หนังสือข่าวฉบับ7

Page 1

ฉบับที่ 7 : มกราคม-มีนาคม 2558

7th issue: January-March 2015

Photo by Ste’phane Grasso


สัมภาษณ์พิเศษ

ทูตแรงงานพม่า

คุณเต็ง นัน

อะไรคือบทบาทของทูตแรงงานพม่าต่อแรงงานในประเทศไทย

เข้าไปดูเเลและช่วยเหลือเเรงงานย้ายถิน่ ฐานว่าพวกเขา ได้รับสิทธิตามกฎหมายหรือมีคุณภาพชีวิตและการท�ำงาน อย่างไร

ปัประเทศไทย ญ หาหรื อ ประเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ พ บเกี่ ย วกั บ เเรงงานพม่ า ใน

มีปัญหาหลายอย่างที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ ประเด็นเรื่องเเรงงานที่เข้ามาผิดกฎหมาย ซึ่งเรงงานกลุ่มนี้ ไม่ใช่แรงงานจดทะเบียน MOU เลยเกิดปัญหาในขั้นตอนของ การพิสจู น์สญ ั ชาติมากทีส่ ดุ ซึง่ การไม่จดทะเบียนท�ำให้แรงงาน กลุ่มนี้มีปัญหา โดยเฉพาะกับนายจ้างคนไทย เช่น ปัญหา ในเรื่องค่าแรง ซึ่งทางเราก็ได้พยายามที่จะแก้ไขมาตลอด อีกปัญหาทีเ่ ราพบก็คอื เมือ่ นายจ้างน�ำเเรงงานเข้ามาท�ำงานแล้ว แต่ยงั ไม่ยอมให้ไปท�ำ Work permit เพราะว่าการยืน่ ขอ Work permit ใช้เวลานานและล่าช้า นายจ้างเลยให้เเรงงานท�ำงาน ก่อน เนื่องจากต้องการใช้แรงงานทันทีและรอไมได้ และเมื่อ มีเจ้าหน้าทีม่ าตรวจ แรงงานก็ถกู จับไปหลายครัง้ ซึง่ ในประเด็น นี้มองว่าปัญหาอยู่ที่กระบวนการท�ำ work permit ของ ประเทศไทยมากกว่า ถ้าได้รับการแก้ไขก็จะช่วยผ่อนคลาย ปัญหาไปได้ส่วนหนึ่ง

ผมพยายามผลักดันให้นายจ้างรับเเรงงานทีเ่ ป็น MOU มากกว่า แต่ก็ต้องยอมรับว่าทุกวันนี้แรงงานผิดกฎหมายก็ยังคงมีเยอะ และเกิดปัญหาหลายครัง้ เป็นต้นว่าแรงงานเหล่านีไ้ ม่มเี อกสาร เมื่อโดนเจ้าหน้าที่ตรวจจึงถูกจับเป็นส่วนใหญ่ ผมจึงอยากให้ นายจ้างเลิกใช้เเรงงานทีเ่ ข้ามาอย่างผิดกฎหมาย เพือ่ ลดปัญหา การเข้ามาอย่างผิดกฎหมาย

ทีเพื่อ่ทให้่านบอกว่ าพยายามลดปัญหา หมายถึงมีการเเก้ไขอย่างไร การแก้ไขปัญหานั้นมีความเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น

เพื่อลดปัญหาเเรงงานที่จะเข้ามาอย่างผิดกฎหมาย ทางรัฐบาลพม่าเองก็ได้จัดตั้งสมาคมเพื่อช่วยเหลือเเรงงาน ชาวพม่า ชื่อว่าสมาคม MOEAF (Myanmar Overseas Employment Agency Foundation) และเป็นตัวเเทน เอเจนซี่ในประเทศพม่าที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย วามคิดเห็นอย่างไรกับเเรงงานที่เข้ามาท�ำงานในประเทศไทย เพื่อให้ความช่วยเหลือและกระจายข่าวสารให้กับเเรงงาน มองว่าหากเเรงงานเข้ามาในรูปแบบจดทะเบียน MOU ทีอ่ ยากจะเข้ามาในเมืองไทย ให้รบั รูถ้ งึ สิทธิเเรงงานทีค่ วรจะได้ จะเป็นผลดีต่อตัวแรงงานมากกว่า เวลาไปงานประชุมต่างๆ และมีสิทธิเลือกงานในระดับเบื้องต้นได้

2 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


มีช่วยเหลื ความช่วยเหลือด้านกฎหมายอะไรบ้าง ทีท่ างสถานทูตได้เข้าไป อแรงงานพม่าในประเทศไทย หากเป็นแรงงาน MOU จะมีเอเจนซี่คอยดูแลเบื้องต้น อยู่แล้ว ซึ่งทางเราก็จะมีข้อมูลของเอเจนซี่เหล่านั้น เมื่อเกิด ปัญหาขึน้ ทางเราก็จะให้ทางเอเจนซีไ่ ปด�ำเนินเจรจากันเบือ้ งต้น เมื่อทราบปัญหาแล้วก็จะวางแผนแล้วผมจะเข้าไปจัดการ ปัญหาด้วยตัวเอง

กรณีที่เข้าไปช่วยด้วยตัวเองเป็นกรณีอะไรบ้าง

รัฐบาลที่ร่วมมือในการส่งเเรงงานซึ่งกันเเละกัน เป็นต้นว่า รัฐบาลพม่าก็จะเข้ามาตรวจสอบแรงงานชาวพม่าทีป่ ระเทศไทย ในส่วนนโยบายแรงงานระยะสั้น เราวางแผนที่จะออกบัตร ให้แรงงาน บัตรนี้จะเหมือนบัตรรถไฟฟ้าที่แรงงานสามารถใช้ ข้ามไปมาได้ โดยในบัตรจะระบุข้อมูลของแรงงานอยู่ ซึ่งจะ ช่วยลดเวลาและจะง่ายต่อการใช้มากกว่าการใช้สมุดธรรมดา

ในพม่ามีหน่วยงานอะไรทีช่ ว่ ยเหลือเเรงงานพม่าในต่างประเทศ

มีหลายหน่วยงาน ส่วนมากเป็นสมาคมต่างๆ ทั้งที่ถูก เป็นกรณีส�ำคัญซึ่งส่วนมากคือกรณีเสียชีวิต เพราะ กฎหมายเเละไม่ถูกกฎหมาย (จดทะเบียนกับไม่จดทะเบียน) เเรงงานส่วนใหญ่มกั ไม่คอ่ ยรูเ้ รือ่ งสิทธิทจี่ ะได้รบั เมือ่ เกิดปัญหาขึน้ แต่ปกติก็จะเป็นสมาคม MOEAF ที่ได้บอกไป ซึ่งเป็นของ ซึ่งเมื่อเกิดกรณีเสียชีวิตจะเรียกร้องให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชย เอกชนที่กระทรวงเเรงงานของพม่าให้ทางสมาคม MOEAF ดูแลและช่วยเหลือเเรงงานในต่างประเทศ ตามกฎหมายแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต

เคยเกิดกรณีนายจ้างไม่ยอมจ่ายมั้ย

ไม่มี เเต่จะใช้เวลานิดนึงในการรวบรวมเอกสาร

กประเด็ารก้นาทางด้ วเข้าสู่ AEC มีการเตรียมความพร้อมอะไรบ้างใน านเเรงงาน

ตอนนีพ้ ยายามทีจ่ ะช่วยเหลือเเละให้ความรูแ้ ก่เเรงงาน อกจากกรณีเสียชีวิต ทางสถานทูตได้เข้าไปช่วยเหลืออะไร ในเมืองไทยมากที่สุดเพื่อที่ว่าแรงงานเหล่านั้นจะได้มีความรู้ อีกบ้าง เเละเข้าใจในกฎหมายของประเทศไทย ในกรณีอุบัติเหตุจากการท�ำงาน หรือแรงงานได้รับ ล้วคิดว่าจะมีอุปสรรคอะไรบ้างในอนาคตข้างหน้า หากเกิด บาดเจ็บ ก็พยายามเรียกร้องให้แรงงานได้รับสิทธิตามที่ระบุ AEC แล้ว ในประกันสังคม นอกเหนือจากนั้น ปกติก็จะเข้าไปในพื้นที่ อุปสรรคต้องมีอยูเ่ เล้ว ซึง่ เมือ่ ปัญหาเกิดขึน้ เราก็จะแก้ไข ไปเยี่ยมแรงงานบ้างหรือไม่ก็ไปร่วมงานในวันส�ำคัญต่างๆ กับ กลุ่มแรงงาน ถ้าเกิดกรณีเสียชีวิตก็ไปร่วมงานศพหรือกรณี กันไป แต่หากแรงงานอยู่ในกฎหมายอยู่เเล้วก็จะไม่มีปัญหา บาดเจ็บก็จะไปเยีย่ มและมอบเงินช่วยเหลือให้ ทุกๆ ครัง้ ทีเ่ จอ ตอนนี้จึงพยายามท�ำให้เเรงานถูกกฎหมายมากที่สุด แรงงานก็จะพยายามพูดให้ความรู้แก่แรงงาน ส�ำหรับแรงงาน ปัญหาหรืออุปสรรคอะไรบ้างในเรื่องแรงงาน MOU MOU ก็จะไปให้ความรู้ถึงกฎระเบียบและไปดูว่าแรงงาน ปัญหาและอุปสรรคเป็นเรือ่ งของการปรับตัวทัง้ กับสถานที่ เหล่านั้นมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร และหากเเรงงานมาขอ ความช่วยเหลือก็จะเข้าไปไกล่เกลี่ย เช่น เเรงงานถูกนายจ้าง และสภาพการท�ำงาน นอกจากนั้นจะเป็นเรื่องของภาษาซึ่ง ยึด พาสปอร์ ต ทางเราก็จ ะเข้าไปช่วยเหลือและเจรจาให้ เป็นอุปสรรคส�ำคัญในการสื่อสาร อย่างในช่วงที่ผ่านมาทางสถานทูตก็ได้ช่วยเหลือกลุ่มแรงงาน านมีข้อเสนอเเนะหรือความคิดเห็นอะไรบ้าง ทีถ่ กู หลอกเข้ามาท�ำงานในโรงเก็บขยะ ซึง่ ก็ได้ให้ความช่วยเหลือ อยากจะให้องค์กรและหน่วยงานต่างๆ มีส่วนช่วย พร้อมกับสถานี MRTV ของพม่าช่วยส่งตัวแรงงานเหล่านั้น ในการกระจายข่าวสารให้กับทั้งนายจ้างเเละเเรงงาน โดยให้ กลับประเทศพม่าอย่างปลอดภัย นายจ้างรับแรงงานงานที่เป็น MOU มากกว่าใช้แรงงาน การวางแผนในนโยบายเเรงงานข้ามชาติระยะสัน้ และระยะยาว นอกระบบ ในขณะเดียวกันก็สง่ เสริมให้แรงงานเข้ามาในระบบ ของประเทศอย่างไร MOU ด้วย ซึ่งหากหลายฝ่ายให้ความช่วยเหลือต่อกันก็จะ นโยบายน�ำเข้าแรงงานระยะยาวจะเป็นแบบ G2G เกิดผลดีต่อแรงงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต (Government-to-Government) ซึ่งเป็นระดับรัฐบาลกับ

มี ท่

มี

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 3


สถานการณ์ด้านคดีที่น่าสนใจ แรงงานข้ามชาติในระบบการน�ำเข้า แบบการท�ำบันทึกข้อตกลงระหว่างรัฐ ได้รับค่าแรงค้างจ่ายกรณีถูกนายจ้างเลิกจ้าง เมื่อเดือนตุลาคม 2557 แรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่า จ�ำนวน 39 คนได้เข้ามาท�ำงานในประเทศไทย ตามบันทึก ข้อตกลงระหว่างรัฐบาลไทยและพม่า มีบริษัทจัดหางานจาก ประเทศพม่า ชือ่ Moe Moe Family General Services Co, Ltd. เป็นผู้ด�ำเนินการส่งแรงงานมาท�ำงานให้กับโรงงาน ผลิตเครื่องประดับสตรี ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ได้รับ ค่าแรงวันละ 300 บาท และค่าท�ำงานล่วงเวลา ชั่วโมงละ 56 บาท ต่อมาวันที่ 10 ธันวาคม 2558 มีแรงงานในกลุ่มดัง กล่าวจ�ำนวน 10 คน ถูกนายจ้างส่งตัวกลับมายังพื้นที่อ�ำเภอ แม่สอด โดยทีไ่ ม่ได้แจ้งการเลิกจ้างและยังคงค้างค่าแรงลูกจ้าง คนละ 15 วัน และค่าท�ำงานล่วงเวลาอีกคนละ 42 ชั่วโมง แรงงานทั้งสิบคนมีความประสงค์ขอเรียกร้องค่าแรงค้างจ่าย และค่าท�ำงานล่วงเวลาจากนายจ้าง วันที่ 7 มกราคม 2558 เจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมาย อ� ำ เภอแม่ ส อด ได้ ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง มี ตั ว แทนบริ ษั ท จัดหางาน Moe Moe Family General Services Co, Ltd. ท�ำการเจรจากับโรงงานที่ทางบริษัทจัดหางานส่งลูกจ้างไป ในการเจรจาทางโรงงานตกลงจ่ายค่าแรงค้างจ่ายและค่าท�ำงาน ล่วงเวลาแก่ลูกจ้าง 10 ราย เป็นเงินรายละ 14,500 บาท พร้อมหนังสืออนุญาตให้เปลี่ยนนายจ้างแก่แรงงาน แรงงาน มีความพอใจจึงสามารถตกลงกันได้

บริษัทประกันภัยตกลงจ่ายค่าสินไหมทดแทน แก่ทายาทของแรงงานข้ามชาติ กรณีเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ จ�ำนวน 35,000 บาท เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2557 เวลาประมาณ 21.00 น. นายปิเพียวอ่อง แรงงานข้ามชาติประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ โดยถูกรถยนต์กระบะพุ่งชนขณะที่นายปิเพียวอ่องขับขี่รถ จักรยานยนต์ เหตุเกิดบริเวณถนนสายเอเชียแม่สอด-พบพระ ผลการสอบสวนของพนักงานต�ำรวจ สรุปว่า เป็นการขับรถ โดยประมาทของทั้งฝ่ายผู้ตายและคนที่ขับรถชน หลังเกิดเหตุ คูก่ รณีได้เสนอเงินช่วยเหลือครอบครัวนายปิเฟียวอ่อง เป็นเงิน 15,000 บาท และเจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมาย อ�ำเภอแม่สอด ได้ช่วยเหลือนายอูตานอ่อง อายุ 65 ปี บิดาของผู้เสียชีวิต ในการขอรับค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท วิริยะประกันภัย จ�ำกัด มหาชน ทีเ่ จ้าของรถยนต์กระบะคูก่ รณีเป็นผูเ้ อาประกัน โดยทางบริษัท วิริยะ ประกันภัย จ�ำกัด มหาชน ตกลงจ่ายค่า สินไหมทดแทนแก่ทายาท จ�ำนวน 35,000 บาท ทายาทของ นายปิเฟียวอ่อง ได้รับค่าสินไหมแล้วเมื่อวันที่ 21มกราคม 2558

(ภาพนายอูตานอ่อง ทายาทผู้ตายรับค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทวิริยะประกันภัย จ�ำกัดมหาชน)

ศาลเยาวชน และครอบครัว จังหวัดเชียงใหม่ พิพากษาลงโทษจ�ำคุกเยาวชน เชื้อสายไทใหญ่ ข้อหาท�ำร้ายร่างกายและเจตนาฆ่า

(ภาพการเจรจาเรื่องค่าแรงระหว่างฝ่ายลูกจ้างและนายจ้าง)

4 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

3 กุมภาพันธ์ 2558 เวลาประมาณ 09.00 น.ผูพ้ พิ ากษา ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ ได้อา่ นค�ำพิพากษา กรณี นายกัน (นามสมมุติ) จ�ำเลยที่ 1 นายสอ (นามสมมุติ) จ�ำเลยที่ 2 และนายชัย (นามสมมุต)ิ จ�ำเลยที่ 3 ซึง่ ทัง้ หมดเป็น บุคคลไม่มสี ญ ั ชาติไทยแต่ได้รบั อนุญาตให้อยูใ่ นราชอาณาจักร


เป็นการชัว่ คราว โดยถือบัตรประจ�ำตัวบุคคลผูไ้ ม่มสี ถานะทาง ทะเบียน ถูกพนักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัด เชียงใหม่ เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง ในข้อหาร่วมกันกระท�ำความผิด ต่อชีวิต ต่อร่างกาย และตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง โดยมีทายาทของผูเ้ สียชีวติ เข้าเป็นโจทก์รว่ ม ศาลได้พเิ คราะห์ พยานหลักฐานของโจทก์ร่วมและจ�ำเลยแล้วเห็นว่า จ�ำเลย ทั้งสามมีความผิดข้อหาเป็นคนต่างด้าวหลบออกนอกเขต ควบคุมตามค�ำสั่งของเจ้าพนักงานโดยไม่ได้รับอนุญาต และ พยานโจทก์รับฟังได้ว่าจ�ำเลยทั้งสามร่วมกันท�ำร้ายผู้เสียหาย จนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย ร่วมกันฆ่าผู้ตายโดยเจตนา และ ร่วมกันพาอาวุธไปในเมือง หมูบ่ านหรือทางสาธารณะโดยไม่มี เหตุสมควร พิพากษาจ�ำคุกจ�ำเลยที่ 1 เป็นระยะเวลา 6 ปี 19 เดือน ส่วนจ�ำเลยที่ 2 และที่ 3 ลงโทษจ�ำคุก 11 ปี 3 เดือน แต่เนื่องจากในขณะกระท�ำความผิดจ�ำเลยทั้งสามยังมีอายุ ไม่ ถึ ง 18 ปี ศาลได้ ใ ช้ อ� ำ นาจตามพระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ ครอบครัว พ.ศ. 2553 เปลี่ยนโทษจ�ำคุกเป็นการส่งตัวจ�ำเลย ทั้งสามไปควบคุมเพื่อฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ เยาวชน จังหวัดเชียงใหม่ ส�ำหรับจ�ำเลยที่ 1 ขั้นต�่ำ 3 ปี ขั้นสูง 4 ปี ส่วนจ�ำเลยที่ 2-3 มีก�ำหนดขั้นต�่ำคนละ 4 ปี ขั้นสูงคนละ 5 ปี หากจ�ำเลยทั้งสามอายุครบ 24 ปีบริบูรณ์แต่ยังรับการ ฝึกอบรมไม่ครบก�ำหนดกรฝึกอบรมให้ส่งตัวจ�ำเลยทั้งสาม ไปจ�ำคุกไว้ในเรือนจ�ำต่อจนครบถ้วน และลงโทษปรับส�ำหรับ ความผิดฐานพาอาวุธฯ โดยปรับจ�ำเลยที่ 1 เป็นเงิน 20 บาท จ�ำเลยที่ 2 และ 3 เป็นเงินคนละ 30 บาท จ�ำเลยที่ 2 และ ที่ 3 ได้ยนื่ ค�ำร้องขอปล่อยชัว่ คราว ระหว่างอุทธรณ์ ศาลชัน้ ต้น ส่งค�ำร้องให้ศาลอุทธรณ์พิจารณา ศาลอุทธรณ์อนุญาตให้ ปล่อยชั่วคราวจ�ำเลยที่ 2 และที่ 3 ตามค�ำร้อง ส�ำหรับคดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2556 นายสอ และนายชัย จ�ำเลยที่ 2 และ 3 ได้ถูกเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ จับกุมตัว โดยกล่าวหาว่าร่วมกระท�ำความผิดกับจ�ำเลยที่ 1 ในคดีนี้ อย่างไรก็ตามจ�ำเลยที่ 2 และที่ 3 ได้ร้องเรียนไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องข้อให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีจ�ำเลย ที่ 2 และที่ 2 ถูกเจ้าหน้าที่จับกุมไปโดยไม่ได้แจ้งข้อกล่าวหา และไม่มีหมายจับ และถูกบังคับขู่เข็ญ ท�ำร้ายร่างกายและ ซ้อมทรมานเพือ่ ให้รบั สารภาพในความผิดทีไ่ ม่ได้กระท�ำ อีกทัง้ จ�ำเลยที่ 2 และที่ 3 ทนายความของจ�ำเลยที่ 2 และที่ 3 ได้ยนื่ ค�ำร้องขอให้ศาล เพือ่ ให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความเรือ่ ง พระราช บัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี

เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มาตรา 121 ที่ก�ำหนดให้ ที่ปรึกษากฎหมาย ตามมาตรา 121 ต้องมีคุณสมบัติเป็น ทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความและผ่านการอบรม เรื่องวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ความรู้เกี่ยวกับ จิตวิทยา การสังคมสงเคราะห์ และความรู้อื่นที่เกี่ยวข้อง ทีก่ ำ� หนดไว้ในข้อบังคับประธานศาลฎีกา ว่าขัดกับรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 40(7) เนื่องจาก เป็ น การสร้ า งข้ อ จ� ำ กั ด ให้ เ ด็ ก และเยาวชนในคดี อ าญาที่ ไม่สามารถแต่งตัง้ ทนายความทีต่ นเองไว้วางใจเพือ่ ด�ำเนินการ ช่วยเหลือคดีในชั้นพิจารณาของศาลได้ เนื่องจากมีเงื่อนไข ให้ทนายความ ต้องผ่านการอบรมการเป็นที่ปรึกษาตามที่ ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว และวิ ธี พิ จ ารณาคดี เ ยาวชนและครอบครั ว พ.ศ. 2553 ทนายความของจ�ำเลยที่ 2-3 ซึ่งได้รับความไว้วางใจให้เลือก เป็นทนายความ จึงไม่สามารถช่วยเหลือคดีนไี้ ด้ แต่ศาลชัน้ ต้น และศาลอุทธรณ์ภาค 5 เห็นว่าค�ำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนุญ ตีความดังกล่าว เป็นค�ำสั่งระหว่างพิจารณา จึงให้ยกค�ำร้อง ปัจจุบัน จ�ำเลยที่ 2-3 อยู่ระหว่างอุทธรณ์ค�ำพิพากษา ของศาลชั้นต้นต่อศาลอุทธรณ์

บริษัทประกันภัยตกลงจ่ายค่าสินไหมทดแทน แก่ทายาทของแรงงานข้ามชาติ กรณีเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ จ�ำนวน 165,000 บาท

(ภาพนางนัน โมข่าย ทายาทผู้ตายรับค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทวิริยะประกันภัย จ�ำกัดมหาชน)

เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 เวลาประมาณ 09.00 น. นายซอ โซอ่อง อายุ 16 ปี ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์โดย ถูกรถบรรทุกสิบล้อ เฉีย่ วชนขณะทีน่ ายซอ ขับขีร่ ถจักรยานยต์

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 5


กลับบ้าน เป็นเหตุให้นายซอ เสียชีวติ ในทันที เหตุเกิดทีบ่ ริเวณ หน่วยกูภ้ ยั ข้างโรงเรียนแม่ปะวิทยาคม อ�ำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก หลังเกิดเหตุคนขับรถบรรทุกสิบล้อทีช่ นนายซอ ได้นำ� เงิน ช่วยเหลือครอบครัวของนายซอ จ�ำนวน 15,000 บาท จากนัน้ เจ้าหน้าที่คลินิกกฎหมาย อ�ำเภอแม่สอด ได้ช่วยเหลือนางนัน โมข่าย มารดาของนายซอ ในการขอรับค่าสินไหมทดแทนจาก บริษัท วิริยะประกันภัย จ�ำกัด มหาชน และภาคสมัครใจจาก บริษัท IMG โบรกเกอร์ จ�ำกัด ที่เจ้าของรถบรรทุกสิบล้อคัน ก่อเหตุเป็นผูเ้ อาประกัน โดยทางบริษทั วิรยิ ะ ประกันภัย จ�ำกัด มหาชน ตกลงจ่ า ยค่ า สิ น ไหมทดแทนแก่ ท ายาท จ� ำ นวน 165,000 บาท ทายาทของนายซอ ได้รับค่าสินไหมแล้วเมื่อ วันที่ 19 มีนาคม 2558

แรงงานข้ามชาติ ได้รับเงินชดเชยจากนายจ้าง เป็นเงิน 7,000 บาท กรณีนายจ้างไม่ได้ปฏิบัติ ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2558 เจ้าหน้าที่โครงการยุติธรรม เพื่อแรงงานข้ามชาติ มสพ. ได้น�ำนายซอตี่ห้า (Saw Thi Ha) ยื่นค�ำร้องขอความเป็นธรรมต่อพนักงานตรวจแรงงาน กรณี นายจ้างไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน และได้ทำ� ร้าย ร่างกายลูกจ้าง เมื่อลูกจ้างมีความประสงค์ลาออกจากงาน ต่อมาวันที่ 20 มีนาคม 2558 ได้มีการเจรจาไกล่เกลี่ยระหว่าง ฝ่ายนายจ้างและลูกจ้าง ณ ที่ส�ำนักงานตรวจแรงงาน ทั้งสอง ฝ่ายสามารถเจรจาตกลงกันได้ โดยนายจ้างตกลงจ่ายค่าชดเชย ให้แก่ลูกจ้างเป็นเงิน 7,000 บาท ลูกจ้างพอใจและไม่ติดใจ ด�ำเนินคดีใดๆ กับนายจ้างอีกต่อไป

ทายาทแรงงานข้ามชาติได้รับเงินเยียวยา กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน เป็นเงิน 303,000 บาท เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558 นายเมียวต่านต่าอู (Myo Thandar Oo) ถูกรถยนต์ชนระหว่างทีน่ ายเมียวต่านต่าอู ขับขี่ รถจักรยานยนต์ซึ่งมีมารดาซ้อนท้ายมาด้วย เพื่อเดินทาง กลับบ้านพัก หลังเกิดเหตุมารดาของผู้ตายได้รับบาดเจ็บและ มีบาดแผลตามร่างกาย ส่วนนายเมียวต่านต่าอู เสียชีวิตในวัน เกิดเหตุ เบื้องต้น คู่กรณีได้จ่ายเงินให้นางหวาน ภรรยาของ ผู้ตาย เป็นเงิน 3,000 บาท ได้นัดเจรจากันกับคู่กรณีเรื่อง ค่าเสียหายที่เกิดขึ้น แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ ทายาทของ ผูต้ ายจึงได้เข้าแจ้งความกับพนักงานต�ำรวจเรือ่ งกรณีอบุ ตั เิ หตุ และการเรียกร้องค่าเสียหาย และต�ำรวจได้นัดทายาทผู้ตาย และคู่กรณีมาเจรจาไกล่เกลี่ย ทั้งสองฝ่ายสามารถตกลงกัน โดยคูก่ รณีตกลงจ่ายเงินค่าเสียหายให้แก่ทายาทผูเ้ ป็นเงินรวม ทั้งสิ้น 303,000 บาท

(ภาพทายาทนายเมียวต่านต่าอูรับค่าสินไหมทดแทนจากคู่กรณี)

(ภาพนายซอตี่ห้า แรงงานรับเงินชดเชย ณ ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน)

6 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


กิจกรรมช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2558 11 มกราคม 2558 มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ จัดประชุมกับอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ เพื่อให้ความรู้ เรื่องสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นที่ สิทธิของแรงงานข้ามชาติตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน และการวางแผนการท�ำกิจกรรม ให้ความรู้ในชุมชนแรงงาน ของอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นที่ศูนย์การเรียนรู้ส�ำหรับแรงงานข้าม ชาติ ที่อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ มีอาสาสมัครแรงงาน ข้ามชาติเข้าร่วมจ�ำนวน 15 คน (เป็นชาย 11 คน หญิง 4 คน)

22 มกราคม 2558 ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุม รับฟังความคิดเห็น เรือ่ ง “ทิศทางการพัฒนากฎหมายแรงงาน สัมพันธ์ไทย” จัดโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย โดย วัตถุประสงค์การจัดประชุมครั้งนอกจากรับฟังความคิดเห็น แล้ว ยังเป็นการสนับสนุนให้เครือข่ายภาคประชาชนและ น�ำไปสู่ความร่วมมือในการขับเคลื่อนการปฏิรูปกฎหมาย แรงงานสัมพันธ์และการให้สตั ยาบันอนุสญ ั ญาองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 และ 98 ด้วย ที่เกี่ยวข้องกับ การเสรีภาพในการสมาคมและการร่วมเจรจาต่อรอง

5 กุ ม ภาพั น ธ์ 2558 คลิ นิ ก กฎหมาย ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก ได้จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านแรงงาน ข้ามชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง ความสันพันธ์ที่ดีกับแรงงานข้ามชาติ การให้ความรู้และให้ค�ำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน โดยเจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมายได้เยีย่ มแรงงานในชุมชนแรงงานข้ามชาติพนื้ ทีบ่ า้ นใหม่สามัคคี ต�ำบลห้วยกะโหลก อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีแรงงานอยู่จ�ำนวน 13 ครัวเรือน แรงงานในชุมชนส่วนใหญ่ท�ำงานในกิจการเกษตร เช่น ปลูกแตงกวา ปลูกข้าวโพด มีรายได้วันละ 120-200 บาท ในส่วนบุตรหลานของแรงงานข้ามชาติ จ�ำนวน 20 คน เรียนหนังสือ ในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และที่ศูนย์การเรียนรู้ส�ำหรับบุตรของแรงงานข้ามชาติ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ตัวแทน มสพ. เข้าร่วมประชุมเชิง ปฏิบตั กิ ารว่าด้วยบทบาทของฑูตแรงงานจากประเทศเพือ่ นบ้าน ในการสนั บ สนุ น แรงงานข้ า มชาติ เ ข้ า ถึ ง กลไกการร้ อ งทุ ก ข์ (Capacity Building Workshop on Strengthen the Role of Labour Attaches in Thailand: Complaints Mechanism) จัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่างประเทศ ร่วมกับกระทรวง แรงงาน ณ โรงแรมแลนด์มาร์ค โดยมีตัวแทนฑูตแรงงานจาก ประเทศเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา ตัวแทนฝ่ายองค์กรนายจ้าง ตัวแทนฝ่ายองค์กรลูกจ้าง ภาคประชาสังคม และจากกระทรวง แรงงานเข้าร่วมประชุมครั้งนี้ Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 7


16 กุมภาพันธ์ ตัวแทน มสพ. เข้าร่วมประชุมหารือระดับภูมิภาคว่าด้วย ความท้าทายในการพัฒนามาตรฐานและกลไกด้านสิทธิของแรงงานในอาเซีย จัดโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ณ โรงแรมฮอลิเดย์อนิ กรุงเทพมหานคร เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวปฏิบัติที่ดีและข้อท้าทาย ในการท�ำงานด้านการปกป้องสิทธิของแรงงานข้ามชาติจากตัวแทนผู้เข้าร่วมใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการเปลีย่ นความเห็นถึงการก�ำหนดมาตรฐาน ที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดการปกป้องและส่งเสริมสิทธิของแรงงานข้ามชาติในภูมิภาค อาเซียน

17 กุมภาพันธ์ มสพ. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ จัดกิจกรรม ให้ความรูแ้ ก่แรงงานข้ามชาติในชุมชนซึง่ เป็นแคมป์ ก่อสร้าง พื้นที่อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้ความรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิ ตามกฎหมายประกันสังคม การขึน้ ทะเบียนแรงงาน ข้ามชาติในประเทศไทย จากการแลกเปลีย่ นข้อมูล และให้ความรู้พบว่าแรงงานในชุมชนส่วนใหญ่ ยังมิได้เป็นผูป้ ระกันตนตามกฎหมายประกันสังคม เนื่องจากนายจ้างมิได้น�ำลูกจ้างขึ้นทะเบียนเป็น ผูป้ ระกันตน มีผเู้ ข้าร่วม แลกเปลีย่ นข้อมูล จ�ำนวน 34 คน เป็นแรงงานชาย 21 คน และหญิง 13 คน

26 กุมภาพันธ์ 2558 ตัวแทน เจ้ า หน้ า ที่ ค ลิ นิ ก กฎหมาย ประจ� ำ อ� ำ เภอแม่ ส อด เข้ า ร่ ว มประชุ ม การด�ำเนินการป้องกันและการแก้ไข ปัญหาความขัดแย้งด้านแรงงานสัมพันธ์ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ที่ ห ้ อ งประชุ ม ส� ำ นั ก งานด่ า นตรวจ คนเข้าเมืองแม่สอด จัดโดยส�ำนักงาน ตรวจคนเข้ า เมื อ ง อ� ำ เภอแม่ ส อด จังหวัดตาก 27 กุมภาพันธ์ 2558 ตัวแทนเจ้าหน้าทีค่ ลินกิ กฎหมาย ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด ได้มอบ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ให้แก่ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่ง ประเทศไทย (สวท.) แม่สอด เพื่อประโยชน์ ในการน�ำไปใช้ ในจัดท�ำรายการวิทยุ จ�ำนวน 1 ชุด

1 มีนาคม มสพ. ประจ�ำพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ จัดสัมมนา สาธารณะว่าด้วยเรือ่ ง “ก้าวให้พน้ ความเสีย่ ง: ร่วมคิดร่วมหาทางออก การคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติในระบบกองทุนเงินทดแทนและอนาคต ของแรงงานข้ามชาติในการขึ้นทะเบียนแรงงานในประเทศไทย” ณ โรงแรมธาริน จังหวัดเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ในการน�ำเสนอ รายงานว่าด้วยแรงงานข้ามชาติในการเข้าถึงเงินทดแทน กรณีประสบอันตรายจากการท�ำงาน การรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอ จากผู้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนสถานการณ์ด้านกระบวนการพิสูจน์สัญชาติของแรงงาน ภายหลังจากที่แรงงาน ได้ขึ้นทะเบียนกับศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ 8 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


3 มี น าคม คลินิกกฎหมาย อ�ำเภอ แม่สอด ร่วมกับเครือข่ายสิทธิเพือ่ แรงงานข้าม ชาติ (MWRN) จัดกิจกรรม ณ พื้นที่เมืองเมียวดี ประเทศเมียนมาร์ เพือ่ ให้ความรูด้ า้ นกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิของแรงงาน ให้กบั แรงงาน ข้ามชาติทเี่ ข้ามามาท�ำงานในประเทศไทยผ่าน ระบบการน�ำเข้าตามบันทึกข้อตกลงระหว่าง รัฐ MOU มี แ รงงานเข้าร่วมรับฟังจ�ำนวน ประมาณ 50 คน

5 มีนาคม คลินิกกฎหมาย ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้จัด กิจกรรมเยีย่ มบ้านแรงงานข้ามชาติ พืน้ ทีบ่ า้ นสองแคว อ�ำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก เพื่อให้ความรู้ทางกฎหมายด้านแรงงาน ซึ่งพบว่ามีแรงงานข้ามชาติใน พื้นที่ดังกล่าว จ�ำนวน 10 ครัวเรือน แรงงานบางส่วนท�ำงานในภาคกิจการ เกษตร และก่อสร้าง จากการให้ความรู้ทางกฎหมาย พบว่าแรงงานในพื้นที่ ยังขาดความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการพิสูจน์สัญชาติ กรณีที่แรงงานได้ไป ขัน้ ทะเบียนไว้กบั ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จตามนโยบายของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติเมื่อปี 2557

8 มีนาคม ผู้แทน ม ส พ . พื้ น ที่ จั ง ห วั ด เชี ย งใหม่ แ ละสมาชิ ก เครือข่ายสหพันธ์แรงงาน ข้ามชาติ (Migrant Workers Federation-MWF) ร่วม กิจกรรมเนื่องในวันสตรี สากล โดย มสพ. ได้น�ำ ตัวแทนบุตรหลานแรงงนข้ามชาติแสดงการเต้นร�ำและตัวแทนแรงงาน ข้ า มชาติ ห ญิ ง ร่ ว มเวที แ ลกเปลี่ ย นด้ า นสถานการณ์ ด ้ า นสิ ท ธิ ข อง แรงงานข้ามชาติ 11 มี น าคม มสพ. ประจ�ำจังหวัด เชี ย งใหม่ ร่ ว มกั บ อาสาสมั ค รแรงงาน ข้ามชาติ จัดกิจกรรม ให้ความรูแ้ ก่แรงงานข้ามชาติ ณ ทีโ่ รงงานเย็บผ้า ตัง้ อยูท่ ี่ อ�ำเภอ สันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ โดยฝ่ายนายจ้างได้ประสานมายัง มสพ. พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ในการให้ความรู้แก่แรงงานว่าด้วย เรื่องกฎหมายประกันสังคม มีแรงงานเข้าร่วมรับฟังการให้ ความรู้ทางกฎหมาย จ�ำนวน 24 คน เป็นแรงงานชาย 13 คน และหญิง 11 คน

8 มี น าคม 2558 เจ้ า หน้ า ที่ ค ลิ นิ ก ก ฎ ห ม า ย อ� ำ เ ภ อ แ ม ่ ส อ ด เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม เ นื่ อ ง ใ น วั น ส ต รี สากล เช่น ร่วมกับ กลุ่มแรงงาข้ามชาติ ห ญิ ง ใ น ก า ร เ ดิ น รณรงค์ในพื้นที่อ�ำเภอแม่สอดเพื่อเรียกร้องให้สังคม ได้เห็นความส�ำคัญของวันสตรีสากล และความส�ำคัญ ของลูกจ้างหญิง นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมการเล่นกีฬา ระหว่างเครือข่ายแรงงานสตรีและตัวแทนองค์กร ภาคประชาสังคมในพื้นที่อ�ำเภอแม่สอด

19 มีนาคม ผู้แทน มสพ. และ ตั ว แทนสมาชิ ก เครือข่ายประชากร ข้ามชาติ (Migrant Working Group) เข้าพบนายอารักษ์ พรหมณี รองปลัดกระทรวงแรงงาน เพือ่ น�ำเสนอสถานการณ์การด�ำเนินกิจกรรมด้านการส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย การแลกเปลี่ยนความคิดด้านการบริหารจัดการแรงงาน ข้ามชาติและข้อเสนอแนะ Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 9


21-23 มีนาคม ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการในระดับ ภูมภิ าคว่าด้วยกฎหมายและต่อสูเ้ พือ่ ความยุตธิ รรมและศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ จัดโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายร่วมกับสถาบันเพื่อสิทธิมนุษยชนและ แห่งเอเชีย (AIHR) โดยมีวัตถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้านการน�ำความรู้ทางกฎหมายเพื่อการช่วยเหลือคดีแก่ประชาชนให้ได้รับ ความยุติธรรม

23 มีนาคม ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง ทิศทางการบริหารจัดการแรงงาน ข้ามชาติ จัดโดยกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ณ โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร โดยกรมการ จัดหางานได้นำ� เสนอการด�ำเนินงานด้านการจดทะเบียน แรงงานข้ามชาติ แนวคิดการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติ รวมทัง้ การรับฟังการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากผู้เข้าร่วมจากตัวแทนองค์กรนายจ้าง ลูกจ้าง และ ภาคประชาสังคม

29 มี น าคม มสพ. ประจ� ำ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ร่วมกับอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติ จัดกิจกรรมให้ความรู้ ว่าด้วยเรื่องสิทธิของแรงงานตามพรบ.เงินทดแทน พ.ศ. 2537 บริเวณแคมป์คนงานก่อสร้างหมู่บ้านกาญกนก 1 จังหวัดเชียงใหม่ มีแรงงานเข้าร่วมรับฟังการให้ความรู้ ทางกฎหมาย จ�ำนวน 24 คน เป็นแรงงานชาย 18 คน และหญิง 6 คน 10 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

25-26 มีนาคม ผู้แทน มสพ. เข้าร่วมประชุมกรรมการ ในโครงการส่งสิทธิแรงงานข้ามชาติ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง จัดโดยองค์การด้านแรงงานระหว่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยมีวตั ถุประสงค์ในการน�ำเสนอกิจกรรมภายใต้ ในรอบห้าปีที่ผ่านมา (2553-2557) และข้อคิดเห็นต่อการจัดท�ำ แผนกิจกรรมในระยะที่สองของโครงการปี 2015 31 มีนาคม ผู้แทน มสพ. น�ำเสนอความเห็นต่อบทบาท ของสือ่ มวลชนในอาเซียนว่าด้วยเรือ่ ง แรงงานข้ามชาติในอาเซียน: การส่งเสริมภาพลักษ์ที่เป็นบวก (Migrant Workers in ASEAN: Promoting a More Positive Image) จัดโดยองค์กรด้านแรงงาน ระหว่างประเทศ ซึ่งการน�ำเสนอความเห็นในเวทีดังกล่าว เป็น ส่วนหนึ่งของงาน “Reporting ASEAN: A Media Forum” ทีส่ นับสนุนโดย ASEAN Foundation, Japan-ASEAN Solidarity Fund และ The Rockefeller Foundation


An interview with Labour Attache

(Embassy of Republic of the Union of Myanmar),

Special interview

Mr. Thein Naing

W

hat are the roles of Labour Attache’ toward Myanmar workers in Thailand?

Help to look after and assist the migrant workers, ensure that they are accorded with the rights they are entitled to according to the law and look into how their quality of life is.

M

ajor issues regarding Myanmar workers you have found while working in Thailand.

There are many things, particularly the workers who have made illegal entries. They are not the workers registered according to the MOU. It has given rise to problems during the National Verification process since they have not been documented. It causes a lot of problems, particularly with the Thai employers. We have been trying to address the issues. Another thing is when the employer has brought the worker inside, instead of getting the worker to apply for work permit, the process of which takes quite some time, the employer simply has the worker start working for them first. They cannot wait and they have to get the worker start working right away. When a labour inspector finds out, the worker can get arrested,. I think the problem lies with the procedure to apply for work permit in Thailand (which takes too long time). Once it can be addressed, the situation should get better.

C

ould you be more specific and concrete regarding the solutions to the problems?

To address illegal workers, the government of Myanmar has set up the Myanmar Overseas Employment Agency Foundation (MOEAF) and allowed labour agencies to register with us to help and disseminate information among workers who want to work in Thailand. Through the channels, hat is your take on workers coming in to work they are informed of their labour rights and the in Thailand? right to choose their work. I think if they come here via the registration hat is the legal support provided by the process of the MOU, it will benefit them the most. In Embassy toward Myanmar workers in various meetings I have attended, I have always urged the employers to only employ those workers registered Thailand? If the workers are registered under the MOU via the MOU system. But we have to admit that there are lots of illegal workers and they can cause many system, they shall receive initial help from the problems, For example, since they have no papers, they labour agencies. And we keep informing the can get arrested when the police raid their places. So agencies. When any problem arises, the agencies I plead that the employers should refrain from hiring can start to negotiate. And when notified, I would illegal workers in order to reduce the number of workers get in and try to resolve the problem myself, too. coming in illegally.

W

W

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 11


C

ould you give an example of your own inter- They can use it just like the BTS train card which vention? enables them to cross in and out. In the card,

It is only applied on important cases such as mortality. Since most workers are not aware of their rights, when any incidence happens, like, i.e., when a worker dies, it is hard for them to demand the employer to provide due compensation to the family of the dead worker.

H

information concerning the worker shall be stored. It will help reduce the costs of managing labour information making it easier to retrieve than the paper based system.

W

hat are the agencies in Myanmar giving assistance to its own workers abroad?

There are many of them. Most of them are as there been a case an employer refused to pay? associations, both legal and illegal (registered and

No, but it always takes some time to compile not registered), for example the MOEAF I just mentioned about, which belongs to a private sector. all the papers. They are officially designated by the Myanmar part from mortality, what else is your direct Ministry of Labour to look after and assist workers intervention? working abroad. When a worker suffers injury from work, we ny preparations are being made in anticipademand that they initially receive remedies from the tion of the AEC as far as labour is concerned? social security system. In addition, we would make An attempt is being made intensely to help a visit to the injured workers or to participate in an important traditional ceremony of the workers. We and keep the workers informed about Thailand so also attend funeral services, visit them at hospital, that when they come here they have the knowledge and offer them financial help when we meet. We and understanding about Thai laws. keep them informed of their labour rights any time hat are the challenges after the AEC comes we get to meet. As for the MOU workers, we would around? venture out to give them information on the There are certainly challenges. We have to regulations and to see how they live. If requested, we would intervene to settle any dispute. For address it one at a time. But if they are legal workers, example, if a worker has his or her passport withheld they should not face any problem. So right now, our by their employers, we would help to negotiate. Or effort is being geared toward making them legal as lately, we have just rescued and provided support much as we can. to a group workers lured here to work in garbage ny challenges or obstacles concerning the recycling plant. We receive help from the MRTV MOU workers? television station, too. And the rescued workers shall The challenges are mostly about how to get be helped to leave the country safety. adapted to the new environment and workplaces. ow is you planning for the long term and short Another thing is language which can be an obstacle to communication. term policies for migrant workers? In a long run, the G2G (Government-tony suggestions or comments you may have? Government) importation of workers, direct I urge that all organizations and agencies collaboration between the government, will be employed to mutually assist each other in terms get to help to disseminate information among the of labour supplies. For example, through the employers and employees, particularly to urge the collaboration, the Myanmar government will get to employers to give preference to MOU workers. Many visit the Myanmar workers working in Thailand. In a parties have got to help and it will benefit our short run, we plan to issue a card for the workers. workers at present and in future.

A

A

W A

H

12 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

A


Updates of highlighted cases Migrant workers recruited via the MoU have received unpaid wages after being sacked by employer In October 2014, 39 migrant workers from Myanmar have entered to work in Thailand as per the MoU signed between Thailand and Myanmar. Their recruitment has been arranged by an agent from Myanmar, Moe Moe Family General Services Co. Ltd. and they have landed in a women jewelry factory based in the province of Samut Prakan. They each was given 300 baht per day plus an overtime payment of 56 baht per hour. On 10 December 2015, ten of them were transferred by their employer to Mae Sot. They were not told that they had already been sacked and the payment of their wages up to 15 days has not been made to them plus 42 OT hours each. The ten workers complained and wanted their employer to pay them the wages due. On 7 January 2015, our staff from Law Clinic in Maesot District, Tak, has approached and given them help. The labour agent, the Moe Moe Family General Services Co. Ltd. was asked to negotiate with the factory. As a result of the negotiation, the factory agreed to pay due wages and OT wages to the ten employees for the amount of 14,500 baht each, and issued them a letter to allow them to change their employer. The term reached was satisfactory to the workers.

Insurance company agreed to provide 35,000 baht as compensation to descents of migrant worker who died from car accidence On 21 December 2014, around 21.00, Mr. Pi Pyo Ong, a migrant worker, suffered car accidence as a pickup truck rammed into the motorcycle he drove. The incidence took place on Asia Highway between Mae Sot-Prob Phra. According to police investigation, the accidence happened as a result of careless driving of both the motorcycle and pick up truck drivers. After the accidence, the truck driver offered to give 15,000 baht to help the family of Mr. Pi Pyo Ong. Our Law Clinic staff in Mae Sot has approached to help Mr. U Tan Ong, 65 years, father of the deceased, in his attempt to ask for compensation from the insurance company, Viriyah Insurance PLC to which the truck driver registered his vehicle. The company agreed to provide 35,000 baht as indemnity to the descents of Mr. Pi Pyo Ong. The payment was made on 21 January 2015.

(Picture of Mr. U Tan Ong, receiving the compensation from Viriyah Insurance PLC)

The Chiang Mai Juvenile and Family Court convicted and sentenced Shan youth to jail on physical assault and premeditated murder On 3 February 2015, around 09.00am, the judges of the Chiang Mai Juvenile and Family Court delivered a verdict on the case against Mr. Kan, (Picture showing when negotiation on wages taking place defendant no. 1 (not his real name), Mr. Sor, defendant no. 2 (not his real name) and Mr. Chai, defendant between the employer and employees)

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 13


no. 3 (not his real name), all of whom have no Thai nationalities and lived here temporarily with ID cards for undocumented persons. They were indicted with the Chiang Mai Juvenile and Family Court on murder charges and violation of the Immigration Act. Descents of the deceased asked to be interpleader of the case. The Court found the three defendants guilty for being aliens but straying outside the designated area without permission. Also, the Court found them guilty for committing premeditated murder based on evidence from the prosecution and guilty for carrying arms in the city, town or public way without necessary reasons. The first defendant was sentenced to six years and 19 months, second and third defendants to 11 years and three months each. Given that the offence was committed when they were not yet 18 years of age, the Court invoked the 2010 Act for the Establishment of and the Procedure for the Juvenile and Family to commute the imprisonment to probation at the Chiang Mai Juvenile and Youth Probation Center. The first defendant is supposed to spend time there three years minimum and not more than four whereas the second and third defendants will be there four years minimum and not more than five. If the defendants reach 24 years of age and they still have not completed their probation period, they shall be transferred to a prison to do the remaining time there. As for illegal arms carrying, the first defendant was fined for 20 baht, the second and third defendants for 30 baht. Bail request was made and the Appeals Court agreed to let the second and third defendants go. The case stems from the arrest of Mr. Sor and Mr. Chai, the second and third defendants, on 8 April 2013. They were accused of collaborating with the first defendant to commit the crime. While being held in custody, the second and third defendants complained that when they were arrested they were not informed of the charges and the officials did not produce any warrants. They were also subjected to torture and ill-treatment aiming to force them to confess to the offence they had never committed. In addition, the second and third defendants

14 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

and their attorney asked the Court to have the Constitutional Court review constitutionality of the 2010 Act for the Establishment of and the Procedure for the Juvenile and Family Court’s Article 121 which requires that a legal counsel, apart from being a registered attorney, must have trained on juvenile and family procedure and knowledgeable on psychology, social work and other fields of knowledge as stipulated in the Supreme Court Chief Justice’s Regulation. They challenged that the Act is in breach of Section 40(7) of the 2007 Constitution since it has led to unnecessary constrain for juvenile offenders to appoint the attorney of their choice to help them during the court hearing since it requires that the attorney has to train as a legal counsel as per the 2010 Act for the Establishment of and the Procedure for the Juvenile and Family Court. Given the clause, the attorney which has been chosen by the second and third defendants to represent them could not do the job since she lacks such qualification. But the Trial Court and the Appeals Court Region 5 dismissed the request claiming it an interlocutory order. At the present, both the second and third defendants have appealed and are awaiting the review of the Appeals Court.

Insurance company agreed to provide 165,000 baht as compensation to descents of migrant worker who died from car accidence

(Picture of Mrs. Nun No Kai, descent of the deceased receiving the compensation from the Viriyah Insurance PLC)

On 8 January 2015, around 9.00am, Mr. Saw So Ong, 16 years, was hit by a ten-wheeled truck


while driving a motorcycle home and died instantly. The crime scene took place by Mae Pa Wittayakom School, Mae Sot District, Tak. After the incidence, the truck driver gave 15,000 baht to support the family of Mr. Saw. Our staff at the Law Clinic in Maesot District, has approached Mrs. Nun No Kai, Mr. Saw’s mother, to ask for compensation from the Viriyah Insurance PLC and voluntary insurance from IMG Broker Co. Ltd. to which the truck was registered. The Viriyah Insurance PLC agreed to provide 165,000 baht as indemnity to the descents of Mr. Saw who received it on 19 March 2015.

Descents of migrant workers received 303,000 baht as compensation for road accidence

On 17 February 2015, Mr. Myo Thandar Oo was hit while he was driving a motorcycle home with his mother riding in the back. After the incidence, his moth suffered wounds and bruises all over the body while Mr. Myo Thandar Oo died at the crime scene. Initially, the other party agreed to give 3,000 baht as compensation to his surviving wife. A meeting was held, but they could not agree on proper compensation. Thus, the descents of the deceased the case to the police and asked for Migrant worker received 7,000 baht as reported for the accidence. The police arranged compensation from the employer as the compensation for a meeting between the descent of the deceased employer was found to have flouted and the other party. An agreement was reached as labour protection law the other party agreed to provide 303,000 baht for On 9 March 2015, staff from Migrant Justice compensation of all damage done. Program (MJP), HRDF, has accompanied Mr. Saw Thi Ha to complain with the Labout Inspector as his employer had failed to act in compliance with the labour protection law and even committed a physical assault against him when he asked to resign for the job. Then on 20 March 2015, a negotiation was held between the employer and employee at the Office of Labour Inspection. Both have reached an agreement and the employer agreed to give 7,000 baht as compensation to the employee who felt happy and did not want to take any legal action against the employer. (Picture showing descent of Mr. Myo Thandar Oo receiving compensation from the other party)

(Picture of Mr. Saw Thi Ha, the worker receiving compensation at the Office of Labour Welfare and Protection)

Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 15


Interesting Activities 11 January 2015 HRDF Chiang Mai held a meeting of migrant worker peer educators providing them knowledge on fundamental human rights, rights of migrant workers according to labour protection law, and planning activities to educate community of migrant workers. The meeting was held at the learning center of migrant workers in Sarapee District, Chiang Mai with the participation of 15 migrant worker peer educators (11 males and four females).

22 January 2015 HRDF representative attended a consultation on “The Direction of Thailand’s Labour Relations Law” organized by the Law Reform Commission of Thailand (LRCT). Apart from soliciting input, the meeting was aimed at encouraging participation of civil society organizations and forging collaboration to advocate the reform of labour relations law and ratification of the ILO Convention no. 87 and 98 on the Right to Organize and Collective Bargaining.

5 February 2015 Our Law Clinic in Maesot District, Tak, conducted home visit to the community of migrant workers aiming to enhance relationships with them, educating them and giving them advice on labour law. Our Law Clinic staff conducts regular visits to the community of migrant workers in Ban Mai Samakkhi, Tambon Huay Kaloke, Maesot District, Tak, where 13 families live. Most of them live off agriculture including growing cucumber, corn, etc. earning about 120-200 baht per day. Their children, about 20 of them, are enrolled in public schools and also attend at learning center for children of migrant workers. 13 February 2015 HRDF representative attended “the Capacity Building Workshop on Strengthening the Role of Labour Attaches in Thailand: Complaints Mechanism” organized by the ILO in collaboration with the Ministry of Labour. Held at Landmark Hotel, the event was attended by labour attaches from Myanmar, Lao and Cambodia, representatives from employer and employee organizations, civil society and representatives from the MoL. 16 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ


16 February HRDF representative attended the Regional Consultation on Prospects Challenges to Developing ASEAN Standard and Mechanism on the Rights of Workers organized by the Law Reform Commission (LRC), the National Human Rights Commission (NHRC) and Representative of Thailand to the ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) at Holiday Inn Hotel in Bangkok. It was an exchange of experience, best practices and challenges in working to defend the rights of migrant workers among delegations from all over South East Asia and brainstorming on how to develop decent standards to protect and promote the rights of migrant workers in ASEAN.

17 February HRDF-MJP Chiang Mai in collaboration with migrant worker peer educators organized an educational activity for migrant workers in construction camp site in the district of Doi Saket, Chiang Mai aiming to provide knowledge and for exchange of information on rights based on social security law, registration of migrant workers in Thailand. From the discussion, it was found that most workers in the community are not socially insured employees as their employers have failed to register them. There were 34 participants including 21 males and 13 females.

26 February 2015 Our representative from the Law Clinic in Maesot District, Tak, attended the meeting for the prevention and solution of labour relation dispute in Mae Sot Special Economic Zone at a meeting room of the Mae Sot Immigration Office. Maesot District, Tak. 27 February 2015 Our representative from the Law Clinic in Maesot District, Tak, donated one computer set to the Mae Sot radio station under the Public Relations Department for their radio broadcast.

1 March HRDF-MJP Chiang Mai organized the Public Forum on A Step beyond Risk: Brainstorming on Solutions to Protect Migrant Workers in the Workmen’s Compensation Fund System and the Future of Migrant Workers’ Registration in Thailand Sunday, 1 March 2015, at Tharin Hotel, Chiang Mai. It was a chance to present a report on migrant workers and their access to the workmen compensation fund for workers suffering from work related injuries and to listen to opinions and proposals from the participants as well as to exchange experience regarding the Nationality Verification process conducted by the one-stop service center. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 17


3 March Labour Law Clinic in Maesot District, Tak, and the Migrant Workers Right Network (MWRN) conducted an activity in Myawaddy, Myanmar, to educate potential migrant workers about legal knowledge concerning labour rights as they are workers to be recruited based on the MoU made by the two states. The event was attended by about 50 participants.

5 March Labour Law Clinic in Maesot District, Tak, conducted home visits to the community of migrant workers in Ban Song Kwae, Maesot District, Tak, to give them labour law knowledge. It was found that among the ten families of migrant workers, some are employed in agricultural sector, some in construction, but most of them have little knowledge about the Nationality Verification process conducted by the one-stop service center as required by the policy of the National Council for Peace and Order (NCPO) in 2014.

8 March Representative from HRDF-MJP Chiang Mai and members of the Migrant Workers Federation (MWF) participated in an event to mark International Women’s Day. HRDF brought descents of the migrant workers to perform dance and the female migrant workers to participate in an exchange of experience on the situation of the rights of migrant workers. 11 March HRDF-MJP Chiang Mai and migrant worker peer educators organized an educational activity for migrant workers at a sewing factory in San Kam Phaeng District, Chiang Mai. It was made as per a request of the employers through the HRDF Chiang Mai to educate the workers about social security law. There were about 24 workers, 13 males and 11 females, at the meeting.

18 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

8 March 2015 Representative from Labour Law Clinic in Maesot District, Tak, parti-cipated in an event to mark International Women’s Day including a march of women migrant workers around the city of Mae Sot to raise public awareness about the importance of International Women’s Day and female employees. There was also a sports contest of the network of women workers and civil society organizations in Mae Sot. 19 March Representatives from HRDF and the Migrant Working Group (MWG) met with Mr. Arak Prommanee, Deputy Permanent Secretary of the Ministry of Labour to present to him detail of our activities to promote and protect the rights of migrant workers in Thailand and to exchange with him ideas and proposals about the management of migrant workers.


21-23 March Representatives from HRDF participated in a regional workshop on law and the struggle for justice and human dignity organized by the Law Reform Commission (LRC) and the Asian Institute for Human Rights (AIHR). It aims to allow an exchange of experience to use legal knowledge to ensure that people have access to justice.

23 March Representatives from HRDF attended a workshop on the direction of the management of migrant workers organized by the Department of Employment, MoL at the Emerald Hotel, Bangkok. The DoE presented its procedure for the registration of migrant workers, its concept in the management of migrant workers and listened to opinions and suggestions from participants including representatives from employer and employee organizations and civil; society.

25-26 March Representative from HRDF attended a board meeting of the project to promote the rights of migrant workers in Mekong Subregion organized by the ILO in Phnom Penh, Cambodia. It aims to present activities conducted in the past five years (2010-2014) and solicit feedback on its second phase of action plan for the year 2015. 31 March Representative from HRDF made a presentation regarding the roles of media on Migrant Workers in ASEAN: Promoting a More Positive Image organized by the ILO. It was part of the “Reporting ASEAN: A Media Forum” sponsored by ASEAN Foundation, Japan-ASEAN Solidarity Fund and the Rockefeller Foundation.

29 March HRDF-MJP Chiang Mai and migrant worker peer educators organized an educational activity on labour rights according to the 1994 Workmen’s Compensation Act at a construction camp site in Kankanok Villa 1, Chiang Mai with 24 participants including 18 males and 6 females. Newaletters Access to Justice and Rights Protection for Migrants Workers in Thailand 19


Photo by Ste’phane Grasso

บรรณาธิการ: นางสาวปรีดา ทองชุมนุม และนางสาวภัทรานิษฐ์ เยาด�ำ ติดต่อ: มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร (เฉพาะ โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน) 109 ซอยสิทธิชน ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท์ 02 277 6882 โทรสาร 02 275 4261 www.hrdfoundation.org มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสาคร 93/200 หมู่ที่ 7 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์/โทรสาร 034 414 087 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดตาก 14/12 ถนนประสาทวิถีเดิม ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63100 โทรศัพท์/ โทรสาร 055 535 995 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ 71 ถนนสนามกีฬาซอย 1 ชุมชนอุ่นอารีย์ ซอย 4 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/โทรสาร 053 223 077 20 จดหมายข่าวด้านแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยการเข้าถึงความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิ

Editor: Ms.Preeda Tongchumnum and Ms.Phattranit Yaodam Contact: Human Rights and Development Foundation–Bangkok (for the Anti–Human Trafficking Project only) 109 Soi Sitthichon, Suthisarnwinichai Road, Samsennok, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 662 277 6882 Fax. 02 2754261 www.hrdfoundation.org HRDF, Samut Sakhon Branch Office 93/200 Moo 7, Ta Sai Sub–district, Muang District, Samut Sakhon 74000 Tel/Fax 034 414 087 HRDF, Mae Sot District Branch Office 14/12 Prasart Witheederm Road, Mae Sot Sub–district, Mae Sot District, Tak 63100 Tel/Fax 055 535 995 HRDF, Chiang Mai Branch Office71 Sanamkeela Road, Soi 1, Un–Aree Community, Soi 4, Sriphum Sub–district, Muang District, Chiang Mai 50200 Tel/Fax 053 223 077


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.