Sugar Asia Magazine No.27 October - December 2021

Page 1

Vol. 7 No.27 October - December 2021 : TH/EN

www.sugar-asia.com Published By

VEGAPULS 69 Non-Contact Radar Level Measurement Sensor with 80 GHz Technology VEGAPULS 69 เซ็​็นเซอร์​์วั​ัดระดั​ับเรดาร์​์แบบไร้​้สั​ัมผั​ัสพร้​้อมเทคโนโลยี​ี 80 GHz Page 26

www.sugar-asia.com

THB 150 : USD 5


Cut Clean, Cut Green, Cut Samart The SM Harvester Range From Samart : SM-200 Compact, Midi and Giant

Always in Sugar, Samart continues to develop their SM range to meet the needs of the industry. Clean cane is the future and green cut cane is the answer. Our SM harvesters are now more effective in the fight to clean up the industry. More efficient choppers and cleaner systems, emissionized diesel engines and reduced ground compaction from our tracked and multi-wheeled harvesters are just some of the features which provide our customers with the competitive edge they need to succeed. But always with the backing of the Samart team.

Invest in Samart. Invest in Life

www.facebook.com /SAMARTKASETYON I www.samartkasetyon.com


CLAAS QUADRANT EVOLUTION Germany’s top-selling square baler.

Three square balers an impressive line-up. New HD pick-up with two cam tracks. This unique design guarantees maximum torsional resistance and exceptional robustness. Additionally, wear costs have been reduced by increasing the use of highly resilient components borrowed from the CLAAS JAGUAR pick-up and by reworking and strengthening bearings, intake panels and other parts. This has the added bonus of smoother running with reduced noise levels. All QUADRANT models offer many additional benefits: - High throughput - Automatic baling pressure control for very high bale density - High rotor speed for outstanding crop flow - Good tying reliability, thanks to six high-performance knotters with no twine waste - Knife drawer available for all QUADRANT models – now also available for the QUADRANT 4200 - Crop feed systems to suit a variety of needs: ROTO FEED, ROTO CUT, SPECIAL CUT - Innovative bale weighing system for all QUADRANT models

ครบเครื่องเรื่องอัดใบอ้อย ด้วยนวัตกรรมเครื่องอัดใบอ้อยคุณภาพสูง รุ่น ควอดแรนท์ (QUADRANT) จาก คลาส (CLAAS) เครื่องอัดแบบก้อนเหลี่ยม มีให้เลือกสามรุน่ ด้วยกัน เริม่ ต้นทีร่ นุ่ เล็กสุด คือ รุน่ QUADRANT 4200 และ รุ่นที่ใหญ่ขึ้น ได้แก่ 5200 และ 5300 โดยขนาดก้อน ที่อัด คือ 1.20 x 0.70 เมตร และ 1.20 x 0.90 เมตร ตามลำาดับ อัพเกรดใหม่ยกเครื่อง เพื่อเพิ่มกำาลังผลิตและเสริมความ ทนทานเต็มที่ เพื่องานอัดใบอ้อยโดยเฉพาะ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม / For more information: claas-group.com claas.co.th CLAAS.SouthEastAsia @claas_sea CLAAS South East Asia @claas.sea

CLAAS Regional Center South East Asia Ltd. 29 Bangkok Business Center Building 18th FL., Unit 1803, Sukhumvit 63 Road, Kwang Klongton - Nua, Khet Wattana Bangkok 10110, Thailand Phone : +66 272 69 667 ext.115 Fax : +66 272 69 669


www.sugar-asia.com

Kenny Yong Guest Editor Managing Director

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd.

EDITOR’S MESSAGE Editor Managing Director Kenny Yong Publications Manager Rungnapa Manathanakit rungnapa@fireworksbi.com

Editorial Consultants Poontarika Saenrit Board of Directors Kenny Yong Susan Tricia Content Editor Kanvara Srinangyai

Greetings Readers! We are finally into Q4 of the year! Welcome to the final edition for the year for Sugar Asia Magazine, as we look forward to a brighter 2022! With lockdowns ending and vaccinations speeding up rapidly in Thailand, we are all looking forward to finally meeting all our readers face to face at Sugarex Thailand 2022 and SugarTech Indonesia 2022 after 3 difficult years! Our regional Sugar events in Thailand and Indonesia are all slated to run in 2022 allowing us to finally meet up with the Sugar & Ethanol industry again and our Publications team are getting all excited! In this edition we would be exploring the key issues of packaging technology in an interview Mr Josef Lorger, Managing Director of STATEC BINDER GmbH. Great insights from them as they explained, How sugar is packed worldwide with the help of STATEC BINDER machines.

editor.th@fireworksbi.com

Translator Korapat Pruekchaikul Designer Tansit Sachare

Technology has also played an important role during the pandemic, and you would get to catch a glimpse of innovations and technology by CLAAS with a New CLAAS QUADRANT EVOLUTION is Big leap forward for square balers and also measurement sensor tech from VEGA Instruments which VEGAPULS 69 is non-contact radar level measurement sensor with 80 GHz technology. Stay safe and make a date to see us at our Sugarex Thailand (www.thaisugarexpo.com) events in 2022! Cheerios!

Follow us on Sugar Asia Magazine

FBI Publications (Thailand) Promphan 2 Office & Residence, 8th Floor (Office Zone, Room 807) 1 Soi Lat Phrao 3, Lat Phrao Road, Jompol, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand

Tel : (+66) 2513-1418 ext 108 Fax : (+66) 2513-1419 Email : thai@fireworksbi.com

Publisher :

SugarAsiaMag

Sugar Asia Magazine

Sugar TV


YOUR SPECIALIST FOR BAGGING & PALLETIZING OPENMOUTH & FFS bagging machines

ROBOT, PORTAL & HIGH-LEVEL palletizing systems

more than

40

years of experience

more than

1600 successfully installed machines

Thailand branch office SB (Thailand) Co., Ltd. 101 Rama-9 Road Soi 60 Suanluang, Bangkok 10250 Tel.: +66 81 822 9569 attawit.ar@statec-binder.in.th

Global customer service

Reliable and flexible solutions

STATEC BINDER GmbH Industriestrasse 32, 8200 Gleisdorf, Austria Tel.: +43 3112 38580-0 E-Mail: office@statec-binder.com www. statec-binder.com


C

ONTENTS

Vol. 7 No.27 October - December 2021

REGIONAL INDUSTRY NEWS

6

BRR เดิ​ินเครื่​่อ� งผลิ​ิตบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์จากชานอ้​้อย พร้​้อมคว้​้าใบรั​ับรอง “Din Certo” เบิ​ิกทางลุ​ุยตลาดยุ​ุโรป BRR Kicks off Bagasse-Based Packaging Production & Ready to be Certified by Din Certo for Future Business in Europe

8

อิ​ินโดนี​ีเซี​ียวางแผนเพิ่​่ม� ผลผลิ​ิตน้ำำ�� ตาลปี​ี 67 ลดการนำำ�เข้​้าด้​้วยการตั้​้ง� บริ​ิษั​ัทใหม่​่ Indonesia Plans 2024 Sugar Output Boost, Lower Imports with New Firm

9

เวี​ียดนามยั​ังครองเป็​็นผู้​้�นำ�ำ เข้​้าน้ำำ�� ตาลรายใหญ่​่ที่​่สุ​ุ� ดของลาว Vietnam Remains Laos’s Largest Sugar Importer

11

6

8

INTERNATIONAL NEWS ��ตาลทั่​่�วโลกจะเพิ่​่�มสู​ูงตามผลผลิ​ิตในเอเชี​ียและยุ​ุโรปที่​่� 10 เพิ่อุ​ุปทานน้ำำ ่�มขึ้​้�น

Global Sugar Market Grateful for India Supply, Once Viewed as a Threat

12

11

เทคโนโลยี​ีการเกษตรจี​ีนเตรี​ียม ‘มุ่​่�งสู่​่�ปากี​ีสถาน’ Chinese Farm Technologies ‘to Flow into Pakistan’

ยมุ่ง�่ ขั​ับเคลื่​่อ� นแผนงานอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ�� ตาลสู่​่ค� วาม 12 ออสเตรเลี​ี ก้​้าวหน้​้า

Australia Set to Drive Sugar Industry Roadmap Forward

13

ผลผลิ​ิตอ้​้อยของบราซิ​ิลลดลงอย่​่างมากเนื่​่�องจากภั​ัยแล้​้ง Significant Drop in Brazil’s Sugarcane Production due to Droughts

PLANTER CORNER

14

อยยอมรั​ับ SM200 Compact ตอบโจทย์​์ช่​่วยแก้​้ 14 เกษตรกรชาวไร่​่อ้​้ ปั​ัญหาเก็​็บเกี่​่ย� วอ้​้อยในพื้​้น� ที่​่ตั​ั� ดยาก

Samart Cane Harvesters are Helping Farmers in Khao Yai Turn Their Business Around www.sugar-asia.com


SUGAR ASIA MAGAZINE

IN THE HOT SEAT STATEC BINDER 18 โลกอั​ันแสนหวานของ The Sweet World of STATEC BINDER

18

SPECIAL INSIGHT �องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมคลาส QUADRANT EVOLUTION รุ่​่�นใหม่​่ 22 เครื่​่ New CLAAS QUADRANT EVOLUTION 69 เซ็​็นเซอร์​์วั​ัดระดั​ับเรดาร์​์แบบไร้​้สั​ัมผั​ัสพร้​้อม 26 VEGAPULS เทคโนโลยี​ี 80 GHz

VEGAPULS 69 non-contact radar level measurement sensor with 80 GHz technology

ETHANOL NEWS

29

อาจช่​่วยการผลิ​ิตเอทานอลในอิ​ินเดี​ีย ท่​่ามกลางวิ​ิกฤตส 30 E10 ภาพอากาศ

With the Climate Crisis On, E10 Might Be India’s EthanolBlending Sweet Spot

BIOENERGY NEWS ร่​่วมมื​ือ Cargill เผย NatureWorks สร้​้างโรงงานพลาสติ​ิก 32 PTTGC ชี​ีวภาพแบบครบวงจรแห่​่งใหม่​่

32

PTTGC Joins Forces with Cargill to Reveal NatureWorks to Build Giant Biopolymer Plant

RESEARCH NEWS เซลอ้​้อยพลั​ังผลิ​ิตได้​้ปริ​ิมาณมากกว่​่าแต่​่ต้​้นทุ​ุนต่ำำ��ไบโอดี​ีเซล 34 ไบโอดี​ี ถั่​่�วเหลื​ือง Energycane Produces More Biodiesel Than Soybean at a Lower Cost

34

36 ADVERTISERS’ INDEX www.sugar-asia.com


Regional News

BRR เดิ​ินเครื่​่�องผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์จากชานอ้​้อย พร้​้อม คว้​้าใบรั​ับรอง “Din Certo” เบิ​ิกทางลุ​ุยตลาดยุ​ุโรป

BRR Kicks off Bagasse-Based Packaging Production & Ready to be Certified by Din Certo for Future Business in Europe

มจ.น้ำำ��ตาลบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์’ หรื​ือ BRR พร้​้อมเริ่​่�มกดปุ่​่�ม เดิ​ินเครื่​่อ� งจั​ักรผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์จากชานอ้​้อย ป้​้อน Amercare Royal ซึ่​่�งเป็​็น 1 ใน 4 ของผู้​้�นำำ�เข้​้าราย ใหญ่​่ในประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เพื่​่�อส่​่งให้​้แก่​่ลู​ูกค้​้าเชน ร้​้านอาหารชื่​่�อดั​ัง คาดว่​่าจะทยอยผลิ​ิตครบ 4 เครื่​่�อง ในเฟสแรกภายในไตรมาสสุ​ุดท้​้ายปี​ีนี้​้� ก่​่อนที่​่�จะติ​ิดตั้​้�ง เพิ่�ม่ อี​ีก 6 เครื่​่อ� งภายในต้​้นปี​ี 2565 พร้​้อมเปิ​ิดเกม ขยายตลาดยุ​ุโรป นายอนั​ันต์​์ ตั้​้�งตรงเวชกิ​ิจ ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร บริ​ิษั​ัท น้ำำ�� ตาลบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ จำำ�กั​ัด (มหาชน) หรื​ือ BRR เปิ​ิดเผย ว่​่า บริ​ิษั​ัท ชู​ูการ์​์เคน อี​ีโคแวร์​์ จำำ�กั​ัด (SEW) ซึ่​่�งเป็​็นบริ​ิษั​ัท ย่​่อยของ BRR เตรี​ียมผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์จากชานอ้​้อยภายใต้​้ แบรนด์​์ของลู​ูกค้​้า (OEM) ให้​้กั​ับ Amercare Royal ซึ่​่�งใช้​้ กำำ�ลั​ังการผลิ​ิตรวมจำำ�นวน 10 เครื่​่อ� ง รวมกำำ�ลั​ังการผลิ​ิต 10 ล้​้านชิ้​้�นต่​่อเดื​ือน ภายใต้​้สั​ัญญาระยะยาว โดยความคื​ืบหน้​้า โครงการดั​ังกล่​่าวในเฟสแรกจะใช้​้เครื่​่อ� งจั​ักรจำำ�นวน 4 เครื่​่อ� ง เพื่​่�อผลิ​ิตสิ​ินค้​้าป้​้อนความต้​้องการได้​้ภายในไตรมาสสุ​ุดท้​้าย ของปี​ีนี้​้� หลั​ังจากโมลขึ้​้น� แบบผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ในลอตแรกจำำ�นวน 2 ชุ​ุด จะเดิ​ินทางถึ​ึงประเทศไทยและดำำ�เนิ​ินการติ​ิดตั้​้ง� แล้​้วเสร็​็จ ภายในปลายเดื​ือนนี้​้� พร้​้อมเดิ​ินเครื่​่อ� งผลิ​ิตเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ ขณะที่เฟสที่ 2 นั้น คาดว่า SEW ที่จะเข้ามาติดตั้ง ในโรงงานเพิ่มเติมในล�ำดับถัดไป เพื่อรองรับค�ำสั่งซื้อของ คู่ค้าดังกล่าว และคาดว่าจะเริ่มเดินเครื่องจักรเชิงพาณิชย์ ได้ในไตรมาส 1/2565 ในขณะเดียวกัน บริษัท Southern Champion Tray หรือ SCT ได้ไว้วางใจให้บริษัทฯ ด�ำเนิน การผลิตบรรจุภัณฑ์จากชานอ้อยภายใต้ OEM แล้วจ�ำนวน 1 เครื่อง มีความต้องการเพิม่ ไลน์การผลิตสินค้าอีก 1 เครื่อง

6

เพื่อส่งออกไปยังตลาดสหรฐั อเมริกาเพิม่ เติม และเมื่อรวมกบั เครื่องจักรอีก 2 เครื่อง ที่ป้อนความต้องการตลาดภายใน ประเทศแล้ว จะท�ำให้ก�ำลงั การผลิตของ SEW ทีม่ เี ครื่องจักร 14 เครื่อง เดินเครื่องเต็ม 100% ภายในกลางปี 2565 ด้านนายอนันต์ได้เปิดเผยว่า โปรเจกต์ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์จากชานอ้อย ที่บริษัทฯได้ผลักดันให้เป็น New S-Curve สร้างการเติบโตระยะยาวนนั้ ลา่ สุดได้รบั ใบรบั รอง มาตรฐานผลิตภัณฑ์ DinCerto EN13432 จาก DinCerto TUVRheinland ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นการยืนยันมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ภายใน 45 วันและไม่ก่อมลพิษ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ทั้งนี้จะช่วยสร้างโอกาสในการขยาย ตลาดสินค้าไปยังยุโรปเพิ่มเติมในอนาคตได้อีกด้วย

B

uriram Sugar Public Company Limited (BRR) is ready to start production of bagasse-based packaging machinery for Amercare Royal, one of the four major importers in the United States for many leading restaurant chains. Full operation of 4 machines is expected in the first phase of the last quarter this year before 6 more machines are installed at the beginning of 2022 for marketing expansion in Europe.

In terms of the 2nd phase, the SEW will install more machinery to support orders of its partners. The machinery is expected to start commercial operation in the first quarter of 2022. At the same time, Southern Champion Tray Co. Ltd. (SCT) allowed the company to produce, under OEM, bagasse-based packaging products, using one machine with a need to add one more product manufacturing line for an export to the US. In brief, when combined with the other 2 machines that have already supplied the domestic market demand, it will enable SEW’s production capacity with 14 machines to fully operate by the mid of 2022. Mr. Anant also added that the bagasse-based packaging project that the company has pioneered as the new S-curve to create long-term growth had recently received the Din Certo EN13432 product standard certificate from Din Certo TUVRheinland, Germany. Such certificate assures the product’s standard that it is non-polluting, environmentally-friendly and biodegradable within 45 days. Also, receiving the certificate will help expand the company’s business in Europe in the future.

Mr. Anant Tangtongwechakit, BRR’s Chair of Executive Committee, addressed that the Sugarcane Eco Ware (SEW), BRR’s affiliate, was preparing bagasse-based packages under customers’ brand names for Amercare Royale. The production requires a total of 10 machines able to produce 10 million items monthly under a long-term contract. In the first phase, 4 machines will be used to produce all items required by customers by the last quarter this year. After forming molds, 2 sets of products in the first lot will arrive in Thailand and installation will be completed by the end of this month, enabling commercial production to launch.

www.sugar-asia.com


Cellulosic ethanol from agricultural residues THINK AHEAD, THINK SUNLIQUID®

Highly efficient sunliquid is an economic and sustainable process to generate biobased products from lignocellulosic biomass. It opens up new feedstocks not only for fuel, but also for sustainable chemistry from untapped resources – like cellulosic ethanol from straw. www.clariant.com www.sunliquid.com


Regional News

อิ​ินโดนี​ีเซี​ียวางแผนเพิ่​่� มผลผลิ​ิตน้ำำ��ตาลปี​ี 67 ลดการนำำ�เข้​้าด้​้วยการตั้​้�งบริ​ิษั​ัทใหม่​่ Indonesia Plans 2024 Sugar Output Boost, Lower Imports With New Firm

State-owned enterprises (SOE)s minister Erick Thohir visited state-owned sugar company named Industri Gula Glenmore (IGG), owned by state-owned plantation company XII in Banyuwangi, East Java, on Saturday, September 18 2021. He was accompanied by PTPN III president director Muhammad Abdul Gani. Source: State-owned enterprises (SOEs) Ministry/Public relation teams

ษั​ัทเพาะปลู​ูกพื​ืชไร่​่ของรั​ัฐบาล ผู้​้�บอิ​ินริ​ิหโดนี​ีารระดั​ับสู​ูงของบริ​ิ เซี​ียแถลง เมื่​่อวั​ั � นที่​่� 20 กั​ันยายนว่​่าอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย I กำำ�ลั​ังจั​ัดตั้​้ง� บริ​ิษั​ัทที่​่�รั​ัฐควบคุ​ุมสำำ�หรั​ับโรงงานน้ำำ��ตาล และ ตั้​้ง� เป้​้าลดการนำำ�เข้​้าและเพิ่ม่� การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลทรายขาว เป็​็น 1.8 ล้​้านตั​ันภายในปี​ี 2567

ด้​้านหั​ัวหน้​้าผู้​้�บริ​ิหารของบริ​ิษั​ัทฯ นายโมฮัมั หมั​ัด อั​ับดุ​ุล กานี​ี กล่​่าวกั​ับสมาชิ​ิกรั​ัฐสภาอิ​ินโดนี​ีเซี​ียว่​่า โรงงานน้ำำ�� ตาล ภายใต้​้กลุ่​่ม� เพาะปลู​ูกของรั​ัฐหรื​ือ PT Perkebunan Nusantara 3 (PTPN 3) คาดว่​่าจะผลิ​ิตน้ำำ�� ตาลทรายขาวได้​้ 800,000 ตั​ันในปี​ีนี้​้� และภายในปี​ี 2573 การผลิ​ิตตั้​้�งเป้​้าจะขยายเป็​็น 2.6 ล้​้านตั​ัน และทั้​้�งนี้​้�การเพิ่​่�มการผลิ​ิตดั​ังกล่​่าวจะสามารถ ลดการนำำ�เข้​้า ประหยั​ัดการสำำ�รองอั​ัตราแลกเปลี่​่�ยนค่​่าเงิ​ิน ต่​่างประเทศ และมี​ีอาหารในปริ​ิมาณที่​่�พอเพี​ียงเท่​่านั้​้น� นายโมฮั​ัมหมั​ัดยั​ังรายงานว่​่า ขณะนี้​้� PTPN 3 กำำ�ลั​ัง โอนสิ​ินทรั​ัพย์​์ไปยั​ังบริ​ิษั​ัทแห่​่งใหม่​่ ซึ่​่�งจะลงทุ​ุนประมาณ 20 ล้​้านล้​้านรู​ูเปี​ียห์​์ (หรื​ือ 1.40 พั​ันล้​้านดอลลาร์​์) เพื่​่�อขยาย กิ​ิจการ รวมถึ​ึงสำำ�หรั​ับโรงงานน้ำำ��ตาลแห่​่งใหม่​่ด้​้วย บริ​ิษั​ัท PT Perkebunan Nusantara III หรื​ือที่​่�รู้​้�จั​ัก กั​ันดี​ีในชื่​่�อของ PTPN III ซึ่​่�งเป็​็นบริ​ิษั​ัทจั​ัดการปลู​ูกพื​ืชไร่​่ แห่​่งประเทศอิ​ินโดนี​ีเซี​ียที่​่�ได้​้ก่​่อตั้​้�ง SugarCo ซึ่​่�งมี​ีชื่​่�ออย่​่าง เป็​็นทางการว่​่า PT Sinergi Gula Nusantara เมื่​่อวั​ั � นที่​่� 17 เดื​ือน สิ​ิงหาคม โดยมี​ีโรงงานน้ำำ�� ตาล 35 แห่​่ง ซึ่​่�งก่​่อนหน้​้า นี้​้�มี​ีบริ​ิษั​ัทย่​่อยในเครื​ือ PTPN III เจ็​็ดแห่​่งเป็​็นเจ้​้าของอยู่​่� ภายใต้​้การบริ​ิหารงานของบริ​ิษั​ัทใหม่​่ ทั้​้�งนี้​้�รั​ัฐบาลอิ​ินโดนี​ีเซี​ียได้​้แต่​่งตั้​้�ง PTPN III ให้​้เป็​็น ผู้​้�ถื​ือหุ้​้�นของบริ​ิษั​ัทในเครื​ือ PTPN จำำ�นวน 13 แห่​่งในปี​ี 2557 รวมถึ​ึงบริ​ิษั​ัทย่​่อยต่​่างๆ ซึ่​่�งอ้​้างว่​่ามี​ีทรั​ัพย์​์สิ​ินรวมกั​ัน เป็​็นจำำ�นวน 69.3 ล้​้านล้​้านรู​ูเปี​ียห์​์ (ประมาณ 4.86 พั​ัน ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐ) ในระหว่​่างการควบรวมกิ​ิจการนั้​้�นมี​ี ความหลากหลายในด้​้านการนำำ�เสนอผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์และพื้​้�นที่​่� ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการอี​ีกด้​้วย

8

ndonesia is establishing a holding company for state-controlled sugar mills and aims to cut imports and increase production of white sugar to 1.8 million tonnes by 2024, the chief executive of the state plantation company said on Sept 20.

Sugar mills under the state plantation group PT Perkebunan Nusantara 3 (PTPN 3) are estimated to produce 800,000 tonnes of white sugar this year, and by 2030, production is targeted to be expanded to 2.6 million tonnes, chief executive Mohammad Abdul Gani told parliament members. “By increasing production, we can reduce imports, save on forex reserves and reach food

self-sufficiency,” he said. PTPN 3 is currently transferring its assets to the new holding company, which will invest around 20 trillion rupiah ($1.40 billion) for expansion, including for new mills, Gani said. National plantation holding firm PT Perkebunan Nusantara III (PTPN III) established SugarCo, officially named PT Sinergi Gula Nusantara, on Aug. 17 by placing 35 sugar factories – previously owned by seven PTPN III subsidiaries – under the new company. The government appointed PTPN III as the holding entity for 13 PTPN sister companies in 2014. The companies, which claimed combined assets of Rp 69.3 trillion (US$4.86 billion) during their merger, vary in product offering and operating area.

www.sugar-asia.com


Regional News

เวี​ียดนามยั​ังครองเป็​็นผู้​้�นำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่ที่​่�สุด ุ ของลาว Vietnam Remains Laos’s Largest Sugar Importer

V

ietnam remains the biggest sugar importer, third-largest trading partner, and the third biggest foreign investor of Laos, after Thailand and China.

วี​ียดนามยั​ังคงเป็​็นผู้​้�นำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลรายใหญ่​่ที่​่สุ​ุ� ด นอก เหนื​ือจากการเป็​็นคู่​่�ค้​้ารายใหญ่​่อั​ันดั​ับสาม และนั​ัก ลงทุ​ุนต่​่างชาติ​ิรายใหญ่​่อั​ันดั​ับสามของลาว รองจาก ไทยและจี​ีน ข้​้อมู​ูลจากกระทรวงอุ​ุตสาหกรรมและการพาณิ​ิชย์ขอ ์ ง ลาวอ้​้างว่​่าการค้​้าระหว่​่างลาวและเวี​ียดนามยั​ังคงดำำ�เนิ​ินต่​่อไป แม้​้ว่​่าทั้​้ง� สองประเทศกำำ�ลั​ังต่​่อสู้​้�กั​ับการระบาดใหญ่​่ของเชื้​้อ� โค วิ​ิด 19 ในช่​่วงเดื​ือนมกราคมถึ​ึงกั​ันยายนปี​ีนี้​้� มู​ูลค่​่าการส่​่ง ออกน้ำำ��ตาลของลาวรวมอยู่​่�ที่​่� 73.1 ล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐ โดย

www.sugar-asia.com

สิ​ินค้​้าดั​ังกล่​่าวมี​ีมู​ูลค่​่า 61.3 ล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐเมื่​่อส่​่ � งออกไป ยั​ังเวี​ียดนาม นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ีข้อมู​ู ้ ลจากสมาคมน้ำำ�� ตาลและ อ้​้อยของเวี​ียดนามที่​่�ระบุ​ุว่​่าเวี​ียดนามซื้​้�อน้ำำ��ตาล 399,189 ตั​ันจากกั​ัมพู​ูชา ลาว อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย เมี​ียนมาร์​์ และมาเลเซี​ีย ในช่​่วงครึ่​่�งแรกของปี​ี 2564 ซึ่​่�งเป็​็นจำำ�นวนเพิ่​่�มขึ้​้�น 10 เท่​่า เมื่​่�อเที​ียบกั​ับช่​่วงเดี​ียวกั​ันของปี​ีที่​่�แล้​้ว การยกเลิ​ิกโควตานำำ�เข้​้าน้ำำ��ตาลของเวี​ียดนามสำำ�หรั​ับ ประเทศสมาชิ​ิกอาเซี​ียนในปี​ี 2563 ได้​้เปิ​ิดโอกาสให้​้ธุ​ุรกิ​ิจ จากลาวเข้​้าถึ​ึงและตั้​้�งหลั​ักในตลาดของประเทศเพื่​่�อนบ้​้าน ได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี

The newspaper quoted data from the Lao Ministry of Industry and Trade as saying that trade between Laos and Vietnam has been maintained although both nations are struggling with the COVID-19 pandemic. During January-September, the total value of Laos’s sugar exports reached 73.1 million USD, of which 61.3 million USD worth of the product was exported to Vietnam. It also cited data from the Vietnam Sugar and Sugarcane Association as saying that Vietnam purchased 399,189 tonnes of sugar from Cambodia, Laos, Indonesia, Myanmar, and Malaysia in the first half of 2021, a tenfold increase compared to that of the same period last year. According to the article, Vietnam’s removal of sugar import quotas for ASEAN member states in 2020 not only provides a great opportunity for Lao businesses to approach and gain a foothold in the neighboring country’s market.

9


International News

อุ​ุปทานน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกจะเพิ่​่� มสู​ูงตามผลผลิ​ิตในเอเชี​ีย และยุ​ุโรปที่​่�เพิ่​่� มขึ้​้�น Global sugar market grateful for India supply, once viewed as a threat

ตั​ั

วแทนจากบริ​ิษั​ัทสโตนเอ็​็กซ์​์กล่​่าวในรายงานว่​่า มี​ี การคาดการณ์​์ว่​่าอุ​ุปทานน้ำำ��ตาลของโลกจะดี​ีขึ้​้�น ในฤดู​ูกาลผลิ​ิตปี​ี 2564/2565 ที่​่�จะเริ่​่�มต้​้นในเดื​ือน ตุ​ุลาคม 2564 นี้​้� เนื่​่�องจากการผลิ​ิตที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นในทวี​ีป เอเชี​ียและยุ​ุโรปซึ่​่�งจะชดเชยในปี​ีที่​่�ผลผลิ​ิตอี​ีกส่​่วนหนึ่​่�ง ของบราซิ​ิลตกต่ำำ��

ถึ​ึงแม้​้สถานการณ์​์จะดี​ีขึ้​้�นกว่​่าเดิ​ิม แต่​่ในฤดู​ูกาลผลิ​ิต ปั​ัจจุ​ุบั​ันจะยั​ังคงมี​ีอุ​ุปสงค์​์ที่​่�เกิ​ินขี​ีดของการผลิ​ิต เป็​็นปี​ีที่​่�สาม ติ​ิดต่​่อกั​ัน จากรายงานดั​ังกล่​่าวคาดการณ์​์ว่​่าอุ​ุปทานจะขาดดุ​ุล นั้​้น� มี​ีจำำ�นวนถึ​ึง 800,000 ตั​ันในปี​ี 2564/2565 ถ้​้าเที​ียบกั​ับ การขาดดุ​ุล 2.9 ล้​้านตั​ันในปี​ี 2563/2564 ซึ่​่�งหมายความว่​่า ผลผลิ​ิตในคลั​ังจะยั​ังคงลดลงต่​่อไป จากการผลิ​ิตน้ำำ�� ตาลของ ไทยมี​ีปริ​ิมาณเพิ่​่�มขึ้​้�น 39% โดยในฤดู​ูกาลหน้​้า ปริ​ิมาณจะ ขยั​ับมาอยู่​่ที่​่� � 10.5 ล้​้านตั​ัน ในขณะที่​่�อินิ เดี​ียคาดว่​่าจะผลิ​ิตพื​ืช ผลขนาดใหญ่ไ่ ด้​้อี​ีก 31.5 ล้​้านตั​ัน ซึ่​่�งเพิ่​่�มขึ้​้�นจากเดิ​ิม 2% จากช่​่วงเวลาก่​่อนหน้​้านี้​้� เนื่​่�องจากสภาพอากาศโดยรวมใน เอเชี​ีย ที่​่�เอื้​้�ออำำ�นวยต่​่อการเพาะปลู​ูก บริ​ิษั​ัทสโตนเอ็​็กซ์​์ได้​้แถลงว่​่า การผลิ​ิตในอิ​ินเดี​ียจะสู​ูง ขึ้​้น� หากไม่​่ได้​้เปลี่​่ย� นซู​ูโครสเป็​็นเอทานอล ซึ่​่�งเท่​่ากั​ับว่​่าต้​้องใช้​้ น้ำำ��ตาลเที​ียบเท่​่าจำำ�นวนถึ​ึง 3 ล้​้านตั​ัน ด้​้านนั​ักวิ​ิเคราะห์​์รายงานว่​่า ยั​ังคงมี​ีแรงกระตุ้​้�นอย่​่าง เข้​้มข้​้นต่​่อการผลิ​ิตเอทานอลในอิ​ินเดี​ีย โดยโรงงานผลิ​ิตได้​้รั​ับ เงิ​ินเพิ่�ม่ อี​ีกประมาณ 2 ดอลลาร์​์ต่​่อตั​ัน เพื่​่อ� ผลิ​ิตเอทานอล แทนน้ำำ��ตาล ในการประมาณการแรกสำำ�หรั​ับพื​ืชผลในบราซิ​ิล ครั้​้ง� ต่​่อไป ทั้​้ง� นี้​้�บริ​ิษั​ัทสโตเอ็​็กซ์​์คาดการณ์​์ว่​่าพื้​้�นที่​่�ปลู​ูกอ้​้อยใน ตอนกลาง-ใต้​้ของประเทศจะอยู่​่�ที่​่� 565 ล้​้านตั​ัน ซึ่​่�งมากกว่​่า พื​ืชผลในฤดู​ูกาลปั​ัจจุ​ุบั​ันปี​ีนี้​้ที่​่� ไ� ด้​้รั​ับผลกระทบจากภั​ัยแล้​้งและ น้ำำ��ค้า้ งแข็​็งถึ​ึง 6% การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลของบราซิ​ิลยั​ังควรปรั​ับปรุ​ุง ให้​้เพิ่​่�มขึ้​้�น 2% เป็​็นจำำ�นวน 34.2 ล้​้านตั​ัน ในขณะที่​่�ผลผลิ​ิต เอทานอลเพิ่�ม่ ขึ้​้�น 5.5% เป็​็น 29.7 พั​ันล้​้านลิ​ิตร อย่​่างไรก็​็ตาม การเติ​ิบโตของการผลิ​ิตเอทานอลของ บราซิ​ิลเกิ​ิดจากปริ​ิมาณผลผลิ​ิตที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นจากโรงงานแปรรู​ูป ข้​้าวโพด บริ​ิษั​ัทสโตนเอ็​็กซ์​์มองว่​่าการผลิ​ิตเอทานอลจาก ข้​้าวโพดจะเพิ่�ม่ ขึ้​้�นถึ​ึง 12.8% ในปี​ี 2565/2566 (ระหว่​่าง เดื​ือนเมษายน 2565 ถึ​ึงมี​ีนาคม 2566) เป็​็นจำำ�นวนถึ​ึง 4 พั​ันล้​้านลิ​ิตร การผลิ​ิตน้ำำ��ตาลในสหภาพยุ​ุโรปและสหราช อาณาจั​ักรคาดว่​่าจะเพิ่​่�มขึ้​้�นเกื​ือบ 12% ในปี​ี 2564/2565 (ต.ค. 2564-ก.ย. 2565) เป็​็นจำำ�นวนถึ​ึง 17.2 ล้​้านตั​ัน เนื่​่อ� งจากฤดู​ูร้​้อนที่​่�อากาศชื้​้น� ในยุ​ุโรปทำำ�ให้​้ผลผลิ​ิตพื​ืชจำำ�พวก บี​ีทรู​ูทเพิ่​่�มขึ้​้�นด้​้วย

10

I

ndia may be the only country able to fill a looming global supply gap for sugar as the Brazilian crop ends, making the world’s sugar market grateful for the Asian country that was once viewed as a threat to the market’s stability. “Without India filling this gap, from November to March or April, the global sugar market would have a serious problem,” said Paulo Roberto de Souza, the Chief Executive of Alvean Sugar SL, the world’s largest sugar trader. India’s sugar policies, which include large subsidies, have been questioned for years at the World Trade Organization by competitors including Brazil and Australia.

In an interview, Souza said sugar buying is about to increase even as the drought-hit crop in top grower Brazil winds down and costs for the commodity, as well as for ocean freight, have increased sharply. He said thatsugar consuming countries have been heavily reliant on available stocks during the year to avoid paying high shipping and sugar values, adding that those stocks are currently at critically low levels. “Now they have no choice,” he said, expecting an increase on orders in the market that will have to be met by Indian producers, but at a higher price. Sugar prices are near their highest since early 2017 mainly due to poor production in top grower Brazil following drought and frosts. Alvean’s research department does not see much improvement in Brazil next season, expecting a cane crop of around 530 million tonnes and sugar production at around 32-32.5 million tonnes for the center-south region. “The fields have suffered a lot and it seems we will have La Nina next year, which means less rain in the center-south,” Souza said. Alvean projects the global supply deficit to nearly double in 2021/22 (Oct-Sept) from the previous year to up to 6 million tonnes, while it sees global sugar use growing 1.2% in 2021/22 from 0.7% in the previous season as countries further reopen after the pandemic. Souza says sugar prices will have to increase further to attract enough Indian selling to fill the market’s gap. He says Indian sugar export parity -- the equivalent to domestic prices -- is currently around 21 cents per pound, already above New York futures.

www.sugar-asia.com


International News

เทคโนโลยี​ีการเกษตรจี​ีนเตรี​ียม ‘มุ่​่�งสู่​่�ปากี​ีสถาน’ Chinese farm technologies ‘to flow into Pakistan’

ฆษกประจำำ�กระทรวงการต่​่างประเทศของจี​ีน นายเจ้​้า ลี่​่�เจี้​้�ยน ได้​้แถลงเมื่​่อวั​ั � นที่​่� 19 ตุ​ุลาคมนี้​้�ว่​่า เนื่​่อ� งจาก เขตระเบี​ียงเศรษฐกิ​ิจจี​ีน-ปากี​ีสถาน (CPEC) เข้​้าสู่​่� ระยะที่​่�สอง เทคโนโลยี​ีการเกษตรของจี​ีนจะปฏิ​ิบั​ัติติ าม กฎระเบี​ียบของเขตระเบี​ียงเศรษฐกิ​ิจนี้​้แ� ละเดิ​ินหน้​้าเข้​้า สู่​่�ปากี​ีสถาน

จี​ีนจะยั​ังคงสื่​่�อสารอย่​่างใกล้​้ชิ​ิดกั​ับปากี​ีสถานในการ ทำำ�งานเพื่​่อสร้ � า้ งกลไกความร่​่วมมื​ือเชิ​ิงปฏิ​ิบั​ัติที่​่ิ มี� ปี ระสิ​ิทธิ​ิภาพ เพื่​่อส่​่ � งเสริ​ิมการพั​ัฒนาทางเศรษฐกิ​ิจและสั​ังคมและปรั​ับปรุ​ุง คุ​ุณภาพชี​ีวิ​ิตของผู้​้�คนเพื่​่�อสร้​้างชุ​ุมชนจี​ีน – ปากี​ีสถานที่​่�ใกล้​้ ชิ​ิดยิ่​่�งขึ้​้�นด้​้วยอนาคตร่​่วมกั​ันในโลกยุ​ุคใหม่​่นี้​้� รั​ัฐมนตรี​ีว่​่าการกระทรวงความมั่​่�นคงด้​้านอาหารและการ วิ​ิจั​ัยแห่​่งชาติ​ิ นายซาอี​ีด ฟาคาร์​์ อิ​ิหม่​่าม ยั​ังได้​้เน้​้นย้ำำ��ถึ​ึงความ สำำ�คั​ัญของการนำำ�เทคโนโลยี​ีของจี​ีนมาใช้​้เพื่​่อ� ผลลั​ัพธ์​์ทางการ เกษตรที่​่�อุ​ุดมสมบู​ูรณ์​์ โดยได้​้ตั้​้�งข้​้อสั​ังเกตในขณะที่​่�ปราศรั​ัย ในฐานะผู้​้�มาเยื​ือนหลั​ักในวั​ันอาหารโลกที่​่�จั​ัดโดยองค์​์การ อาหารและเกษตรกรรมแห่​่งสหประชาชาติ​ิและกระทรวงความ มั่​่�นคงและการวิ​ิจั​ัยด้​้านอาหารแห่​่งชาติ​ิในกรุ​ุงอิ​ิสลามาบั​ัดว่​่า ปากี​ีสถานจะประสบความสำำ�เร็​็จได้​้แบบจี​ีนก็​็ด้ว้ ยการประยุ​ุกต์​์ ใช้​้เทคโนโลยี​ีและระเบี​ียบวิ​ิธี​ีที่​่�จี​ีนกำำ�ลั​ังใช้​้อยู่​่�

C

hinese Foreign Ministry Spokesperson

role in promoting the development of our bilateral relations and deepening friendship between our people,” he said while responding to a question asked by this agency during his regular briefing. The spokesperson was referring to Prime Minister Imran Khan’s remarks made last week at the launch ceremony of Kisan Portal. The premier had stressed that farmers in Pakistan must replicate Chinese techniques to boost productivity, adding that the agricultural sector had been made an integral part of the second phase of CPEC. “We have been continuing the same practices in Pakistan that existed in MohenjoDaro,” he regretted. Responding to PM Khan’s remarks, Zhao Lijian said: “As the CPEC enters the second phase, there will be more Chinese agricultural technologies flowing into Pakistan which means huge potential in our agricultural cooperation. Terming both countries “all-weather strategic cooperative partners”, he remarked that the agricultural cooperation is an integral part of CPEC an important pilot project of Belt and Road Initiative. “We will continue to uphold the Silk Road spirit of peace and cooperation, openness, inclusiveness, mutual learning and the mutual benefit,” he added. China would remain in close communication with Pakistan in the work to form efficient practical cooperation mechanism to promote socio-economic development and improve people’s wellbeing to build an even closer China-Pakistan community with shared future in the new era, he added. It may be mentioned here that Minister for National Food Security and Research Syed Fakhar Imam has also underscored the importance of adopting Chinese technology for abundant agricultural outcomes. “Pakistan can be successful like China by adopting their technology and discipline,” he remarked while speaking as chief guest at an event in connection with World Food Day (WFD) jointly organized by the Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO) and Ministry of National Food Security and Research (MNFS&R) in Islamabad.

นายเจ้​้า ยั​ังได้​้กล่​่าวเสริ​ิมในช่​่วงสรุ​ุปรายงานว่​่า ความ Zhao Lijian on October 19 said that ร่​่วมมื​ือระหว่​่างจี​ีน-ปากี​ีสถานในการปลู​ูกข้​้าว ข้​้าวโพด ถั่​่�ว as the China-Pakistan Economic Corridor เหลื​ือง อ้​้อย และพื​ืชผลอื่​่�นๆ มี​ีผลดี​ีและมี​ีบทบาทสำำ�คั​ัญใน (CPEC) entered its second phase, more การส่​่งเสริ​ิมการพั​ัฒนาความสั​ัมพั​ันธ์​์ทวิ​ิภาคี​ีและมิ​ิตรภาพที่​่� Chinese agricultural technologies will follow ลึ​ึกซึ้​้�งระหว่​่างประชาชนของทั้​้�งสองประเทศ ทางโฆษกกระทรวงการต่​่างประเทศของจี​ีนยั​ัง suit and head toward Pakistan. อ้​้างถึ​ึงคำำ�กล่​่าวของนายกรั​ัฐมนตรี​ีอิมิ ราน ข่​่าน ในพิ​ิธีเี ปิ​ิดตั​ัว “China-Pakistan cooperation in cultivating Kisan Portal โดยนายกรั​ัฐมนตรี​ีปากี​ีสถานเน้​้นว่​่าเกษตรกร rice, corn, soybean, sugarcane and other crops ในปากี​ีสถานต้​้องเลี​ียนแบบเทคนิ​ิคของจี​ีนเพื่​่�อเพิ่​่�มผลผลิ​ิต has yielded fruitful results and play the important และเสริ​ิมว่​่าภาคเกษตรกรรมได้​้กลายเป็​็นส่​่วนสำำ�คั​ัญของเขต ระเบี​ียงเศรษฐกิ​ิจ CPEC ระยะที่​่�สองแล้​้ว “แต่​่เรายั​ังคงมี​ีแบบปฏิ​ิบั​ัติ​ิเดี​ียวกั​ันในปากี​ีสถานตาม ที่​่�ยั​ังคงมี​ีในโมเฮนโจ-ดาโร” นายกรั​ัฐมนตรี​ีปากี​ีสถานกล่​่าว ด้​้วยความเสี​ียใจ นายเจ้​้าได้​้ตอบสนองต่​่อคำำ�ปราศรั​ัยของนายกรั​ัฐมนตรี​ี อิ​ิมรานโดยกล่​่าวว่​่า ในขณะที่​่� CPEC เข้​้าสู่​่�ระยะที่​่�สอง เทคโนโลยี​ีการเกษตรของจี​ีนจะหลั่​่ง� ไหลเข้​้าสู่​่ป� ากี​ีสถานมากขึ้​้น� ซึ่​่�งหมายถึ​ึงศั​ักยภาพมหาศาลในความร่​่วมมื​ือด้​้านการเกษตร ของจี​ีนและปากี​ีสถาน ในการทำำ�ให้​้ทั้​้�งสองประเทศกลายเป็​็น “หุ้​้�นส่​่วนความ ร่​่วมมื​ือเชิ​ิงกลยุ​ุทธในทุ​ุกสภาพการณ์​์” นายเจ้​้า เล็​็งเห็​็นว่​่า ความร่​่วมมื​ือทางการเกษตรเป็​็นส่​่วนสำำ�คั​ัญของ CPEC ซึ่​่�ง เป็​็นโครงการนำำ�ร่​่องที่​่�สำำ�คั​ัญของความคิ​ิดริ​ิเริ่​่�มของเส้​้นทาง รถไฟเชื่​่อ� มจี​ีนและปากี​ีสถานอี​ีกด้​้วย อี​ีกทั้​้�ง จี​ีนจะสานต่​่อจิ​ิตวิ​ิญญาณแห่​่งสั​ันติ​ิภาพและ ความร่​่วมมื​ือ เส้​้นทางสายไหม การเปิ​ิดกว้​้าง ความเป็​็นหนึ่​่�ง เดี​ียว การเรี​ียนรู้​้�ซึ่​่ง� กั​ันและกั​ัน และผลประโยชน์​์ร่​่วมกั​ันของ ทั้​้�งสองประเทศ Zhao Lijian, Deputy Director General of the Foreign Ministry’s Information Department. www.sugar-asia.com

11


International News

ออสเตรเลี​ียมุ่​่�งขั​ับเคลื่​่�อนแผนงานอุ​ุตสาหกรรม น้ำำ��ตาลสู่​่�ความก้​้าวหน้​้า Australia Set to Drive Sugar Industry Roadmap Forward

พื่​่อกำ � ำ�หนดอนาคตอั​ันรุ่​่ง� เรื​ืองสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมและ ส่​่วนร่​่วมอย่​่างกว้​้างขวางทั่​่�วทั้​้ง� ห่​่วงโซ่​่ของคุ​ุณค่​่าของอุ​ุตสาหกรรม อ้​้อยที่​่เ� ป็​็นไปเพื่​่อร่​่ � วมกั​ันพั​ัฒนาแผนการสำำ�หรั​ับอนาคต ชุ​ุมชนระดั​ับภู​ูมิ​ิภาค

สำำ�นั​ักงานใหญ่​่ของอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยและศู​ูนย์​์วิ​ิจั​ัย สหกรณ์​์เพื่​่อ� การพั​ัฒนาภาคเหนื​ือของออสเตรเลี​ีย (CRCNA) กำำ�ลั​ังร่​่วมกั​ันพั​ัฒนาวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์และแผนงานอุ​ุตสาหกรรมโดย รวมเป็​็นครั้​้�งแรกเพื่​่�อมุ่​่�งเข้​้าสู่​่ปี� ี 2583 แผนงานอุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยจะมี​ีวิสั​ัยทั​ั ิ ศน์​์ที่​่ดี� ที่​่ี สุ​ุ� ดสำำ�หรั​ับ การประกอบอุ​ุตสาหกรรมเพื่​่อชี้​้ � ใ� ห้​้เห็​็นถึ​ึงโอกาสสำำ�คั​ัญในการ ขั​ับเคลื่​่�อนเพื่​่อ� ความยั่​่�งยื​ืน การเจริ​ิญเติ​ิบโต และความเจริ​ิญ รุ่​่ง� เรื​ืองของอุ​ุตสาหกรรมและชุ​ุมชนระดั​ับภู​ูมิ​ิภาคในอนาคต แอน สตู​ูนเซอร์​์ เจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหารระดั​ับสู​ูงของสำำ�นั​ัก งานฯ ชี้​้�ว่​่า แผนงานนี้​้�จะระบุ​ุถึ​ึงขุ​ุมกำำ�ลั​ังในอนาคตที่​่�มี​ีแนว โน้​้มว่​่าจะส่​่งผลกระทบต่​่ออุ​ุตสาหกรรม นอกเหนื​ือจากการ กำำ�หนดลำำ�ดั​ับความสำำ�คั​ัญที่​่ต� กลงกั​ันไว้​้แล้​้ว และให้​้ข้อมู​ู ้ ลเชิ​ิง ลึ​ึกเกี่​่�ยวกั​ับทั​ักษะ ทรั​ัพยากร นวั​ัตกรรม รวมทั้​้ง� โครงสร้​้างพื้​้�น ฐานที่​่�จำำ�เป็​็นสำำ�หรั​ับความสำำ�เร็​็จในอนาคต แอน สตู​ูนเซอร์​์ยั​ังเน้​้นย้ำำ��อี​ีกว่​่า เป็​็นเวลากว่​่า 100 ปี​ี แล้​้วที่​่�อุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยเป็​็นผู้​้�หลั​ักสนั​ับสนุ​ุนทางเศรษฐกิ​ิจ และสั​ังคมให้​้กั​ับชุ​ุมชนระดั​ับภู​ูมิ​ิภาคทั่​่�วรั​ัฐ ควี​ีนส์​์แลนด์​์และ ตอนเหนื​ือของรั​ัฐนิ​ิวเซาท์​์เวลส์​์ และได้​้แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงความ กระหายนวั​ัตกรรมและเทคโนโลยี​ีใหม่​่ๆ และยั​ังกล่​่าวอี​ีกว่​่า องค์​์กรด้​้านอุ​ุตสาหกรรมต่​่างตระหนั​ักดี​ีถึ​ึงความจำำ�เป็​็นในการ ส่​่งเสริ​ิมและปรั​ับปรุ​ุงรู​ูปแบบการผลิ​ิตน้ำำ��ตาลทรายดิ​ิบแบบ ดั้​้�งเดิ​ิม เพื่​่�อพั​ัฒนาผลิ​ิตภาพและกระจายแหล่​่งรายได้​้ เจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหารระดั​ับสู​ูงของสำำ�นั​ักงานฯ ยั​ังเสริ​ิมว่​่า ในขณะที่​่�อุ​ุตสาหกรรมต่​่างๆ กำำ�ลั​ังเผชิ​ิญกั​ับความท้​้าทายทาง เศรษฐกิ​ิจ สิ่​่�งแวดล้​้อม และสั​ังคม แต่​่ก็​็ยั​ังมี​ีโอกาสสำำ�คั​ัญใน การขยายสู่​่อุ​ุ� ตสาหกรรมประเภทพหุ​ุผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ซึ่​่�งเรี​ียกว่​่าเป็​็น อุ​ุตสาหกรรมแบบ ‘น้ำำ��ตาลบวก’ ที่​่�มีศั​ัี กยภาพสำำ�หรั​ับตลาดทาง เลื​ือก เช่​่น เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพและพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ เป็​็นต้​้น แผนงานดงั กลา่ วได้รบั การสนบั สนนุ รว่ มกนั จากองค์กร อุตสาหกรรมอ้อยถึง 5 แห่ง ได้แก่ Sugar Research Australia, CANEGROWERS, Australian Sugar Milling Council, AgForce และ Australian Cane Farmers Association โดย ได้รบั ทนุ สนบั สนนุ จาก CRCNA และกรมวิชาการเกษตรและ ประมงแห่งรัฐควีนส์แลนด์ โรสลี​ีน เบเกอร์​์ เจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหารระดั​ับสู​ูงของ Sugar Research Australia อธิ​ิบายว่​่าโครงการนี้​้�จะสั​ัมพั​ันธ์​์กั​ับการมี​ี

12

โรสลี​ีน เบเกอร์​์ยั​ังย้ำำ��ว่​่าแผนงานนี้​้�จะเน้​้นการเสริ​ิมสร้​้าง และการปรั​ับปรุ​ุงแบบเร่​่งด่​่วนที่​่�ทำำ�ได้​้จริงิ สำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมที่​่� แข็​็งแกร่​่งกว่​่าเดิ​ิม เช่​่นเดี​ียวกั​ับโอกาสในระยะยาวเพื่​่อ� การเข้​้า สู่​่�ตลาดใหม่​่ อั​ันจะนำำ�ไปสู่​่�การกระจายพื​ืชผลและผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ใหม่​่ และการใช้​้ทรั​ัพยากรทางเลื​ือกสำำ�หรั​ับสิ​ินทรั​ัพย์​์ของ อุ​ุตสาหกรรมหลั​ัก และยั​ังกล่​่าวว่​่าแผนงานดั​ังกล่​่าวจะช่​่วย เหลื​ืออุ​ุตสาหกรรมในการนำำ�วิสั​ัยทั​ั ิ ศน์​์ที่​่เ� กี่​่�ยวข้​้องกั​ับทุ​ุกภู​ูมิ​ิภาค ของอ้​้อยมาสู่​่�การดำำ�เนิ​ินชี​ีวิ​ิตของมนุ​ุษย์​์ ในขณะเดี​ียวกั​ันก็​็ ปลู​ูกฝั​ังความคล่​่องตั​ัวมากขึ้​้�นเพื่​่อรั​ั � บโอกาสในท้​้องถิ่​่�น เจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหารระดั​ับสู​ูงของ Sugar Research Australia ยั​ังสรุ​ุปว่​่าความคิ​ิดริ​ิเริ่​่ม� นี้​้�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการเปลี่​่ย� นแปลงของคนใน รุ่​่�นต่​่างๆ และทำำ�ให้​้อุ​ุตสาหกรรมเป็​็นเสมื​ือนที่​่�นั่​่�งของคนขั​ับ รถยนต์​์เพื่​่อสร้ � า้ งอนาคตที่​่�น่​่ามหั​ัศจรรย์​์และเจริ​ิญรุ่ง่� เรื​ือง ขณะนี้​้� ยั​ังคงมี​ีการพิ​ิจารณาเรื่​่�องการมี​ีส่​่วนร่​่วมของผู้​้� มี​ีส่​่วนได้​้ส่​่วนเสี​ียอยู่​่� โดยแผนงานทั้​้�งหมดมี​ีกำำ�หนดจะแล้​้ว เสร็​็จในต้​้นปี​ี 2565

C

harting a prosperous future for the industry and regional communities

needed for future success. “For more than 100 years, the sugarcane industry has been a major economic and social contributor to regional communities across Queensland and northern New South Wales and has demonstrated a thirst for innovation and new technology,” Ms Stünzner said. She said industry organisations have recognised the need to complement and enhance the traditional raw sugar production model to improve productivity and diversify revenue sources. “While the industry faces economic, environmental and social challenges, there is significant opportunity to expand to become a multi-product, ‘sugar plus’ industry with potential for alternate markets such as biofuels and bioplastics,” Ms Stünzner said. The roadmap initiative has the joint backing of five sugarcane industry organisations – Sugar Research Australia, CANEGROWERS, the Australian Sugar Milling Council, AgForce and the Australian Cane Farmers Association – with funding also provided by the CRCNA and the Queensland Department of Agriculture and Fisheries. Sugar Research Australia Chief Executive Officer Roslyn Baker said the project will involve extensive engagement across the sugarcane industry value chain to co-develop a plan for the future. “The roadmap will address both the immediate enhancements and improvements that can be made for a stronger industry, as well as longer-term opportunities to enter new markets, to diversify into new crops and products, and alternative uses for core industry assets,” Ms Baker said. She said the roadmap will support the industry to bring to life a vision relevant to all sugarcane regions while cultivating greater agility to embrace local opportunities. “This initiative is about generational change and putting industry in the driver’s seat to build an exciting and prosperous future,” Ms Baker said. Stakeholder engagement sessions are underway. The roadmap is due to be finalised in early 2022.

Sugarcane industry peak bodies and the Cooperative Research Centre for Developing Northern Australia (CRCNA) are partnering to develop the first whole-of-industry shared vision and roadmap to 2040. The Sugarcane Industry Roadmap will adopt a best-for-industry view to identify significant opportunities to drive sustainability, growth and prosperity of the industry and regional communities into the future. CRCNA Chief Executive Officer Anne Stünzner said the roadmap will identify the future forces likely to impact the industry, establish agreed priorities and provide insight into the skills, resources, innovation and infrastructure

www.sugar-asia.com


International News

� งจากภั​ัยแล้​้ง ผลผลิ​ิตอ้​้อยของบราซิ​ิลลดลงอย่​่างมากเนื่​่อ Significant Drop in Brazil’s Sugarcane Production due to Droughts

B

razil is set to face a 6.86% drop in sugarcane crush produce from its southern and central regions this year. According to the data released by the UNICA (União da Indústria de Cana-de-Açúca ) on October 13 sugarcane crushed by centre- south producers totaled around 467 million tonnes in the April 1- Oct 1 this season.

ราซิ​ิลจะเผชิ​ิญกั​ับการลดลงของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์อ้อยจ ้ าก ภาคใต้​้และภาคกลางของประเทศเป็​็นจำำ�นวนถึ​ึง 6.86% ในปี​ีนี้​้� ตามข้​้อมู​ูลที่​่�ออกโดย UNICA (สหภาพ อุ​ุตสาหกรรมอ้​้อยและน้ำำ��ตาล) เมื่​่�อวั​ันที่​่� 13 ตุ​ุลาคม อ้​้อยที่​่เ� ข้​้าสู่​่ก� ระบวนการคั้​้น� น้ำำ�จ � ากผู้​้�ผลิ​ิตทางภาคกลาง ถึ​ึงภาคใต้​้ มี​ีจำำ�นวนรวมทั้​้ง� สิ้​้�นประมาณ 467 ล้​้านตั​ันใน ช่​่วงวั​ันที่​่� 1 เมษายนถึ​ึง 1 ต.ค. ในฤดู​ูกาลปั​ัจจุ​ุบั​ัน ความล้​้มเหลวของการผลิ​ิตอ้​้อยในปี​ีนี้​้�สื​ืบเนื่​่�องมาจาก การที่​่�อ้​้อยเป็​็นพื​ืชที่​่�ต้​้องการน้ำำ�� ประมาณ 1,500 ถึ​ึง 3,000 ลิ​ิตรต่​่อกิ​ิโลกรั​ัม ซึ่​่�งเป็​็นปริ​ิมาณค่​่อนข้​้างมาก ดิ​ินที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดสำำ�หรั​ับการปลู​ูกอ้​้อยคื​ือดิ​ินร่​่วนปนทรายที่​่� มี​ีการระบายน้ำำ��ดี​ีโดยมี​ีปฏิ​ิกิ​ิริ​ิยาตอบสนองของดิ​ินเป็​็นกลาง (ค่​่า pH 6.5 ถึ​ึง 7.5) รวมทั้​้�งมี​ีธาตุ​ุอาหารที่​่�เหมาะสมและ ไม่​่มี​ีการบดอั​ัดของดิ​ิน (หรื​ือดิ​ินที่​่�มีอี ากาศขั​ังอยู่​่ข้� า้ งใน)

www.sugar-asia.com

ที่​่�กล่​่าวมาข้​้างต้​้นเป็​็นสิ่​่�งที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นได้​้เฉพาะในพื้​้�นที่​่�ที่​่�มี​ี ลมมรสุ​ุมที่​่�ดี​ีเท่​่านั้​้�น เหตุ​ุผลที่​่�อยู่​่�เบื้​้�องหลั​ังความล้​้มเหลวของบราซิ​ิลใน การบรรลุ​ุเป้​้าหมายการผลิ​ิตของปี​ีนี้​้�คื​ือปริ​ิมาณน้ำำ��ฝนที่​่�มี​ี อยู่​่� ความแห้​้งแล้​้งในกรุ​ุงเซา เปาโลกำำ�ลั​ังเกิ​ิดบ่​่อยขึ้​้�น ในปี​ี 2557 อ่​่างเก็​็บน้ำำ��ของกรุ​ุงเซา เปาโลนั้​้�นกำำ�ลั​ังแห้​้งขอดเช่​่น เดี​ียวกั​ับในขณะนี้​้� แม้​้ว่​่าบราซิ​ิลจะเป็​็นมหาอำำ�นาจทางการเกษตร แต่​่ขณะ นี้​้�ประเทศกำำ�ลั​ังถู​ูกคุ​ุกคามจากวิ​ิกฤตภั​ัยแล้​้ง มลภาวะต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมอั​ันเนื่​่�องมาจากกิ​ิจกรรมต่​่างๆ ของมนุ​ุษย์​์ทำำ�ให้​้อุ​ุณหภู​ูมิ​ิของมหาสมุ​ุทรรอบๆ ประเทศบราซิ​ิล เพิ่​่ม� สู​ูงขึ้​้น� และเป็​็นปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญในการเพิ่​่ม� น้ำำ��อุ่น่� ในมหาสมุ​ุทร แอตแลนติ​ิกและน้ำำ��เย็​็นในมหาสมุ​ุทรแปซิ​ิฟิกิ ซึ่​่�งส่​่งผลกระทบ ต่​่อการหมุ​ุนเวี​ียนของน้ำำ��ในพื้​้�นที่​่�โดยรอบ ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� บราซิ​ิล จึ​ึงต้​้องเผชิ​ิญกั​ับภั​ัยแล้​้งอั​ันมากมาย

Brazil is the largest producer and exporter of sugarcane in the world followed closely by India last year brazil had managed to produce about 665.1 million metric tonnes of sugar cane which was an unprecedented record in the past 12 years. This year’s failure of sugarcane production as a crop stems from the fact that sugarcane can be considered to be a crop that needs around 1,500 to 3,000 litres of water per kilogram of cane which is quite a lot. The best form of soil for sugarcane cultivation is a well-drained loamy soil with a neutral soil response (pH 6.5 to 7.5), appropriate nutrients, and no soil compaction (soil that has air trapped in it) This is something only achievable in places with a good monsoon. The reason behind brazils failure in meeting the production aims of this year lies solely with the amount of rainfall that they had in this year. Droughts are becoming more often in Sao Paulo, as is the case in 2021. In 2014, the city’s reservoirs were on the verge of running empty. Even though Brazil is an agricultural superpower, it is currently facing a drought crisis in 2021. Environmental pollution due to human activity is increasing the temperature of the oceans surrounding brazil and being the key contributor to the increase in warm water in the Atlantic and cold water in the pacific it is hence suffering from a change in the regular hydro cycle in its region and hence is facing a lot of droughts.

13


Planters Corner

เกษตรกรชาวไร่​่อ้​้อยยอมรั​ับ SM200 Compact

ตอบโจทย์​์ช่​่วยแก้​้ปั​ัญหาเก็​็บเกี่​่�ยวอ้​้อยในพื้​้� นที่​่�ตั​ัดยาก Samart cane harvesters are helping farmers in Khao Yai turn their business around ยานแห่​่งชาติ​ิเขาใหญ่​่ทางภาคตะวั​ันออกเฉี​ียงเหนื​ือ อุ​ุ ทของประเทศไทย บนเนิ​ินเขารอบๆ เป็​็นที่​่�ตั้​้�งของไร่​่

ของครอบครั​ัวคุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์ จิ​ิรศั​ักดิ์​์� เกษตรกรชาวไร่​่ อ้​้อยที่​่�ปลู​ูกอ้​้อยในพื้​้�นที่​่�นั้​้�นมานานหลายสิ​ิบปี​ี นั​ับได้​้ว่​่า ในการทำำ�ไร่​่อ้​้อยนั่​่�นมั​ันอยู่​่�ในสายเลื​ือดของครอบครั​ัว คุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์และคุ​ุณสำำ�ราญ จิ​ิรศั​ักดิ์​์�ผู้​้�ที่​่�เป็​็นน้​้องสะใภ้​้ สองพี่​่�น้​้องเคยท้​้าแข่​่งขั​ันกั​ัน ว่​่าใครจะสามารถผลิ​ิต อ้​้อยได้​้มากกว่​่ากั​ัน เนื่​่�องจากพื้​้�นที่​่�เขาใหญ่​่มี​ีเนิ​ินเขา และภู​ูเขาสู​ูง การตั​ัดเก็​็บอ้​้อยจึ​ึงทำำ�โดยการเผาและเก็​็บ เกี่​่�ยวเป็​็นหลั​ัก

ซึ่​่�งคุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์และ ครอบครั​ัวใช้​้แรงงานคนในการตั​ัดอ้​้อยเพราะ ภู​ูมิ​ิประเทศที่​่�ทำำ�ให้​้การเก็​็บเกี่​่�ยวอ้​้อยเป็​็นเรื่​่�องยาก ส่​่งผลให้​้การทำำ�งานด้​้วย เครื่​่�องจั​ักรแทบจะเป็​็นไปไม่​่ได้​้เลย และรถบรรทุ​ุกที่​่�ใช้​้ขั​ับตามรถเก็​็บอ้​้อยก็​็ ไม่​่สามารถใช้​้งานได้​้จึ​ึงทำำ�ให้​้เกิ​ิดความยากลำำ�บากในการเข้​้าถึ​ึง อย่​่างไรก็​็ตาม คุ​ุณกิ​ิตินั​ัิ นท์​์ ได้​้เน้​้นย้ำำ��จากประสบการณ์​์ของน้​้องสาวของตนที่​่�ได้​้สั่​่ง� ซื้​้�อรถตั​ัด เก็​็บอ้​้อยแบบดั้​้ง� เดิ​ิมมาใช้​้เพราะการเก็​็บเกี่​่�ยวอ้​้อยด้ว้ ยมื​ือมี​ีความยากลำำ�บาก มากขึ้​้น� และคุ​ุณสำำ�ราญก็​็ยั​ังไม่​่ค่​่อยพอใจกั​ับการเก็​็บเกี่​่�ยวด้​้วยเครื่​่อ� งจั​ักรมาก นั​ักเพราะยั​ังเกิ​ิดปั​ัญหาเดิ​ิมๆ ซ้ำำ�� ๆ 14

คุ​ุณสำำ�ราญ จิ​ิรศั​ักดิ์​์� เกษตรกรชาวไร่​่อ้​้อย

www.sugar-asia.com


Planters Corner และเมื่​่อ� เร็​็วๆ นี้​้� บริ​ิษั​ัทได้​้รั​ับการยอมรั​ับจากรั​ัฐบาลไทยและขึ้​้น� ทะเบี​ียน กั​ับสำำ�นั​ักงานมาตรฐานผลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์อุ​ุตสาหกรรม “หมายเลข มอก. 2773-2560 และเลขใบอนุ​ุญาติ​ิ 4728-1/2773” ซึ่​่�งยื​ืนยั​ันได้​้ถึ​ึงมาตรฐานและคุ​ุณภาพระดั​ับ สู​ูงของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของบริ​ิษั​ัทสามารถเกษตรยนต์​์ “เป็​็นเรื่​่�องดี​ีที่​่�เกษตรกรใน เอเชี​ียใช้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ออกแบบมาสำำ�หรั​ับภู​ูมิ​ิภาคนี้​้� เรามี​ีที​ีมงานที่​่�แข็​็งแกร่​่ง ที่​่�มุ่​่�งเน้​้นผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ในทวี​ีปเอเชี​ียและมี​ีเป้​้าหมายที่​่�จะ “สร้​้างสิ่​่�งที่​่�ดี​ีกว่​่า” อยู่​่� เสมอ” คุ​ุณศรี​ีนวลกล่​่าวสรุ​ุปไว้​้ว่​่า “ตอนนี้​้�บริ​ิษั​ัทฯ มี​ีการจดทะเบี​ียนจากภาค รั​ัฐ เราตะหนั​ักเสมอว่​่าเรามี​ีผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่เ� หมาะกั​ับประเทศไทยซึ่​่�งมี​ีความแข็​็ง แรง มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพและประหยั​ัด แต่​่นั่​่�นก็​็ไม่​่ได้​้หมายความว่​่าผลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์อื่น่� ๆ ในท้​้องตลาดนั้​้น� ประสิ​ิทธิ​ิภาพในการทำำ�งานได้​้ไม่​่ดี​ี แต่​่บริ​ิษั​ัทสามารถเกษตร ยนต์​์ของเรา ทำำ�ได้​้ดี​ีกว่​่าแน่​่นอน”

S

อย่​่างไรก็​็ตาม ตลาดแรงงานที่​่�หดตั​ัวลงในช่​่วงไม่​่กี่​่�ปี​ีที่​่�ผ่​่านมาได้​้ สร้​้างแรงกดดั​ันให้​้คุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์อย่​่างมากจนทำำ�ให้​้เขาตั​ัดสิ​ินใจ ลงมื​ือทำำ� มื​ือทำำ�บางอย่​่าง ในขณะทำำ�การประเมิ​ินตลาด คุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์ได้​้เข้​้ามาพู​ูด คุ​ุยกั​ับบริ​ิษั​ัทสามารถเกษตรยนต์​์และหลั​ังจากการประชุ​ุมหารื​ือร่​่วมกั​ัน หลายครั้​้�ง เขาจึ​ึงตั​ัดสิ​ินใจใช้​้รถเก็​็บอ้​้อยรุ่​่�น SM200 Compact ที่​่�น่​่าจะ มี​ีเครื่​่�องยนต์​์ที่​่�เหมาะสมสำำ�หรั​ับงานในไร่​่ของตน คุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับประสิ​ิทธิ​ิภาพของเครื่​่�องยนต์​์ของ SM200 Compact รวมทั้​้�งจุ​ุดศู​ูนย์​์ถ่​่วงที่​่�มี​ีระดั​ับต่ำำ��แต่​่มี​ีความเสถี​ียร ตามธรรมชาติ​ิของตั​ัวเครื่​่�อง ในที่​่�สุ​ุด เขาก็​็ตั​ัดสิ​ินใจเลื​ือกใช้​้รถเก็​็บอ้​้อย Samart SM200 Compact เขาได้​้บอกกั​ับน้​้องสาวและจำำ�ได้​้ว่​่าน้​้องสาว ของตนเองหั​ัวเราะด้​้วยความขบขั​ันเมื่​่�อรู้​้�ว่​่าเขาตั​ัดสิ​ินใจซื้​้�อสิ​ินค้​้ารุ่​่�นนี้​้� ในตอนนั้​้�น จากประสบการณ์​์ของเธอเอง รถเก็​็บอ้​้อยในความคิ​ิดของ เธอไม่​่สามารถทำำ�งานได้​้ในภู​ูมิ​ิประเทศเช่​่นเขาใหญ่​่แห่​่งนี้​้� แต่​่ SM200 Compact ก็​็แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงความคุ้​้�มค่​่าในการทำำ�งานบนผื​ืนไร่​่ในเขาใหญ่​่ โดยใช้​้เวลาอั​ันสั้​้น� ในภู​ูมิ​ิประเทศที่​่�ท้า้ ทาย ผลลั​ัพธิ์​์�ของเครื่​่อ� งยนต์​์ของรถ เก็​็บอ้​้อยรุ่​่�นนี้​้�ได้​้สร้​้างความประทั​ับใจให้​้คุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์เป็​็นอย่​่างมาก และตั้​้�งแต่​่เปิ​ิดตั​ัวรถคั​ันนี้​้� น้​้องสาวของคุ​ุณกิ​ิติ​ินั​ันท์​์ก็​็เปลี่​่�ยนความ คิ​ิดเห็​็นของตนอย่​่างสิ้​้�นเชิ​ิง คุ​ุณสำำ�ราญกล่​่าวว่​่า “แนวคิ​ิดการเก็​็บและ บรรทุ​ุกผลผลิ​ิตด้​้วยตั​ัวเองของบริ​ิษั​ัทสามารถช่​่วยให้​้เครื่​่อ� งจั​ักรมี​ีอิสิ ระใน การเก็​็บเกี่​่�ยว เพี​ียงแค่​่ยกถั​ังอ้​้อยที่​่เ� ต็​็มแล้​้วไปวางบนแท่​่นวาง แค่​่นี้​้�ก็ช่​่็ วย ประหยั​ัดเวลา ประหยั​ัดแรงงานได้​้อย่​่างสมเหตุ​ุสมผล จึ​ึงมั่​่�นใจเมื่​่อ� เห็​็นการ ทำำ�งานจากรถเก็​็บอ้​้อยของพี่​่�ชายจนทำำ�ให้​้ฉั​ันคิ​ิดว่​่าจะซื้​้�อรถเก็​็บอ้​้อยของ บริ​ิษั​ัทสามารถไว้​้ทำำ�งานในไร่​่ของตนบ้​้าง” หลั​ังจากหยอกล้​้อกั​ันระหว่​่าง สองพี่​่�น้อ้ ง ที่​่�พี่​่ช� ายของเธอเลื​ือกผลิ​ิภัณ ั ฑ์​์ของบริ​ิษั​ัทสามารถเกษตรยนต์​์ คุ​ุณสำำ�ราญก็​็ยอมรั​ับว่​่า ความคิ​ิดของตนเองนั้​้�นได้​้เปลี่​่�ยนไปแล้​้ว “คุ​ุณรู้​้�หรื​ือไม่​่ว่​่าเราแข่​่งกั​ันทำำ�งานในไร่​่อย่​่างไร?” คุ​ุณสำำ�ราญยิ้​้�ม “มั​ันไม่​่ใช่​่เรื่​่�องง่​่ายนะ ฉั​ันจึ​ึงเริ่​่ม� ติ​ิดต่​่อกั​ับเพื่​่อ� นคนหนึ่​่�งที่​่�รู้​้�จั​ักอย่​่างลั​ับๆ เขาใช้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของสามารถและเขาได้​้นำำ�ตั​ัวผลิ​ิภั​ัณฑ์​์ของเขาไปที่​่�ไร่​่ ของฉั​ัน” คุ​ุณสำำ�ราญ ส่​่วนผู้​้�อำำ�นวยการฝ่​่ายขายของบริ​ิษั​ัทสามารถ คุ​ุณ ศรี​ีนวล ลี้​้ธี� รี ณรานนท์​์ กล่​่าวว่​่า “เรารู้​้�ว่​่าเหตุ​ุการณ์​์แบบนี้​้�จะเกิ​ิดขึ้​้น� เริ่​่ม� จาก “ต่​่อต้​้าน” ผลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์ของเรา จนตอนนี้​้�คุ​ุณสำำ�ราญกลายเป็​็นแฟน ตั​ัวยงคนหนึ่​่�งของบริ​ิษั​ัทเราไปแล้​้ว” เป็​็นเรื่​่อ� งยากสำำ�หรั​ับบริ​ิษั​ัทสามารถ ที่​่�จะก้​้าวไปข้​้างหน้​้าสู่​่�การเป็​็นหนึ่​่�งในผู้​้�ผลิ​ิตเครื่​่�องตั​ัดอ้​้อยรายใหญ่​่ของ ภู​ูมิ​ิภาคเพี​ียงเพราะใช้​้รู​ูปแบบการตลาดตะวั​ันตก

www.sugar-asia.com

ettling in the hills around the Khao Yai national park in northern Thailand are the family farms of Kittinan Jirasak, a second generation hill farmer whose family have been planting sugar cane in that area for decades. Farming is in the family’s blood and both Khun Kittinan and his sister-in-law Samraan Jirasak have farms in the area and indulge themselves in the natural brother versus sister rivalry as to who can produce the most cane. To typify this as rivalry is actually a bit unfair, it’s just normal sibling competitiveness. The country here is hilly to mountainous and harvesting of the cane has always been managed by the traditional manual methods of burning and hand cutting.

15


Planters Corner

Khun Kittinan explains that up until recently his whole family used manual labour to cut, simply because the hilly terrain made the operation of a cane harvester difficult. The incline of many of the fields meant that some machines found it impossible to operate on the hillsides. Also, the collector trucks which were needed to follow the harvesters to recover the cane found it impractical to negotiate the slopes and to deal with the frequently awkward manoeuvring required to access the cane. The slopes were simply too steep. For Khun Kittinan this was underlined by the experience of his sister, who in recent years had acquired a conventional cane harvester because she was finding the operation of manual harvesting increasingly challenging. So far, she had not been happy with mechanical harvesting for the reasons previously mentioned. However, the dwindling labour market in recent years had bought so much pressure on him that he decided to take some positive action. Whilst assessing the market he spoke with Samart Kasetyon and after several meetings decided that the SM200 Compact would be most suitable machine for the job. He valued the high gradability of the SM200 Compact along with the low centre of gravity and inherent stability of the machine. He was soon taking the step towards mechanisation by purchasing a brand new Samart SM200 Compact harvester. He recalls his sister laughing at his purchase at the time and assuring him that her experience with harvesters had confirmed to her that harvesters could never successfully operate in such terrain. Despite this, the versatility of the SM200 Compact demonstrated its worth on the fields in Khao Yai making short work of the challenges brought by the terrain and impressing Khun Kittinan with its flexibility and effectiveness. So much so that since the introduction Khun Kittinan’s sister has changed has changed her opinion. “I saw a machine that could easily climb the slopes on my brother’s farm and work independently of the road transport” enthuses Khun Samraan. She explains further, “the Samart self-loading concept allows the machine the freedom to harvest unrestricted by support vehicles and then simply deposit the full cane bins on the headland ready for pick up. This frees up time and labour and make so much sense”. “Actually”, Khun Samraan admits,” I was so convinced when I saw my brother’s machine working that I knew I just had to get a Samart machine working on my fields”.

16

But, after the light hearted banter with her brother when he chose Samart, Khun Samraan was a little sheepish to admit to her change of heart. How did that work out? “Well, it wasn’t easy” she smiles, “after all he is my brother and you know how family rivalries work? “I was embarrassed to admit that he was right. So secretly I contacted a friend who I knew was using Samart and got him to cut my fields”. “I knew this was going on” comments Samart’s sales director Srinaul Leethirnaranon “and it was fun to watch the situation develop. From being “anti” our product, Khun Samraan is now one of our biggest fans”. It has been hard for Samart to move the company forward to take its place as one of the regions’ major manufacturers in cane cutting simply because of the marketing profile of the western brands, but recently the company has been recognised by His Royal Thai Majesty’s government and registered with the Thai Industrial Standards Institute No. 27732560, which confirms the high standards and quality of the Samart product. “It’s good that Asian farmers like Khun Samraan are realising the value that using a product that is designed for the region brings” Khun Srinaul affirmed “We have a strong team working in Hankha that is always focusing on an Asian product for Asian conditions, and always with the target to “Build it Better”. It’s great now that we have the government registration, but we always knew we had the right product for Thailand, strong, effective and economical. That is not to say that there are no other good products on the market that will work. It’s just that under many Asian conditions a Samart does it better”

www.sugar-asia.com


Planters Corner

www.sugar-asia.com

17


In the Hot Seat

โลกอั​ันแสนหวานของ STATEC BINDER น้ำำ��ตาลทั่​่�วโลกถู​ูกบรรจุ​ุลงถุ​ุงด้​้วยความทั​ันสมั​ัย ของเครื่​่�องบรรจุ​ุ STATEC BINDER

The sweet world of STATEC BINDER

How sugar is packed worldwide with the help of STATEC BINDER machines

ากออสเตรี​ียสู่​่ทั่​่� ว� โลก: จากเอเชี​ียสู่​่อ� เมริ​ิกาเหนื​ือ อเมริ​ิกาใต้​้ แอฟริ​ิกา และกลั​ับสู่​่�ยุ​ุโรป: เครื่​่อ� งบรรจุ​ุและระบบจั​ัดเรี​ียง ถุ​ุงวางบนพาเลทของ STATEC BINDER ได้​้ถู​ูกใช้​้งานอย่​่างแพร่​่ หลายในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลก ทั้​้�งผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ�� ตาลรายใหญ่​่ และบริ​ิษั​ัทขนาดเล็​็กในอุ​ุตสาหกรรมนี้​้� ซึ่​่�งเป็​็นหนึ่​่�งในฐานลู​ูกค้​้า ของผู้​้�ผลิ​ิตเครื่​่อ� งบรรจุ​ุของออสเตรี​ีย ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นระบบอั​ัตโนมั​ัติ​ิ หรื​ือระบบที่​่�ใช้​้แรงงานคน ผู้​้�เชี่​่ย� วชาญด้​้านเครื่​่อ� งบรรจุ​ุและระบบ จั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลทของ STATEC BINDER สามารถนำำ� เสนอระบบที่​่�เหมาะสมกั​ับปริ​ิมาณการผลิ​ิตจำำ�นวนมากและความ ต้​้องการเฉพาะของลู​ูกค้​้าแต่​่ละราย

มากกว่​่า 25 ปี​ี ที่​่�เครื่​่�องบรรจุ​ุของ STATEC BINDER ประสบความสำำ�เร็​็จ จากความไว้​้วางใจของลู​ูกค้​้าที่​่�ใช้​้งานในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล ด้​้วยประสบการณ์​์ ที่​่�สั่​่�งสมมายาวนานทำำ�ให้​้ STATEC BINDER เป็​็นหนึ่​่�งในผู้​้�เชี่​่�ยวชาญที่​่�เป็​็น ที่​่�ต้​้องการมากที่​่�สุ​ุดในด้​้านเครื่​่�องบรรจุ​ุน้ำำ��ตาลลงถุ​ุงและระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวาง บนพาเลท “ธุ​ุรกิ​ิจหลั​ักของเรา คื​ือ การผลิ​ิตเครื่​่อ� งบรรจุ​ุสำำ�หรั​ับปุ๋​๋�ยเคมี​ีมาเป็​็นเวลานาน แน่​่นอนว่​่า STATEC BINDER ยั​ังมี​ีส่​่วนที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับอุ​ุตสาหกรรมอื่​่น� ๆ เช่​่น ผู้​้�ผลิ​ิตเกลื​ือและอุ​ุตสาหกรรมปิ​ิโตรเคมี​ี โดยตลอดหลายปี​ีที่​่�ผ่​่านมา เราได้​้ ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นมาในฐานะผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านระบบบรรจุ​ุและระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบน พาเลทประเภท (all types of free-flowing bulk materials) เราได้​้รั​ับ การสอบถามข้​้อมู​ูลจากหลากหลายอุ​ุตสาหกรรม ซึ่​่�งนำำ�ไปสู่​่�การเริ่​่�มต้​้นผลิ​ิต เครื่​่�องบรรจุ​ุสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ�� ตาลในปี​ี ค.ศ.1990” Mr.Josef Lorger กรรมการผู้​้�จั​ัดการ STATEC BINDER GmbH กล่​่าว 18

และอธิ​ิบายถึ​ึงการพั​ัฒนาของบริ​ิษั​ัทฯ ที่​่�ออสเตรี​ียว่​่า

ปั​ัจจุ​ุบั​ันนี้​้� ภาคอาหารโดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งอุ​ุตสาหกรรม น้ำำ��ตาลเป็​็นหนึ่​่�งในอุ​ุตสาหกรรมที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�สุ​ุดสำำ�หรั​ับเรา ที่​่�มี​ีการ ปรั​ับเปลี่​่�ยนไปสู่​่�ระบบการบรรจุ​ุและระบบการจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบน พาเลทแบบอั​ัตโนมั​ัติ​ิ ซึ่​่�งมี​ีความสำำ�คั​ัญมากขึ้​้�นสำำ�หรั​ับลู​ูกค้​้าใน การหาพั​ันธมิ​ิตรที่​่�มีคี วามสามารถและเชื่​่�อถือื ได้​้ ดั​ังนั้​้�นเราจึ​ึงมอง ว่​่า เป็​็นงานของเราที่​่�จะให้​้การสนั​ับสนุ​ุนลู​ูกค้​้าในการเปลี่​่�ยนไปสู่​่� ระบบการบรรจุ​ุแบบอั​ัตโนมั​ัติทั้​้ิ ง� หมด พร้​้อมทั้​้�งให้​้คำำ�แนะนำำ�และ การสนั​ับสนุ​ุนที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดเท่​่าที่​่�จะเป็​็นไปได้​้

Mr.Josef Lorger กล่​่าวเสริ​ิม www.sugar-asia.com


In the Hot Seat ระบบบรรจุ​ุแบบเปิ​ิดปากถุ​ุงเหมาะสำำ�หรั​ับการบรรจุ​ุน้ำำ��ตาลอย่​่างยิ่​่�ง เนื่​่�องจากคุ​ุณสมบั​ัติ​ิน้ำำ��ตาลที่​่�มี​ีการกั​ัดกร่​่อนและสารกั​ัดกร่​่อน ซึ่​่�งเป็​็นส่​่วน สำำ�คั​ัญที่​่�สั​ัมผั​ัสกั​ับชิ้​้�นส่​่วนสเตนเลสของเครื่​่�องบรรจุ​ุของ STATEC BINDER โดยคุ​ุณสมบั​ัติ​ิมาตรฐาน ของชิ้​้�นส่​่วนทั้​้�งหมดที่​่�สั​ัมผั​ัสกั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์จะผลิ​ิต จากสเตนเลสทั้​้�งหมด เพื่​่�อช่​่วยลดความเสี่​่�ยงของฝุ่​่�นที่​่�ฟุ้​้�งกระจายระหว่​่าง การบรรจุ​ุน้ำำ�� ตาล ระบบบรรจุ​ุทั้​้�งหมดสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลจึ​ึงได้​้มี​ีการ ออกแบบตามมาตรฐานของ ATEX เครื่​่อ� งชั่​่�งน้ำำ��หนั​ักและระบบปิ​ิดปากถุ​ุงที่​่� มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงของ STATEC BINDER จะมี​ีความแม่​่นยำำ�ในการชั่​่�งตวงน้ำำ�� หนั​ัก และการปิ​ิดปากถุ​ุงที่​่�แน่​่นหนาปลอดภั​ัย หนึ่​่�งในเครื่​่�องบรรจุ​ุที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงสุ​ุดในกลุ่​่�มผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�รู้​้�จั​ักแพร่​่ หลายของ STATEC BINDER คื​ือ รุ่​่น� PRINCIPAC ที่​่�เป็​็นหนึ่​่�งในเครื่​่อ� งบรรจุ​ุ แบบเปิ​ิดปากถุ​ุงที่​่�เร็​็วที่​่�สุ​ุดในโลก การทำำ�งานที่​่�มีปี ระสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงส่​่งผลให้​้เครื่​่อ� ง บรรจุ​ุเป็​็นที่​่�ต้อ้ งการอย่​่างกว้​้างขวางในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล ซึ่​่�งสามารถใช้​้งาน ได้​้กั​ับถุ​ุงหมอน (pillow) และถุ​ุงจี​ีบข้​้าง (gusset) ที่​่�ทำำ�มาจากถุ​ุงกระสอบ PP, PE หรื​ือกระดาษ ขนาดบรรจุ​ุ 10 กก. ถึ​ึง 50 กก. PRINCIPAC ได้​้ รั​ับการออกแบบและผลิ​ิตเพื่​่อ� ให้​้ใช้​้งานได้​้หลากหลาย และมี​ีตั​ัวเลื​ือกเพิ่ม่� เติ​ิม เพื่​่�อปรั​ับให้​้เข้​้ากั​ับความต้​้องการเฉพาะของลู​ูกค้​้าได้​้ ระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท ของ STATEC BINDER ช่​่วยให้​้ไลน์​์การ แพ็​็คสมบู​ูรณ์​์แบบยิ่​่�งขึ้​้�น ทั้​้�งนี้​้�ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับขนาดของพื้​้�นที่​่�และปริ​ิมาณที่​่�ต้อ้ งการ PRINCIPAL-R ระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท แบบแขนกล (Robot) ที่​่�มี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูง หรื​ือ PRINCIPAL- H ระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท แบบ High-Speed ทำำ�ให้​้มั่​่�นใจได้​้ว่​่ารู​ูปแบบการจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงแต่​่ละชั้​้�นจะเท่​่ากั​ันและ จั​ัดเรี​ียงถุ​ุงได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

ประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงสุ​ุดของ pre-sling bag และแขนกลแบบสี่​่�แกนหมุ​ุนสามารถ หมุ​ุนได้​้ 360 องศา ช่​่วยให้​้เคลื่​่�อนที่​่�ได้​้รวดเร็​็วและแม่​่นยำำ� เนื่​่�องจากการออกแบบที่​่�แข็​็งแรงและทนทานเพื่​่�อให้​้วงจรของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ สามารถใช้​้งานได้​้ยาวนานและระบบที่​่�มีคี วามเชื่​่อถื​ือ � ได้​้สู​ูง STATEC BINDER จึ​ึงเป็​็นพั​ันธมิ​ิตรที่​่�ได้​้รั​ับความไว้​้วางใจและต้​้องการของลู​ูกค้​้าเมื่​่อพู​ู � ดถึ​ึงการบรรจุ​ุ ถุ​ุงและการจั​ัดเรี​ียงน้ำำ��ตาล ด้​้วยการทำำ�งานอย่​่างใกล้​้ชิ​ิดกั​ับลู​ูกค้​้าเพื่​่�อพั​ัฒนา โซลู​ูชั่​่�นที่​่�สมบู​ูรณ์​์แบบสำำ�หรั​ับระบบบรรจุ​ุถุ​ุงและระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท ในกลุ่​่ม� ผลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์ที่​่ห� ลากหลาย และบริ​ิษั​ัทฯ ที่​่�ออสเตรี​ียแสดงให้​้เห็​็นอย่​่างต่​่อ เนื่​่�องว่​่าความต้​้องการของลู​ูกค้​้าคื​ือความสำำ�คั​ัญสู​ูงสุ​ุด

เกี่​่�ยวกั​ับ STATEC BINDER จากความพึ​ึงพอใจของลู​ูกค้​้าในประเทศไทย อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย มาเลเซี​ีย อิ​ินเดี​ีย จี​ีน อเมริ​ิกา และยุ​ุโรป ซึ่​่�งใช้​้เครื่​่�องบรรจุ​ุของ STATEC BINDER ในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาลทั่​่�วโลก ไม่​่ว่​่าคุ​ุณจะอยู่​่ใ� นกลุ่​่ม� ผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลขนาดใหญ่​่ หรื​ือผู้​้�ผลิ​ิตรายเล็​็กในอุ​ุตสาหกรรมน้ำำ��ตาล และไม่​่ว่​่าคุ​ุณจะต้​้องการเครื่​่�อง บรรจุ​ุแบบอั​ัตโนมั​ัติ​ิหรื​ือใช้​้แรงงานคนในการบรรจุ​ุ ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญเครื่​่�องบรรจุ​ุ สามารถนำำ�เสนอระบบที่​่�เหมาะสมสำำ�หรั​ับลู​ูกค้​้าแต่​่ละรายให้​้ได้​้ตามความ ต้​้องการและมาตรฐานขั้​้�นสู​ูง เครื่​่อ� งบรรจุ​ุอั​ัตโนมั​ัติ​ิและระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลทสำำ�หรั​ับการบรรจุ​ุ และจั​ัดเรี​ียงน้ำำ��ตาลที่​่�บรรจุ​ุในถุ​ุงกระสอบสาน PP, PE และกระดาษ ได้​้ถู​ูกติ​ิด ตั้​้�งและใช้​้งานแล้​้วทั้​้�งห้​้าทวี​ีป เนื่​่อ� งจากโครงสร้​้างที่​่�แข็​็งแรงและทนทาน การ ใช้​้งานที่​่�ยาวนาน และความเชื่​่�อถื​ือได้​้สู​ูงของเครื่​่อ� งบรรจุ​ุ STATEC BINDER

Mr. Josef Lorger กรรมการผู้​้�จัดั การ STATEC BINDER GmbH Josef Lorger, Managing Director of STATEC BINDER GmbH PRINCIPAL- H ระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท แบบ High-Speed ได้​้ ติ​ิดตั้​้ง� ระบบป้​้อนพาเลทอั​ัตโนมั​ัติ​ิและระบบลำำ�เลี​ียงขาออก พร้​้อมทั้​้ง� เครื่​่อ� งรี​ีด ถุ​ุงที่​่�จะทำำ�ให้​้ถุ​ุง “เข้​้ารู​ูปทรง” เมื่​่อ� วางเรี​ียงซ้​้อนกั​ัน โดยเซอร์​์โวมอเตอร์​์ด้​้าน บนตั​ัวหมุ​ุนพาเลทจะทำำ�หน้​้าที่​่�จั​ัดเรี​ียงถุ​ุงตามตำำ�แหน่​่งที่​่�กำำ�หนด และมี​ีความ ยื​ืดหยุ่​่�นในการจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงแต่​่ละชั้​้�น การจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงที่​่�สมบู​ูรณ์​์แบบในแต่​่ละชั้​้�น จะถู​ูกขั​ับเคลื่​่�อนด้​้วยชุ​ุดสายพานและมอเตอร์​์ควบคุ​ุมตำำ�แหน่​่งการจั​ัดเรี​ียงถุ​ุง ทั้​้�งด้​้านหน้​้าและด้​้านข้​้าง PRINCIPAL-R ระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท แบบแขนกล (Robot) เป็​็นอี​ีกทางเลื​ือกหนึ่​่�งมี​ีความยื​ืดหยุ่​่�นสำำ�หรั​ับลู​ูกค้​้า และสามารถปรั​ับให้​้เข้​้ากั​ับความต้​้องการเฉพาะของลู​ูกค้​้าได้​้ง่​่าย คุ​ุณสมบั​ัติ​ิ พิ​ิเศษของระบบจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท แบบแขนกล (Robot) จะช่​่วยเพิ่​่�ม www.sugar-asia.com

จึ​ึงเป็​็นที่​่�ต้​้องการสู​ูงในกลุ่​่�มเครื่​่�องบรรจุ​ุและเครื่​่�องจั​ัดเรี​ียงถุ​ุงวางบนพาเลท สำำ�หรั​ับกลุ่​่�มน้ำำ��ตาล บริ​ิษั​ัทฯที่​่�ออสเตรี​ียแสดงให้​้เห็​็นอย่​่างต่​่อเนื่​่�องว่​่าความ ต้​้องการของลู​ูกค้​้าคื​ือความสำำ�คั​ัญสู​ูงสุ​ุด ด้​้วยเหตุ​ุผลเหล่​่านี้​้� ผู้​้�ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลจำำ�นวนมากจึ​ึงวางใจในเครื่​่อ� งบรรจุ​ุของ STATEC BINDER และความสำำ�เร็​็จในการสร้​้างพั​ันธมิ​ิตรระยะยาว STATEC BINDER ตระหนั​ักถึ​ึงประสบการณ์​์และข้​้อเสนอแนะจากลู​ูกค้​้าที่​่�ทำำ�ให้​้บริ​ิษั​ัทฯ ที่​่�ออสเตรี​ียสามารถพั​ัฒนาและปรั​ับปรุ​ุงเครื่​่อ� งจั​ักรและระบบของตนให้​้ดียิ่​่ี ง� ขึ้​้น� เพื่​่�อสร้​้างความพึ​ึงพอใจสู​ูงสุ​ุดให้​้กั​ับลู​ูกค้​้า

19


In the Hot Seat

ตอบสนองความต้​้องการของลู​ูกค้​้าทั่​่�วโลก เริ่​่ม� ต้​้นจากภาคอาหารสู่​่อุ​ุ� ตสาหกรรมปิ​ิโตรเคมี​ี ด้​้วยเครื่​่อ� งจั​ักรมากกว่​่า 1,400 เครื่​่อ� งที่​่�ติดิ ตั้​้ง� และใช้​้งานแล้​้วทั่​่�วโลก STATEC BINDER มองย้​้อนกลั​ับ ไปแล้​้วพบการตอบรั​ับเชิ​ิงบวกจำำ�นวนมาก บริ​ิษั​ัทรวมถึ​ึงองค์​์กรขนาดเล็​็กและ องค์​์การขนาดใหญ่​่ที่​่เ� ป็​็นตั​ัวแทนอยู่​่ใ� นทั้​้ง� ห้​้าทวี​ีปในกลุ่​่ม� ฐานลู​ูกค้​้าปั​ัจจุ​ุบั​ันที่​่�มี​ี อยู่​่� ต้​้องขอบคุ​ุณเทคโนโลยี​ีที่​่�ได้​้รั​ับการพิ​ิสู​ูจน์​์แล้​้วรวมถึ​ึงการพั​ัฒนาและการ ปรั​ับปรุ​ุงอย่​่างต่​่อเนื่​่อ� ง STATEC BINDER จึ​ึงเป็​็นพั​ันธมิ​ิตรที่​่�ได้​้รั​ับการยอมรั​ับ ในระดั​ับสากลทั่​่�วโลก ด้​้วยประสบการณ์​์ 40 ปี​ีทำำ�ให้​้บริ​ิษั​ัทได้​้รั​ับความไว้​้วางใจ และโดดเด่​่นด้​้วยความแม่​่นยำำ�และการพั​ัฒนานวั​ัตกรรมอย่​่างต่​่อเนื่​่อ� ง

การบริ​ิการลู​ูกค้​้าเป็​็นปั​ัจจั​ัยแห่​่งความสำำ�เร็​็จ ลู​ูกค้​้าทั่​่�วโลกให้​้ความไว้​้วางใจ STATEC BINDER ทุ​ุกวั​ัน ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ ด้​้านเทคนิ​ิคมี​ีความสารถในการให้​้บริ​ิการระดั​ับสู​ูงและให้​้ความช่​่วยเหลื​ือสำำ�หรั​ับ ข้​้อกั​ังวลต่​่างๆ การบริ​ิการลู​ูกค้​้าที่​่�โดดเด่​่นด้​้วยการให้​้บริ​ิการจากพนั​ักงานที่​่� ผ่​่านการฝึ​ึกอบรมมาอย่​่างดี​ีและการทำำ� remote service ที่​่�ทั​ันท่​่วงที​ี ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญของ STATEC BINDER พร้​้อมเสมอที่​่�จะให้​้ความช่​่วยเหลื​ือ และตอบคำำ�ถามเกี่​่�ยวกั​ับการสั่​่�งซื้​้�อและการส่​่งมอบอะไหล่​่ การตรวจเช็​็ค และบำำ�รุ​ุงรั​ักษาเครื่​่�องจั​ักร และการฝึ​ึกอบรมให้​้กั​ับลู​ูกค้​้าแต่​่ละรายตามข้​้อ ตกลงบริ​ิการที่​่�ปรั​ับตามความต้​้องการเพื่​่�อความพึ​ึงพอใจสู​ูงสุ​ุดของลู​ูกค้​้าเป็​็น สำำ�คั​ัญ STATEC BINDER เน้​้นเรื่​่อ� งการสื่​่อส � าร ความรวดเร็​็วและความใกล้​้ ชิ​ิดกั​ับลู​ูกค้​้าภายใต้​้พั​ันธมิ​ิตร นั่​่�นคื​ือเหตุ​ุผลที่​่�มีตั​ัี วแทนจำำ�นวนมากของบริ​ิษั​ัท ที่​่�ไม่​่เพี​ียงแต่​่ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาแต่​่ยั​ังคอยช่​่วยเหลื​ือลู​ูกค้​้าเกี่​่�ยวกั​ับการบำำ�รุ​ุงรั​ักษา โดยตรงที่​่�โรงงานลู​ูกค้​้า

F

rom Austria to the world: from Asia to North America to South America, on to Africa and back to Europe: packaging machines and palletizing systems from STATEC BINDER are in use in the sugar industry worldwide. Both large sugar producers and smaller companies in the industry are among the Austrian machine builder’s customer base. Whether fully automatic or manual machines are required, the packaging expert is able to offer each of its customers the right system for their high demands and requirements.

For over 25 years, bagging systems from STATEC BINDER have been successfully used in the sugar industry. Thanks to its many years of experience, STATEC BINDER is now one of the most sought-after specialists when it comes to sugar packaging and palletizing. “For a long time, our main business was manufacturing packaging machines for fertilizers. Of course, STATEC BINDER has always been involved with some projects for other industries, such as salt producers and the petrochemical industry. Over the years, we have established ourselves as a specialist in the packaging and palletizing of all types of free-flowing bulk materials. We received inquiries from a wide variety of industries, which led us to start manufacturing packaging machines for the sugar industry in the 1990s,” says Josef Lorger, Managing Director of STATEC BINDER GmbH, explaining the development of the Austrian company.

Today, the food sector, especially the sugar industry, is one of the most important industries for us. With the progressive changeover to fully automatic packaging and palletizing systems, it is becoming increasingly important for customers to find a competent and reliable partner. We therefore see it as our task to support customers in the changeover to fully automatic packaging lines and to provide them with the best possible advice and support,” Josef Lorger continues. Open-mouth bagging systems are ideally suited for bagging sugar. Due to corrosive and abrasive properties of sugar, particular importance is attached to stainless parts of STATEC BINDER packaging machines. As a standard feature, all parts that come into contact with the product are made of stainless steel. To eliminate the risk of dust explosions during the packaging of sugar, all systems for the sugar industry are designed in accordance with ATEX. STATEC BINDER highperformance net weighers and bag closing systems ensure precise weighing and dosing, as well as a secure closure of bags. Standing as one of the most efficient machines out of the broad product portfolio of STATEC BINDER, the PRINCIPAC is also among the fastest open-mouth bagging systems on

20

www.sugar-asia.com


In the Hot Seat About STATEC BINDER With satisfied clients located in Thailand, Indonesia, Malaysia, India, China, America and Europe – STATEC BINDER bagging machines are used worldwide for the packaging of sugar. Whether you are among large sugar producers or smaller firms in the industry and whether you require fully automatic or manual machines – the packaging expert is able to offer the right system to each of its customers to meet their high standards and requirements. Numerous fully automatic bagging and palletizing systems for the processing of sugar in woven PP, PE and paper bags have already been installed and commissioned on all five continents. Due to sturdy and robust construction, long product life cycles and the high reliability of the machines, STATEC BINDER is a highly demanded partner when it comes to the bagging and palletizing of sugar. In designing the perfect solution for the bagging and palletizing in close cooperation with customers, the Austrian company demonstrates continuously that customer needs have the highest priority. For these reasons, numerous sugar producers rely on STATEC BINDER machines and successful long-term partnerships are established. STATEC BINDER is aware of one thing: Only the experience and the feedback of customers allow the Austrian company to further develop and optimize their machines and systems, in order to ensure full satisfaction.

Meeting customer needs globally

the globe. As a result of this high performance, the product is in great demand within the sugar industry. High flexibility and reliability characterize this machine. Both pillow bags and gusset bags made of woven PP, PE or paper with a filling weight of 10 kg to 50 kg, can be processed - the PRINCIPAC is prepared for a wide range of applications. With further options available, this bagging machine can be optimally adapted to the specific requirements of customers. The packaging lines are completed with a STATEC BINDER palletizing system. Depending on the desired output and space requirements, high-performance robotic and high-level palletizers ensure an equally formed layer pattern and stable palletizing and round off the packaging process perfectly. The PRINCIPAL-H, a high level palletizer, is equipped with an empty pallet magazine and an outfeed system. A bag flattener assures that the bags are “in shape” for stacking, and a servomotordriven overhead rotating device, that positions the bags according to the requirements, makes flexible layer patterns possible. Wellstructured layer patterns are guaranteed through a synchronous belt drive of the layer pusher and through motor-driven front and side shifters. The high-performance robot palletizer PRINCIPAL-R, a robot palletizing system, stands as a flexible customer-specific solution which can be easily adapted to different requirements. A special feature of this machine is, that it has been optimized for sling bags. Robots with 4 axes and a rotation of up to 360° enable a fast and repeatable movement. Due to the stable and robust design, the long product life cycles and the high reliability of the systems, STATEC BINDER is a sought-after partner when it comes to bagging and palletizing sugar. By working closely with customers to develop the perfect solution for bagging and palletizing a wide variety of products, the Austrian company proves time and again that its customers’ needs are its top priority.

www.sugar-asia.com

Starting at the food sector to the petrochemical industry – with over 1,400 machines successfully installed worldwide, STATEC BINDER looks back on numerous positive references. The company counts small firms as well as large corporations, represented on all five continents, among its existing customer base. Thanks to proven technology as well as continuous developments and optimizations, STATEC BINDER serves as an internationally recognized partner to many. After 40 years of experience, the company stands for absolute reliability, characterized by precision and constant innovation.

Customer service as a success factor Customers all over the world put their trust in STATEC BINDER every day. Expert consulting services, a high level of service competence and support for any concern provide reasons for this. Customer service is characterized by highly trained employees and remote service with real-time support. STATEC BINDER specialists are always available to provide assistance and answers to questions, from dealing with orders of spare parts and their delivery, ongoing inspections and maintenance of machines and individual customer training programs, to tailor-made service agreements - The fullest satisfaction of the customers has the highest priority. STATEC BINDER focuses on a high level of communication, fast availability and proximity to the customer within its partnerships. That is why a large number of the company’s representatives offer not only consultation, but also support customers with maintenance services and inspections directly and immediately on site.

ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิมสามารถดู​ูได้​้จากเว็​็บไซต์​์ของเราที่​่�

For more information, please visit our website at www.statec-binder.com

21


Special Insight

เครื่​่�องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมคลาส QUADRANT EVOLUTION รุ่​่�นใหม่​่

ก้​้าวต่​่อไปที่​่�ยิ่​่ง � ใหญ่​่ของเครื่​่�องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมคลาส New CLAAS QUADRANT EVOLUTION Big leap forward for CLAAS square balers

มื​ือง Harsewinkel/Metz เมื่​่อวั​ั � นที่​่� 5 สิ​ิงหาคม 2564 - เครื่​่อ� งอั​ัดก้​้อนเหลี่​่ย� มรุ่​่น� QUADRANT (ควอดแรนท์​์) กั​ับการปรั​ับปรุ​ุงใหม่​่ยกเครื่​่�อง จากคลาส เพิ่​่�มกำำ�ลั​ังผลิ​ิตและเสริ​ิมความทนทาน เต็​็มที่​่� เหมาะสำำ�หรั​ับการอั​ัดใบอ้​้อยและซั​ังข้​้าวโพด ที่​่�ต้​้องการความทนทานของเครื่​่�องอั​ัดเป็​็นพิ​ิเศษ นอกจากนี้​้� QUADRANT EVOLUTION (ควอดแร นท์​์ อี​ีโวลู​ูชั่​่�น) รุ่​่น� ใหม่​่ยั​ังติ​ิดตั้​้ง� มาพร้​้อม ชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพ HD รุ่​่น� ใหม่​่ที่​่�เสริ​ิมความทนทานมาด้​้วยเช่​่นกั​ัน

22

www.sugar-asia.com


Special Insight ปั​ัจจุ​ุบั​ันเครื่​่อ� งอั​ัดก้​้อนเหลี่​่ย� มคลาสรุ่​่น� QUADRANT ครองตำำ�แหน่​่ง ยอดขายอั​ันดั​ับหนึ่​่�งของกลุ่​่ม� ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เครื่​่อ� งอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมในประเทศ เยอรมนี​ี รวมถึ​ึงในประเทศไทย ซึ่​่�งสำำ�หรั​ับรายการเครื่​่�องจั​ักรฯของปี​ี 2565 คลาสได้​้อั​ัพเกรดเครื่​่�องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมรุ่​่�น QUADRANT 5000 และ QUADRANT 4200 ใหม่​่ยกชุ​ุดพร้​้อมเพิ่​่�มชื่​่�อรุ่​่�น EVOLUTION ต่​่อท้​้าย

ชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพเก็​็บวั​ัสดุ​ุแบบใหม่​่ มาพร้​้อมชามรู​ูป หั​ัวใจสองฝั่�ง่ ส่​่วนสำำ�คั​ัญหลั​ักของเครื่​่�องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมรุ่​่�นอั​ัพเกรด QUADRANT EVOLUTION (ควอดแรนท์​์ อี​ีโวลู​ูชั่​่�น คื​ือ ชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพสำำ�หรั​ับงานหนั​ัก หรื​ือ HD รุ่​่น� ใหม่​่ที่​่�มาพร้​้อมกั​ับ ชามรู​ูปหั​ัวใจสองฝั่​่�ง ซึ่​่�งผ่​่านการออกแบบใหม่​่เฉพาะ ตั​ัวเพื่​่อ� เพิ่​่ม� ความสามารถในการต้​้านทานแรงบิ​ิดสู​ูงสุ​ุดพร้​้อมความแข็​็งแกร่​่ง เป็​็นพิ​ิเศษ นอกจากนี้​้�ยั​ังช่​่วยประหยั​ัดค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่�เกิ​ิดจากการสึ​ึกหรอโดยการ เพิ่​่�มชิ้​้�นส่​่วนที่​่�มี​ีความทนทานสู​ูง ซึ่​่�งหยิ​ิบยื​ืมมาจากชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพของรถเก็​็บเกี่​่�ยว พื​ืชอาหารสั​ัตว์​์คลาสรุ่​่น� JAGUAR (จากั​ัวร์​์) นำำ�มาปรั​ับปรุ​ุงและออกแบบใหม่​่ เพื่​่�อเสริ​ิมความแข็​็งแกร่​่งของตลั​ับลู​ูกปื​ืน/โรลเลอร์​์ ช่​่องทางเดิ​ินวั​ัสดุ​ุ และชิ้​้�น ส่​่วนต่​่างๆ นอกจากข้​้อดี​ีต่​่างๆ ข้​้างต้​้น เครื่​่�องจั​ักรฯ ยั​ังทำำ�งานได้​้ราบรื่​่�นกว่​่า เดิ​ิมและมี​ีเสี​ียงการทำำ�งานที่​่�ลดลงอี​ีกด้​้วย กลไกขั​ับเคลื่​่�อนชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพ มาพร้​้อมราวหนวดกุ้​้�ง 5 ราว แต่​่ละราวมี​ี หนวดกุ้​้�ง 18 ตั​ัว ก็​็ได้​้รั​ับการปรั​ับแต่​่งเพื่​่อ� เพิ่​่ม� ปริ​ิมาณงานและประสิ​ิทธิ​ิภาพใน การเก็​็บเขี่​่ย� ฟางหรื​ือใบอ้​้อยด้ว้ ยเช่​่นกั​ันราวหนวดกุ้​้�งที่​่�เพิ่ม่� ขึ้​้น� ช่​่วยให้​้ชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพ หมุ​ุนช้​้าลง ในขณะที่​่�ลู​ูกกลิ้​้�งกดวั​ัสดุ​ุในระบบ POWER FEEDING SYSTEM

ห้​้องอั​ัดก้​้อนเป็​็นอี​ีกส่​่วนการทำำ�งานที่​่�ได้​้รั​ับการเสริ​ิมสมรรถนะด้​้วยเช่​่น กั​ัน โดยส่​่วนด้​้านบนจะประกอบด้​้วยแผ่​่นหลั​ังคาและแผ่​่นกดข้​้างห้​้องอั​ัดซึ่​่�ง ผ่​่านการออกแบบใหม่​่ เสริ​ิมความแข็​็งแรงขึ้​้น� เพื่​่ออั​ั � ดก้​้อนฟางหรื​ือก้​้อนใบอ้​้อย ให้​้สวยขึ้​้น� และปริ​ิมาตรการอั​ัดที่​่�แน่​่นขึ้​้น� กว่​่าเก่​่า วั​ัสดุ​ุที่​่�รางลู​ูกสู​ูบและแผ่​่นกั้​้น� ที่​่�ติ​ิดตั้​้�งมาให้​้จากโรงงาน ยั​ังช่​่วยลดปริ​ิมาณวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�มั​ักตกค้​้างในบริ​ิเวณ รางลู​ูกสู​ูบขณะอั​ัดฟาง ข้​้าวโพด หรื​ืออ้​้อย เสริ​ิมความปลอดภั​ัยให้​้รั​ัดกุ​ุมและ ทำำ�ความสะอาดได้​้สะดวกยิ่​่�งขึ้​้�น

(ระบบพาวเวอร์​์ฟี​ีดดิ้​้�งหรื​ือระบบ PFS) มี​ีความเร็​็วเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�น ในส่​่วนของลู​ูก กลิ้​้�งป้​้อนมี​ีแผ่​่นกั้​้�นเพิ่​่�มขึ้​้�นจากเดิ​ิม ซึ่​่�งสามารถถอดออกได้​้เมื่​่�อเก็​็บเกี่​่�ยวพื​ืช ที่​่�มี​ีลำำ�ต้​้นยาว โดยลู​ูกกลิ้​้�งป้​้อนในระบบ PFS ติ​ิดตั้​้�งด้​้วยสปริ​ิงจะเก็​็บวั​ัสดุ​ุที่​่� ไม่​่สม่ำำ��เสมอกั​ัน เป้​้าหมายโดยรวมของการปรั​ับปรุ​ุงใหม่​่ครั้​้�งนี้​้�คื​ือการเพิ่​่�ม ประสิ​ิทธิ​ิภาพในการเก็​็บวั​ัสดุ​ุและปริ​ิมาณงานควบคู่​่�ไปกั​ับการรั​ักษาการเก็​็บ เศษพื​ืชที่​่�หลงเหลื​ือจากการเก็​็บเกี่​่�ยวให้​้คงความนุ่​่�มนวลและปราศจากการ สู​ูญเสี​ียผลผลิ​ิต เพื่​่�อรองรั​ับปริ​ิมาณงานที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น แรงบิ​ิดของชุ​ุดคลั​ัทเพิ่​่�มขึ้​้�น เป็​็น 1,600 นิ​ิวตั​ันเมตร และเพลาขั​ับชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพมี​ีขนาดใหญ่​่ขึ้​้�น ระบบปรั​ับ ความตึ​ึงโซ่​่กึ่​่�งอั​ัตโนมั​ัติ​ิเพื่​่อช่​่ � วยให้​้ ชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพทำำ�งานได้​้อย่​่างสม่ำำ��เสมอ อี​ีกทั้​้�ง ยั​ังมี​ีระบบหล่​่อลื่​่�นอั​ัตโนมั​ัติ​ิที่​่�มี​ีถั​ังน้ำำ��มั​ันขนาด 6.3 ลิ​ิตรมาให้​้เป็​็นอุ​ุปกรณ์​์ มาตรฐานด้​้วยเช่​่นกั​ัน

ระบบควบคุ​ุมแรงอั​ัดก้​้อนอั​ัตโนมั​ัติ​ิ (APC) ที่​่�ตอบสนองต่​่อความตึ​ึงของ เชื​ือกมั​ัดฟางและปริ​ิมาณของวั​ัสดุ​ุที่​่�อั​ัดได้​้อย่​่างรวดเร็​็วและว่​่องไวยิ่​่�งขึ้​้�น การนำำ�ชิ้​้�นส่​่วน Hardox HD มาใช้​้ในบางส่​่วน (อุ​ุปกรณ์​์บางชิ้​้�นมี​ีมาให้​้ เป็​็นมาตรฐานและบางชิ้​้น� เป็​็นอุ​ุปกรณ์​์เสริ​ิม) เช่​่น โรลเลอร์​์ลู​ูกสู​ูบแบบ HD ที่​่� มี​ีอายุ​ุการใช้​้งานยาวนานกว่​่าเดิ​ิมถึ​ึงสี่​่�เท่​่า ช่​่วยลดอั​ัตราการสึ​ึกหรอในบริ​ิเวณ ห้​้องอั​ัดก้​้อน บริ​ิเวณเครื่​่อ� งมั​ัดปม และบริ​ิเวณทางเดิ​ินวั​ัสดุ​ุได้​้มากกว่​่าเดิ​ิม ด้​้วย การใช้​้ชิ้​้�นส่​่วนดั​ังกล่​่าวที่​่�มี​ีทั้​้�งความแข็​็งแรงและความทนทานสู​ูง ผสมผสาน กั​ับชุ​ุดปิ๊​๊�คอั​ัพขนาดมหึ​ึมาที่​่�มี​ีชามรู​ูปหั​ัวใจทั้​้�งสองด้​้าน และการบำำ�รุ​ุงรั​ักษาที่​่� ง่​่าย ทำำ�ให้​้เป็​็นอี​ีกครั้​้ง� หนึ่​่�งที่​่�เครื่​่อ� งจั​ักรคลาสจะช่​่วยให้​้คุ​ุณประหยั​ัดต้​้นทุ​ุนรวม ในการเป็​็นเจ้​้าของ (Total Cost of Ownership หรื​ือ TCO) QUADRANT EVOLUTION (ควอดแรนท์​์ อี​ีโวลู​ูชั่​่�น) อย่​่างเห็​็นได้​้ชั​ัด บริ​ิษั​ัทได้​้มีกี ารทดสอบ

www.sugar-asia.com

ห้​้องอั​ัดก้อ้ นที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพดี​ีกว่​่าเดิ​ิมด้​้วยชิ้​้�น ส่​่วน HD

23


Special Insight

H

arsewinkel/Metz, 5 August 2021. CLAAS has re-engineered its QUADRANT square balers for increased output and maximum durability. Among other things, the new QUADRANT EVOLUTION now has a new HD pick-up.

The CLAAS QUADRANT is Germany’s top-selling square baler. For the 2022 product year, the QUADRANT 5000 and QUADRANT 4200 series have been given a comprehensive technical upgrade along with the additional designation EVOLUTION.

New pick-up with two cam tracks

เครื่​่�องอั​ัด โดยทำำ�การอั​ัดวั​ัสดุ​ุถึ​ึง 40,000 ก้​้อน ซึ่​่�งการทดสอบดั​ังกล่​่าวนั้​้�นได้​้ รวมการทดสอบภายใต้​้สภาพการทำำ�งานที่​่�สุ​ุดโหดไว้​้ด้ว้ ย พบว่​่าการออกแบบ ใหม่​่และการใช้​้ชิ้​้น� ส่​่วนที่​่�มีคี วามทนทานต่​่อการสึ​ึกหรอช่​่วยลดอั​ัตราการสึ​ึกหรอ ได้​้สู​ูงสุ​ุดถึ​ึง 40 เปอร์​์เซ็​็นต์​์

การต่​่อพ่​่วงและการใช้​้งานที่​่�ก้​้าวไกลไปกว่​่าเก่​่า เครื่​่�องอั​ัดก้​้อนเหลี่​่�ยมรุ่​่�น QUADRANT 5300 EVOLUTION (ควอด แรนท์​์ 5300 อี​ีโวลู​ูชั่​่�น)) มี​ีการออกแบบส่​่วนหั​ัวรถและโครงด้​้านหน้​้าใหม่​่ทั้​้�ง ชุ​ุด ในขณะที่​่�รุ่​่�น QUADRANT 5200 EVOLUTION (ควอดแรนท์​์ 5200 อี​ีโวลู​ูชั่​่�น)) และ 4200 EVOLUTION (4200 อี​ีโวลู​ูชั่​่�น)) มี​ีเฉพาะชุ​ุดโครง ต่​่อพ่​่วงเท่​่านั้​้�นที่​่�มี​ีการเปลี่​่�ยนใหม่​่ ซึ่​่�งเพิ่​่�มตำำ�แหน่​่งต่​่อพ่​่วงของห่​่วงคานลาก หรื​ือ K80 ชุ​ุดขาตั้​้�งไฮดรอลิ​ิกของรุ่​่�น QUADRANT EVOLUTION (ควอดแร นท์​์ อี​ีวาลู​ูชั่​่�น) เป็​็นแบบสองจั​ังหวะ ติ​ิดตั้​้�งมาในตั​ัวโครงต่​่อพ่​่วง และมี​ีความ ยาวมากกว่​่ารุ่​่�นก่​่อนหน้​้า หั​ัวค็​็อปเปอร์​์ ของ Kennfix ที่​่�มี​ีมาให้​้เป็​็นอุ​ุปกรณ์​์ มาตรฐานทำำ�ให้​้การต่​่อสายไฮดรอลิ​ิกได้​้อย่​่างง่​่ายดาย ตู้​้�เชื​ือกใหม่​่ได้​้รั​ับการปรั​ับปรุ​ุงเพิ่ม่� เติ​ิมให้​้ผู้​้�ใช้​้งานสะดวกสบายยิ่​่�งขึ้​้น� โดย ชุ​ุดเบรคเชื​ือกและตาไก่​่ร้​้อยเชื​ือกสามารถสวิ​ิงออกและสามารถล็​็อกให้​้อยู่กั​ั่� บ ที่​่�ได้​้เพี​ียงยื​ืนข้​้างเครื่​่อ� งอั​ัดก็​็สามารถมั​ัดปมเชื​ือกได้​้โดยไม่​่ต้​้องใช้​้บั​ันได เบรค เชื​ือกสามารถปรั​ับตั้​้�งได้​้เพี​ียงยื​ืนในตำำ�แหน่​่งเดี​ียวกั​ันโดยไม่​่ต้​้องใช้​้เครื่​่�องมื​ือ เพิ่​่�มเติ​ิม ช่​่วยประหยั​ัดเวลาและเพิ่​่�มความปลอดภั​ัยในการทำำ�งาน ถั​ังน้ำำ��ล้​้าง มื​ือ 10 ลิ​ิตรมี​ีมาให้​้เป็​็นอุ​ุปกรณ์​์มาตรฐานสำำ�หรั​ับผู้​้�ใช้​้งานล้​้างมื​ือหลั​ังเสร็​็จ สิ้​้�นการปรั​ับตั้​้�งต่​่างๆ นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีฟั​ังก์​์ชั​ันเสริ​ิมใหม่​่ที่​่�น่​่าจะเป็​็นที่​่�โปรดปรานของผู้​้�ใช้​้งาน หลายๆ คนและเป็​็นประโยชน์​์ต่​่อคนขั​ับเป็​็นอย่​่างมากคื​ือ สะพานท้​้ายสามารถ เปิ​ิด-ปิ​ิดได้​้จากห้​้องคนขั​ับโดยไม่​่ต้​้องลุ​ุกออกจากที่​่�นั่​่�ง ทำำ�ให้​้สามารถดั​ันก้​้อน ฟางหรื​ือใบอ้​้อยก้​้อนสุ​ุดท้​้ายออกจากเครื่​่�องอั​ัดโดยไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องเสี​ียเวลาลุ​ุก ออกจากที่​่�นั่​่�งเพื่​่�อไปใช้​้คั​ันบั​ังคั​ับด้​้านข้​้างห้​้องอั​ัดก้​้อนอี​ีกต่​่อไป

The highlight of the QUADRANT EVOLUTION is the new HD pick-up with two cam tracks. This unique design guarantees maximum torsional resistance and exceptional robustness. Furthermore, wear costs have been reduced by increasing the use of highly resilient components borrowed from the CLAAS JAGUAR pick-up and by reworking and strengthening bearings, intake panels and other parts. This has the added bonus of smoother running with reduced noise levels. The mechanically driven pick-up with five rows of tines and 18 double tines per row has also been tweaked to increase throughput and further improve raking quality. The extra row of tines allows the pick-up to rotate more slowly, while the speed of the POWER FEEDING SYSTEM (PFS) roller has been increased. The feed roller has also been given extra paddles which can be removed when harvesting long-stalked crops. The spring-mounted PFS feed roller compensates for uneven swaths. The overall objective of the innovations is to enhance raking performance and throughput while ensuring gentle, loss-free crop pick-up. To

การใช้​้งานหน้​้าจอที่​่�เรี​ียบง่​่าย แผงควบคุ​ุมอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ของรุ่​่�น QUADRANT EVOLUTION (ควอดแรนท์​์ อี​ีโวลู​ูชั่​่�น)) ได้​้รั​ับการปรั​ับปรุ​ุงใหม่​่ สามารถใช้​้งานได้​้ผ่​่านหน้​้า จอ CEMIS 700 CEBIS หรื​ือหน้​้าจออื่​่น� ๆ ที่​่�ใช้​้ได้​้กั​ับแผงควบคุ​ุมระบบปฏิ​ิบั​ัติ​ิ การ ISOBUS มี​ีสองเมนู​ูการทำำ�งานและการตั้​้�งค่​่าสามชุ​ุดให้​้เลื​ือกใช้​้ พร้​้อม เปลี่​่ย� นหน้​้าจอการใช้​้งานใหม่​่ให้​้อ่​่านง่​่ายและเข้​้าถึ​ึงเมนู​ูต่​่างๆ ได้​้รวดเร็​็วยิ่​่�งขึ้​้น� ในโหมดอั​ัตโนมั​ัติ​ิ หน้​้าจอจะแสดงสมรรถนะการทำำ�งานของเครื่​่อ� งจั​ักรฯ ซึ่​่�ง จะแสดงค่​่าเฉลี่​่�ยของน้ำำ��หนั​ักก้​้อนฟางและแรงอั​ัดฟางโดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ นอกจาก นี้​้�ผู้​้�ใช้​้งานยั​ังสามารถตรวจสอบอุ​ุณหภู​ูมิ​ิน้ำำ��มั​ันและระดั​ับน้ำำ��มั​ันได้​้บนหน้​้าจอ ตลอดเวลา ระบบกล้​้อง PROFI CAM 4 อุ​ุปกรณ์​์เสริ​ิมใหม่​่ ที่​่�สามารถสั่​่�ง ซื้​้�อหน้​้าจอแสดงผลเพิ่​่ม� ได้​้ ช่​่วยให้​้ผู้​้�ใช้​้งานมองเห็​็นส่​่วนการทำำ�งานต่​่างๆ ไม่​่ว่​่า จะเป็​็นส่​่วนเครื่​่อ� งมั​ัดปม ส่​่วนสะพานท้​้าย หรื​ือทั้​้ง� บริ​ิเวณด้​้านหลั​ังแทรกเตอร์​์ และเครื่​่�องอั​ัดเมื่​่�อขั​ับถอยหลั​ัง คุ​ุณมั่​่�นใจได้​้ว่​่าจะได้​้รั​ับทั้​้�งเรื่​่�องความสะดวก สบายและความปลอดภั​ัย 24

www.sugar-asia.com


Special Insight when baling straw, maize or sugarcane – further increasing operational safety and reducing the cleaning effort. The automatic baling pressure control (APC) responds even more rapidly – and even more sensitively – to twine tension or load in the intake area. The use of additional Hardox HD components (some standard and others optional) – such as HD bearings for the ram guide with up to four times the service life – has further reduced wear in the bale chamber, knotter area and intake. Thanks to these extremely robust and durable components combined with the massive pick-up with cam track on both sides and the simplified maintenance, the TCO (total cost of ownership) of the QUADRANT EVOLUTION has been greatly reduced once again. In an internal test involving 40,000 bales per machine under extreme conditions in some cases, the new design combined with the more wear-resistant components was found to reduce wear by up to 40 percent.

Hitching and handling improved handle the higher throughput volumes, the release torque on the friction clutch has been increased to 1,600 Nm and the diameter of the pick-up main drive shaft has been enlarged. Semiautomatic chain tensioning ensures reliable pick-up drive and automatic lubrication and a 6.3 l oil reservoir is available as standard.

Optimised bale chamber with additional HD components The bale chamber has also undergone performanceenhancing modifications. The top section incorporating the header plate and side panels has been redesigned and strengthened to produce an even better bale shape and slightly higher bale density. Furthermore, factory-fitted side knives and deflectors are available to reduce material build-up in the ram guide area

The QUADRANT 5300 EVOLUTION has a completely new front frame and headstock, while the QUADRANT 5200 EVOLUTION and 4200 EVOLUTION only have a new hitch frame. This provides additional hitching positions for drawbar eyes or K80. The hydraulic stand of the new QUADRANT EVOLUTION is double-acting, longer than the previous generation and built into the hitch frame. Standard Kennfix quick-release couplers make it easy to connect the hydraulic lines. Modifications to the twine boxes have also made life easier for the operator. The twine guide swings out and can be locked in position. This means that the twine can be threaded when standing beside machine without having to use a stepladder. The twine brakes can be adjusted from the same standing position without needing tools. This saves time and increases workplace safety. A 10 l hand-washing tank is provided as standard for the driver to use after completing any adjustments. There’s a new optional function that is sure to go down well with drivers too: the bale ramp can be opened and closed hydraulically from the comfort of the cab, so no need to step down. This function also enables the final bale to be ejected from the driver’s seat, again eliminating the need to step down from the cab and actuate the lever beside the bale chamber.

Simplified terminal operation Changes have been made to the electronic control panel of the QUADRANT EVOLUTION, which is accessed via CEMIS 700, CEBIS or any other ISOBUS-compatible terminal. Just two working menus and three settings menus provide a better overview and rapid navigation. In auto mode the machine capacity utilisation is displayed based on average bale weight and baling pressure. In addition, the driver can now monitor the oil temperatures and oil levels in the terminal at all times. Thanks to an optional PROFI CAM 4 camera – with additional display on request – the driver can also keep an eye on working areas such as the knotters, the bale chute or the entire area behind the tractor-baler combination when reversing. Comfort and safety have been enhanced in equal measure.

สอบถามข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม www.claas.co.th (ภาษาไทย) Facebook@CLAAS.SouthEastAsia Instagram@claas_sea Line@claas.sea

www.sugar-asia.com

25


Special Insight

VEGAPULS 69 เซ็​็นเซอร์​์วัดร ั ะดั​ับเรดาร์​์ แบบไร้​้สัม ั ผั​ัสพร้​้อมเทคโนโลยี​ี 80 GHz VEGAPULS 69 non-contact radar level measurement sensor with 80 GHz technology

ท่​่า

เรื​ือพอร์ต์ แลนด์​์ที่​่ตั้​้� ง� อยู่​่�ในรั​ัฐโอเรกอน เป็​็น ท่​่าเรื​ืออั​ันดั​ับหนึ่​่�งในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาสำำ�หรั​ับการ ส่​่งออกข้​้าวสาลี​ี โดยมี​ีข้า้ วสาลี​ีและธั​ัญพืชื อื่​่�นๆ ประมาณ 350,000 ตั​ันได้​้รั​ับการขนถ่​่ายผ่​่านโรงงานส่​่งออกแห่​่ง เดี​ียวทุ​ุกเดื​ือน

ถั​ังไซโลคอนกรี​ีตสู​ูงตระหง่​่านประมาณ 12 ชั้​้�น เช่​่นเดี​ียวกั​ับถั​ังและเรื​ือ ขนาดเล็​็กกว่​่า ทำำ�หน้​้าที่​่�จั​ัดเก็​็บเมล็​็ดพื​ืชทั้​้ง� หมดนี้​้�ก่​่อนที่​่�จะส่​่งในตู้​้�สิ​ินค้​้าบนเรื​ือ บรรทุ​ุกสิ​ินค้​้าขนาดใหญ่​่ การจั​ัดการปริ​ิมาณใหญ่​่ขนาดนี้​้�ต้อ้ งอาศั​ัยข้​้อมู​ูลการ วั​ัดระดั​ับที่​่�แม่​่นยำำ�และเชื่​่�อถื​ือได้​้เพื่​่�อให้​้เมล็​็ดพื​ืชเคลื่​่�อนที่​่�ไปเรื่​่�อยๆ และการ ทำำ�งานเป็​็นไปด้​้วยความราบรื่​่�น ด้​้วยถั​ังไซโล แทงค์​์ และจุ​ุดข้​้อมู​ูลตรวจวั​ัดระดั​ับมากกว่​่า 90 ตำำ�แหน่​่ง การใช้​้เซ็​็นเซอร์​์ค้น้ หาที่​่�เหมาะสมสำำ�หรั​ับทุ​ุกการใช้​้งานจึ​ึงถื​ือเป็​็นเรื่​่อ� งท้​้าทาย แต่​่โชคดี​ีที่​่�เจ้​้าหน้​้าที่​่�อำำ�นวยการสามารถทำำ�งานร่​่วมกั​ับเครื่​่�อง VEGA ได้​้ โดยตรงเพื่​่อ� ทดสอบเซ็​็นเซอร์​์วั​ัดระดั​ับเรดาร์​์แบบไร้​้สั​ัมผั​ัส VEGAPULS 69 ที่​่�มี​ีเทคโนโลยี​ี 80 GHz

กั​ับสายเคเบิ​ิลลงไปสั​ัมผั​ัสที่​่�พื้​้�นผิ​ิวของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ แล้​้วม้​้วนกลั​ับใหม่​่ อุ​ุปกรณ์​์ อิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์แบบเซ็​็นเซอร์​์จะติ​ิดตามเวลาที่​่�ใช้​้ในการดำำ�เนิ​ินการดั​ังกล่​่าวจน เสร็​็จสิ้​้�นและคำำ�นวณค่​่าการวั​ัดระดั​ับให้​้ วิ​ิธี​ีการทำำ�งานของเซ็​็นเซอร์​์นี้​้�ใช้​้ได้​้ผลดี​ีในทางทฤษฎี​ี แต่​่เมื่​่�อเวลาผ่​่าน ไป ความแม่​่นยำำ�ในการวั​ัดและความน่​่าเชื่​่�อถื​ือจะเริ่​่�มลดลง เนื่​่อ� งจากชิ้​้�นส่​่วน เครื่​่อ� งกลภายในเซ็​็นเซอร์​์มีกี ารสึ​ึกหรอ จึ​ึงทำำ�ให้​้เกิ​ิดความเปลี่​่ย� นแปลงระยะเวลา ในการม้​้วนและคลายสายได้​้ ซึ่​่�งอาจส่​่งผลต่​่อความแม่​่นยำำ�ของการวั​ัดระยะ ที่​่� โรงงานส่​่งออกดั​ังกล่​่าว จะเกิ​ิดเหตุ​ุการณ์​์ที่​่ส� ายเคเบิ​ิลเซ็​็นเซอร์​์พั​ันกั​ันเป็​็นประจำำ� เมื่​่�อสั​ัมผั​ัสกั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ทำำ�การวั​ัด ส่​่งผลให้​้เซ็​็นเซอร์​์ทำำ�งานล้​้มเหลว เช่​่นเดี​ียวกั​ัน ที่​่�โรงงานแห่​่งนี้​้� พนั​ักงานซ่​่อมบำำ�รุ​ุงต้​้องตรวจสอบเซ็​็นเซอร์​์ แต่​่ละตั​ัวแยกกั​ันเป็​็นกิ​ิจวั​ัตรและเขย่​่าสายเคเบิ​ิลแรงๆ เพื่​่�อทำำ�ให้​้ฝุ่​่�นหรื​ือสิ่​่�ง การเพิ่​่�มการดู​ูแลรั​ักษาเซ็​็นเซอร์​์วั​ัดระดั​ับเครื่​่�องกลให้​้มากขึ้​้�น สกปรกออกจากตั​ัวเครื่​่อ� งเซ็​็นเซอร์​์ การหยุ​ุดซ่​่อมบำำ�รุ​ุงตามกำำ�หนดเวลาเหล่​่า นี้​้�ไม่​่เพี​ียงแต่​่เพิ่​่�มความเสี่​่�ยงในชี​ีวิ​ิตของพนั​ักงานให้​้มากขึ้​้�น เมื่​่�อพวกเขาต้​้อง โรงงานส่​่งออกธั​ัญพื​ืชในเขตตะวั​ันตกเฉี​ียงเหนื​ือของมหาสมุ​ุทรแปซิ​ิฟิ​ิก ปี​ีนขึ้​้�นไปบนยอดของถั​ังไซโลบ่​่อยๆ แต่​่โรงงานยั​ังต้​้องเสี​ียค่​่าใช้​้จ่​่ายเพิ่​่�มเติ​ิม เคยใช้​้เซ็​็นเซอร์​์วั​ัดระดั​ับลู​ูกดิ่​่�งแบบเครื่​่อ� งกลหรื​ือโยโย่​่ ซึ่​่�งปล่​่อยน้ำำ��หนั​ักที่​่�ติดิ อยู่​่� อี​ีกประมาณ 50,000 ดอลลาร์​์ต่​่อปี​ี 26

www.sugar-asia.com


Special Insight แม้​้จะมี​ีข้​้อบกพร่​่อง แต่​่เซ็​็นเซอร์​์ลู​ูกดิ่​่�งก็​็เป็​็นเทคโนโลยี​ีการวั​ัดระดั​ับที่​่�ดี​ี ที่​่�สุ​ุดที่​่�ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติงิ านจะค้​้นพบได้​้ในขณะนั้​้น� แต่​่ด้​้วยค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่�เพิ่​่ม� ขึ้​้น� และความ ไว้​้วางใจในเซ็​็นเซอร์​์ดั​ังกล่​่าวที่​่�ลดน้​้อยลง ก็​็ถึ​ึงเวลาที่​่�จะอั​ัพเกรดเทคโนโลยี​ีการ วั​ัดระดั​ับใหม่​่อี​ีกครั้​้ง� ในขณะเดี​ียวกั​ัน VEGA ได้​้ขอให้​้โรงงานดั​ังกล่​่าวมาเรี​ียน รู้​้�เพิ่​่�มเติ​ิมเกี่​่�ยวกั​ับกระบวนการของตนเอง

เซ็​็นเซอร์​์วัดั ระดั​ับเรดาร์​์แบบไร้​้สั​ัมผั​ัสพร้อ้ มเทคโนโลยี​ี 80 GHz ถั​ังไซโลคอนกรี​ีตขนาดใหญ่​่ที่​่ใ� ช้​้ระยะทางมากในการวั​ัดถื​ือเป็​็นงานที่​่�ยาก ที่​่�สุ​ุด ที่​่�แย่​่ยิ่​่�งไปกว่​่านั้​้น� ยั​ังมี​ีฝุ่น่� ผง โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งในระหว่​่างการเติ​ิมและ เทธั​ัญพื​ืช นอกจากนี้​้� เมล็​็ดธั​ัญพื​ืช เช่​่น ข้​้าวสาลี​ี ถั่​่�วเหลื​ือง และข้​้าวโพด สามารถทำำ�ให้​้เกิ​ิดการสึ​ึกหรอของเซ็​็นเซอร์​์ได้​้อี​ีกด้​้วย เพื่​่�อเอาชนะความท้​้าทายเหล่​่านี้​้� VEGA จึ​ึงขอแนะนำำ� VEGAPULS 69 ซึ่​่�งเป็​็นเซ็​็นเซอร์​์เรดาร์​์แบบไร้​้สั​ัมผั​ัสที่​่�ออกแบบและสร้​้างขึ้​้น� โดยเฉพาะสำำ�หรั​ับ การวั​ัดระดั​ับของแข็​็งจำำ�นวนมาก เช่​่นเดี​ียวกั​ับเซ็​็นเซอร์​์เรดาร์​์ตั​ัวใหม่​่อื่​่�นๆ อุ​ุปกรณ์​์ชิ้​้น� นี้​้�ใช้​้ความถี่​่�ในการส่​่งสั​ัญญาณที่​่� 80 GHz ซึ่​่�งเป็​็นการก้​้าวกระโดด ครั้​้ง� ใหญ่​่จากรุ่​่น� ก่​่อนที่​่�ใช้​้ความถี่​่� 26 GHz ด้​้วยความถี่​่�ในการส่​่งสั​ัญญาณที่​่�สู​ูง ขึ้​้�น เซ็​็นเซอร์​์เรดาร์​์นี้​้�จึ​ึงมี​ีมุ​ุมลำำ�แสงที่​่�ให้​้โฟกั​ัสมากกว่​่า ทำำ�ให้​้สั​ัญญาณย้​้อน กลั​ับแรงกว่​่าเดิ​ิมเพื่​่อ� การวั​ัดที่​่�แม่​่นยำำ�และเชื่​่�อถื​ือได้​้มากขึ้​้�น VEGAPULS 69 มี​ีช่​่วงการวั​ัดสู​ูงสุ​ุด 393 ฟุ​ุต (120 เมตร) สามารถวั​ัด ระยะถั​ังไซโลที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดได้​้ทั้​้�งหมดในไซต์​์งานอย่​่างง่​่ายดาย โดยพื้​้�นฐานแล้​้ว คลื่​่น� วิ​ิทยุ​ุไมโครเวฟที่​่�ใช้​้ในการวั​ัดจะ “มองเห็​็น” ฝุ่​่น� ในอากาศ และซอฟต์​์แวร์​์ เซ็​็นเซอร์​์ภายในจะไม่​่สนใจสิ่​่�งใดๆ ที่​่�อาจสะสมอยู่​่�ที่​่�ด้​้านหน้​้าของเสาอากาศ

สะอาดเซ็​็นเซอร์​์ใหม่​่เป็​็นประจำำ� นอกจากนั้​้�น เซ็​็นเซอร์​์ VEGAPULS 69 เชื่​่�อมต่​่อกั​ับระบบสิ​ินค้​้าคงคลั​ังที่​่�มี​ีอยู่​่�อย่​่างง่​่ายดาย ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานจึ​ึงได้​้ รั​ับข้​้อมู​ูลด้​้านระดั​ับสิ​ินค้​้าคงคลั​ังแบบเรี​ียลไทม์​์โดยไม่​่มี​ีข้อผิ ้ ดิ พลาดหรื​ือความ ล้​้มเหลวที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นเรื่​่อย � ๆ จากเทคโนโลยี​ีในอดี​ีต

ค้​้นหาวิ​ิธี​ีแก้​้ปั​ัญหาในการวั​ัดระดั​ับ ความสำำ�เร็​็จของโรงงานส่​่งออกธั​ัญพื​ืชในพอร์​์ตแลนด์​์ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับการ ดำำ�เนิ​ินงานอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพและราบรื่​่�น ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานจำำ�เป็​็นต้​้องรู้​้�ว่​่ามี​ี สิ​ินค้​้าคงคลั​ังใดบ้​้างในช่​่วงเวลาหนึ่​่�ง และนั่​่�นจะต้​้องเริ่​่�มต้​้นด้​้วยการวั​ัดระดั​ับ ที่​่�แม่​่นยำำ� เมื่​่�อถึ​ึงเวลาต้​้องอั​ัพเกรดเครื่​่อ� งมื​ือของตน ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานจะพยายาม หาทางเลื​ือกที่​่�ดีที่​่ี �สุ​ุด การค้​้นหาเซ็​็นเซอร์​์วั​ัดระดั​ับที่​่�เหมาะสมอาจถื​ือเป็​็นงานที่​่�ท้า้ ทาย เทคโนโลยี​ี การวั​ัดระดั​ับต่​่างๆ ผู้​้�ผลิ​ิตเครื่​่อ� งมื​ือวั​ัด และความต้​้องการเฉพาะของทุ​ุกการ ใช้​้งานอาจดู​ูเป็​็นเรื่​่�องง่​่าย อย่​่างไรก็​็ตาม ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านการวั​ัดระดั​ับเป็​็น ทรั​ัพยากรข้​้อมู​ูลที่​่�ทรงคุ​ุณค่​่า และการปรึ​ึกษากั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญเหล่​่านี้​้�จะทำำ�ให้​้ กระบวนการทำำ�งานง่​่ายขึ้​้�นและใช้​้เวลาน้​้อยลง ด้​้วยการทำำ�งานร่​่วมกั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านการวั​ัดระดั​ับที่​่� VEGA ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิ งานจะได้​้เรี​ียนรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับการวั​ัดระดั​ับแบบไร้​้สั​ัมผั​ัสด้​้วยเทคโนโลยี​ีเรดาร์​์ความถี่​่� 80 GHz ความเก่​่งกาจ ความแม่​่นยำำ� และความน่​่าเชื่​่�อถื​ือของ VEGAPULS 69 ทำำ�ให้​้โรงงานแห่​่งนี้​้�ใช้​้แนวทางเดี​ียวกั​ันที่​่�เข้​้ากั​ับทุ​ุกคน ขณะนี้​้� เมล็​็ดธั​ัญพื​ืชกำำ�ลั​ังเคลื่​่�อนที่​่�เข้​้าและออกจากท่​่าเรื​ือพอร์​์ตแลนด์​์ อย่​่างราบรื่​่�นมากกว่​่าที่​่�เคยเป็​็นมา

มี​ีเซ็​็นเซอร์​์เรดาร์​์ VEGAPULS 69 สี​ีเหลื​ืองสดใสพร้​้อมเทคโนโลยี​ี 80 GHzตั้​้�งอยู่​่�บนถั​ังไซโลหลายตั​ัว การเชื่​่�อมต่​่อหน้​้าแปลนทำำ�ให้​้ติ​ิดตั้​้�งง่​่ายยิ่​่�งขึ้​้�น

อี​ีกทั้​้�งเซ็​็นเซอร์​์อิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ไม่​่มี​ีชิ้​้�นส่​่วนกลไก ทำำ�ให้​้แทบไม่​่ต้​้องดู​ูแลบำำ�รุ​ุง รั​ักษาใดๆ เพิ่​่�มเติ​ิมอี​ีกเลย ข้​้อมู​ูลจำำ�เพาะทางเทคนิ​ิคของ VEGAPULS 69 เกิ​ินขี​ีดจำำ�กั​ัดของข้​้อ กำำ�หนดทุ​ุกประการสำำ�หรั​ับการวั​ัดแต่​่ละระดั​ับในโรงงานส่​่งออกเมล็​็ดพื​ืช และ เนื่​่�องจากเรดาร์​์ความถี่​่� 80 GHz มี​ีประวั​ัติ​ิความสำำ�เร็​็จที่​่�พิ​ิสู​ูจน์​์แล้​้วในโรงงาน เมล็​็ดพื​ืชแห่​่งอื่​่น� ๆ ผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติงิ านจึ​ึงเลื​ือกที่​่�จะเพิ่​่ม� คุ​ุณภาพการตรวจวั​ัดระดั​ับให้​้ ถึ​ึงเกื​ือบ 100 ระดั​ับในโรงงานของตน เมื่​่�อติ​ิดตั้​้�งเซ็​็นเซอร์​์เรดาร์​์ใหม่​่แต่​่ละเครื่​่�อง โรงงานส่​่งออกเมล็​็ดพื​ืชใน พอร์​์ตแลนด์​์ก็​็เริ่​่�มได้​้รั​ับประโยชน์​์จากเทคโนโลยี​ีเรดาร์​์ความถี่​่� 80 GHz และ เมื่​่�อเรดาร์​์ทุ​ุกตั​ัวทำำ�งาน โรงงานเหล่​่านี้​้�ยั​ังค้​้นพบวิ​ิธี​ีการที่​่�เซ็​็นเซอร์​์ขนาดเล็​็ก เหล่​่านี้​้�จะช่​่วยในกระบวนการทำำ�งานของโรงงานต่​่อไปอี​ีกด้​้วย ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� ค่​่าใช้​้จ่​่ายในการบำำ�รุ​ุงรั​ักษาจึ​ึงลดลงอย่​่างมากทุ​ุกครั้​้ง� หลั​ังจาก ติ​ิดตั้​้�งโปรแกรมเรดาร์​์ และพนั​ักงานไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องตรวจสอบหรื​ือทำำ�ความ www.sugar-asia.com

T

he Port of Portland, located in the state of Oregon, is the number one port in the United States for wheat exports. Roughly 350,000 tons of wheat and other grains move through a single export facility every month.

Towering concrete silos approximately 12 stories tall, as well as smaller tanks and vessels, store all this grain before it’s shipped in bulk cargo containers on large cargo ships. Managing this kind of volume requires accurate, reliable level measurement data to keep the grains moving and the operation running smoothly.

27


Special Insight With more than 90 silos, tanks, and level measurement data points, finding the right sensor for every application proved to be a challenge. Fortunately, facility operators were able to work directly with VEGA to test a VEGAPULS 69 non-contact radar level measurement sensor with 80 GHz technology.

Maintaining mechanical level measurement sensors adds up

The VEGAPULS 69 non-contact radar level sensor for solids is easy to wire and program for bulk solids measurements. This grain export facility in the Pacific Northwest had been using mechanical plumb bob, or yo-yo, level sensors, which drop a weight attached to a cable down to the product surface, then reel it back in. The sensor electronics track the time it takes to complete this and calculates a level measurement. This sensor’s method of operation works well in theory, but over time, measurement accuracy and reliability begin to deteriorate. As the mechanical parts within the sensor experience wear and tear, it can change the timing of the cable reeling and unreeling, which can affect the accuracy of the measurement. At this export facility, the sensor cable regularly became tangled when it made contact with the product it was supposed to be measuring, resulting in a sensor failure. At the export grain facility, it had become routine for maintenance employees to check each sensor individually and hit the cable to knock any dust or buildup from it. These scheduled maintenance breaks not only put employees at additional risk as they climbed to the top of the silos so often, but it was also costing an additional estimated $50,000 every year. Despite their shortcomings, the plumb bob sensors were the best level measurement technology operators had found at the time. But with costs adding up and trust in the sensors dwindling, it was time to upgrade their level measurement technology. At about the same time, VEGA called the facility to learn more about their process.

28

Non-contact radar level measurements with 80 GHz technology Some of the most difficult level measurements at the grain exporter were massive concrete silos with great distances to measure. To add to the difficulty, dust was common, especially during filling and emptying. Plus, grains like wheat, soybeans, and corn can be abrasive, placing additional wear and tear on any contact measurement sensors. To overcome all these challenges, VEGA suggested the VEGAPULS 69, a non-contact radar sensor specifically designed and built for bulk solids level measurement. Like other modern radar sensors, it uses a transmission frequency of 80 GHz – a big leap forward from its 26 GHz predecessors. With a higher transmission frequency, modern radar sensors have a more focused beam angle, which provides a stronger return signal for a more reliable and accurate measurement. The VEGAPULS 69 has a measurement range of up to 393 feet (120 meters), easily capable of measuring the entire span of the largest silos at the site. The radio microwaves used to achieve a measurement essentially “see through” any dust in the air, internal sensor software ignores any product that may build up on the face of the antenna, and the electronic sensor has no mechanical parts, which nearly eliminates any upkeep or maintenance. The technical specifications of the VEGAPULS 69 easily exceeded every requirement for each level measurement application at the export grain facility, and because the 80 GHz radar has a proven track record of success at other grain plants, operators chose to upgrade the nearly 100 level measurements in their facility. As each new radar sensor was installed, the Portland grain export facility began to experience the benefits of 80 GHz radar technology. With every radar up and running, they continue to discover ways these small sensors have helped their process. Maintenance and upkeep costs dropped significantly after every radar was installed and programmed. Personnel didn’t need to regularly inspect or clean the new sensors. The VEGAPULS 69 sensors easily connected to their existing inventory system, so operators are receiving real-time inventory levels without the regular errors or failures they received with the previous technology.

Researching level measurement solutions The Portland grain export facility’s success depends on running their operation efficiently and smoothly. Operators need to know what inventory they have at any given time, and that begins with accurate level measurements. When it was time to upgrade their instrumentation, they put in the work to find the best solution for them. Finding the right level measurement sensor can be a challenging process. It’s easy to get overwhelmed by the different level measurement technologies, the instrumentation manufacturers, and the specific needs of every application. A local level measurement expert is an invaluable resource, and consulting with one can make the process easier and less time-consuming. By working with the level measurement experts at VEGA, operators learned about non-contact level measurements with 80 GHz radar technology. The VEGAPULS 69’s versatility, accuracy, and reliability allowed the company to take a one-sizefits-all approach. Now, grains are moving in and out of the Port of Portland more seamlessly than ever.

More information available at www.vega.com/vegapuls.

www.sugar-asia.com


RADAR IS THE BETTER

ULTRASONIC

Compact 80 GHz level sensor with in-head display

All advantages of the radar technology:

www.vega.com/vegapuls


Protection and condition monitoring for sugar production

Bently Nevada products can be found in many of the world’s sugar refining plants. Now many of those same plants are turning to us for a more comprehensive solution to their needs, moving beyond machinery protection instrumentation on a few critical assets to plantwide strategies and systems for improved environmental compliance, safety, asset production, quality, and reduced operating and maintenance costs. Learn more about our reliability and condition monitoring solutions for the sugar production industry.

Reliability solutions for the sugar production industry

Contact Bently Nevada customer care


Garlock is the sealing specialist, providing sealing solutions to critical applications including the sugar industry.

KLOZURE® 3-D Seal

STERILE-SEAL® Butterfly Valves

Learn how Garlock successfully solved sealing challenges such as jammed valves and shaft misalignment at sugar refineries. CASE STUDY Valve jamming due to sugar crystallization

CASE STUDY Shaft radial run out due to vacuum operation

Authorized Distributor: ASCG Invention (1991) Co., Ltd. 1087/7 Kheha-Romklao Road Khlong Songtonnoon, Ladkrabang, Bangkok 10520 Email: invention1991@ascggroup.com Phone: +662 916 1555 Hotline: +669 1936 5999 Fax: +662 916 1396


Ethanol News

E10 อาจช่​่วยการผลิ​ิตเอทานอลในอิ​ินเดี​ีย ท่​่ามกลาง วิ​ิกฤตสภาพอากาศ With the Climate Crisis On, E10 Might Be India’s Ethanol-Blending Sweet Spot

ายนเรนธรา โมดี​ี นายกรั​ัฐมนตรี​ีอิ​ินเดี​ีย กล่​่าว แถลงในวั​ันรำำ�ลึ​ึกการประกาศอิ​ิสรภาพของอิ​ินเดี​ีย ว่​่า อิ​ินเดี​ียใช้​้จ่​่ายเงิ​ินมากกว่​่า 12 แสนล้​้านรู​ูปี​ีในการนำำ� เข้​้าพลั​ังงาน และการผลิ​ิตพลั​ังงานในประเทศจะเป็​็น นโยบายที่​่�มีคี วามสำำ�คั​ัญสู​ูงสุ​ุดสำำ�หรั​ับประเทศ ซึ่​่�งการลด การใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงฟอสซิ​ิลและกลยุ​ุทธการลดก๊​๊าซคาร์​์บอน จะต้​้องให้​้ความสำำ�คั​ัญในทั​ันที​ี ดั​ังที่​่�เน้​้นไว้​้ในรายงานการ ประเมิ​ินครั้​้�งที่​่�หก (AR6) ของคณะกรรมการระหว่​่าง รั​ัฐบาลว่​่าด้​้วยการเปลี่​่ย� นแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศหรื​ือไอ พี​ีซีซี​ี ี รายงาน AR6 ได้​้ชี้​้แ� นะว่​่ากลยุ​ุทธ์​์การบรรเทาผลก ระทบนั้​้น� สามารถป้​้องกั​ันความเสี่​่�ยงได้​้และจะไม่​่ส่​่งผล เสี​ียต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม

หนึ่​่�งในกลยุ​ุทธ์​์ดั​ังกล่​่าวที่​่�มั​ักได้​้รั​ับการพิ​ิจารณาในอิ​ินเดี​ีย เพื่​่อ� บรรลุ​ุความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงานและการลดก๊​๊าซคาร์​์บอนคื​ือ การใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ อย่​่างไรก็​็ตาม ควรมี​ีการประเมิ​ินอย่​่าง รอบคอบเพื่​่อ� ให้​้แน่​่ใจว่​่าผลดี​ีมีมี ากกว่​่าผลเสี​ียที่​่ต� ามมา เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพสามารถผลิ​ิตได้​้จากพื​ืชผลที่​่�ปลู​ูกโดย เฉพาะในไร่​่นา (เรี​ียกว่​่า เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพรุ่​่�นแรกหรื​ือเชื้​้�อ เพลิ​ิงชี​ีวภาพ 1G) หรื​ือจากซากพื​ืชและของเสี​ีย (เรี​ียกว่​่า เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพรุ่​่�นที่​่�สองหรื​ือเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพขั้​้�นสู​ูง 2G) นโยบายระดั​ับชาติ​ิว่​่าด้​้วยเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพปี​ี 2561 ของ อิ​ินเดี​ียมี​ีการอ้​้างอิ​ิงถึ​ึงเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพหลายประเภทรวม ถึ​ึงเป้​้าหมายการผสมไบโอดี​ีเซลด้​้วย อย่​่างไรก็​็ตาม จุ​ุดเน้​้น ของการดำำ�เนิ​ินการคื​ือการผสมเอทานอลกั​ับน้ำำ��มั​ันเบนซิ​ิน ประมาณการแนะนำำ�ว่​่าการผสมเอทานอลเพิ่​่�มขึ้​้�นเป็​็น 5% ในปี​ี 2562 และประมาณ 8% ในปี​ี 2563-2564 อุ​ุปทาน ส่​่วนใหญ่​่มาจากอ้​้อย ดั​ังนั้​้�น ในอิ​ินเดี​ีย เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพจึ​ึง มี​ีความหมายเดี​ียวกั​ันกั​ับเอทานอล 1G แผนการดำำ�เนิ​ินงานของรั​ัฐบาลอิ​ินเดี​ียในการผสมเอทา นอลในปี​ี 2563-2568 ซึ่​่�งเปิ​ิดตั​ัวในวั​ันสิ่​่�งแวดล้​้อมโลก (5 มิ​ิถุ​ุนายนที่​่�ผ่​่านมา) มี​ีแผนการเพื่​่�อให้​้บรรลุ​ุเป้​้าหมายการ ผสมเอทานอล 20% (หรื​ือ E20) ภายในปี​ี 2568 โดยใช้​้ อ้​้อยและอาหารจำำ�พวกธั​ัญพื​ืช ในขณะที่​่�เชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพ 1G ถู​ูกวิ​ิพากษ์​์วิจิ ารณ์​์อย่​่างตรงไปตรงมาว่​่า เป็​็นคู่​่แ� ข่​่งพื​ืชอาหาร

30

สำำ�หรั​ับที่​่�ดินิ และแหล่​่งน้ำำ��ที่​่เ� หมาะแก่​่การเพาะปลู​ูก เนื่​่อ� งจาก ในอิ​ินเดี​ีย อ้​้อยไม่​่ได้​้ปลู​ูกเพื่​่อ� ผลิ​ิตเอทานอลเป็​็นหลั​ัก เฉพาะ ผลพลอยได้​้จากการผลิ​ิตน้ำำ��ตาล (กากน้ำำ��ตาล) และน้ำำ��อ้อย ้ ในปี​ีที่​่�เกิ​ินดุ​ุลเท่​่านั้​้�นที่​่�ใช้​้ในการผลิ​ิตเอทานอล การเปลี่​่�ยน น้ำำ��ตาลที่​่�เป็​็นส่​่วนเกิ​ิน ไปสู่​่�การผลิ​ิตเอทานอลได้​้คุ้​้�มครอง เกษตรกรและโรงงานน้ำำ��ตาลจากความผั​ันผวนของราคา น้ำำ��ตาล และอาจเป็​็นประโยชน์​์ต่​่อไปในปี​ีที่​่�น้ำำ��ตาลเกิ​ินดุ​ุล ความท้​้าทายในการบรรลุ​ุเป้​้าหมาย E20 สำำ�หรั​ับปี​ี 2568 (เอทานอลประมาณ 1,000 ล้​้านลิ​ิตร) คื​ืออ้​้อยจำ�ำ นวนหนึ่​่�ง จะต้​้องปลู​ูกเพื่​่�อการผลิ​ิตเอทานอลเพี​ียงอย่​่างเดี​ียว ที่​่�แย่​่ไป กว่​่านั้​้�นคื​ือต้​้องใช้​้อาหารจำำ�พวกธั​ัญพื​ืชหรื​ือผั​ักเข้​้าร่​่วมด้​้วย ทั้​้�งสองตั​ัวเลื​ือกดั​ังกล่​่าวไม่​่เหมาะสม เพราะแบบแรกจะนำำ� ไปสู่​่ก� ารใช้​้น้ำำ��มากเกิ​ินไปในพื้​้�นที่​่�ที่​่ข� าดแคลนน้ำำ��อยู่แ่� ล้​้ว และ แบบหลั​ังจะทำำ�ลายความมั่​่�นคงด้​้านอาหาร แม้​้ว่​่าจะมี​ีการ ใช้​้ธั​ัญพื​ืชที่​่�เกิ​ินหรื​ือไม่​่ใช้​้แล้​้ว แต่​่สิ่​่�งที่​่�ต้อ้ งให้​้ความสำำ�คั​ัญใน ฐานะประเทศหนึ่​่�งอยู่​่�ที่​่�การลดของเสี​ียให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุดด้​้วยการ ใช้​้สถานที่​่�จั​ัดเก็​็บที่​่�ดี​ีขึ้​้�น นอกจากนั้​้�น เทคโนโลยี​ียานยนต์​์ ยั​ังเป็​็นปั​ัญหาอี​ีกประการหนึ่​่�งสำำ�หรั​ับเป้​้าหมาย E20 ยาน พาหนะที่​่�มี​ีอยู่​่�ในอิ​ินเดี​ียไม่​่สามารถใช้​้งานร่​่วมกั​ับเอทานอล E20 ได้​้ ประเด็​็นดั​ังกล่​่าวจึ​ึงแย้​้งแนวคิ​ิดที่​่�ว่​่าเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ สามารถนำำ�มาใช้​้ในรถยนต์​์ที่​่มี� อยู่ ี ใ่� นขณะนี้​้�ได้​้ และทำำ�ให้​้ความ ได้​้เปรี​ียบของเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพที่​่�มั​ักพู​ูดถึ​ึงกั​ันบ่​่อยครั้​้�งกลาย เป็​็นโมฆะที่​่�ทำำ�ให้​้การเปลี่​่�ยนไปใช้​้รถยนต์​์ไฟฟ้​้านั้​้�นดู​ูเหมาะ สมกว่​่าในทั​ันที​ี การผลิ​ิตรถสองล้​้อและรถยนต์​์ใหม่​่ที่​่�เข้​้ากั​ัน ได้​้กั​ับเอทานอล E20 อาจนำำ�ไปสู่​่�ทางตั​ันด้​้านสิ​ินทรั​ัพย์​์และ การใช้​้ก๊า๊ ซคาร์​์บอนในกรณี​ีที่​่ส� มมติ​ิกั​ันว่​่ากลุ่​่ม� การผลิ​ิตเหล่​่า นี้​้�จะมี​ีพาหนะที่​่�ใช้​้กระแสไฟฟ้​้าเกิ​ิดขึ้​้น� ในเร็​็วๆ นี้​้� ในทางกลั​ับ กั​ัน รถยนต์​์ส่​่วนใหญ่​่ที่​่มี� อยู่ ี ใ่� นอิ​ินเดี​ียในปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีเครื่​่อ� งยนต์​์ กลไกที่​่�เข้​้ากั​ันได้​้กั​ับเอทานอล E10 อย่​่างมาก นั่​่�นคื​ือเชื้​้อ� เพลิ​ิง ที่​่�เป็​็นน้ำำ��มั​ัน 90% และเอทานอล 10% ในแง่​่ของอุ​ุปทาน เป้​้าหมายเอทานอล E10 ภายในปี​ี 2568 จะต้​้องใช้​้เอทา นอลประมาณ 550 ล้​้านลิ​ิตร ซึ่​่�งสามารถผลิ​ิตได้​้จากอ้​้อยที่​่� มี​ีอยู่ทั้่� ง้� หมดโดยไม่​่ต้​้องเพาะปลู​ูกอ้​้อยเพิ่​่ม� แต่​่อย่​่างใด ข้​้อเสี​ียประการหนึ่​่�งของเอทานอล E10 คื​ือ เนื่​่�องจาก E10 จะใช้​้แทนน้ำำ��มั​ันได้​้น้อย ้ กว่​่า E20 จึ​ึงช่​่วยลดการประหยั​ัด การนำำ�เข้​้าน้ำำ��มั​ันดิ​ิบและการปล่​่อยก๊​๊าซคาร์​์บอนไดออกไซด์​์

ได้​้น้​้อยเมื่​่อ� เที​ียบกั​ับ E20 อย่​่างไรก็​็ตาม การเลื​ือกใช้​้เอทา นอล E10 อาจลดความเสี่​่�ยงบางอย่​่างได้​้ เช่​่น ลมมรสุ​ุมที่​่� แปรปรวนและผลกระทบอื่​่�นๆ ของการเปลี่​่�ยนแปลงสภาพ ภู​ูมิ​ิอากาศ (ตามที่​่�อธิบิ ายไว้​้ในรายงาน AR6) เป็​็นต้​้น หาก ไม่​่สามารถปลู​ูกอ้​้อยได้​้เพี​ียงพอในปี​ีใดปี​ีหนึ่​่�งและยานพาหนะ ทั้​้�งหมดได้​้รั​ับการปรั​ับให้​้ใช้​้แต่​่เอทานอล E20 การนำำ�เข้​้าเอ ทานอลอาจเป็​็นสิ่​่�งที่​่�เลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ กรณี​ีที่​่ก� ล่​่าวมาอาจขั​ัดต่​่อจุ​ุดประสงค์​์หลั​ักประการหนึ่​่�ง ของแผนการผสมเอทานอล นั่​่�นคื​ือ ความมั่​่�นคงด้​้านพลั​ังงาน เอทานอล 2G เป็​็นอี​ีกทางเลื​ือกหนึ่​่�งที่​่�สามารถหลี​ีกเลี่​่ย� งปั​ัญหา บางอย่​่างเกี่​่�ยวกั​ับเอทานอล 1G ได้​้ อุ​ุปสรรคสำำ�คั​ัญในการ ผลิ​ิตเอทานอล 2G และเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพขั้​้�นสู​ูงได้​้แก่​่ห่​่วงโซ่​่ อุ​ุปทานของการจั​ัดสรรวั​ัตถุ​ุดิ​ิบชี​ีวมวล โดยปกติ​ิ เพื่​่อ� ให้​้เกิ​ิด การประหยั​ัดขนาด จำำ�เป็​็นต้​้องนำำ�เทคโนโลยี​ีไปใช้​้ในระดั​ับที่​่� ใหญ่​่ขึ้น้� แต่​่ในอิ​ินเดี​ีย เรื่​่อ� งนี้​้�อาจไม่​่เป็​็นความจริ​ิง เนื่​่อ� งจาก จะต้​้องเก็​็บสารเคมี​ีชีวี มวลที่​่�ตกค้​้างจากฟาร์​์มขนาดเล็​็กจำำ�นวน มากเพื่​่�อส่​่งไปยั​ังโรงงานเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพ ซึ่​่�งวิ​ิธี​ีดั​ังกล่​่าวอาจ ไม่​่มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพพอเพี​ียง โรงงานชี​ีวมวลขนาดเล็​็กที่​่�กระจายตั​ัวออกไปใกล้​้ไร่​่นา หรื​ือโรงงานชี​ีวมวลแบบเคลื่​่�อนที่​่�ได้​้อาจเป็​็นวิ​ิธี​ีแก้​้ปั​ัญหาที่​่�ดี​ี เนื่​่�องจากชี​ีวมวลที่​่�ถู​ูกเผาไหม้​้ด้​้วยความร้​้อนสามารถขนส่​่ง ได้​้ง่​่ายกว่​่าและยั่​่�งยื​ืนกว่​่าชี​ีวมวลดิ​ิบ ความกั​ังวลอี​ีกประการ หนึ่​่�งคื​ือกระบวนการผลิ​ิตเอทานอล 2G นั้​้น� ใช้​้ปริ​ิมาณน้ำำ��มาก ทำำ�ให้​้การเพาะปลู​ูก (อ้​้อย) แบบใช้​้น้ำำ��เปลี่​่ย� นไปเป็​็นการผลิ​ิต เอทานอลแบบใช้​้น้ำำ��ตามไปด้​้วย โดยสรุ​ุป เอทานอล E10 มาถึ​ึงจุ​ุดที่​่�น่​่าสนใจ ซึ่​่�งทำำ�ให้​้ มนุ​ุษย์​์เราต้​้องตระหนั​ักถึ​ึงประโยชน์​์ของการผสมเชื้​้อ� เพลิ​ิงเอ ทานอลจากอ้​้อยและหลี​ีกเลี่​่�ยงปั​ัญหาความไม่​่ยั่​่�งยื​ืนเนื่​่�องมา จากการขาดแคลนน้ำำ�� ความมั่​่�นคงด้​้านอาหาร ความเข้​้ากั​ัน ไม่​่ได้​้ของรู​ูปแบบยานพาหนะที่​่�มี​ีอยู่​่� รวมทั้​้�งการพึ่​่�งพาเอทา นอล 2G เป็​็นต้​้น นอกจากการจำำ�กั​ัดการผสมเอทานอลไว้​้ ที่​่�ระดั​ับ E10 แล้​้ว อิ​ินเดี​ียยั​ังต้​้องเปลี่​่�ยนจุ​ุดเน้​้นและให้​้การ สนั​ับสนุ​ุนเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพที่​่�สามารถใช้​้ได้​้ในภาคการขนส่​่ง ที่​่�หาพลั​ังงานมาใช้​้ได้​้ยาก เช่​่น การบิ​ินและการขนส่​่งสิ​ินค้​้า ทางไกลอี​ีกด้​้วย www.sugar-asia.com


I

n his Independence Day address to the nation, Prime Minister Narendra Modi mentioned India spends over Rs 12 lakh crore on importing energy, and that domestic energy production will be a policy priority for the country. Reduced fossil-fuel use and carbon mitigation strategies will also have to be prioritised immediately, as highlighted in the recently released Sixth Assessment Report (AR6) of the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC). AR6 recommends that our mitigation strategies be risk-proof and not adversely affect the environment. One such strategy often considered in India, towards achieving energy security and carbon mitigation, is the use of biofuels. However, it should be evaluated carefully to ensure that its benefits outweigh its negative consequences.

Biofuels can be produced from designated crops grown in fields (first-generation, or 1G, biofuels) or from crop residues and wastes (second-generation, or 2G, advanced biofuels). India’s 2018 National Policy on Biofuels mentions many types of biofuels, including a biodiesel blending target. However, the focus of implementation has been on blending ethanol with petrol. Estimates suggest that ethanol blending increased to 5% in 2019 and approximately 8% in 2020–2021. Most of the supply came from sugarcane. In India, therefore, biofuels have been synonymous with 1G ethanol. The government’s Roadmap for Ethanol Blending in India 2020-2025, launched on World Environment Day (June 5), lays out a plan to achieve a 20% ethanol blending target (E20) by 2025 using sugarcane and food grains. While 1G biofuels are rightly criticised for competing with food crops for arable land and water resources, in India, sugarcane is not primarily grown for ethanol. Only the by-products of sugar production (molasses), and sugarcane juice in years of surplus, are used to produce

ethanol. Diverting the excess sugar towards ethanol production has protected farmers and sugar mills from sugar price fluctuations and could continue to be beneficial in sugar-surplus years. The challenge in meeting the E20 target for 2025 (approximately 1,000 crore litres), however, is that extra sugarcane will need to be grown solely for ethanol production. Even worse, food grains or vegetables will have to be used. Both options are non-ideal. The former will lead to excessive withdrawal of water in already water-scarce areas, and the latter will undermine food security. Even if only the excess or wasted food grains are used, our focus as a country should be on minimising waste through better storage facilities. Another issue with the E20 target is vehicle technology. Existing vehicles in India are not readily compatible with E20. This defeats the notion that biofuels can be used in existing vehicles, and invalidates their often-quoted advantage over an immediate shift to electric vehicles. Manufacturing new two-wheelers and cars compatible with E20

could lead to stranded assets and carbon lockins, assuming these segments are expected to be electrified soon. On the other hand, most existing vehicles in India today are materially compatible with E10 – i.e. fuel that is 90% petrol, 10% ethanol. In terms of supply, an E10 by 2025 target would demand around 550 crore litres of ethanol, which can be produced entirely from sugarcane without increasing cultivation. One drawback is that since E10 would replace less petrol than E20, it will reduce savings on crude oil imports and carbon emissions compared to E20. However, opting for E10 could lower certain risks. For example, because of erratic monsoons and other impacts of climate change (as described in the IPCC’s AR6), if we can’t cultivate enough sugarcane in a particular year and all vehicles are tuned to run only on E20, we might have to resort to importing ethanol. This defeats one of the main purposes of the ethanol blending mandate: energy security. 2G ethanol is an alternative that could circumvent some issues with 1G ethanol. The main roadblock to producing 2G and advanced biofuels is the supply chain of biomass feedstock. Typically, to achieve economies of scale, technologies need to be deployed at larger scales. In India, this may not hold true because biomass residues would have to be collected from many small farms and transported to biofuel plants, which may not be efficient. Smaller-scale plants spread out near fields or portable torrefaction units may be promising solutions as torrefied biomass can be transported more easily and sustainably than raw biomass. Another concern is that the 2G ethanol production process has a high water footprint, shifting the burden from water-intensive cultivation (of sugarcane) to water-intensive ethanol production. E10 hits that sweet spot – where we realise the benefits of sugarcane-based ethanol fuel-blending and avoid the unsustainability issues around water depletion, food security, existing vehicle incompatibility and dependence on 2G ethanol. In addition to restricting ethanol-blending to E10, India must also shift focus and support to biofuels that can be used in the hard-to-electrify transportation segments such as aviation and long-haul freight.


Bioenergy News

PTTGC ร่​่วมมื​ือ Cargill เผย NatureWorks สร้​้าง โรงงานพลาสติ​ิกชี​ีวภาพแบบครบวงจรแห่​่งใหม่​่ PTTGC joins forces with Cargill to reveal NatureWorks to build giant Biopolymer plant

มจ.พี​ีที​ีที​ี โกลบอล เคมิ​ิคอล (PTTGC) และ บริ​ิษั​ัท Cargill, Incorporated l ผู้​้�ถื​ือหุ้​้�นร่​่วมกั​ัน ใน บริ​ิษั​ัท NatureWorks LLC ผู้​้�ผลิ​ิตพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ PLA อั​ันดั​ับหนึ่​่�งของโลก ร่​่วมสร้​้างโรงงานพลาสติ​ิก ชี​ีวภาพแบบครบวงจรแห่​่งใหม่​่ในประเทศไทยพร้​้อม ใช้​้น้ำำ��ตาลจากอ้​้อยเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ

โดยงานครั้​้ง� นี้​้� ได้​้รั​ับเกี​ียรติ​ิจาก พลเอกประยุ​ุทธ์​์ จั​ันทร์​์ โอชา นายกรั​ัฐมนตรี​ี และรั​ัฐมนตรี​ีว่​่าการกระทรวงกลาโหม และนายสุ​ุพั​ัฒนพงษ์​์ พั​ันธ์​์มี​ีเชาว์​์ รองนายกรั​ัฐมนตรี​ี และ รั​ัฐมนตรี​ีว่​่าการกระทรวงพลั​ังงาน ร่​่วมแสดงความยิ​ินดี​ี ดร.คงกระพั​ัน อิ​ินทรแจ้​้ง ประธานเจ้​้าหน้​้าที่​่�บริ​ิหาร บริ​ิษั​ัท พี​ีที​ีที​ี โกลบอล เคมิ​ิคอล จำำ�กั​ัด (มหาชน) หรื​ือ GC กล่​่าวว่​่า บริ​ิษั​ัท GC International Corporation บริ​ิษั​ัท ย่​่อยของบริ​ิษั​ัท GC และ บริ​ิษั​ัท Cargill Incorporated หรื​ือ Cargill ในฐานะผู้​้�ถื​ือหุ้​้�นสั​ัดส่​่วนร้​้อยละ 50 ในบริ​ิษั​ัท NatureWorks LLC หรื​ือ NatureWorks มี​ีมติ​ิอนุ​ุมั​ัติ​ิให้​้ NatureWorks ดำำ�เนิ​ินโครงการลงทุ​ุนโรงงานพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ Polylactic Acid (PLA) แห่​่งที่​่� 2 ที่​่�โครงการนครสวรรค์​์ ไบโอคอมเพล็​็กซ์​์ ประเทศไทย โดยที่​่�โครงการดั​ังกล่​่าวใช้​้ น้ำำ��ตาลจากอ้​้อยเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบหลั​ักเพื่​่อ� ผลิ​ิต Lactic Acid ทั้​้�งนี้​้�ทาง ดร.คงกระพั​ัน ได้​้กล่​่าวอี​ีกว่​่า โครงการดั​ัง กล่​่าว เป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งในโครงการที่​่�สนั​ับสนุ​ุนโมเดลเศรษฐกิ​ิจ สู่​่�การพั​ัฒนาที่​่�ยั่​่�งยื​ืน หรื​ือ BCG Economy Model หรื​ือ Bio-Circular-Green Econom เพื่​่อช่​่ � วยผลั​ักดั​ันให้​้เศรษฐกิ​ิจ เติ​ิบโตพร้​้อมยกระดั​ับความสามารถในการแข่​่งขั​ัน และขั​ับ เคลื่​่อ� นให้​้ประเทศไทยบรรลุ​ุเป้​้าหมายการพั​ัฒนาที่​่�ยั่​่ง� ยื​ืนของ

32

โลก หรื​ือ SDGs ตามเป้​้าหมายที่​่�ตั้​้�งไว้​้ สำำ�หรั​ับโรงงานพลาสติ​ิกชี​ีวภาพแบบครบวงจรแห่​่งใหม่​่นี้​้� เป็​็นโรงงานพลาสติ​ิกชี​ีวภาพโพลี​ีแลคติ​ิก แอซิ​ิด หรื​ือ เรี​ียก ว่​่า Polylactic Acid : PLA ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม แห่​่ง ที่​่� 2 ภายใต้​้ชื่อ่� ทางการค้​้า Ingeo™ และยั​ังส่​่งเสริ​ิมการต่​่อย อดสร้​้างมู​ูลค่​่าเพิ่​่ม� กั​ับวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทางการเกษตรของประเทศไทย พร้​้อมตอบสนองการขยายตั​ัวของตลาด ซึ่​่�งอาจจะสามารถ ดำำ�เนิ​ินการผลิ​ิตเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ได้​้ภายใน ปี​ี 2567 โดยทั้​้�งนี้​้� มี​ีโรงงานดั​ังกล่​่าวใช้​้เทคโนโลยี​ีพลาสติ​ิกชี​ีวภาพอั​ันดั​ับหนึ่​่�ง ของโลก และมี​ีการใช้​้น้ำำ��ตาลที่​่�ผลิ​ิตจากอ้​้อยจากเกษตรกร ในประเทศไทยเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบหลั​ัก ซึ่​่�งจะสามารถช่​่วยขยาย ฐานพั​ันธมิ​ิตรในตลาด Bio-Polymer รวมทั้​้�งการผลิ​ิตและ การพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ต่​่าง ๆ เพื่​่�อตอบสนองความต้​้องการ ด้​้านการใช้​้วั​ัสดุ​ุที่​่ยั่​่� ง� ยื​ืน โครงการนี้​้�มีมู​ูี ลค่​่าการลงทุ​ุนมากกว่​่า 20,000 ล้​้านบาท ทั้​้�งนี้​้�สถานที่​่�ของโรงงานจะตั้​้�งอยู่​่�ที่​่�นครสวรรค์​์ไบโอ คอมเพล็​็กซ์​์ หรื​ือ NBC จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ ซึ่​่�งเป็​็นโครงการ แห่​่งแรกของประเทศไทยที่​่�สอดคล้​้องกั​ับโมเดล BCG Economy ตามนโยบายของรั​ัฐบาล เพื่​่�อยกระดั​ับความสามารถ ในการแข่​่งขั​ันและขยายโอกาสทางการค้​้าร่​่วมกั​ับพั​ันธมิ​ิตร ต่​่างๆ ในเวที​ีโลก และรวมทั้​้ง� มี​ีการสนั​ับสนุ​ุนให้​้ประเทศไทย ได้​้มี​ีเศรษฐกิ​ิจที่​่�เติ​ิบโตอย่​่างมี​ีเประสิ​ิทธิ​ิภาพ ในส่​่วนของ ด้​้านนางสาวคอลลี​ีน เมย์​์ President ของบริ​ิษั​ัท Cargill’s Bioindustrial Group ได้​้กล่​่าวปิ​ิดว่​่า คาร์​์กิลิ รู้​้�สึ​ึกยิ​ินดี​ีเป็​็นอย่​่าง ยิ่​่�งที่​่�ได้​้ก้​้าวไปข้​้างหน้​้าร่​่วมกั​ับ GC เพื่​่อสนั​ั � บสนุ​ุนการขยาย ธุ​ุรกิ​ิจของ NatureWorks ด้​้วยการสร้​้างฐานการผลิ​ิตแห่​่งที่​่� 2 ซึ่​่�งการลงทุ​ุนในครั้​้�งนี้​้�นั​ับเป็​็นการตอกย้ำำ��ที่​่�สำำ�คั​ัญถึ​ึงความ

พยายามอย่​่างต่​่อเนื่​่อ� งของเราในการลงทุ​ุนเพื่​่อพั​ั � ฒนาโซลู​ูชั​ัน ที่​่�ยั่​่ง� ยื​ืนสำำ�หรั​ับลู​ูกค้​้ากลุ่​่ม� อุ​ุตสาหกรรมชี​ีวภาพทั่​่�วโลก

P

TT Global Chemical (PTTGC) Plc, Thailand’s largest petrochemical producer by capacity, and US-based Cargill Incorporated have agreed to develop a biopolymer production facility worth US$600 million, or 20 billion baht, in Nakhon Sawan. The two companies have made a 50:50 investment to establish NatureWorks LLC, which specialises in polylactic acid (PLA) and biodegradable plastics from agricultural products. PLA is a compostable biopolymer which can be used in a variety of applications ranging from coffee capsules and food packaging to 3D printing filament, hygienic masks and home appliances. NatureWorks made plans in 2012 to build a second facility outside US, but the development has progressed slowly. Eventually it decided to build the factory at Nakhon Sawan BioComplex (NBC) in Takhli district, said PTTGC chief executive and president Kongkrapan Intarajang.

www.sugar-asia.com


Bioenergy News

PTTGC and Cargill on Tuesday signed an agreement to develop the facility in an online ceremony, presided over by Prime Minister Prayut Chan-o-cha. The new fully integrated biopolymer production facility will employ the world’s most advanced biopolymer technology and use sugar from Thai sugarcane farmers as raw materials, adding value to Thai agricultural produce. NatureWorks will also seek a partnership to develop products that meet demand for sustainable use of materials. The project matches the government’s bio-, circular and green (BCG) economic model which promotes a wise use of

www.sugar-asia.com

resources with low impact on the environment, said Mr Kongkrapan. “Cargill is excited to take this next step with PTTGC to support the expansion of NatureWorks,” said Colleen May, president of Cargill’s Bioindustrial Group. “This marks an important milestone in our continued efforts to invest in sustainable solutions for bioindustrial customers around the world.” The second PLA biopolymer production facility, to be operating under the Ingeo trade name, is expected to begin commercial operations in 2024.

PLA production is the second-phase development of NBC. PTTGC’s biochemical arm Global Green Chemicals Plc is a major company in the first-phase development, which includes a sugar-cane crushing unit with a daily capacity of 24,000 tonnes; an ethanol production plant with a daily capacity of 600,000 litres; a biomass power plant with 85 megawatts of capacity; and steam generation of 475 tonnes per hour. NBC occupies a 2,000-rai plot adjacent to a sugar mill and a sugar-cane cultivation area.

33


Research News

ไบโอดี​ีเซลอ้​้อยพลั​ังผลิ​ิตได้​้ปริ​ิมาณมากกว่​่าแต่​่ต้​้นทุ​ุน ต่ำำ��ไบโอดี​ีเซลถั่​่�วเหลื​ือง Energycane Produces more Biodiesel than Soybean at a Lower Cost

University of Illinois researchers (L to R) Steve Long, Shraddha Maitra, Vijay Singh, and Deepak Kumar conducted a series of studies on biofuel production from energycane.

ลั​ังงานชี​ีวภาพจากพื​ืชเป็​็นอี​ีกทางเลื​ือกที่​่�ยั่​่ง� ยื​ืนแทน เชื้​้อ� เพลิ​ิงฟอสซิ​ิล พื​ืชผลใหม่​่ๆ เช่​่น อ้​้อยพลั​ังงาน เป็​็นต้​้น สามารถผลิ​ิตเชื้​้�อเพลิ​ิงต่​่อเนื้​้�อที่​่�เป็​็นเอเคอร์​์ได้​้ มากกว่​่าถั่​่�วเหลื​ืองหลายเท่​่า อย่​่างไรก็​็ตาม ยั​ังคงมี​ีความ ท้​้าทายอยู่​่โ� ดยเฉพาะในเรื่​่อ� งของการพิ​ิจารณาพื​ืชเพื่​่อ� ใช้​้ สกั​ัดเชื้​้อ� เพลิ​ิงอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ มี​ีงานศึ​ึกษาใหม่​่สี่​่�ชิ้​้น� จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์เกี่​่�ยวกั​ับการสำำ�รวจวิ​ิธีกี าร ปรั​ับสภาพของพื​ืชโดยไม่​่ใช้​้สารเคมี​ี การพั​ัฒนาวิ​ิธีฟี​ี โี น ไทป์​์ด้ว้ ยปริ​ิมาณสู​ูง และความเป็​็นไปได้​้เชิ​ิงเทคนิ​ิคและ เศรษฐกิ​ิจในระดั​ับการพาณิ​ิชย์เ์ พื่​่อ� ผลิ​ิตเชื้​้อ� เพลิ​ิงจากอ้​้อย ในสถานการณ์​์อั​ันหลากหลาย งานทั้​้�งสี่​่�ชิ้​้�นนี้​้�เป็​็นส่​่วน หนึ่​่�งของโครงการ ROGUE (น้ำำ��มั​ันหมุ​ุนเวี​ียนที่​่�ผลิ​ิต ขึ้​้น� จากอ้​้อยพลั​ังงาน) จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์ โดย โครงการนี้​้�มุ่ง่� เน้​้นไปที่​่�การสะสมของไตรเอซิ​ิลกลี​ีเซอไรด์​์ (TAGs) ตามวิ​ิศวกรรมชี​ีวภาพในใบและลำำ�ต้น้ ของอ้​้อย พลั​ังงานเพื่​่อทำ � ำ�ให้​้สามารถผลิ​ิตน้ำำ��มั​ันพื​ืชอุ​ุตสาหกรรม ต่​่อเนื้​้�อที่​่�เป็​็นเอเคอร์​์ได้​้มากกว่​่าเดิ​ิม วิ​ิเจย์​์ ซิ​ิงห์​์ ศาสตราจารย์​์และผู้​้�ก่​่อตั้​้ง� ภาควิ​ิชาวิ​ิศวกรรม เกษตรและชี​ีวภาพ (ABE) ที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์และ ผู้​้�เขี​ียนร่​่วมในงานศึ​ึกษาทั้​้�งสี่​่�ฉบั​ับ กล่​่าวว่​่า ผลผลิ​ิตของพื​ืช ที่​่�ไม่​่ใช่​่อาหารมี​ีปริ​ิมาณสู​ูงมากต่​่อหน่​่วยของที่​่�ดิ​ิน โดยถั่​่�ว เหลื​ืองเป็​็นพื​ืชดั้​้�งเดิ​ิมที่​่�ใช้​้สำำ�หรั​ับผลิ​ิตไบโอดี​ีเซล อย่​่างไร ก็​็ตาม อ้​้อยพลั​ังงานที่​่�ผลิ​ิตไขมั​ันจะให้​้ปริ​ิมาณผลผลิ​ิตที่​่�สู​ูง ขึ้​้น� น้ำำ��มั​ันมากขึ้​้น� และเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพมากขึ้​้น� ยิ่​่�งกว่​่า ดี​ีพั​ัค กุ​ุมาร์​์ ผู้​้�ช่​่วยศาสตราจารย์​์จากภาควิ​ิชาวิ​ิศวกรรมเคมี​ีที่​่ค� ณะ วิ​ิทยาศาสตร์​์สิ่​่ง� แวดล้​้อมและการป่​่าไม้​้แห่​่งมหาวิ​ิทยาลั​ัยแห่​่ง รั​ัฐนิ​ิวยอร์​์ค (SUNY-ESF) และผู้​้�ช่​่วยนั​ักวิ​ิทยาศาสตร์​์ด้า้ นการ วิ​ิจั​ัยที่​่�สถาบั​ันชี​ีววิ​ิทยาแห่​่งพั​ันธุ​ุกรรมคาร์​์ล อาร์​์ วอส จาก มหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์ อธิ​ิบายว่​่า การผลิ​ิตเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ จากอ้​้อยจะสั​ัมพั​ันธ์​์กั​ับการแตกตั​ัวของเซลลู​ูโลสและลำำ�ดั​ับขั้​้น� ตอนของการสกั​ัดน้ำำ��มั​ัน โดยขั้​้น� ตอนแรกคื​ือการสกั​ัดน้ำำ��ออก จากต้​้นอ้​้อย ทำำ�ให้​้เกิ​ิดชานอ้​้อยซึ่​่�งเป็​็นลิ​ิกโนเซลลู​ูโลสที่​่�เรา สามารถนำำ�ไปแปรรู​ูปเพื่​่�อผลิ​ิตน้ำำ��ตาลและหมั​ักเป็​็นไบโอเอ ทานอลได้​้ในภายหลั​ัง ดี​ีพั​ัค ยั​ังกล่​่าวเสริ​ิมว่​่า ขั้​้�นตอนการปรั​ับสภาพเป็​็นสิ่​่�ง

34

สำำ�คั​ัญอย่​่างหนึ่​่�งในการประมวลผลชี​ีวมวลลิ​ิกโนเซลลู​ูโลส เพราะเราต้​้องทำำ�ลายโครงสร้​้างที่​่�มี​ีลั​ักษณะต่​่อต้​้านของวั​ัตถุ​ุ เพื่​่�อให้​้เอ็​็นไซม์​์เข้​้าถึ​ึงเซลลู​ูโลสได้​้ เนื่​่�องจากอ้​้อยพลั​ังงาน เป็​็นพื​ืชที่​่�ค่​่อนข้​้างใหม่​่ จึ​ึงมี​ีการศึ​ึกษาน้​้อยมากเกี่​่�ยวกั​ับการ ปรั​ับสภาพและการสลายของชานอ้​้อยนี้​้เ� พื่​่อ� ผลิ​ิตน้ำำ��ตาลและ แปลงน้ำำ��ตาลเหล่​่านั้​้�นให้​้เป็​็นเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพ กระบวนการ ปรั​ับสภาพยั​ังทำำ�ให้​้เกิ​ิดสารประกอบที่​่�ไม่​่เป็​็นที่​่�ต้อ้ งการซึ่​่�งขั​ัด ขวางเอนไซม์​์ที่​่เ� ปลี่​่ย� นน้ำำ��ตาลให้​้เป็​็นเชื้​้อ� เพลิ​ิงชี​ีวภาพ นั​ักวิ​ิจั​ัย จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์ได้​้วิจั​ัยวิ ิ ธีิ กี ารปรั​ับสภาพที่​่�ดีที่​่ี สุ​ุ� ด เพื่​่�อเพิ่​่�มการสลายตั​ัวและลดการเกิ​ิดสารขั​ัดขวางเอนไซม์​์ ดั​ังกล่​่าวไปในเวลาเดี​ียวกั​ัน ซึ่​่�งโดยปกติ​ิ กระบวนการปรั​ับ สภาพจะใช้​้สารเคมี​ี เช่​่น กรดซั​ัลฟิ​ิวริ​ิก เพื่​่�อสลายชี​ีวมวลที่​่� อุ​ุณหภู​ูมิ​ิและความดั​ันสู​ูง ดี​ีพั​ัคอธิ​ิบายว่​่านั​ักวิ​ิจั​ัยใช้​้วิธีิ กี ารที่​่�ไร้​้สารเคมี​ีซึ่​่ง� ทำำ�ให้​้เป็​็น มิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมมากขึ้​้น� นอกจากนี้​้� สารเคมี​ีที่​่รุ​ุ� นแรงอาจ เปลี่​่ย� นแปลงโครงสร้​้างน้ำำ��มั​ันหรื​ือคุ​ุณภาพในชี​ีวมวล นั​ักวิ​ิจั​ัย กลุ่​่�มนี้​้�ได้​้ทดสอบวิ​ิธี​ีการของตนเองโดยใช้​้อุ​ุณหภู​ูมิ​ิและช่​่วง เวลาที่​่�แตกต่​่างกั​ันถึ​ึง 9 แบบจนสามารถบรรลุ​ุการแปลง เซลลู​ูโลสมากกว่​่า 90% ในสภาวะที่​่�เหมาะสม ซึ่​่�งเที​ียบ เท่​่ากั​ับผลลั​ัพธ์​์จากวิ​ิธีกี ารปรั​ับสภาพทางเคมี​ี การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัย ครั้​้�งที่​่�สองสร้​้างขึ้​้�นจากผลลั​ัพธ์​์ดั​ังกล่​่าวเพื่​่�อตรวจสอบความ สั​ัมพั​ันธ์​์ระหว่​่างอุ​ุณหภู​ูมิ​ิ การผลิ​ิตสารยั​ับยั้​้ง� และการฟื้​้�นตั​ัว ของน้ำำ�� ตาลชรั​ัดฐา มั​ัยตรา ผู้​้�ร่​่วมวิ​ิจั​ัยหลั​ักสู​ูตรหลั​ังปริ​ิญญา เอกของ ABE และผู้​้�เขี​ียนหลั​ักของงานศึ​ึกษาดั​ังกล่​่าวชี้​้�แจง ว่​่าได้​้มี​ีการปรั​ับสภาพชี​ีวมวลลิ​ิกโนเซลลู​ูโลสล่​่วงหน้​้าในช่​่วง อุ​ุณหภู​ูมิ​ิที่​่�แตกต่​่างกั​ันเพื่​่�อปรั​ับสภาพให้​้เหมาะสมที่​่�สุ​ุดจน เกิ​ิดตั​ัวขั​ัดขวางเอนไซม์​์ให้​้น้​้อยที่​่�สุ​ุดโดยไม่​่ส่​่งผลกระทบต่​่อ การฟื้​้�นตั​ัวของน้ำำ��ตาล จากนั้​้�นจึ​ึงเพิ่​่�มกระบวนการบดแบบ แช่​่เยื​ือกแข็​็งซึ่​่�งจะใช้​้ไนโตรเจนเหลวกั​ับชานอ้​้อย ทำำ�ให้​้เกิ​ิด ความเปราะบางมาก ดั​ังนั้​้�น สารชี​ีวมวลที่​่�แตกร้​้าวจะปล่​่อย น้ำำ��ตาลออกได้​้ง่​่าย อุ​ุตสาหกรรมอื่​่น� ๆ ก็​็ใช้​้วิธีิ กี ารที่​่�คล้​้ายคลึ​ึง กั​ัน เช่​่น การผลิ​ิตเครื่​่�องเทศและน้ำำ��มั​ันหอมระเหย ซึ่​่�งการ รั​ักษาคุ​ุณภาพของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เป็​็นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญ แต่​่การนำำ�วิ​ิธี​ีนี้​้� ไปใช้​้ในการผลิ​ิตเชื้​้�อเพลิ​ิงชี​ีวภาพยั​ังถื​ือเป็​็นเรื่​่�องใหม่​่ ในงานศึ​ึกษาชิ้​้น� ที่​่�สาม ชรั​ัดฐาและผู้​้�เขี​ียนร่​่วมได้​้ทำำ�การ วิ​ิจั​ัยเกี่​่�ยวกั​ับเทคโนโลยี​ีนิวิ เคลี​ียร์แ์ มกเนติ​ิกเรโซแนนซ์​์ (NMR) แบบไทม์​์โดเมนเพื่​่อ� ตรวจสอบความเสถี​ียรและการฟื้​้�นตั​ัวของ

ไขมั​ันด้​้วยการตรวจสอบการเปลี่​่�ยนแปลงของไขมั​ันทั้​้ง� หมด ทั้​้ง� ไขมั​ันแบบผู​ูกมั​ัดและแบบอิ​ิสระหลั​ังจากขั้​้น� ตอนการประมวล ผลล่​่วงหน้​้าของวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทางกายภาพและสารเคมี​ีต่​่างๆ ส่​่วนงานศึ​ึกษาชิ้​้�นที่​่�สี่​่�ของที​ีมวิ​ิจั​ัยได้​้ตรวจสอบความ เป็​็นไปได้​้ทางเทคโนโลยี​ีและเศรษฐกิ​ิจในเชิ​ิงพาณิ​ิชย์ขอ ์ งโรง กลั่​่�นชี​ีวภาพที่​่�ใช้​้พลั​ังงานจากอ้​้อยภายใต้​้การออกแบบทาง วิ​ิศวกรรม นั​ักวิ​ิจั​ัยกลุ่​่�มนี้​้�ใช้​้แบบจำำ�ลองทางคอมพิ​ิวเตอร์​์ เพื่​่อจำ � ำ�ลองกระบวนการผลิ​ิตในสองสถานการณ์​์ที่​่แ� ตกต่​่างกั​ัน เพื่​่�อกำำ�หนดการลงทุ​ุน ต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต และผลผลิ​ิตเปรี​ียบ เที​ียบกั​ับไบโอดี​ีเซลจากถั่​่�วเหลื​ือง ดี​ีพั​ัค ซึ่​่�งเป็​็นหั​ัวหน้​้างาน ศึ​ึกษาชิ้​้�นนี้​้� กล่​่าวว่​่า แม้​้ว่​่าพลั​ังงานจากอ้​้อยจะใช้​้เงิ​ินลงทุ​ุน สู​ูงกว่​่าเมื่​่�อเที​ียบกั​ับไบโอดี​ีเซลจากถั่​่�วเหลื​ือง แต่​่ต้​้นทุ​ุนการ ผลิ​ิตก็​็ต่ำ�ำ� กว่​่า (66 ถึ​ึง 90 เซ็​็นต์​์ต่​่อลิ​ิตร) เมื่​่อ� เที​ียบกั​ับถั่​่�ว เหลื​ือง (91 เซ็​็นต์​์ต่​่อลิ​ิตร) การนำำ�อ้อย ้ มาเข้​้ากระบวนการ อาจทำำ�กำำ�ไรโดยรวมต่ำำ��กว่​่าไบโอดี​ีเซลจากถั่​่�วเหลื​ืองเล็​็ก น้​้อย แต่​่ให้​้ปริ​ิมาณผลผลิ​ิตไบโอดี​ีเซลมากเป็​็นห้​้าเท่​่าต่​่อหนึ่​่�ง หน่​่วยของที่​่�ดิ​ินที่​่�ใช้​้เพาะปลู​ูกอ้​้อย นอกจากนั้​้�น สตี​ีฟ ลอง ผู้​้�อำำ�นวยการโครงการ ROGUE และประธานกรรมการไอ เคนเบรี​ี เอ็​็นดาวน์​์ด้​้านชี​ีววิ​ิทยาพื​ืชและวิ​ิทยาศาสตร์​์พื​ืชผล จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์ กล่​่าวเสริ​ิมว่​่า อ้​้อยพลั​ังงาน มี​ีศั​ักยภาพที่​่�จะเติ​ิบโตได้​้ทั่​่�วทั้​้�งพื้​้�นที่​่�ตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้ของ สหรั​ัฐอเมริ​ิกามากกว่​่าอ้​้อยน้ำำ��ตาล ซึ่​่�งพื้​้�นที่​่�ดั​ังกล่​่าวมี​ีความ รกร้​้างว่​่างเปล่​่ามาก แต่​่สามารถทำำ�เกษตรกรรมโดยใช้​้ฝน ธรรมชาติ​ิได้​้ สตี​ีฟยั​ังสรุ​ุปว่​่า เนื่​่�องจากเป็​็นไม้​้ยื​ืนต้​้น อ้​้อยพลั​ังงาน จึ​ึงเหมาะสำำ�หรั​ับที่​่�ดินิ ที่​่�อาจได้​้รั​ับความเสี​ียหายจากการเพาะ ปลู​ูกพื​ืชผลประจำำ�ปี​ี งานวิ​ิจั​ัยของมหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์ได้​้ แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงศั​ักยภาพที่​่�น่​่าทึ่​่�งของอ้​้อยพลั​ังงานในการผลิ​ิต น้ำำ��มั​ันดี​ีเซล 7.5 บาร์​์เรลต่​่อเอเคอร์​์ต่​่อปี​ี เมื่​่อมี � ผี ลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์ร่​่วม การปลู​ูกอ้​้อยพลั​ังงานจะยิ่​่�งทำำ�กำำ�ไรได้​้มากกว่​่าการใช้​้ที่​่ดิ� นิ ส่​่วน ใหญ่เ่ พาะปลู​ูกพื​ืชอื่​่น� ๆ ในขณะนี้​้�เป็​็นอย่​่างมาก อี​ีกทั้​้ง� ยั​ังสร้​้าง เสริ​ิมศั​ักยภาพอย่​่างสู​ูงต่​่อเป้​้าหมายระดั​ับชาติ​ิของสหรั​ัฐฯ ใน การบรรลุ​ุความสำำ�เร็​็จจากการปล่​่อยก๊​๊าซเรื​ือนกระจกเป็​็นศู​ูนย์​์ ภายในปี​ีพ.ศ. 2593 ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� จึ​ึงเป็​็นเครื่​่�องพิ​ิสู​ูจน์​์ให้​้เห็​็น ถึ​ึงคุ​ุณค่​่าของการต่​่อยอดจากความสำำ�เร็​็จที่​่�มี​ีอยู่​่�แล้​้วในด้​้าน วิ​ิศวกรรมชี​ีวภาพอ้​้อยเพื่​่�อสร้​้างสมน้ำำ��มั​ันที่​่�จะเปลี่​่�ยนเป็​็นไบ โอดี​ีเซลและไบโอเจ็​็ทได้​้อย่​่างง่​่ายดาย www.sugar-asia.com


Research News

B

ioenergy from crops is a sustainable alternative to fossil fuels. New crops such as energycane can produce several times more fuel per acre than soybeans. Yet, challenges remain in processing the crops to extract fuel efficiently. Four new studies from the University of Illinois explore chemical-free pretreatment methods, development of high-throughput phenotyping methods, and commercial-scale technoeconomic feasibility of producing fuel from energycane in various scenarios. The studies are part of the ROGUE (Renewable Oil Generated with Ultra-productive Energycane) project at U of I. ROGUE focuses on bioengineering accumulation of triacylglycerides (TAGs) in the leaves and stems of energycane, enabling the production of much more industrial vegetable oil per acre than previously possible.

breakdown while minimizing the production of inhibitors. Typically, the pretreatment process uses chemicals such as sulfuric acid to break down the biomass at high temperature and pressure. “We use a chemical-free method, which makes it more environmentally friendly,” Kumar explains. “Furthermore, harsh chemicals may alter the oil structure or quality in the biomass.” The researchers tested their method using nine different combinations of temperature and time intervals. They were able to achieve more than 90% cellulose conversion at the optimal conditions, which is equivalent to results from chemical pretreatment methods. The second study built on those results to further investigate the relationship between temperature, inhibitor production, and sugar recovery. “We pretreated the lignocellulosic biomass over a range of different temperatures to optimize the condition for minimal inhibitor generation without affecting the sugar recovery. Then we

changes in total, bound, and free lipids after various physical and chemical feedstock preprocessing procedures. The research team’s fourth study investigated the commercial-scale techno-economic feasibility of engineered energycane-based biorefinery. They used computer modeling to simulate the production process under two different scenarios to determine capital investment, production costs, and output compared with soybean-based biodiesel. “Although the capital investment is higher compared to soybean biodiesel, production costs are lower (66 to 90 cents per liter) than for soybean (91 cents per liter). For the first scenario, processing energycane had overall slightly lower profitability than soybean biodiesel, but yields five times as much biodiesel per unit of land,” says Kumar, the lead author on the study. “Energycane is attractive in its ability to grow across a much wider geography of the U.S. south east than sugarcane. This is a region with much underutilized land, yet capable of rain-fed

“The productivity of these non-food crops is very high per unit of land. Soybean is the traditional crop used for biodiesel, but we can get higher yield, more oil, and subsequently more biofuel from lipid-producing energycane,” says Vijay Singh, Founder professor in the Department of Agricultural and Biological Engineering (ABE) at U of I and co-author on all four papers. Biofuel production from crops involves breaking down the cellulosic material and extracting the oil in a series of steps, explains study co-author Deepak Kumar, assistant professor in the Chemical Engineering Department at State University of New York College of Environmental Science and Forestry (SUNY-ESF) and adjunct research scientist at the Carl R. Woese Institute for Genomic Biology at U of I. “The first step is to extract the juice. That leaves bagasse, a lignocellulosic material you can process to produce sugars and subsequently ferment to bioethanol,” Kumar says. “One of the critical things in processing any lignocellulosic biomass is a pretreatment step. You need to break the recalcitrant structure of the material, so enzymes can access the cellulose,” he adds. “Because energycane is a relatively new crop, there are very few studies on the pretreatment and breakdown of this bagasse to produce sugars, and to convert those sugars into biofuels.” The pretreatment process also yields some unwanted compounds, which inhibit enzymes that convert the sugar into biofuels. The U of I researchers investigated the best pretreatment methods to maximize the

added cryogenic grinding to the process,” says Shraddha Maitra, postdoctoral research associate in ABE and lead author on the study. “In cryogenic grinding, you treat the bagasse with liquid nitrogen, which makes it very brittle, so upon grinding the biomass fractures easily to release the sugars. This further increased sugar recovery, mainly xylose, by about 10% compared to other refining processes,” Maitra explains. Other industries use similar methods, for example for spices and essential oils, where it is important to preserve the qualities of the product. But applying them to biofuel production is new. In a third study, Maitra and her co-authors investigated time-domain nuclear magnetic resonance (NMR) technology to determine the stability and recovery of lipids by monitoring

agriculture,” says ROGUE Director Steve Long, Ikenberry Endowed Chair of Plant Biology and Crop Sciences at the University of Illinois. “As a perennial, energycane is suitable for land that might be damaged by annual crop cultivation. Our research shows the potential to produce a remarkable 7.5 barrels of diesel per acre of land annually. Together with co-products, this would be considerably more profitable than most current land use, while having the potential to contribute greatly to the national U.S. goal of achieving net zero greenhouse gas emissions by 2050. This proves how valuable it is to build on the successes already achieved in bioengineering energycane to accumulate oils that are easily converted into biodiesel and biojet,” Long states.

www.sugar-asia.com

35


Advertisers’s Index

Advertisers’ Index

VEGA Instruments Co.,Ltd. www.vega.com

CLAAS Regional Center South East Asia Ltd.

SB (Thailand) Co.,Ltd.

www.claas.co.th

www.statec-binder.in.th

Samartkasetyon Ltd. Part.

Clariant (Thailand) Ltd.

www.samartkasetyon.com

www.clariant.com

Demarc Trading Company Limited

Aero Group (1992) Co., Ltd.

www.demarctrading.com

www.aerogroup1992.com

Bently Nevada (Thailand) Co.,Ltd.

Garlock Singapore Pte. Ltd.

www.bakerhughesds.com/bently-nevada

www.garlockasia.com

Sugarex Thailand 2021

Thailand Sugar Conference 2020

www.thaisugarexpo.com

www.sugar-conference.com

"Asia's Only Sugar Industry Ethanol News Magazine !! "

www.sugar-asia.com

Quarterly Publications Available in Bilingual Thai & English Reach Out To Qualified Leader & Key Decision Makers! 12,000+ Copies to be Circulated in Digital and Print Yes, I would like to subscription print edition of: One year (4 issues) for THB 900 / USD 30 Two year (8 issues) for THB 1,800 / USD 60

3 in 1 !!

p e n u fre Sig or a ine f ay gaz tod e-Ma

Print edition, E-Magazine and App edition SUBSCRIPTION PRINT EDITION CONTACT US AT

FBI PUBLICATIONS (THAILAND) :

36

Call: +66 2 513 1418 ext. 108

:

Fax: +66 2 513 1419

:

thai@fireworksbi.com

:

www.sugar-asia.com www.sugar-asia.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.