I AMNESTY/NOVEMBER 2012
ไอแอมเนสตี้/พฤศจิกายน 2555
I AMNESTY M A
M
N
E
ARTIST FOR AMNESTY
S
T
O N Y
T H L Y I N T E
R
E N
— N A T
E I
W S O N
L A
E L
T
T E R T H A I
L
A
N
D
แอมเนสตี้ฯ ประเทศไทย หารือกระทรวงการต่างประเทศ “พักการใช้โทษประหารชีวิต” วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 ตัวแทนจากแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยจึงได้ทาการปรึกษาและยื่นหนังสือต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศเพื่อเรียกร้องให้มีการพักการใช้โทษประหารชีวิต โดยคุณพรประไพ กาญจนรินทร์ อธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวแทนเข้าร่วมปรึกษาและรับมอบหนังสือ นายสมชาย หอมลออ ประธานแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย กล่าวถึงการรณรงค์ยกเลิกโทษประหารชีวิตว่า แม้ ปัจจุบนั ประเทศไทยยังคงมีการตัดสินลงโทษประหารชีวติ อยู่ แต่ในแผนแม่บทสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 25522556) ที่รฐั บาลได้ประกาศอย่างเป็นทางการและมีผลปฏิบัติตงั้ แต่ปี 2553 เป็นต้นมานั้น หนึ่งในตัวชีว้ ัดต่อความสาเร็จในการ ดาเนินการตามแผนนี้ คือตัวชี้วดั กลยุทธ์ที่ 3.1 ว่ามีการยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยเปลีย่ นให้เป็นโทษจาคุกตลอดชีวติ ซึง่ ถือได้ว่า เป็นพันธสัญญาของรัฐบาลทีจ่ ะให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวติ ใน ที่สุด และในการประชุมของคณะกรรมาธิการทีส่ ามของที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งองค์การสห ประชาชาติ เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน 2555 ที่ผ่านมา รัฐภาคีสมาชิกได้ร่วมลงคะแนนต่อมติพักการใช้โทษประหารชีวิต โดยมีรัฐที่ลงคะแนนเสียงเห็นชอบ 110 เสียง งดออกเสียง 36 เสียง และคัดค้าน 39 เสียง องค์การแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ขอชื่นชมที่รัฐบาลไทย ลงคะแนน “งดออกเสียง” และไม่คัดค้านต่อมติข้อตกลงการพักใช้โทษประหารชีวติ ดังกล่าว
ปิยทัต เหมทัต ช่างภาพอิสระ ศิลปินไทยผู้หลงใหลในศิลปะการ ถ่ายภาพ เคยมีผลงานตีพิมพ์ใน นิตยสารหลายฉบับทั้งในประเทศ และต่างประเทศ อาทิ Time Magazine New York , The Guardian London , Image, ดิฉัน ฯลฯ ร่วมสนับสนุน “Freedom of Expression” สิทธิเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็น!
Piyathat Hemmathat, Thai freelance photographer with a passion for arts who has worked with the Time Magazine (New York), The Guardian (London), Image (Bangkok), and other prestigious publications is supporting the "freedom of expression".
ww.facebook.com/ Artist4Amnesty
“เราขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทยสนับสนุนและลงมติ “เห็นชอบ” ต่อมติการพักใช้โทษประหารชีวิตที่จะมีขึ้นอย่างเป็นทางการในที่ ประชุมสมัชชา ใหญ่ฯ ในเดือนธันวาคม 2555 เพื่อแสดงจุดยืนและเจตนารมณ์ของรัฐบาลไทยต่อการเคารพและปกป้องสิทธิ มนุษยชน ในเวทีระหว่างประเทศ ทั้งยังนับเป็นการปฏิบัตติ าม แผนแม่บทสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และปฏิบัติตาม พันธกรณีของไทยที่มีตอ่ กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ทั้งปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การ สหประชาชาติ และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมือง” นายสมชายกล่าว นางสาวปริญญา บุญฤทธิ์ฤทัยกุล ผูอ้ านวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ยืน่ หนังสือถึงรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศระบุว่า แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทยเรียกร้องให้รัฐบาลไทยควรพิจารณาสนับสนุน แนวโน้มที่เกิดขึ้นในเวที ระหว่างประเทศในทางที่ยกเลิกโทษประหารชีวิต ดังนี้ > ประกาศยุติการประหารชีวิตในทางปฏิบัติอย่างเป็นทางการโดยทันที เพือ่ ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติแม่บทว่าด้วยสิทธิ มนุษยชน โดยมีเจตจานงทีจ่ ะออกกฎหมายให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในท้ายที่สดุ > ให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวติ และให้ใช้โทษจาคุกตลอดชีวิตแทนภายในปี 2556 > ประเทศไทยควรให้สัตยาบันรับรองพิธสี ารเลือกรับฉบับทีส่ อง ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง (Second Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights)
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ต่อต้านโทษประหารในทุกกรณี โดยถือเป็นการละเมิดสิทธิที่ในการมีชีวิต และถือเป็นการลงโทษ ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม และดูหมิ่นศักดิ์ศรีมากสุด จากการประชุมปรึกษาหารือ คุณพรประไพ กาญจนรินทร์ อธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ กล่าวว่า สาหรับประเทศ ไทยในปีนี้คิดว่าคงจะงดออกเสียงในมตินี้ไปก่อน แต่ก็ยงั มีความคืบหน้าในประเด็นดังกล่าว ซึ่งขณะนี้กระทรวงยุตธิ รรมได้จัดสรร งบประมาณจานวนหนึง่ ให้กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพเป็นผูร้ ับผิดชอบ ในการว่าจ้างให้คณะนิตศิ าสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ศึกษาวิจยั และการเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนว่ามีความคิดเห็นอย่างไร หากมีการยกเลิกโทษประหารชีวิต ซึ่งผล การศึกษาจะแล้วเสร็จในเดือนกันยายนปี 2556