เอกสารประกอบการเรี ยนรู้วชิ า เคมี (ว30223) หน่วยที่ 3 :กรด-เบส โดยครู ศิริวฒ ุ ิ บัวสมาน โรงเรี ยนศรี สมเด็จพิมพ์พฒั นาวิทยา หน้า
1
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3
กรด-เบส (ACID – BASE) 3.1 สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte solution) สารละลาย (Solution) คือ ของผสมเนื้อเดียวที่ประกอบด้วย ตัวละลาย(ตัวถูกละลาย) + ตัวทาละลาย สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) คือ สารที่แตกตัวเป็ นไอออนซึ่งนาไฟฟ้ าได้
ประเภทของสารละลายแบ่ งตามสภาพการนาไฟฟ้ าเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้ 1. สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte solution) คือ สารละลายที่ไม่นาไฟฟ้ า เพราะ ตัวละลายไม่แตกตัวเป็ น ไอออนในตัวทาละลาย เช่น สารละลายน้ าตาลกลูโคส (C6H12O6) , สารละลายเอทานอล (C2H5OH) 2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte solution) คือ สารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวเป็ นไอออนและนาไฟฟ้ าได้ เพราะมีสาร อิเล็กโทรไลต์เป็ นตัวละลาย ซึ่งประกอบด้วย ไอออนบวกและไอออนลบ เคลื่อนที่ในตัวทาละลาย เช่น สารละลายกรด สารละลายเบส และ สารละลายเกลือต่างๆ
ประเภทของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แบ่ งตามปริมาณสารอิเล็กโทรไลต์ เป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. อิเล็กโทรไลต์แก่ (Strong electrolyte) คือ สารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวเป็ นไอออนได้ท้ งั หมด (100%) เกิดไอออนบวกและ ไอออนลบปริ มาณมาก เช่น สารละลาย KNO3 , HNO3 , KOH
HNO3 (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + NO3- (aq) 2. อิเล็กโทรไลต์ อ่อน (Weak electrolyte) คือ สารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวได้นอ้ ย ให้ไอออนได้เพียงบางส่วน เช่น สารละลาย
CH3COOH , NH3 NH3 (aq) + H2O (l)
NH4+ (aq) + OH- (aq) (บางส่วนของ NH3 ไม่แตกตัว)
* สารละลายอิเล็กโทรไลต์อาจมีสมบัติเป็ นกรด เบส หรื อเป็ นกลางก็ได้
3.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส 3.2.1 สมบัติทวั่ ไปของสารละลายกรดและเบส สารละลายกรด 1. เป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ นาไฟฟ้ าได้ 2. มีรสเปรี้ยว มีฤทธิ์กดั กร่ อน 3. มีค่า pH < 7 4. เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีนา้ เงินเป็ นสีแดง 5. ไม่เปลี่ยนสี ฟีนอล์ฟทาลีน 6. คายความร้อนเสมอเมื่อละลายน้ า 7. ทาปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและนา้ 8. มักทาปฏิกิริยากับโลหะได้เกลือกับก๊าซ H2 (ยกเว้น โลหะมีตระกูล เช่น Ag , Au , Pt ) 9. ส่วนใหญ่มี H+ เป็ นองค์ประกอบ
สารละลายเบส 1. เป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ นาไฟฟ้ าได้ 2. มีรสฝาดหรือขม ลื่นมือคล้ายสบู่ 3. มีค่า pH > 7 4. เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็ นสีนา้ เงิน 5. เปลี่ยนสี ฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสีเป็ นสี ชมพู 6. คายความร้อนเสมอเมื่อละลายน้ า 7. ทาปฏิกิริยากับกรดได้เกลือและนา้ 8. ไม่ทาปฏิกิริยากับโลหะ (ยกเว้น Al , Zn ) 9. ส่วนใหญ่มี OH- เป็ นองค์ประกอบ