(Thailand)SMART Molding Magazine 2021 Q4 No.006

Page 1


SMART Molding -ThailandAssociation of CAE Molding Technology จั​ัดพิ​ิมพ์​์ Molding innovation หน่​่วยผลิ​ิต ผู้​้จั� ดั การสำำ�นักั พิ​ิมพ์​์ Vito Tsai บทบรรณาธิ​ิการ บรรณาธิ​ิการ

Vito Tsai

ศิ​ิลปกรรม ผู้​้เ� รี​ียบเรี​ียง

Trinyawee Siriwan

ฝ่​่ายบริ​ิหาร

Billy Hsu Ellie Lin Kitty Feng Lynn Liu Nina Fan Sharon Chen Ellie Lin Jean Chen Emma Kuo Sara Chen

บรรณาธิ​ิการภาษา Steve Tang ทางด้​้านเทคนิ​ิค Webin Liu Angus Chang Benson Yang Terry Li Yvan Liu Kelly Zhang Colin Luo Walk Wang Robbin Luo Liam Shao Peter Huang Alice Liu William Zhan Mick Zhou

Jerry Jian Vita Chiu wayne Fang Clara Yu Ryan Chen Henry Shih Ariel Huang Rick Chen Karin He Mary Yang Wasun Sunburut Hathairat Khamnoi Jirapun Sroijit Siripah Mahawat ๋

บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร Angus Chang Guest Editor Veera Kwanloetchit ขอขอบพระคุ​ุณ Plastic Institute ARBURG Minnotec Thailand SODICK Plexpert Thaifeng Moldex3D KMUTNB Matsui ออกโดย : Association of CAE Molding Technology ที่​่�อยู่​่� : 6F.-1, No. 268, Sec. 1, Wenhua Rd., Banqiao Dist., New Taipei City 220, Taiwan (R.O.C.) โทรศั​ัพท์​์ : +886-2-8969-0409 โทรสาร : +886-2-8969-0410 Website : https://www.smartmolding.com/thai/


Message Messagefrom fromthe theGuest Guest Editor

สารจากบรรณาธิ​ิ สารจากบรรณาธิ​ิกการรั​ั ารรับบเชิ​ิเชิ​ิญญ

ร่ปแบบทั่ี�เราส่วนม่ากิร่้จ่กิ คือ Kaizen อย่างเดียวคงไม่​่พอ ต่้องพ่�งเทั่คโนโลยีและนว่ต่กิรรม่ม่ากิข่�น เพื�อความ่คงอย่​่และ จากความสำำ ัญและบทบาทของอุ​ุ ตสาหกรรมพลาสติ​ิ จจุ​ุบั​ัน4.0เป็​็ต่าม่แนวโน้ นเวลากว่​่า ม่10ของโลกิ ปี​ีแล้​้วที่​่น่น�สคืถาบั​ั นพลาสติ​ิ กของ แข่งข่นได้ใ�คั นต่ลาดโลกิ ในอุต่สาหกิรรม่กิารผลิ ต่ต่้องกิ้กาในอดี​ีตจนถึ​ึงปั​ั วเข้าส่​่อุต่สาหกิรรม่ อกิารปร่ บเปลี �ยน เราดำำ �เนิ​ินงานเพื่​่ ตสาหกรรมพลาสติ​ิ บริ​ิการในหลายด้​้าน อาทิ​ิ ารด้​้านข้​้อมู​ูลและ ระบบกิารผลิ ต่ทั่ี�อ�เพั​ัป็ฒนนาอุ​ุ อย่​่ไปส่ ่ระบบกิารผลิต่อ่กจไทยผ่​่านรู​ูปแบบการให้​้ ฉริยะ (Smart Manufacturing) โรงงานผลิ ต่ทั่ีการให้​้ �เป็นอย่บ่กิริ​ิ็จกะต่้ องเป็นโรงงาน การวิ​ิ กอบรมเพื่​่ �อเสริ​ิในอนาคต่อ่ มสร้​้างองค์​์คนวามรู้​้ ผลิต่จัอ่ัยจตลาด ฉริยะการฝึ​ึ (Smart Factory) ใกิล้น�ด้​้ี� านเทคนิ​ิคการผลิ​ิตและการจั​ัดการโรงงานพลาสติ​ิก บริ​ิการทดสอบวั​ัสดุ​ุ เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนการขอการรั​ับรองมาตรฐาน การออกแบบและพั​ัฒนานวั​ัตกรรมผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิก การพั​ัฒนาสู​ูตรเม็​็ดพลาสติ​ิก คอมพาวนด์​์ นพลาสติ​ิ ้บริ​ิการสนั​ับ่กิสนุ​ุ บผู้​้�ประกอบการอุ​ุคืตอสาหกรรมพลาสติ​ิ ตามกรอบ สาหกิรรม่ 4.0กยั​ัทั่ีง�จให้ะพาเราไปส่ ารเป็นและยกระดั​ั น Smart Manufacturing Big Data และ กIndustrial เทั่คโนโลยีทั่นอกจากนี้​้� ี�สำาค่ญในอุสต่ถาบั​ั นโยบาย �เป็​็นวาระแห่​่งชาติ​ิ จจุ​ุบั​ันนี้​้� อาทิ​ิ การส่​่งเสริ​ิ ตกรรมและสนั​ั InternetBCG of ที่​่Thing จากิสองเสาหล่ณกิปั​ัของเทั่คโนโลยี 4.0 นี�องค์มปนวั​ั ระกิอบอื �น ๆทั่ี�จะทั่ำบสนุ​ุ าให้นรตลาดพลาสติ​ิ ะบบสม่บ่รณ์​์ยกิ�ชี​ีวภาพภายใต้​้กรอบ งข่�นกิ็จะต่าม่ม่าเชิ่น งาน Bio Economy การส่​่งเสริ​ิ บสนุ​ุนAR/VR การผลิ​ิตรวม่ถึ่ หมุ​ุนงเวี​ียนตลอดกระบวนการของอุ​ุ ภายใต้​้กรอบ Cloud Computing, Cyberมและสนั​ั Security, AI สิ�งทั่ี�อุต่สาหกิรรม่ต่้องทั่ำตาสาหกรรมพลาสติ​ิ เพื�อกิารปร่บเปลี�ยกนประยุ กิต่์ใชิ้ งาน Circularเหล่Economy กผ่​่านเทคโนโลยี​ีการใช้​้พลั​ั งงานอย่​่าง เทั่คโนโลยี านี�คงจะต่้อและ งเป็นการส่​่งเสริ​ิ ไปต่าม่ลำามด่การลดการใช้​้พลั​ั บ เริ�ม่จากิกิารเรีงยงานภายในโรงงานพลาสติ​ิ นร่้เกิ็บรวบรวม่องค์ความ่ร่ ้ต่​่าง ๆทั่ี�จำาเป็นต่​่อกิารประยุ กิต่์ใชิ้ มี​ีประสิ​ิ ภาพและลดการใช้​้พลั​ั Induction ในกระบวนการผลิ​ิ ภายใต้​้กรอบงาน ลำาด่บถึ่ทดธิ​ิไปทั่ี �ผ่้ประกิอบกิารจะต่้งองานที่​่ งเลือ�สิ้​้กิว่�นาเปลื​ืองของ จะใชิ้เทั่คโนโลยี อะไรทั่ี�จHeater ะสร้างความ่คุ ้ม่ค่าและผลกิำาตไรให้ กิ่บธุ​ุรกิ​ิจได้ ไม่​่จGreen ำาเป็น Economy ต่้องปร่บจากิ 2.0 ทั่ี�เป็นอย่​่ไปเป็น 4.0 ทั่​่นทั่ีทั่​่�งหม่ด และกิ็ไม่​่จำาเป็นต่้องปร่บจากิ 2.0 ไป 3.0 และ 4.0 ต่าม่ลำาด่บเชิ่นกิ่น เพียงแต่​่ปร่บใชิ้เทั่คโนโลยีให้เหม่าะกิ่บสภาพและศ่กิยภาพของต่นเองให้เกิ​ิดประโยชิน์ส่งสุด ส่วนกิารเต่รียม่กิารเพื�อกิาร เพื่​่ประยุ �อให้​้สกิอดคล้​้องกั​ั �เราดำำ�อเนิ​ิ นการอยู่​่ � สถาบั​ันพลาสติ​ิ ที่​่�น่​่าสนใจ ที่​่�เกี่​่ฒ�ยนาคื วเนื่​่�ออง ต่์ใชิ้อย่างม่ีบปแนวคิ​ิ ระสิทั่ดด้​้านสิ่​่� ธุิภาพงแวดล้​้อมที่​่ นอกิจากิกิารเลื กิลงทัุ่ นในเทั่คโนโลยี ทั่ี�ถึ่กิต่้กอจึ​ึงขอนำำ งแล้ว �ต่้เสนอประเด็​็ องไม่​่ลืม่ห่วนใจของทัุ่ กิกิารพ่ กั​ับบุแนวคิ​ิ ดเศรษฐกิ​ิ ุนเวี​ียนยในวารสารฉบั​ั การพั​ั�ยฒนแปลงคร่ นาผลิ​ิตภั​ัณ กรี​ีไซเคิ​ิล �ม่การออกแบบผลิ​ิ ตภั​ัณฑ์​์ด้​้วย คลากิรทั่ี �ต่้องได้จหมุ ร่บกิารเต่รี ม่ความ่พร้อม่สำบนี้​้�าหร่ได้​้แก่​่ บกิารเปลี �งสำฑ์​์าพค่ลาสติ​ิ ญนี� โดยกิารเพิ ความ่ร่้ความ่สาม่ารถึของ แนวคิ​ิ ด Eco-Design ตลอดจนโครงการความร่​่วมมื​ือของหน่​่วยงานภาครั​ั ฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสั​ังคม เพื่​่�อจั​ัดการพลาสติ​ิก บุคลากิรให้ รองร่บเทั่คโนโลยี ทั่ี�เปลี�ยนไปด้วย และขยะอย่​่างยั่​่�งยื​ืน (PPP Plastic) ซึ่​่�งผมเชื่​่�อว่​่าเรื่​่�องราวและสาระดี​ี ๆ เหล่​่านี้​้� จะเป็​็นประโยชน์​์สำำ�หรั​ับผู้​้�ประกอบการและผู้​้� อ่​่านทุ​ุ ท่​่าน� กิ็เพื่​่ นำำ�ไปต่​่อยอดในการดำำ �เนิ​ิMagazine นธุ​ุรกิ​ิจเพื่​่�อทั่ีสร้​้างความยั่​่� ตสาหกรรมพลาสติ​ิ กของไทยต่​่อไป สุดทั่้กายนี ต่้อ�องขอขอบคุ ณ์ทั่าง ACMT �ให้เกิียรต่ิเป็งนยื​ืนให้​้กั​ั บรรณ์ิบกิอุ​ุารร่ บเชิ​ิญในฉบ่บนี� ACMT Magazine น่บเป็น อีกิชิ่องทั่างหน่�งทั่ี�จะสร้างกิารร่บร่้ให้ผ่้ประกิอบกิารในอุต่สาหกิรรม่กิารผลิต่ว่าม่ีอะไรทั่ี�เป็นแนวโน้ม่และแนวทั่างในกิารปร่บ องค์กิร ปร่บธุ​ุรกิ​ิจให้ต่อบร่บกิ่บกิารเปลี�ยนแปลงทั่ี�กิำาล่งเกิ​ิดข่�นและจะเกิ​ิดข่�นในอนาคต่ ด่งเชิ่นปรากิฏในเนื�อหาฉบ่บนี� วี​ีระ ขวั​ัญเลิ​ิศจิ​ิตต์​์ ผู้​้�อำำ�นวยการสถาบั​ันพลาสติ​ิก

President of Thai-German Institute President of Plastics Institute of Thailand

ทั่ี�อย่​่ในระยะกิารแพร่ระบาดของโรคว่าเราจะกิ้าวผ่านยืนหย่ดต่​่อไปได้อย่างไร และในยุคหล่งกิารแพร่ระบาดทั่ี�เราม่​่กิจะเรียกิ ที่​่กิ่�ผ่​่นานมาอุ​ุ สาหกรรมพลาสติ​ิ กไทยมี​ีแนวโน้​้มเติ​ิ บโตอย่​่างต่​่อเนื่​่ �องจากการเพิ่​่� �นของจำำ ว่ายุคตNew Normal เราจะปร่ บต่​่วอย่างไรให้ ทั่​่นกิ่บกิารเปลี �ยนแปลงทั่ีม�ม่ขึ้​้าถึ่ งทั่​่�งด้�านวนผู้​้� นกิารค้ปาระกอบการ กิารลงทัุ่นและการขยายตั​ั และเทั่คโนโลยีว ของปริ​ิ มาณการผลิ​ิ ตและการค้​้า สม่​่ยใหม่​่ ทั่ี�ม่ีพ่ฒนากิารทั่ี �รวดเร็ว“พลาสติ​ิ ม่ากิ ก” ยั​ังคงเป็​็นวั​ัสดุ​ุที่​่�มี​ีความใกล้​้ชิ​ิดกั​ับการดำำ�รงชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ันและพั​ัฒนาคุ​ุณภาพ ชี​ีวิ​ิตของมนุ​ุษย์​์ เนื่​่�องจากคุ​ุณสมบั​ัติ​ิด้​้านการใช้​้งานที่​่�โดดเด่​่นของพลาสติ​ิกทำำ�ให้​้ความต้​้องการพลาสติ​ิกเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ โดย เฉพาะบรรจุ​ุ ภั​ัณอไปในยุ ฑ์​์พลาสติ​ิ กที่​่�ยั​ังNormal คงมี​ีความต้​้องการเพิ่​่� มสู​ูงขึ้​้แ�นน่แม้​้ว่​่าจะมี​ีการแพร่​่ระบาดของไวรั​ั ในปั​ัางต่​่ จจุอุบัเนืัน�องใน กิารอย่​่รอดต่​่ ค New ทั่​่าม่กิารความ่ไม่​่ นอนต่​่าง ๆ ใน VUCA World อาศ่ส ยCOVID-19 กิารพ่ฒนาอย่

Mr. Somwang Boonrakcharoen Mr. Veera Kwanloetchit

สวั​ัเศรษฐกิ​ิ สดี​ีครั​ับจทั่​่ผมนายวี​ีระ เลิ​ิศญจิ​ิกิ่ตบต์​์ภาวะยากิลำ ผู้​้�อำำ�นวยการสถาบั​ั นพลาสติ​ิก ต้​้องขอขอบคุ​ุรณะบาดของไวร่ ACMT Thailand ที่​่�ให้​้เกี​ียรติ​ิ �วโลกิต่​่างกิ็ต่ขวั​ั้อญงเผชิ​ิ าบากิจากิผลกิระทั่บจากิกิารแพร่ ส COVID-19 ซึ่​่�งย่ง เชิ​ิไม่​่ญม่ผมร่​่วมเป็​็ นบรรณาธิ​ิ ญของนิ​ิตจยสาร ASMM ฉบั​ับที่​่� กิ6นานเทั่​่ และให้าไร ้โอกาสสถาบั​ั นพลาสติ​ิ กร่​่วมแบ่​่งปั​ันจในภาค สาระ ีใครบอกิได้ ว่ากิารฟื้​้ก�นารรั​ั ต่​่วส่บ่ภเชิ​ิาวะปรกิต่ิ ะต่้องใชิ้ ระยะเวลาอี องค์ประกิอบหล่ กิของเศรษฐกิ​ิ ความรู้​้ �ที่​่�จะเป็​็นประโยชน์​์ อ่​่านทุ​ุ กท่​่านในครั้​้ นี้​้� อุต่สาหกิรรม่กิารผลิ ต่ทั่​่�งด้ต่​่าอผู้​้�นผลิ ต่ภาพ กิารผลิต่�งแรงงาน และกิารลงทัุ่น ต่​่างกิ็ต่้องเผชิ​ิญกิ่บความ่ทั่้าทั่ายใหม่​่ ๆ ทั่​่�งในปัจจุบ่น


SMART Molding -Thailand-

Ads Index

Minnotec (Thailand) Solutions --------------

P15

Plexpert --------------------------------------

P31

ARBURG --------------------------------------Minnotec (Thailand) Solutions --------------

Matsui (Asia) Co., Ltd -----------------------SODICK ---------------------------------------

Thaifeng --------------------------------------

ออกโดย : Association of CAE Molding Technology ที่​่�อยู่​่� : 6F.-1, No. 268, Sec. 1, Wenhua Rd., Banqiao Dist., New Taipei City 220, Taiwan (R.O.C.) โทรศั​ัพท์​์ : +886-2-8969-0409 โทรสาร : +886-2-8969-0410 Website : https://www.smartmolding.com/thai/

P19

P43 P51 P59 P65



6

SMART Molding -Thailand-

สารบัญ Contents 8

แนะนำำ�สมาคม ACMT ประเทศไทย

12 สถาบั​ันพลาสติ​ิกพร้​้อมส่​่งเสริ​ิมการพั​ัฒนาของผู้​้�ประกอบการสู่​่�อุ​ุตสาหกรรมที่​่�ยั่​่�งยื​ืน 16 Gestica: benchmark in injection moulding machine control systems 20 Gestica: มาตรฐานใหม่​่ของระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปจาก ARBURG 24 "Circular Economy" ก้​้าวแห่​่งความยั่​่�งยื​ืนของ "อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทย" 28 รู้​้�จั​ัก “การรี​ีไซเคิ​ิล” กั​ับประโยชน์​์ที่​่�มากกว่​่าคำำ�ว่​่า “ยั่​่�งยื​ืน” 32 Eco Design ออกแบบให้​้เป็​็น "มิ​ิตร" แล้​้ว Plastics จะรั​ักษ์​์โลก ภาครั​ัฐ เอกชน และประชาสั​ัมคม ผนึ​ึกกำำ�ลั​ังยกระดั​ับการจั​ัดการพลาสติ​ิกอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ตาม

36 แนวคิ​ิดเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน

40 เทคโนโลยี​ี Internet of Molding (IoM)


SMART Molding -Thailand-

44 ความเค้​้นตกค้​้างที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นภายในกระบวนการฉี​ีด องและสร้​้างองค์​์ความรู้​้�ในกระบวนการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปพลาสติ​ิกด้​้วย 48 ลดเวลาการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่ DiagBes Web 4.0

52 ทำำ�ไมระบบเฉพาะสำำ�หรั​ับการพั​ัฒนาแม่​่พิ​ิมพ์​์พลาสติ​ิกจึ​ึงขาดไม่​่ได้​้ 56 การไหลที่​่�ไม่​่สมดุ​ุลในระบบป้​้อนของแม่​่พิ​ิมพ์​์หลายคาวิ​ิตี้​้� 60 บี​ีโอไอหนุ​ุนอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ ภายใต้​้แนวคิ​ิด BCG Model 66 แก้​้ปั​ัญหาฝุ่​่�นในเม็​็ดพลาสติ​ิกอย่​่างไรดี​ี ? ABOUT MINNOTEC THAILAND http://www.minnotec.com/th/

• ความเชี่​่�ยวชาญด้​้านการฉี​ีดพลาสติ​ิก • เทคโนโลยี​ีที่​่�ล้ำำ��สมั​ัย • พั​ัฒนาบริ​ิษั​ัทก้​้าวสู่​่�ระบบอั​ัจฉริ​ิยะ

Bringing Smart Manufacturing to Thailand

NE

W!

7


Industry Information

แนะนำำ�สมาคม ACMT ประเทศไทย คำำ�นำ�ำ

ประเทศไทย บริ​ิการรองรั​ับหลายภาษา นอกจากนี้​้�สมาคมยั​ังได้​้ จั​ัดตั้​้�งศู​ูนย์​์บริ​ิการทางเทคนิ​ิคร่​่วมในประเทศเพื่​่�อช่​่วยบู​ูรณาการ ทรั​ัพยากรเทคโนโลยี​ีแม่​่พิ​ิมพ์​์และการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูประหว่​่างประเทศ เพื่​่�อช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ผลิ​ิตที่​่�ต้​้องการลงทุ​ุนในประเทศไทยเพื่​่�อความ ก้​้าวหน้​้าในประเทศและแนะนำำ� เทคโนโลยี​ีการฉี​ีดขึ้​้� น รู​ูปให้​้ เหมาะสมกั​ับยุ​ุค 4.0

ในปี​ี 2561 ประธานสมาคมคนปั​ัจจุ​ุบั​ัน Tsai Ming-Hung ได้​้ ตั​ัดสิ​ินใจจั​ัดตั้​้�งสมาคม ACMT ประเทศไทยที่​่�กรุ​ุงเทพฯ กั​ับผู้​้�ช่​่วย ศาสตราจารย์​์ Dr. Chang Jen-An และ คุ​ุณ Tsai ประธาน ACMT Global ที่​่�เคยร่​่วมงานกั​ับ ศาสตราจารย์​์ Chang Ry และได้​้พั​ัฒนา ทั​ักษะการวิ​ิเคราะห์​์การวิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนานวั​ัตกรรมกระบวนการ ผลิ​ิตอั​ัจฉริ​ิยะของมหาวิ​ิทยาลั​ัย Chung Yuan โดยการรวมกั​ันทั้​้�ง สองในด้​้านการวิ​ิ เ คราะห์​์ ก ารจำำ�ล องการไหลของแม่​่พิ​ิ ม พ์​์ ประสบการณ์​์ระดั​ับมื​ืออาชี​ีพในอุ​ุปกรณ์​์ฮาร์​์ดแวร์​์ และการใช้​้งาน จริ​ิงรวมกั​ับฮาร์​์ดแวร์​์และซอฟต์​์แวร์​์ที่​่�สมบู​ูรณ์​์ ให้​้บริ​ิการอย่​่างเต็​็ม รู​ูปแบบสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรม ซึ่​่�งในเวลาเดี​ียวกั​ันได้​้มี​ีโอกาสในการ จั​ั ด ตั้​้� ง สมาคมในรู​ูปแบบการขึ้​้� น รู​ูปแม่​่พิ​ิ ม พ์​์ ก่​่อตั้​้� ง ขึ้​้� น ใน

กิ​ิจกรรมของสมาคม

สมาคม ACMT ก่​่อตั้​้�งขึ้​้น� โดย ศาสตราจารย์​์ Chang RY ในปี​ี 2004 ริ​ิเริ่​่�มมาจากห้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิการ CAE ของภาควิ​ิชาวิ​ิศวกรรมเคมี​ี มหา วิ​ิ ท ยาลั​ั บ Tsinghua ประเทศไต้​้หวั​ั น วั​ั ต ถุ​ุ ป ระสงค์​์ หลั​ั ก ของ สมาคมคื​ือการสร้​้างรู​ูปแบบการแลกเปลี่​่�ยนทางเทคนิ​ิคระดั​ับมื​ือ อาชี​ีพสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมการขึ้​้�นรู​ูปแม่​่พิ​ิมพ์​์

SMART Molding Magazine

8

■ACMT Thailand

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

สมาคม ACMT เป็​็นสมาคมที่​่�ไม่​่แสวงหาผลกำำ�ไร (nonprofit organisation) ก่​่อนจะมี​ีการจั​ัดตั้​้�ง ACMT ประเทศไทย ในปี​ี พ.ศ.2556 Dr. Chang Jen-An (ประธานสมาคม ACMT ประเทศไทย) ได้​้รั​ับเชิ​ิญจาก สวทช. ในฐานะที่​่�ปรึ​ึกษาการฉี​ีดขึ้​้�น รู​ูปเพื่​่� อ ให้​้ บ ริ​ิ ก ารให้​้คำำ�ปรึ​ึ กษาสำำ�หรั​ั บ อุ​ุ ต สาหกรรมการฉี​ีด พลาสติ​ิกไทย จนกระทั่​่�งก่​่อตั้​้�งสมาคมไทยที่​่� T-TECH (BDIG) ในปี​ี พ.ศ. 2561 สมาคมได้​้ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาสำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมทั้​้�งหมด ในประเทศไทย


Industry Information

รู​ูปที่​่� 1 : ACMT ส่​่งเสริ​ิมเทคโนโลยี​ีการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปให้​้เข้​้ากั​ับยุ​ุ​ุ�ค 4.0 สมาคม ACMT มี​ีการประชาสั​ัมพั​ันธ์​์กิ​ิจกรรม การสั​ัมมนา คอร์​์สเรี​ียนที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับอุ​ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี​ีการ ฉี​ีดขึ้​้� นรู​ูปต่​่าง ๆ ใหม่​่ ๆ อยู่​่�ตลอดเวลาผ่​่านทาง Facebook fanpage และ Line Official

SMART Molding Magazine

สมาคม ACMT ยั​ังจั​ัดทำำ�นิ​ิตยสารรายไตรมาสในทุ​ุก ๆ ปี​ีอี​ีกด้​้วย (4 ฉบั​ั บ ต่​่อปี​ี ) โดยนิ​ิ ต ยสารจะมุ่​่� ง เน้​้นไปที่​่� ข้​้ อมู​ูลเกี่​่� ย วกั​ั บ อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก มี​ีจั​ัดทำำ�ทั้​้�งรู​ูปเล่​่มและอ่​่านบนเว็​็บไซต์​์ โดย ทุ​ุกท่​่านสามารถสนั​ับสนุ​ุน ACMT ได้​้ผ่​่านการสั่​่�งซื้​้�อนิ​ิตยสารผ่​่าน แฟนเพจหรื​ือ Line Official ของเรา และเนื่​่�องจากมี​ีวิ​ิกฤตการณ์​์ โรคระบาด Covid-19 กิ​ิจกรรมส่​่วนใหญ่​่ของสมาคม ACMT ในปี​ี พ.ศ.2564 จึ​ึงจะเน้​้นเป็​็นการจั​ัดกิ​ิจกรรมออนไลน์​์เป็​็นส่​่วนใหญ่​่ เพื่​่�อแบ่​่งปั​ันความรู้​้�ด้​้านอุ​ุตสาหกรรมการขึ้​้�นรู​ูปพลาสติ​ิกแก่​่ทุ​ุก ท่​่านได้​้โดยสะดวกที่​่�สุ​ุด โดยในเดื​ือนสิ​ิงหาคม ปี​ี พ.ศ.2564 นี้​้�ทาง สมาคม ACMT ได้​้ทำำ�ซี​ีรี​ีส์​์สั​ัมมนาเพิ่​่�มขึ้​้�นมาชื่​่�อว่​่า “ACMT Talk” เป็​็นการจั​ัดสั​ัมมนาออนไลน์​์ผ่​่านโปรแกรม ZOOM เราจะเชิ​ิญ วิ​ิทยากรจากบริ​ิษัทั ที่​่เ� กี่​่ย� วข้​้องกั​ับอุ​ุตสาหกรรมการขึ้​้น� รู​ูปพลาสติ​ิก มาแบ่​่งปั​ันข้​้อมู​ูล แนวคิ​ิดต่​่าง ๆ ให้​้แก่​่ผู้​้�เข้​้าร่​่วมสั​ัมมนา โดยในปี​ี พ.ศ.2564 มี​ีการจั​ัด ACMT Talk ขึ้​้�น 5 ครั้​้�งด้​้วยกั​ัน โดย จะมี​ีหั​ัวข้​้อดั​ังนี้​้� ACMT Talk ครั้​้�งที่​่� 1 “การลดต้​้นทุ​ุนการฉี​ีดพลาสติ​ิกด้​้วยเพิ​ิร์​์จ จิ้​้�งคอมพาวด์​์ (Purging Compound)” วิ​ิทยากรคื​ือ คุ​ุณนาวิ​ิน องค์​์ศิ​ิริ​ิพร General manager จาก

Ultra Plast Asia โดยการสั​ัมมนาครั้​้�งนี้​้�จะทำำ�ให้​้ผู้​้�เข้​้าร่​่วมเข้​้าใจ หลั​ักการ สามารถจั​ับประเด็​็นวิ​ิธี​ีการทำำ�งานของเพิ​ิร์​์จจิ้​้�งคอมพา วด์​์ และชี้​้�ให้​้เห็​็นแนวทางและแนะนำำ�วิ​ิธี​ีการที่​่�เหมาะสมสำำ�หรั​ับ ลดต้​้นทุ​ุนการผลิ​ิต ACMT Talk ครั้​้�งที่​่� 2 “แนวทางการใช้​้โปรแกรมจำำ�ลองเพื่​่�อหา เงื่​่�อนไขการฉี​ีด” วิ​ิ ท ยากรคื​ือ อาจารย์​์ ส รศั​ั ก ดิ์​์� วงค์​์ ม ณี​ี อาจารย์​์ ป ระจำำ� สาขา เทคโนโลยี​ีวิ​ิ ศว กรรมแม่​่พิ​ิ ม พ์​์ แ ละเครื่​่� อ งมื​ือ มหาวิ​ิ ท ยาลั​ั ย เทคโนโลยี​ีพระจอมเกล้​้าพระนครเหนื​ือ โดยการสั​ัมมนาครั้​้�งนี้​้�จะ ทำำ�ให้​้ผู้​้�เข้​้าร่​่วมเข้​้าใจแนวคิ​ิดในการใช้​้งานโปรแกรมจำำ�ลองเพื่​่�อหา เงื่​่�อนไขในการฉี​ีดชิ้​้�นงานและนำำ�การจำำ�ลองการฉี​ีดมาช่​่วยในการ ทำำ�งาน ACMT Talk ครั้​้�งที่​่� 3 “วิ​ิธี​ีหาความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้�นงานพลาสติ​ิก อย่​่างรวดเร็​็วและเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการผลิ​ิต” วิ​ิทยากรคื​ือ คุ​ุณจิ​ิรพั​ันธ์​์ สร้​้อยจิ​ิตร Technical consultant จาก Minnotec Thailand โดยการสั​ัมมนาครั้​้�งนี้​้�จะอธิ​ิบายเกี่​่�ยวกั​ับ การหาความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้� น งานพลาสติ​ิ ก อย่​่างรวดเร็​็ วด้​้ว ย Stress Viewer และเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการผลิ​ิตโดยใช้​้ซอฟต์​์แวร์​์ จำำ�ลอง Moldex3D ACMT Talk ครั้​้�งที่​่� 4 “V-Line $ Direct clamping ของ SODICK และประโยชน์​์ในอุ​ุตสาหกรรมแม่​่พิ​ิมพ์​์” วิ​ิทยากรคื​ือ คุ​ุณธี​ีชวิ​ิช ปริ​ิธานนท์​์ IMM Engineer จาก SODICK โดยการสั​ัมมนาครั้​้�งนี้​้�จะอธิ​ิบายเกี่​่�ยวกั​ับความแตกต่​่างระหว่​่าง เครื่​่�องฉี​ีดทั่​่�วไปกั​ับเครื่​่�องฉี​ีดของ SODICK แบบ V-Line และความ สามารถด้​้านการผลิ​ิต ACMT Talk ครั้​้�งที่​่� 5 “การเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพแบบจำำ�ลองด้​้วย การวิ​ิเคราะห์​์ลั​ักษณะเฉพาะของเครื่​่�องจั​ักร” วิ​ิ ท ยากรคื​ือ คุ​ุ ณ พงศธร พรเทพารั​ั ก ษ์​์ Technical Support Engineer จาก Moldex3D Thailand โดยการสั​ัมมนาครั้​้�งนี้​้�จะ อธิ​ิ บ ายเกี่​่� ย วกั​ั บ แนวทางการเพิ่​่� ม ประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพแบบจำำ�ล อง Simulation ด้​้วยการวิ​ิเคราะห์​์ลั​ักษณะเฉพาะของเครื่​่�องจั​ักร สำำ�หรั​ับเดื​ือนอื่​่�นในปี​ี พ.ศ. 2564 หลั​ัก ๆ ที่​่�เป็​็นงานครั้​้�งใหญ่​่ก็​็จะ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

9


Industry Information

รู​ูปที่​่� 2 : Dr. Chang Jen-An (ประธานสมาคม ACMT ประเทศไทย) ได้​้รั​ับประกาศณี​ียบั​ัตร“ Moldex3D Master” มี​ีงาน Taiwan-Thailand Industrial Collaboration Summit หรื​ือ งานแลกเปลี่​่�ยนเทคโนโลยี​ีด้​้านอุ​ุตสาหกรรมระหว่​่างไทย-ไต้​้หวั​ัน จะมี​ีการประชุ​ุม 3 หั​ัวข้​้อหลั​ักด้​้วยกั​ันในวั​ันที่​่� 14-16 กั​ันยายน 2564 โดย ACMT รั​ับหน้​้าที่​่�เป็​็นผู้​้�จั​ัดงานฝั่​่�งไทย ในวั​ันที่​่� 16 ใน หั​ัวข้​้อ “อุ​ุตสาหกรรม Automation” และยั​ังมี​ีการจั​ัดนิ​ิทรรศการ แบบออนไลน์​์ที่​่�มี​ีบู​ูธหลากหลายให้​้ทุ​ุกท่​่านได้​้เลื​ือกชมเสมื​ือนเดิ​ิน ในงานนิ​ิทรรศการจริ​ิง ๆ อี​ีกด้​้วย

ปั​ัจจุ​ุบั​ันให้​้ความช่​่วยเหลื​ือสถาบั​ันเทคโนโลยี​ีไต้​้หวั​ัน (T-TECH) ของ BDI ในการปลู​ูกฝั​ังความสามารถของ Moldex3D และ วางแผนที่​่�จะส่​่งเสริ​ิมโปรแกรมการรั​ับรอง Moldex3D ให้​้กั​ับ มหาวิ​ิทยาลั​ัยและวิ​ิทยาลั​ัยของไทย และล่​่าสุ​ุด Dr. Chang ยั​ัง ได้​้ รั​ับใบรั​ับรองในการเป็​็น “ Moldex3D Master” ซึ่​่�งเป็​็นบุ​ุคคล แรกในเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้ที่​่�ได้​้รั​ับการรั​ับรองว่​่าเป็​็นระดั​ับ มาสเตอร์​์ และเป็​็นบุ​ุคคลที่​่� 2 ของโลกที่​่�ได้​้รั​ับการรั​ับรองนี้​้�

ความสามารถของประธานสมาคม ACMT เครื​ือข่​่ายของเรา ในขณะที่​่�ให้​้บริ​ิการด้​้านคำำ�ปรึ​ึกษาอย่​่างแข็​็งขั​ัน ACMT ยั​ังประสบ ประเทศไทย

SMART Molding Magazine

10

Dr. Chang Jen-An (ประธานสมาคม ACMT ประเทศไทย) มี​ี ประสบการณ์​์ ม ากกว่​่า 20 ปี​ี ในอุ​ุ ต สาหกรรมการฉี​ีดขึ้​้� น รู​ูป นอกจากความกระตื​ือรื​ือร้​้นทางวิ​ิชาการแล้​้ว Dr. Chang Jen-An ยั​ังผสมผสานความรู้​้�ในสาขาวิ​ิชาเข้​้ากั​ับการใช้​้งานจริ​ิง ปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ี สิ​ิ ท ธิ​ิ บั​ั ตรมากกว่​่า 20 ฉบั​ั บ ปี​ี พ.ศ. 2556 สำำ�นั​ั กงานพั​ั ฒนา วิ​ิทยาศาสตร์​์และเทคโนโลยี​ีแห่​่งประเทศไทยได้​้เชิ​ิญ Dr. Chang ให้​้เดิ​ินทางมาประเทศไทยในฐานะผู้​้�เชี่​่�ยวชาญทางเทคนิ​ิคเพื่​่�อทำำ� หน้​้าที่​่�เป็​็นที่​่�ปรึ​ึกษาโครงการสำำ�หรั​ับผู้​้�ผลิ​ิตในอุ​ุตสาหกรรมการฉี​ีด และแม่​่พิ​ิมพ์​์ในท้​้องถิ่​่�น รวมถึ​ึงการวิ​ิเคราะห์​์การไหลของแม่​่พิ​ิมพ์​์ ด้​้วย Moldex3D เป็​็นแกนนำำ�ที​ีมเทคนิ​ิคของ บี​ีดี​ีไอ กรุ๊​๊�ป ยื่​่�นขอ นวั​ัตกรรมตามแผนรั​ัฐบาลไทย (ITAP) ยื​ืนยั​ันอย่​่างสู​ูงจากรั​ัฐบาลไทย

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

ความสำำ�เร็​็จในการสร้​้างเครื​ือข่​่ายที่​่�แข็​็งแกร่​่งในประเทศไทย สร้​้าง พั​ันธมิ​ิตรกั​ับแม่​่พิ​ิมพ์​์พลาสติ​ิกและแม่​่พิ​ิมพ์​์ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับท้​้องถิ่​่�น ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง ร่​่วมสนั​ับสนุ​ุนสั​ัมมนาและหลั​ักสู​ูตรการบรรยายทาง ด้​้านเทคนิ​ิค กิ​ิจกรรมที่​่�มี​ีการจั​ัดนิ​ิทรรศการเพื่​่�อขยายการแลก เปลี่​่�ยนทางเทคนิ​ิคและเรี​ียนรู้​้�จากผู้​้�อำำ�นวยการของประเทศต่​่าง ๆ เครื​ือข่​่ายในสาขาวิ​ิชาชี​ีพที่​่�เป็​็นพั​ันธมิ​ิตรกั​ับ ACMT ได้​้แก่​่ สถาบั​ัน ไทย-เยอรมั​ั น (TGI), ศู​ูนย์​์ เ ทคโนโลยี​ีโลหะและวั​ั ส ดุ​ุ แ ห่​่งชาติ​ิ (MTEC), สมาคมอุ​ุ ตสาหกรรมพลาสติ​ิ กไทย (TPIA), สมาคม อุ​ุตสาหกรรมแม่​่พิ​ิมพ์​์ไทย (TDIA), การวิ​ิจั​ัยอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก ไทย สถาบั​ันพลาสติ​ิกแห่​่งประเทศไทย และหน่​่วยงานอื่​่�น ๆ


Industry Information และล่​่าสุ​ุดเราได้​้มี​ีการจั​ัดกลุ่​่�มพั​ันธมิ​ิตรด้​้านนวั​ัตกรรมการขึ้​้�นรู​ูป หรื​ือ MISA (Molding Innovation Solution Alliance) ขึ้​้�น มี​ี สมาชิ​ิกทั้​้�งหมด 8 บริ​ิษั​ัท ได้​้แก่​่ Thai-Taiwan Business Association, Thai-German Institute, Sodick (Thailand), Plexpert (Thailand), Matsui (Asia), Civilized Cars, Kinzoku Precision, Smartplas (Thailand) โดยพั​ั น ธมิ​ิ ต รนี้​้� จ ะมุ่​่� ง เน้​้นไปที่​่� น โยบายการขยายตลาด อุ​ุตสาหกรรมและช่​่วยเหลื​ือสมาชิ​ิก ACMT ในการพั​ัฒนาโอกาส ทางธุ​ุรกิ​ิจ ขยายตลาด และเค้​้าโครงช่​่องเพื่​่�อสร้​้างระบบนิ​ิเวศ อุ​ุตสาหกรรมอั​ัจฉริ​ิยะที่​่�มี​ีคุ​ุณค่​่า■ ติ​ิดต่​่อ ACMT Thailand ได้​้ที่​่�

Facebook: ACMT Thailand LINE Official: @940ovfau Website: https://www.minnotec.com/th/

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

11


Industry Information

สถาบั​ันพลาสติ​ิกพร้​้อมส่​่งเสริ​ิมการพั​ัฒนาของผู้​้�ประกอบการสู่​่� อุ​ุตสาหกรรมที่​่�ยั่​่�งยื​ืน ■สถาบั​ันพลาสติ​ิก คำำ�นำ�ำ

ด้​้วยสถานการณ์​์ ข องเศษรฐกิ​ิ จ ในปั​ั จจุ​ุ บั​ั น ที่​่� ต้​้ องคำำ�นึ​ึ งถึ​ึงการ ใช้​้สอยอย่​่างคุ้​้�มค่​่าการคำำ�นึ​ึงถึ​ึงการปลดปล่​่อยของเสี​ียที่​่�เกิ​ิดจาก กระบวนการผลิ​ิตภายในโรงงาน การทำำ�งานต่​่าง ๆ ที่​่�ต้​้องรั​ัดกุ​ุม ให้​้มากยิ่​่�งขึ้​้�น เพื่​่�อให้​้สอดคล้​้องกั​ับสถานการณ์​์ปั​ัจจุ​ุบั​ันทั้​้�งการใช้​้ ทรั​ัพยากร การดู​ูแลสิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�ทั่​่�วโลกต่​่างให้​้ความสำำ�คั​ัญ ยั​ังถื​ือ เป็​็นเรื่​่�องที่​่�ผู้​้�ประกอบการในอุ​ุตสาหกรรมไม่​่ควรมองข้​้าม

SMART Molding Magazine

12

สถาบั​ันพลาสติ​ิกได้​้ตระหนั​ักถึ​ึงความสำำ�คั​ัญของสถานการณ์​์ดั​ัง กล่​่าว ทั้​้�งสภาวะเศรษฐกิ​ิจ การดู​ูแลสิ่​่�งแวดล้​้อมการสร้​้างวงจรการ ผลิ​ิ ต ที่​่� จ ะช่​่วยให้​้อุ​ุ ต สาหกรรมไปสู่​่� ค วามยั่​่� ง ยื​ืนได้​้อย่​่างมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพ จึ​ึงได้​้พั​ัฒนาบริ​ิการสำำ�หรั​ับสนั​ับสนุ​ุนผู้​้�ประกอบการ ให้​้สามารถพั​ัฒนาอุ​ุตสาหกรรมที่​่�ยั่​่�งยื​ืนได้​้ ด้​้วยข้​้อมู​ูลที่​่�เหมาะสม นวั​ั ต กรรมวั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ และผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ตลอดจนบุ​ุ ค ลากรใน อุ​ุตสาหกรรมได้​้พั​ัฒนา ด้​้วยบริ​ิการต่​่าง ๆ

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

บริ​ิการแหล่​่งข้​้อมู​ูลอั​ัจฉริยิ ะ เพื่​่�ออุ​ุตสาหกรรม พลาสติ​ิก

สถาบั​ั น พลาสติ​ิ ก พร้​้อมให้​้ บ ริ​ิ ก ารในการจั​ั ด ทำำ�ข้​้ อมู​ูลเพื่​่� อ ผู้​้� ประกอบการในอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก ทั้​้�งข้​้อมู​ูลต้​้นน้ำำ�� กลางน้ำำ�� และปลายน้ำำ�� • บริ​ิการวิ​ิจั​ัยและข้​้อมู​ูลเชิ​ิงลึ​ึก สถาบั​ันพลาสติ​ิกจั​ัดทำำ�รายงาน การวิ​ิเคราะห์​์ที่​่�ผู้​้�ประกอบการสามารถออกแบบได้​้ เพื่​่�อเตรี​ียม การและเข้​้าถึ​ึงสถานการณ์​์ของอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกอย่​่าง เหมาะสม • บริ​ิ ก ารด้​้านรายงานและบทวิ​ิ เ คราะห์​์ เกาะกระแสและ วิ​ิ เ คราะห์​์ ก ารเปลี่​่� ย นแปลงของอุ​ุ ต สาหกรรมพลาสติ​ิ ก ไทย ตลอดห่​่วงโซ่​่อุ​ุ ปท าน ตั้​้� ง แต่​่เม็​็ ด พลาสติ​ิ ก ถึ​ึง ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ พลาสติ​ิกผ่​่านบทวิ​ิเคราะห์​์รายเดื​ือน และรายปี​ี • วารสารอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก (Plastics Foresight) เพิ่​่�มพู​ูน องค์​์ ค วามรู้​้� บอกเล่​่าทุ​ุ ก เรื่​่� อ งราวกั​ั บ ประเด็​็ น ที่​่� น่​่ าสนใจใน แวดวงอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกในรู​ูปแบบวารสารวิ​ิชาการราย ไตรมาส


Industry Information การออกแบบและพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์

รู​ูปที่​่� 1 : การใช้​้วั​ัตถุ​ุดิ​ิบ Masterbatch อย่​่างคุ้​้�มค่​่า

บริ​ิการพั​ัฒนาวั​ัสดุ​ุและการทดสอบ

การพั​ัฒนาและการจั​ัดการโรงงาน

ในด้​้านการพั​ัฒนาและบริ​ิหารจั​ัดการโรงงาน ทางสถาบั​ันพลาสติ​ิก พร้​้อมให้​้บริ​ิการส่​่งเสริ​ิมการพั​ัฒนาจั​ัดการโรงงาน ผ่​่านการให้​้คำำ� ปรึ​ึกษา คำำ�แนะนำำ� การหาเทคโนโลยี​ีที่​่�เหมาะสม ตลอดจนการ พั​ัฒนากระบวนการผลิ​ิตให้​้เกิ​ิดประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงสุ​ุด • การให้​้ตรวจประเมิ​ินโรงงาน เป็​็นการเข้​้าตรวจประเมิ​ินปั​ัญหา ต่​่างๆ ที่​่�โรงงานกำำ�ลั​ังพบเจอ เพื่​่�อวิ​ิเคราะห์​์ และหาแนวทางไป สู่​่�การพั​ัฒนาที่​่�เหมาะสม • การแก้​้ไขปั​ั ญ หา การเข้​้าให้​้คำำ� แนะนำำ� ตลอดจนช่​่วยแก้​้ไข ปั​ัญหาต่​่างๆที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นหลั​ังจากการประเมิ​ิน เพื่​่�อการลดของเสี​ีย ระหว่​่างการผลิ​ิต เพิ่​่�มผลิ​ิตภาพ สร้​้างกระบวนการทำำ�งานที่​่� เหมาะสมให้​้กั​ับโรงงาน

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

• บริ​ิการให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาด้​้านวั​ัสดุ​ุ แนะนำำ�การใช้​้งานและเลื​ือกวั​ัสดุ​ุ ให้​้เหมาะสม รวมถึ​ึงศึ​ึกษาความเป็​็นไปได้​้ในการพั​ัฒนา และ แนวทางสำำ�หรั​ับการต่​่อยอดเชิ​ิงอุ​ุตสาหกรรม • บริ​ิการวิ​ิจั​ัยพั​ัฒนา และค้​้นคว้​้าสู​ูตรคอมพาวนด์​์พลาสติ​ิกทั้​้�ง พลาสติ​ิกทั่​่�วไป และพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ เพื่​่�อตอบโจทย์​์ความ ต้​้องการต่​่าง ๆ ของภาคอุ​ุตสาหกรรม • บริ​ิการทดสอบและสนั​ับสนุ​ุนการบริ​ิการอื่​่�น ๆ ให้​้กั​ับหน่​่วย งานทุ​ุกภาคส่​่วน โดยปั​ัจจุ​ุบั​ันห้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิการทดสอบสามารถ รองรั​ับการทดสอบสมบั​ัติ​ิของพลาสติ​ิกได้​้ดั​ังนี้​้� การทดสอบ สมบั​ัติ​ิเชิ​ิงกล (Universal Testing Machine : UTM) การ ทดสอบอั​ัตราการไหลของพลาสติ​ิก (Melt Flow Index : MFI) การทดสอบอั​ัตราการซึ​ึมผ่​่านของก๊​๊าซออกซิ​ิเจน (Oxygen Transmission Rate : OTR) การทดสอบอั​ัตราการซึ​ึมผ่​่าน ของไอน้ำำ�� (Water Vapor Transmission Rate : WVTR) • บริ​ิ ก ารรั​ั บ รองวั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ สามารถรั​ั บ รองวั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ ที่​่� ผ่​่ าน กระบวนการผลิ​ิตที่​่�มี​ีสาระสำำ�คั​ัญในประเทศไทยและต้​้องไม่​่ เป็​็นกระบวนการผลิ​ิตอย่​่างง่​่าย ให้​้กั​ับผู้​้�ขอยื่​่น� ที่​่อ� ยู่​่ใ� นเขตปลอด อากรหรื​ือเขตประกอบการเสรี​ี เพื่​่�อลดอั​ัตราอากรและยกเว้​้น อากรศุ​ุลกากร ตามมาตรา 12 แห่​่งพระราชกำำ�หนดพิ​ิกั​ัดอั​ัตรา ศุ​ุ ล กากร ในวั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ ดั​ั ง ต่​่อไปนี้​้� ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ วั​ั ส ดุ​ุ เคมี​ีภั​ั ณ ฑ์​์ ปิ​ิโตรเคมี​ี พลาสติ​ิก ยาง และพอลิ​ิเมอร์​์อื่​่�น ๆ

สถาบั​ั นพลาสติ​ิ กพร้​้อมส่​่งเสริ​ิ มการพั​ั ฒนานวั​ั ตกรรมตั้​้� งแต่​่การ ออกแบบ การสร้​้างต้​้นแบบผ่​่าน 3D Printer ตลอดจนการต่​่อยอด สู่​่� ก ารผลิ​ิ ต ได้​้จริ​ิ ง ด้​้วยแม่​่พิ​ิ ม พ์​์ น วั​ั ต กรรมที่​่� ส ามารถผลิ​ิ ต ได้​้ ประกอบด้​้วย • การออกแบบผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ สถาบั​ั น พลาสติ​ิ ก พร้​้อมให้​้ บ ริ​ิ ก าร ออกแบบผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ด้​้ว ยไอเดี​ีย ที่​่� ส ามารถสานต่​่อสู่​่� ก าร ออกแบบเชิ​ิงวิ​ิศกรรมด้​้วยซอฟท์​์แวร์​์ที่​่�ทั​ันสมั​ัย รองรั​ับการผลิ​ิต ได้​้ พร้​้อมการออกแบบ 3D File เพื่​่�อนำำ�ไปผลิ​ิตเป็​็นแม่​่พิ​ิมพ์​์ สำำ�หรั​ับการผลิ​ิตเป็​็นเชิ​ิงอุ​ุตสาหกรรมของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นวั​ัตกรรม ที่​่�ผู้​้�ประกอบการเป็​็นผู้​้�คิ​ิดค้​้น • การสร้​้างต้​้นแบบ 3D สถาบั​ันพลาสติ​ิก พร้​้อมพั​ัฒนานวั​ัตกรรม เพื่​่� อ ไม่​่ให้​้ เ กิ​ิ ด ความสู​ูญเปล่​่าในขั้​้� น ปลายของการพั​ั ฒ นา ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ด้​้วยบริ​ิการสร้​้างต้​้นแบบ 3D ผ่​่าน 3D Printer หลากหลายเทคโนโลยี​ีที่​่�ผู้​้�ประกอบการสามารถเลื​ือกได้​้ • การพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ สถาบั​ันพลาสติ​ิกพร้​้อมเป็​็นจุ​ุดเชื่​่�อมโยง ให้​้กั​ับนวั​ัตกรรมที่​่�จะพั​ัฒนา ด้​้วยการออกแบบผ่​่านซอฟท์​์แวร์​์ ที่​่�สามารถเชื่​่�อมโยงสู่​่�โรงงานผู้​้�ผลิ​ิต เพื่​่�อให้​้นวั​ัตกรรมสามารถ ผลิ​ิตได้​้จริ​ิง

13


Industry Information การพั​ัฒนาบุ​ุคลากรในอุ​ุตสาหกรรม

สถาบั​ันพลาสติ​ิกให้​้บริ​ิการการอบรมพั​ัฒนาทั​ักษะความรู้​้เ� ฉพาะทาง ที่​่�เหมาะสม เพื่​่�อให้​้ผู้​้�ประกอบการและบุ​ุคลากร สามารถนำำ�ความ ไปต่​่อยอดสู่​่�การพั​ัฒนานวั​ัตกรรมได้​้อย่​่างเหมาะสม ทั้​้�งความรู้​้�ใน การกระบวนการผลิ​ิต การพั​ัฒนานวั​ัตกรรมผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์และหลั​ักสู​ูตร เพื่​่�ออุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก ผ่​่านรู​ูปแบบออนไลน์​์ ออฟไลน์​์ และรู​ูป แบบ In house Training

บริ​ิการเพื่​่�อพั​ัฒนาอุ​ุตสาหกรรมยั่​่�งยื​ืน

ส่​่งเสริ​ิมผู้​้�ประกอบการในอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกให้​้เติ​ิบโตอย่​่าง ยั่​่�งยื​ืน ด้​้วยแนวคิ​ิดเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน (Circular Economy) ซึ่​่�ง เป็​็นที่​่�ยอมรั​ับอย่​่างแพร่​่หลายผ่​่านบริ​ิการของสถาบั​ันพลาสติ​ิก ได้​้แก่​่ • บริ​ิการให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาด้​้านหลั​ักการของ 3R • บริ​ิการให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาหลั​ักการออกแบบและพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ใน เชิ​ิง Eco Design • บริ​ิการให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาการบริ​ิหารจั​ัดการในโรงงาน • บริ​ิการให้​้คำำ�ปรึ​ึกษา Business Model ที่​่�ตอบรั​ับกั​ับแนวคิ​ิด Circular Economy ทั้​้� ง นี้​้� ส ถาบั​ั น พลาสติ​ิ ก พร้​้อมเป็​็ น ส่​่วนหนึ่​่� ง ในการพั​ั ฒ นา อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกและผู้​้�ประกอบการ ด้​้วยการเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูล สร้​้างสรรค์​์นวั​ัตกรรมเพื่​่�อสิ่​่�งแวดล้​้อมตั้​้�งแต่​่อุ​ุตสาหกรรมต้​้นน้ำำ�� จนถึ​ึงปลายน้ำำ�� การพั​ัฒนาบุ​ุคลากรและโรงงานให้​้เกิ​ิดความยั่​่�งยื​ืน ด้​้วยกลไกด้​้านบริ​ิการต่​่าง ๆ จากสถาบั​ันพลาสติ​ิก■ SMART Molding Magazine

14

สามารถติ​ิดต่​่อสถาบั​ันพลาสติ​ิกผ่​่านช่​่องทางต่​่าง ๆ ได้​้ที่​่� Website : www.thaiplastics.org Facebook : Plastics Institute of Thailand – สถาบั​ันพลาสติ​ิก Line : @Thaiplastics Youtube Official : Thaiplastics Tel: 02-391-5340-4 ต่​่อ 421

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Industry Information

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

15


International Column

Gestica: benchmark in injection moulding machine control systems ■ARBURG

SMART Molding Magazine

16

When it was introduced in 1992, the Selogica control system from Arburg was already a role model and trailblazer for the entire plastics machinery industry. Gestica, which made its debut at K, the world’s leading trade fair as the “control system of the future” in 2016, is currently taking on this role as a benchmark. The Gestica control system is designed for all injection moulding variants and for the diverse requirements of every branch of plastics processing. Numerous assistance functions offer installers and operators a very high degree of convenience and extensive support. • “Seal of quality” for high-tech injection moulding machines • Premium look and feel with high user ergonomics • Numerous assistants provide process management support

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

Guido Frohnhaus, Managing Director Technology and Engineering at Arburg, describes the ambition that the company attaches to its new control system: “Our aim is to establish Gestica as an easy-to-operate platform for efficient injection moulding to meet the highest requirements. This should make the performance and quality of the control system the ‘seal of quality’ for high-tech injection moulding machines – just like the Selogica control system before it.”

Systematic development

Arburg has made detailed improvements to navigation and to the sequence editor in particular, so that machine operators save time and reach their goal with just a few clicks. Multilift and six-axis robotic systems can be fully integrated into the system, retaining the Gestica look and feel during operation. This not only makes the cycles faster and more efficient, but also


International Column

Fig 1 : The Gestica control system incorporates all of Arburg’s experience in the development of hardware and software. The easy-to-use platform is now establishing itself as a “seal of quality” for high-tech injection moulding machines.

improves reliability through the mutual interlocking of functions.

• The 'aXw Control FillAssist' knows each component. A filling study is created online through the import of STL data, then the appropriate injection parameters are defined for the machine and the process. • With the 'aXw Control MeltAssist', Gestica identifies

Adaptive process control and regulation: with assistants Gestica “pilots” help to easily implement smooth, highly autonomous and monitored production: • aXw Control ScrewPilot ensures a stable filling process by regulating the position of the screw. g=g • With its biconically optimised pressure control, aXw Control PressurePilot makes mould filling more consistent and improves balancing, which prevents burr formation and underfilling. • aXw Control ReferencePilot controls the holding pressure curve in real time via a pressure sensor in the mould. Besides improving part quality reproducibility, this also results in a reduced number of start-up cycles. SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

“Gestica’s range of functions is already greater than that of our Selogica system. This is precisely where we are setting global standards. Our strategic approach is to ensure that the machine “knows” its environment – which results in unique assistance functions,” explains Guido Frohnhaus, summarising the current status. These assistants help further increase ease of use and efficiency in a way that is unique in the industry. Impressive examples of this:

the installed cylinder module from a chip and uses this data to calculate parameters automatically such as the utilisation level for plasticising and dwell times. This is the key to performance-dependent maintenance and efficient service. • With the new aXw Control CycleAssist, the control system knows the programmed cycle sequence: it graphically compares the current times of each cycle step with previously defined reference values. Unproductive time segments can be displayed with a click – making high productivity programmable in advance. • Another new feature, aXw Control EnergyAssist, knows when production is scheduled to start and when it will end. This means that the heating up or deactivation of the cylinder module and mould can be controlled automatically to ensure a uniform, energy-saving process.

17


International Column • Finally, the newly developed Arburg FlowPilot combines a cooling water manifold close to the mould with temperature and flow control. This allows interference variables such as increasingly clogged filters, deposits in cooling channels, and kinked lines to be reliably detected.

SMART Molding Magazine

18

Up to date: premium look and feel

Anyone operating a Gestica control system will quickly feel reminded of their convenient smartphone. That is also the intention. The control unit has two separate computers for operation and process control, including Multicore technology. As well as great operational reliability, this also provides the best possible protection against unauthorised external access. In Gestica: “Made by Arburg” Gestica incorporates all of Arburg’s experience in the addition, because Gestica has a closed operating development of hardware and software. The company system, no security updates are needed. Also, it is easy has traditionally gone its own way for decades and has to integrate printers, USB memory units and browsers. thus made itself largely independent of manufacturers This is something that only Arburg can deliver, and that and suppliers. This is reflected, among other things, in makes for reliable technology and stable processes. sustainable production and a rapid and long-term supply of spare parts. Gestica and Selogica are fully The operating panel, whose design won a Red Dot compatible – in both directions. This is one of many Award in 2018, has a gleaming monitor in 16:9 format additional features that make the control system and full HD quality, multi-touch technology for gesture control, a glass front with integrated hardware keys, outstanding and unique. and a special light design for status feedback signals. Arburg’s strategy of a central platform means that the The EASYslider is another unique feature, which allows control systems flow into the standard and are updated movements to be controlled flexibly and intuitively along with it – as has been the case since the during set-up. introduction of Selogica in 1992. Features developed individually at the customer’s request are also The result of all this: increased speed and reliability of incorporated into the standard. The result is an operation. It only takes a few, time-saving clicks for enormous range of functions that have been installers and operators to reach their goal. It goes progressively integrated into Gestica with its intuitive without saying that Gestica is also “digitally ready”. gesture control. This means that all injection moulding Thanks to its OPC UA-based connectivity, the control variants and the most diverse requirements from all system allows entire production cells to be managed and enables simple communication with higher-level industries are comprehensively covered. systems. This is smart technology that’s really fun.■

SMART Molding Magazine • V005-(2021/Q3)


International Column PARTNERSHIP DRIVING EXPERIENCE

FUTURE MOVEMENT

PERFORMANCE

AUTO MOTIVE! INDIVIDUALITY EMOTIONS SUSTAINABILITY

CONNECTIVITY

EMISSIONS

SMART Molding Magazine

ow n d fo ll S can a E. IN L n o us

What will the cars of the future look like? It’s difficult to say. What we do know is that cars will continue to be the personal mobility method of choice in the future. We know the automotive industry and its needs better than anyone. And this is so important right now. Because everything is changing. Because mobility and technologies are undergoing a lasting transformation. We are by your side. We are driven by the desire to meet your needs. www.arburg.com

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

19


Technology Showcase

Gestica: มาตรฐานใหม่​่ของระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปจาก ARBURG ■ARBURG • รั​ับประกั​ันคุ​ุณภาพเหมาะกั​ับการใช้​้งานกั​ับเครื่​่�องฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปที่​่�มี​ี เทคโนโลยี​ีขั้​้�นสู​ูง • ด้​้วยรู​ูปลั​ักษณ์​์ระดั​ับพรี​ีเมี​ียม ที่​่�มาพร้​้อมกั​ับการออกแบบให้​้ สะดวกสบายต่​่อการใช้​้งาน • ระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีด Gestica ที่​่�เต็​็มไปด้​้วยระบบความช่​่วย เหลื​ือในกระบวนการผลิ​ิต

SMART Molding Magazine

20

ARBURG ได้​้ทำำ� การเปิ​ิ ด ตั​ั ว ระบบควบคุ​ุ ม เครื่​่� อ งฉี​ีดพลาสติ​ิ ก Selogica ครั้​้�งแรกในปี​ี 1992 ซึ่​่�งถื​ือได้​้ว่​่าเป็​็นต้​้นแบบของระบบ ควบคุ​ุ ม เครื่​่� อ งฉี​ีดพลาสติ​ิ ก ของ ARBURG ในอุ​ุ ต สาหกรรม พลาสติ​ิก แต่​่นั้​้�นเป็​็นต้​้นมาจนกระทั้​้�ง ARBURG ได้​้ทำำ�การเปิ​ิดตั​ัว ระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกรุ่​่�นใหม่​่ Gestica ในงานแสดง สิ​ินค้​้าระดั​ับโลก K show ในปี​ี 2016 ซึ่​่�งถื​ือได้​้ว่​่า Gestica เป็​็น “ระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกแห่​่งอนาคต” ด้​้วยการที่​่�ระบบ ควบคุ​ุมนี้​้�ได้​้รั​ับการออกแบบเพื่​่�อรองรั​ับรู​ูปแบบการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปแบบ ต่​่าง ๆ ได้​้หลากหลาย มาพร้​้อมกั​ับฟั​ังก์​์ชั่​่�นความช่​่วยเหลื​ือให้​้ผู้​้�ติ​ิด ตั้​้�งและผู้​้�ใช้​้งานได้​้รั​ับความสะดวกสบายและครอบคลุ​ุมต่​่อการ ทำำ�งาน SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

Guido Frohnhaus กรรมการผู้​้� จั​ั ด การฝ่​่ า ยเทคโนโลยี​ีและ วิ​ิ ศวกรรมของ ARBURG อธิ​ิ บายให้​้ เราฟั​ั ง ถึ​ึงความมุ่​่� ง มั่​่� นของ บริ​ิษั​ัทในการพั​ัฒนาระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดรุ่​่�นใหม่​่นี้​้� “เป้​้าหมาย ของเราคื​ือการสร้​้าง Gestica ให้​้เป็​็นแพลตฟอร์​์มที่​่�ใช้​้งานง่​่ายและ สามารถรองรั​ับการทำำ�งานกั​ับเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกขึ้​้�นรู​ูปให้​้ทำำ�งาน ได้​้อย่​่างเต็​็มประสิ​ิทธิ​ิภาพ ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้�เราจึ​ึงสามารถรั​ับประกั​ัน คุ​ุ ณ ภาพการผลิ​ิ ต ให้​้มี​ีคุ​ุ ณ ภาพในระดั​ั บ สู​ูง เช่​่นเดี​ียวกั​ั บ ระบบ ควบคุ​ุมรุ่​่�นก่​่อนหน้​้า ที่​่�เรี​ียกว่​่า Selogica

การพั​ัฒนาอย่​่างเป็​็นระบบ

ARBURG ได้​้ทำำ�การปรั​ับปรุ​ุงและพั​ัฒนาระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีด อย่​่างเป็​็นระบบเพื่​่�อให้​้ผู้​้�ควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดใช้​้งานได้​้อย่​่างสะดวก รวดเร็​็ว ประหยั​ัดเวลา และสามารถสั่​่�งการเครื่​่�องฉี​ีดให้​้ทำำ�งานได้​้ ตามความต้​้องการเพี​ียงกดปุ่​่�มไม่​่กี่​่� ค รั้​้� ง อี​ีกทั้​้� ง ระบบควบคุ​ุ ม Gestica นี้​้� ยั​ั ง สามารถทำำ� งานร่​่วมกั​ั บ Multilift (แขนกลของ ARBURG) และแขนกลแบบเคลื่​่�อนที่​่�ได้​้รอบทิ​ิศทาง (six-axis robotic system) ได้​้อย่​่างสมบู​ูรณ์​์แบบ ซึ่​่�งไม่​่เพี​ียงแต่​่ทำำ�ให้​้รอบ การทำำ� งานเร็​็ วขึ้​้� น และมี​ีประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพมากยิ่​่� ง ขึ้​้� น แต่​่ยั​ั ง ช่​่วย


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : Gestica ที่​่�รวมเอาประสบการณ์​์การทำำ�งานของ ARBURG มาใช้​้ในการพั​ัฒนาฮาร์​์ดแวร์​์และซอฟแวร์​์ เข้​้าไว้​้ด้​้วยกั​ัน ทำำ�ให้​้เป็​็นระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดที่​่� สามารถการั​ันตี​ีด้​้วยคุ​ุณภาพ ง่​่ายต่​่อการใช้​้งานกั​ับ เครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีเทคโนโลยี​ีระดั​ับสู​ูง ปรั​ับปรุ​ุงการทำำ�งานของฟั​ังก์​์ชั่​่�นต่​่าง ๆ ของเครื่​่�องฉี​ีดให้​้สามารถ ทำำ�งานประสานกั​ันได้​้ตามที่​่�ต้​้องการ

การควบคุ​ุมและรั​ักษากระบวนการผลิ​ิตแบบ แปรผั​ัน

ด้​้วยระบบควบคุ​ุม Gestica จะช่​่วยให้​้การผลิ​ิตดำำ�เนิ​ินไปอย่​่างราบ รื่​่�น มี​ีระบบที่​่�เป็​็นเหมื​ือนผู้​้�ช่​่วยควบคุ​ุมอั​ัติ​ิโนมั​ัติ​ิจำำ�นวนมาก และ ยั​ังสามารถตรวจติ​ิดตามกระบวนการผลิ​ิตได้​้ตลอดเวลา ตั​ัวอย่​่าง ผู้​้�ช่​่วยควบคุ​ุมได้​้แก่​่ • aXw Control ScrewPilot ผู้​้�ช่​่วยที่​่�จะทำำ�ให้​้คุ​ุณมั่​่�นใจได้​้ว่​่าใน ขั้​้�นตอนการฉี​ีดพลาสติ​ิกเข้​้าแม่​่พิ​ิมพ์​์จะมี​ีความเสถี​ียร โดยผู้​้� ช่​่วยตั​ัวนี้​้�จะมาควบคุ​ุมการปรั​ับตำำ�แหน่​่งของสกรู​ูให้​้กั​ับเรา • aXw Control PressurePilot เป็​็นระบบควบคุ​ุมแรงดั​ันแบบ ปรั​ับให้​้เหมาะสม ช่​่วยให้​้ขั้​้�นตอนการฉี​ีดพลาสติ​ิกเข้​้าแม่​่พิ​ิมพ์​์ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

“ฟั​ังก์​์ชั่​่�นการทำำ�งานต่​่าง ๆ ของระบบควบคุ​ุม Gestica นั้​้�นมี​ี มากกว่​่าระบบควบคุ​ุม Selogica ถื​ือเป็​็นจุ​ุดสำำ�คั​ัญในการกำำ�หนด มาตรฐานสากลใหม่​่ให้​้กั​ับระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกของ ARBURG โดยแนวทางที่​่� ARBURG ใช้​้ในการพั​ัฒนาระบบควบคุ​ุม เครื่​่�องฉี​ีดคื​ือทำำ�ให้​้แน่​่ใจว่​่าเครื่​่�องฉี​ีดสามารถ “เข้​้าใจ” ถึ​ึงการ เปลี่​่ย� นแปลงภายในกระบวนการผลิ​ิตที่​่เ� กิ​ิดขึ้​้น� โดยมี​ีฟั​ังก์​์ชั่​่น� ความ ช่​่วยเหลื​ือต่​่างๆ เพื่​่�อให้​้สามารถรองรั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงนั้​้�นๆ ได้​้ ” Guido Frohnhaus กล่​่าวอธิ​ิบายโดยสรุ​ุปให้​้เราฟั​ัง ซึ่​่�งฟั​ังก์​์ชั่​่�น ความช่​่วยเหลื​ือต่​่าง ๆ ที่​่�มี​ีมาให้​้ในระบบควบคุ​ุม Gestica จะช่​่วย เพิ่​่�มความสะดวกต่​่อการใช้​้งานและเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพในการผลิ​ิต แบบที่​่� ไ ม่​่มี​ีใครเหมื​ือนมาก่​่อนในอุ​ุ ต สาหกรรมพลาสติ​ิ ก ยก ตั​ัวอย่​่างเช่​่น • aXw control Fill Assist เป็​็นผู้​้�ช่​่วยที่​่�จะรวบรวมข้​้อมู​ูลค่​่า พารามิ​ิเตอร์​์ต่​่าง ๆ ของตั​ัวเครื่​่�องเอาไว้​้ จากนั้​้�นระบบจะทำำ�การ ศึ​ึกษาและช่​่วยใส่​่ค่​่าพารามิ​ิเตอร์​์ต่​่าง ๆ ที่​่�เหมาะสมต่​่อการผลิ​ิต ขึ้​้น� รู​ูปชิ้​้�นงานนั้​้�น ๆ ซึ่​่�งผู้​้�ใช้​้งานสามารถ import ค่​่าพารามิ​ิเตอร์​์ ออกมาในรู​ูปแบบของ STL ผ่​่านระบบออนไลน์​์ได้​้

• aXw Control MeltAssist ทำำ�ให้​้ Gestica สามารถคำำ�นวณ ข้​้อมู​ูลค่​่าพารามิ​ิเตอร์​์ต่​่าง ๆได้​้จากชิ​ิพประมวลผลที่​่�ติ​ิดตั้​้�งมา กั​ับ Cylinder module ซึ่​่�งจะช่​่วยหาปริ​ิมาณพลาสติ​ิกใน กระบอกฉี​ีด และ dwell time ที่​่�เหมาะสมให้​้กั​ับกระบวนการ ผลิ​ิตได้​้อย่​่างง่​่ายดาย ซึ่​่�งนี้​้�ถื​ือเป็​็นกุ​ุญแจสำำ�คั​ัญที่​่�ช่​่วยเรื่​่�องการ บำำ�รุ​ุงรั​ักษาเครื่​่�องฉี​ีดให้​้มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพมากยิ่​่�งขึ้​้�น • aXw control CycleAssist ช่​่วยให้​้เข้​้าใจลำำ�ดั​ับขั้​้�นตอนการ ฉี​ีดในแต่​่ละรอบการฉี​ีดตามที่​่�ตั้​้�งโปรแกรมเอาไว้​้ ซึ่​่�งสามารถ แสดงผลเปรี​ียบเที​ียบแต่​่ละรอบในการฉี​ีด และสามารถเปรี​ียญ เที​ียบเวลาในแต่​่ละขั้​้�นตอนการฉี​ีดกั​ับค่​่าอ้​้างอิ​ิงซึ่​่�งแสดงผลเป็​็น กราฟ อี​ีกทั้​้�งเรายั​ังสามารถคลิ้​้�กเพี​ียงคลิ้​้�กเดี​ียวโปรแกรมจะ แสดงช่​่วงเวลาในการผลิ​ิ ต ว่​่ามี​ีการสู​ูญสี​ียเวลาโดยไม่​่มี​ี ประโยชน์​์ในระหว่​่างขั้​้�นตอนการฉี​ีดช่​่วงเวลาใดบ้​้าง ซึ่​่�งจะช่​่วย ให้​้เราสามารถปรั​ับค่​่าพารามิ​ิเตอร์​์ต่​่าง ๆ ที่​่�เหมาะได้​้ล่​่วงหน้​้า เพื่​่�อให้​้มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพในการผลิ​ิตที่​่�ดี​ียิ่​่�งขึ้​้�น • aXw Control EnergyAssist ทำำ�ให้​้เข้​้าใจว่​่าจะมี​ีการผลิ​ิตเกิ​ิด ขึ้​้�น และสิ้​้�นสุ​ุดตอนไหน ซึ่​่�งจะทำำ�ให้​้เราสามารถควบคุ​ุมการ เปิ​ิด-ปิ​ิด อุ​ุณหภู​ูมิ​ิของกระบอกฉี​ีด และแม่​่พิ​ิมพ์​์ได้​้โดยอั​ัติ​ิโน มั​ัติ​ิ เราจึ​ึงมั่​่�นใจได้​้ถึ​ึงกระบวนการประหยั​ัดพลั​ังงานที่​่�จะเกิ​ิด ขึ้​้�นในขั้​้�นตอนการผลิ​ิต adaptive process control and regulation

21


Technology Showcase

SMART Molding Magazine

22

มี​ีความต่​่อเนื่​่�อง สม่ำำ��เสมอ ป้​้องกั​ันการเกิ​ิดรู​ูหรื​ือโพรงอากาศ นี้​้�ด้​้วย ส่​่งผลให้​้ระบบควบคุ​ุม Gestica มี​ีฟั​ังก์​์ชั​ันการทำำ�งานต่​่าง ๆ มากมาย ง่​่ายต่​่อการใช้​้งาน สามารถใช้​้ควบคุ​ุ ม การฉี​ีดขึ้​้� น รู​ูป และการฉี​ีดพลาสติ​ิกที่​่�น้​้อยเกิ​ินไปได้​้อี​ีกด้​้วย • aXw Control ReferencePilot ใช้​้แรงดั​ันภายในแม่​่พิ​ิมพ์​์ พลาสติ​ิ ก ได้​้ในหลากหลายรู​ูปแบบและครอบคลุ​ุ ม ในทุ​ุ ก อ้​้างอิ​ิงการทำำ�งานแบบเรี​ียลไทม์​์ในรู​ูปแบบของกราฟด้​้วยเพรส อุ​ุตสาหกรรม เชอร์​์เซ็​็นเซอร์​์ในแม่​่พิ​ิมพ์​์ ช่​่วยปรั​ับปรุ​ุงคุ​ุณภาพของชิ้​้�นงานใน การผลิ​ิตทุ​ุกๆครั้​้�ง และสามารถลดรอบการฉี​ีดในช่​่วงเริ่​่�มต้​้น ฟั​ังค์​์ชั​ันการใช้​้งานที่​่�ทั​ันสมั​ัยมาพร้​้อมกั​ับรู​ูป ลั​ักษณ์​์และการสั​ัมผั​ัสระดั​ับพรี​ีเมี​ียม การผลิ​ิตใหม่​่ได้​้อี​ีกด้​้วย • และด้​้วย Arburg FlowPilot ที่​่�ถู​ูกพั​ัฒนาขึ้​้�นมาใหม่​่จากการนำำ� ใครก็​็ตามที่​่�ได้​้สั​ัมผั​ัส Gestica จะนึ​ึกถึ​ึงสมาร์​์ทโฟนที่​่�ใช้​้งานสะดวก เอาระบบน้ำำ��หล่​่อเย็​็นมาวางใกล้​้กั​ับระบบควบคุ​ุมอุ​ุณหภู​ูมิ​ิและ และรวดเร็​็ว นั้​้�นคื​ือความตั้​้�งใจแบบเดี​ียวกั​ันที่​่� ARBURG ใช้​้ในการ อั​ัตราการไหลในแม่​่พิ​ิมพ์​์ จึ​ึงเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งตั​ัวช่​่วยให้​้คุ​ุณสามารถ ออกแบบ Gestica ซึ่​่�ง Gestica นี้​้�จะมี​ีระบบคอมพิ​ิวเตอร์​์สอง ตรวจจั​ับตั​ัวแปรต่​่าง ๆ ที่​่�ทำำ�ให้​้เกิ​ิดผลเสี​ียต่​่อการผลิ​ิต ไม่​่ว่​่าจะ ชุ​ุดทำำ�งานแยกจากกั​ันที่​่�ใช้​้ในการทำำ�งานของส่​่วน operation และ เป็​็นการอุ​ุดตั​ันของไส้​้กรอง คราบสะสมในช่​่องระบายความ ส่​่วนของ production อี​ีกทั้​้�งยั​ังมี​ีเทคโนโลยี​ี Multicore อี​ีกด้​้วย ร้​้อน การเกิ​ิดรอยบิ​ิดงอต่​่าง ๆ สามารถตรวจสอบได้​้ง่​่ายบน และไม่​่เพี​ียงแต่​่คุ​ุณภาพการทำำ�งานที่​่�ไว้​้ใจได้​้ Gestica ยั​ังมาพร้​้อม กั​ับระบบความปลอดภั​ัยป้​้องกั​ันบุ​ุคคลจากภายนอกเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูล หน้​้าจอ Gestica การฉี​ีดโดยไม่​่ได้​้รั​ับอนุ​ุญาตได้​้อี​ีกด้​้วย และด้​้วยการที่​่� Gestica ระบบควบคุ​ุม Gestica พั​ัฒนาโดย ARBURG เป็​็นระบบปฏิ​ิบั​ัติ​ิการแบบปิ​ิดจึ​ึงไม่​่ต้​้องกั​ังวลเรื่​่�องการอั​ัปเดตด้​้าน อาร์​์เบอร์​์กได้​้นำำ�ประสบการณ์​์ที​ีสะสมมาอย่​่างยาวนาน มาพั​ัฒนา ความปลอดภั​ัย นอกจากนี้​้�แล้​้ว Gestica ยั​ังง่​่ายต่​่อการเชื่​่�อมต่​่อ ทั้​้�งฮาร์​์ดแวร์​์และซอฟท์​์แวร์​์จนเกิ​ิดเป็​็น Gestica กั​ับเครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ เชื่​่�อมต่​่อกั​ับ USB และเบราเซอร์​์ สิ่​่�งเหล่​่านี้​้�มี​ีเพี​ียง Gestica ที่​่�ผลิ​ิตโดย ARBURG เท่​่านั้​้�นที่​่�สามารถทำำ�ได้​้ อี​ีกทั้​้�งเรา บริ​ิษั​ัทได้​้ดำำ�เนิ​ินไปตามนโยบายของตั​ัวเองมานานหลายทศวรรษ ยั​ังได้​้รั​ับรางวั​ัลการออกแบบจาก Red Dot Award ในปี​ี 2561 จึ​ึงทำำ�ให้​้บริ​ิษั​ัทเป็​็นอิ​ิสระจากผู้​้�ผลิ​ิตและซั​ัพพลายเออร์​์เป็​็นส่​่วน ใหญ่​่และเหนื​ือสิ่​่�งอื่​่�นใด ARBURG คำำ�นึ​ึงถึ​ึงการผลิ​ิตที่​่�ยั่​่�งยื​ืน และ ระบบควบคุ​ุม Gestica มี​ีจอภาพในฟอร์​์แมตขนาด 16:9 คุ​ุณภาพ การจั​ัดหาอะไหล่​่ที่​่�รวดเร็​็วให้​้กั​ับลู​ูกค้​้าอย่​่างต่​่อเนื่​่�องและยาวนาน ระดั​ับ Full HD มาพร้​้อมกั​ับเทคโนโลยี​ีมั​ัลติ​ิทั​ัช หน้​้าจอกระจก ARBURG จึ​ึงได้​้นำำ�ประสบการณ์​์เหล่​่านี้​้�มาใช้​้ในการพั​ัฒนาระบบ พร้​้อมปุ่​่�มสั่​่�งการในตั​ัวที่​่�มี​ีการออกแบบค่​่าแสงในการแสดงผลเป็​็น ควบคุ​ุมการทำำ�งานเครื่​่�องฉี​ีดทั้​้�ง Gestica และ Selogica ทั้​้�งใน พิ​ิ เ ศษ และระบบควบคุ​ุ ม Gestica ยั​ั ง มี​ี EASYslider ที่​่� เ ป็​็ น ส่​่วนของฮาร์​์ดแวร์​์และซอฟท์​์แวร์​์ ทำำ�ให้​้ Gestica และ Selogica คุ​ุณสมบั​ัติ​ิพิ​ิเศษอี​ีกอย่​่างหนึ่​่�ง ที่​่�จะช่​่วยให้​้ควบคุ​ุมตั​ัวเครื่​่�องได้​้ มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิที่​่�โดดเด่​่นและไม่​่เหมื​ือนใคร อย่​่างยื​ืดหยุ่​่�นและง่​่ายต่​่อการตั้​้�งค่​่าเริ่​่�มต้​้น ซึ่​่�งจะช่​่วยให้​้ทั้​้�งผู้​้�ติ​ิดตั้​้�ง และผู้​้�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานสามารถทำำ�ให้​้เครื่​่�องพร้​้อมใช้​้งานได้​้อย่​่างรวดเร็​็ว ด้​้วยกลยุ​ุทธ์​์แพลตฟอร์​์มกลางของ Arburg ทำำ�ให้​้ข้​้อมู​ูลของระบบ และคงไม่​่ต้​้องบอกว่​่าระบบควบคุ​ุม Gestica นี้​้�พร้​้อมที่​่�จะทำำ�ให้​้ ควบคุ​ุม Gestica มี​ีการเชื่​่�อมต่​่อเข้​้าสู่​่�ส่​่วนกลาง และ update ระบบการผลิ​ิตของคุ​ุณเข้​้าสู่​่�ความเป็​็นดิ​ิจิ​ิทั​ัล ด้​้วยการที่​่� Gestica ข้​้อมู​ูลให้​้ตรงตามค่​่าที่​่�กำำ�หนดไว้​้ตลอดเวลา เหมื​ือนที่​่�เคยเกิ​ิดขึ้​้�น สามารถเชื่​่�อมต่​่อแบบ OPC UA ทำำ�ให้​้หน่​่วยการผลิ​ิตทั้​้�งหมด มาแล้​้วกั​ับการเปิ​ิดตั​ัว Selogica ในปี​ี 1992 คุ​ุณสมบั​ัติ​ิการทำำ�งาน สามารถจั​ัดการได้​้ผ่​่านระบบดิ​ิจิ​ิทั​ัลขั้​้�นสู​ูงอย่​่างง่​่ายดาย และนี้​้�คื​ือ ต่​่างๆลู​ูกค้​้าต้​้องการถู​ูกรวบรวมให้​้เป็​็นมาตรฐานอยู่​่�ใน Gestica เทคโนโลยี​ีอั​ัจฉริ​ิยะที่​่�จะทำำ�ให้​้คุ​ุณสนุ​ุกไปกั​ับมั​ัน SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Technology Showcase Gestica ที่​่�รวมเอาประสบการณ์​์การทำำ�งานของ ARBURG มาใช้​้ ในการพั​ัฒนาฮาร์​์ดแวร์​์และซอฟแวร์​์เข้​้าไว้​้ด้​้วยกั​ัน ทำำ�ให้​้เป็​็นระบบ ควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดที่​่�สามารถการั​ันตี​ีด้​้วยคุ​ุณภาพ ง่​่ายต่​่อการใช้​้งาน กั​ับเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีเทคโนโลยี​ีระดั​ับสู​ูง Gestica เป็​็นระบบควบคุ​ุมเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกที่​่� ARBURG ได้​้รวม ประสบการณ์​์ ก ารทำำ� งานมาใช้​้ในการพั​ั ฒ นาฮาร์​์ ด แวร์​์ แ ละ ซอฟแวร์​์เข้​้าไว้​้ด้​้วยกั​ัน ง่​่ายต่​่อการใช้​้งาน การั​ันตี​ีด้​้วยคุ​ุณภาพ ทำำ�ให้​้เป็​็นเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีเทคโนโลยี่​่�ขั้​้�นสู​ูง■

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

23


Technology Showcase

“Circular Economy” ก้​้าวแห่​่งความยั่​่�งยื​ืนของ “อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทย” ■สถาบั​ันพลาสติ​ิก

คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

24

การเติ​ิบโตอย่​่างรวดเร็​็วของภาคอุ​ุตสาหกรรมนั้​้�น ย่​่อมส่​่งผลกระ ทบทั้​้�งทางตรงและทางอ้​้อมต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม แม้​้ว่​่าหลายประเทศ จะได้​้มี​ีการออกกฎระเบี​ียบ มาตรการหรื​ือนโยบายที่​่�ใช้​้เป็​็นเครื่​่�อง มื​ือกำำ�กั​ับดู​ูแลและควบคุ​ุมทุ​ุกภาคส่​่วน ตั้​้�งแต่​่ภาคอุ​ุตสาหกรรม การผลิ​ิต ผู้​้�จำำ�หน่​่าย จนถึ​ึงผู้​้�บริ​ิโภคปลายทาง ซึ่​่�งมี​ีความเกี่​่�ยวข้​้อง กั​ับในการสร้​้างมลพิ​ิษสู่​่�สิ่​่�งแวดล้​้อมด้​้วยกั​ันทั้​้�งสิ้​้�นก็​็ตาม แต่​่ปั​ัญหา สิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นปั​ัญหาด้​้านมลพิ​ิษทางอากาศ มลพิ​ิ ษ ทางน้ำำ�� และดิ​ิ น ที่​่� เ กิ​ิ ด จากการปล่​่อยของเสี​ียจากภาค อุ​ุตสาหกรรม หรื​ือการบริ​ิหารจั​ัดการขยะหลั​ังจากการใช้​้งานอย่​่าง ไม่​่ถู​ูกวิ​ิธี​ี ก็​็ยั​ังคงเป็​็นปั​ัญหาที่​่�ส่​่งผลกระทบในเชิ​ิงกว้​้างมากจนถึ​ึง ปั​ัจจุ​ุบั​ัน เมื่​่�อพู​ูดถึ​ึงปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมหรื​ือปั​ัญหาขยะ ก็​็คงจะหนี​ีไม่​่พ้​้น “พลาสติ​ิก” ซึ่​่�งถู​ูกหลายคนมองเป็​็นหนึ่​่�งในสาเหตุ​ุสำำ�คั​ัญที่​่�ก่​่อให้​้ เกิ​ิดปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อม ยิ่​่�งไปกว่​่านั้​้�น ข้​้อมู​ูลจากหลายแหล่​่งได้​้เผย ให้​้เห็​็นผลกระทบที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจากขยะพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมทั้​้�ง บนบกและในน้ำำ�� หรื​ือแม้​้กระทั่​่�งการทำำ�ให้​้เกิ​ิดอั​ันตรายต่​่อสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิต SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

ที่​่�อาศั​ัยอยู่​่�ในระบบนิ​ิเวศน์​์ต่​่างๆ แท้​้จริ​ิงแล้​้วต้​้นตอของสาเหตุ​ุของ ปั​ัญหาเหล่​่านั้​้�น เป็​็นเพราะ “พลาสติ​ิก” จริ​ิงหรื​ือ? หรื​ือเป็​็นเพราะ “การบริ​ิหารจั​ัดการพลาสติ​ิกที่​่�ยั​ังไม่​่มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพมากพอ” กั​ัน แน่​่? ในช่​่วง 5 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมา “อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก” ถื​ือเป็​็นหนึ่​่�งใน หลายอุ​ุ ต สาหกรรมที่​่� มี​ี การเติ​ิ บ โตอย่​่างต่​่อเนื่​่� อ ง ด้​้วยเหตุ​ุ ที่​่� อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกเป็​็น “อุ​ุตสาหกรรมสนั​ับสนุ​ุน (Supporting Industry)” ให้​้กั​ับหลายอุ​ุตสาหกรรม ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น อุ​ุตสาหกรรม บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ อุ​ุตสาหกรรมชิ้​้�นส่​่วนอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ อุ​ุตสาหกรรมการ ผลิ​ิ ต ชิ้​้� น ส่​่วนยานยนต์​์ อุ​ุ ต สาหกรรมการผลิ​ิ ต เครื่​่� อ งมื​ือแพทย์​์ ตลอดจนอุ​ุตสาหกรรมก่​่อสร้​้าง ทำำ�ให้​้อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกมี​ีการ เติ​ิ บ โตไปตามอุ​ุ ต สาหกรรมต่​่อเนื่​่� อ งเหล่​่านั้​้� น และเพื่​่� อ ให้​้ อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกเติ​ิบโตอย่​่างยั่​่�งยื​ืน หลายภาคส่​่วนพยายาม ที่​่�จะแสวงหาแนวทางในการบริ​ิหารจั​ัดการอย่​่างเป็​็นระบบตั้​้�งแต่​่ กระบวนการผลิ​ิต การบริ​ิโภค และการจั​ัดการหลั​ังการใช้​้งานอย่​่าง ถู​ูกวิ​ิธี​ี เพื่​่�อลดการเกิ​ิดขยะที่​่�จะส่​่งผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม โดย หนึ่​่�งในแนวคิ​ิดที่​่�สำำ�คั​ัญ คื​ือ แนวทางเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : ระบบเศรษฐกิ​ิ จ แบบหมุ​ุ น เวี​ี ย น หรื​ื อ Circular Economy

“เศรษฐกิ​ิ จ หมุ​ุ น เวี​ี ย น” กั​ั บ แนวทางสร้​้าง ความยั่​่�งยื​ืน

ก่​่อนที่​่�จะเป็​็น “เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน” ระบบเศรษฐกิ​ิจรู​ูปแบบเดิ​ิม เป็​็นแบบ “เส้​้นตรง (linear Economy)” หรื​ือ "Take-MakeDispose" ซึ่​่�งเป็​็นระบบที่​่�ไม่​่เกิ​ิดการหมุ​ุนเวี​ียน โดยเริ่​่�มตั้​้�งแต่​่การ ใช้​้ทรั​ัพยากรที่​่�มี​ีมาผลิ​ิตเป็​็นผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ และท้​้ายที่​่�สุ​ุดผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ เหล่​่านั้​้�นเมื่​่อ� ผ่​่านการใช้​้งานแล้​้วก็​็จะกลายเป็​็นขยะที่​่ไ� ม่​่ได้​้มี​ีการนำำ� กลั​ับไปใช้​้ใหม่​่หรื​ือหมุ​ุนวนกลั​ับสู่​่�การผลิ​ิตอี​ีก รู​ูปแบบของระบบ การบริ​ิหารจั​ัดการแบบนี้​้�จะเป็​็นการสร้​้างปริ​ิมาณขยะเพิ่​่�มขึ้​้�นและ ท้​้ายสุ​ุดก็​็จะเป็​็นเหตุ​ุให้​้เกิ​ิดปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมตามมา

สำำ�หรั​ั บ ประเทศไทยที่​่� ผ่​่ านมา ก็​็ มี​ี การดำำ� เนิ​ิ น นโยบายด้​้าน “เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน” มาอย่​่างต่​่อเนื่​่�องในรู​ูปแบบต่​่าง ๆ โดย เริ่​่�มต้​้นจากการสร้​้างความเข้​้าใจที่​่�ถู​ูกต้​้องในการผลิ​ิต การเลื​ือกใช้​้ วั​ัตถุ​ุดิ​ิบในการผลิ​ิต ตลอดจนในกลุ่​่�มผู้​้�บริ​ิโภค เช่​่น ก็​็ได้​้มี​ีการ รณรงค์​์ให้​้ความรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับการคั​ัดแยกขยะอย่​่างถู​ูกต้​้อง การส่​่ง เสริ​ิมผ่​่านนโยบายสำำ�คั​ัญ อาทิ​ิ นโยบาย “3R” หรื​ือ “5R” เพื่​่�อ สร้​้างจิ​ิตสำำ�นึ​ึกในการนำำ�ทรั​ัพยากรที่​่�สามารถนำำ�กลั​ับมารี​ีไซเคิ​ิล หรื​ือนำำ� กลั​ั บ มาใช้​้ใหม่​่ รวมถึ​ึงการยกระดั​ั บ การจั​ั ด การขยะใน ประเทศ

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

ขณะที่​่�เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียนจะเน้​้นการรั​ักษาคุ​ุณค่​่าของทรั​ัพยากร ผ่​่านวงจรที่​่�เรี​ียกว่​่า “Make–Use–Return” ซึ่​่�งเอื้​้�อให้​้เกิ​ิดการใช้​้ ทรั​ัพยากรให้​้มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงสุ​ุดและนำำ�สิ​ินค้​้าที่​่�ใช้​้แล้​้วกลั​ับเข้​้า มาสู่​่�กระบวนการผลิ​ิตอี​ีกครั้​้�ง โดยแนวคิ​ิดนี้​้�สามารถแก้​้ปั​ัญหาที่​่� เกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับทรั​ัพยากรของโลกในปั​ัจจุ​ุบั​ันได้​้อย่​่างมี​ีคุ​ุณภาพ เพราะ เป็​็นการรั​ักษาคุ​ุณค่​่าของทรั​ัพยากรไว้​้ให้​้มากที่​่�สุ​ุด ด้​้วยโครงสร้​้าง และแนวคิ​ิดที่​่�เอื้​้�อให้​้เกิ​ิดการใช้​้ทรั​ัพยากรอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ เพื่​่�อสร้​้างความยั่​่�งยื​ืนให้​้กั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม สั​ังคม และชุ​ุมชน โดยหั​ัวใจสำำ�คั​ัญของ “เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน” คื​ือ การเน้​้นคุ​ุณค่​่า

ของวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ทรั​ัพยากร และผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ต้​้องรั​ักษาให้​้คงไว้​้ให้​้นาน ที่​่�สุ​ุดและมี​ีการสร้​้างของเสี​ียที่​่�ต่ำำ��ที่​่�สุ​ุด ขณะเดี​ียวกั​ัน ภาคธุ​ุรกิ​ิจใน ประเทศที่​่� พั​ั ฒ นาแล้​้วก็​็ เริ่​่� ม หั​ั น มาใช้​้นโยบายดั​ั ง กล่​่าวด้​้วยการ เปลี่​่�ยนวงจรของธุ​ุรกิ​ิจให้​้เกิ​ิดการหมุ​ุนเวี​ียนด้​้วยตั​ัวเองให้​้ได้​้มาก ที่​่สุ� ดุ ดั​ังนั้​้�นเศรษฐกิ​ิจหมุนุ เวี​ียนจึ​ึงมี​ีหลั​ักการสำำ�คัญ ั อยู่​่� 2 ข้​้อ ได้​้แก่​่ การรั​ักษาและใช้​้ทรั​ัพยากรให้​้เกิ​ิดประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุดและลดผลกระ ทบด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมให้​้มากที่​่�สุ​ุด

25


Technology Showcase ทางอ้​้อม ต้​้องหั​ันกลั​ับมาถามตั​ัวเองว่​่า “ถึ​ึงเวลาแล้​้วหรื​ือยั​ังที่​่�จะ ร่​่วมมื​ือกั​ันสร้​้างแนวทางการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกอย่​่างจริ​ิงจั​ังและ เป็​็นระบบ?” และเราจะมี​ีส่​่วนช่​่วยในการลดผลกระทบหรื​ือกำำ�จั​ัด ต้​้นตอของปั​ัญหาดั​ังกล่​่าวได้​้อย่​่างไรบ้​้าง ตามแนวคิ​ิด “เศรษฐกิ​ิจ หมุ​ุนเวี​ียน” ?

SMART Molding Magazine

26

หากเราพิ​ิจารณา “พลาสติ​ิก” ที่​่�ใช้​้ในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ันของเราโดย ส่​่วนใหญ่​่นั้​้� น จะเป็​็ น พลาสติ​ิ ก ประเภท “เทอร์​์ โ มพลาสติ​ิ ก (Thermoplastics)” ซึ่​่�งพลาสติ​ิกประเภทนี้​้�เมื่​่�อผ่​่านการใช้​้งาน แล้​้วสามารถนำำ�ไปให้​้ความร้​้อนและสามารถนำำ�กลั​ับไปผสมกั​ับเม็​็ด รู​ูปที่​่� 2 : ลั​ั ก ษณะระบบเศรษฐกิ​ิ จรู​ู ปแบบเส้​้นตรง (linear พลาสติ​ิกใหม่​่ (Virgin Resin) เพื่​่�อใช้​้ขึ้​้�นรู​ูปเป็​็นผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิก Economy) หรื​ื อ Take-Make-Dispose อี​ีกครั้​้�งได้​้ กล่​่าวคื​ือ สามารถที่​่�จะเข้​้าสู่​่�กระบวนการรี​ีไซเคิ​ิลได้​้ แต่​่ ถึ​ึงเวลา “อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทย” ก้​้าว พลาสติ​ิกเหล่​่านั้​้�นเมื่​่�อผ่​่านการใช้​้งานแล้​้วไม่​่ได้​้มี​ีการคั​ัดแยก ประเภทขยะอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ีหรื​ือเหมาะสม ทำำ�ให้​้กลายเป็​็นขยะที่​่�ปน เข้​้าสู่​่� “Circular Economy” ในปี​ี 2020 ประเทศไทยมี​ีการผลิ​ิตและแปรรู​ูปผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิก เปื้​้�อนไม่​่สามารถเข้​้าสู่​่�กระบวนการรี​ีไซเคิ​ิลได้​้ ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้�การขั​ับ ประมาณ 5.68 ล้​้านต้​้น หรื​ือคิ​ิดเป็​็นมู​ูลค่​่ากว่​่า 846,991 ล้​้านบาท เคลื่​่�อน “เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน” เพื่​่�อแก้​้ปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�เกิ​ิด พลาสติ​ิกดั​ังกล่​่าวได้​้มี​ีการนำำ�ไปใช้​้งานในหลายรู​ูปแบบพลาสติ​ิก ขึ้​้�นอยู่​่�ในปั​ัจจุ​ุบั​ันจะต้​้องเริ่​่�มจากการให้​้ความรู้​้�ในการคั​ัดแยกขยะ โดยเฉพาะในกลุ่​่� ม ของบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ สำำ�หรั​ั บ อาหารประเภท และวางมาตรการที่​่�เข้​้มงวดในการคั​ัดแยกขยะตามบ้​้านเรื​ือนอย่​่าง “Single-Use Plastics” โดยทั่​่�วไปแล้​้ว ตั​ัวเลขการเติ​ิบโตของ จริ​ิงจั​ัง และหากพู​ูดถึ​ึงแนวทางการจั​ัดการตามรู​ูปแบบ “เศรษฐกิ​ิจ ตลาดบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ พ ลาสติ​ิ ก ทั้​้� ง ที่​่� เ ป็​็ น บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ แ บบอ่​่อนตั​ั ว หมุ​ุนเวี​ียน” สามารถจำำ�แนกได้​้เป็​็น 2 ประเภท คื​ือ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่� (Flexible Plastics Packaging) และแบบคงรู​ูป (Rigid Plastics ผลิ​ิ ต จากชี​ีวมวล (Biomass) สามารถเกิ​ิ ด การย่​่อยสลายทาง Packaging) ซึ่​่�งข้​้อมู​ูลจากกรมควบคุ​ุมมลพิ​ิษ ได้​้มี​ีการรายงาน ชี​ีวภาพได้​้ (Biodegradable) และผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ไม่​่ได้​้ผลิ​ิตจากชี​ีว ตั​ัวเลขปริ​ิมาณขยะพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีอยู่​่�ในประเทศ พบว่​่า ประเทศไทย มวลหรื​ือไม่​่สามารถเกิ​ิดการย่​่อยสลายทางชี​ีวภาพได้​้ ซึ่​่�งทั้​้�ง 2 ของเรามี​ีการสร้​้างขยะพลาสติ​ิกขึ้​้�นปริ​ิมาณมากถึ​ึง 2 ล้​้านตั​ัน ประเภท มี​ีรู​ูปแบบของการหมุ​ุนวนในวั​ัฏจั​ักรที่​่�แตกต่​่างกั​ันออก ต่​่อปี​ี ซึ่​่�งขยะพลาสติ​ิกเพี​ียง 20% หรื​ือประมาณ 5 แสนตั​ันเท่​่านั้​้�น ไป ดั​ังนี้​้� ที่​่�ถู​ูกนำำ�กลั​ับมาใช้​้ในกระบวนการรี​ีไซเคิ​ิล ขณะที่​่�อี​ีก 1.5 ล้​้านตั​ัน • ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่� เ กิ​ิ ด จากชี​ีวมวล ที่​่� ส ามารถย่​่อยสลายได้​้ด้​้วย กลายเป็​็ น ขยะที่​่� ป ะปนอยู่​่� ใ นสิ่​่� ง แวดล้​้อม ไม่​่ได้​้ถู​ูกนำำ� กลั​ั บ มา จุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์ในสภาวะที่​่�เหมาะสม พลาสติ​ิกกลุ่​่�มนี้​้�เมื่​่�อผ่​่านการใช้​้ จั​ัดการอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ีจนกลายเป็​็นปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมสะสมที่​่�ทราบ งานแล้​้วจะถู​ูกคั​ั ด แยก และเข้​้าสู่​่� วั​ั ฏจั​ั ก รของ “Circular กั​ันดี​ี Economy” ได้​้ ผ่​่านการย่​่อยสลายด้​้วยจุ​ุลินิ ทรี​ีย์​์ภายใต้​้สภาวะ ที่​่�เหมาะสม กลั​ับมาเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบในการเจริ​ิญเติ​ิบโตของพื​ืชซึ่​่�ง ด้​้วยทิ​ิ ศท างการเติ​ิ บ โตของอุ​ุ ต สาหกรรมพลาสติ​ิ ก และการใช้​้ จะเป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบตั้​้�งต้​้นในการผลิ​ิตต่​่อไป บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น ตลอดจนอุ​ุตสาหกรรมต่​่อเนื่​่�องที่​่�มี​ี • ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ไม่​่ได้​้ผลิ​ิตจากชี​ีวมวลหรื​ือไม่​่สามารถเกิ​ิดการย่​่อย การใช้​้งานผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ พ ลาสติ​ิ ก มี​ีแนวโน้​้มเติ​ิ บ โตสู​ูงขึ้​้� น เรื่​่� อ ย ๆ สลายทางชี​ีวภาพได้​้ เช่​่น กลุ่​่�มของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกที่​่�ผลิ​ิต ทำำ�ให้​้เราในฐานะที่​่�เป็​็นผู้​้�ที่​่�มี​ีส่​่วนเกี่​่�ยวข้​้องไม่​่ว่​่าจะทั้​้�งทางตรงหรื​ือ โดยใช้​้เม็​็ดพลาสติ​ิกจากปิ​ิโตรเลี​ียมต่​่าง ๆ เมื่​่�อผ่​่านการใช้​้งาน SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Technology Showcase ก็​็จะมี​ีการคั​ัดแยกด้​้วยวิ​ิธี​ีการที่​่�ถู​ูกต้​้อง จากนั้​้�นก็​็จะมี​ีการนำำ� กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ในหลายรู​ูปแบบ อาทิ​ิ การนำำ�กลั​ับมาใช้​้ซ้ำำ�� ตาม รู​ูปแบบในการใช้​้งานเดิ​ิ ม หรื​ือการนำำ� กลั​ั บ มาใช้​้ใหม่​่ด้​้วยวิ​ิ ธี​ี รี​ีไซเคิ​ิล ขณะที่​่�ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ทั้​้�ง 2 ประเภท ที่​่�ผ่​่านการคั​ัดแยกและไม่​่ได้​้เข้​้าสู่​่� กระบวนการนำำ�กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ตามรู​ูปแบบที่​่�ได้​้กล่​่าวมา ก็​็จะถู​ูก นำำ�ไปใช้​้เป็​็นสารตั้​้�งต้​้นในการผลิ​ิตพลั​ังงานเพื่​่�อใช้​้ในกระบวนการ ผลิ​ิ ต ใหม่​่ จะเห็​็ น ได้​้ว่​่าแนวทางดั​ั ง กล่​่าวได้​้พยายามที่​่� จ ะใช้​้ ประโยชน์​์จากวั​ัสดุ​ุเหลื​ือใช้​้ให้​้ได้​้มากที่​่�สุ​ุด เพื่​่�อให้​้เหลื​ือปริ​ิมาณ ขยะที่​่�จะถู​ูกทิ้​้�งสู่​่�สิ่​่�งแวดล้​้อมน้​้อยที่​่�สุ​ุดเท่​่าที่​่�จะทำำ�ได้​้

SMART Molding Magazine

จากที่​่�ได้​้กล่​่าวมา จะเห็​็นได้​้ว่​่า “Key-Success” ของการบริ​ิหาร จั​ัดการตามแนวคิ​ิด Circular Economy คื​ือ วั​ัสดุ​ุที่​่�ใช้​้ในการผลิ​ิต ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ และการคั​ัดแยกขยะหรื​ือวั​ัสดุ​ุที่​่�ผ่​่านการใช้​้งานมาแล้​้ว ที่​่ส� ามารถนำำ�กลั​ับมารี​ีไซเคิ​ิลใหม่​่ได้​้ ขณะที่​่วั� ตั ถุ​ุดิบิ ที่​่ใ� ช้​้ในการผลิ​ิต ก็​็ควรให้​้ความสนใจเลื​ือกใช้​้วั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�สามารถนำำ�กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ได้​้ หรื​ือเข้​้าสู่​่�การหมุ​ุนวนในวั​ัฏจั​ักรได้​้ เช่​่น การใช้​้พลาสติ​ิกที่​่�สามารถ นำำ�กลั​ับมารี​ีไซเคิ​ิลใหม่​่ได้​้ การแสวงหาแนวทางในการนำำ�กลั​ับมา ใช้​้ใหม่​่ในรู​ูปแบบต่​่าง ๆ โดยในส่​่วนนี้​้�อาจจะต้​้องเริ่​่�มต้​้นที่​่�การ ออกแบบและพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ที่​่�สามารถใช้​้งานได้​้หลากหลาย รู​ูปแบบ (Multifunction) หรื​ือ การออกแบบให้​้เป็​็นมิ​ิตรต่​่อ สิ่​่�งแวดล้​้อม (Eco-design) มากที่​่�สุ​ุด สำำ�หรั​ับท่​่านที่​่�มี​ีความสนใจ เกี่​่�ยวกั​ับแนวทางการพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ด้​้วยแนวคิ​ิด Eco-design และความรู้​้� เ กี่​่� ย วกั​ั บ พลาสติ​ิ ก รี​ีไซเคิ​ิ ล สามารถติ​ิ ด ตามได้​้ใน บทความต่​่อไปในนิ​ิตยสารฉบั​ับนี้​้�นะครั​ับ ต้​้องยอมรั​ับว่​่า “พลาสติ​ิก” ก็​็ยั​ังมี​ีความจำำ�เป็​็นในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ันของ เรา โดยเราในฐานะที่​่�เป็​็นผู้​้�ที่​่�มี​ีส่​่วนเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมก็​็ ต้​้องช่​่วยกั​ันคิ​ิดว่​่า “จะทำำ�อย่​่างไรให้​้สามารถนำำ�พลาสติ​ิกกลั​ับมาใช้​้ ให้​้ ไ ด้​้มากที่​่� สุ​ุ ด ?” เพื่​่� อ ช่​่วยลดปริ​ิ ม าณขยะพลาสติ​ิ ก ที่​่� ถู​ู กทิ้​้� ง สู่​่� สิ่​่� ง แวดล้​้อมอย่​่างไร้​้คุ​ุณค่​่า ซึ่​่�งเราสามารถนำำ�ขยะเหล่​่านั้​้�นกลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ ได้​้ ไม่​่เพี​ียงแต่​่จะช่​่วยลดปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อมเท่​่านั้​้�น แต่​่ยั​ังช่​่วยสร้​้าง มู​ูลค่​่าเพิ่​่�มทั้​้�งทางตรงและทางอ้​้อมให้​้กั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของเราได้​้ด้​้วย■ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

27


Technology Showcase

รู้​้�จั​ัก “การรี​ีไซเคิ​ิล” กั​ับประโยชน์​์ที่​่�มากกว่​่าคำำ�ว่​่า “ยั่​่�งยื​ืน”

■สถาบั​ันพลาสติ​ิก

คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

28

ปั​ัจจุ​ุบั​ันปริ​ิมาณขยะในประเทศไทยเริ่​่�มมี​ีจำำ�นวนมากขึ้​้�น และที่​่� เป็​็นผลกระทบมากที่​่�สุ​ุดคื​ือขยะพลาสติ​ิก ซึ่​่�งไม่​่สามารถย่​่อยสลาย ตามธรรมชาติ​ิได้​้ ถึ​ึงแม้​้จะมี​ีการคิ​ิดค้​้นเทคโนโลยี​ีใหม่​่ ๆ อย่​่าง พลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพที่​่� ย่​่ อยสลายได้​้ แต่​่ยั​ั ง ต้​้องใช้​้เวลาที่​่� พ ลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพจะเข้​้ามาทดแทนการผลิ​ิ ต แทนผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ เ ดิ​ิ ม จึ​ึงเกิ​ิ ด ปั​ัญหาขยะพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีจำำ�นวนมาก การจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกจึ​ึง เริ่​่�มเข้​้ามามี​ีบทบาทมากขึ้​้�น ทั้​้�งนี้​้�ในการจั​ัดการขยะนั้​้�นจะต้​้องใช้​้ เทคโนโลยี​ีมาช่​่วยเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพในการจั​ัดการให้​้รวดเร็​็วมากขึ้​้�น ซึ่​่� ง บทความนี้​้� จ ะขอกล่​่าวถึ​ึงเทคโนโลยี​ีและกระบวนการการ รี​ีไซเคิ​ิล รวมถึ​ึงประโยชน์​์ของการรี​ีไซเคิ​ิลพลาสติ​ิกในมุ​ุมที่​่�คุ​ุณอาจ ไม่​่รู้​้�มาก่​่อน

“เทคโนโลยี​ีการรี​ีไซเคิ​ิล” รู้​้�ไว้​้...ไม่​่ตกเทรนด์​์!

สำำ�หรั​ับการรี​ีไซเคิ​ิลพลาสติ​ิกนั้​้�น ในปั​ัจจุ​ุบั​ันเทคโนโลยี​ีสำำ�คั​ัญใน การนำำ�ขยะพลาสติ​ิกมารี​ีไซเคิ​ิล คื​ือ เทคโนโลยี​ีการหลอมเม็​็ด พลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล เพื่​่อ� นำำ�ไปผลิ​ิตเป็​็นผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์โดยการรี​ีไซเคิ​ิลด้​้วย การหลอมเม็​็ ด พลาสติ​ิ ก รี​ีไซเคิ​ิ ล เป็​็ น วิ​ิ ธี​ี การที่​่� นิ​ิ ย มทำำ�กั​ั น เป็​็ น SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

จำำ� นวนมาก เนื่​่� อ งด้​้วยเทคโนโลยี​ีที่​่� ใช้​้ในการทำำ� เม็​็ ด พลาสติ​ิ ก รี​ีไซเคิ​ิ ลนั้​้� น สามารถเข้​้าถึ​ึงได้​้ง่​่ายขึ้​้� น ในปั​ั จจุ​ุ บั​ั น ซึ่​่� ง ในการใช้​้ เทคโนโลยี​ีในการหลอมเม็​็ ด พลาสติ​ิ ก รี​ีไซเคิ​ิ ลนั้​้� น มี​ีขั้​้� น ตอน ประกอบด้​้วย • การคั​ัดแยกขยะพลาสติ​ิก ซึ่​่�งจะเริ่​่�มจากการคั​ัดแยกประเภท ของขยะพลาสติ​ิกให้​้เป็​็นประเภทเดี​ียวกั​ัน เพื่​่�อไม่​่ให้​้เกิ​ิดการ เจื​ือปนหรื​ือปนเปื้​้�อนกั​ับพลาสติ​ิกชนิ​ิดอื่​่�น ซึ่​่�งจะทำำ�ให้​้พลาสติ​ิก ที่​่�รี​ีไซเคิ​ิลมี​ีคุ​ุณภาพที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุด ในขั้​้�นตอนนี้​้� จะต้​้องอาศั​ัยแรงงาน ในการช่​่วยกั​ันคั​ัดแยกออกมา อย่​่างเช่​่นขยะประเภทขวดน้ำำ�� จะต้​้องมี​ีการแยกฝาและฉลากออกจากตั​ัวขวด เพราะทั้​้�ง 3 ชิ้​้�น นี้​้�เป็​็นพลาสติ​ิกที่​่�ผลิ​ิตมาต่​่างชนิ​ิดกั​ัน ฝาขวดน้ำำ�� ทำำ�จาก HDPE ฉลากทำำ�จาก PVC และขวดน้ำำ��ทำำ�จาก PET โดยทั้​้�ง 3 ประเภท นั้​้�นไม่​่สามารถนำำ�มาผสมรวมกั​ันได้​้ เพราะจะทำำ�ให้​้เม็​็ดรี​ีไซเคิ​ิล ที่​่�ผลิ​ิตออกมาไม่​่เป็​็นเนื้​้�อเดี​ียวกั​ันและมี​ีสมบั​ัติ​ิที่​่�แย่​่ลง จึ​ึงต้​้อง แยกประเภทเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงที่​่�สุ​ุด • การตั​ัดและบดเศษขยะพลาสติ​ิก โดยปั​ัจจุ​ุบั​ันได้​้มี​ีการพั​ัฒนา เทคโนโลยี​ีการตั​ัดและบดเศษขยะพลาสติ​ิกให้​้มี​ีความรวดเร็​็ว มากขึ้​้�น ซึ่​่�งเทคโนโลยี​ีที่​่�มี​ีการพั​ัฒนาเพิ่​่�มขึ้​้�นมาจะเป็​็นการบด


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : Plastic Recycling Symbols

รวมเข้​้าด้​้วยกั​ันโดยอาศั​ัยความร้​้อนที่​่�อุ​ุณหภู​ูมิ​ิ (160-220oC) หรื​ือตามจุ​ุดหลอมเหลวของพลาสติ​ิกแต่​่ละชนิ​ิดและสกรู​ูจะ ช่​่วยในการผสม ซึ่​่�งจะได้​้ออกมาเป็​็นเส้​้นพลาสติ​ิกที่​่�นำำ�มาตั​ัด กลายเป็​็นเม็​็ดพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล โดยเครื่​่�องหลอมที่​่�นิ​ิยมใช้​้โดย ทั่​่�วไปมี​ี 2 ประเภท คื​ือ เครื่​่�องหลอมอั​ัดรี​ีดแบบสกรู​ูเดี่​่�ยวและ เครื่​่�องหลอมอั​ัดรี​ีดแบบสกรู​ูคู่​่� (สำำ�หรั​ับการพั​ัฒนาสู​ูตรใหม่​่ด้​้วย การผสมกั​ับพลาสติ​ิกชนิ​ิดอื่​่�นหรื​ือสารเติ​ิมแต่​่งตั​ัวอื่​่�น เพื่​่�อทำำ�ให้​้ สมบั​ัติ​ิของพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิลดี​ีขึ้​้�น) สำำ�หรั​ับการหลอมเม็​็ดพลาสติ​ิกนั้​้�นมี​ีหลายขั้​้�นตอน และแต่​่ละขั้​้�น ตอนจะต้​้องอาศั​ัยแรงงานหรื​ือเครื่​่�องจั​ักรมาใช้​้ในการดำำ�เนิ​ินการ จำำ� นวนมาก ดั​ั ง นั้​้� น จึ​ึงได้​้มี​ีการคิ​ิ ด ค้​้นเทคโนโลยี​ีในการจั​ั ด การ หลอมเม็​็ดพลาสติ​ิกให้​้กลายเป็​็นขั้​้�นตอนเดี​ียวสำำ�หรั​ับการทำำ�เม็​็ด รี​ีไซเคิ​ิลพลาสติ​ิก โดยปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีการพั​ัฒนาเครื่​่�องจั​ักรให้​้มี​ีการรวม ทุ​ุกขั้​้�นตอนมาอยู่​่�ในเครื่​่�องเดี​ียวกั​ัน เรี​ียกว่​่า Single stage โดยจะ มี​ีการนำำ�เครื่​่�องล้​้าง เครื่​่�องตั​ัด เครื่​่�องหลอมมาไว้​้ในสายการผลิ​ิต เดี​ียวกั​ัน ซึ่​่�งจะสามารถลดต้​้นทุ​ุนด้​้านพลั​ังงานและแรงงานในสาย การผลิ​ิตไปได้​้อย่​่างมาก

ประโยชน์​์ของ “การรี​ีไซเคิ​ิล” ที่​่�ให้​้มากกว่​่า “ความยั่​่�งยื​ืน”

SMART Molding Magazine

ชิ้​้�นงานขนาดใหญ่​่และแข็​็งแรงได้​้ หรื​ือการตั​ัดเศษขยะประเภท ฟิ​ิล์​์มหรื​ือถุ​ุง ให้​้สามารถออกมาเป็​็นเศษพลาสติ​ิกขนาดเล็​็ก สำำ�หรั​ับเทคโนโลยี​ีการบดในปั​ัจจุ​ุบั​ันได้​้มี​ีการพั​ัฒนาให้​้เหมาะ สมกั​ับการบดขยะประเภทต่​่าง ๆ ซึ่​่�งเครื่​่�องบดขยะแบ่​่งได้​้ เป็​็น 3 รู​ูปแบบ คื​ือ เครื่​่�องบดเศษพลาสติ​ิกขนาดใหญ่​่ เครื่​่�อง บดเศษฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิก และเครื่​่�องบดขวดพลาสติ​ิก ซึ่​่�งแต่​่ละ ประเภทจะมี​ีความแตกต่​่างกั​ันที่​่�การออกแบบใบมี​ีดให้​้เหมาะ กั​ั บ ประเภทขยะที่​่� ต่​่ างกั​ั น เมื่​่� อ บดเสร็​็ จ แล้​้วจะได้​้เป็​็ น เศษ พลาสติ​ิกเล็​็ก ๆ ควรที่​่�จะมี​ีการแยกประเภทและแยกสี​ีเพื่​่�อไม่​่ ให้​้เกิ​ิดการปนเปื้​้�อนและทำำ�ให้​้พลาสติ​ิกที่​่�จะนำำ�ไปรี​ีไซเคิ​ิลนั้​้�นมี​ี คุ​ุณภาพมาก • การล้​้างทำำ�ความสะอาด โดยการแช่​่ลงในบ่​่อน้ำำ��และตั​ักเอาเศษ ขยะที่​่�ผ่​่านการล้​้างออกมาตากให้​้แห้​้งเพื่​่�อนำำ�ไปหลอมเม็​็ดต่​่อ • แต่​่ในปั​ัจจุ​ุบั​ันได้​้มี​ีการใช้​้เทคโนโลยี​ีเข้​้ามาช่​่วยในการล้​้างขยะ พลาสติ​ิ ก แล้​้ว แต่​่แน่​่นอนว่​่าการล้​้างขยะพลาสติ​ิ ก นั้​้� น ไม่​่ สามารถจะล้​้างได้​้สะอาดทุ​ุกประเภท ซึ่​่�งในปั​ัจจุ​ุบั​ันได้​้มี​ีการ ออกแบบเครื่​่� อ งล้​้างให้​้ ส ามารถจำำ� แนกประเภทของเศษ พลาสติ​ิกได้​้ด้​้วยในตั​ัว นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีการพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีการ ล้​้างที่​่� ช่​่ว ยประหยั​ั ด เวลาและลดต้​้นทุ​ุ น โดยเพิ่​่� ม เติ​ิ ม กระบวนการการเป่​่าแห้​้ง ซึ่​่�งจะช่​่วยเพิ่​่�มขี​ีดความสามารถใน การป้​้อนเศษพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิลไปยั​ังการหลอมเม็​็ดพลาสติ​ิก • การหลอมเหลวเม็​็ดพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล เป็​็นวิ​ิธี​ีการที่​่�ต้​้องใช้​้เครื่​่�อง อั​ัดรี​ีด (Extruder) มาทำำ�การหลอมเหลวเศษขยะพลาสติ​ิกให้​้

รู​ูปที่​่� 2 : การคั​ัดแยกขยะพลาสติ​ิกประเภทขวดน้ำำ��

การรี​ีไซเคิ​ิลมี​ีประโยชน์​์ในหลายด้​้านโดยเฉพาะการจั​ัดการปั​ัญหา สิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�ทั่​่�วโลกกำำ�ลั​ังเผชิ​ิญอยู่​่�ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน การลดปริ​ิมาณขยะ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

29


Technology Showcase

SMART Molding Magazine

30

รู​ูปที่​่� 3 : เครื่​่�องล้​้างพลาสติ​ิก

รู​ูปที่​่� 4 : เครื่​่�องหลอมอั​ัดรี​ีดแบบสกรู​ูเดี่​่�ยวและเครื่​่�องหลอมอั​ัด รี​ีดแบบสกรู​ูคู่​่�

ซึ่​่�งแน่​่นอนว่​่าการรี​ีไซเคิ​ิลส่​่งผลดี​ีต่​่อการแก้​้ไขปั​ัญหาขยะล้​้นโลก โดยทำำ�ให้​้เกิ​ิดการหมุ​ุนเวี​ียนขยะที่​่�สามารถนำำ�มารี​ีไซเคิ​ิลได้​้ ลด ปริ​ิมาณการทิ้​้�งขยะได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี ช่​่วยลดค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องจาก การกำำ�จั​ัดขยะ เช่​่น ค่​่าบริ​ิหารจั​ัดการการเก็​็บขยะ ลดค่​่าใช้​้จ่​่าย ด้​้านเตาเผากำำ�จั​ัดขยะ ลดการค่​่าใช้​้จั​ัดหาพื้​้�นที่​่�ฝั​ังกลบขยะ ลดการ ใช้​้พลั​ั ง งานในการผลิ​ิ ต วั​ั ส ดุ​ุ ใ หม่​่ขึ้​้� น มา โดยการใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ รี​ี ไซเคิ​ิ ล ทดแทนการผลิ​ิตวั​ัสดุ​ุใหม่​่ขึ้​้�นมามี​ีต้​้นทุ​ุนด้​้านพลั​ังงานที่​่�ต่ำำ��กว่​่า ลด พื้​้�นที่​่�ที่​่�ใช้​้สำำ�หรั​ับการกลบฝั​ังขยะ ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันต้​้นทุ​ุนด้​้านพื้​้�นที่​่�ที่​่�ใช้​้ จั​ั ด หาเพื่​่� อ ฝั​ั ง กลบขยะนั้​้� น สู​ูงขึ้​้� น หรื​ือการฝั​ั ง กลบนั้​้� น ไม่​่ได้​้ มาตรฐานส่​่งผลต่​่อสุ​ุขอนามั​ัยของผู้​้�คนข้​้างเคี​ียง หรื​ือเกิ​ิดปั​ัญหา การลั​ักลอบนำำ�ขยะเข้​้ามาทิ้​้�งในพื้​้�นที่​่�รกร้​้าง เนื่​่�องจากมี​ีการจั​ัดการ พื้​้�นที่​่� หรื​ื อรองรั​ับขยะที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจากสถานที่​่�หรื​ื อโรงงานไม่​่ดี​ีพอ ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการลั​ักลอบนำำ�ขยะไปทิ้​้�งที่​่�พื้​้�นที่​่�อื่​่�น โดยการรี​ีไซเคิ​ิลยั​ัง ช่​่วยให้​้เราสามารถลดผลเสี​ียต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมจากปริ​ิมาณขยะที่​่�มาก เกิ​ินไป แน่​่นอนว่​่าเมื่​่�อปริ​ิมาณขยะลดลง โอกาสของการเกิ​ิดผล เสี​ียต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมย่​่อมต้​้องลดลงตามไปด้​้วย ส่​่วนในมุ​ุมมองด้​้าน เศรษฐกิ​ิจและสั​ังคม การรี​ีไซเคิ​ิลช่​่วยให้​้เกิ​ิดการสร้​้างงานสร้​้าง รายได้​้ แน่​่นอนว่​่าเกิ​ิดอาชี​ีพซาเล้​้งและร้​้านรั​ับซื้​้�อของเก่​่า รวมถึ​ึง การสร้​้างโรงงานรี​ีไซเคิ​ิลแล้​้วย่​่อมต้​้องมี​ีการจ้​้างพนั​ักงานเพื่​่�อมา ทำำ�งานภายในโรงงาน

ปล่​่อยของเสี​ียมากขึ้​้�น ตลอดจนการบริ​ิหารจั​ัดการขยะพลาสติ​ิก ผ่​่านโครงการสำำ�คั​ัญต่​่าง ๆ ซึ่​่�งจะได้​้กล่​่าวถึ​ึงในบทความถั​ัดไป

ปั​ั จจุ​ุ บั​ั น ภาครั​ั ฐและเอกชนต่​่างให้​้ ความสำำ�คั​ั ญ ในเรื่​่� องของการ พั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกเพื่​่�อสิ่​่�งแวดล้​้อม ด้​้วยแนวคิ​ิด Ecodesign ซึ่​่�งครอบคลุ​ุมถึ​ึงการใช้​้พลาสติ​ิกหรื​ือวั​ัสดุ​ุรี​ี ไซเคิ​ิ ลเป็​็น วั​ัตถุ​ุดิ​ิบ การปรั​ับปรุ​ุงและพั​ัฒนากระบวนการผลิ​ิตเพื่​่�อลการลด SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

ท้​้ายสุ​ุดแล้​้ว “การรี​ีไซเคิ​ิล” นั้​้�นไม่​่ใช่​่ “ยาวิ​ิเศษ” ที่​่�จะแก้​้ไขปั​ัญหา สิ่​่�งแวดล้​้อมแค่​่เป็​็นวิ​ิธี​ีหนึ่​่�งในหลายวิ​ิธี​ีที่​่�จะจั​ัดการปั​ัญหาขยะ ซึ่​่�ง แก้​้ไขปั​ัญหาขยะด้​้วยวิ​ิธี​ีการรี​ีไซเคิ​ิลควบคู่​่�กั​ันไปนั้​้�นเป็​็นเรื่​่�องที่​่�ดี​ี แต่​่ควรบริ​ิหารจั​ัดการตั้​้�งแต่​่ภาคครั​ัวเรื​ือน ด้​้วยการปลู​ูกฝั​ังและ มอบทั​ัศนคติ​ิที่​่�ดี​ีต่​่อการรี​ีไซเคิ​ิลตั้​้�งแต่​่เด็​็กสอนให้​้รู้​้�ถึ​ึงประโยชน์​์ และวิ​ิธี​ีการคั​ัดแยกขยะ ทำำ�ให้​้ภาคครั​ัวเรื​ือนมี​ีการคั​ัดแยกขยะที่​่� รี​ีไซเคิ​ิลได้​้และรี​ีไซเคิ​ิลไม่​่ได้​้ออกมาก่​่อนจะนำำ�ออกมาทิ้​้�ง ซึ่​่�งการ เปลี่​่�ยนแปลงความคิ​ิดและพฤติ​ิกรรมการทิ้​้�งขยะ รวมถึ​ึงการสร้​้าง ความเข้​้าใจที่​่�ถู​ูกต้​้องจะช่​่วยให้​้มี​ีปริ​ิมาณพลาสติ​ิกที่​่�หลุ​ุดลอกออก สู่​่�สิ่​่�งแวดล้​้อมลดลง ขณะที่​่�ภาคอุ​ุตสาหกรรมก็​็จะมี​ีวั​ัตถุ​ุดิ​ิบรี​ีไซเคิ​ิล ที่​่�เพี​ียงพอต่​่อความต้​้องการในภาคการผลิ​ิต■


Technology Showcase

Boost

contact@plexpert.co.th

your process

+66 (0) 8 5816 8418 +66 (0) 2 525 0059

intelligence 1

การจําลอง

ิ� งาน การออกแบบชน

www.plexpert.co.th

ิ� งาน วิเคราะห์ชน • ลดการใช ้วัสดุ • เลีย � งจุดอัน � อากาศ • ลดการบิดตัว

2

3

@ill3641s

การจําลอง

การออกแบบแม่พม ิ พ์

Digital Twin ของแม่พม ิ พ์ • แบบรูหล่อเย็นทีเ� หมาะสม � • เวลาต่อวัฏจักรสัน � งานตํา� • ต ้นทุนชิน

� รูป การฉีดขึน

เน็ ตเวิรก ์ Xclusive 4.0 ของคุณ

Xmold

DiagBes

• ข ้อมูลแม่พม ิ พ์ทงั � หมด • ข ้อมูลกระบวนการ • ข ้อมูลการบํารุงรักษา

• แนวทางแก ้ไขข ้อบกพร่อง • สถิตข ิ ้อบกพร่อง • ขยายฐานความรู ้

Xscale

• คํานวณอัตราส่วนมาสเตอร์แบทช์ • ตรวจสอบนํ� าหนักระหว่างการผลิต • หาเวลายํ�าทีเ� หมาะสม

IR-ThermalSystem กล้องอินฟราเรด

D.I.O.

• ตรวจสอบด ้วยอินฟราเรดแบบอัตโนมัต ิ � งานแบบ inline • ควบคุมคุณภาพชิน • แน่ใจว่าอุณหภูมแ ิ ม่พม ิ พ์เสถียร

� มต่อกับเครือ • เชือ � งจักร • สัญญาณดิจท ิ ล ั I/O • สัญญาณแอนะล็อก I/O SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

ั ซอฟต์แวร์ทเี� พิม � ฟังก์ชน ให้ก ับเครือ � งชง� ั

31


Technology Showcase

Eco Design ออกแบบให้​้เป็​็น "มิ​ิตร" แล้​้ว Plastics จะรั​ักษ์​์โลก

■สถาบั​ันพลาสติ​ิก

คำำ�นำ�ำ

การจั​ัดการขยะด้​้วยรู​ูปแบบต่​่าง ๆ นั้​้�น เป็​็นเพี​ียงการแก้​้ไขปั​ัญหา ขยะพลาสติ​ิกที่​่�ปลายเหตุ​ุ เนื่​่�องจากสิ่​่�งที่​่�เป็​็นต้​้นเหตุ​ุคื​ือผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ต่​่าง ๆ เกิ​ิดจากสิ่​่�งที่​่�มนุ​ุษย์​์ได้​้ผลิ​ิตขึ้​้�นมาโดยคำำ�นึ​ึงถึ​ึงประโยชน์​์ สู​ูงสุ​ุดต่​่อมนุ​ุษย์​์ด้​้วยกั​ันและใช้​้งานจนหมดประโยชน์​์ใช้​้สอยเป็​็นที่​่� เรี​ียบร้​้อยและทิ้​้�งเป็​็นขยะจนเกิ​ิดเป็​็นปั​ัญหาในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ซึ่​่�งต้​้นเหตุ​ุ ที่​่� ว่​่ านั้​้� น เราสามารถแก้​้ได้​้ด้​้วยการปลู​ูกฝั​ั ง จิ​ิ ต สำำ�นึ​ึ กให้​้ ม นุ​ุ ษ ย์​์ คำำ�นึ​ึงถึ​ึงสิ่​่�งที่​่�ตามเมื่​่�อจะริ​ิเริ่​่�มพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ขึ้​้�น SMART Molding Magazine

32

การการออกแบบในอดี​ีตส่​่วนใหญ่​่ เรามั​ั ก จะคำำ�นึ​ึ งถึ​ึงผู้​้� ใช้​้เป็​็ น สำำ�คัญ ั โดยออกแบบชิ้​้�นงานให้​้มี​ีรู​ูปทรงที่​่ส� วยงามตรงดึ​ึงดู​ูดสายตา เลื​ือกใช้​้วั​ัสดุ​ุที่​่�ดี​ีให้​้เหมาะสมกั​ับราคา โดยการออกแบบในลั​ักษณะ นี้​้� เรี​ียกว่​่าการออกแบบโดยยึ​ึดผู้​้� ใช้​้เป็​็ น ศู​ูนย์​์ ก ลาง (Human Centric) ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันการเปลี่​่�ยนมาเป็​็น “World Centric” ซึ่​่�งจะ เน้​้นการออกแบบและพั​ั ฒ นาผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ใ ห้​้ ค รอบคลุ​ุ ม ถึ​ึงสิ่​่� ง แวดล้​้อม และการจั​ัดการหลั​ังการใช้​้ (End of life management) และจากแนวคิ​ิ ด ดั​ั ง กล่​่าว จึ​ึงเป็​็ น ที่​่� ม าของจุ​ุ ด เริ่​่� ม ต้​้นในการ ออกแบบเชิ​ิงนิ​ิเวศเศรษฐกิ​ิจ (Economic & Ecological Design) SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

หรื​ือ “Eco Design” เหตุ​ุผลที่​่�ต้​้องคำำ�นึ​ึงถึ​ึงการออกแบบตั้​้�งแต่​่ แรก เนื่​่�องจากในการพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ใหม่​่ ๆ สิ​ินค้​้าใหม่​่ ๆ นั้​้�น ต้​้องผ่​่านกระบวนการและขั้​้�นตอนการออกแบบแทบทั้​้�งสิ้​้�น ในกระบวนการออกแบบไม่​่ใช่​่เป็​็นเพี​ียงการเขี​ียนแบบหรื​ือเขี​ียน โครงร่​่างกำำ�ห นดขนาด (Drawing) เท่​่านั้​้� น แต่​่ยั​ั ง เป็​็ น การที่​่� นั​ั ก ออกแบบต้​้องคิ​ิดต่​่อในด้​้านการเลื​ือกใช้​้วั​ัสดุ​ุ ให้​้ตรงและเหมาะสมกั​ับ รู​ูปแบบที่​่�วางไว้​้ รวมถึ​ึงลั​ักษณะการใช้​้งานของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ด้​้วย เช่​่น เมื่​่�อเราออกแบบชั้​้�นวางของ (Shelf) ในร้​้านค้​้า เราในฐานะที่​่�เป็​็น นั​ั ก ออกแบบหรื​ือผู้​้� ผ ลิ​ิ ต ก็​็ ต้​้ องเลื​ือกชนิ​ิ ด พลาสติ​ิ ก ที่​่� แข็​็ ง แรง ทนทานต่​่อแรงกระแทก รั​ับน้ำำ��หนั​ักได้​้ดี​ีเพื่​่�อมาผลิ​ิตเป็​็นชั้​้�นวาง ของที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพ ไม่​่แตกหั​ักง่​่าย วางสิ​ินค้​้าได้​้หลายประเภท มี​ีอายุ​ุ การใช้​้งานที่​่�ยาวนาน เป็​็นต้​้น ซึ่​่�งในประเด็​็นที่​่�กล่​่าวมาการเลื​ือก ชนิ​ิดพลาสติ​ิกมาทำำ�เป็​็นชั้​้�นวางของคงอาจจะไม่​่พ้​้นพลาสติ​ิกชนิ​ิด Acrylonitrile Butadiene Styrene (ABS) เพราะมี​ีความแข็​็ง แรงทนทานมาก ต้​้านทานแรงกระแทกได้​้ดี​ีเยี่​่�ยม และมี​ีอายุ​ุการ ใช้​้งานที่​่�ยาวนานจึ​ึงเหมาะกั​ับการเลื​ือกนำำ�มาผลิ​ิตเป็​็นชั้​้�นวาง ของที่​่�สุ​ุด แต่​่เนื่​่�องจาก ABS สั​ังเคราะห์​์จากผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ปิ​ิโตรเคมี​ี


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : การออกแบบโดยใช้​้หลั​ักวิ​ิศวกรรมเข้​้าช่​่วยเพื่​่�อลด ความหนาของวั​ัสดุ​ุแต่​่ยั​ังคงคุ​ุณสมบั​ัติ​ิเท่​่าเดิ​ิม

Eco-design 3 หลั​ักการ

1. ลดการใช้​้วั​ัสดุ​ุที่​่�มี​ีผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม (Reduction of

low-impact materials) ในหลั​ักการนี้​้�เป็​็นหลั​ักแนวคิ​ิดเพื่​่�อ ลดการใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ ที่​่� ส่​่ งผลต่​่อสิ่​่� ง แวดล้​้อมลงและหั​ั น มาใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ ทดแทนที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมมากยิ่​่�งขึ้​้�น โดยต้​้องคำำ�นึ​ึงถึ​ึง คุ​ุณภาพผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ด้​้วยเนื่​่�องจากเมื่​่�อเปลี่​่�ยนวั​ัสดุ​ุแล้​้ว อาจส่​่ง ผลต่​่อความแข็​็งแรงโดยรวมของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ทำำ�ให้​้คุ​ุณภาพของ ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ล ดลง ดั​ั ง นั้​้� น แนวทางในการลดการใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ ล งจึ​ึง จำำ� เป็​็ น ต้​้องใช้​้หลั​ั ก การออกแบบตามหลั​ั ก วิ​ิ ศว กรรม (Engineering design) มาช่​่วยเสริ​ิมในด้​้านความแข็​็งแรงด้​้วย เพื่​่�อให้​้ลดการใช้​้วั​ัสดุ​ุลงแล้​้วแต่​่คุ​ุณภาพยั​ังดี​ีเหมื​ือนเดิ​ิม จากรู​ูปที่​่� 1 เป็​็นการออกแบบเพื่​่�อลดการเนื้​้�อวั​ัสดุ​ุลง โดยสี​ีแดง คื​ือเนื้​้�อพลาสติ​ิก ส่​่วนสี​ีเทาคื​ือช่​่องว่​่างของชิ้​้�นงาน ซึ่​่�งในภาพแสดง ให้​้เห็​็นว่​่าเมื่​่�อเราใช้​้หลั​ักการออกแบบเชิ​ิงวิ​ิศกรรมเข้​้าช่​่วย เรา สามารถลดเนื้​้�อพลาสติ​ิกลงได้​้ถึ​ึง 30-40% และยั​ังคงความแข็​็ง แรงเท่​่าเดิ​ิมเนื่​่�องจากจุ​ุดรั​ับแรงหลั​ักมี​ีเพี​ียงจุ​ุดเดี​ียวคื​ือด้​้านบน ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ดั​ังนั้​้�นการใช้​้เนื้​้�อวั​ัสดุ​ุหนาหรื​ือบางลั​ักษณะเป็​็นเสาเล็​็ก ๆ ต่​่อกั​ันจึ​ึงมี​ีผลให้​้สามารถรั​ับแรงได้​้เท่​่ากั​ัน 2. ปรั​ั บ ปรุ​ุ ง ขั้​้� น ตอนการใช้​้ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ (Optimization of impact during use) หลั​ังจากผ่​่านการออกแบบด้​้วยการคิ​ิด แบบ Eco-design รวมถึ​ึงใช้​้หลั​ักออกแบบทางวิ​ิศวกรรมเข้​้า มาช่​่วยเสริ​ิมด้​้านการลดการใช้​้วั​ัสดุ​ุแล้​้ว สิ่​่�งต่​่อไปที่​่�เราต้​้อง คำำ�นึ​ึงถึ​ึงเมื่​่�อเกิ​ิดผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ขึ้​้�นมาแล้​้วคื​ือการคิ​ิดเรื่​่�องขั้​้�นตอน SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

ส่​่งผลให้​้พลาสติ​ิกชนิ​ิดนี้​้�มี​ีระยะเวลาในการย่​่อยสลายหลั​ังจาก สิ้​้�นสุ​ุดอายุ​ุการใช้​้งานแล้​้วกว่​่า 400 ปี​ี หรื​ืออาจจะมากกว่​่านั้​้�น ดั​ังนั้​้�นเมื่​่�อผู้​้�ซื้​้�อหรื​ือลู​ูกค้​้าซื้​้�อสิ​ินค้​้าชั้​้�นวางของไปแล้​้วและใช้​้งานครบ ตามอายุ​ุก็​็มั​ักจะทิ้​้�งกลายเป็​็นขยะในที่​่�สุ​ุดและด้​้วยการย่​่อยสลาย ที่​่�ใช้​้ระยะเวลานานจึ​ึงยิ่​่�งกลายเป็​็นขยะที่​่�สะสมในปริ​ิมาณมากและ ส่​่งกลิ่​่�นเหม็​็นเป็​็นมลพิ​ิษทางอากาศ เมื่​่�อระยะเวลาผ่​่านไปสารเคมี​ี ในเนื้​้� อ พลาสติ​ิ ก ก็​็ จ ะเริ่​่� ม แยกตั​ั ว ออกมาส่​่งผลกระทบต่​่อสิ่​่� ง แวดล้​้อม ดั​ังนั้​้�นวิ​ิธี​ีแก้​้ปั​ัญหาและลดปริ​ิมาณขยะที่​่�ก่​่อให้​้เกิ​ิดมลพิ​ิษ ทั้​้�งหลายคื​ือการแก้​้ที่​่�ต้​้นเหตุ​ุ โดยนั​ักออกแบบและผู้​้�ผลิ​ิตต้​้องมอง ให้​้ถึ​ึงวงจรสุ​ุดท้​้ายของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เพื่​่อ� ให้​้เห็​็นปั​ัญหาที่​่จ� ะตามมาเพื่​่อ� ที่​่�จะได้​้ทราบถึ​ึงปั​ัญหาปลายเหตุ​ุและแก้​้ได้​้ตรงจุ​ุด ยกตั​ัวอย่​่างใน กรณี​ีของชั้​้�นวางของ เมื่​่�อเราทราบถึ​ึงปั​ัญหาที่​่�จะตามมา เราจึ​ึงควร ออกแบบให้​้มี​ีการใช้​้พลาสติ​ิกลดลงแต่​่ยั​ังคงความแข็​็งแรงเท่​่าเดิ​ิม โดยใช้​้หลั​ักการออกแบบทางวิ​ิศวกรรม (Engineering design) เข้​้าช่​่วยเพื่​่�อให้​้ยั​ังคงคุ​ุณภาพมาตรฐานความคงทนของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ไว้​้เช่​่นเดิ​ิ ม หรื​ืออาจใช้​้ส่​่วนผสมจากธรรมชาติ​ิ จำำ� พวกชี​ีวมวล (Biomass) เข้​้ามาเติ​ิมให้​้ปริ​ิมาณพลาสติ​ิกลดลง เช่​่น นำำ�ขี้​้�เถ้​้า แกลบ (Fine ashes) ซึ่​่�งเป็​็น ชี​ีวมวลชนิ​ิด หนึ่​่�งมาผสมกั​ั บเนื้​้� อ พลาสติ​ิกปริ​ิมาณ 15% โดยน้ำำ��หนั​ัก ทำำ�ให้​้เราจะใช้​้พลาสติ​ิกเพี​ียง 85% ซึ่​่�งจากเดิ​ิมที่​่�ต้​้องใช้​้พลาสติ​ิกถึ​ึง 100% จึ​ึงทำำ�ให้​้เห็​็นว่​่า ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ 1 ชิ้​้�น สามารถลดการใช้​้พลาสติ​ิกลงได้​้ถึ​ึง 15% เป็​็นต้​้น การแก้​้ปั​ัญหาดั​ังกล่​่าวเป็​็นเพี​ียงวิ​ิธี​ีเบื้​้�อต้​้นของการคิ​ิดเพื่​่�อเลื​ือกใช้​้

วั​ัสดุ​ุและการออกแบบให้​้ลดปริ​ิมาณพลาสติ​ิกเท่​่านั้​้�น แต่​่การคิ​ิด และการออกแบบด้​้วยหลั​ักการออกแบบเชิ​ิงนิ​ิเวศเศรษฐกิ​ิจหรื​ือ Eco-design นั้​้�นมี​ีแนวทางและกระบวนการอี​ีกมายมาย โดยต้​้อง พิ​ิจารณาตลอดวั​ัฎจั​ักรชี​ีวิ​ิตของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ (Product Life Cycle) ตั้​้�งแต่​่ขั้​้�นตอนการแผนผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ช่​่วงการออกแบบ ช่​่วงการผลิ​ิต ช่​่วงการนำำ�ไปใช้​้ และช่​่วงการจั​ัดการหลั​ังการใช้​้งาน ซึ่​่�งจะช่​่วยลด ต้​้นทุ​ุนในแต่​่ละขั้​้�นตอนของการพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์และลดผลกระ ทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมไปพร้​้อม ๆ กั​ัน โดยส่​่งผลดี​ีต่​่อธุ​ุรกิ​ิจ ชุ​ุมชน และ สิ่​่�งแวดล้​้อม ซึ่​่�งเป็​็นแนวทางนำำ�ไปสู่​่�การพั​ัฒนาอย่​่างยั่​่�งยื​ืน

33


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 2 : การเปลี่​่�ยนแปลงลั​ักษณะของวั​ัสดุ​ุในผลิ​ิตเส้​้นใยจากพลาสติ​ิกที่​่�ผ่​่านการใช้​้งานแล้​้ว

SMART Molding Magazine

34

การใช้​้งานผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ กล่​่าวให้​้ เข้​้าใจง่​่าย ๆ คื​ือคิ​ิ ด วิ​ิ ธี​ี ใช้​้ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ให้​้คุ้​้�มค่​่าและเกิ​ิดประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุดจนจบช่​่วงชี​ีวิ​ิตของ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ (Product Life Cycle) เช่​่น เมื่​่�อเราออกแบบและ ผลิ​ิตถั​ังสำำ�หรั​ับใส่​่น้ำำ��ตั​ักน้ำำ��มาใบนึ​ึง โดยเราออกแบบให้​้ใช้​้เนื้​้�อ วั​ัสดุ​ุน้​้อยที่​่สุ� ดุ และมี​ีความแข็​็งแรงมากที่​่สุ� ดุ จากนั้​้�นเราก็​็ทำำ�การ จั​ัดทำำ�แม่​่พิ​ิมพ์​์ (Mold) เพื่​่�อขึ้​้�นรู​ูปพลาสติ​ิกให้​้เป็​็นรู​ูปร่​่างถั​ัง เมื่​่�อใช้​้งานไประยะหนึ่​่�ง ตั​ัวถั​ังจะเริ่​่�มเสื่​่�อมสภาพและเมื่​่�อถึ​ึง จุ​ุดนี้​้�หลายคนอาจจะทิ้​้�งถั​ังไปแบบเปล่​่าประโยชน์​์ทำำ�ให้​้เกิ​ิด เป็​็นขยะอี​ีกครั้​้�ง ดั​ังนั้​้�นนั​ักออกแบบและผู้​้�ผลิ​ิตจึ​ึงควรสร้​้าง ความตระหนั​ักให้​้แก่​่ผู้​้�ใช้​้ โดยให้​้ความรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับการนำำ�กลั​ับมา ใช้​้ในรู​ูปแบบสิ่​่�งของอื่​่�น ๆ จากตั​ัวอย่​่างที่​่�ได้​้กล่​่าวมา ไม่​่เพี​ียง แต่​่เป็​็นการนำำ�ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์กลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ ยั​ังช่​่วยยื​ืดระยะเวลา ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ให้​้สามารถใช้​้จนจบวั​ัฏจั​ักรชี​ีวิ​ิตนั่​่�นเอง ซึ่​่�งในจุ​ุดนี้​้�เรา อาจจะนำำ�เสนอในรู​ูปแบบของการใช้​้งานหลั​ังงานจบผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ด้​้วยโบรชั​ัว (Brochure) เพื่​่�อให้​้ข้​้อมู​ูลกั​ับผู้​้�ซื้​้�อและเพิ่​่�มแรงจู​ูงใจ ในการหั​ันกลั​ับมาใช้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ซ้ำำ��และลดการสร้​้างขยะอี​ีกด้​้วย 3. ปรั​ั บปรุ​ุ งอายุ​ุ การใช้​้งานผลิ​ิ ตภั​ั ณฑ์​์ ให้​้ยาวนานขึ้​้� น ในการ ปรั​ับปรุ​ุงอายุ​ุการใช้​้งานผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นี้​้�จะเกี่​่�ยวเนื่​่�องตั้​้�งแต่​่การ เลื​ือกใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ ต อนผลิ​ิ ต อาจเลื​ือกใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ ที่​่� มี​ี ความแข็​็ ง แรง ทนทานสู​ูงขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของเรามี​ีอายุ​ุการใช้​้งานที่​่�มาก ขึ้​้�น แต่​่ทั้​้�งนี้​้�ทั้​้�งนั้​้�นปั​ัจจั​ัยเรื่​่�องต้​้นทุ​ุนก็​็ต้​้องคำำ�นึ​ึงถึ​ึงด้​้วยเช่​่นกั​ัน ยกตั​ัวอย่​่างการเลื​ือกใช้​้วั​ัสดุ​ุพลาสติ​ิกที่​่มี​ี� อายุ​ุการใช้​้งานทนทาน เช่​่น ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เดิ​ิมใช้​้พลาสติ​ิกชนิ​ิด Polypropylene, PP SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

มี​ีอายุ​ุการใช้​้งานอยู่​่� 2 ปี​ีแล้​้วเริ่​่�มเสื่​่�อมสภาพเนื่​่�องจากความ แข็​็งแรงไม่​่เท่​่าจึ​ึงจำำ�เป็​็นต้​้องทิ้​้�งและซื้​้�อตั​ัวใหม่​่ แต่​่ถ้​้าเราเลื​ือก ใช้​้เป็​็นวั​ัสดุ​ุพลาสติ​ิกชนิ​ิดที่​่�ทนทานขึ้​้�นอย่​่าง Acrylonitrile Butadiene Styrene, ABS ที่​่�มี​ีคุ​ุ ณ สมบั​ั ติ​ิ ท นทานต่​่อแรง กระแทกได้​้ดี​ี แข็​็ ง แกร่​่งว่​่า PP ขึ้​้� น 2 เท่​่า เมื่​่� อ ขึ้​้� น รู​ูปเป็​็ น ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ก็​็ ส่​่ งผลให้​้ ผ ลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ นั้​้� น ๆ มี​ีอายุ​ุ ก ารใช้​้งานที่​่� ยาวนานขึ้​้�นนั่​่�นเอง หรื​ืออี​ีกมุ​ุมหนึ่​่�งในการปรั​ับปรุ​ุงอายุ​ุการใช้​้ งานคื​ือการเก็​็บรั​ักษาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ให้​้เหมาะสมหรื​ือเก็​็บในสภาวะ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นั้​้�นเสื่​่�อมสภาพได้​้ยาก เช่​่น ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�เป็​็นพลาสติ​ิก ส่​่วนใหญ่​่จะแพ้​้แสงแดดและรั​ังสี​ี UV ดั​ังนั้​้�น ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เหล่​่านี้​้� เราควรเก็​็ บ ในที่​่� พ้​้ นแสงและอยู่​่� ใ นอุ​ุ ณ หภู​ูมิ​ิ ห้​้ อ ง เพื่​่� อ ให้​้ พลาสติ​ิกไม่​่บิ​ิดงอหรื​ือเสี​ียรู​ูป อี​ีกทั้​้�งพลาสติ​ิกบางชนิ​ิดอาจจะ ทนแรงกดทั​ับได้​้ไม่​่มากเมื่​่�อเราใช้​้งานเสร็​็จ ก็​็ไม่​่ควรนำำ�สิ่​่�งของ ไปวางทั​ับเนื่​่�องจากพลาสติ​ิกจะแอ่​่นตั​ัวและบิ​ิดงอไม่​่คื​ืนรู​ูปร่​่าง เดิ​ิม ทำำ�ให้​้เสี​ียรู​ูปทรงได้​้ ตามหลั​ักการ Eco-design ทั้​้�ง 3 นี้​้�เป็​็นเพี​ียงหลั​ัการเบื้​้�องต้​้นเพื่​่�อ ให้​้ช่​่วยให้​้เรามี​ีแนวคิ​ิดในการนำำ�มาประยุ​ุกต์​์ใช้​้ในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ัน ตั้​้�งแต่​่การออกแบบผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เพื่​่อ� ให้​้ลดการใช้​้พลาสติ​ิกลงไปจนถึ​ึง การมองให้​้ ค รบวงจรชี​ีวิ​ิ ต ของผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ เ พื่​่� อ นำำ� ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่� ใช้​้ แล้​้วกลั​ับมาใช้​้ใหม่​่ในรู​ูปแบบของผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์อื่​่�นทำำ�ให้​้ไม่​่ต้​้องทิ้​้�ง ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชิ้​้�นนั้​้�นไปโดยเปล่​่าประโยชน์​์ ทั้​้�ง ๆ ที่​่�ยั​ังสามารถนำำ�มา ต่​่อยอดได้​้อี​ีกหลายรู​ูปแบบ ซึ่​่�งผลลั​ัพธ์​์ของ Eco-design เมื่​่�อนำำ�มา


Technology Showcase ปรั​ับใช้​้จะทำำ�ให้​้ปริ​ิมาณการใช้​้พลาสติ​ิกที่​่�ไม่​่ย่​่อยสลายนั้​้�นลดลง มี​ี การนำำ�วั​ัสดุ​ุอื่​่�น ๆ เข้​้ามาปรั​ับใช้​้ให้​้เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมมากขึ้​้�น รวมถึ​ึงจะสามารถสร้​้างความตระหนั​ักในการใช้​้ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ให้​้ครบ วงจรชี​ีวิ​ิต ไม่​่ทิ้​้�งผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์นั้​้�นให้​้เปล่​่าประโยชน์​์อี​ีกด้​้วย ด้​้วยหลั​ัก การทั้​้�งหมดของ Eco design นี้​้� อาจจะไม่​่ใช่​่หลั​ักการคิ​ิดที่​่�ชี้​้�ขาด เรื่​่� อ งการนำำ� มาประยุ​ุ ก ต์​์ ใช้​้เพื่​่� อ ลดขยะพลาสติ​ิ ก ในทุ​ุ ก วั​ั น นี้​้� ไ ด้​้ 100% การที่​่�จะช่​่วยให้​้จั​ัดการปั​ัญหาเหล่​่านี้​้�ให้​้หมดไปอย่​่างยั่​่�งยื​ืน นั้​้�น อาจจะต้​้องใช้​้หลั​ักการคิ​ิดอื่​่�น ๆ เข้​้ามาช่​่วย เพื่​่�อให้​้ผลลั​ัพธ์​์ใน การแก้​้ปั​ัญหานั้​้�นออกมาชั​ัดเจนยิ่​่�งขึ้​้�น ซึ่​่�งหลั​ักการที่​่�ว่​่านั้​้�นเราอาจ จะเลื​ือกใช้​้หลั​ักการหรื​ือแนวคิ​ิดของ 3Rs เพื่​่�อนำำ�ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์กลั​ับ มาใช้​้ใหม่​่ให้​้เกิ​ิดประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุดและช่​่วยลดการเกิ​ิดขยะไปในตั​ัว จากทั้​้�งหมดนี้​้�จะเห็​็นได้​้ว่​่าทิ​ิศทางของอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกใน ปั​ั จจุ​ุ บั​ั น และในอนาคตมี​ีการมุ่​่� ง เน้​้นการใช้​้วั​ั ส ดุ​ุ หมุ​ุ น เวี​ียนใน กระบวนการผลิ​ิตมากขึ้​้�น และมี​ีการนำำ�แนวคิ​ิดการออกแบบเพื่​่�อ สิ่​่�งแวดล้​้อมหรื​ือ Eco-design เข้​้ามาช่​่วยพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เพื่​่�อลด ปริ​ิมาณขยะในสิ่​่�งแวดล้​้อมและสร้​้างมู​ูลค่​่าเพิ่​่�มให้​้กั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ซึ่​่�งในปั​ัจจุ​ุบั​ัน หน่​่วยงานภาครั​ัฐ ภาคธุ​ุรกิ​ิจ ภาคประชาสั​ังคม ก็​็ได้​้ มี​ีการสร้​้างความร่​่วมมื​ือในการขั​ับเคลื่​่�อนกิ​ิจกรรมและโครงการที่​่� มุ่​่�งเน้​้นการลดปริ​ิมาณขยะพลาสติ​ิกในชุ​ุมชนและสิ่​่�งแวดล้​้อม รวม ถึ​ึงการส่​่งเสริ​ิมการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกหลั​ังการใช้​้งานอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ี เพื่​่�อสร้​้างความยั่​่�งยื​ืนให้​้กั​ับอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทยที่​่�จะเติ​ิบโต ควบคู่​่� ไ ปกั​ั บ สิ่​่� ง แวดล้​้อมที่​่� ดี​ี ส่​่วนรายละเอี​ียดจะเป็​็ น อย่​่างไร ติ​ิดตามได้​้ในบทความถั​ัดไปครั​ับ■ SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

35


Technology Showcase

ภาครั​ัฐ เอกชน และประชาสั​ัมคม ผนึ​ึกกำำ�ลั​ังยกระดั​ับการจั​ัดการ พลาสติ​ิกอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ตามแนวคิ​ิดเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน ■สถาบั​ันพลาสติ​ิก คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

36

จากบทความก่​่อนหน้​้าผู้​้� อ่​่ านทุ​ุ ก ท่​่านคงพอจะทราบแล้​้วว่​่า “การรี​ีไซเคิ​ิล” ได้​้เข้​้ามามี​ีบทบาทในอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทย มากขึ้​้�น จากการผลั​ักดั​ันนโยบาย "เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน" ของภาค รั​ัฐในช่​่วงระยะที่​่�ผ่​่านมา ประกอบกั​ับแรงกดดั​ันในเรื่​่�องปั​ัญหาสิ่​่�ง แวดล้​้อมที่​่�ทวี​ีความรุ​ุนแรงมากขึ้​้�น แม้​้ว่​่าภาครั​ัฐจะมี​ีการส่​่งเสริ​ิม การรี​ีไซเคิ​ิลตามนโยบายเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียนในช่​่วงที่​่�ผ่​่านมา แต่​่ อั​ัตราการรี​ีไซเคิ​ิลพลาสติ​ิก (Plastics recycling rate) ภายใน ประเทศยั​ังคงอยู่​่�ในระดั​ับที่​่�ค่​่อนข้​้างต่ำำ�� ส่​่วนหนึ่​่�งเป็​็นเพราะการ บริ​ิ ห ารจั​ั ด การขยะพลาสติ​ิ ก ภายในประเทศที่​่� อ าจจะยั​ั ง มี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพไม่​่มากพอ ทำำ�ให้​้ปริ​ิมาณขยะที่​่�สามารถนำำ�กลั​ับเข้​้า มาสู่​่�กระบวนการี​ีไซเคิ​ิลมี​ีปริ​ิมาณที่​่�ค่​่อนข้​้างน้​้อย ข้​้อมู​ูลตามรายงานสรุ​ุปสถานการณ์​์มลพิ​ิษของประเทศไทย ปี​ี 2561 ของกรมควบคุ​ุมมลพิ​ิษ ระบุ​ุว่​่าประเทศไทยมี​ีการสร้​้างขยะพลาสติ​ิก เฉลี่​่�ยปี​ีละ 2 ล้​้านตั​ัน โดยขยะพลาสติ​ิกกว่​่า 1.5 ล้​้านตั​ัน เป็​็น พลาสติ​ิกที่​่�ใช้​้ครั้​้�งเดี​ียวทิ้​้�งที่​่�มี​ีการปนเบื้​้�อนยากต่​่อการกำำ�จั​ัด เช่​่น ถุ​ุงร้​้อน ถุ​ุงเย็​็น ถุ​ุงหู​ูหิ้​้�ว รวมถึ​ึงแก้​้วและหลอดพลาสติ​ิก ซึ่​่�งขยะ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

กลุ่​่� มนี้​้� จะถู​ูกนำำ�ไปฝั​ั งกลบ หรื​ือนำำ�ไปผลิ​ิ ตเป็​็ นก้​้อนเชื้​้� อเพลิ​ิ งขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) ขณะที่​่�ขยะพลาสติ​ิกปริ​ิมาณเพี​ียง 5 แสนตั​ันโดยประมาณ เป็​็นขยะพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีการคั​ัดแยกประเภทได้​้ อย่​่างถู​ูกต้​้อง สามารถนำำ�กลั​ับมาใช้​้ประโยชน์​์ใหม่​่ด้​้วยวิ​ิธี​ีรี​ีไซเคิ​ิลได้​้ ซึ่​่�งปริ​ิมาณขยะพลาสติ​ิกที่​่�เข้​้าสู่​่�กระบวนการรี​ีไซเคิ​ิลได้​้ปริ​ิมาณน้​้อย นั้​้�น อาจไม่​่สอดรั​ับกั​ับปริ​ิมาณความต้​้องการในภาคการผลิ​ิตพลาสติ​ิก รี​ีไซเคิ​ิล (Security of supply) ที่​่�มี​ีแนวโน้​้มขยายตั​ัวในอนาคต นอกจากนี้​้� ผู้​้�ประกอบการในอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทยในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ก็​็ เริ่​่� ม ให้​้ ค วามสำำ�คั​ั ญ กั​ั บ การออกแบบและพั​ั ฒ นาผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ พลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิลโดยใช้​้หลั​ักการ Eco-design มากขึ้​้�น โดยเฉพาะ กลุ่​่�มผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกสำำ�หรั​ับเครื่​่�องใช้​้ในครั​ัวเรื​ือน บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ที่​่�ไม่​่สั​ัมผั​ัสอาหาร รวมถึ​ึงชิ้​้�นส่​่วนพลาสติ​ิกในอุ​ุตสาหกรรมมากขึ้​้�น ขณะที่​่�บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์อาหาร ซึ่​่�งเป็​็นกลุ่​่�มที่​่�มี​ีปริ​ิมาณการใช้​้ที่​่�ค่​่อนข้​้าง มากนั้​้� น พบว่​่าปั​ั จจุ​ุ บั​ั น ประเทศไทยยั​ั ง ไม่​่อนุ​ุ ญ าตให้​้ ใช้​้เม็​็ ด พลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล หรื​ือ r-PET ในการผลิ​ิตตามประกาศกระทรวง สาธารณสุ​ุข ฉบั​ับที่​่� 295 พ.ศ. 2548 ปรากฎตามความในข้​้อที่​่� 8 ระบุ​ุว่​่า “ห้​้ามมิ​ิให้​้ใช้​้ภาชนะบรรจุ​ุที่​่�ทำำ�ขึ้​้�นจากพลาสติ​ิกที่​่�ใช้​้แล้​้ว


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : คณะทำำ�งานโครงการ PPP Plastic เยี่​่�ยมชมการคั​ัดแยก ขยะพลาสติ​ิกใน อ.บ้​้านเพ จ.ระยอง

PPP Plastics จั​ัดการพลาสติ​ิกและขยะอย่​่าง ยั่​่�งยื​ืน

จากทิ​ิศทางความต้​้องการพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิลที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น ปริ​ิมาณขยะ พลาสติ​ิกที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นในหลุ​ุมฝั​ังกลบ (Landfill) รวมถึ​ึงสถานการณ์​์ ด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�พลาสติ​ิกยั​ังถู​ูกมองว่​่าเป็​็นต้​้นเหตุ​ุของปั​ัญหาที่​่� เกิ​ิดขึ้​้�นในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ซึ่​่�งแท้​้ที่​่�จริ​ิงแล้​้วปั​ัญหาดั​ังกล่​่าวสามารถแก้​้ไข ได้​้ด้​้วยการบริ​ิการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกอย่​่างถู​ูกต้​้อง โดยเริ่​่�มจาก

PPP Plastics ริ​ิเริ่​่�มก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นเมื่​่�อวั​ันที่​่� 5 มิ​ิถุ​ุนายน 2561 นำำ�โดย องค์​์กรธุ​ุรกิ​ิจเพื่​่�อการพั​ัฒนาอย่​่างยั่​่�งยื​ืน (TBCSD) ได้​้ร่​่วมกั​ับกลุ่​่�ม อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย ร่​่วมกั​ัน ขั​ับเคลื่​่อ� น การบริ​ิหารจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกอย่​่างยั่​่�งยื​ืนร่​่วมกั​ับภาค ส่​่วนต่​่าง ๆ ทั้​้�งหน่​่วยงานภาครั​ัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสั​ังคม องค์​์กรระหว่​่างประเทศ และสถาบั​ันการศึ​ึกษา ที่​่�เล็​็งเห็​็นถึ​ึงความ สำำ�คั​ัญในการระดมความร่​่วมมื​ือจากทุ​ุกภาคส่​่วนเพื่​่�อหาแนวทาง ในการแก้​้ปั​ัญหาขยะพลาสติ​ิกในประเทศไทยอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ซึ่​่�งใน ปี​ี พ.ศ. 2564 นี้​้� PPP Plastics ได้​้ดำำ�เนิ​ินการมาอย่​่างต่​่อเนื่​่�องจน ก้​้าวเข้​้าสู่​่�ปี​ีที่​่� 4 โดยโครงการดั​ังกล่​่าว มี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุน การดำำ� เนิ​ิ น งานเพื่​่� อ ลดปริ​ิ ม าณขยะพลาสติ​ิ ก ในทะเลไทยตาม Roadmap การจั​ัดการขยะพลาสติ​ิก พ.ศ. 2561 - 2573 และแผน ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง โดยจะลดขยะพลาสติ​ิกทะเลลงไม่​่ต่ำำ��กว่​่า ร้​้อยละ 50 ภายใน พ.ศ. 2570 ตามเป้​้าหมายหลั​ัก 2 เป้​้าหมาย คื​ือ เป้​้าหมายที่​่� 1 การลดและเลิ​ิกใช้​้พลาสติ​ิกเป้​้าหมาย ด้​้วยการใช้​้ วั​ัสดุ​ุทดแทนที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม เป้​้าหมายที่​่� 2 การนำำ�ขยะพลาสติ​ิกเป้​้าหมายกลั​ับมาใช้​้ประโยชน์​์ ร้​้อยละ 100 ภายในปี​ี พ.ศ. 2570

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

บรรจุ​ุ อ าหาร เว้​้นแต่​่ใช้​้เพื่​่� อ บรรจุ​ุ ผ ลไม้​้ชนิ​ิ ด ที่​่� ไ ม่​่รั​ั บ ประทาน เปลื​ือก” โดยวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ของกฎหมายในขณะนั้​้�นเป็​็นไปเพื่​่�อ การคุ้​้�มครองผู้​้�บริ​ิโภคให้​้ปลอดภั​ัยจากบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�ไม่​่สะอาดมี​ี การปนเปื้​้�อนหรื​ือผ่​่านกรรมวิ​ิธี​ีในการผลิ​ิตที่​่�ไม่​่ได้​้มาตรฐาน ด้​้วย สาเหตุ​ุดั​ังกล่​่าว บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกสำำ�หรั​ับอาหารและเครื่​่�องดื่​่�ม จึ​ึงต้​้องผลิ​ิตขึ้​้�นจากพลาสติ​ิกผลิ​ิตใหม่​่ทั้​้�งหมด ซึ่​่�งทำำ�ให้​้ปริ​ิมาณการ ใช้​้พลาสติ​ิกผลิ​ิตใหม่​่และปริ​ิมาณขยะพลาสติ​ิกปลายทางเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�น อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง โดยในปั​ัจจุ​ุบั​ันหน่​่วยงานเครื​ือข่​่ายภาคเอกชนร่​่วม กั​ับเครื​ือข่​่ายหน่​่วยงานภาคการวิ​ิจั​ัยที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง ได้​้ดำำ�เนิ​ินการ ศึ​ึกษาและวิ​ิจั​ัยเกี่​่�ยวกั​ับปริ​ิมาณของสารเจื​ือปนในอาหารที่​่�มาจาก พลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล เพื่​่�อนำำ�ข้​้อมู​ูลเสนอต่​่อภาครั​ัฐ เพื่​่�อพิ​ิจารณาปรั​ับ แก้​้กฎหมายดั​ังกล่​่าวต่​่อไป ซึ่​่�งหากร่​่างกฎหมายผ่​่านการอนุ​ุมั​ัติ​ิ และประกาศใช้​้ ก็​็จะทำำ�ให้​้ปริ​ิมาณความต้​้องการพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล เพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นอย่​่างมี​ีนั​ัยสำำ�คั​ัญ

การปลู​ูกฝั​ังจิ​ิตสำำ�นึ​ึกของคนในสั​ังคม ให้​้มี​ีความรู้​้�ความเข้​้าใจเกี่​่�ยว กั​ับการคั​ัดแยกประเภทขยะพลาสติ​ิกอย่​่างถู​ูกต้​้อง โดยจะเห็​็นได้​้ อย่​่างชั​ั ด เจนผ่​่านการขั​ั บเคลื่​่� อ นนโยบายและมาตรการด้​้านสิ่​่� ง แวดล้​้อม นโยบายสนั​ั บ สนุ​ุ น การจั​ั ด การขยะพลาสติ​ิ ก และ อุ​ุตสาหกรรมการรี​ีไซเคิ​ิลพลาสติ​ิกจากหน่​่วยงานภาครั​ัฐในปั​ัจจุบัุ นั นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีการสร้​้างเครื​ือข่​่ายร่​่วมมื​ือระหว่​่างหน่​่วยงานภาค เอกชนภายในประเทศ เพื่​่�อยกระดั​ับการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกและ สนั​ับสนุ​ุนแนวทางเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียนของภาครั​ัฐสู่​่�การพั​ัฒนา โครงการความร่​่วมมื​ือภาครั​ัฐ ภาคธุ​ุรกิ​ิจ ภาคประชาสั​ังคม เพื่​่�อ จั​ั ด การพลาสติ​ิ ก และขยะอย่​่างยั่​่� ง ยื​ืน (Public Private Partnership for Sustainable Plastic and Waste Management: PPP Plastics)

37


Technology Showcase

SMART Molding Magazine

38

รู​ูปที่​่� 2 : โครงการมื​ือวิ​ิเศษ คู​ูณ วน ซึ่​่�งเกิ​ิดจากความร่​่วมมื​ือ ระหว่​่าง PPP Plastics กั​ับโครงการวน

รู​ูปที่​่� 3 : หน่​่วยงานร่​่วมขั​ับเคลื่​่�อนโครงการมื​ือวิ​ิเศษ

6 ส่​่วนหลั​ักของกิ​ิจกรรม PPP Plastics

มาตรการที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิก โดยร่​่วมเป็​็น คณะทำำ�งานด้​้านการพั​ัฒนาและใช้​้ประโยชน์​์จากพลาสติ​ิก ภาย ใต้​้คณะอนุ​ุ ก รรมการบริ​ิ ห ารจั​ั ด การขยะพลาสติ​ิ ก และขยะ อิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ที่​่�รั​ัฐบาลจั​ัดตั้​้�งขึ้​้�น 3. การพั​ัฒนาฐานข้​้อมู​ูลขยะพลาสติ​ิก (Database) ซึ่​่�งทาง PPP Plastics จะมี​ีการจั​ัดทำำ�ฐานข้​้อมู​ูลขยะพลาสติ​ิก เพื่​่�อ ศึ​ึกษาสถานการณ์​์ขยะพลาสติ​ิกของประเทศไทยโดยใช้​้แนวคิ​ิด Material Flow Analysis และเพื่​่�อสำำ�รวจข้​้อมู​ูล ประเภท รวม ถึ​ึงปริ​ิมาณขยะพลาสติ​ิกภายในประเทศไทย สำำ�หรั​ับใช้​้เป็​็น ข้​้อมู​ูลอ้​้างอิ​ิงสำำ�คั​ัญของประเทศที่​่�หน่​่วยงานของภาครั​ัฐ และ ภาคเอกชนสามารถนำำ�ไปใช้​้ประโยชน์​์ เพื่​่�อเป็​็นแนวทางในการ กำำ�หนดนโยบายและมาตรการเพื่​่�อแก้​้ไขปั​ัญหาด้​้านการจั​ัดการ ขยะพลาสติ​ิ ก ได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพ ตลอดจนใช้​้เพื่​่� อ เป็​็ น ข้​้อมู​ูลสำำ�หรั​ับการนำำ�เสนอในระดั​ับนานาชาติ​ิได้​้ 4. การสื่​่�อสารประชาสั​ัมพั​ันธ์​์และการศึ​ึกษา (Education & Communication) เพื่​่� อ สร้​้างความรู้​้� ค วามเข้​้าใจในการ จั​ัดการขยะที่​่�ถู​ูกต้​้องแก่​่ประชาชนทั่​่�วไป การพั​ัฒนาหลั​ักสู​ูตร สำำ�หรั​ับอุ​ุดมศึ​ึกษา การส่​่งเสริ​ิมการคั​ัดแยกขยะโดยเฉพาะการ แยกประเภทของขยะพลาสติ​ิกและให้​้ความรู้​้�เรื่​่�องเศรษฐกิ​ิจ หมุ​ุนเวี​ียนของพลาสติ​ิก รวมถึ​ึงการจั​ัดกิ​ิจกรรมงานประเภท ต่​่าง ๆ ร่​่วมกั​ั บ ภาคี​ีเครื​ือข่​่าย อั​ั น เป็​็ น สื่​่� อ กลางของ PPP

เสาหลั​ักกิ​ิจกรรมของ PPP Plastics ประกอบด้​้วย 6 ส่​่วนหลั​ัก 1. การพั​ัฒนาโมเดลเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน (Infrastructure) โดยมุ่​่�งเน้​้นผลั​ักดั​ันการจั​ัดการพลาสติ​ิกแบบครบวงจรทั้​้�งผ่​่าน โครงการนำำ�ร่​่อง อาทิ​ิ • พั​ัฒนาโมเดลการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกในชุ​ุมชนเมื​ืองแบบครบ ว ง จ ร โ ด ย ไ ด้​้กำำ�ห น ด พื้​้� น ที่​่� นำำ�ร่​่ อ ง ที่​่� เข ต ค ล อ ง เ ต ย กรุ​ุงเทพมหานคร • การสร้​้าง Rayong Model ผ่​่านการประสานความร่​่วมมื​ือของ ชุ​ุมชน โรงเรี​ียน หน่​่วยงานภาครั​ัฐภายในจั​ังหวั​ัดระยอง และผู้​้� ประกอบการในเครื​ือข่​่าย ห้​้างร้​้านต่​่าง ๆ และผู้​้�ประกอบการ รี​ีไซเคิ​ิล โดยมี​ีจุ​ุดประสงค์​์หลั​ักในการสร้​้างต้​้นแบบการจั​ัดการ พลาสติ​ิกและขยะแบบยั่​่�งยื​ืน • โครงการมื​ือวิ​ิเศษ คู​ูณ วน ซึ่​่�งเกิ​ิดจากความร่​่วมมื​ือระหว่​่าง PPP Plastics กั​ั บ โครงการวน ร่​่วมกั​ั บ กระทรวง ทรั​ัพยากรธรรมชาติ​ิและสิ่​่�งแวดล้​้อม ห้​้างร้​้านต่​่าง ๆ และผู้​้� ประกอบการรี​ีไซเคิ​ิล โดยมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์หลั​ักเพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุน นโยบายของภาครั​ั ฐ ที่​่� จ ะนำำ� พลาสติ​ิ ก เป้​้ า หมายกลั​ั บ มาใช้​้ ประโยชน์​์ให้​้ได้​้ 100% ภายในปี​ี พ.ศ. 2570 2. การพั​ัฒนานโยบาย และกฎหมาย (Policy & Legislation) โดย PPP Plastics มี​ีส่​่วนร่​่วมในการกำำ�หนดนโยบายและ

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Technology Showcase จากทิ​ิศทางของอุ​ุตสาหกรรมโลกที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญเรื่​่�องของสิ่​่�ง แวดล้​้อมและเศรษฐกิ​ิ จหมุ​ุ น เวี​ียนมากขึ้​้� น จะเป็​็ น เครื่​่� อ งบ่​่งชี้​้� ทิ​ิศทางของอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกของไทยในอนาคตอั​ันใกล้​้ว่​่า ความต้​้องการพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิลในการผลิ​ิตมี​ีแนวโน้​้มเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�น ดั​ังนั้​้�น การยกระดั​ับศั​ักยภาพด้​้านการบริ​ิหารจั​ัดการขยะพลาสติ​ิก รวมถึ​ึงการให้​้ความรู้​้�ความเข้​้าใจเกี่​่�ยวกั​ับการคั​ัดแยกขยะพลาสติ​ิก ของคนในประเทศเพื่​่�อให้​้มี​ีวั​ัตถุ​ุดิ​ิบสำำ�หรั​ับการผลิ​ิตที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพ และเพี​ียงพอ จะตั​ัวชี้​้�วั​ัดสำำ�คั​ัญสำำ�หรั​ับการเติ​ิบโตของอุ​ุตสาหกรรม พลาสติ​ิกไทยในอนาคต■

SMART Molding Magazine

Plastics ในการประชาสั​ั ม พั​ั น ธ์​์ เ ผยแพร่​่ข้​้อมู​ูลไปสู่​่� สั​ั ง คม ภายนอกในวงกว้​้าง 5. การพั​ัฒนานวั​ัตกรรมในภาคอุ​ุตสาหกรรม (Innovation) โดยจะมุ่​่�งเน้​้นส่​่งเสริ​ิมการใช้​้นวั​ัตกรรมและเทคโนโลยี​ีในการ จั​ัดการขยะพลาสติ​ิกอย่​่างยั่​่�งยื​ืนและปลอดภั​ัย ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ี โครงการภายใต้​้ยุ​ุทธศาสตร์​์ของ PPP Plastics ที่​่�ได้​้การพั​ัฒนา ไปแล้​้ว อาทิ​ิ โครงการถนนพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิลเป็​็นความร่​่วมมื​ือ ระหว่​่างกลุ่​่�มบริ​ิษั​ัท ดาว ประเทศไทย และ เอสซี​ีจี​ี โดยมี​ีจุ​ุด ประสงค์​์หลั​ักเพื่​่�อนำำ�บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกที่​่�ใช้​้แล้​้วที่​่�มี​ีมู​ูลค่​่า น้​้อยหรื​ือยากต่​่อการนำำ�ไปรี​ีไซเคิ​ิลด้​้วยเทคโนโลยี​ีปั​ัจจุ​ุบั​ัน มา ใช้​้ประโยชน์​์ให้​้ได้​้สู​ูงสุ​ุดตาม หลั​ักการเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน โดย การนำำ�มาใช้​้ทดแทนยางมะตอยประมาณ 8% ในกระบวนการ ทำำ�ถนนยางมะตอย ประโยชน์​์ที่​่�ได้​้รั​ับ คื​ือ ถนนจะมี​ีความแข็​็ง แรงมากขึ้​้�น 15 – 33% ต้​้านทานการกั​ัดเซาะของน้ำำ��ได้​้ดี​ียิ่​่�งขึ้​้�น ลดการเกิ​ิดก๊​๊าซเรื​ือนกระจกจากการผลิ​ิตยางมะตอย ซึ่​่�งจะ เป็​็นการสร้​้างมาตรฐานใหม่​่ให้​้กั​ับการทำำ�ถนนของประเทศไทย ที่​่�แข็​็งแรงและตอบโจทย์​์การส่​่งเสริ​ิมการบริ​ิหารจั​ัดการขยะ อย่​่างถู​ูกวิ​ิ ธี​ี และการใช้​้ทรั​ั พ ยากรอย่​่างคุ้​้� ม ค่​่าเพื่​่� อ ให้​้ เ กิ​ิ ด ประโยชน์​์สู​ูงสุ​ุดอี​ีกด้​้วย 6. การบริ​ิหารจั​ัดการโครงการ (Funding) เพื่​่�อดู​ูแลบริ​ิหาร จั​ัดการงบประมาณเพื่​่�อดำำ�เนิ​ินงานให้​้บรรลุ​ุตามวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ ของ PPP Plastics ที่​่�กำำ�หนดไว้​้ โดยสรุ​ุปจะเห็​็นได้​้ว่​่าประเทศไทยเป็​็นประเทศที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับ เรื่​่�องของการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกอย่​่างมากในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ในฐานะที่​่� ไทยเป็​็นประเทศที่​่�มี​ีอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกขนาดใหญ่​่อั​ันดั​ับต้​้น ๆ ของภู​ูมิ​ิ ภ าค มี​ีผู้​้� ป ระกอบการที่​่� มี​ี ความพร้​้อมตลอดทั้​้� ง ห่​่วงโซ่​่ อุ​ุปทาน อี​ีกทั้​้�งภาครั​ัฐและองค์​์กรเอกชนต่​่างขานรั​ับแนวทางการ ขั​ับเคลื่​่�อนเศรษฐกิ​ิจอุ​ุตสาหกรรมด้​้วยแนวคิ​ิดเศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน สะท้​้อนจากการพั​ัฒนาเครื​ือข่​่ายความร่​่วมมื​ือภาครั​ัฐ ภาคธุ​ุรกิ​ิจ ภาคประชาสั​ังคม เพื่​่�อจั​ัดการพลาสติ​ิกและขยะอย่​่างยั่​่�งยื​ืน หรื​ือ PPP Plastics ที่​่� เ กิ​ิ ด ขึ้​้� น จากการร่​่วมแรงร่​่วมใจและการมี​ี อุ​ุดมการณ์​์ร่​่วมกั​ันของทุ​ุกภาคส่​่วน ในการแก้​้ปั​ัญหาสิ่​่�งแวดล้​้อม และยกระดั​ับจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกอย่​่างยั่​่�งยื​ืน

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

39


Technology Showcase

เทคโนโลยี​ี Internet of Molding (IoM) คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

ด้​้วยความก้​้าวหน้​้าของ IoM บริ​ิษั​ัท Minnotec มี​ีวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ใน การนำำ�แนวคิ​ิดนี้​้�มาสู่​่�อุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิต โดยเฉพาะในด้​้าน แม่​่ พิ​ิมพ์​์และการขึ้​้�นรู​ูป ให้​้บริ​ิการให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาเพื่​่�อช่​่วยแปลงข้​้อมู​ูล จากเครื่​่�องฉี​ีดและใช้​้ข้​้อมู​ูลนั้​้�นเพื่​่�อวิ​ิเคราะห์​์โรงงานและสถานะ การผลิ​ิต เช่​่น Utilization Rate, Availability, Downtime, Cycle time, Yield Rate เป็​็นต้​้น เป้​้าหมายคื​ือการช่​่วยปรั​ับปรุ​ุง ประสิ​ิทธิ​ิภาพการผลิ​ิตและลดการสู​ูญเสี​ียวั​ัสดุ​ุในแบบเรี​ียลไทม์​์ เพื่​่�อก้​้าวไปสู่​่� Industry 4.0 ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันเป็​็นวิ​ิธี​ีที่​่�เร็​็วและถู​ูกที่​่�สุ​ุด เพื่​่�อแนะนำำ�ระบบการดำำ�เนิ​ินการผลิ​ิต (MES) ให้​้กั​ับโรงงานฉี​ีด พลาสติ​ิก ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของเราได้​้รั​ับการพั​ัฒนามานานกว่​่า 2 ปี​ี ได้​้ ดำำ�เนิ​ินการติ​ิดตั้​้�งและใช้​้งานไปแล้​้วกว่​่า 500 เครื่​่�องทั่​่�วเอเชี​ียตะวั​ัน ออกเฉี​ียงใต้​้ เนื่​่�องจากเราเชื่​่�อมั่​่�นในแนวโน้​้มของ IoT ในการฉี​ีด ขึ้​้�นรู​ูป บริ​ิษั​ัทเรามี​ีที​ีมงาน R&D ที่​่�ทุ่​่�มเททำำ�งานอย่​่างหนั​ักในเรื่​่�อง นี้​้�ทุ​ุกวั​ัน เทคโนโลยี​ี IoM มาช่​่วยการจั​ั ด การอุ​ุ ต สาหกรรม ง่​่ายต่​่อการ ควบคุ​ุมกระบวนการผลิ​ิต ตั​ัวอย่​่าง Case Study ที่​่�ทางบริ​ิษั​ัทได้​้

40

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

■Minnotec Thailand

ทำำ�การดำำ�เนิ​ินการแก้​้ไขปั​ัญหา มานำำ�เสนอให้​้เห็​็นประโยชน์​์จาก การใช้​้เทคโนโลยี​ีนี้​้� และทำำ�ให้​้ทราบถึ​ึงแนวทางการใช้​้งาน สามารถ เข้​้าใจสถานะการทำำ� งานของอุ​ุ ป กรณ์​์ ต่​่ าง ๆ ในเวลาที่​่� ต่​่ างกั​ั น สามารถทำำ�การเชื่​่�อมต่​่อแบบหลายโรงงาน และสามารถติ​ิดตั้​้�งกั​ับ เครื่​่�องจั​ักรได้​้หลายแบรนด์​์ จากข้​้อมู​ูลที่​่�ได้​้ทำำ�ให้​้สามารถวิ​ิเคราะห์​์ ได้​้ว่​่า มี​ีเครื่​่�องจั​ักรที่​่�หยุ​ุดการผลิ​ิต

ตั​ั ว อย่​่ า งโครงการส่​่ ง เสริ​ิ ม อุ​ุ ต สาหกรรม อั​ั จฉริ​ิ ย ะประจำำ�ปี​ี 2563 ของกระทรวง เศรษฐกิ​ิจประเทศไต้​้หวั​ัน

โรงงาน A เป็​็นองค์​์กรสั​ัญชาติ​ิญี่​่�ปุ่​่�นที่​่�มี​ีวิ​ิธี​ีการจั​ัดการที่​่�เข้​้มงวด อย่​่างไรก็​็ตามเนื่​่�องจากอุ​ุปกรณ์​์และสภาพฐานการผลิ​ิตที่​่�ห่​่างกั​ัน ของโรงงานทั้​้�งสองแห่​่ง เมื่​่�อเกิ​ิดเหตุ​ุการณ์​์ไม่​่ปกติ​ิ ผู้​้�จั​ัดการจึ​ึงต้​้อง รี​ีบเดิ​ินทางจากสำำ�นั​ักงานไปที่​่�โรงงาน และไม่​่สามารถทำำ�การแก้​้ไข และดำำ�เนิ​ินการได้​้ในทั​ันที​ี ดั​ังนั้​้�นเราจึ​ึงต้​้องมี​ีการบั​ันทึ​ึกสถานะ การผลิ​ิ ต ในแบบเรี​ียลไทม์​์ โ ดยการแนะนำำ� กล่​่องรั​ั บ สั​ั ญ ญาณ อั​ั จ ฉริ​ิ ย ะและแสดงผลแบบเรี​ียลไทม์​์ เพื่​่� อ ให้​้ผู้​้� จั​ั ด การสามารถ เข้​้าใจสถานะการผลิ​ิตปั​ัจจุ​ุบั​ันโดยไม่​่ต้​้องไปที่​่�โรงงาน


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : เครื่​่�องจั​ักรที่​่�จะทำำ�การติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์และการติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์เข้​้ากั​ับเครื่​่�องจั​ักร เป้​้าหมายของโครงการ คื​ือ แสดงภาพสถานะอุ​ุปกรณ์​์ของทั้​้�ง โรงงาน ทำำ�ให้​้ผู้​้�จั​ัดการสามารถเข้​้าใจสถานะในสถานที่​่�ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงาน ในสำำ�นั​ักงานได้​้ เข้​้าใจอั​ัตราการใช้​้ประโยชน์​์ของเครื่​่�องจั​ักรทั้​้�ง โรงงานอย่​่างแท้​้จริ​ิง และระบบจะสร้​้างรายงานโดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ ช่​่วย ลดเวลาสำำ�หรั​ับบุ​ุคลากรในการประเมิ​ินข้​้อมู​ูลและวางแผนการ ผลิ​ิต การควบคุ​ุมเสถี​ียรภาพในการผลิ​ิตแบบเรี​ียลไทม์​์ ทำำ�ให้​้ผู้​้� จั​ัดการสามารถกำำ�หนดมาตรฐานการผลิ​ิตตามรายงานเพื่​่�อเพิ่​่�ม กำำ�ลั​ังการผลิ​ิต โดยการติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์บนเครื่​่�องฉี​ีด ดั​ังรู​ูปที่​่� 2

ปรั​ับปรุ​ุงเวลาการเคลื่​่�อนย้​้ายอุ​ุปกรณ์​์

ลดระยะเวลาในการประมวลผลข้​้อมู​ูลการ ผลิ​ิต

สามารถลดเวลาในการสื่​่�อสารและคั​ัดลอกข้​้อมู​ูล ในอดี​ีตผู้​้�ช่​่วยจะลาดตระเวนโรงงาน รวบรวมข้​้อมู​ูล ตรวจตรา และสื่​่�อสาร และยั​ังมี​ีโรงงานอี​ีก 2 แห่​่ง ใช้​้เวลาประมาณ 150 นาที​ีต่​่อวั​ั น หลั​ั ง จากให้​้คำำ�ปรึ​ึ กษาและใช้​้ IoM ระบบจะสร้​้าง รายงานโดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ ซึ่​่�งใช้​้เวลาประมาณ 30 นาที​ีเท่​่านั้​้�น (15035)/150= ลดเวลาลง 77%

โครงการนี้​้� สร้​้ างเครื​ื อ ข่​่ า ยอุ​ุ ป กรณ์​์ แ ละ เครื่​่�องจั​ักรในพื้​้�นที่​่�โรงงานทั้​้�งสองแห่​่งของ บริ​ิษั​ัท A ได้​้

ในกรณี​ีนี้​้� ได้​้มี​ีการจั​ัดตั้​้�งเครื​ือข่​่ายอุ​ุปกรณ์​์และเครื่​่�องจั​ักรในพื้​้�นที่​่� โรงงานทั้​้�งสองแห่​่งของบริ​ิษั​ัท A เพื่​่�อให้​้ผู้​้�จั​ัดการสามารถตรวจ สอบสถานะในสถานที่​่�ทำำ�งานจากระยะไกลได้​้ ไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องเดิ​ิน ทางระหว่​่างโรงงานทั้​้�งสองเพื่​่�อตรวจสอบสถานการณ์​์

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

[ชั่​่�วโมงการทำำ�งาน] ทำำ�งาน 6 วั​ันต่​่อสั​ัปดาห์​์ (3 กะ 24 ชั่​่�วโมง) [เวลาในการผลิ​ิต] ประมาณ 20 ชั่​่�วโมงต่​่อวั​ัน [เวลาขนย้​้ายแม่​่พิ​ิมพ์​์] เวลาเฉลี่​่�ย 30 นาที​ี และแต่​่ละเครื่​่�อง เปลี่​่�ยนวั​ันละ 3 ครั้​้�ง รวมเป็​็น 90 นาที​ี [ระยะเวลาเปลี่​่�ยนแม่​่พิ​ิมพ์​์] ครั้​้�งละประมาณ 30 นาที​ี (3 ครั้​้�ง รวมเป็​็น 90 นาที​ี) [ระยะเวลาผิ​ิดปกติ​ิไม่​่ได้​้ใช้​้งาน] ค่​่าเฉลี่​่�ยรายวั​ันเฉลี่​่�ยประมาณ 65 นาที​ีก่​่อนติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์ [{1,200(รายวั​ัน) - 90 (เวลาขนย้​้ายแม่​่พิ​ิมพ์​์) – 90 (ระยะเวลาใน การเปลี่​่� ย นแม่​่พิ​ิ ม พ์​์ ) -65(ระยะเวลาผิ​ิ ด ปกติ​ิ ไ ม่​่ได้​้ใช้​้งาน)}/ 1,200(รายวั​ัน)] = 79.6% หลั​ังจากการติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์แต่​่ละกะสามารถลดเวลาลงได้​้ 10 นาที​ี (ระยะเวลารอในการเปลี่​่�ยนแม่​่พิ​ิมพ์​์) รวมเป็​็น 30 นาที​ี และเวลา

ว่​่างที่​่�ผิ​ิดปกติ​ิสามารถสั้​้�นลงได้​้ 30 นาที​ี [{1,200(รายวั​ัน)-90(เวลาขนย้​้ายแม่​่พิ​ิมพ์​์) - 60 (ระยะเวลาใน การเปลี่​่� ย นแม่​่พิ​ิ ม พ์​์ ) -35(ระยะเวลาผิ​ิ ด ปกติ​ิ ไ ม่​่ได้​้ใช้​้งาน)}/ 1,200(รายวั​ัน)] = 84.6% เพิ่​่�มอั​ัตราการเคลื่​่�อนย้​้ายเวลาอุ​ุปกรณ์​์ 5%

41


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 2 : แดชบอร์​์ดเปรี​ียบเที​ียบก่​่อนและหลั​ังการปรั​ับปรุ​ุง หลั​ังการปรั​ับปรุ​ุงจะเห็​็นได้​้ว่​่าเปอร์​์เซ็​็นเพิ่​่�มขึ้​้�น เท่​่ากั​ับว่​่าเวลาเปลี่​่�ยน แม่​่พิ​ิมพ์​์จะลดลงได้​้ 30 นาที​ี และเวลาว่​่างที่​่�ผิ​ิดปกติ​ิสามารถสั้​้�นลงได้​้ 30 นาที​ี นอกจากนี้​้� รายงานการผลิ​ิ ต ที่​่� ถู​ู กสร้​้างขึ้​้� น ผ่​่านการรวบรวม อั​ัตโนมั​ัติ​ิของระบบ ไม่​่เพี​ียงแต่​่ทำำ�ให้​้การดำำ�เนิ​ินการผลิ​ิตทั้​้�งหมด มี​ีเสถี​ียรภาพมากขึ้​้�น ยั​ังสามารถช่​่วยให้​้บุ​ุคลากรที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องลด เวลาที่​่�ใช้​้ในการประมวลผลข้​้อมู​ูลการผลิ​ิต ผู้​้�ใช้​้สามารถติ​ิดตั้​้�ง กล่​่องอั​ัจฉริ​ิยะในอุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตแม่​่พิ​ิมพ์​์ฉี​ีดจากาแบบเดิ​ิม เพื่​่�อสร้​้างบริ​ิบทแอปพลิ​ิเคชั​ันการผลิ​ิตที่​่�ชาญฉลาด ซึ่​่�งเป็​็นก้​้าว สำำ�คั​ั ญ สำำ�หรั​ั บ เครื่​่� อ งจั​ั ก รอั​ั จ ฉริ​ิ ย ะและการผลิ​ิ ต อั​ั จ ฉริ​ิ ย ะของ อุ​ุตสาหกรรมการผลิ​ิตแม่​่พิ​ิมพ์​์ฉี​ีดแบบเดิ​ิม การช่​่วยเหลื​ือโรงงาน A ในการสร้​้างการผลิ​ิต ข้​้อมู​ูล และเข้​้าใจสถานการณ์​์ในสถานที่​่� ทำำ�งานทั​ันที​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพของพนั​ักงาน สถานะเสร็​็จสิ้​้�นการสั่​่�ง ซื้​้�อ ฯลฯ ลดต้​้นทุ​ุนการจั​ัดการและปรั​ับปรุ​ุงประสิ​ิทธิ​ิภาพของ โรงงานได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ■ SMART Molding Magazine

42

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Technology Showcase

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

43


Technology Showcase

ความเค้​้นตกค้​้างที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นภายในกระบวนการฉี​ีด คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

ความเค้​้นตกค้​้าง (Residual Stress) เป็​็นปั​ัญหาทั่​่�วไปที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น ในกระบวนการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปพลาสติ​ิกทุ​ุกชนิ​ิด และไม่​่สามารถหลี​ีก เลี่​่� ย งการฉี​ีดขึ้​้� น รู​ูปพลาสติ​ิ ก โดยที่​่� ไ ม่​่มี​ีความเค้​้นตกค้​้างได้​้ ค่​่า ความเค้​้นตกค้​้างนี้​้�ควรได้​้รั​ับการประเมิ​ินในระหว่​่างการออกแบบ ว่​่ามี​ีค่​่าที่​่� ม ากเกิ​ิ น กว่​่าค่​่ามาตรฐานที่​่� ผู้​้� ผ ลิ​ิ ต วั​ั ส ดุ​ุ แ นะนำำ�หรื​ื อไม่​่ ความเค้​้นตกค้​้างเป็​็นปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญที่​่�ส่​่งผลต่​่อความแข็​็งแรงของชิ้​้�น งานโดยตรง เมื่​่�อชิ้​้�นงานถู​ูกนำำ�ไปประกอบและใช้​้งานไปสั​ักระยะ หนึ่​่�งแล้​้วจะเกิ​ิดเป็​็นความเสี​ียหายให้​้เห็​็น เช่​่น รอยร้​้าวในชิ้​้�นงาน รอยแตกที่​่�ผิ​ิวชิ้​้�นงาน รอยแตกภายในชิ้​้�นงาน หากเป็​็นชิ้​้�นงานที่​่� ต้​้องเข้​้าสู่​่�กระบวนการผลิ​ิตรอง เช่​่น พ่​่นสี​ี ชุ​ุบ ก็​็เกิ​ิดเป็​็นปั​ัญหา รอยด่​่างที่​่�ผิ​ิวชิ้​้�นงาน

5 ปั​ัจจั​ัยที่​่�ทำำ�ให้​้เกิ​ิดความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้�น งานพลาสติ​ิก 1. เทอร์​์โมพลาสติ​ิกมี​ีโครงสร้​้างโมเลกุ​ุลเป็​็นโมเลกุ​ุลสายยาว มี​ี

ลั​ักษณะคล้​้ายเส้​้นบะหมี่​่�กึ่​่�งสำำ�เร็​็จรู​ูป (รู​ูปที่​่� 1) เมื่​่�อได้​้รั​ับความ ร้​้อนและแรงดั​ั น จากการฉี​ีดจะทำำ� ให้​้ ส ายโมเลกุ​ุ ลนี้​้� ยื​ื ดออก 44

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

■Minnotec Thailand

คล้​้ายยางยื​ืดเมื่​่�อเราดึ​ึงยางยื​ืดให้​้ยื​ืดออก จะรั​ับรู้​้�ได้​้ว่​่ามั​ันมี​ีแรง ดึ​ึง แต่​่เมื่​่�อเราปล่​่อย มั​ันก็​็จะกลั​ับสู่​่�รู​ูปร่​่างเดิ​ิม การยื​ืดออกของ ยางยื​ืดเป็​็นเหมื​ือนสิ่​่�งที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับสายโมเลกุ​ุลของพอลิ​ิเมอร์​์ 2. ในระหว่​่างการฉี​ีดเติ​ิมเต็​็ม เรากำำ�ลั​ังบั​ังคั​ับให้​้สายโมเลกุ​ุลพอลิ​ิ เมอร์​์คลายตั​ัวออก (รู​ูปที่​่� 2) ความหนา-บางของผนั​ังชิ้​้�นงานมี​ี ส่​่วนต่​่อการเย็​็นตั​ัวของพลาสติ​ิก เมื่​่�อพอลิ​ิเมอร์​์ไหลไปในผนั​ัง ที่​่�บางและสั​ัมผั​ัสกั​ับผิ​ิวแม่​่พิ​ิมพ์​์ที่​่�เย็​็น จะทำำ�ให้​้พอลิ​ิเมอร์​์แข็​็ง ตั​ัวในทั​ันที​ี (Quenching) และเป็​็นการล็​็อคสายโมเลกุ​ุลไว้​้ใน ลั​ักษณะที่​่�ถู​ูกยื​ืดออกไม่​่สามารถกลั​ับคื​ืนสู่​่�สภาพเดิ​ิมได้​้ ในทาง กลั​ับกั​ันผนั​ังที่​่�มี​ีความหนามาก สายโมเลกุ​ุลก็​็จะมี​ีเวลามากกว่​่า ที่​่� จ ะกลั​ั บ คื​ืนสู่​่� ส ภาพเดิ​ิ ม ก่​่อนที่​่� จ ะแข็​็ ง ตั​ั ว และมี​ีความเค้​้น ตกค้​้างน้​้อยกว่​่า 3. เมื่​่�อใช้​้ความเร็​็วในการฉี​ีดสู​ูงจะส่​่งผลต่​่อการวางแนวของสาย โมเลกุ​ุล ซึ่​่�งสายโมเลกุ​ุลจะถู​ูกยื​ืดออกไปได้​้มาก ส่​่งผลให้​้มี​ี ความเค้​้นตกค้​้างมากกว่​่าการฉี​ีดที่​่�ใช้​้ความเร็​็วต่ำำ�� การวางแนว ของสายโมเลกุ​ุลที่​่�ผิ​ิวชิ้​้�นงานมี​ีผลต่​่อชิ้​้�นงานที่​่�ต้​้องนำำ�ไปพ่​่นสี​ี หรื​ือชุ​ุบ ซึ่​่�งอนุ​ุภาคของสี​ีหรื​ือสารที่​่�ชุ​ุบสามารถซึ​ึมลงไปในแนว ของสายโมเลกุ​ุล ทำำ�ให้​้เห็​็นเป็​็นรอยด่​่างที่​่�ผิ​ิวของชิ้​้�นงาน


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : ลั​ักษณะการเรี​ียงตั​ัวสายโมเลกุ​ุลของเทอร์​์โมพลาสติ​ิก

รู​ูปที่​่� 2 : แสดงให้​้เห็​็นการยื​ืดตั​ัวของสายโมเลกุ​ุลในกระบวนการ ต่​่าง ๆ

4. อุ​ุณหภู​ูมิ​ิแม่​่พิ​ิมพ์​์ อุ​ุณหภู​ูมิ​ิแม่​่พิ​ิมพ์​์ที่​่�สู​ูงจะช่​่วยลดความเค้​้น

ประสิ​ิทธิ​ิภาพในการตรวจสอบลดต่ำำ��ลงหรื​ือตรวจสอบได้​้ยากขึ้​้�น หลั​ักการทำำ�งานของ Stress Viewer คื​ือ แสงจะส่​่องผ่​่านเพลทด้​้าน ล่​่าง ผ่​่านตั​ัวชิ้​้�นงานไปฉายที่​่�เลนส์​์ด้​้านบน เมื่​่�อมองจากด้​้านบนลง มาผ่​่านเลนส์​์ด้​้านบน ซึ่​่�งเลนส์​์ด้​้านบนมี​ีหน้​้าที่​่�หั​ักเหและกระจาย แสง จึ​ึงทำำ�ให้​้เห็​็นรู​ูปแบบความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้�นงาน (รู​ูปที่​่� 6)

การใช้​้เครื่​่อ� งมื​ือช่​่วยตรวจหาความเค้​้นตกค้​้าง ในชิ้​้�นงาน

วิ​ิธีกี ารตรวจดู​ูความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้�นงานผ่​่าน Stress Viewer

• ตรวจสอบจากสี​ี สี​ีจะแสดงให้​้ เ ห็​็ น บริ​ิ เวณที่​่� เ กิ​ิ ด ความเค้​้น ตกค้​้าง • รอยริ้​้�ว บริ​ิเวณที่​่�มี​ีรอยริ้​้�วเยอะคื​ือบริ​ิเวณที่​่�มี​ีความเค้​้นตกค้​้าง อยู่​่ม� าก ในกรณี​ีที่​่�มี​ีรอยริ้​้�วเกิ​ิดขึ้​้น� เยอะเป็​็นบริ​ิเวณที่​่มี​ี� ความเค้​้น สะสมอยู่​่�มาก มี​ีแนวโน้​้มที่​่�จะเกิ​ิดปั​ัญหาและเกิ​ิดความเสี​ียหาย ได้​้ง่​่ายสั​ังเกตุ​ุจาก (รู​ูปที่​่� 7) ในกรอบหมายเลข 3 จะเห็​็นว่​่ามี​ี รอยริ้​้�วมากที่​่�สุ​ุดและเป็​็นบริ​ิเวณที่​่�อยู่​่�ใกล้​้กั​ับทางเข้​้า (Gate) ที่​่�สุ​ุดเมื่​่�อนำำ�ชิ้​้�นงานไปทดสอบ พื้​้�นที่​่�ในกรอบหมายเลข 3 จะ เกิ​ิดความเสี​ียหายได้​้ง่​่ายกว่​่าพื้​้�นที่​่�ในกรอบหมายเลข 2 และ 1 ตามลำำ�ดั​ับ

Stress Viewer เป็​็นเครื่​่�องมื​ือที่​่�ใช้​้ตรวจดู​ูตำำ�แหน่​่งที่​่�มี​ีความเค้​้น ตกค้​้างในชิ้​้�นงาน เหมาะกั​ับวั​ัสดุ​ุที่​่�มี​ีความโปร่​่งใส แสงสามารถ ผ่​่านได้​้มาก ถึ​ึงจะได้​้ประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงสุ​ุดในการตรวจสอบ สำำ�หรั​ับ วั​ั สดุ​ุ ที่​่� มี​ี ความโปร่​่งแสงหรื​ือแสงสามารถผ่​่านได้​้น้​้อย จะทำำ�ให้​้ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

ตกค้​้างที่​่�ผิ​ิวชิ้​้�นงานได้​้มากกว่​่า ในขณะที่​่�อุ​ุณหภู​ูมิ​ิของแม่​่พิ​ิมพ์​์ ที่​่�ต่ำำ��จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดความเค้​้นตกค้​้างที่​่�ผิ​ิวชิ้​้�นงานมากขึ้​้�น นั่​่�นเป็​็น เหตุ​ุผลที่​่�ทำำ�ให้​้ชิ้​้�นงานแอ่​่นตั​ัวเข้​้าหาแม่​่พิ​ิมพ์​์ฝั่​่�งที่​่�มี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิสู​ูง (รู​ูปที่​่� 4) ชิ้​้�นงานที่​่�มี​ีความเค้​้นตกค้​้างอยู่​่�มาก เมื่​่�อนำำ�ไปใช้​้ในที่​่� ที่​่�มี​ีความร้​้อน เช่​่น ชิ้​้�นส่​่วนภายในรถยนต์​์ ชิ้​้�นงานจะหดตั​ัวลง เรื่​่�อยๆ (สั​ังเกตได้​้จากรอยประกอบที่​่�กว้​้างขึ้​้�น) จนกว่​่าสาย โมเลกุ​ุลจะหดคื​ืนสู่​่�สภาพเดิ​ิมได้​้ 5. ปั​ัญหาจากการออกแบบชิ้​้�นงาน บางส่​่วนที่​่�บางหรื​ือบางส่​่วนที่​่� เย็​็นตั​ัวเร็​็วกว่​่า จะมี​ีอั​ัตราการหดตั​ัวแตกต่​่างจากส่​่วนที่​่�หนา ชิ้​้�น งานที่​่�มี​ีความหนา-บางของผนั​ังที่​่�ไม่​่เท่​่ากั​ัน เมื่​่�อเอาปั​ัจจั​ัยดั​ัง กล่​่าวมารวมกั​ั นในชิ้​้� น งานเดี​ียว จะได้​้ชิ้​้� น งานที่​่� มี​ี ความเค้​้น สะสมสู​ูง และชิ้​้�นงานอาจจะเปลี่​่�ยนรู​ูปหรื​ือผิ​ิดไปจากรู​ูปร่​่าง เดิ​ิมเมื่​่�อเวลาผ่​่านไป การใช้​้โปรแกรมจำำ�ลองผลเข้​้ามาช่​่วย จะ ทำำ�ให้​้เห็​็นแนวโน้​้มการเสี​ียรู​ูปของชิ้​้�นงานได้​้ว่​่า ชิ้​้�นงานมี​ีแนว โน้​้มที่​่�จะเสี​ียรู​ูปไปในทิ​ิศทางใดได้​้บ้​้าง (รู​ูปที่​่� 5)

45


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 3 : การเรี​ียงตั​ัวของสายโมเลกุ​ุล

การโปรแกรมจำำ�ลองการฉี​ีดวิ​ิเคราะห์​์ปั​ัญหา ความเค้​้นตกค้​้างได้​้อย่​่างไร

SMART Molding Magazine

46

โปรแกรมจำำ�ล องการฉี​ีดหรื​ือที่​่� เรี​ียกว่​่า Computer Aided Engineering (CAE) เป็​็นซอฟต์​์แวร์​์และเทคโนโลยี​ีวิ​ิศวกรรมที่​่�นำำ� คอมพิ​ิวเตอร์​์เข้​้ามาช่​่วยในงานวิ​ิศวกรรม ซึ่​่�งใช้​้การจำำ�ลองสถานะ การณ์​์และวิ​ิเคราะห์​์ด้​้วยคอมพิ​ิวเตอร์​์ เพื่​่�อช่​่วยในการพิ​ิจารณา และพั​ัฒนากระบวนการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปที่​่�ซั​ับซ้​้อน CAE รวบรวมความ ซั​ับซ้​้อนของคุ​ุณสมบั​ัติ​ิการไหล, ความร้​้อนและสมบั​ัติ​ิเชิ​ิงกลของ วั​ัสดุ​ุและช่​่วยให้​้นั​ักออกแบบและนั​ักพั​ัฒนาที่​่�จะทำำ�การวิ​ิเคราะห์​์ เชิ​ิงคุ​ุณภาพและเชิ​ิงปริ​ิมาณ เพื่​่�อพิ​ิจารณาสำำ�หรั​ับการออกแบบแม่​่ พิ​ิมพ์​์ โปรแกรมจำำ�ลองการฉี​ีดสามารถใช้​้ตรวจสอบดู​ูบริ​ิเวณที่​่�มี​ี ความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้�นงาน เพื่​่�อทำำ�การปรั​ับเปลี่​่�ยนเงื่​่�อนไขการฉี​ีด หรื​ือแก้​้ไขการออกแบบชิ้​้�นงานและแม่​่พิ​ิมพ์​์ได้​้ ผ่​่านคอมพิ​ิวเตอร์​์ ก่​่อนที่​่�จะสร้​้างแม่​่พิ​ิมพ์​์ ทำำ�ให้​้ลดเวลาในการทดลองฉี​ีด และเพิ่​่�ม โอกาสสำำ�เร็​็จในการฉี​ีดครั้​้�งแรก■ Reference John Bozzelli, Marvin Wang, Molding Simulation: Theory and Practice เทคนิ​ิคงานโลหะ การสร้​้างแม่​่พิ​ิมพ์​์

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

รู​ูปที่​่� 4 : Stress Viewer และ การหั​ักเหของแสงที่​่�ถู​ูกส่​่องผ่​่าน เลนส์​์

รู​ูปที่​่� 5 : แสดงการเสี​ียรู​ูปของชิ้​้�นงานผ่​่านโปรแกรมจำำ�ลองผล


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 6 : ชิ้​้�นงานที่​่�นำำ�มาส่​่องผ่​่าน Stress Viewer

รู​ูปที่​่� 7 : Stress Viewer เครื่​่�องมื​ือที่​่�ใช้​้ตรวจดู​ูตำำ�แหน่​่งที่​่�มี​ีความเค้​้นตกค้​้างในชิ้​้�นงาน

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

47


Technology Showcase

ลดเวลาการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่องและสร้​้างองค์​์ความรู้​้ใ� นกระบวนการ ฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปพลาสติ​ิกด้​้วย DiagBes Web 4.0 ■Plexpert คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

48

เมื่​่�อกล่​่าวถึ​ึงข้​้อพร่​่องที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในกระบวนการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปพลาสติ​ิก เรา คงนึ​ึกถึ​ึงกระบวนการผลิ​ิตที่​่�มี​ีของเสี​ียเกิ​ิดขึ้​้�น ซึ่​่�งปริ​ิมาณของของเสี​ีย สามารถเป็​็นตั​ัวกำำ�หนดระหว่​่างผลกำำ�ไรและขาดทุ​ุนสำำ�หรั​ับชิ้​้�นส่​่วน หรื​ือผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ นั้​้� น ๆ ดั​ั ง นั้​้� น เราจึ​ึงต้​้องมี​ีแนวทางการแก้​้ไขข้​้อ บกพร่​่องที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิผลมากที่​่�สุ​ุด โดยแนวทางการแก้​้ไขส่​่วนมากมา จาก ประสบการณ์​์ การปรึ​ึกษาผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ ตำำ�รา บทความวิ​ิชาการ บทความงานวิ​ิจั​ัย บทความตามสื่​่�ออิ​ินเทอร์​์เน็​็ต หรื​ือการปรึ​ึกษากลุ่​่�ม เฉพาะด้​้านในสื่​่�อสั​ังคมออนไลน์​์ แต่​่อย่​่างไรก็​็ตามแนวทางการแก้​้ไข เหล่​่านี้​้�มั​ักเป็​็นคำำ�แนะทั่​่�วไป และไม่​่คำำ�ถึ​ึงปั​ัจจั​ัยที่​่�ไม่​่แน่​่นอนต่​่าง ๆ เช่​่น เครื่​่�องจั​ักร การปรั​ับตั้​้�งค่​่าเครื่​่�องฉี​ีดพลาสติ​ิก ประเภทและความ ซั​ับซ้​้อนของแม่​่พิ​ิมพ์​์ วั​ัสดุ​ุที่​่�ใช้​้ในการฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูป และสภาพแวดล้​้อม ในการผลิ​ิต อาจทำำ�ให้​้สู​ูญเสี​ียเวลาและทรั​ัพยากรในการทดลองปรั​ับ ฉี​ีดตามแนวทางต่​่าง ๆ มี​ีความยุ่​่�งยากในการจั​ัดเก็​็บข้​้อมู​ูลแนวทาง การแก้​้ไขอย่​่างเป็​็นระบบ เช่​่น แนวทางที่​่�ใช้​้แล้​้วมี​ีประสิ​ิทธิ​ิผล ข้​้อ บกพร่​่องที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นบ่​่อย ข้​้อบกพร่​่องที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นในแต่​่ละแม่​่พิ​ิมพ์​์ และ จำำ� นวนของเสี​ียที่​่� เ กิ​ิ ด ขึ้​้� น เป็​็ น ต้​้น จึ​ึงไม่​่สามารถตอบสนอง สถานการณ์​์อุ​ุตสาหกรรมในปั​ัจจุ​ุบั​ันที่​่�มี​ีความเข็​็มข้​้นและหลากหลาย SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

การแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่องด้​้วย DiagBes Web 4.0

ความแตกต่​่างระหว่​่างการใช้​้ซอฟต์​์แวร์​์ DiagBes Web 4.0 กั​ับ แนวทางการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่องที่​่�กล่​่าวมาข้​้างต้​้นคื​ือ DiagBes เป็​็น ซอฟต์​์แวร์​์ที่​่�อยู่​่�ในรู​ูปแบบของ browser-based client-server solution โดยสามารถเข้​้าถึ​ึงผ่​่านเครื่​่�องคอมพิ​ิวเตอร์​์ แท็​็บเล็​็ต และโทรศั​ัพท์​์มื​ือถื​ือ ผ่​่านเครื​ือข่​่ายอิ​ินทราเน็​็ตภายในขององค์​์กร ทำำ�ให้​้ผู้​้�ปรั​ับฉี​ีด หรื​ือผู้​้�จั​ัดการโครงการสามารถตอบสนองต่​่อข้​้อ บกพร่​่องได้​้ทั​ันที​ี และได้​้รั​ับแนวทางการแก้​้ไขทั้​้�งหมดที่​่�เหมาะสม โดย DiagBes จะเสนอแนวทางการแก้​้ไขบนพื้​้�นฐานของข้​้อมู​ูลที่​่� ผู้​้�ใช้​้งานป้​้อนเข้​้าไป และจั​ัดลำำ�ดั​ับแนวทางการแก้​้ไขที่​่�ใช้​้แล้​้วมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิผลมากที่​่�สุ​ุดเป็​็นอั​ันดั​ับแรก และลดหลั่​่�นตามลำำ�ดั​ับของ ประสิ​ิทธิ​ิผลในการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่อง ทำำ�ให้​้สามารถลดเวลาในการ แก้​้ไขข้​้อบกพร่​่อง ลดปริ​ิมาณของเสี​ีย ลดความสิ้​้�นเปลื​ืองของวั​ัสดุ​ุ และพลั​ังงานที่​่�เกิ​ิดจากการปรั​ับทดลองฉี​ีดแล้​้วไม่​่เกิ​ิดประสิ​ิทธิ​ิผล

ซอฟต์​์แวร์​์ DiagBes Web 4.0 จะถู​ูกติ​ิดตั้​้�งบนฐานข้​้อมู​ูลกลาง ทำำ�ให้​้ทุ​ุกคนภายในองค์​์กรที่​่�ได้​้รั​ับอนุ​ุญาตสามารถเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูล


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : กลุ่​่�มข้​้อบกพร่​่องตามลั​ักษณะ

รู​ูปที่​่� 2 : รายชื่​่�อข้​้อบกพร่​่อง

และแนวทางการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่องผ่​่านเครื​ือข่​่ายอิ​ินทราเน็​็ต โดย การเข้​้าถึ​ึงและระดั​ับการเข้​้าถึ​ึงจะถู​ูกกำำ�หนดโดยผู้​้�ดู​ูแลระบบ หาก มี​ีข้​้อบกพร่​่องเกิ​ิดขึ้​้�นในสายการผลิ​ิตหรื​ือขณะทำำ�การทดสอบแม่​่ พิ​ิมพ์​์ ผู้​้�ปรั​ับฉี​ีดสามารถเปิ​ิดซอฟต์​์แวร์​์ผ่​่านโทรศั​ัพท์​์มื​ือถื​ือเพื่​่�อ แนวทางการแก้​้ไขที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิผลได้​้ทั​ันที​ี โดยซอฟต์​์แวร์​์จะแสดง ข้​้อบกพร่​่องในรู​ูปแบบกลุ่​่�ม (รู​ูปที่​่� 1) ซึ่​่�งแบ่​่งตามลั​ักษณะของ กายภาพ หรื​ือในรู​ูปแบบรายชื่​่�อของข้​้อบกพร่​่องทั้​้�งหมด (รู​ูปที่​่� 2) ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับการปรั​ับตั้​้�งค่​่าของซอฟต์​์แวร์​์ ทำำ�ให้​้ไม่​่ต้​้องเสี​ียเวลาใน การหาแนวทางการแก้​้ไขจากแหล่​่งข้​้อมู​ูลต่​่าง ๆ และมี​ีข้​้อมู​ูล ทั้​้�งหมดอยู่​่�ในมื​ือหรื​ือปลายนิ้​้�วของผู้​้�ปรั​ับฉี​ีด

ของซอฟต์​์แวร์​์ DiagBes และในขณะเดี​ียวกั​ันผู้​้�ใช้​้งานร่​่วมที่​่�ได้​้รั​ับ อนุ​ุญาตก็​็สามารถเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูลได้​้เหมื​ือนกั​ัน

หากผู้​้�ใช้​้งานพบแนวทางการไขข้​้อพกร่​่องที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิผลมากกว่​่า ผู้​้�ใช้​้งานสามารถเพิ่​่�มแนวการแก้​้ไขใหม่​่เข้​้าไปยั​ังฐานข้​้อมู​ูลกลาง

ซอฟต์​์แวร์​์ DiagBes มี​ีข้​้อดี​ีที่​่�มากกว่​่าเมื่​่�อเที​ียบกั​ับการใช้​้แนวทาง การแก้​้ไขทั่​่�วไป เช่​่น การใช้​้ตำำ�รา หรื​ือ Booklets ดั​ังนี้​้� • ผู้​้�ใช้​้งานสามารถเข้​้าถึ​ึงข้​้อมู​ูลได้​้ในเวลาพร้​้อมกั​ัน • มี​ีการเรี​ียนรู้​้�แบบอั​ัตโนมั​ัติ​ิ • การสร้​้างลำำ�ดั​ับแนวทางการแก้​้ไขอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ • ขยายฐานความรู้​้�อย่​่างยื​ืดหยุ่​่�น • มี​ีข้​้อมู​ูลที่​่�ทั​ันสมั​ัยอยู่​่�เสมอ นอกจากนี้​้�แล้​้ว ซอฟต์​์แวร์​์ยั​ังสามารถแสดงข้​้อมู​ูลทางสถิ​ิติ​ิของข้​้อ บกพร่​่อง จำำ�นวนที่​่เ� กิ​ิดขึ้​้น� และข้​้อบกพร่​่องที่​่เ� กิ​ิดขึ้​้น� ในแต่​่ละแม่​่พิ​ิมพ์​์

SMART Molding Magazine

เมื่​่�อพบข้​้อบกพร่​่องในซอฟต์​์แวร์​์ที่​่�มี​ีลั​ักษณะตรงตามข้​้อบกพร่​่อง ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจริ​ิง จะมี​ีคำำ�อธิ​ิบายถึ​ึงสาเหตุ​ุของข้​้อบกพร่​่อง พร้​้อม รู​ูปภาพประกอบ (รู​ูปที่​่� 3) และแนวทางการแก้​้ไขทั้​้�งหมดที่​่�เป็​็น ไปได้​้ (รู​ูปที่​่� 4) ในขณะเดี​ียวกั​ันซอฟต์​์แวร์​์จะค่​่อย ๆ เรี​ียนรู้​้�ว่​่า แนวทางไหนเป็​็นแนวทางการแก้​้ไขที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิผลมากที่​่�สุ​ุด หาก มี​ีข้​้อบกพร่​่องเดิ​ิมเกิ​ิดขึ้​้�นซ้ำำ��อี​ีก ซอฟต์​์แวร์​์จะแสดงแนวทางการ แก้​้ไขที่​่� มี​ีป ระสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพมากที่​่� สุ​ุ ด เป็​็ น ลำำ�ดั​ั บ แรก ทำำ� ให้​้ผู้​้� ใช้​้งาน สามารถลดเวลาในการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่อง โดยไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องปรั​ับ แก้​้ไขตามลำำ�ดั​ับแนวทางการแก้​้ไขจากตำำ�รา หรื​ือ Booklets

ในกรณี​ีของการพบข้​้อบกพร่​่องใหม่​่ก็​็เช่​่นกั​ัน ผู้​้�ใช้​้งานสามารถเพิ่​่�ม ชื่​่� อ ของข้​้อบกพร่​่อง คำำ� อธิ​ิ บ ายพร้​้อมรู​ูปภาพประกอบ และ แนวทางการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่องไปยั​ังฐานข้​้อมู​ูลกลาง ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการ สร้​้างฐานข้​้อมู​ูลที่​่�เป็​็น Know-How และองค์​์ความรู้​้�เฉพาะของ องค์​์กรขึ้​้�น และเมื่​่�อมี​ีพนั​ักงานใหม่​่ก็​็สามารถเรี​ียนรู้​้�จากฐานข้​้อมู​ูล ที่​่�มี​ีอยู่​่�ได้​้ทั​ันที​ี

การใช้​้งานซอฟต์​์แวร์​์จึ​ึงเป็​็นแนวทางที่​่�เหมาะสมกั​ับสถานการณ์​์ อุ​ุตสาหกรรมในปั​ัจจุบัุ นั และทำำ�ให้ก้ ารทำำ�งานของผู้​้�ใช้​้งานง่​่ายขึ้​้น� ■

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

49


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 3 : รู​ูปประกอบข้​้อบกพร่​่อง

รู​ูปที่​่� 4 : แนวทางการแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่อง

SMART Molding Magazine

50

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Technology Showcase

Matsui aims is “factor 4” in molding factories

Doubling wealth, halving resource use in molding factories

Half Cost, Double Profits!

AERO REMOVER เพิ​ิมผลผลิต และมูลค่า

ลดและเแก้ไขปปญหาการปนเปปปอน ปปองกันการเกิดฝฝา จุดด่าง รอยไหม้ รอยดํา หรือนําํ หนักไม่สมําํ เสมอ สินค้าเหมาะสําหรับ การปปองกันปปญหา ึ รูปทีเี กิดจากผงเรซิน ในการขึน ิ ื ติดตัง ื งฉีดทีใี ช้ MAT เมือ ั ร่วมกับเครือ ี ฝ ทีม ี น ุ เยอะ หรือ Regrind ได

ตัวอย่างการติดตัง ั SMART Molding Magazine

CONTACT DETAIL MATSUI (ASIA) CO., LTD.

300 Moo 4 Soi 5 C Bangpoo Industrial Estate Sukhumvit Road, Tambol Praksa , Amphur Muang Samutprakarn 10280

www.matsui-asia.co.th

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4) 02-709-34854 , 063-231-5853

Salesbangkok@matsui.net

51


Technology Showcase

ทำำ�ไมระบบเฉพาะสำำ�หรั​ับการพั​ัฒนาแม่​่พิมิ พ์​์พลาสติ​ิกจึ​ึงขาดไม่​่ได้​้ ■Moldex3D

คำำ�นำ�ำ

เมื่​่�อพู​ูดถึ​ึงเครื่​่�องมื​ือที่​่�มี​ีประโยชน์​์ที่​่�สามารถเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการ ทำำ�งานเป็​็นที​ีมได้​้ เรามั​ักจะนึ​ึกถึ​ึงระบบ Product Lifecycle Management (PLM) อย่​่างไรก็​็ตาม สำำ�หรั​ับผู้​้�ออกแบบชิ้​้�นส่​่วน พลาสติ​ิกและแม่​่พิ​ิมพ์​์ ระบบ PLM ทั่​่�วไปอาจไม่​่เพี​ียงพอ เหตุ​ุผล ก็​็คื​ือพวกเขาไม่​่สามารถร่​่วมมื​ืออย่​่างเต็​็มที่​่�กั​ับกระบวนการพั​ัฒนา แม่​่พิ​ิมพ์​์พลาสติ​ิกที่​่�ต้​้องใช้​้เวลา มี​ีความซั​ับซ้​้อน และมั​ักจะมี​ีค่​่าใช้​้ จ่​่ายสู​ูงเกิ​ินไปสำำ�หรั​ับวิ​ิสาหกิ​ิจขนาดกลางและขนาดย่​่อมที่​่�จะนำำ� มาใช้​้ SMART Molding Magazine

52

การทำำ�แม่​่พิ​ิมพ์​์พลาสติ​ิกมี​ีการออกแบบและกระบวนการผลิ​ิตที่​่� เป็​็นเอกลั​ักษณ์​์ การเปลี่​่�ยนแปลงการออกแบบบ่​่อยครั้​้�งและมี​ี ระยะเวลาในการจั​ัดส่​่งที่​่�สั้​้�น ทำำ�ให้​้สถานการณ์​์มี​ีความท้​้าทายมาก ยิ่​่�งขึ้​้�น นอกจากนี้​้� เนื่​่�องจากอุ​ุตสาหกรรมนี้​้�มี​ีอุ​ุปสรรคในการเข้​้าสู่​่� ระดั​ั บ สู​ูง ความรู้​้� แ ละทั​ั ก ษะจึ​ึงมี​ีแนวโน้​้มที่​่� จ ะเกิ​ิ ด ขึ้​้� น ภายใต้​้ สถานการณ์​์ เ หล่​่านี้​้� การรั​ั ก ษาและสื​ืบทอดประสบการณ์​์ ก าร ออกแบบเป็​็นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญอย่​่างยิ่​่�งสำำ�หรั​ับองค์​์กรในปั​ัจจุ​ุบั​ัน

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

PLM มุ่​่�งเน้​้นไปที่​่�การจั​ัดการวงจรชี​ีวิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์โดยรวม ไม่​่มี​ี คุ​ุณสมบั​ัติ​ิที่​่�ครอบคลุ​ุมเพื่​่�อนำำ�ข้​้อมู​ูลการออกแบบและวิ​ิศวกรรม มารวมกั​ัน อุ​ุตสาหกรรมต้​้องการแพลตฟอร์​์มเพื่​่�อช่​่วยให้​้ได้​้รั​ับ ความรู้​้�ด้​้านการออกแบบและการขึ้​้�นรู​ูป และจั​ัดระเบี​ียบข้​้อมู​ูล เหล่​่านี้​้�ในรู​ูปแบบที่​่�อ่​่านได้​้ ค้​้นหาได้​้ และมองเห็​็นได้​้สำำ�หรั​ับการ ใช้​้งานในอนาคต อย่​่างไรก็​็ตาม เครื่​่�องมื​ือที่​่�มี​ีประโยชน์​์สำำ�หรั​ับการ ติ​ิดตามกระบวนการเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพการออกแบบ การแชร์​์ทั​ันที​ี และการแสดงภาพผลการจำำ�ลอง การเปรี​ียบเที​ียบการทดลองใน การใช้​้แม่​่พิ​ิมพ์​์และข้​้อมู​ูลการตรวจสอบคุ​ุณภาพในระบบ PLM ส่​่วนใหญ่​่ขาดหายไป ทุ​ุกชิ้​้�นส่​่วนพลาสติ​ิกและการพั​ัฒนาแม่​่พิ​ิมพ์​์เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับหลายขั้​้�น ตอนและความสามารถที่​่�แตกต่​่างกั​ัน เช่​่น การออกแบบผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ การออกแบบแม่​่พิ​ิมพ์​์ การผลิ​ิตแม่​่พิ​ิมพ์​์ การทดสอบแม่​่พิ​ิมพ์​์ และ การผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ เมื่​่�อได้​้รั​ับโครงการใหม่​่จากคำำ�ขอภายในหรื​ือ ลู​ูกค้​้าภายนอกผ่​่าน PLM ผู้​้�จั​ัดการฝ่​่ายออกแบบมั​ักจะจั​ัดการ ประชุ​ุมเบื้​้�องต้​้นเกี่​่�ยวกั​ับการออกแบบเพื่​่�อการผลิ​ิต (DFM) เพื่​่�อ กำำ�หนดข้​้อกำำ�หนดของชิ้​้�นส่​่วนสำำ�หรั​ับการเตรี​ียมใบเสนอราคา


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : iSLM จั​ัดการวงจรการพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์อย่​่างสมบู​ูรณ์​์ด้​้วยความสามารถที่​่�ครอบคลุ​ุมเพื่​่�อติ​ิดตามกระบวนการเพิ่​่�ม ประสิ​ิทธิ​ิภาพการออกแบบและความรู้​้�ด้​้านการขึ้​้�นรู​ูป จากนั้​้�นจะมี​ีการออกแบบและการจำำ�ลองซ้ำำ��หลายครั้​้�งเพื่​่�อตั​ัดสิ​ิน ใจเกี่​่�ยวกั​ับจำำ�นวนเกท ตำำ�แหน่​่งเกท และขนาดเกท ปรั​ับปรุ​ุง สมดุ​ุ ล การไหล ปรั​ั บ ระบบรั​ั น เนอร์​์ แ ละวงจรน้ำำ�� ให้​้ เ หมาะสม ประมาณการรอบเวลาและจั​ัดการกั​ับปั​ัญหาการหดตั​ัวและการบิ​ิด งอที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้�น ฯลฯ หลั​ังจากขั้​้�นตอนสุ​ุดท้​้าย สรุ​ุปการออกแบบ แม่​่พิ​ิมพ์​์ เหล็​็กกล้​้าแม่​่พิ​ิมพ์​์ถู​ูกตั​ัดและประกอบสำำ�หรับั การทดสอบ แม่​่พิ​ิมพ์​์ครั้​้�งแรก (T0) ก่​่อน T0 จะมี​ีประโยชน์​์มากหากได้​้รั​ับคำำ� แนะนำำ�จากการจำำ�ลองเพื่​่�อปรั​ับเงื่​่�อนไขกระบวนการให้​้เหมาะสม ที่​่�สุ​ุด การแก้​้ไขข้​้อบกพร่​่องของเครื่​่�องมื​ือ การเพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพ ชิ้​้�นส่​่วน และการทดสอบแม่​่พิ​ิมพ์​์จะดำำ�เนิ​ินการต่​่อไปเพื่​่�อให้​้ได้​้ชิ้​้�น ส่​่วนที่​่�ยอมรั​ับได้​้และมี​ีต้​้นทุ​ุนที่​่�แข่​่งขั​ันได้​้

แตกต่​่างจากระบบ PLM ทั่​่�วไป iSLM เป็​็นแพลตฟอร์​์มบนเว็​็บที่​่� สามารถบั​ันทึ​ึกข้​้อมู​ูลการออกแบบแม่​่พิ​ิมพ์​์ต่​่าง ๆ เช่​่น ข้​้อมู​ูลวั​ัสดุ​ุ ข้​้อมู​ูลจำำ�เพาะของเครื่​่�องจั​ักร โครงการวิ​ิเคราะห์​์ Moldex3D CAE ข้​้อมู​ูลแม่​่พิ​ิมพ์​์ เงื่​่�อนไขการทดลองใช้​้แม่​่พิ​ิมพ์​์ และผลการขึ้​้�นรู​ูป เป็​็นต้​้น ผู้​้�ใช้​้สามารถเข้​้าถึ​ึงได้​้ แพลตฟอร์​์มการจั​ัดการข้​้อมู​ูลนี้​้�ผ่​่าน เบราว์​์เซอร์​์บนอุ​ุปกรณ์​์ใดก็​็ได้​้ทุ​ุกที่​่� ผู้​้�ใช้​้สามารถคลิ​ิกเพี​ียงครั้​้ง� เดี​ียวเพื่​่อ� อั​ัปโหลดโปรเจ็​็กต์​์ Moldex3D ไปยั​ัง iSLM ระบบสามารถดึ​ึงข้​้อมู​ูลตั​ัวแทนของข้​้อมู​ูลโครงการได้​้ โดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ ซึ่​่�งรวมถึ​ึงข้​้อมู​ูลการจำำ�ลอง แบบจำำ�ลอง วั​ัสดุ​ุ และ เงื่​่�อนไขการขึ้​้�นรู​ูป ฯลฯ iSLM รองรั​ับการแสดงภาพ 3 มิ​ิติ​ิของผล การวิ​ิเคราะห์​์ทั​ันที​ี ไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องดาวน์​์โหลดโครงการทั้​้�งหมดกลั​ับ ไปยั​ั ง คอมพิ​ิ ว เตอร์​์ เ ดสก์​์ ท็​็ อ ปในพื้​้� น ที่​่� ข องผู้​้� ใช้​้เพื่​่� อ แสดงภาพ สมาชิ​ิ ก ในที​ีมหรื​ือลู​ูกค้​้าสามารถดู​ูข้​้อมู​ูลการวิ​ิ เ คราะห์​์ ผ่​่ าน เบราว์​์เซอร์​์และทำำ�งานร่​่วมกั​ันแบบเรี​ียลไทม์​์ได้​้

SMART Molding Magazine

กระบวนการข้​้างต้​้นมี​ีความสำำ�คั​ัญต่​่อความสามารถในการแข่​่งขั​ัน ในระยะยาวของแต่​่ละบริ​ิษั​ัท อย่​่างไรก็​็ตาม วิ​ิศวกรต่​่างดู​ูแลขั้​้�น ตอนต่​่าง ๆ ในกระบวนการทั้​้�งหมด และข้​้อมู​ูลของพวกเขามั​ักจะ ถู​ูกจั​ัดเก็​็บไว้​้ในซอฟต์​์แวร์​์ ฮาร์​์ดแวร์​์ หรื​ือระบบไฟล์​์ต่​่าง ๆ เพื่​่�อ ให้​้แน่​่ใจว่​่าเวิ​ิร์​์กโฟลว์​์คล่​่องตั​ัวและสามารถตรวจสอบย้​้อนกลั​ับได้​้ จำำ�เป็​็นต้​้องรวมและจั​ัดระบบข้​้อมู​ูลที่​่�กระจั​ัดกระจายเหล่​่านี้​้�ให้​้อยู่​่� บนแพลตฟอร์​์มเดี​ียว

ความพิ​ิเศษของ iSLM

เมื่​่�อบั​ันทึ​ึกการตั้​้�งค่​่ากระบวนการ การเชื่​่�อมต่​่อเครื่​่�องฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปกั​ับ iSLM ผ่​่านระบบการดำำ�เนิ​ินการผลิ​ิต (MES) นั้​้�นเหมาะสมที่​่�สุ​ุด อย่​่างไร ก็​็ตาม เนื่​่�องจากระบบดิ​ิจิ​ิทั​ัลมี​ีระดั​ับต่ำำ��ในโรงงานฉี​ีดขึ้​้�นรู​ูปส่​่วนใหญ่​่ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

53


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 2 : iSLM มี​ีฟั​ังก์​์ชั​ันเฉพาะเพื่​่�อเปรี​ียบเที​ียบผลการจำำ�ลองกั​ับตั​ัวอย่​่างการขึ้​้�นรู​ูปจริ​ิงอย่​่างครอบคลุ​ุม แบบจำำ�ลองต่​่าง ๆ สามารถเปรี​ียบเที​ียบได้​้ในมุ​ุมมองภาพ 3 มิ​ิติ​ิเดี​ียวกั​ัน และสามารถเปรี​ียบเที​ียบข้​้อมู​ูลการขึ้​้�นรู​ูปในกราฟเดี​ียวกั​ันได้​้

SMART Molding Magazine

54

จึ​ึงไม่​่ใช่​่เรื่​่�องแปลกที่​่�โรงงานจำำ�นวนมากยั​ังคงบั​ันทึ​ึกเงื่​่�อนไขของ กระบวนการไว้​้บนกระดาษ บริ​ิ ษั​ั ทต่​่ าง ๆ ไม่​่ควรรอจนกว่​่า เครื่​่�องจั​ักรทั้​้�งหมดของตนจะเชื่​่�อมต่​่อกั​ับเครื​ือข่​่ายก่​่อนที่​่�จะเริ่​่�ม สร้​้างฐานข้​้อมู​ูลความรู้​้� ด้​้ านการขึ้​้� น รู​ูป ซึ่​่� งเสี่​่� ย งต่​่อการสู​ูญเสี​ีย ประสบการณ์​์และความสามารถอั​ันมี​ีค่​่าในการขึ้​้�นรู​ูปทุ​ุกวั​ัน iSLM มี​ีเครื่​่�องมื​ือที่​่�สามารถช่​่วยรวบรวมพารามิ​ิเตอร์​์การขึ้​้�นรู​ูปของการ ทดสอบแม่​่พิ​ิมพ์​์ในสถานที่​่� ครอบคลุ​ุมพารามิ​ิเตอร์​์กระบวนการ ทั้​้�งหมด รวมถึ​ึงการควบคุ​ุมอุ​ุณหภู​ูมิ​ิของบริ​ิเวณสกรู​ู การตั้​้�งค่​่าการ เปิ​ิดและปิ​ิดแม่​่พิ​ิมพ์​์ การทำำ�ให้​้เป็​็นพลาสติ​ิกของสกรู​ู การตั้​้�งค่​่า การไหลย้​้อนกลั​ับของสกรู​ูและการตั้​้�งค่​่าระยะชั​ัก (การฉี​ีด การฉี​ีด ย้ำำ�� การดี​ีดออก ฯลฯ) สำำ�หรั​ับเครื่​่�องขึ้​้�นรู​ูปบางประเภท iSLM ยั​ัง รองรั​ับการแปลงสภาพกระบวนการจากภาพหน้​้าจอที่​่�ถ่​่ายด้​้วย แท็​็บเล็​็ตหรื​ือสมาร์​์ทโฟน การรู้​้�จำำ�อั​ักขระด้​้วยแสง (OCR) ถู​ูกฝั​ัง อยู่​่� ใ น iSLM เพื่​่� อ แปลงพารามิ​ิ เ ตอร์​์ เ ครื่​่� อ งจั​ั ก รได้​้อย่​่างมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพ ประหยั​ัดแรงงานอย่​่างมาก และหลี​ีกเลี่​่�ยงข้​้อผิ​ิด พลาดของมนุ​ุษย์​์ หลั​ังจากนั้​้�น รายงานการทดลองใช้​้แม่​่พิ​ิมพ์​์จะ ถู​ูกสร้​้างขึ้​้�นโดยอั​ัตโนมั​ัติ​ิ เพื่​่�อป้​้องกั​ันข้​้อผิ​ิดพลาดที่​่�เกิ​ิดจากการ คั​ัดลอกแบบฟอร์​์มการทดลองใช้​้ด้​้วยตนเอง

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

ตั​ัวช่​่วยเก็​็บรั​ักษาข้​้อมู​ูลที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

นอกจากนี้​้�ข้​้อมู​ูลการตรวจสอบคุ​ุณภาพหลั​ังการทดลองใช้​้แม่​่พิ​ิมพ์​์ สามารถเก็​็บรั​ักษาไว้​้อย่​่างเหมาะสมบน iSLM เนื่​่�องจากผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ส่​่วนใหญ่​่มั​ักต้​้องการรายการตรวจสอบเฉพาะ iSLM จึ​ึงสนั​ับสนุ​ุน คอลั​ั ม น์​์ ร ายการตรวจสอบที่​่� กำำ�ห นดเองเพื่​่� อ ตอบสนองความ ต้​้องการที่​่�แตกต่​่างกั​ัน เพื่​่�อรั​ักษาทั้​้�งการทดสอบแม่​่พิ​ิมพ์​์ CAE เสมื​ือนและข้​้อมู​ูลการทดลองใช้​้แม่​่พิ​ิมพ์​์ในสถานที่​่�จริ​ิง iSLM จึ​ึง นำำ�เสนอคุ​ุณลั​ักษณะการเปรี​ียบเที​ียบทางกายภาพเสมื​ือนที่​่�ไม่​่ เหมื​ือนใคร ผู้​้�ใช้​้สามารถเปรี​ียบเที​ียบข้​้อมู​ูล เช่​่น การไหลไม่​่เต็​็ม และเส้​้นโค้​้งการขึ้​้�นรู​ูปบนอิ​ินเทอร์​์เฟซเว็​็บได้​้อย่​่างง่​่ายดาย ผลการ เปรี​ียบเที​ียบสามารถบั​ันทึ​ึกในระบบเพื่​่�อตรวจสอบในครั้​้�งต่​่อไป หรื​ือส่​่งออกรายงานไปยั​ังลู​ูกค้​้า เนื่​่�องจากอุ​ุตสาหกรรมในปั​ัจจุ​ุบั​ันกำำ�ลั​ังสร้​้างข้​้อมู​ูลจำำ�นวนมากยิ่​่�ง ขึ้​้�นเกี่​่�ยวกั​ับโลกทางกายภาพ “แฝดดิ​ิจิ​ิทั​ัล” จึ​ึงมี​ีความจำำ�เป็​็นและ สร้​้างระบบดิ​ิจิ​ิทั​ัลที่​่�สอดคล้​้องกั​ันเพื่​่�อจั​ัดเก็​็บและใช้​้ข้​้อมู​ูลเหล่​่านี้​้� ได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ เมื่​่�อโหมดการผลิ​ิตมี​ีความซั​ับซ้​้อน วิ​ิธี​ีการ จั​ั ด การและบำำ�รุ​ุ ง รั​ั ก ษาข้​้อมู​ูลขนาดใหญ่​่ดั​ั ง กล่​่าวก็​็ จำำ� เป็​็ น ต้​้อง พั​ัฒนาต่​่อไปเช่​่นกั​ัน ในการแข่​่งขั​ันของการผลิ​ิตอั​ัจฉริ​ิยะ การเลื​ือก เครื่​่� อ งมื​ือที่​่� เ หมาะสมเป็​็ น สิ่​่� ง สำำ�คั​ั ญ สำำ�หรั​ั บ องค์​์ ก รในการเพิ่​่� ม


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 3 : iSLM มอบฟั​ังก์​์ชั​ันอั​ันทรงพลั​ังในการแปลงการตั้​้�งค่​่าเครื่​่�องเป็​็นข้​้อมู​ูลดิ​ิจิ​ิทั​ัลโดยใช้​้เทคโนโลยี​ี Optical Character Recognition (OCR) ช่​่วยให้​้สามารถเชื่​่�อมต่​่อดิ​ิจิ​ิทั​ัลได้​้ทั​ันที​ีสำำ�หรั​ับโรงงานที่​่�ไม่​่มี​ี MES ประสิ​ิทธิ​ิภาพการผลิ​ิตและเร่​่งการเปลี่​่�ยนแปลงทางดิ​ิจิ​ิทั​ัล iSLM ได้​้รั​ับการออกแบบมาเพื่​่�อช่​่วยรวบรวมความรู้​้�ด้​้านการออกแบบ และรั​ับประสบการณ์​์การขึ้​้�นรู​ูปและเปลี่​่�ยนสิ​ินทรั​ัพย์​์ดิ​ิจิ​ิทั​ัลเหล่​่านี้​้� เป็​็นฐานความรู้​้ที่� ่มี​ีค่​่ � า นำำ�มู​ูลค่​่าเพิ่​่�มเติ​ิมและตระหนั​ักถึ​ึงความยั่​่�งยื​ืน ขององค์​์กร■

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

55


Technology Showcase

การไหลที่​่�ไม่​่สมดุ​ุลในระบบป้​้อนของแม่​่พิ​ิมพ์​์หลายคาวิ​ิตี้​้�

■สรศั​ักดิ์​์� วงค์​์มณี​ี, มหาวิ​ิทยาลั​ัยเทคโนโลยี​ีพระจอมเกล้​้าพระนครเหนื​ือ

คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

56

เป็​็นที่​่�ทราบกั​ันว่​่า ในการออกแบบแม่​่พิ​ิมพ์​์ฉี​ีดที่​่�มี​ีหลายคาวิ​ิตี้​้�ด้​้วย ระบบทางวิ่​่�งเย็​็น (แบบที่​่�ทุ​ุกคาวิ​ิตี้​้�มี​ีปริ​ิมาตรเท่​่ากั​ัน) ผู้​้�ออกแบบ แม่​่พิ​ิมพ์​์มั​ักจะออกแบบให้​้จำำ�นวนคาวิ​ิตี้​้�มี​ีจำำ�นวนเพิ่​่�มขึ้​้�นเป็​็น 2 เท่​่า (ในกรณี​ีวางตำำ�แหน่​่งคาวิ​ิตี้​้�เป็​็นแบบแถว) เช่​่น 2, 4, 8, 16.... เพื่​่�อง่​่ายต่​่อการทำำ�ให้​้ระยะทางของทางวิ่​่�งมี​ีระยะทางการไหลเท่​่า กั​ันในทุ​ุกคาวิ​ิตี้​้� (ในรู​ูปแบบตั​ัว H) แต่​่หลายครั้​้�งพบว่​่า แม้​้ว่​่าระยะ ทางของทางวิ่​่�งที่​่�พลาสติ​ิกไหลไปเติ​ิมเต็​็มชิ้​้�นงานเท่​่ากั​ันก็​็จริ​ิง แต่​่ ชิ้​้�นงานในแต่​่ละคาวิ​ิตี้​้�ได้​้รั​ับการฉี​ีดเติ​ิมเต็​็มที่​่�ไม่​่พร้​้อมกั​ัน ส่​่งผลต่​่อ คุ​ุณภาพของชิ้​้�นงานที่​่�ได้​้รั​ับ สาเหตุ​ุหนึ่​่�งที่​่�ทำำ�ให้​้เกิ​ิดลั​ักษณะเช่​่นนี้​้� คื​ือ อุ​ุ ณ หภู​ูมิ​ิ ข องพลาสติ​ิ ก หลอมในระบบป้​้ อ นเพิ่​่� ม สู​ูงขึ้​้� น จาก ความเร็​็วในการฉี​ีดชิ้​้�นงาน

อั​ัตราเฉื​ือน ความหนื​ืด และอุ​ุณหภู​ูมิ​ิ

การไหลของพลาสติ​ิกหลอมภายในทางวิ่​่�งนั้​้�น ทำำ�ให้​้เกิ​ิดผลหลาย อย่​่างกั​ับตั​ัวพลาสติ​ิกหลอมเอง เช่​่น ความหนื​ืดของพลาสติ​ิกหลอม ไม่​่เท่​่ากั​ั น ตลอดหน้​้าตั​ั ด ของทางวิ่​่� ง เป็​็ น ผลมาจากอั​ั ต ราเฉื​ือน อุ​ุณหภู​ูมิ​ิและปั​ัจจั​ัยอื่​่�นๆ รู​ูปที่​่� 1 แสดงรู​ูปแบบการกระจายของ SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

อั​ัตราเฉื​ือนในช่​่วงการฉี​ีดเติ​ิมเต็​็มภายในทางวิ่​่�ง อั​ัตราเฉื​ือนสู​ูงสุ​ุด เกิ​ิดขึ้​้�นที่​่�บริ​ิเวณใกล้​้กั​ับขอบด้​้านนอกของทางวิ่​่�ง ในขณะที่​่�ตรง กลางของทางวิ่​่�งจะเกิ​ิดอั​ัตราเฉื​ือนที่​่�น้​้อยกว่​่ามาก จากลั​ักษณะการเกิ​ิดขึ้​้�นของอั​ัตราเฉื​ือนภายในทางวิ่​่�ง (รู​ูปที่​่� 1) เมื่​่�ออั​ัตราเฉื​ือนสู​ูงขึ้​้�นพลาสติ​ิกหลอมบริ​ิเวณนั้​้�นจะมี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิสู​ูง ขึ้​้�น เนื่​่�องจากการไหลเฉื​ือนกั​ันเองของวั​ัสดุ​ุ (ปกติ​ิจะสู​ูงมากกว่​่า อุ​ุณหภู​ูมิ​ิหลอมที่​่�ใช้​้ในการฉี​ีดตามเงื่​่�อนไขนั้​้�นๆ) และด้​้วยเหตุ​ุผลนี้​้� เอง เมื่​่�ออุ​ุณหภู​ูมิ​ิในหน้​้าตั​ัดของทางวิ่​่�งไม่​่เท่​่ากั​ัน การไหลแยกออก ไปตามทางวิ่​่�งเพื่​่�อเติ​ิมเต็​็มชิ้​้�นงาน จะทำำ�ให้​้อุ​ุณหภู​ูมิ​ิของพลาสติ​ิก หลอมที่​่�ไหลแยกออกไปไม่​่เท่​่ากั​ัน ส่​่วนที่​่�อุ​ุณหภู​ูมิ​ิสู​ูงจะไหลไปได้​้ ไกลกว่​่า มากกว่​่า เนื่​่�องจากอุ​ุณหภู​ูมิ​ิสู​ูงส่​่งผลทำำ�ให้​้ความหนื​ืดต่ำำ�� และไหลได้​้ดี​ีกว่​่า จากรู​ูปที่​่� 2 จะพบว่​่าเมื่​่�อพลาสติ​ิกหลอมไหลเข้​้าสู่​่�ทางวิ่​่�งลำำ�ดั​ับที่​่� 3 ด้​้านซ้​้ายของทางวิ่​่�งจะเป็​็นส่​่วนของพลาสติ​ิกหลอมที่​่�มี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิ สู​ูง ความหนื​ืดต่ำำ��และไหลได้​้ดี​ี ในขณะที่​่� ด้​้านขวาของทางวิ่​่�งจะ เป็​็นส่​่วนที่​่�มี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิต่ำำ�� ความหนื​ืดสู​ูงและไหลยาก


Technology Showcase โปรแกรมจำำ�ลองการฉี​ีดสามารถวิ​ิเคราะห์​์ ปั​ัญหาได้​้อย่​่างไร

โปรแกรมจำำ�ลองสามารถเข้​้ามาช่​่วยในการจำำ�ลองและวิ​ิเคราะห์​์ ลั​ักษณะของอุ​ุณหภู​ูมิ​ิ ความหนื​ืดและการไหลของพลาสติ​ิกหลอม ในทางวิ่​่�ง ตามเงื่​่�อนไขการฉี​ีดชิ้​้�นงานที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ซึ่​่�งส่​่งผลต่​่อ การเติ​ิมเต็​็มชิ้​้�นงานที่​่�ต่​่างกั​ันออกไป เนื่​่�องจากมี​ีความเป็​็นไปได้​้ ของการวางรู​ูปแบบทางวิ่​่�งที่​่�หลากหลายตามจำำ�นวนของคาวิ​ิตี้​้�ที่​่� กำำ�หนด (รู​ูปที่​่� 3) การคาดเดาลั​ักษณะการไหลของพลาสติ​ิกใน ทางวิ่​่�งจึ​ึงเป็​็นเรื่​่�องที่​่�ค่​่อนข้​้างจะยาก

รู​ูปที่​่� 1 : รู​ูปแบบของอั​ัตราเฉื​ือนตามหน้​้าตั​ัดของทางวิ่​่�ง

จากรู​ูปที่​่� 4 รู​ูปที่​่� 5 และรู​ูปที่​่� 6 โปรแกรมจำำ�ลองการฉี​ีดชิ้​้�นงาน สามารถแสดงให้​้เห็​็นลั​ักษณะการกระจายของอุ​ุณหภู​ูมิ​ิจากทางวิ่​่�ง เข้​้าสู่​่�ชิ้​้�นงาน รู​ูปที่​่� 4 แสดงให้​้เห็​็นว่​่า แม่​่พิ​ิมพ์​์ฉี​ีดชิ้​้�นงานแบบหลาย คาวิ​ิตี้​้� (ในรู​ูปมี​ี 16 คาวิ​ิตี้​้�) แม้​้ว่​่าจะออกแบบระบบทางวิ่​่�งให้​้มี​ี ระยะทางในการไหลไปที่​่�ชิ้​้�นงานเท่​่ากั​ัน ลั​ักษณะของการเพิ่​่�ม อุ​ุณหภู​ูมิ​ิพลาสติ​ิกหลอมในชิ้​้�นงานแต่​่ละคาวิ​ิตี้​้�นั้​้�นไม่​่เท่​่ากั​ัน ยื​ืนยั​ัน ได้​้จากอั​ัตราไหลที่​่�ตำำ�แหน่​่งทางเข้​้าของแต่​่ละคาวิ​ิตี้​้�เป็​็นผลจาก ความหนื​ืดและอุ​ุณหภู​ูมิ​ิในรู​ูปที่​่� 5 ซึ่​่�งเป็​็นไปตามลั​ักษณะที่​่ไ� ด้​้กล่​่าว ไว้​้ตามรู​ูปที่​่� 2

Reference Wang, M.-L., Chang, R.-Y., & Hsu, C.-H. (David). (2018). Molding Simulation: Theory and Practice.

รู​ูปที่​่� 2 : ลั​ักษณะของอุ​ุณหภู​ูมิ​ิ ความหนื​ืด และอั​ัตราไหลของ พลาสติ​ิกหลอมในทางวิ่​่�ง SMART Molding Magazine

โปรแกรมจำำ�ลองการฉี​ีดชิ้​้�นงาน ยั​ังสามารถใช้​้เพื่​่�อหาความเร็​็วใน การฉี​ีดชิ้​้�นงานที่​่�เหมาะสมที่​่�สุ​ุด ในกรณี​ีที่​่�ไม่​่สามารถที่​่�จะแก้​้ไขการ ออกแบบแม่​่พิ​ิมพ์​์ได้​้ รู​ูปที่​่� 6 แสดงการกระจายอุ​ุณหภู​ูมิ​ิของชิ้​้�น งาน 16 คาวิ​ิตี้​้� ที่​่�ใช้​้รู​ูปแบบทางวิ่​่�งแบบตั​ัว H ระยะทางจากแกน รู​ูฉี​ีดถึ​ึงแต่​่ละคาวิ​ิตี้​้�เท่​่ากั​ัน การฉี​ีดด้​้วยอั​ัตราฉี​ีดต่ำำ�� มี​ีแนวโน้​้มของ การกระจายอุ​ุณหภู​ูมิ​ิของชิ้​้�นงานแต่​่ละคาวิ​ิตี้​้�ที่​่�ดี​ีกว่​่า แต่​่อาจแลก ด้​้วยความดั​ันในการฉี​ีดและเวลาที่​่เ� พิ่​่�มขึ้​้น� รวมถึ​ึงการสู​ูญเสี​ียความ ร้​้อนของพลาสติ​ิกหลอมให้​้กั​ับแม่​่พิ​ิมพ์​์ที่​่�มี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิต่ำำ��กว่​่า■

รู​ูปที่​่� 3 : รู​ูปแบบต่​่างๆ ของทางวิ่​่�งสำำ�หรั​ับแม่​่พิ​ิมพ์​์ฉี​ีดชิ้​้�นงาน หลายคาวิ​ิตี้​้�

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

57


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 4 : อุ​ุณหภู​ูมิ​ิของชิ้​้�นงานในช่​่วงการฉี​ีดเติ​ิมเต็​็มไม่​่เท่​่ากั​ัน

รู​ูปที่​่� 5 : อั​ัตราไหลเติ​ิมเต็​็มชิ้​้�นงานแต่​่ละคาวิ​ิตี้​้�ไม่​่เท่​่ากั​ัน

SMART Molding Magazine

รู​ูปที่​่� 6 : อั​ัตราฉี​ีดส่​่งผลต่​่อการกระจายอุ​ุณหภู​ูมิ​ิของชิ้​้�นงาน (ด้​้านซ้​้ายอั​ัตราฉี​ีดสู​ูง ด้​้านขวาอั​ัตราฉี​ีดต่ำำ��)

58

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Create your future

Technology Showcase

V-LINE® Powered Injection Molding Machine

MS100

V–LINE ® contributes to improved manufacturing productivity for precision molded products through high cycling rates and improved energy savings. Powered V-LINE®

Powered clamping action

Dedicated control panel

The injection and plasticizing apparatus using the V-LINE® system, with characteristics that ensure precise reproducibility, is now powered by a servomotor. Measurements and positioning data for the injection locations are controlled in a closed loop to improve the precision of positioning, achieving remarkably stable repetitions of the plasticizing, measuring, and injection cycle. The line of injection units with plungers of 28 and 40 mm in diameters include models that emphasize speed and models that emphasize pressure, allowing you to choose the unit that best suits the molded product type.

A toggle link mechanism integrated for the first time and a mold clamping unit powered by a servo motor shortens the opening and closing cycle. The movable platen is supported by a linear guide to improve the stability of the mold orientation. The power design for these products significantly reduces power usage* while contributing to quieter operation.

Offering selector type switches, the control panel has been developed especially for the MS100. The ability to move the switches in the same direction in which you want each unit to move results in a more intuitive operating experience and helps simplify molding operations. The M4-LINK also offers improved high speed digital processing capacity. This enables stable IoT networks operations with other equipment.

* Compared to hybrid clamper of the same model produced by Sodick

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4) Recycle

Friendly

Maintenance free

Reduce waste

59

● V-LINE is a registered trademark of Sodick Co., Ltd.


Technology Showcase

บี​ีโอไอหนุ​ุนอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ ภายใต้​้แนวคิ​ิด BCG Model ■Thailand BOI คำำ�นำ�ำ

SMART Molding Magazine

ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกถู​ูกนำำ�มาใช้​้ประโยชน์​์อย่​่างแพร่​่หลายมาเป็​็น เวลานาน เนื่​่�องจากเป็​็นวั​ัสดุ​ุที่​่�มี​ีความคงทนถาวร มี​ีราคาที่​่�เหมาะ สม สามารถประยุ​ุกต์​์ใช้​้ได้​้กั​ับหลายอุ​ุตสาหกรรม เช่​่น อุ​ุตสาหกรรม บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ อุ​ุตสาหกรรมเครื่​่�องใช้​้ไฟฟ้​้าและอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ หรื​ือ แม้​้กระทั่​่� ง อุ​ุ ต สาหกรรมยานยนต์​์ แ ละอากาศยาน ล้​้วนต้​้องใช้​้ พลาสติ​ิกเป็​็นองค์​์ประกอบในการผลิ​ิตทั้​้�งสิ้​้�น และมี​ีแนวโน้​้มการ ใช้​้งานเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ แต่​่มี​ีอี​ีกปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญที่​่�เป็​็นปั​ัญหาของการ ใช้​้พลาสติ​ิก นั่​่�นคื​ือปั​ัญหาขยะพลาสติ​ิกและการใช้​้เวลาย่​่อยสลาย นานจนทำำ�ให้​้ตกค้​้างอยู่​่�ในธรรมชาติ​ิ อั​ันเป็​็นสาเหตุ​ุหลั​ักที่​่�ส่​่งผลก ระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม โดยเฉพาะการใช้​้ Single used plastic (พลาสติ​ิกใช้​้ครั้​้�งเดี​ียวทิ้​้�ง) ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ประกอบการจึ​ึงหั​ันมาเริ่​่�มผลิ​ิต ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกชี​ีวภาพเพื่​่�อช่​่วยลดผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม

พลาสติ​ิกชี​ีวภาพ

ก่​่อนอื่​่� น เรามาทำำ� ความเข้​้าใจเกี่​่� ย วกั​ั บ ความหมายของคำำ�ว่​่ า “พลาสติ​ิ ก ” กั​ั น ก่​่อนเพื่​่� อ ที่​่� จ ะได้​้เห็​็ น ความแตกต่​่างที่​่� ชั​ั ด เจน ระหว่​่าง “พลาสติ​ิก” และ “พลาสติ​ิกชี​ีวภาพ” 60

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

พลาสติ​ิก (Plastic) หมายถึ​ึง สารประกอบอิ​ินทรี​ีย์​์ที่​่�สั​ังเคราะห์​์ ขึ้​้น� มาใช้​้แทนวั​ัสดุ​ุธรรมชาติ​ิ บางชนิ​ิดเมื่​่อ� เย็​็นก็​็แข็​็งตั​ัวเมื่​่อ� ถู​ูกความ ร้​้อนก็​็อ่​่อนตั​ัว หรื​ือบางชนิ​ิดแข็​็งตั​ัวถาวร ปั​ัจจุ​ุบั​ันเป็​็นที่​่�แน่​่ชั​ัดแล้​้ว ว่​่าพลาสติ​ิกเป็​็นปั​ัญหากั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมเนื่​่อ� งจากย่​่อยสลายยาก โดย จะใช้​้เวลาย่​่อยสลายมากกว่​่าร้​้อยปี​ี ซึ่​่�งส่​่งผลให้​้ดิ​ินเสื่​่�อมคุ​ุณภาพ และหากมี​ีการนำำ�ไปเผาทำำ�ลาย ก็​็ทำำ�ให้​้เกิ​ิดปั​ัญหามลพิ​ิษในอากาศ แต่​่มี​ีข้​้อดี​ีคื​ือเป็​็นวั​ัสดุ​ุที่​่�ราคาไม่​่สู​ูงมากนั​ัก สามารถนำำ�ไปใช้​้งานได้​้ หลากหลาย พลาสติ​ิกชี​ีวภาพ (Bioplastic) หมายถึ​ึง พลาสติ​ิกที่​่�ถู​ูกผลิ​ิตขึ้​้�น จากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบตามธรรมชาติ​ิ (Bio-based) ที่​่�สามารถปลู​ูกทดแทน ใหม่​่ได้​้ (Renewable resource) เช่​่น มั​ันสำำ�ปะหลั​ัง ฟางข้​้าว อ้​้อย และข้​้าวโพด เป็​็นต้​้น หรื​ือพลาสติ​ิกที่​่�มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิสามารถ ย่​่อยสลายได้​้ทางชี​ีวภาพ (Biodegradable) มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิที่​่�เป็​็น มิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม โดยอาจมี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิอย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�งหรื​ือทั้​้�ง สองก็​็ ไ ด้​้ ทั้​้� ง นี้​้� ส มาคมพลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพแห่​่งสหภาพยุ​ุ โ รป (European Bioplastics: EUBP) ได้​้แบ่​่งกลุ่​่� ม ของพลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพ ออกเป็​็น 3 กลุ่​่�ม ได้​้แก่​่


Technology Showcase

รู​ูปที่​่� 1 : พลาสติ​ิกที่​่�ถู​ูกผลิ​ิตขึ้​้�นจากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบตามธรรมชาติ​ิ สามารถ ปลู​ูกทดแทนใหม่​่ได้​้

รู​ูปที่​่� 2 : พลาสติ​ิกที่​่�มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิสามารถย่​่อยสลายได้​้ทางชี​ีวภาพ เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม

1. พลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่�ผลิ​ิตจากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบธรรมชาติ​ิและสามารถย่​่อย

ได้​้อย่​่างสมบู​ูรณ์​์ภายใน 180 วั​ันโดยประมาณ ภายใต้​้สภาวะที่​่� เหมาะสมเท่​่านั้​้�น เพราะหากไม่​่มี​ีการจั​ัดการขยะพลาสติ​ิกประเภท นี้​้�ในสภาวะที่​่�เหมาะสม ก็​็อาจเกิ​ิดการแตกตั​ัวเป็​็นไมโครพลาสติ​ิก และปล่​่อยก๊​๊าซมี​ีเทน ซึ่​่�งเป็​็นอั​ันตรายต่​่อชั้​้�นบรรยากาศโลก ไม่​่ต่​่าง จากขยะประเภทอื่​่�น ๆ ที่​่�ฝั​ังกลบ

สลายได้​้ทางชี​ีวภาพ (Bio-based & Biodegradable) 2. พลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่�ผลิ​ิตจากปิ​ิโตรเลี​ียมและสามารถย่​่อยสลาย ได้​้ทางชี​ีวภาพ (Petroleum-based & Biodegradable) 3. พลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่�ผลิ​ิตจากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบธรรมชาติ​ิแต่​่ไม่​่สามารถ ย่​่อยสลายได้​้ทางชี​ีวภาพ (Bio-based & Non-biodegradable)

การแบ่​่ ง กลุ่​่�มของพลาสติ​ิ ก ชี​ี ว ภาพและ ตั​ัวอย่​่างประเภทพลาสติ​ิก

Biodegradable Plastic หรื​ือ พลาสติ​ิกย่​่อยสลายได้​้ทางชี​ีวภาพ คื​ือพลาสติ​ิกที่​่�ผลิ​ิตได้​้จากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิย่​่อยสลายได้​้ทาง ชี​ีวภาพ ทำำ�ให้​้โครงสร้​้างพลาสติ​ิกเอื้​้�อต่​่อการทำำ�งานของเอนไซม์​์ ในจุ​ุ ลิ​ิ น ทรี​ีย์​์ ที่​่� อ ยู่​่� ใ นธรรมชาติ​ิ สามารถย่​่อยสลายกลายเป็​็ น น้ำำ�� คาร์​์บอนไดออกไซด์​์ มี​ีเทน และชี​ีวมวลได้​้โดยส่​่วนใหญ่​่จะย่​่อยสลาย

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

การย่​่อยสลายของพลาสติ​ิกชนิ​ิดทั่​่�วไปนั้​้�นไม่​่สามารถย่​่อยได้​้ด้​้วย จุ​ุลิ​ินทรี​ีย์​์เหมื​ือนซากพื​ืชซากสั​ัตว์​์แต่​่ต้​้องใช้​้เวลาย่​่อยนาน ด้​้วยการ แตกตั​ัวเป็​็นไมโครพลาสติ​ิกที่​่�ปนเปื้​้�อนในน้ำำ��และดิ​ิน สร้​้างปั​ัญหา ขยะมากมายที่​่�เป็​็นอั​ันตรายต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม พลาสติ​ิกชี​ีวภาพจึ​ึง เป็​็นทางเลื​ือกใหม่​่ เนื่​่�องจากมี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิย่​่อยสลายได้​้ในธรรมชาติ​ิ โดยผ่​่านวิ​ิธี​ีการออกแบบวิ​ิธี​ีที่​่�สามารถย่​่อยสลายได้​้เร็​็วขึ้​้�น และเป็​็น พิ​ิษต่​่อธรรมชาติ​ิน้​้อยที่​่�สุ​ุด

โดยปกติ​ิ พ ลาสติ​ิ ก ทั่​่� ว ไปมี​ีคุ​ุ ณ สมบั​ั ติ​ิ ใ นการสลายตั​ั ว ได้​้ (Decompose) แต่​่การย่​่อยสลายของพลาสติ​ิกนั้​้�นไม่​่สามารถย่​่อย ได้​้ด้​้วยจุ​ุลินิ ทรี​ีย์​์เหมื​ือนซากพื​ืชซากสั​ัตว์​์และใช้​้เวลาย่​่อยสลายนาน หลายร้​้อยหรื​ือหลายพั​ันปี​ี (ผู้​้�คนจึ​ึงนิ​ิยมกล่​่าวกั​ันว่​่า พลาสติ​ิกนั้​้�น ย่​่อยสลายไม่​่ได้​้) ซึ่​่�งจะสลายกลายเป็​็นไมโครพลาสติ​ิกที่​่�ปนเปื้​้�อน ในแหล่​่งน้ำำ��และดิ​ิน อี​ีกทั้​้�งยั​ังมี​ีโอกาสปนเปื้​้�อนในสั​ัตว์​์น้ำำ��หรื​ือสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิต อื่​่�น ๆ เมื่​่�อมนุ​ุษย์​์บริ​ิโภคเข้​้าไปก็​็วนกลั​ับเข้​้าสู่​่�ร่​่างกายได้​้ ปั​ัจจุ​ุบั​ันจึ​ึงมี​ี การรณรงค์​์ให้​้ใช้​้พลาสติ​ิกที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม คื​ือ พลาสติ​ิกที่​่� สลายตั​ัวได้​้ทางชี​ีวภาพ (Compostable Plastic) ซึ่​่�งเป็​็นพลาสติ​ิกที่​่� ทำำ�มาจากพื​ืช สามารถทิ้​้�งรวมกั​ับเศษอาหารและหมั​ักเป็​็นปุ๋​๋�ยอิ​ินทรี​ีย์​์ ได้​้ 100% โดยพลาสติ​ิกประเภทนี้​้�ต้​้องมี​ีมาตรฐานรั​ับรองการย่​่อย สลายว่​่า สามารถย่​่อยสลายได้​้สมบู​ูรณ์​์เป็​็นปุ๋​๋�ยอิ​ินทรี​ีย์​์ ซึ่​่�งสามารถ สั​ังเกตสั​ัญลั​ักษณ์​์มาตรฐานต่​่างๆ ได้​้ที่​่�ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ได้​้แก่​่ มาตรฐาน ISO 17088,มอก.17088-2555, ASTM D6400 สำำ�หรั​ั บ มาตรฐาน สหรั​ัฐอเมริ​ิกา หรื​ือ EN 13432 ที่​่�ใช้​้ในยุ​ุโรป ทั้​้�งนี้​้�ควรมี​ีการจั​ัดการ คั​ัดแยกขยะพลาสติ​ิกประเภทนี้​้�ไม่​่ให้​้ปะปนกั​ับพลาสติ​ิกทั่​่�วไป

61


Technology Showcase โอกาสการเติ​ิบโตของอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก ชี​ีวภาพในไทย

รู​ูปที่​่� 3 : ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์จากพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ

ความสำำ�คั​ั ญ ในการให้​้การส่​่ ง เสริ​ิ ม ฯ ใน อุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ

SMART Molding Magazine

62

อุ​ุ ต สาหกรรมพลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพ มี​ีความสำำ�คั​ั ญ ต่​่อการขั​ั บ เคลื่​่� อ น เศรษฐกิ​ิจในอนาคต เนื่​่อ� งจากประเทศไทยมี​ีการผลั​ักดั​ันให้​้ขั​ับเคลื่​่อ� น เศรษฐกิ​ิจ BCG Model (Bio-Circular–Green Economy) ซึ่​่�ง เป็​็นการมุ่​่�งเน้​้นเศรษฐกิ​ิจชี​ีวภาพ เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน และเศรษฐกิ​ิจ สี​ีเขี​ียว สร้​้างให้​้เกิ​ิดการพั​ัฒนาอย่​่างยั่​่�งยื​ืนโดยประเทศไทยมี​ีความ ได้​้เปรี​ียบเนื่​่�องจากเป็​็นประเทศที่​่�ผลิ​ิตและส่​่งออกวั​ัตถุ​ุดิ​ิบทางการ เกษตรได้​้ปริ​ิมาณสู​ูงเป็​็นอั​ันดั​ับต้​้น ๆ ของโลกซึ่​่�งเป็​็นปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญ ที่​่�จะช่​่วยให้​้สามารถขั​ับเคลื่​่�อนอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกชี​ีวภาพได้​้ เป็​็นอย่​่างดี​ี ทั้​้�งนี้​้�รั​ัฐบาลได้​้มุ่​่�งเน้​้นให้​้มี​ีการลดการใช้​้พลาสติ​ิกแบบ ใช้​้ครั้​้�งเดี​ียวทิ้​้�ง (Single-use Plastic) เนื่​่�องจากมี​ีการย่​่อยสลาย ได้​้ยาก เพิ่​่�มปริ​ิมาณขยะและส่​่งผลกระทบด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม ส่​่งผล ให้​้มี​ีการออกประกาศว่​่าภายในปี​ี 2565 จะต้​้องมี​ีการยกเลิ​ิกใช้​้ พลาสติ​ิก 4 ประเภท ได้​้แก่​่ ถุ​ุงพลาสติ​ิกหู​ูหิ้​้�วแบบบาง กล่​่องโฟม บรรจุ​ุอาหาร แก้​้วพลาสติ​ิกแบบบาง และหลอดพลาสติ​ิก นอกจากนี้​้� รั​ั ฐ บาลยั​ั ง สนั​ั บ สนุ​ุ น ให้​้นำำ� พลาสติ​ิ ก กลั​ั บ เข้​้าสู่​่� ร ะบบ เศรษฐกิ​ิจหมุ​ุนเวี​ียน โดยนำำ�พลาสติ​ิกกลั​ับไปใช้​้ใหม่​่ไม่​่น้​้อยกว่​่า 50% เพื่​่� อ ให้​้ ส อดคล้​้องกั​ั บ แนวทาง SDGs (Sustainable Development Goals)หรื​ือเป้​้าหมายการพั​ัฒนาที่​่�ยั่​่�งยื​ืนของ องค์​์การสหประชาชาติ​ิอี​ีกด้​้วย

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

ปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีการใช้​้งานผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์จากพลาสติ​ิกชี​ีวภาพในไทยอย่​่าง มี​ีประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพมากขึ้​้� น โดยส่​่วนใหญ่​่จะผลิ​ิ ต เป็​็ น ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ สำำ�หรั​ับบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ต่​่าง ๆ เช่​่น แก้​้วพลาสติ​ิก ภาชนะบรรจุ​ุอาหาร ถุ​ุ ง พลาสติ​ิ ก ช้​้อน ส้​้อม หรื​ือแม้​้กระทั่​่� ง ฟิ​ิ ล์​์ ม คลุ​ุ ม ดิ​ิ น สำำ�หรั​ั บ เกษตรกรรม เป็​็นต้​้น และด้​้วยคุ​ุณสมบั​ัติ​ิของพลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่� เที​ียบเท่​่ากั​ับพลาสติ​ิกทั่​่�วไป ส่​่งผลให้​้ปั​ัจจุ​ุบั​ันพลาสติ​ิกชี​ีวภาพถู​ูก ใช้​้เป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบพื้​้�นฐานในหลากหลายอุ​ุตสาหกรรม นอกเหนื​ือจาก อุ​ุตสาหกรรมบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ เช่​่น อุ​ุตสาหกรรมเกษตร อุ​ุตสาหกรรม ยานยนต์​์ อุ​ุตสาหกรรมอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ และอุ​ุตสาหกรรมเครื่​่�องมื​ือ แพทย์​์ เป็​็นต้​้น สมาคมอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกชี​ีวภาพไทย (Thai Bioplastics Industry Association: TBIA) เปิ​ิดเผยว่​่าศู​ูนย์​์ข้​้อมู​ูลและวิ​ิจั​ัย ตลาดอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก สถาบั​ันพลาสติ​ิก ได้​้วิ​ิเคราะห์​์แนว โน้​้มของอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกไทยปี​ี 2564 โดยคาดการณ์​์ว่​่า ประเทศไทยจะมี​ีมู​ูลค่​่าของอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกประมาณ 1.043 ล้​้านล้​้านบาท โดยเพิ่​่�มขึ้​้�นจากปี​ีก่​่อน 3.1% ขณะที่​่�เม็​็ดพลาสติ​ิก ชี​ีวภาพที่​่�มี​ีศั​ักยภาพและเป็​็นที่​่ต้​้� องการของตลาดคื​ือ เม็​็ดพลาสติ​ิก ชนิ​ิดพอลิ​ิแลคติ​ิคแอซิ​ิด (Polylactic Acid: PLA) ซึ่​่�งไทยเป็​็นผู้​้�ส่​่ง ออกรายใหญ่​่เป็​็นอั​ันดั​ับที่​่� 3 ของโลกและมี​ีกำำ�ลั​ังการผลิ​ิตพลาสติ​ิก ชี​ีวภาพใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดในภู​ูมิ​ิภาคอาเซี​ียน ซึ่​่�งเมื่​่�อเกิ​ิดสถานการณ์​์การ แพร่​่ระบาดของโรคติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ก็​็ยิ่​่�ง ทำำ�ให้​้ความต้​้องการใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกชี​ีวภาพมี​ีแนวโน้​้มเพิ่​่�ม สู​ูงขึ้​้�นสอดรั​ับกั​ับกระแสนิ​ิยมการบริ​ิโภคสิ​ินค้​้าที่​่�ผลิ​ิตจากวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ ทางธรรมชาติ​ิที่​่�มี​ีความเป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม

บี​ีโอไอกั​ับการส่​่งเสริ​ิมอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิก ชี​ีวภาพ

เนื่​่�องจากประเทศไทยมี​ีความพร้​้อมในทุ​ุกด้​้านตั้​้�งแต่​่อุ​ุตสาหกรรม ต้​้นน้ำำ��จ นถึ​ึงอุ​ุ ต สาหกรรมปลายน้ำำ�� ซึ่​่� ง สามารถต่​่อยอดไปสู่​่� ศู​ูนย์​์กลางการผลิ​ิตเม็​็ดพลาสติ​ิกชี​ีวภาพของภู​ูมิ​ิภาคและของโลกได้​้


Technology Showcase ปั​ัจจุ​ุบั​ัน ตั้​้�งแต่​่การผลิ​ิตต้​้นน้ำำ�� กลางน้ำำ�� และปลายน้ำำ�� ไปจนถึ​ึง ผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ สำำ� เร็​็ จรู​ูป ที่​่� ผ ลิ​ิ ต จากพลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพ มี​ีมู​ูลค่​่ารวม มากกว่​่า 5 หมื่​่�นล้​้านบาท โดยมี​ีการผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับ พลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่�น่​่าสนใจมากมาย เช่​่น • การผลิ​ิตกรดแลคติ​ิก เพื่​่�อใช้​้เป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบตั้​้�งต้​้นสำำ�หรั​ับการผลิ​ิต พลาสติ​ิกชี​ีวภาพชนิ​ิด PLA (Polylactic Acid) • การเม็​็ดพลาสติ​ิกชี​ีวภาพ เช่​่น เม็​็ดพลาสติ​ิกชี​ีวภาพชนิ​ิด PLA (Polylactic Acid) และ PBS (Polybutylene Succinate) • การผลิ​ิตเม็​็ดพลาสติ​ิกคอมพาวด์​์จากพลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่�ใช้​้เป็​็น วั​ัตถุ​ุดิบิ ในการผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกต่​่อไป รวมไปถึ​ึงการผลิ​ิต ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์สำำ�เร็​็จรู​ูปที่​่�ใช้​้ในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ัน เช่​่น ภาชนะบรรจุ​ุ เครื่​่�องดื่​่�ม ฝา ถุ​ุงใส่​่อาหารแช่​่แข็​็ง และหลอด สำำ�หรั​ั บ ปี​ี 2564 บี​ีโอไอได้​้อนุ​ุ มั​ั ติ​ิ ส่​่ งเสริ​ิ ม การลงทุ​ุ น ให้​้กั​ั บ บริ​ิษั​ัท เนเชอร์​์เวิ​ิร์​์คส์​์ เอเชี​ีย แปซิ​ิฟิ​ิก จำำ�กั​ัด เพื่​่�อผลิ​ิตพอลิ​ิเม อร์​์ชี​ีวภาพชนิ​ิดพอลี​ีแลคติ​ิคแอซิ​ิด (Polylactic Acid: PLA) ซึ่​่�ง เป็​็ นพลาสติ​ิ ก ที่​่� ส ามารถย่​่อยสลายได้​้ทางชี​ีวภาพ โดยมี​ีการใช้​้ เทคโนโลยี​ีชี​ีวภาพที่​่�ทั​ันสมั​ัยและใช้​้น้ำำ��ตาลจากอ้​้อยจากเกษตรกร ในประเทศไทยเป็​็ น วั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ หลั​ั ก ซึ่​่� ง จะช่​่วยขยายตลาด BioPolymer โดยโครงการนี้​้� ตั้​้�งอยู่​่�ที่​่�นครสวรรค์​์ไบโอคอมเพล็​็กซ์​์ (NBC) จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ ซึ่​่�งเป็​็นโครงการที่​่�สอดคล้​้องกั​ับแนวทางการขั​ับเคลื่​่�อนเศรษฐกิ​ิจ แบบ BCG model ของรั​ั ฐ บาลและเป็​็ น เรื่​่� อ งน่​่ายิ​ิ น ดี​ีที่​่� เ ป็​็ น โครงการผลิ​ิตเม็​็ดพลาสติ​ิกชี​ีวภาพชนิ​ิด PLA ของเนเชอร์​์เวิ​ิร์​์คส์​์ ที่​่� เ ลื​ือกประเทศไทยเป็​็ น แห่​่งแรกในการเป็​็ น ฐานการผลิ​ิ ตนอก ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา นอกจากนั้​้�นยั​ังมี​ีโครงการที่​่�น่​่าสนใจมาก ในกลุ่​่�มพลาสติ​ิกชี​ีวภาพและเป็​็นการลงทุ​ุนของไทยเอง คื​ือ โครงการของบริ​ิษั​ัท ฟรุ​ุตต้​้า ไบโอเมด จำำ�กั​ัด ที่​่�ผลิ​ิตพลาสติ​ิก ชี​ีวภาพชนิ​ิ ด PHA (POLYHYDROXYALKANOATE) และ ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ขึ้​้�นรู​ูปจากพลาสติ​ิก PHA เช่​่น ถุ​ุง ขวด และผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ ทางการแพทย์​์ เป็​็นต้​้น โดยเป็​็นโครงการในกลุ่​่�มอุ​ุตสาหกรรมพลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่�มี​ีการวิ​ิจั​ัย และพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีชี​ีวภาพ (Biotechnology) เพื่​่�อนำำ�เศษพื​ืช SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

SMART Molding Magazine

บี​ีโอไอจึ​ึงได้​้เริ่​่� ม สนั​ั บ สนุ​ุ น นั​ั ก ลงทุ​ุ น ในอุ​ุ ต สาหกรรมพลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพมาอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ทั้​้�งในส่​่วนต้​้น กลางน้ำำ��และปลายน้ำำ�� รวม ถึ​ึงการผลิ​ิตพลาสติ​ิกชี​ีวภาพที่​่มี​ี� การพั​ัฒนาและถ่​่ายทอดเทคโนโลยี​ี โดยให้​้การส่​่งเสริ​ิมใน 3 หมวดประเภทกิ​ิจการ ได้​้แก่​่ 1. กิ​ิจการผลิ​ิตเคมี​ีภั​ัณฑ์​์หรื​ือพอลิ​ิเมอร์​์ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม หรื​ือการผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ขึ้​้�นรู​ูปต่​่อเนื่​่�องจากการผลิ​ิตพอลิ​ิเมอร์​์ ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมในโครงการเดี​ียวกั​ันสามารถให้​้ได้​้รั​ับ ยกเว้​้นภาษี​ีเงิ​ินได้​้นิ​ิติ​ิบุ​ุคคล 8 ปี​ี โดยมี​ีเงื่​่�อนไขเฉพาะโครงการ • ต้​้องเป็​็นการผลิ​ิตเคมี​ีภั​ัณฑ์​์หรื​ือพอลิ​ิเมอร์​์ที่​่�มี​ีผลกระทบต่​่อสิ่​่�ง แวดล้​้อมโดยรวมตลอดวงจรชี​ีวิ​ิตน้​้อยลง โดยมี​ีการรั​ับรองหรื​ือ ตรวจสอบได้​้ว่​่ามี​ีการใช้​้วั​ัตถุ​ุดิ​ิบจากแหล่​่งทรั​ัพยากรหมุ​ุนเวี​ียน (Renewable Resource) หรื​ือการใช้​้นวั​ัตกรรม เทคโนโลยี​ี เคมี​ีที่​่�ยั่​่�งยื​ืน (Sustainable Green Chemistry) ในการผลิ​ิต หรื​ือเป็​็นผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�สลายตั​ัวได้​้ทางชี​ีวภาพโดยไม่​่ก่​่อให้​้เกิ​ิด สารพิ​ิษ เป็​็นต้​้น • ต้​้องได้​้รั​ับการประเมิ​ินการลดผลกระทบต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อมตาม มาตรฐานสากล เช่​่น การประเมิ​ิน Life Cycle Assessment (LCA) เป็​็นต้​้น ก่​่อนเปิ​ิดดำำ�เนิ​ินการ 2. กิ​ิจการผลิ​ิตผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์จากพอลิ​ิเมอร์​์ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม สามารถให้​้ได้​้รั​ับยกเว้​้นภาษี​ีเงิ​ินได้​้นิ​ิติ​ิบุ​ุคคล 5 ปี​ี โดยมี​ีเงื่​่�อนไข เฉพาะโครงการ ดั​ังนี้​้� • ต้​้องมี​ีกระบวนการขึ้​้�นรู​ูปจากพลาสติ​ิกหรื​ือพอลิ​ิเมอร์​์ที่​่�เป็​็น มิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม 3. กิ​ิจการพั​ัฒนา Biotechnology สามารถให้​้ได้​้รั​ับยกเว้​้นภาษี​ี เงิ​ินได้​้นิ​ิติ​ิบุ​ุคคลเริ่​่�มต้​้น 10 ปี​ี โดยมี​ีเงื่​่�อนไขเฉพาะโครงการ ดั​ังนี้​้� • ต้​้องมี​ีขั้​้�นตอนการพั​ัฒนา Biotechnology ที่​่�ใช้​้เป็​็นฐานใน กระบวนการผลิ​ิตหรื​ือให้​้บริ​ิการในอุ​ุตสาหกรรมเป้​้าหมาย • จะต้​้องมี​ีการถ่​่ายทอดเทคโนโลยี​ี โดยร่​่วมมื​ือกั​ับสถาบั​ันการ ศึ​ึกษาหรื​ือสถาบั​ันวิ​ิจั​ัยตามที่​่�กำำ�หนด โดยที่​่� ผ่​่ านมามี​ีนั​ั ก ลงทุ​ุ น ให้​้ ค วามสนใจลงทุ​ุ น ในอุ​ุ ต สาหกรรม พลาสติ​ิกชี​ีวภาพเป็​็นจำำ�นวนมาก และบี​ีโอไอได้​้อนุ​ุมั​ัติ​ิให้​้การส่​่ง เสริ​ิมการลงทุ​ุนในกิ​ิจการพลาสติ​ิกชี​ีวภาพมาตั้​้�งแต่​่ปี​ี 2552 จนถึ​ึง

63


Technology Showcase ผลทางการเกษตร (Organic waste) ใช้​้เป็​็นวั​ัตถุ​ุดิ​ิบในการผลิ​ิต ซึ่​่�งเป็​็นการเพิ่​่�มมู​ูลค่​่าให้​้สิ​ินค้​้าเกษตรและเป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม โดยโครงการได้​้มี​ีความร่​่วมมื​ือกั​ั บ สถาบั​ั น การศึ​ึกษาและ สถาบั​ั น วิ​ิ จั​ั ย ในประเทศ เพื่​่� อ ถ่​่ายทอดเทคโนโลยี​ีชี​ีวภาพตาม โครงการอี​ีกด้​้วย บี​ีโอไอมี​ีความเชื่​่�อมั่​่�นว่​่า การลงทุ​ุนในอุ​ุตสาหกรรมที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับ พลาสติ​ิ ก ชี​ีวภาพ จะไม่​่หยุ​ุ ด แต่​่เพี​ียงเท่​่านี้​้� เนื่​่� อ งจากเป็​็ น อุ​ุตสาหกรรมที่​่�เป็​็นเป้​้าหมายของประเทศ ซึ่​่�งประเทศไทยก็​็ มี​ี ศั​ักยภาพเป็​็นอย่​่างมากสำำ�หรั​ับการลงทุ​ุนในอุ​ุตสาหกรรมนี้​้�■

SMART Molding Magazine

64

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)


Technology Showcase

SMART Molding Magazine SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

65


Technology Showcase

แก้​้ปั​ัญหาฝุ่​่�นในเม็​็ดพลาสติ​ิกอย่​่างไรดี​ี ? คำำ�นำ�ำ

ผู้​้�ประกอบการพลาสติ​ิกในประเทศไทยส่​่วนใหญ่​่เราเชื่​่�อว่​่าต้​้องเคย เจอกั​ับปั​ัญหาฝุ่​่�นในเม็​็ดพลาสติ​ิก ทั้​้�งจากการที่​่�พึ่​่�งซื้​้�อมาและจาก การที่​่�นำำ�เศษบดไปบดแล้​้วนำำ�กลั​ับมาใช้​้งานต่​่อ ซึ่​่�งการที่​่�มี​ีฝุ่​่�นผง ปะปนเข้​้าไปในเม็​็ดพลาสติ​ิกนั้​้�นจะเกิ​ิดปั​ัญหาต่​่าง ๆ ตามมาภาย หลั​ั ง ได้​้ วั​ั น นี้​้� เราจะมาพู​ูดถึ​ึงปั​ั ญ หาเหล่​่านั้​้� น รวมถึ​ึงวิ​ิ ธี​ี การแก้​้ ปั​ัญหากั​ันครั​ับ

SMART Molding Magazine

66

ฝุ่​่�นที่​่�ปะปนในเม็​็ดพลาสติ​ิกแบ่​่งออกเป็​็น 2 ประเภท 1. ฝุ่​่�นที่​่� ป นเปื้​้� อ นมาในเม็​็ ด พลาสติ​ิ ก แต่​่แรก โดยที่​่� ผู้​้� ผ ลิ​ิ ต เม็​็ ด

พลาสติ​ิกไม่​่ได้​้คำำ�นึ​ึงถึ​ึงมาตรฐารการผลิ​ิต ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นกระสอบ ที่​่�ใส่​่เม็​็ดพลาสติ​ิกที่​่�ไม่​่สะอาด การตั​ัดเม็​็ดพลาสติ​ิกจนทำำ�ให้​้เกิ​ิด ฝุ่​่�นปนเปื้​้�อนเข้​้ามาด้​้วยทั้​้�งที่​่�มี​ีกระบวนการแยกฝุ่​่�นออกแต่​่ก็​็ยั​ัง ไม่​่สามารถแยกได้​้ 100% หรื​ือการที่​่�โรงงานผลิ​ิตเม็​็ดนั้​้�นมี​ีขี้​้�ฝุ่​่�น เยอะทำำ�ให้​้มี​ีฝุ่​่�นในเม็​็ดพลาสติ​ิกติ​ิดมาด้​้วยเป็​็นจำำ�นวนมาก 2. ฝุ่​่�นที่​่�เกิ​ิดจากการนำำ�ชิ้​้�นส่​่วนของ Runner หรื​ือ ชิ้​้�นงาน NG ไปบดแล้​้วต้​้องการนำำ�มา Recycle ใช้​้ใหม่​่ ในส่​่วนนี้​้�จะมี​ีฝุ่​่�น SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

■บริ​ิษั​ัท มั​ัตซุ​ุย (เอเชี​ีย) จำำ�กั​ัด

ผงพลาสติ​ิกจำำ�นวนมากเช่​่นกั​ัน เนื่​่�องจากพลาสติ​ิกที่​่�ถู​ูกบด บางส่​่วนจะโดนบดอย่​่างละเอี​ียดทำำ�ให้​้กลายเป็​็นผงได้​้

วิ​ิธี​ีการแก้​้ปั​ัญหาเบื้​้�องต้​้นจากผู้​้�ผลิ​ิต

ทุ​ุกวั​ันนี้​้�จะมี​ีสิ่​่�งที่​่�เรี​ียกว่​่า Dust separator ซึ่​่�งเป็​็นเครื่​่�องจั​ักรชนิ​ิด หนึ่​่� ง ที่​่� ส ามารถคั​ั ด แยกฝุ่​่�นได้​้เป็​็ น อย่​่างดี​ี ซึ่​่� ง ผู้​้� ป ระกอบการ พลาสติ​ิกสามารถนำำ�เครื่​่�องจั​ักรชนิ​ิดนี้​้�มาตรวจสอบเป็​็นการทำำ� IQC ( Incoming Quality Control ) ซึ่​่�งถ้​้าหากเราทราบว่​่า ซั​ัพพลายเออร์​์เจ้​้านี้​้�มี​ีฝุ่​่�นค่​่อนข้​้างเยอะก็​็ควรที่​่�จะตรวจสอบให้​้ เข้​้มงวดขึ้​้�น แต่​่หากว่​่าปั​ัญหาไม่​่ค่​่อยเยอะเท่​่าไหร่​่ ก็​็อาจจะเลื​ือก เป็​็นการสุ่​่�มตรวจเป็​็นกระสอบ ๆ ไปก็​็ได้​้เช่​่นกั​ัน

ทำำ�ไมฝุ่​่�นที่​่�ผ่า่ นการบดถึ​ึงมี​ีปัญ ั หากั​ับชิ้​้�นงาน ?

เม็​็ ด พลาสติ​ิ ก ทุ​ุ ก วั​ั น นี้​้� ต่​่ างก็​็ มี​ีหล ากหลายชนิ​ิ ด ด้​้วยกั​ั น และ อุ​ุณหภู​ูมิ​ิในการหลอมละลายก็​็จะแตกต่​่างกั​ันออกไป ซึ่​่�งอุ​ุณหภู​ูมิ​ิ ในการหลอมละลายนั้​้�นมี​ีไว้​้สำำ�หรั​ับเม็​็ดพลาสติ​ิกที่​่�เป็​็นรู​ูปทรง ปกติ​ิ ดั​ังนั้​้�นเวลาที่​่�มี​ีฝุ่​่�นของพลาสติ​ิกเยอะ จะทำำ�ให้​้ฝุ่​่�นหรื​ือเม็​็ดที่​่� มี​ีขนาดไม่​่ได้​้ตามมาตรฐานหลอมละลายเร็​็ ว กว่​่าเม็​็ ด พลาสติ​ิ ก


Technology Showcase ประโยชน์​์และข้​้อดี​ีของการแยกฝุ่​่�นก่​่อนเข้​้า กระบวนการผลิ​ิต

รู​ูปที่​่� 1 : ตั​ัวอย่​่างการติ​ิดตั้​้�ง Aero remover ที่​่�ท่​่อลำำ�เลี​ียงเม็​็ด พลาสติ​ิก ทั่​่�วไป และทำำ�ให้​้เกิ​ิดการไหม้​้ได้​้ หลั​ังจากที่​่�ฉี​ีดงานออกมาแล้​้วก็​็ จะประสบกั​ับปั​ัญหาจุ​ุดดำำ�ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นบนตั​ัวชิ้​้�นงาน และทำำ�ให้​้ชิ้​้�น งานนั้​้�นไม่​่ผ่​่านมาตรฐาน โดยเฉพาะการเกิ​ิดจุ​ุดดำำ�กั​ับชิ้​้�นงานที่​่�มี​ี สี​ีใสหรื​ือขาวก็​็จะยิ่​่�งส่​่งผลให้​้เห็​็นชั​ัดขึ้​้�น

อุ​ุปกรณ์​์ดักั จั​ับฝุ่​่�น ที่​่�ช่ว่ ยลดชิ้​้�นงานเสี​ียลงจาก เม็​็ดพลาสติ​ิกที่​่�ผ่​่านการบด

ประโยชน์​์และข้​้อดี​ี มี​ีดั​ังต่​่อไปนี้​้� • สามารถช่​่วยลดงาน NG ได้​้ ทำำ�ให้​้การผลิ​ิตชิ้​้�นงานให้​้กั​ับลู​ูกค้​้า ไม่​่เกิ​ิดปั​ัญหาขึ้​้�นเยอะ • สามารถช่​่วยลดระยะเวลาการผลิ​ิตงานของ production ลง ได้​้ เนื่​่�องจากหากชิ้​้�นงาน NG เยอะ ก็​็ต้​้องผลิ​ิตชิ้​้�นงานที่​่�ดี​ีขึ้​้�น มาทดแทน • ทำำ�ให้​้สามารถลดต้​้นทุ​ุนในการใช้​้วั​ัตถุ​ุดิ​ิบได้​้น้​้อยลง อ้​้างอิ​ิงตาม ข้​้อ 1,2■ หากท่​่านมี​ีรายละเอี​ียดที่​่�จะสอบถามเพิ่​่�มเติ​ิม สามารถติ​ิดต่​่อ ได้​้ที่​่�: Facebook fanpage : MATSUI (ASIA) CO.,LTD. LINKEDIN : MATSUI (ASIA) CO.,LTD. Tel : 0-2324-0216-8 or 063-231-5853 Email : Salesbangkok@matsui.net Website : http://www.matsui-asia.co.th

SMART Molding Magazine

อุ​ุปกรณ์​์ตั​ัวนี้​้�มี​ีชื่​่�อเรี​ียกว่​่า Aero remover เป็​็นอุ​ุปกรณ์​์ที่​่�สามารถ ติ​ิดตั้​้�งระหว่​่างท่​่อลำำ�เลี​ียงเม็​็ดพลาสติ​ิก ที่​่�สามารถคั​ัดแยกฝุ่​่�นได้​้ เป็​็นอย่​่างดี​ี โดยหลั​ักการทำำ�งานนั้​้�น ภายในตั​ัว Aero remover นั้​้�นจะมี​ีตะแกงเล็​็ก ๆ หรื​ือที่​่�เรี​ียกกั​ันว่​่า Filter ซึ่​่�งสามารถเลื​ือก ขนาดของตะแกงได้​้ตั้​้�งแต่​่ 1mm จนถึ​ึง 2.5mm ผู้​้�ใช้​้งานสามารถ เลื​ือกตามขนาดของเม็​็ดพลาสติ​ิกที่​่�ตั​ัวเองใช้​้ในปั​ัจจุ​ุบั​ันได้​้ การ คั​ัดแยกฝุ่​่�นของอุ​ุปกรณ์​์ตั​ัวนี้​้�จะเป็​็นการใช้​้ลมดู​ูดที่​่�เมื่​่�อเวลาดู​ูด เม็​็ดพลาสติ​ิกเข้​้ามานั้​้�น จะมี​ีการเหวี่​่�ยงเม็​็ดพลาสติ​ิกเป็​็นไซโคลน ทำำ�ให้​้เม็​็ดที่​่�ไม่​่ได้​้มาตรฐานหลุ​ุดออกจากตะแกงและตกลงไปในถั​ัง เก็​็บฝุ่​่�น ส่​่วนเม็​็ดที่​่�ได้​้มาตรฐานนั้​้�นจะถู​ูกดู​ูดไปใช้​้งาน

SMART Molding Magazine • V006-(2021/Q4)

67



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.