents our ongoing efforts to improve the operational efficiency of every manufacturer of bagged products in Thailand.

Nagasaki Kiki (Thailand) Co., Ltd. has established on 6th March in 1998. In the first place, we sold the weighing machine and bagging machine for many industries. Then, we turned to develop them with more efficiency. We do the fabrication work at our factory in Minburi, Bangkok. It means the customers could visit our shop and watch the test running by themselves.

The BM-series are suitable for a PE bag, PP Woven Bag, and a Kraft paper bag and are tailor-made for various bag sizes used by our clients. Its capacity is varied from 200 to 1200 bags per hour. We also have the weighing machine (WM-Series) that includes single net weighing and double net weighing machines to meet our customer needs. This WM-series will work synchronized to the BM-series and reach the target capacity.

For less production capacity, we also provide semi-automatic packing machines. So please feel free to contact us once. We will help and advise the solution which is suitable for your plant’s scale.

Our machines are easy to use and can be quickly adjusted to match the changing product flow rates and material types for any production and packaging operation.

Although you have a high-performance machine, a key to ensure that it will always work in good condition and let your production plan being on schedule is maintenance. Since we concern about its importance, we have a maintenance service center at 3-provinces near most of our customers' plant. The maintenance service centers are at Bangkok, Rayong, and Nakhon Ratchasima (Korat).

We also offer customizations and maintenance services on every product we sell.

Moreover, to let our customers get the product with satisfying quality in packing, we focus on the bag closing equipment such as heat sealing, bag folding, crepe tape, and sewing machine.

Ready to support

With experienced supervisors and technicians, we guarantee that you will receive the most appreciated service from us.

Booth No. AS41 Hall100

Please visit our website to see our solutions in other products such as powder and granular grains at www.psscombine.com Tel: +66 2 540 4166 Email: info-nagasaki@psscombine.com

Come to see us at

Meet us at

Booth No. 52

Come to see us at


Special Insight

WE PROVIDE THE TOTAL SOLUTION FOR BAGGING SYSTEM As we have experienced in this field for more than 15 years, we could give you the appropriate solution which meets your demand with the satisfied capacity and accuracy.

Automatic Bagging Machine

www.sugar-asia.com

Jumbo Bag Filling Machine

Conveyor Line System

Robotic Palletizer

25


Special Insight

สามารถเกษตรยนต์มุ่ง “ลดผลกระทบเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน” “Low Impact is The Future” says Samart อื่ ว่าน�ำ้ ตาลเป็นสาเหตุของโรค ผู้บอ้วรินโภคหลายคนเช และการบริโภคน�ำ้ ตาลก่อให้เกิดอาการเจ็บ ป่วย รัฐบาลหลาย ประเทศในโลกจึงเข้ามาจัดการ เรื่องผลประโยชน์ในการก�ำหนดภาษีน้�ำตาล และ ทบทวนในการใช้น�้ำตาลในอาหาร อย่างไรก็ตาม น�ำ้ ตาลถือได้วา่ เป็นวัตถุดบิ หลักที่สำค � ญ ั ของเศรษฐกิจ การเกษตรในประเทศไทยมาอย่างยาวนาน ซึง่ รวม ไปถึงประโยชน์ในด้านพลังงานหมุนเวียนที่สามารถ ต่อยอดได้ในอนาคต

ขณะนี้ ทางรัฐบาลในหลายๆ ประเทศ ต้องการผลักดันแนวความคิดท�ำการเกษตร แบบมีผลกระทบต�่ำให้ก้าวไปข้างหน้า รัฐบาลไทยจึงเป็นรัฐบาลเดียวที่มีมาตรการหยุดอ้อย ไฟไหม้ภายในปี 2565 รวมไปถึงประเทศผู้ผลิตน�้ำตาลรายอื่นๆ ที่ได้ตระหนักถึงความเสีย หายต่อสิ่งแวดล้อมจากการเผา การอัดแน่นของหน้าดิน และการใช้สารควบคุมวัชพืชบาง ชนิด ซึ่งทั้งหมดนี้คือสิ่งที่บริษัทฯ ได้ตระหนักมาตลอดในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา แนวคิด “การลดหน้าดินทีอ่ ดั ตัวแน่น” เพื่อลดแรงการอัดตัวเป็นชั้นแข็งและรักษาความ ร่วนซุยของดิน คือคุณลักษณะเด่นในการออกแบบเครื่องจักรของบริษัทฯ เสมอมา รถตัด อ้อยทั้ง 4 รุ่นในปัจจุบัน ใช้ล้อตีนตะขาบ (Rubber Track) หรือ ล้อยาง (Wheel Chassis) หลายล้อ เพื่อกระจายภาระการท�ำงานของเครื่อง ลดการอัดตัวแน่นของหน้าดินทีเ่ ป็นสาเหตุ การท�ำลายต้นอ้อยที่ปลูก แนวคิดการเกิดผลกระทบต�่ำนี้ ได้ให้ผลประโยชน์ต่อชาวไร่ในแง่ ของการลดความเสียหายต่อรากต้นอ้อยให้น้อยที่สุด ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่า ต้นอ้อยจะมีการ งอกใหม่อีกครั้ง (เกิดหน่อ) อย่างเต็มที่ และผู้ใช้รถตัดอ้อยของบริษัทฯ บางรายระบุว่า มี การเกิดตออ้อยที่สามหรือจากการปลูกเพียงครั้งเดียวอีกด้วย

สามารถเกษตรยนต์ คือ หนึ่งในบริษัทด้านวิศวกรที่เชี่ยวชาญในด้านเครื่องจักรเก็บ เกี่ยวอ้อยของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ผู้ก่อตั้งบริษัทฯ มีความ ช�ำนาญในอุตสาหกรรมน�้ำตาลมายาวนาน และมุ่งมั่นพัฒนาเครื่องจักรอ้อยมาตลอดชีวิต เมื่อได้พูดคุยกับ คุณสามารถ ว่าท�ำไมถึงประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ท่านยิ้มและพูดว่า “ง่ายมาก แค่เราเอาใจใส่ลูกค้า” โดยบริษัทฯ ได้เริ่มท�ำการผลิตรถตัดอ้อยมายาวนานก ว่า 20 ปี จนประสบความความส�ำเร็จ แม้การใช้รถตัดอ้อยยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก ในขณะนั้น แต่การน�ำเข้ารถตัดอ้อยจากประเทศฝั่งตะวันตกเพื่อเข้ามาจัดจ�ำหน่ายในตลาด นั้น ยังมีขั้นตอนด�ำเนินการที่ยุ่งยาก และรถตัดอ้อยยังจ�ำเป็นต้องมีรถบรรทุกคอยวิ่งตาม อยู่ด้านข้างเพื่อเก็บอ้อยที่ถูกตัด ปัจจุบันนี้ รถตัดอ้อยเหล่านั้น มีราคาสูงมากส�ำหรับเกษตรกรส่วนใหญ่ และยัง ท�ำงานไม่ได้ตรงตามที่เจ้าของหลายๆคนต้องการ คุณสามารถจึงเริ่มต้นออกแบบจากแผ่น กระดาษเปล่า จนมีการพัฒนารถตัดอ้อยอย่างเหมาะสมในการใช้งานบนพื้นที่ดินร่วนปน ทรายในประเทศไทย ที่ตรงกับความต้องการของเกษตรกรชาวเอเชีย โดยมีผลกระทบต่อ รถตัดอ้อยคันแรกของบริษัทสามารถเกษตรยนต์ The first full process cane harvester from Samart. การปลูกอ้อยน้อยที่สุด

26

www.sugar-asia.com


Special Insight

รถคีบอ้อยคันแรกของบริษัทสามารถเกษตรยนต์และคุณสามารถ ลี้ธีระนานนท์ The owner (Mr.Samart) overseeing cane loading machine tests.

นอกจากนี้ คนในภูมิภาคเอเชียมีความต้องการใช้งานเครื่องจักรขนาดเล็กที่เคลื่อนที่ ได้ เพื่อเข้าถึงพื้นที่แปลงขนาดเล็ก และพื้นที่มีสภาพภูมิประเทศที่เป็นเนิน ด้วยแนวคิดของ บริษัทฯ เครื่องจักรขนาดเล็กไม่ได้หมายความว่าสมรรถนะที่น้อยตามลงไปด้วย เนื่องจาก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้องการเครื่องจักรที่มีก�ำลังสมรรถนะสูง มีความเสถียร บวกความคล่องแคล่ว สามารถท�ำงานในสภาพภูมปิ ระเทศทีท่ า้ ทาย ด้วยความต้องการเหล่า นี้ จึงท�ำให้รถตัดอ้อยรุน่ SM200 ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก จากประสิทธิภาพรถตัด อ้อยชนิดล้อตีนตะขาบที่มีจุดศูนย์ถ่วงต�่ำ ก�ำลังเครื่องยนต์มากกว่า 200 แรงม้า ที่มีก�ำลัง การตัดสูง ซึ่งรถตัดอ้อยรุ่น SM200 Compact ที่มีจุดศูนย์ถ่วงต�่ำ ท�ำให้เกิดข้อได้เปรียบใน การใช้งานในภูมิประเทศแบบเนินเขา ด้วยการประหยัดเชื้อเพลิงที่ยอดเยี่ยม ท�ำให้รถรุ่นนี้ เป็นที่นิยมของเกษตรกรชาวเอเชียในเวลาไม่ช้า รถรุ่น SM200 Compact เป็นรุ่นที่เก็บเกี่ยวแบบ “self-unloading” มาพร้อมกับ ระบบการจัดการช่องตะกร้าจัดเก็บอ้อยที่ด้านท้ายเครื่องในขณะตัด จากนั้นวางตะกร้าที่ใส่ อ้อยเต็มแล้วที่หัวแปลงหรือท้ายแปลง (Head land) ขณะเลี้ยวกลับ ด้วยลักษณะพิเศษของ รถตัดอ้อยรุ่นนี้ ที่สามารถท�ำงานได้โดยที่ไม่ต้องมีพาหนะอื่นร่วมนั้น ท�ำให้รถตัดอ้อยของ บริษัทฯ สามารถท�ำงานได้อย่างอิสระ ดังนั้น จึงสามารถเข้าถึงพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากและใช้ แรงงานคนตัด ที่ส�ำคัญไม่ต้องมีรถบรรทุกคอยตามในขณะตัด จึงท�ำให้ตออ้อยที่ถูกตัดแล้ว ไม่เกิดความเสียหายจากการกดทับของรถบรรทุกอีกด้วย

ในภายหลังในปี 2564 ซึ่งเป็นการแนะน�ำผู้ใช้ให้รู้จักกับอีกขั้นของการออกแบบที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่ตอบสนองความต้องการในปัจจุบันทั้งหมด การตัดอ้อยด้วยเครอื่ งจักรนั้น ดีกว่าการเผาใบและล�ำอ้อยทีต่ ายแล้ว ซึง่ ยังสามารถ เป็นรายได้ให้กบั ให้กบั ชาวไร่ออ้ ย และสามารถก�ำจัดศตั รูพืช และโรคพืชได้ในระดับหนึง่ เนื่องจากตอนนี้ การเผาไร่ออ้ ยนั้นไม่นยิ มท�ำกันแล้ว อีกทัง้ การใช้รถตัดอ้อยยังมีหลายข้อดี ยกตัวอย่างประการแรก ด้วยความสามารถของรถตัดอ้อยของบริษทั สามารถเกษตรยนต์ เศษอ้อยที่ถูกสับแล้วถูกเครื่องดึงออกจากต้นอ้อยในระหว่างการเก็บเกี่ยว จะถูกเครื่อง เป่าออกไปที่บริเวณในไร่ที่ตัดอ้อยโดยตัวเครื่องยนต์ (เครื่องปอกและเครื่องเป่าลม ที่ได้ ปรับปรุงใหม่ในปี 2561 ที่ให้การสับที่ละเอียดกว่าเดิม) “เศษอ้อย” เหล่านี้จะช่วยยับยั้ง วัชพืช และกลายเป็นซากใบไว้คลุมตออ้อย ประการทีส่ อง บริษทั ฯ ยังมีชดุ ฐานใบมีด (ชุดฐานใบมีดตัวใหม่ได้ถูกพัฒนาระหว่าง สถานการณ์ไวรัส COVID-19 ระบาด โดยช่วยตัดก้านอ้อยทีย่ าวและมีการปรับปรุงความ ทนทานของใบมีด) สามารถตัดต้นอ้อยที่โคนอยู่ใกล้บริเวณพื้นดิน ลดโอกาสในการเกิด ศัตรูพืชและโรคพืชที่เป็นภัยต่ออ้อยตอที่ก�ำลังงอกใหม่ และประการสุดท้าย การหยุด การเผาไร่อ้อย อาจเป็นเหตุผลที่ชัดเจนที่สุด ในการขจัดความเสี่ยงที่มีต่อสิ่งแวดล้อม บุคคล และสัตว์ป่า แน่นอนว่า การลดการใช้เชื้อเพลิงและลดเสียงรบกวนระหว่างการท�ำงานนั้นเป็นเรื่อง ที่ดี แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ที่จะท�ำให้การใช้เครื่องจักรกลเกษตร เป็น กระบวนการที่จ�ำเป็นต่อสิ่งแวดล้อม บริษัท สามารถเกษตรยนต์ ในฐานะผู้ครองแชมป์ ด้านการเก็บเกี่ยวอ้อยแบบแนวคิดผลกระทบต�่ำมานานกว่าสองทศวรรษ ก็ได้สอดคล้อง กับแนวคิดที่มาจากการสนับสนุนจากรัฐบาลอยู่แล้ว โดยในช่วงสถานการณ์ระบาดของ ไวรัส Covid-19 วิศวกรของบริษทั ฯ ได้ท�ำงานอย่างหนัก เพื่อให้ได้กระบวนการทีส่ มบูรณ์ แบบ มอบแก่เกษตรกรในเอเชีย ให้สามารถเข้าถึงเครื่องตัดอ้อย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตได้มากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคง “รักษาสิ่งแวดล้อม” ด้วย บริษัทฯ มีการ ออกแบบรถตัดอ้อยโดยค�ำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของเอเชียที่บางพื้นที่ไม่ได้เหมาะสม เสมอไป อีกทั้งเครื่องจักรไม่จ�ำเป็นต้องมีความซับซ้อน หรือความหรูหรา แต่เหนือสิ่ง อื่นใดต้องมีความน่าเชื่อถือ และดูแลรักษาได้ง่าย หากเครื่องจักรเสีย ถือความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากต้องมีการใช้เครื่องจักรใน ทันที แต่จะเป็นเรื่องที่ดีกว่า หากชิ้นส่วนอะไหล่ส�ำคัญๆ สามารถหาซื้อได้โดยไม่ต้องรอ การผลิต หรือรอจัดส่งจากต่างประเทศ แต่สามารถหาซื้อได้งา่ ย มีความน่าเชอื่ ถือ พร้อม ใช้งานได้ตลอด อีกทั้งยังมีบริการข้อมูลจากวิศวกรผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรายละเอียดชิ้น ส่วนอะไหล่ เพียงแค่ลูกค้าลองโทรเข้ามาสอบถามข้อมูลบริษัท สามารถเกษตรยนต์ ก็ พร้อมยินดีให้บริการทุกค�ำตอบ แนวความคิดของบริษทั สามารถเกษตรยนต์ ในอนาคตก็จะกลายเป็นมาตรฐานต่อ ไป แต่คา่ นิยมของแนวคิด “ผลกระทบต�่ำ” จะกลายเป็นทีร่ จู้ กั มากขึ้น ในความคิดเห็นของ ลูกค้าบริษทั ฯ ค�ำว่า แนวคิดผลกระทบต�่ำ ในขณะนี้ อาจหมายถึงความเงียบในการท�ำงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ในอนาคต การเพาะปลูกที่มีการพัฒนาขึ้น สามารถการ ประหยัดเชื้อเพลิงมากขึ้น ลดการสึกหรอของชิ้นส่วนเครื่องจักร ซึ่งก็ได้รับแรงสนับสนุน มาจากผใู้ ช้สนิ ค้าจริง ในเรอื่ งของ “มูลค่าทางเศรษฐกิจ” (Full Life Value) และเมอื่ การมี ความเข้าใจมากขึ้นสิง่ ต่างๆ มากขึ้น ก็จะสามารถก้าวต่อไปข้างหน้าได้อย่าง “มีก�ำไร” แต่ คุณ สามารถ ลี้ธีระนานนท์ นั้นทราบอยู่แล้วว่า ท�ำไมเครื่องจักรถึงประสบความส�ำเร็จ เพราะท่านมีหลักเกณฑ์แนวคิดที่ว่า ออกแบบเพื่อคนเอเชีย จากคนเอเชีย ใช้ในเอเชีย.

C

onvincing consumers that sugar fuels obesity and citing the consumption of sugar

as a causal issue in relation to other illnesses has brought dividends to many of the world’s governments and led to sugar taxes and a general review of the application of sugar as a foodstuff. However, it has provided a mainstay to Thailand’s agricultural economy for a very long time and with the current interest in

SM 200 Midi with extended capacity cane hopper/loader.

renewables it certainly has a future.

บริษทั สามารถเกษตรยนต์ ยังได้มกี ารลงทุนอัพเกรดเครอื่ งยนต์หลากหลายประเภท และติดตั้งระบบระบายความร้อน เพื่อประเมินอัตราส่วนการใช้พลังงานหรือเชื้อเพลิง เพื่อ ให้เหมาะสมที่สุดกับการใช้งานรถตัดอ้อย บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นพัฒนาทรัพยากรด้าน วิศวกรรมเหนือสิ่งอื่นใด ดังนั้น จึงสามารถติดตั้งเครื่องยนต์ได้แทบทุกรูปแบบของรถตัด อ้อยรุ่น SM200 บริษัทฯ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ที่ได้พัฒนา ให้มีแรงบิด (Torque) สูงสุดที่ความเร็วต�่ำ ซึ่งหากเครื่องยนต์เกิดแรงบิดสูง รถตัดอ้อยก็ สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเครื่องยนต์ที่ท�ำงานด้วยความเร็วรอบ (rpm) ที่ ต�่ำกว่า เกิดเสียงรบกวนน้อยลงในระหว่างการเก็บเกี่ยว ช่วยลดการสึกหรอของเครื่องยนต์ ลดการใช้เชื้อเพลิง และช่วยควบคุมการปล่อยมลพิษ นั่นหมายถึงคุณสมบัติเหล่านี้ มีส่วน ช่วยอย่างมากต่อมาตรการด้านสิง่ แวดล้อมทีร่ ฐั บาลก�ำหนดแนวทางการลดมลพิษฝุ่น PM2.5 โดยผลจากการทดสอบที่ได้ในระหว่างปี 2563 และระหว่างการประเมินขั้นสุดท้ายอีกบาง ส่วน คาดการณ์แนวโน้มว่า จะมีการเปิดตัวเครื่องยนต์ที่มีความเร็วต�่ำ และเสียงรบกวนต�่ำ

Samart Kaset Yon is one of the specialist Thai engineering companies which manufacture sugar cane harvesters. Located in Thailand at Hankha, the owners of Samart Kaset Yon Ltd have been involved with sugar since childhood, developing machinery for the processing of cane has been a lifelong obsession. Ask Mr Samart why he has been so successful he will just smile and say “It’s simple, we listen to our customers”. The company started to produce cane harvesters more than 20 years ago when it became clear to Mr Samart that although the use of sugar cane harvesters was not widespread at the time, the western based products on the market were cumbersome in operation and needed “follow on” trucks to run beside the harvesters to collect the cane billets.

www.sugar-asia.com

27


Special Insight Also, as today, these machines were prohibitively expensive for most farmers and did not do the job that many owners needed. Samart started from a clean sheet of paper and developed a design more fitting to the friable, sandy soils of Thailand and the needs of the Asian farmer and low impact farming. Now, with many of the world’s government demanding low impact agriculture this concept has come to the fore. The Thai government alone is to discontinue the burning of cane from 2022 and other sugar producing countries are recognising the cost to the environment of burning, soil compaction and the use of some weed control agents. These elements are those that Samart machines have been seeking to address over the last two decades. The concept of “low ground pressure” to minimise soil compaction and maintain friability was always a feature of Samart designs. The current range of 4 model lines rubber tracks or multi wheel chassis to spread the operating load of the harvester. Soil compaction kills cane plants. This low impact concept pays dividend to the farmer in terms of minimising root damage and therefore ensuring maximum regrowth (Ratoon) and some Samart users boast 3 or 4 ratoons from a single sowing.

Testing “Low Impact” engines as Khao Yai Also, many Asian applications require small manoeuvrable machines to access awkward field sizes and hilly terrain. With Samart though, small does not mean low capacity. SE Asians need high power, high capacity and stability plus manoeuvrability and the ability to operate in challenging terrain. This theme led to the highly successful SM200 model, a skid steered tracked harvester with a low centre of gravity and powerful (over 200 horsepower) engine that was capable of high cutting output. The low centre of gravity gave SM200 Compact the edge in hilly terrain and excellent fuel economy soon made the machine a favourite with Asian farmers. The SM 200 Compact also introduced the concept of a “selfunloading” harvester. The handling system of the SM200 Compact, simply channels the billets into a cane basket at the rear of the machine as it is cut, depositing the full basket at the headland whilst turning. The ability to operate without the presence of support vehicles is unique and means that Samart harvesters can work independently and therefore access those difficult areas where previously only manual cutting was practical. Crucially, though as “follow on” trucks are not used during harvesting the cut cane stalks are not damaged by the high ground load of support vehicles. Samart has also invested in improvement programmes involving several engine types and many cooling configurations to evaluate optimum power / fuel usage ratios and best suitability to the harvester application. Because Samart has dedicated engineering resources and no corporate allegiances, virtually any configuration of engine can be installed within the SM200 frame. Samart aims to optimised fuel consumption by utilising engines which develop maximum torque at low speed. Because these engines generate high torque, the harvester can operate efficiently with the engine running at lower speed (rpm), producing substantially less noise during harvesting. This lowers engine wear, reduces fuel consumption and together with the introduction of emission control means that this program offers a substantial contribution towards the environmental considerations set out by the government in the PM2.5 anti-pollution guidelines. Results from tests during 2020 are promising and subject to some final evaluation a new optional low speed, low noise engine line is expected to be introduced later in 2021. This introduces users to a new level of environmentally friendly design which fulfils all current demands.

28

Mechanical harvesting is better than burning which is used to eliminate the dead stalk and leaf that is of little commercial value to the farmer and also, to some extent kills off pests and disease. And, as burning is now less of an option, the harvester route has considerable advantages. Firstly, with the Samart harvester the chopped chaff that the machine strips from the stalk during the processing is blown by the machine (revised stripper/blower 2018 produces a finer chopped product) onto the cut field. This “blanket” supresses weeds as it breaks down and provides a mulch for the ratoon cane. Secondly, the Samart base cutter assembly (new base cutter assembly developed during the Covid period optimises cut stalk length and improves cutter durability) cuts the stalk very close to the field surface, thus minimising the opportunity for pests and disease to attack the ratoon stalk during the dormant period prior to regrowth. And lastly, and perhaps the most obvious reason, simply discontinuing cane burning obviates the risks to the environment, personnel and wildlife associate with this common, but dangerous practice. Of course, lower fuel demand and reduced noise during operation is always welcome and underlines Samart’s commitment to make mechanical harvesting an environmentally desirable process. Although Samart as a company have been a champion of low impact harvesting for more than two decades it is encouraging to know that this concept is being supported by governments. During the Covid period Samart engineers have been working tirelessly to perfect processes which will give Asian farmers more access to the harvesting tools that they really need to enhance their production whilst staying “Green”. Samart designs recognise that Asian conditions are not always perfect, that machines do not need complexity or luxury, and that above all they must be reliable and easy to maintain. Whilst breakdown is an inevitable risk of using any machine, the availability of critical parts without having to wait whilst they are produced and shipped from a factory on the other side of the world is crucial. Put simply, reliability, availability, economy and the knowledge that the engineers are only a phone call away is how Samart likes to operate. In the future, the Samart values will become normal and the value of “Low Impact” will be recognised. At the moment for Samart customers, low impact means quiet, and environmentally sound, but in the future the improved field husbandry, enhanced fuel savings and reduced wear on the machine and its components will be appreciated as a strong contributor in the “Full Life Value” calculations. Understanding this now, is becoming crucial in order to move “profitably” forward. But, Samart Leethirananon already knows why the machines are successful, he has a formula: Design for Asia, by Asia, in Asia.

Harvesters ready for delivery at Hankha.

ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดสามารถเกษตรยนต์ Samart Kaset-Yon Ltd. Part.

184 หมู่ 11 อ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท 17130 184 Moo 11, Hankha District, Hankha, Chainat 17130 Thailand

Fax : +6656452221 | Tel: +66819720162 Email: srinauls@hotmail.com

www.sugar-asia.com


Special Insight

www.sugar-asia.com

29


Special Insight

การอั​ัพเกรดคอนโทรลเลอร์​์ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ ในโรงงานน้ำำ��ตาล ประเทศไทย MIGI RAPPER CONTROLLER UPGRADE AT SUGAR PLANT IN THAILAND

ะบบดั​ักฝุ่​่�นไฟฟ้​้าสถิ​ิต (ESP) ถู​ูกใช้​้ในโรงงานน้ำำ��ตาลอย่​่าง แพร่​่หลายซึ่​่�งจะติ​ิดตั้​้ง� หลั​ังหม้​้อไอน้ำำ��ที่​่เ� ผาไหม้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงทางการ เกษตรและชี​ีวมวล เพื่​่�อดั​ักจั​ับอนุ​ุภาคฝุ่​่นก่ � อ่ นออกจากปล่​่อง

มี​ีฝุ่นจั ่� บั ตั​ัวกั​ันหนาแน่​่นบนแผ่​่นรับั ฝุ่​่น� และลวดปล่​่อยประจุ​ุ เป็​็นสาเหตุ​ุของการเกิ​ิดสปาร์​์ค ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิบางตั​ัวไม่​่ทำำ�งาน และบางตั​ัวไม่​่สามารถปรั​ับความสู​ูงได้​้ รวมไปถึ​ึงค้​้อน เคาะบางตั​ัวมี​ีการเคาะพร้​้อมกั​ันทำำ�ให้​้เกิ​ิดควั​ันดำำ�ออกทางปล่​่อง

ESP จะมี​ีการออกแบบค้​้อนเคาะฝุ่​่�นอยู่​่� 2 ประเภท ตามวิ​ิธี​ีการที่​่�จะขจั​ัดฝุ่​่�นออกจาก แผ่​่นรั​ับฝุ่�น่ (Collecting Electrodes) และ ลวดปล่​่อยประจุ​ุ (Discharge Electrodes) ซึ่​่�ง ก็​็คื​ือระบบค้​้อนเคาะแบบหมุ​ุน (Tumbling Hammer) และ ระบบค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ (Magnetic Impulse Gravity Impact – MIGI) ค้​้อนเคาะแบบหมุ​ุน จะติ​ิดตั้​้�งภายใน ESP และเป็​็นการทำำ�งานด้​้วยการหมุ​ุนเหวี่​่�ยง ค้​้อนเชิ​ิงกล ในขณะที่​่�ค้​้อนเคาะดี​ีไซด์​์มิ​ิกิ​ิ จะติ​ิดตั้​้�งภายนอก และทำำ�งานโดยการยกลู​ูกสู​ูบ และปล่​่อยให้​้ตกลงเพื่​่�อเกิ​ิดแรงกระแทกในการเคาะฝุ่​่�น ไม่​่ใช่​่แค่​่เพี​ียงจุ​ุดติดตั้​้ ิ ง� ที่​่�ทำำ�ให้​้ค้อ้ นเคาะแบบหมุ​ุนและค้​้อนเคาะมิ​ิกิแิ ตกต่​่างกั​ัน แต่​่ยังั มี​ี การควบคุ​ุมและการบำำ�รุงุ รั​ักษาที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ค้​้อนเคาะแบบหมุ​ุนจะใช้​้แรงหมุ​ุนเหวี่​่ย� งเคลื่​่�อนที่​่� โดยมอเตอร์​์เกี​ียร์​์ ในขณะที่​่�ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิจะใช้​้แรงเคลื่​่�อนแนวตั้​้�งที่​่�กำำ�เนิ​ิดจากการเหนี่​่�ยวนำำ� แม่​่เหล็​็กไฟฟ้​้าในการยกลู​ูกสู​ูบ ค้​้อนเคาะแบบหมุ​ุนจะซ่​่อมบำำ�รุงุ ได้​้เมื่​่�อ ESP ปิ​ิดการทำำ�งาน ใน ขณะที่​่�ค้อ้ นเคาะมิ​ิกิสิ ามารถซ่​่อมบำำ�รุงุ หรื​ือเปลี่​่�ยนใหม่​่ได้​้ แม้​้ในขณะที่​่� ESP ทำำ�งานอยู่​่� ฝุ่​่�นจั​ับตั​ัวกั​ันบนลวดปล่​่อยประจุ​ุ ฝุ่​่�นจั​ับตั​ัวกั​ันบนแผ่​่นรั​ับฝุ่​่�น ระบบค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิของแผ่​่นรั​ับฝุ่​่�นและลวดปล่​่อยประจุ​ุจำำ�เป็​็นต้​้องมี​ีคอนโทรลเลอร์​์ เพื่​่�อแก้​้ปั​ัญหาค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ ทางไทแอนด์​์ชยุ​ุนจึงึ แนะนำำ�ให้​้ทำำ�การอั​ัพเกรดคอนโทรลเลอร์​์ แยกออกจากคอนโทรลเลอร์​์ปรั​ับแรงดั​ันไฟฟ้​้าอั​ัตโนมั​ัติ​ิที่​่�ควบคุ​ุมหม้​้อแปลง คอนโทรลเลอร์​์ มิ​ิกิแิ บบใหม่​่จะสามารถควบคุ​ุมความแรงของการเคาะผ่​่านการปรั​ับความสู​ูงในการยกลู​ูกสู​ูบ ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ คอนโทรลเลอร์​์ ERC1001 รุ่​่�นใหม่​่ที่​่�ติ​ิดตั้​้�งไป ไม่​่เพี​ียงแค่​่ช่​่วยขจั​ัดปั​ัญหาการ ควบคุ​ุมค้​้อนเคาะ แต่​่ยั​ังมี​ีฟั​ังก์​์ชั่​่�นการทำำ�งานหลากหลายที่​่�เป็​็นประโยชน์​์ต่​่อการควบคุ​ุมให้​้ สามารถควบคุ​ุมความถี่​่�และรอบการเคาะได้​้อี​ีกด้​้วย กั​ับผู้​้�ใช้​้งาน กรณี​ีศึ​ึกษาของการอั​ัพเกรดคอนโทรลเลอร์​์ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ ERC1001 สามารถตั้​้�งค่​่าการควบคุ​ุมเป็​็นแบบกลุ่​่�มซึ่​่�งแยกเป็​็นห้อ้ งที่​่� 1, 2, 3 และห้​้อง อื่​่�นๆ ได้​้ ฟั​ังก์​์ชั่​่�นนี้​้�ป้​้องกั​ันไม่​่ให้​้เกิ​ิดการเคาะพร้​้อมกั​ัน ช่​่วยป้​้องกั​ันไม่​่ให้​้จ่​่ายพลั​ังงานเข้​้า ESP ที่​่�มี​ีระบบค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิในโรงงานน้ำำ�� ตาลแห่​่งหนึ่​่�งที่​่�จั​ังหวั​ัดกาฬสิ​ินธุ์​์� ประเทศไทย ชุ​ุดค้​้อนเคาะในห้​้องหนึ่​่�งพร้​้อมกั​ับค้​้อนเคาะชุ​ุดอื่​่�นๆ การป้​้องกั​ันการเคาะพร้​้อมกั​ันจะช่​่วย สร้​้างมาตั้​้�งแต่​่ปี​ี 2555 และในปี​ี 2561 โรงงานเริ่​่ม� มี​ีปั​ัญหากั​ับระบบค้​้อนเคาะ ซึ่​่�งเป็​็นผลทำำ�ให้​้ ป้​้องกั​ันการฟุ้​้�งกระจายของฝุ่​่�นได้​้

30

www.sugar-asia.com


Special Insight ERC1001 ยั​ังสามารถปรั​ับความสู​ูงในการยกลู​ูกสู​ูบแต่​่ละตั​ัวได้​้โดยการปรั​ับกระแสไฟขาเข้​้า ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ ตามแรงการเคาะที่​่�ต้อ้ งการสลายฝุ่นที่​่ ่� อ� ยู่​่บ� นแผ่​่นรับั ฝุ่น่� และลวดปล่​่อยประจุ​ุ ด้​้วยคอนโทรลเลอร์​์รุ่​่�นใหม่​่นี้​้� ค้​้อนมิ​ิกิแิ ต่​่ละตั​ัวสามารถควบคุ​ุมแบบแมนนวลเพื่​่�อตรวจ สอบการทำำ�งานและง่​่ายต่​่อการซ่​่อมบำำ�รุ​ุงในขณะที่​่� ESP ทำำ�งานได้​้อี​ีกด้​้วย

that lift the plungers. Tumbling hammers can only be maintained when ESP is in a shutdown condition while MIGI rappers can be maintained or replaced even when ESP is in operations. MIGI rapping systems for collecting electrodes and discharge electrodes both require another separate controller apart from the automatic voltage controller of the transformer/rectifier (T/R) sets. New MIGI rapper controllers are also able to control the intensity of the rapping force through the lifting height of the plunger, frequency as well as cycle of rapping.

MIGI Rapping System แผงควบคุ​ุมค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิแบบเดิ​ิม

แผงควบคุ​ุมค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิแบบใหม่​่

คอนโทรลเลอร์​์ ERC1001 รุ่​่�นใหม่​่ ผู้​้�ควบคุ​ุมสามารถมอนิ​ิเตอร์​์ค้​้อนเคาะมิ​ิกิ​ิ ปรั​ับ เปลี่​่�ยนพารามิ​ิเตอร์​์ และปรั​ับความแรงในการเคาะหรื​ือจั​ัดเรี​ียงการเคาะได้​้อย่​่างง่​่ายดาย เพื่​่�อ ควบคุ​ุมให้​้เข้​้ากั​ับการทำำ�งานผ่​่านโปรแกรม HMI

66.6kV / 600mA 77.5kV / 700mA 88.5kV / 800mA

38kV / 139mA 34kV / 159mA 29kV / 170mA

47kV / 149mA 40kV / 219mA 38kV / 380mA

สรุ​ุป เมื่​่�อ ESP อยู่​่�ระหว่​่างการทำำ�งาน จะสามารถปรั​ับค่​่าทางไฟฟ้​้าได้​้เท่​่านั้​้�น การมี​ี คอนโทรลเลอร์​์ปรั​ับแรงดั​ันไฟฟ้​้าอั​ัตโนมั​ัติ​ิและคอนโทรลเลอร์​์ค้​้อนเคาะที่​่�ง่​่ายต่​่อการใช้​้งาน จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดผลลั​ัพธ์ที่​่์ แ� ตกต่​่างไม่​่เพี​ียงแต่​่ในด้​้านการควบคุ​ุมการทำำ�งาน แต่​่ยังั มี​ีผลต่​่อค่​่าฝุ่​่�น ที่​่�ปล่​่อยออกมาอี​ีกด้​้วย ติ​ิดต่​่อสอบถามข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิมได้​้ที่​่� www.taichyun.com

E

lectrostatic Precipitators (ESPs) are widely

Tumbling Hammer

MIGI RAPPING CONTROL UPGRADE - Case Study A sugar plant in Kalasin, Thailand has an ESP with MIGI rapping system that had been operating since 2012. In 2018, the plant started experiencing problems on their MIGI rapping system, which resulted in dust build up on CE and DE causing high rate of sparking. Some MIGI rappers were found to be disabled and some whose height could not be adjusted. Some others even rapped at the same time causing higher emission or puffing at the chimney. To remedy these problems on the MIGI rappers, upgrading MIGI rapper controller was recommended. The new MIGI rapper controller ERC1001 has been installed, and not only addressed the problems on rapper control but also provided the users with more features beneficial to operations. The ERC1001 provides group parameters setting which separates the setting of field 1, field 2 and so on. This feature enables the anti-coincident rapping group (ACG) which prevents the MIGI rapping system in one field to be energized at the same time with the other MIGI rapper group. This anti-coincident rapping prevents puffing incidences. ERC1001 can also adjust the lifting height of each MIGI plunger by changing the current input to the MIGI rapper based on the rapping force needed to dislodge dust on both CE and DE systems. Each MIGI rapper can be turned on manually for checking and maintenance purposes while ESP is still in operation. With the new ERC1001 controller, operators can easily monitor the MIGI rappers, change parameters and adjust rapper intensity and sequence according to operation conditions through HMI. Field

T/R Set Rating

Before**

1 Month After

66.6kV / 600mA

38kV / 139mA

47kV / 149mA

No.

Installation**

used in sugar plants after biomass/agricultural

Field 1

waste-fueled boiler process to capture fly ash

Field 2

77.5kV / 700mA

34kV / 159mA

40kV / 219mA

before escaping through the stack.

Field 3

88.5kV / 800mA

29kV / 170mA

38kV / 380mA

** The operating ratings shown in the above table were limited by the plant in order

Introduction There are two rapping system designs of ESPs based on how the dust is cleaned from collecting electrodes (CE) and discharge electrodes (DE)—tumbling hammers and MIGI (Magnetic Impulse Gravity Impact) rapping system. Tumbling hammers are rotating mechanical rappers and located inside the ESP casing, while the MIGI design is located outside and uses rod plungers that are lifted and dropped to create the rapping impact. It is not only the location related to the ESP that tumbling hammers and MIGI rappers differ, but also how they are operated and maintained. Tumbling hammers rotate in motion driven by gear motors while MIGI rappers move vertically in motion energized by electrically induced magnets

www.sugar-asia.com

to save energy and cost. At this rating, ESP is able to operate with low emission.

Conclusion When ESP is in operations, it is only on the electrical aspect that one can do any adjustments. Having a user-friendly automatic voltage controller and rapper controllers can make a big difference not only for maintaining stable operations but also impact on emission levels. Please visit us at www.taichyun.com for more information.

31


Special Insight

เลื​ือกใช้​้คั​ัปปลิ​ิงที่​่�ดี​ี ต้​้องเลื​ือกคุ​ุณภาพสู​ูงจาก OPTIBELT The best quality of coupling is Optibelt

C

oupling คัปปลิง หรือทีเ่ รียกกนั ทัว่ ไปว่า ประกับเพลาหรือ ยอย (Drive Coupling) เป็นตัวเชื่อมหรือข้อต่อระหว่าง เครื่องยนต์ส่งก�ำลัง (Drive engine) หรือเพลาขับเคลื่อนของ เครื่องจักร มีผลต่อการท�ำงานของระบบส่งก�ำลัง มีความราบรื่น ไม่มสี ะดุดของเครื่องจักรท�ำงาน ซึง้ จะเกิดขึ้นได้ ก็ดว้ ยคัปปลงิ ทีม่ ี คุณภาพ ทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาให้เหมาะกับการใช้ท�ำงานโดยค�ำ หนึงถึงโครงสร้างของเครอื่ งจักรทีห่ ลากหลาย คัปปลงิ จึงเป็นส่วน ประกอบทีม่ คี วามส�ำคัญต่อระบบส่งก�ำลังนอกเหนือจากสายพาน

32

www.sugar-asia.com


Special Insight Coupling is a link or joint between the Drive engine or drive shaft of the machine. It help the operation of transmission system running smooth without interruption. Optibelt Coupling is a high quality grade that has been designed to suit for variety machines. There are two main types of couplings: rigid couplings, which connect two shafts with a solid and high-precision hold, and flexible couplings, which can be used to connect slightly misaligned shafts but which can’t provide the same level of torque transfer.

TYPE Standard coupling for finish bore Taper bush type Combined type standard/taper Components can be combined as needed

TYPE High quality heavy duty coupling Special types are possible in short delivery times While both coupling types have their advantages and disadvantages, it’s important to know which coupling to choose in a particular application.

Coupling อาจแบ่​่งออกเป็​็น 2 ประเภทหลั​ักๆ ก็​็คื​ือ แบบมี​ียอย ยางหรื​ือพี​ียู​ูเป็​็นส่​่วน ประกอบ (Flexible) และแบบไม่​่มี​ียอย ยางหรื​ือพี​ียู​ู (Rigid) คั​ับปลิ​ิงชนิ​ิดนี้​้จ� ะมี​ีการชดเชย ระยะของเพลาค่​่อนข้​้างน้​้อยเมื่​่�อเที​ียบกั​ับแบบมี​ียอยยาง ดั​ังนั้​้�น การใช้​้คับั ปลิ​ิงแบบนี้​้�นั้​้น� แกนเพลา 2 ข้​้าง จะต้​้องถู​ูกวางตำำ�แหน่​่งให้​้ได้​้แนวและ ตรงกั​ันพอดี​ี จึ​ึงจะสามารถใช้​้คับั ปลิ​ิงแบบนี้​้�ได้​้เต็​็มประสิ​ิทธิ​ิภาพ ส่​่วนคั​ับปลิ​ิงแบบมี​ียอยยาง นั้​้�นจะช่​่วยการชดเชยระยะของเพลากรณี​ีที่​่เ� พลาไม่​่ตรงกั​ันได้​้แล้​้วแต่​่ชนิ​ิดของคั​ัปปลิงิ โดยจะ ยอมให้​้มีรี ะยะที่​่�ผิดิ เพี้​้�ยนได้​้บ้า้ ง จึ​ึงช่​่วยเพิ่​่�มความยื​ืดหยุ่​่�นในการใช้​้งานได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี นอกจาก นั้​้�นยังั ช่​่วยลดแรงสั่​่�นสะเทื​ือนทางกลที่​่�ส่ง่ หากั​ันระหว่​่างชิ้​้นส่ � ว่ นทางกลของทั้​้�ง 2 ฝั่​่�งด้​้วย คั​ัปปลิงิ นั้​้�นมีอี ยู่​่ม� ากมายในตลาด แต่​่เราอยากนำำ�มาแนะนำำ�ในวั​ันนี้​้คื​ื� อ คั​ัปปลิงิ คุ​ุณภาพ สู​ูงจากเยอรมนี​ี แบรนด์​์ Optibelt ซึ่​่�งมี​ีคัปปลิ ั งิ คุ​ุณภาพทั้​้�งแบบมี​ียางและแบบไม่​่มียี าง การเช็​็ค ว่​่าระบบส่​่งกำำ�ลังั ของเครื่​่อ� งจั​ักรในโรงงานคุ​ุณเหมาะกั​ับการใช้​้งานคั​ัปปลิงิ ประเภทไหน มี​ีความ จำำ�เป็​็นต้อ้ งปรึ​ึกษาผู้​้�เชี่​่ย� วชาญที่​่�มีคี วามรู้​้�ในเรื่​่อ� งระบบส่​่งกำำ�ลังั ซึ่​่�งจะส่​่งผลถึ​ึงกำำ�ลังั การผลิ​ิตใน โรงงานร่​่วมไปถึ​ึงการใช้​้พลั​ังงานได้​้อย่​่างคุ้​้�มค่​่า ส่​่งผลไปถึ​ึงต้​้นทุนุ และผลกำำ�ไรในที่​่�สุ​ุด

RIGID COUPLINGS

OPTIBELT

FLEXIBLE COUPLINGS

สายพานคุ​ุณภาพที่​่�โรงงานน้ำำ��ตาลเลื​ือกใช้​้ EXTREME POWER CO.,LTD.

53 Soi Ngamwongwan 8, Bangkhen, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 086-351-3495 , 090-984-1197

info@extremepower.co.th

@extremepower

www.sugar-asia.com

33


Ethanol News

อเมริ​ิกาเผยการผลิ​ิตโมโนเอทิ​ิลี​ีนไกลคอล จากน้ำำ��ตาลเป็​็นครั้​้�งแรก United States Unveiled First Production of Bio-Based MEG from Sugar

ริ​ิษัทั บราสเคม ซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�ผลิ​ิตปิ​ิโตรเคมี​ีที่​่ใ� หญ่​่ที่​่สุ� ดุ ในอเมริ​ิกาและเป็​็นผู้​้�นำำ�ระดั​ับโลกในการผลิ​ิตไบโอ โพลี​ีเมอร์​์และบริ​ิษั​ัทฮาลดอร์​์ ทอปโซจากเดนมาร์​์กซึ่​่�ง เป็​็นผู้​้�นำำ�ระดั​ับโลกในการจั​ัดหาตั​ัวเร่​่งปฏิ​ิกิริ​ิ ยิ า รวมทั้​้�ง เทคโนโลยี​ีและบริ​ิการสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมเคมี​ีและการก ลั่​่น� ได้​้ประกาศความสำำ�เร็​็จในการผลิ​ิตโมโนเอทิ​ิลีนี ไกล คอลเชิ​ิงทดลองเป็​็นครั้​้ง� แรก อั​ันเป็​็นผลมาจากความร่​่วม มื​ือระหว่​่างทั้​้�งสองบริ​ิษั​ัทด้​้านการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีโม เซอิ​ิกซึ่​่�งมี​ีความก้​้าวหน้​้าภายใต้​้กำำ�หนดเวลาของศู​ูนย์​์ ทดลองในเมื​ืองลิ​ิงก์​์บี​ี ประเทศเดนมาร์​์ก ศู​ูนย์​์ทดลองนี้​้�เริ่​่�มตั้​้�งในปี​ี 2562 โดยมี​ีเป้​้าหมาย หลั​ักเพื่​่�อแสดงคุ​ุณสมบั​ัติ​ิการออกแบบที่​่�สำำ�คั​ัญทั้​้�งหมดของ เทคโนโลยี​ีบุ​ุกเบิ​ิกในการเปลี่​่�ยนน้ำำ��ตาลให้​้เป็​็นโมโนเอทิ​ิลี​ีน ไกลคอลแบบหมุ​ุนเวี​ียน นั​ับจากนั้​้�นเป็​็นต้น้ มา มี​ีการตั้​้�งหน่​่วย กระบวนการจั​ัดการของเหลื​ือของโรงงานเพื่​่�อปฏิ​ิบัติั งิ านและ เพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพในการผลิ​ิตให้​้สู​ูงขึ้​้�น โมโนเอทิ​ิลีนี ไกลคอลเป็​็นวัตั ถุ​ุดิบิ สำำ�หรั​ับสารโพลิ​ิเอทิ​ิลี​ี น เทเรฟทาเลทหรื​ือ PET ซึ่​่�งมี​ีการใช้​้งานมากมายและเป็​็น วั​ัตถุ​ุดิ​ิบจำำ�เป็​็นในภาคส่​่วนต่​่างๆ เช่​่น สิ่​่�งทอและบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ โดยเฉพาะขวดเครื่​่�องดื่​่�ม ปั​ัจจุ​ุบั​ันโมโนเอทิ​ิลี​ีนไกลคอลส่​่วน ใหญ่​่ผลิ​ิตจากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบจากฟอสซิ​ิล เช่​่น แนฟทาก๊​๊าซหรื​ือ ถ่​่านหิ​ินและมี​ีมู​ูลค่​่าประมาณสองหมื่​่�นห้​้าพั​ันล้​้านดอลลาร์​์ ในตลาดโลก เทคโนโลยี​ีนี้​้จ� ะสามารถผลิ​ิตโมโนโพรพิ​ิลีนี ไกลคอลหรื​ือ MPG ร่​่วมด้​้วยได้​้ในปริ​ิมาณที่​่�ต่ำำ��กว่​่า ซึ่​่�ง MPG มี​ีการใช้​้งาน ที่​่�หลากหลายตั้​้�งแต่​่เรซิ​ินโพลี​ีเอสเตอร์​์ไม่​่อิ่​่ม� ตั​ัวหรื​ือ UPR ที่​่� นิ​ิยมใช้​้ในวั​ัสดุ​ุก่อ่ สร้​้างไปจนถึ​ึงผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เครื่​่อ� งสำำ�อาง กระบวนการขั้​้นต่ � อ่ ไปจะเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการจั​ัดหาตั​ัวอย่​่าง ให้​้พั​ันธมิติ รเชิ​ิงกลยุ​ุทธ์​์เพื่​่�อตรวจสอบความถู​ูกต้​้อง ผลลั​ัพธ์​์ ของการดำำ�เนิ​ินงานของศู​ูนย์​์ทดลองและการตรวจสอบความ ถู​ูกต้​้องของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์จะเป็​็นสิ่​่ง� สำำ�คัญ ั ในการตั​ัดสินิ ใจปรั​ับใช้​้ เทคโนโลยี​ีเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ การพั​ัฒนาโมโนเอทิ​ิลีนี ไกลคอลชี​ีวภาพเป็​็นกลยุ​ุทธ์​์หนึ่​่�ง ของบริ​ิษัทั บราสเคม โดยนายกุ​ุสตาโว เซอร์​์จิ​ิ เจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร ของฝ่​่ายสารเคมี​ีและสารพิ​ิเศษแบบใช้​้ซ้ำำ��ของบริ​ิษั​ัทฯ กล่​่าว ว่​่า “การผลิ​ิตโมโนเอทิ​ิลีนี ไกลคอลชี​ีวภาพด้​้วยเทคโนโลยี​ีโม เซอิ​ิกเป็​็นครั้​้ง� แรกนี้​้�ถื​ือเป็​็นก้า้ วสำำ�คัญ ั ในโครงการของเราและ

34

ตอกย้ำำ��ความมุ่​่�งมั่​่�นของฐริ​ิษัทั ฯ ด้​้านเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียนด้​้วย การใช้​้สารเคมี​ีแบบใช้​้ซ้ำำ�� เทคโนโลยี​ีนี้​้มี� ศัี กั ยภาพในการปฏิ​ิวัติั ิ ตลาดสารโพลิ​ิเอทิ​ิลีนี เทเรฟทาเลท นั่​่�นเป็​็นเหตุ​ุผลที่​่�เราเริ่​่ม� มี​ีความคื​ืบหน้​้ามากขึ้​้น� เรื่​่อ� ย ๆ ในการสร้​้างสั​ัมพั​ันธภาพของ คุ​ุณค่​่าใหม่​่นี้​้�เพื่​่�อสามารถเสนอและมอบทางแก้​้ปั​ัญหาแบบ ยั่​่�งยื​ืนที่​่�สั​ังคมกำำ�ลั​ังมองหา” นายคิ​ิม นั​ัดเซ็​็น ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�ฝ่​่ายกลยุ​ุทธ์​์และ นวั​ัตกรรมของบริ​ิษั​ัทฮาลดอร์​์ ทอปโซกล่​่าวย้ำำ�ว่ � ่า “เรารู้​้�สึ​ึก ยิ​ินดีเี ป็​็นอย่​่างยิ่​่�งที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จในการผลิ​ิตโมโนเอทิ​ิลี​ี นไกลคอลชี​ีวภาพร่​่วมกั​ับบริ​ิษัทั บราสเคม โดยบริ​ิษัทั ของเรา มี​ีวิสัิ ยั ทั​ัศน์เ์ ชิ​ิงกลยุ​ุทธ์​์คื​ือการนำำ�เสนอเทคโนโลยี​ีเพื่​่�อลดหรื​ือ แม้​้แต่​่กำำ�จัดั การปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนจากการผลิ​ิตเชื้​้อ� เพลิ​ิงและ สารเคมี​ี ด้​้วยความก้​้าวหน้​้าของเทคโนโลยี​ีในการผลิ​ิตสารเคมี​ี ชี​ีวภาพ และการมี​ีตัวั เลื​ือกที่​่�น่า่ สนใจในเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์นั้​้นถื​ื � อเป็​็น ขั้​้�นตอนสำำ�คั​ัญในการก้​้าวไปสู่​่�อนาคตที่​่�ยั่​่�งยื​ืนยิ่​่�งขึ้​้�น”

that transforms sugar into renewable MEG. Since then, the remaining process units of the plant have been built and put into operation, and the production process has been optimized. MEG is a raw material for PET (polyethylene terephthalate), which has numerous applications and is an essential feedstock in sectors such as textiles and packaging, especially beverage bottles. Currently, MEG is predominantly made from fossil-based feedstocks, such as naphtha, gas, or coal. The global MEG market represents a value of approximately US$ 25 billion. The technology will also co-produce, in a lower quantity, monopropylene glycol (MPG), which has a wide variety of applications ranging from unsaturated polyester resins (UPR), commonly used in construction materials, to cosmetic products. The next phase will involve providing samples to strategic partners for testing and validation. The results of the demonstration plant operations and the validation of products will be essential for the decision to deploy the technology on a commercial scale. The development of bio-MEG is strategic to Braskem. “This first-ever production of MOSAIK™-MEG is a major step forward in our project and underlines Braskem’s commitment to the Circular Economy through renewable chemicals. This technology has the potential to revolutionize the PET market. That’s why we are increasingly closer to start building this new value chain, so we can deliver the sustainable solution that society is looking for”, says Gustavo Sergi, executive officer of Renewable Chemicals and Specialties at Braskem.

B

raskem, the largest petrochemical company in the Americas and a world leader in the production of biopolymers, and Denmark-based Haldor Topsoe, a global leader in supply of catalysts, technology, and services for the chemical and refining industries, have announced that they achieved their first-ever demo-scale production of bio-based monoethylene glycol (MEG). As a result of the collaboration between the two companies, the MOSAIK™ technology development has been progressing according to schedule at the demonstration unit located in Lyngby, Denmark.

The demonstration unit was started up in 2019 with the primary goal to demonstrate all key design features of the pioneering technology

Demonstration unit for the production of bio-based monoethylene glycol (MEG). “We are extremely pleased to have achieved the first production of bio-based MEG together with Braskem. Topsoe’s strategic vision is to deliver technologies to reduce or even eliminate carbon emissions from the production of fuels and chemicals. Advancing technologies to produce bio-based chemicals and making them a commercially attractive option is an essential step on the way to a more sustainable future,” says Kim Knudsen, Chief Strategy & Innovation Officer at Haldor Topsoe.

www.sugar-asia.com


Bioenergy News

เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพ สิ่​่�งที่​่�อิ​ินเดี​ียเรี​ียนรู้​้�ได้​้จากบราซิ​ิล Biofuel: What India can learn from Brazil

อิ​ิ

นเดี​ียต้​้องพิ​ิจารณาการเพิ่​่�มการผลิ​ิตของวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่� ให้​้ผลตอบแทนสู​ูง เช่​่น “อ้​้อยพลั​ังงาน” เพื่​่�อสร้​้าง เศรษฐกิ​ิจชี​ีวภาพแนวใหม่​่ รั​ัฐบาลอิ​ินเดี​ียเพิ่​่�งประกาศแผนงานอั​ันมุ่​่�งมั่​่�นที่​่จ� ะเปิ​ิด ตั​ัวรถยนต์​์ที่​่�ใช้​้น้ำำ��มั​ันเบนซิ​ินผสมเอทานอล 20 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ ภายในปี​ี 2568 ซึ่​่ง� สวนทางกั​ับระดั​ับของการผสมผสานในขณะ นี้​้�ถึ​ึง 5-6 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ การบรรลุ​ุเป้​้าหมายนี้​้�จำำ�เป็​็นต้​้องปรั​ับ เปลี่​่�ยนกระบวนทั​ัศน์ใ์ นการผลิ​ิตและจำำ�หน่​่ายเอทานอล บราซิ​ิลคื​ือประเทศที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จในการรวมเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพเข้​้ากั​ับการประหยั​ัดเชื้​้�อเพลิ​ิง โดยใช้​้ประโยชน์​์ จากธรรมเนี​ียมและความโดดเด่​่นในการผลิ​ิตอ้​้อยอย่​่างมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพในระบบเศรษฐกิ​ิจเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพซึ่​่�งไม่​่กระทบ ต่​่อความมั่​่�นคงทางอาหาร เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพยั​ังเป็​็นศู​ูนย์ก์ ลาง ของกลยุ​ุทธการปล่​่อยคาร์​์บอนปริ​ิมาณน้​้อยของบราซิ​ิล แล้​้ว บราซิ​ิลบรรลุ​ุเป้​้าหมายนี้​้�ได้​้อย่​่างไร?

อ้​้อย “พลั​ังงาน”

เพื่​่�อลดการพึ่​่�งพาการนำำ�เข้​้าน้ำำ��มันั ในระดั​ับสู​ูง บราซิ​ิล จึ​ึงหั​ันมาใช้​้อ้อ้ ยแบบดั้​้�งเดิ​ิมเพื่​่�อปฏิ​ิวัติั กิ ารประหยั​ัดเชื้​้อ� เพลิ​ิง การแสวงหาผลผลิ​ิตที่​่�สู​ูงขึ้​้�นและความสมดุ​ุลของน้ำำ��ตาล เอ ทานอลทำำ�ให้​้บราซิ​ิลปฏิ​ิรู​ูปการผลิ​ิตชี​ีวมวลสำำ�หรั​ับเอทานอล และพั​ัฒนาอ้​้อยพั​ันธุ์ใ์� หม่​่ที่​่�รู้​้�จั​ักกั​ันในชื่​่�อ “อ้​้อยพลั​ังงาน” ซึ่​่�ง มี​ีน้ำำ��ตาลซู​ูโครสต่ำำ�� แต่​่มี​ีมวลชี​ีวภาพสู​ูง ด้​้วยผลผลิ​ิตชี​ีวมวลสู​ูงถึ​ึง 350 ตั​ันต่​่อเฮกเตอร์​์เที​ียบ กั​ับอ้​้อยแบบดั้​้�งเดิ​ิม 80 ตั​ันต่​่อเฮกเตอร์​์จึ​ึงให้​้ความสมดุ​ุลที่​่� สมบู​ูรณ์​์แบบสำำ�หรั​ับการผลิ​ิตเอทานอลโดยไม่​่ทำำ�ให้​้น้ำำ��ตาล ลดลง ทำำ�ให้​้บราซิ​ิลค่​่อยๆ เพิ่​่�มการผลิ​ิตและผสมผสาน อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ด้​้วยการผสมเอทานอล 27 เปอร์​์เซ็​็นต์กั์ บั น้ำำ��มันั เบนซิ​ิน ในปี​ี 2562 เพี​ียงอย่​่างเดี​ียวทำำ�ให้​้บราซิ​ิลสามารถประหยั​ัด น้ำำ��มั​ันได้​้ประมาณ 0.5 ล้​้านบาร์​์เรลต่​่อวั​ันโดยประหยั​ัด การนำำ�เข้​้าได้​้ 13 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์ รถยนต์​์ร้​้อยละเจ็​็ดสิ​ิบ แปดในบราซิ​ิลในปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีการใช้​้เอทานอลแบบผสมผสาน ถึ​ึง 27 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ www.sugar-asia.com

ผลผลิ​ิตชี​ีวมวลที่​่�สู​ูงของอ้​้อยพลั​ังงานเป็​็นปั​ัจจั​ัยทาง ชี​ีวภาพที่​่�ก่​่อให้​้เกิ​ิดความสมดุ​ุลของพลั​ังงานในวงจรชี​ีวิ​ิต ของเอทานอลที่​่�เป็​็นบวกในระดั​ับสู​ูงที่​่�เกิ​ิดจากสมดุ​ุลของ การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกในเชิ​ิงบวก ด้​้วยกากอ้​้อยที่​่�เหลื​ือ (ชานอ้​้อย) ยั​ังกลายเป็​็นสิ่​่�งที่​่�มี​ีคุ​ุณค่​่าในเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์สำ�ำ หรั​ับ การผลิ​ิตไฟฟ้​้าและการใช้​้งานเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์อื่​่น� ๆ ทำำ�ให้​้สามารถ เปลี่​่�ยนการผลิ​ิตอ้​้อยพลั​ังงานให้​้กลายเป็​็นวิ​ิสาหกิ​ิจหลาย ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ในบราซิ​ิล ที่​่�กล่​่าวมาข้​้างต้​้นนี้​้ไ� ด้​้เปิ​ิดความหวั​ังใหม่​่ให้​้กับั ประเทศ อื่​่�น ๆ เช่​่นกันั ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นเพราะอ้​้อยพลั​ังงานมี​ีแนวโน้​้ม เติ​ิบโตได้​้ในดิ​ินที่​่�แห้​้งแล้​้งกว่​่าและมี​ีความอุ​ุดมสมบู​ูรณ์​์ต่ำำ�� กว่​่าซึ่​่�งเป็​็นลั​ักษณะดิ​ินที่​่�ไม่​่เหมาะสำำ�หรั​ับการเพาะปลู​ูก อ้​้อยแบบเดิ​ิมๆ ในช่​่วงแรกเริ่​่ม� เหตุ​ุผลด้​้านความมั่​่�นคงทางเศรษฐกิ​ิจ และยุ​ุทธศาสตร์​์ผลั​ักดั​ันการผลิ​ิตเอทานอลจากอ้​้อยของบราซิ​ิล แต่​่ต่อ่ มาเมื่​่�อมี​ีการโต้​้แย้​้งกั​ันเรื่​่อ� งความยั่​่�งยื​ืนด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม ของโลก ก็​็พบว่​่าบราซิ​ิลมีโี ครงการพลั​ังงานหมุ​ุนเวี​ียนจากชี​ีว มวลที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จมากที่​่�สุ​ุด เอทานอลจากอ้​้อยของบราซิ​ิลถู​ูกกำำ�หนดให้​้เป็​็น “เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพขั้​้�นสู​ูง” เนื่​่�องจากลดการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจก ในวงจรชี​ีวิ​ิตทั้​้�งหมดลง 61% การใช้​้เชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิลเป็​็นหนึ่​่�งในสาเหตุ​ุสำำ�คั​ัญของ การเกิ​ิดก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์และการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือน กระจกอื่​่�นๆ ทั่​่�วโลก เชื้​้�อเพลิ​ิงฟอสซิ​ิลที่​่�บริ​ิโภคทั่​่�วโลกผลิ​ิต ก๊​๊าซดั​ังกล่​่าวประมาณ 4.5 พั​ันล้​้านตั​ันต่​่อปี​ี แต่​่มี​ีเพี​ียงเศษ เสี้​้�ยวของมั​ันเท่​่านั้​้�นที่​่�เติ​ิมเต็​็มโลกในวั​ัฏจั​ักรฟอสซิ​ิลและ คาร์​์บอน อย่​่างไรก็​็ตามก๊​๊าซคาร์​์บอนได้​้ออกไซด์​์สามารถ เป็​็นปุ๋​๋�ยปลอดสารพิ​ิษได้​้ หากการผลิ​ิตและการบริ​ิโภคก๊​๊าซดั​ังกล่​่าวสามารถปรั​ับ สมดุ​ุลได้​้ก็ส็ ามารถนำำ�ไปใช้​้ประโยชน์​์ในวั​ัฏจักั รคาร์​์บอนเพื่​่�อ ผลิ​ิตเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพที่​่�ปลอดสารพิ​ิษได้​้อี​ีกทางหนึ่​่�ง เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพจากพื​ืชดู​ูเหมื​ือนจะมี​ีความได้​้เปรี​ียบ เหนื​ือแหล่​่งเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพอื่​่�น ๆ เนื่​่�องจากพื​ืชใช้​้ก๊า๊ ซคาร์​์บอน ได้​้ออกไซด์​์จากชั้​้�นบรรยากาศและให้​้ออกซิ​ิเจนกลั​ับคื​ืนสู่​่�ชั้​้น� บรรยากาศซึ่​่�งจะทำำ�งานเสมื​ือนปั๊​๊�มก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์และ

อ๊​๊อกซิ​ิเจนหมุ​ุนเวี​ียนหรื​ือเป็​็นแบตเตอรี่​่�คาร์​์บอนไดออกไซด์​์ ในรู​ูปของเหลวผ่​่านการตรึ​ึงคาร์​์บอน พื​ืชบางประเภทที่​่�ปลู​ูกในพื้​้นที่​่ � ข� นาดใหญ่​่ใช้​้ก๊า๊ ซคาร์​์บอน ได้​้ออกไซด์​์จากชั้​้น� บรรยากาศและพื​ืชสามารถใช้​้ในการผลิ​ิต เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพที่​่�ปล่อ่ ยก๊​๊าซดั​ังกล่​่าวในปริ​ิมาณต่ำำ�� ซึ่​่�งดี​ีกว่​่า รถยนต์​์ไฟฟ้​้าที่​่�ไม่​่ได้​้ลดก๊​๊าซเรื​ือนกระจก แต่​่จะแทนที่​่�การ ปล่​่อยก๊​๊าซในพื้​้นที่​่ � เ� ท่​่านั้​้�น ยกเว้​้นแต่​่จะใช้​้พลังั งานหมุ​ุนเวี​ียน ประสบการณ์​์จากบราซิ​ิลนี้​้แ� สดงให้​้เห็​็นว่า่ เอทานอลไฮบริ​ิดมี​ี การปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกต่ำำ��ที่​่�สุ​ุด จากเรื่​่�องราวความสำำ�เร็​็จนี้​้� บราซิ​ิลได้​้พิ​ิสู​ูจน์​์ให้​้เห็​็น ว่​่าการอยู่​่�ร่ว่ มกั​ันอย่​่างกลมกลื​ืนระหว่​่างเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพและ เชื้​้�อเพลิ​ิงแบบดั้​้�งเดิ​ิมสามารถบรรเทาปั​ัจจั​ัยที่​่�เป็​็นอั​ันตราย ต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมได้​้ เมื่​่�อย้​้อนกลั​ับมามองที่​่�ประเทศอิ​ินเดี​ีย จาก 50 เมื​ือง ที่​่�มีมี ลพิ​ิษมากที่​่�สุดุ ในโลกในแง่​่ของดั​ัชนี​ีคุณ ุ ภาพอากาศ 25 แห่​่งอยู่​่�ในอิ​ินเดี​ีย 22 แห่​่งอยู่​่�ในจี​ีนสองแห่​่งอยู่​่�ในปากี​ีสถาน และอี​ีกหนึ่​่�งแห่​่งในบั​ังกลาเทศ กู​ูรู​ูกรั​ัม กาเซี​ียบาด และฟา ริ​ิดาบาดนำำ�อยู่​่�ในตำำ�แหน่​่งที่​่�หนึ่​่�ง สองและสี่​่� จาก 10 อั​ันดั​ับ แรกของโลก อิ​ินเดี​ียอยู่​่ใ� นอั​ันดับั ที่​่�สามในแง่​่ของการปล่​่อยก๊​๊าซ

35


Bioenergy News คาร์​์บอนไดออกไซด์​์ทั้​้ง� หมดโดยมี​ีการปล่​่อยประมาณ 2.45 พั​ันล้​้านตั​ันในปี​ี 2560 (6.62 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ของการปล่​่อยทั่​่�ว โลก) ส่​่วนจี​ีนติดอั ิ นดั ั บั 10.87 พั​ันล้า้ นตั​ัน (29.34%) ตาม ด้​้วยสหรั​ัฐฯ 5.11 พั​ันล้​้านตั​ัน (13.77%)

การนำำ�เข้​้าน้ำำ��มั​ันครั้​้�งมโหฬาร

นอกเหนื​ือจากปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมแล้​้ว การพึ่​่�งพาการนำำ� เข้​้าเพื่​่�อการประหยั​ัดน้ำำ��มั​ันเชื้​้อ� เพลิ​ิงยั​ังเป็​็นสิ่​่ง� ที่​่�น่า่ ตระหนก ยิ่​่�งเพราะความต้​้องการน้ำำ��มันั ดิ​ิบเพื่​่�อนำำ�เข้​้าสู​ูงถึ​ึง 85% เพื่​่�อ แก้​้ไขปั​ัญหานี้​้� จึ​ึงมี​ีความพยายามอย่​่างจริ​ิงจั​ังในช่​่วงไม่​่กี่​่�ปี​ีที่​่� ผ่​่านมาเพื่​่�อขยายการผลิ​ิตและการผสมเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ นโยบายเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพแห่​่งชาติ​ิ ปี​ี 2561 ได้​้นำ�ำ มา ซึ่​่�งการเปลี่​่�ยนแปลงแบบหน้​้ามื​ือเป็​็นหลั​ังมื​ือบางประการใน หลั​ักการผลิ​ิตเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพของประเทศ ในขณะที่​่�การเพิ่​่�มการผลิ​ิตเอทานอลผ่​่านเส้​้นทางอ้​้อย แบบดั้​้�งเดิ​ิมเป็​็นรู​ูปเป็​็นร่​่างมากขึ้​้�น แต่​่ก็​็ยั​ังมี​ีการอนุ​ุญาต การผลิ​ิตแอลกอฮอล์​์จากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�มี​ีน้ำำ��ตาลอื่​่�น ๆ เช่​่น หั​ัว บี​ีท น้ำำ��ตาล ข้​้าวฟ่​่างหวาน และวั​ัตถุ​ุดิ​ิบจำำ�พวกแป้​้ง เช่​่น ข้​้าวโพด มั​ันสำำ�ปะหลั​ัง ธั​ัญพื​ืชอาหารที่​่�เสี​ียหาย และมั​ัน ฝรั่​่�งเน่​่า เป็​็นต้​้น แม้​้ว่​่าสิ่​่�งเหล่​่านี้​้�จะเป็​็นขั้​้�นตอนที่​่�น่​่ายิ​ินดี​ี แต่​่ก็​็อาจไม่​่ เพี​ียงพอที่​่�จะบรรลุ​ุวั​ัตถุ​ุประสงค์​์แบบคู่​่�ขนาน จึ​ึงต้​้องมี​ีการ ปรั​ับเปลี่​่�ยนกระบวนทั​ัศน์​์และการกำำ�หนดนโยบาย รวมทั้​้�ง การนำำ�เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพไปใช้​้เป็​็นหลั​ัก ถึ​ึงเวลาแล้​้วที่​่�จะใช้​้ประสบการณ์​์จากบราซิ​ิลในการ พิ​ิจารณาอย่​่างจริ​ิงจั​ังเกี่​่�ยวกั​ับการผลิ​ิตวั​ัตถุ​ุดิ​ิบปริ​ิมาณมาก ที่​่�ให้​้ผลตอบแทนสู​ูง เช่​่น อ้​้อยพลั​ังงานโดยใช้​้เทคโนโลยี​ี การเกษตรที่​่�ทั​ันสมั​ัยและสร้​้างเศรษฐกิ​ิจชี​ีวภาพใหม่​่ให้​้ กั​ับประเทศ ในขณะที่​่�การจั​ัดการกั​ับปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมมี​ี ศั​ักยภาพที่​่�จะเปลี่​่�ยนมุ​ุมมองโดยรวมด้​้านการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล และเอทานอลในอิ​ินเดี​ีย นอกจากนี้​้� กากชี​ีวภาพในปริ​ิมาณมาก เช่​่น ชานอ้​้อย กากอ้​้อยที่​่�เหลื​ือจากการทำำ�น้ำำ��ตาล และวั​ัตถุ​ุดิบิ ทางการเกษตร ที่​่�ผลิ​ิตในกระบวนการนี้​้�สามารถสร้​้างเสริ​ิมกระบวนการเอทา นอลแบบ 2จี​ี และไบโอแก๊​๊สแบบอั​ัดได้​้ ตามการประมาณ การ อ้​้อยพลั​ังงานที่​่�ผลิ​ิตในหนึ่​่�งเฮกตาร์​์มี​ีศั​ักยภาพในการ ผลิ​ิตเอทานอลประมาณ 18,000 ลิ​ิตรภายใต้​้กระบวนการ 1จี​ี และ 2จี​ีที่​่�เหมาะสม โปรแกรมที่​่�คิ​ิดค้​้นขึ้​้�นและดำำ�เนิ​ินการจากความคิ​ิด และจิ​ินตนาการด้​้วยส่​่วนผสมที่​่�พอเหมาะของเอทานอล 1จี​ี จากพื​ืชและโครงการเอทานอล 2จี​ี ที่​่�ใช้​้สารตกค้​้างจากพื​ืชมี​ี ศั​ักยภาพที่​่�จะช่​่วยให้​้ประเทศบรรลุ​ุเป้​้าหมายการผสมผสาน เอทานอลร้​้อยละ 20 ในน้ำำ��มั​ันได้​้เร็​็วกว่​่าที่​่�ตั้​้�งเป้​้าไว้​้

อย่​่างไรก็​็ตามการะบวนการดั​ังกล่​่าวจะต้​้องเป็​็นอิสิ ระ จากการเปรี​ียบเที​ียบราคาน้ำำ��มันั แบบดั้​้�งเดิ​ิมและจะต้​้องมี​ีระบบ การผสมที่​่�เคร่​่งครั​ัดเพื่​่�อให้​้สำำ�เร็​็จก่​่อนที่​่�จะผสมผสานเข้​้ากั​ับ การประหยั​ัดเชื้​้อ� เพลิ​ิงของประเทศอย่​่างสมบู​ูรณ์​์และกลายมา เป็​็นธรรมเนี​ียมปฏิ​ิบัติั เิ ช่​่นเดี​ียวกั​ับในกรณี​ีของบราซิ​ิล.

I

ndia must look at mass production of high yielding feedstock such as ‘energy cane’ to create a new bio-economy The government recently announced an ambitious plan to roll out vehicles running on 20 per cent ethanol blended petrol by 2025. This is against the current level of blending of 5-6 per cent. Achieving this target needs a paradigm shift in production and distribution of ethanol. One country, which has successfully integrated biofuels into its fuel economy, is Brazil. It has efficiently leveraged its traditions and dominance in sugarcane production into a biofuel economy without compromising food security. Biofuels are also central to Brazil´s low carbon emission strategy. How did Brazil achieve this?

‘Energy’ cane To mitigate high dependence on oil imports, Brazil turned to its traditional sugarcane to revolutionise its fuel economy. The quest for a higher productivity and sugar-ethanol balance led Brazil to revolutionise its biomass production for ethanol and develop a new variety of sugarcane, popularly known as ‘energy cane’, which is low on sucrose but high on biomass. With productivity up to 350 tonnes of biomass per ha, against 80 tonnes per ha of traditional sugarcane, it offered a perfect balance for ethanol production without compromising sugar production. It enabled Brazil to gradually augment its production and blend.

Processing Plant in Zaheerabad, India, showing the amount of sugarcane bagasse waste in the bottom left. (Picture credit-Natems Sugars Pvt Ltd.)

36

With a mandatory blending of 27 per cent ethanol with gasoline, in 2019 alone Brazil saved about 0.5 million barrels per day of gasoline with a savings of $13 billion in imports. Seventy-eight per cent of Brazilian automobiles today run on 27 per cent of ethanol blend. High biomass productivity of energy-cane is the biological factor that contributes to the high positive lifecycle energy balance of ethanol produced from it, with a resultant positive balance of greenhouse gases emission. With residual cane-waste (Bagasse) also becoming commercially valuable for power generation and other commercial uses, it has been possible to transform energy-cane production into a multiproduct enterprise in Brazil. This has opened new hope for other countries too, mainly because energy cane is promising on drier and lower fertility soils, not suitable for conventional cultivation. Initially, economic, and strategic security reasons drove Brazil’s ethanol production from sugarcane. But later, when the debate on the planet’s environmental sustainability was opened, it was realised that Brazil’s was the most successful renewable energy programme from biomass. Brazilian sugarcane ethanol is designated as an ‘advanced biofuel’ due to its 61 per cent reduction of total life cycle GHG emissions. Use of fossil fuels is one of the major sources of Co2 and other GHG emission globally. Fossil fuels consumed world-over produce an estimated 4.5 billion tonnes of Co2 every year. But only a fraction of it is replenished to the earth in fossil-carbon cycle. However, Co2 is a non-toxic gaseous fertiliser. If its production and consumption can be rebalanced, it can be beneficially used in the carbon cycle to produce non-toxic biofuel. Plant based biofuel seems to have an edge over all other sources of biofuels as plants consume Co2 from the atmosphere and give back oxygen to the atmosphere. It works as a Co2-O2 pump or a Co2 battery in liquid form through carbon fixation. Specific crops grown in large areas consume Co2 from the atmosphere and the crop can be used to produce low Co2 emitting biofuels. This is even better than the electric vehicles which do not reduce GHG but only geographically displaces the emission, unless using renewable energy. Experience from Brazil shows that GHG emission is the lowest from hybrid ethanol. With this success story, Brazil has proved that harmonious coexistence between biofuels and traditional fuels is possible to mitigate the factors that harm the environment. Turning to India, of the 50 most polluted cities in the world, in terms of air quality index,

www.sugar-asia.com


Bioenergy News 25 are in India, 22 in China, two in Pakistan and one in Bangladesh. Gurugram, Ghaziabad and Faridabad lead the list at first, second and fourth position. Of the top 10 economies in the world, India stands at the third position in terms of total Co2 emission with an estimated 2.45 billion mt of Co2 emission in 2017 (6.62 per cent of global emission). China tops the list with 10.87 billion mt (29.34 per cent) followed by the US with 5.11 billion mt (13.77 per cent).

Alarming oil imports Apart from the environmental issues, our import dependence for fuel economy is alarming — 85 per cent of our crude oil requirement is imported. To address these twin problems, some serious attempts have been made in the last few years to scale up biofuel production and blending. The National Biofuel Policy, 2018 has brought in certain revolutionary changes in the biofuel production philosophy of the country. While envisaging augmentation of ethanol production through the traditional sugarcane route, it has allowed production of alcohol from certain other sugary feedstock like sugar beet, sweet sorghum, and starchy feedstock like corn, cassava, damaged food grains, rotten potatoes, etc. It has also opened the production of second-generation ethanol from cellulosic agri-residues such as rice and wheat straw, corncobs, cotton stalk, bagasse and municipal solid waste, etc. While these are welcome steps, it may

www.sugar-asia.com

not be enough to achieve the twin objectives. It requires a paradigm shift and mainstreaming biofuel policy and implementation. It is also time to utilise the experiences from Brazil to seriously consider the mass production of high yielding feedstock such as energy cane using modern agri-technologies and create a new bioeconomy for the country, while addressing the environmental concerns. It has the potential to change the overall outlook of sugar-ethanol production in India. Moreover, high volume of bio-residue, i.e., bagasse, press mud, agri-feedstock produced in this process can supplement the 2G ethanol and Compressed Biogas programmes. As per certain estimates energy cane produced in one hectare has a potential to yield about 18,000 litres of ethanol with right mix of 1G and 2G programmes.

An imaginatively formulated and implemented programme with right mix of plant based 1G ethanol and agri-residue based 2G ethanol programme has the potential to enable the country to achieve the target of 20 per cent ethanol blend in petrol earlier than targeted. However, any such programme must be independent of traditional fuel price benchmarking and will need a mandatory blending regime to be successful, before it fully integrates with the fuel economy of the country and becomes a tradition as is the case with Brazil.

The writer is a former Indian Trade Service officer and currently engaged in biofuel sector development. Views expressed are personal.

37


Bioenergy News

“ไฟเบอร์​์อ้​้อย” ความต้​้องการพุ่​่� ง ต่​่อยอด นวั​ัตกรรมมู​ูลค่​่าสู​ูง Rising Demand for “Sugarcane Fiber” for High Value Innovations

while the BIO included more business types and 5-year tax exemption.

เบอร์​์อ้​้อยกำำ�ลั​ังเป็​็นที่​่�ต้​้องการของ “โรงงานสิ่​่�ง ไฟ ทอ กระดาษ พลั​ังงานทดแทน” แห่​่ซื้​้�อทั้​้�งชาน อ้​้อย แกลบ กาบใบ ดั​ันราคาแตะตั​ันละ 1,000 บาท

หวั​ังวิ​ิจั​ัยต่​่อยอดเป็​็นเส้​้นใยผลิ​ิตเสื้​้�อผ้​้า กระดาษ และ เชื้​้อ� เพลิ​ิง พร้​้อมผลั​ักดั​ันขายเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ ด้​้านสำำ�นักั งา นอ้​้อยฯ ชี้​้ไ� ฟเบอร์​์ยังั ไม่​่ใช่​่ผลพลอยได้​้อ้อ้ ยตามกฎหมาย ลุ้​้�นกรรมาธิ​ิการแก้​้ พ.ร.บ.อ้​้อยฯ จะตี​ีความให้​้ได้​้หรื​ือไม่​่ แต่​่พร้อ้ มหนุ​ุนในแผน BCG ขณะที่​่�บีโี อไอเพิ่​่�มประเภท กิ​ิจการและยกเว้​้นภาษี​ีให้​้ 5 ปี​ี นายนราธิ​ิป อนั​ันตสุ​ุข หั​ัวหน้​้าสำำ�นั​ักงานสหพั​ันธ์​์ ชาวไร่​่อ้​้อยแห่​่งประเทศไทย และหั​ัวหน้​้าสำำ�นั​ักงานสมาคม ชาวไร่​่อ้​้อย เขต 7 เปิ​ิดเผย ว่​่า ขณะนี้​้�พบมี​ีหลายโรงงาน และในหลายกลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรม อาทิ​ิ อุ​ุตสาหกรรมสิ่​่�งทอ อุ​ุตสาหกรรมกระดาษ และอุ​ุตสาหกรรมพลั​ังงานทดแทน มี​ี การไล่​่ซื้อ้� ชานอ้​้อย แกลบ ใบแห้​้ง เพื่​่�อเป็​็นวัตั ถุ​ุดิบิ ในการทำำ� ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ต่า่ ง ๆ เช่​่น เส้​้นใยอ้​้อยไปทำำ�เสื้​้อ� ผ้​้า เยื่​่�อกระดาษ และใช้​้เป็​็นวัสั ดุ​ุทดแทนพลาสติ​ิก รวมถึ​ึงพลั​ังงานเชื้​้อ� เพลิ​ิงเพิ่​่�ม มากขึ้​้�น ซึ่​่�งอาจเป็​็นผลมาจากความต้​้องการที่​่�จะสร้​้างมู​ูลค่​่า ให้​้กับั ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ และต้​้องการนำำ�วัสั ดุ​ุเหลื​ือใช้​้จากธรรมชาติ​ิ กลั​ับมาสร้​้างผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ใหม่​่ ๆ ในตลาดเพื่​่�อการแข่​่งขั​ัน และ เพิ่​่�มทางเลื​ือกให้​้กั​ับผู้​้�บริ​ิโภค สอดคล้​้องกั​ับในช่​่วง 3-4 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมาจากสถานการณ์​์ ของปริ​ิมาณอ้​้อยที่​่�ลดลงต่​่อเนื่​่�อง ขณะที่​่�โรงงานน้ำำ��ตาลทราย ยั​ังคงมี​ีกำำ�ลั​ังการผลิ​ิตเท่​่าเดิ​ิม โดยเฉพาะฤดู​ูกาลผลิ​ิตปี​ี 2563/2564 ที่​่�คาดว่​่าจะมี​ีอ้​้อยเข้​้าหี​ีบไม่​่เกิ​ิน 70 ล้​้านตั​ัน เท่​่านั้​้�น หลายโรงงานไม่​่เพี​ียงจะนำำ�ชานอ้​้อย หรื​ือไฟเบอร์​์ เหล่​่านี้​้�ให้​้เป็​็นพลังั งาน แต่​่ยังั มี​ีการขายไฟเบอร์​์เหล่​่านี้​้�ให้​้กับั อุ​ุตสาหกรรมอื่​่น� ๆ ด้​้วยเช่​่นกันั เพื่​่�อเพิ่​่�มรายได้​้ “โดยหลั​ักแล้​้ว อ้​้อยจะมี​ีส่ว่ นที่​่�เป็​็นไฟเบอร์​์เหลื​ือจากโรงงานน้ำำ��ตาล ตอนนี้​้�ก็​็ จะมี​ีโรงงานอุ​ุตสาหกรรมอื่​่น� เข้​้ามาไล่​่ซื้อ้� เพราะเขาจะเอาไปใช้​้ ในอุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่�อง อย่​่างเยื่​่�อกระดาษมี​ีการศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัย มานาน เดิ​ิมก็​็ใช้​้ต้​้นยู​ูคาลิ​ิปตั​ัส ตอนนี้​้�ไฟเบอร์​์จากอ้​้อยต่​่าง ๆ ก็​็มาเป็​็นทางเลื​ือกพวกกลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรมซื้​้�อจากโรงงาน น้ำำ��ตาลก็​็ได้​้ ซื้​้�อจากชาวไร่​่อ้​้อยก็​็ได้​้” อย่​่างไรก็​็ตาม ในเมื่​่�อไฟเบอร์​์คื​ือสิ่​่�งที่​่�มี​ีมู​ูลค่​่าต่​่อไปยั​ัง อุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่�องได้​้อีกี มาก รั​ัฐควรที่​่�จะเข้​้ามาสนั​ับสนุ​ุน ให้​้มี​ีการซื้​้�อขายไฟเบอร์​์จริ​ิงจั​ัง เพื่​่�อที่​่�ผู้​้�ปลู​ูกอ้​้อยจะได้​้มี​ีราย ได้​้ไม่​่เพี​ียงจากการส่​่งอ้​้อยเข้​้าหี​ีบ แต่​่จะยั​ังมี​ีรายได้​้จากการ ขายใบอ้​้อย ส่​่วนที่​่�เหลื​ืออื่​่�น ๆ ให้​้กั​ับอุ​ุตสาหกรรมอื่​่�นได้​้ใช้​้ ประโยชน์​์ พั​ัฒนาไปสู่​่�ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์อื่​่�นเพิ่​่�มได้​้อี​ีก นายวิ​ิฤทธิ์​์� วิ​ิเศษสิ​ินธุ์​์� รองเลขาธิ​ิการสำำ�นั​ักงานคณะ กรรมการอ้​้อยและน้ำำ��ตาลทราย (สอน.) กล่​่าวว่​่า ไฟเบอร์​์

38

จากอ้​้อยก็​็คื​ือ ยอด กาบ ใบ และชานอ้​้อย ปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีการ รั​ับซื้​้อ� หน้​้าโรงงาน 800-1,000 บาท/ตั​ัน ซึ่​่�งในบางครั้​้ง� ก็​็จะมี​ี โรงงานหรื​ือคนไปรั​ับซื้​้อ� ที่​่�ไร่​่ ราคาประมาณ 300-500 บาท/ ตั​ัน และขณะนี้​้�มีหี ลายหน่​่วยงานได้​้เริ่​่ม� ทำำ�การวิ​ิจัยั ใยจากชาน อ้​้อยเอาไปทำำ�เส้​้นใยเพื่​่�อไปทอผ้​้า ซึ่​่�งเบื้​้�องต้​้นนั้​้�น ลั​ักษณะ เส้​้นใยของชานอ้​้อยจะมี​ีลั​ักษณะที่​่�สั้​้�นเกิ​ินไป ปั​ัจจุ​ุบั​ันจึ​ึงยั​ัง ไม่​่เห็​็นการผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ออกมาในเชิ​ิงอุ​ุตสาหกรรม สำำ�หรั​ับมาตรการสนั​ับสนุ​ุนจากทางภาครั​ัฐนั้​้�น อุ​ุตสาหกรรม น้ำำ��ตาลทรายจะเข้​้ากั​ับนโยบายเศรษฐกิ​ิจ BCG อย่​่างมาก ที่​่�ประกอบด้​้วย เศรษฐกิ​ิจชี​ีวภาพ (bio economy) การนำำ� ผลผลิ​ิตทางการเกษตรมาเพิ่​่�มมู​ูลค่​่าให้​้กั​ับสิ​ินค้​้า เศรษฐกิ​ิจ หมุ​ุนเวี​ียน (circular economy) การเปลี่​่�ยนของเสี​ียจาก การผลิ​ิตกลั​ับมาใช้​้ให้​้เกิ​ิดประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุด เศรษฐกิ​ิจสี​ีเขี​ียว (green economy) ซึ่​่�งปกติ​ิ ชานอ้​้อยจะนำำ�ไปใช้​้เป็​็นเชื้​้อ� เพลิ​ิงทำำ�ไอน้ำำ��เพื่​่�อ ใช้​้ในกระบวนการผลิ​ิต และที่​่�เหลื​ือก็​็จะไปทำำ�ไฟฟ้​้าชี​ีวมวล ในระบบจะไม่​่มี​ีเหลื​ือทิ้​้�ง จึ​ึงเป็​็นที่​่�มาว่​่าชาวไร่​่อยากจะเอา กากอ้​้อยนี้​้�คิ​ิดเป็​็นผลพลอยได้​้ของระบบ จะได้​้เงิ​ินค่​่าอ้​้อย เพิ่​่�ม ประเด็​็นนี้​้�ก็​็กำำ�ลั​ังอยู่​่�ในการหารื​ือกั​ันในกรรมาธิ​ิการ วิ​ิสามั​ัญร่​่าง พ.ร.บ.อ้​้อยและน้ำำ�� ตาลทรายในสภาขณะนี้​้� ดั​ัง นั้​้�นแล้​้ว ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นไฟเบอร์​์ ชานอ้​้อย กากอ้​้อย ยั​ังไม่​่นั​ับ เป็​็นผลพลอยได้​้ในระบบอ้​้อยน้ำำ��ตาล จนกว่​่า พ.ร.บ.อ้​้อยฯ จะแล้​้วเสร็​็จ และออกมาเป็​็นอย่​่างไร ตอนนี้​้�ผลพลอยได้​้ใน ระบบจะมี​ีตั​ัวเดี​ียวคื​ือ กากน้ำำ��ตาลเท่​่านั้​้�น.

C

urrently, cane fiber is being needed by “textile, paper and alternative energy industries” because many factories are buying bagasse, husk and leaf cladding until the price reached 1,000 Thai Baht per ton. Such industries are hoping to produce, out of the fiber, clothes, paper and energy, apart from selling it commercially. Office of the Cane and Sugar Board (OCSB) explained that the fiber was not a legal by-product as it was expecting the commission to amend the national act on sugarcane and supporting the BCG plan

Mr. Narathip Anantasuk, the chief of the Cane Grower Association of Thailand and the Office of Cane Grower Association Area 7, said that various industries, namely textile, paper and alternative energy, were currently buying bagasse, husk and dry cane leaf cladding as raw materials for many products, such as clothes, paper tissue and plastic substitutes. This resulted from needs to add more values to those products and re-use of some new materials in the present market for business competition and more options for consumers. In response to the recent decrease of cane while production power of granulated sugar remains the same, especially between 2020 and 2021, no more than 70 tons of cane are to be extracted, so many sugar mills transformed bagasse and cane fiber as a new source of energy. At the same time, they sell some cane fiber to other types of industries. For example, paper, which was previously made of eucalyptus, is now being made of sugarcane fiber and factory owners can buy the raw material directly from sugar mills. Nevertheless, since sugarcane fiber will be valuable for many industries in the future, the government should encourage purchasing and selling it seriously so that cane growers earn more besides sending cane for extraction at sugar mills alone. The Deputy Secretary General of the OCSB Mr. Wirit Wisetsin explained that the sugarcane fiber normally came from the top of the plant, leaf cladding, leaf itself and bagasse. Now, the price of selling them at the factory is between 800 and 1,000 Thai Baht. Sometimes, sugar mills send their staff to buy the fiber at the farm itself. In this case, the price will be from 300 to 500 Thai Baht. A lot of organizations are researching on sugarcane fiber which may be able to produce textile. Basically, the sugarcane fiber looks too short, so it can not be used in the industry right now. In terms of governmental support, the sugar industry will be included in the BCG economic plan which comprises bio economy, circular economy and green economy. All of them stand for using agricultural business to add more values to other products and transform waste into more useful materials. Normally, bagasse will be used for steam energy and biomass electricity generation, so nothing is left. That is why sugarcane growers would like to add more value to the bagasse so that they earn more. This issue is being discussed for the draft of the national act of cane and sugar right now. As a result, cane fiber and bagasse are not regarded as the official by-product of cane and sugar in Thailand until the national act is implemented. Only molasses are the official by-product of cane at present.

www.sugar-asia.com


Research News

นั​ักวิ​ิจั​ัยไทย พั​ั ฒนาวิ​ิธี​ีการเร่​่งการสุ​ุก-แก่​่ เพิ่​่� มความหวานอ้​้อย Thai Researchers to Boost Sugarcane Ripening Accelerated and Sweetness

ศ.ดร.พี​ีระศั​ักดิ์​์� ฉายประสาท คณบดี​ีคณะเกษตรศาสตร์​์ ทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิ และสิ่​่�งแวดล้​้อม มหาวิ​ิทยาลั​ัย นเรศวร เปิ​ิดเผยงานวิ​ิจั​ัยที่​่�ทำำ�ร่​่วมกั​ับสำำ�นั​ักงานคณะ กรรมการอ้​้อยและน้ำำ��ตาลทราย เรื่​่�อง การพั​ัฒนาวิ​ิธี​ี การเร่​่งการสุ​ุก-แก่​่ของอ้​้อยเพื่​่�อเพิ่​่�มผลผลิ​ิตน้ำำ��ตาล ต่​่อไร่​่ให้​้สู​ูงขึ้​้�น ภายใต้​้ทุ​ุนจากสำำ�นั​ักงานการวิ​ิจั​ัยแห่​่ง ชาติ​ิ (วช.) จากสถานการณ์​์อ้อ้ ยเมื่​่�อปี​ี 62/63 ประเทศไทยมี​ีพื้นที่​่ ้� � ปลู​ูกอ้​้อยรวม 11,959,140 ไร่​่ ลดลงจากปี​ี 61/62 จำำ�นวน 276,934 ไร่​่ และในฤดู​ูการผลิ​ิต 63/64 คาดผลผลิ​ิตจะต่ำำ�� กว่​่าปี​ี 62/63 เป็​็นผลสื​ืบเนื่​่�องมาจากประสบปั​ัญหาภั​ัยแล้​้ง ที่​่�รุ​ุนแรงและภาวะฝนทิ้​้�งช่​่วง ในช่​่วงเวลาเพาะปลู​ูกส่​่งผลให้​้ อ้​้อยมี​ีคุ​ุณภาพต่ำำ�� ผลผลิ​ิตต่​่อตั​ันอ้​้อยลดลง และในฤดู​ูการ ผลิ​ิตปี​ี 63/64 กำำ�หนดราคาอ้​้อยขั้​้�นต้​้นฤดู​ูการผลิ​ิตในอั​ัตรา ตั​ันละ 920 บาท ณ ระดั​ับความหวานที่​่� 10 ซี​ี.ซี​ี.เอส. และ กำำ�หนดอั​ัตราขึ้​้�น/ลง ของราคาอ้​้อยเท่​่ากั​ับ 55.20 บาทต่​่อ ตั​ัน (คำำ�นวณจาก 6% ของราคาอ้​้อยขั้​้�นต้​้น) ต่​่อ 1 หน่​่วย ซี​ี.ซี​ี.เอส. อ้​้อยที่​่�ตัดั ได้​้ในช่​่วงฤดู​ูต้​้นหีบี มี​ีคุณ ุ ภาพความหวาน ที่​่�ต่ำำ��กว่​่า 10 C.C.S. ส่​่งผลทำำ�ให้​้โรงงานน้ำำ�� ตาลสามารถหี​ีบ สกั​ัดน้ำำ��ตาลต่​่อตั​ันอ้อ้ ยได้​้น้อ้ ย บวกกั​ับค่​่าเงิ​ินบาทที่​่�แข็​็ง และ ราคาน้ำำ��ตาลทรายในตลาดโลกตกต่ำำ�� ส่​่งผลกระทบต่​่อราคา อ้​้อยในฤดู​ูการผลิ​ิตที่​่�จะถึ​ึงทำำ�ให้​้เกษตรกรชาวไร่​่อ้อ้ ยมี​ีรายได้​้ที่​่� ลดลง ดั​ังนั้​้�น หากมี​ีวิธีิ กี ารเพิ่​่�มผลผลิ​ิตและคุ​ุณภาพของอ้​้อย ให้​้แก่​่เกษตร โดยการทำำ�ให้​้คุ​ุณภาพความหวานมี​ีค่​่าสู​ูงกว่​่า 10 C.C.S. เกษตรกรจะมี​ีรายได้​้ เพิ่​่�มขึ้​้�น ในปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีสารเคมี​ีที่​่�ช่​่วยให้​้ต้​้นอ้​้อยสุ​ุกพร้​้อมกั​ัน อย่​่างสม่ำำ��เสมอ และยั​ังสามารถเพิ่​่�มคุ​ุณภาพความหวานหรื​ือ ปริ​ิมาณน้ำำ�� ตาลในอ้​้อยได้​้ รวมถึ​ึงการใช้​้เทคโนโลยี​ีสมั​ัยใหม่​่ มาช่​่วยฉี​ีดพ่​่นสาร โดยคณะวิ​ิจัยั ได้​้นำำ�วิ​ิธีกี ารฉี​ีดพ่​่นสารเคมี​ี ด้​้วยโดรน มาช่​่วยฉี​ีดพ่น่ สารเคมี​ีชนิ​ิดต่า่ ง ๆ ได้​้แก่​่ สารไตร เนกซาแพก-เอทิ​ิล โพรพาควิ​ิซาฟอบ อิ​ิมาซาพิ​ิค+อิ​ิมาซาเพ อร์​์ และ ปุ๋​๋�ยสู​ูตร 0-0-60 เพื่​่�อเพิ่​่�มความหวานให้​้แก่​่อ้​้อย 3 สายพั​ันธุ์​์� ได้​้แก่​่ ขอนแก่​่น 3 LK-92-11 และอู่​่�ทอง 12 ใน ช่​่วงที่​่�อ้​้อยอายุ​ุ 8 เดื​ือน จากงานวิ​ิจัยั พบอ้​้อย 3 สายพั​ันธุ์​์�ทั้​้ง� อ้​้อยปลู​ูกและอ้​้อย ตอตอบสนองต่​่อสารเร่​่งการสุ​ุกแก่​่เป็​็นอย่​่างมาก โดยการฉี​ีด พ่​่นปุ๋​๋�ย 0-0-60 อั​ัตรา 150 และ 300 กรั​ัมต่​่อไร่​่ เหมาะสม www.sugar-asia.com

ต่​่อการเพิ่​่�มคุ​ุณภาพความหวานของอ้​้อยทำำ�ให้​้เกษตรกรมี​ีราย ได้​้เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�น นอกจากนี้​้�ต้​้นทุ​ุนการใช้​้ปุ๋​๋�ย 0-0-60 ถู​ูกกว่​่า การฉี​ีดพ่​่นสารชนิ​ิดอื่​่�น ๆ มี​ีค่​่าสารเคมี​ีอยู่​่�ที่​่� 17.50-33.30 บาทต่​่อไร่​่ จากผลงานวิ​ิจั​ัยดั​ังกล่​่าวทำำ�ให้​้มี​ีการนำำ�ปุ๋​๋�ยสู​ูตร 0-0-60 ไปใช้​้เพื่​่�อเพิ่​่�มคุ​ุณภาพความหวานในแปลงปลู​ูกอ้​้อย ของเกษตรกรในเขตภาคเหนื​ือตอนล่​่างและภาคตะวั​ันออก เฉี​ียงเหนื​ือเป็​็นจำำ�นวนมาก เนื่​่�องจากอ้​้อยพั​ันธุ์​์�ขอนแก่​่น 3 เป็​็นพั​ันธุ์​์�ที่​่�เกษตรกรนิ​ิยมปลู​ูกและมี​ีการตอบสนองต่​่อการ ฉี​ีดพ่​่นปุ๋​๋�ยสู​ูตร 0-0-60 เป็​็นอย่​่างดี​ี การวิ​ิจั​ัยดั​ังกล่​่าวนอกจากจะเข้​้ามาช่​่วยแก้​้ปั​ัญหาให้​้ แก่​่เกษตรกรชาวไร่​่อ้​้อย นำำ�ไปสู่​่�การเพิ่​่�มพื้​้�นที่​่�ในการเพาะ ปลู​ูก สร้​้างรายได้​้ให้​้แก่​่เกษตรกร และนำำ�พาภาคการเกษตร ไปสู่​่�ความเป็​็น Smart Farming จากเกษตรแบบดั้​้�งเดิ​ิมไป สู่​่�การเกษตรสมั​ัยใหม่​่ ที่​่�ใช้​้นวั​ัตกรรมและเทคโนโลยี​ีที่​่�ดี​ีใน การจั​ัดการการผลิ​ิต.

shortage of rains. The initial price of cane in the present period is 920 Thai Baht per ton at the sweetness level of 10 C.C.S. and the up/down rates of cane prices are equal to 55.20 Thai Baht per ton (Calculated from 6% of the cane initial price) per a unit of C.C.S. Cane harvested during the start of extraction had sweetness as low as 10 C.C.S., resulting in less extraction per a ton of cane at a sugar mill. Besides, the strong Thai Baht and the low price of sugar in the world market affected prices of cane in the upcoming production period, thus making cane growers earn less at the same time. As a result, increasing the number of products and boosting cane quality by making sweetness of cane to more than 10 C.C.S. will enable cane growers to earn more. At present, a lot of chemical substances can promote Ripening Accelerated of all cane and increase sweetness or sugar amount in cane. This includes using modern technology to spray the chemical substances as the researcher introduced spraying them with a drone. The chemical substances presently used are Trinexapac-Ethyl, Propakwisafob, Imazapik + Imazapur and 0-0-60 formula fertilizer as they can boost sweetness among 3 species of cane, namely Khon Kaen 3, Lk-92-11 and U-thong, particularly when they are 8 months old. According to the research, the 3 species of cane responded well with the substances. 150 and 300 grams of 0-0-60 formula fertilizer was sprayed throughout a Rai land. The fertilizer is ideal for increasing sweetness of cane and is cheaper than other chemical substances. The chemical value is between 17.50 and 33.30 Thai Baht per Rai land. As a result, following the research, the fertilizer is widely used in the lower part of the north and the northeast of Thailand because the Khon Kaen 3 is favored by local cane growers and responds effectively with the 0-0-60 formula fertilizer.

A

sst. Prof. Dr. Pheerasak Chaiprasart, the dean of Faculty of Agriculture, Natural Resources and Environment, Naresuan University, has recently talked about his research work being done in conjunction with Office of the Cane and Sugar Board (OCSB). The research, carried out under a grant of the National Research Agency (NRA), concerns how to promote maturation of sugarcane to increase more amount of sugar per a Rai land. In 2019 and 2020, Thailand saw a total of 11,959,140 Rai lands where cane was planted, the number of which decreased to 276,934 Rai lands in comparison to 2018/2019. It is expected that, in the present period of 2020/2021, the number of products will be lower than the last period due to severe drought and prolong

The above-mentioned research will solve problems among local cane growers besides increasing more plantation areas of cane, boosting income among cane growers and eventually transforming Thai agricultural sector to smart farming. In other words, it will change traditional agriculture to a modernized one which makes use of effective innovation and technology for production management.

39


THAILAND’S LARGEST

Research News

PALM OIL TECHNOLOGY EVENT! 11th Edition of

T H A I L A N D

2021

1-2 DECEMBER 2021 CO-OP Exhibition Centre, Suratthani, Thailand

HOSTED BY :

Thai Oil Palm & Palm Oil Association

ENDORSED & SUPPORTED BY :

Thai Palm Oil Refinery Thai Palm Oil Crushing Asia Palm Oil Thai Biodiesel Producer Association Mill Association Technology Association Association

SILVER SPONSOR BY :

40

Niverplast B.V.

OFFICIAL MEDIA :

CONFERENCE BY :

Asia Palm Oil Magazine

JuzTalk Thailand

ORGANIZED BY :

Ministry of Agriculture and Cooperatives

Office of Agricultural Economics

Department of Agriculture

Department of Agricultural Extension

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group

Incorporating :

2021

CALL FOR MORE INFORMATION Tel : (+66) 2 513 1418 Email : thai@asiafireworks.com www.sugar-asia.com www.thaipalmoil.com


Thailand

In Conjunction With :

UGAR S 2021

3 rd Edition

THAILAND 2021

Conference

9-10 SEPTEMBER 2021 KHONKAEN INTERNATIONAL CONVENTION & EXHIBITION CENTER (KICE), KHONKAEN, THAILAND The registrations for Thailand Sugar Conference 2021 are now open! Register now and benefit from Early Bird Rates until 1 April 2021. Group discounts 35% Off are available to groups of 3 or More delegates. MEET OUR KEYNOTE SPEAKERS

“WHY YOU SHOULD ATTEND” Annual Meeting Point For Sugar Industry Players In Thailand And South-East Asia

Mr.Siwa Pothitapana Expert in Cane and Sugar Industry Policy and Development of Office of the Cane and Sugar Board (OCSB),Thailand Topic: An Overview of the Thailand Sugar and Downstream Industry

Discover New Opportunities For Business Networking, Participants May Come From A Range of Industries And Functions, The Program Will Benefit Senior Professionals.

Mr.Rangsit Hiangrat Director General of Thai Sugar Millers Corporation Limited (TSMC) Topic: Challenges Time of Thailand’s Cane and Sugar Industries : Crisis and Opportunities

Conference Sessions And Keynote Speaking Presentations From A Leading Expert.

2

DAYS

+100 Supported By :

Office of the Cane and Sugar Board

Thai Sugar Millers Corporation Limited

Conference By :

Official Media :

Organized By :

JuzTalk (Thailand)

Sugar Asia Magazine

Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group

2 Days For A Mixture Of Industry Strategic And Refinerty Visit. 100+ Attendees From Sugar And Bioethanol Industry Players.

(+66) 2513 1418 Ext.110

thai@juz-talk.com

www.sugar-conference.com


Regional News

ProPak Asia 2021 – รู​ูปแบบไฮบริ​ิด

ตอบครบทุ​ุกปั​ัญหาของอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตและบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ การกลั​ับมาของงานแสดงสิ​ินค้​้าอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตและ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ครั้​้�งสำำ�คั​ัญของเอเชี​ีย PROPAK ASIA 2021 – HYBRID EDITION TOTAL SOLUTIONS FOR PROCESSING AND PACKAGING INDUSTRIES The Premier Processing & Packaging Event for Asia Returns Physical Exhibition

15 – 18 กั​ันยายน 2564 ณ ศู​ูนย์​์นิ​ิทรรศการและการประชุ​ุมไบเทค บางนา

Virtual Exhibition

9 – 23 มิ​ิถุ​ุนายน 2564 บนเว็​็บไซต์​์

15 – 18 September 2021; BITEC Bangkok

9 – 23 June 2021; Online platform

านแสดงสินค้าอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีด้าน กระบวนการผลิต การแปรรูป และบรรจุภณ ั ฑ์ แห่ง ภูมิภาคเอเชีย หรือ ProPak Asia เป็นงานจัดแสดง สินค้าชั้นน�ำดา้ นการผลิต แปรรูป และบรรจุภณ ั ฑ์จาก หลายกลุม่ อุตสาหกรรม เช่นอุตสาหกรรมอาหาร เครื่อง ดื่ม เภสัชกรรม เครอื่ งส�ำอาง และสินค้าอุปโภคบริโภค โดยเปิดพื้นทีใ่ ห้บริษทั และผูซื้​้ อจากทัว่ โลกได้มาเจอกัน ทั้งในโลกออฟไลน์และออนไลน์ ProPak Asia ครั้​้ง� ที่​่� 29 นี้​้�กลั​ับมาในฐานะงานจั​ัดแสดง สิ​ินค้​้าด้​้านอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิต แปรรู​ูป และบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ครั้​้�งสำำ�คั​ัญของภู​ูมิ​ิภาคเอเชี​ีย โดยยั​ังคงมุ่​่�งมั่​่�นที่​่�จะสรรหา เครื่​่�องจั​ักรและเทคโนโลยี​ีที่​่�ล้ำำ��สมั​ัย พร้​้อมทั้​้�งการแก้​้ปั​ัญหา ในเชิ​ิงนวั​ัตกรรมมานำำ�เสนอ และในปี​ีนี้​้� งาน ProPak Asia ได้​้จั​ัดขึ้​้�นในรู​ูปแบบไฮบริ​ิด เพื่​่�อนำำ�เสนอการจั​ัดนิ​ิทรรศการ ในรู​ูปแบบปกติ​ิและออนไลน์​์ไปพร้​้อมๆ กั​ัน ซึ่​่�งมาภายใต้​้ธีมี “เชื่​่�อมโยงทุ​ุกความสำำ�เร็​็จ” ผู้​้�ที่​่�สนใจสามารถเข้​้าชมงานในรู​ูปแบบปกติ​ิได้​้ตั้​้�งแต่​่ วั​ันที่​่� 15 – 18 กั​ันยายน 2564 ณ ศู​ูนย์​์นิ​ิทรรศการและ การประชุ​ุมไบเทค ภายในงานผู้​้�เข้​้าชมสามารถมาพบปะ สร้​้างความสั​ัมพั​ันธ์​์กั​ับคู่​่�ค้​้า ทั้​้�งยั​ังได้​้เห็​็นผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ในแบบ ของจริ​ิง ขณะเดี​ียวกั​ัน ยั​ังสามารถเจอกั​ับผู้​้�จั​ัดแสดงงานจาก ต่​่างชาติ​ิได้​้อีกี ด้​้วยในบริ​ิเวณ Hybrid Pavilion ซึ่​่�งเป็​็นพื้​้นที่​่ � ที่​่� � จั​ัดไว้​้สำำ�หรั​ับการติ​ิดต่อ่ พู​ูดคุ​ุยออนไลน์​์ เพื่​่�อเป็​็นการต่​่อยอด โอกาสทางธุ​ุรกิ​ิจในอี​ีกแบบหนึ่​่�ง นอกจากนี้​้� ยั​ังสามารถเข้​้าร่​่วมงานแบบดิ​ิจิ​ิทั​ัลได้​้ใน นิ​ิทรรศการจั​ัดแสดงงานออนไลน์​์ ซึ่​่�งจะจั​ัดขึ้​้�นตั้​้�งแต่​่วั​ันที่​่� 9 – 23 มิ​ิถุ​ุนายน 2564 ที่​่�จะมอบประสบการณ์​์การเข้​้า ชมงานแบบออนไลน์​์ได้​้ตรงกั​ับความต้​้องการ ไม่​่ว่า่ จะเข้​้ามา ค้​้นหา หรื​ือเชื่​่อ� มโยงหาผู้​้�ประกอบการรายอื่​่นก็ � ส็ ามารถทำำ�ได้​้ บนโลกออนไลน์​์ ผู้​้�เข้​้าชมนิ​ิทรรศการจะได้​้พบกั​ับโลกดิ​ิจิ​ิทั​ัล ของอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตและบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ได้​้ในที่​่�นี่​่� ProPak Asia มุ่​่�งมั่​่�นที่​่�จะก้​้าวข้​้ามความท้​้าทายที่​่�โลก กำำ�ลังั เผชิ​ิญ และผลั​ักดั​ันให้​้อุตุ สาหกรรมการผลิ​ิตและบรรจุ​ุ ภั​ัณฑ์​์ก้า้ วไปในอนาคตได้​้ โดยมี​ีปั​ัจจั​ัยที่​่�สำ�คั ำ ญคื​ื ั อ สิ​ินค้า้ ที่​่�มี​ี คุ​ุณภาพและการแก้​้ปั​ัญหาที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ เพื่​่�อตอบรั​ับกั​ับ ประชากรที่​่�เติ​ิบโตเพิ่​่�มขึ้​้น� รวมถึ​ึงการเป็​็นมิติ รกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม ด้​้วยวิ​ิถีแี บบดิ​ิจิติ อล และด้​้วยความสั​ัมพั​ันธ์อั์ นั แข็​็งแกร่​่งและ การสนั​ับสนุ​ุนที่​่�ดี​ีจากผู้​้�มี​ีส่​่วนเกี่​่�ยวข้​้อง ทั้​้�งสมาคม สถาบั​ัน และผู้​้�เชี่​่�ยวชาญเฉพาะทางในอุ​ุตสาหกรรม ภายในงานยั​ังมี​ี การประชุ​ุมและสั​ัมมนาที่​่�จะให้​้ไอเดี​ียใหม่​่ๆ ไปจนถึ​ึงเทรนด์​์

42

ของอุ​ุตสาหกรรม รวมถึ​ึงกิ​ิจกรรมการประชุ​ุมเชิ​ิงปฏิ​ิบัติั กิ าร อื่​่�นๆ อี​ีกมากมาย การเสริ​ิมสร้​้างกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจสตาร์​์ทอั​ัพให้​้แข็​็งแกร่​่งขึ้​้น� ติ​ิด อาวุ​ุธให้​้กั​ับกลุ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจ SMEs และสนั​ับสนุ​ุนส่​่งเสริ​ิมบริ​ิษั​ัท นานาชาติ​ิ ทั้​้�งหมดนี้​้�คื​ือประวั​ัติศิ าสตร์​์ที่​่ไ� ด้​้รับั การพิ​ิสู​ูจน์​์แล้​้ว ของ ProPak Asia ProPak Asia 2021 จะจั​ัดขึ้​้น� ในวั​ันที่​่� 15 – 18 กั​ันยายน 2564 ณ ศู​ูนย์​์นิทิ รรศการและการประชุ​ุมไบเทค กรุ​ุงเทพฯ ตั้​้�งแต่​่เวลา 10.00 – 18.00 น. และงานแสดงสิ​ินค้า้ ออนไลน์​์ ตั้​้�งแต่​่วั​ันที่​่� 9 – 23 มิ​ิถุ​ุนายน 2564

P

roPak Asia 2021, the leading Processing & Packaging trade exhibition for Food, Drink, Pharmaceutical, Cosmetics, and Consumer Products brings together exhibiting companies and buyers from around the world both onsite and online. ProPak Asia is returning in its 29th installment as the Premier Processing & Packaging event of its kind in Asia and continuing in its commitment to provide the industries with the latest advancements in machineries, technologies, and innovative solutions. This year, ProPak Asia offers its Hybrid exhibition presents both physical and virtual exhibitions together; in theme of CONNECT: Bridging the Gap. Visitors can visit physical booths during 15– 18 September 2021 at BITEC to finalize partnerships, strengthen relationships, see productsand demos in real life. Also, in physical exhibition, visitors can interact with international exhibitors via online platform in a designated area - Hybrid Pavilion to continue business opportunity. In addition, visitors can participate digitally on ProPak Asia virtual platform during 9 – 23 June 2021 that tailor experience and specialist needs, allowing to search, discover and connect in the digital world of packaging and processing industries.

ProPak Asia aim to overcome global challenges and driving industry into the future that will require quality products and efficient solutions to feed a growing population and protect the environment digitally. With its strong relationship and support from stakeholders, associations, institutes, and industry leading experts amass industry specific thought-leading conferences, industry trend seminars and technical workshops. Empowering start-ups, arming small-medium enterprises, and boosting multinational corporations is the proven history of ProPak Asia. ProPak Asia 2021 will be held its physical exhibition and hybrid pavilion on 15 - 18 September 2021 at BITEC, Bangkok, from 10am to 6pm; and virtual exhibition on 9 – 23 June 2021. For more information, please visit www. propakasia.com Please also like our Facebook Page: www. facebook.com/BESProPakAsia/

www.sugar-asia.com


Research News

Physical

15-18 SEP 2021

Virtual

9-23 JUNE 2021

Exhibition

Exhibition

BITEC I Bangkok, Thailand

Powered by:

www.propakasia.com

GE BADX E COD PASS X

XX

Pre-registration

Available Now! on our website

www.sugar-asia.com

Health & Safety Standards by

43


Advertisers’ Index

Page 15 CLAAS Regional Center South East Asia Ltd.

www.claas.co.th

Page 1

Page BC

Extreme Power Co., Ltd

John Deere (Thailand) Limited

www.extremepower.co.th

www.deere.co.th

Page 24

Page 40

NAGASAKI KIKI (Thailand) Co., Ltd.

Palmex Thailand 2021

www.psscombine.com

www.thaipalmoil.com

Page 43

Page IFC

ProPak Asia 2021

Samart Kaset-Yon Ltd. Part.

www.propakasia.com

www.samartkasetyon.com

Page 3

Page 9

SB (Thailand) Co.,Ltd.

Sugarex Thailand 2021

www.statec-binder.in.th

www.thaisugarexpo.com

Page 29

Page 41

Tai & Chyun Associates Industries, Inc.

Thailand Sugar Conference 2020

www.taichyun.com.tw

www.sugar-conference.com

"Asia's Only Sugar Industry Ethanol News Magazine !! "

www.sugar-asia.com

Quarterly Publications Available in Bilingual Thai & English Reach Out To Qualified Leader & Key Decision Makers! 12,000+ Copies to be Circulated in Digital and Print Yes, I would like to subscription print edition of: One year (4 issues) for THB 900 / USD 30 Two year (8 issues) for THB 1,800 / USD 60

3 in 1 !!

p e n u fre Sig or a ine f ay gaz tod e-Ma

Print edition, E-Magazine and App edition SUBSCRIPTION PRINT EDITION CONTACT US AT

FBI PUBLICATIONS (THAILAND) :

Call: +66 2 513 1418 ext. 108

:

Fax: +66 2 513 1419

:

thai@fireworksbi.com

:

www.sugar-asia.com


POSITION ‘YOUR BRAND’ IN THE MARKET LEADING SUGAR MEDIA Connect with one of Asia’s largest database of Sugar & Ethanol professionals

www.sugar-asia.com CONTACT US TODAY FOR YOUR DIGITAL MARKETING SOLUTIONS. Sales Advertising

Editorial

T: +66 2513 1418 E: sales.th@fireworksbi.com

T: +66 2513 1418 ext 108 E: editor.th@fireworksbi.com

Follow us on



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.