SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 106 - จังหวัดเชียงใหม่

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2563

Chiang Mai EXCLUSIVE

นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

EXCLUSIVE

เปิดเมนูการท่องเที่ยว

ดร.จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ ประธานสันนิบาตจังหวัดเชียงใหม่

การผนึกก�ำลังพั ฒนา ท้องถิ่นทุกด้าน

จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนักธุรกิจในชุมชน

Vol.10 Issue 106/2020

www.issuu.com

อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์


EXC LUS I VE

CHIANG MAI MUNICIPAL GOVERNMENT OF LEAGUE ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ และ ประธานคณะกรรมการสันนิบาตเทศบาลภาคเหนือ

ดร. จ� ำ รู ญ เร่ ง ถนอมทรั พ ย์

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


“เราบริหารงานเทศบาลด้วยความ ซื่อสัตย์ โปร่งใส่ ทุ่มเท อย่างจริงใจ สามารถตรวจสอบได้ โดยยึดหลักการ บริหารจัดการที่ดี และยึดหลัก ธรรมาภิบาล”

ดร. จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ นายกเทศมนตรี ต�ำบลหางดง ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด เชียงใหม่ และ ประธานคณะกรรมการสันนิบาต เทศบาลภาคเหนือ กับภารกิจเพือ่ ชาติอย่างรอบด้าน และครบวงจรของการบริหารท้องถิ่นที่อยู่ในใจ ของประชาชน นโยบายด้านการบริหาร เทศบาลต�ำบลหางดง พัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารงาน ของเทศบาล เพื่อให้มีความพร้อมและก�ำลังคน ที่ มี ขี ด ความสามารถในการปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่าง มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลมีความคุ้มค่า และเกิ ด ความเป็ น ธรรมในการให้ บ ริ ก าร สาธารณะ และปรั บ ปรุ ง ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ เทศบัญญัติ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดี อีกทัง้ ปรับปรุงการให้บริการประชาชน ด้วยการ สร้างนวัตกรรมและน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ใน การให้บริการรูปแบบต่างๆ เพื่อลดภาระและ อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน เช่น โปรแกรม ฐานข้ อ มู ล โดยใช้ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ พั ฒ นา ระบบงานและสมรรถนะของพนักงานและเจ้า หน้ า ที่ ข องเทศบาลทุ ก ระดั บ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการ องค์กรแห่งการพัฒนาและการเรียนรู้ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และพัฒนาการให้บริการ โดยเน้นความส�ำคัญ รูปแบบขององค์กร ให้เป็นองค์กรแห่งการพัฒนา และองค์ ก รแห่ ง การเรี ย นรู ้ เป็ น หน่ ว ยงาน ทีบ่ ริการจุดเดียวแบบครบวงจร มีการออกหน่วย

เทศบาลเคลือ่ นทีเ่ ป็นระยะๆ มีการประชาสัมพันธ์ งานบริการประชาชน โดยเพิม่ ขยายประสิทธิภาพ ของการให้ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารทางเสี ย งตามสาย วารสารเทศบาล ประชาสัมพันธ์ตามสิง่ พิมพ์ตา่ งๆ ทั้งหนังสือพิมพ์ส่วนกลาง หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ และป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกภาคส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็น ขยายพืน้ ทีบ่ ริเวณทีท่ ำ� การเทศบาล เพื่อรองรับงานจากการถ่ายโอนภารกิจจากส่วน ราชการอื่นตามแผนและขั้นตอนการกระจาย อ�ำนาจ และเพื่อเป็นองค์กรศูนย์กลางในการ บริการสาธารณะอย่างสมบูรณ์แบบ

เราบริหารงานเทศบาลด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส่ ทุ่มเทอย่างจริงใจ สามารถตรวจสอบได้ โดยยึ ด หลั ก การบริ ห ารจั ด การที่ ดี ยึ ด หลั ก ธรรมาภิบาล ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีสว่ นร่วม หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า นอกจากนี้ จะส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบ ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หมูบ่ า้ น ชุมชน เพื่ อ ให้ บ รรลุ จุ ด มุ ่ ง หมายของการบริ ห าร การพัฒนา โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม และประชาชนเป็นหลัก CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

3


ส�ำหรับบทบาทประธานสันนิบาตเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่ กับ ประธานคณะกรรมการ สันนิบาตเทศบาลภาคเหนือ ซึง่ เป็นองค์กรของ เทศบาลภาคเหนื อ 17 จั ง หวั ด ภาคเหนื อ โดยด� ำ เนิ น การภายใต้ ข ้ อ บั ง คั บ สั น นิ บ าต แห่งประเทศไทย มีรายละเอียดส�ำคัญ ดังนี้ โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ 2560 บัญญัติให้มีการจัดการให้ความส�ำคัญต่อ การพัฒนาเทศบาลให้มีแนวทางในการปฏิบัติ งานที่ชัดเจน ถูกต้อง และเกิดความกลมเกลียว ของเทศบาลใน 17 จังหวัดภาคเหนือ โดยส่งเสริม พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ การบริหาร สาธารณะของเทศบาล การอบรม การบรรยาย พิเศษ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น พัฒนาการหารายได้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สามารถด�ำเนิน การจั ด ท� ำ บริ ก ารสาธารณะได้ อ ย่ า งเพี ย งพอ ส่งผลให้พัฒนาท้องถิ่นไม่สามารถด�ำเนินการได้ อย่างต่อเนื่อง สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย (ส.ท.ท.) หรื อ ที่ เรี ย กชื่ อ ในภาษาอั ง กฤษว่ า The National Municipal League of Thailand (NMT) เป็นสมาคมของหน่วยราชการบริหาร ส่วนท้องถิน่ แบบเทศบาลและเมืองพัทยา รวมทัง้ กรุ ง เทพมหานคร อยู ่ ใ นความอุ ป ถั ม ภ์ ข อง กระทรวงมหาดไทย ได้ก่อตั้งขึ้นจากความริเริ่ม ของนายช�ำนาญ ยุวบูรณ์นายกเทศมนตรีนคร กรุงเทพมหานครในสมัยนั้น โดยท่านได้เป็น หัวหน้าคณะผูแ้ ทนนครกรุงเทพฯ เดินทางไปร่วม ในการประชุมใหญ่สหพันธ์เทศบาลนานาชาติ ครั้งที่ 24 ซึ่งจัดขึ้นที่นครเบอร์ลิน ประเทศ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันตะวันตก เมือ่ ปี พ.ศ. 2502 และเมื่อกลับมาท่านได้น�ำแนวความคิดที่ จะให้เทศบาลต่างๆในประเทศไทยได้รวมตัวกัน ในรู ป แบบของสมาคมเพื่ อ ร่ ว มมื อ กั น ด�ำ เนิ น กิจการต่างๆ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมการ บริหารงานของเทศบาล รวมทั้งเพื่อที่จะได้ให้มี การแลกเปลี่ยนความรู้ในด้านวิชาการและให้มี การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จึงเป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ ำ� คัญของความสัมพันธ์ในการ สมานใจให้เป็นหนึง่ เดียวของแต่ละท้องถิน่ ในจังหวัด และเชือ่ มโยงไปกับทุกจังหวัดอย่างมีประสิทธิภาพ 4

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัตโิ ดยสังเขป ดร. จ� ำ รู ญ เร่ ง ถนอมทรั พ ย์ ต� ำ แหน่ ง นายกเทศมนตรี ต� ำ บลหางดง เกิ ด วั น ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 อายุ 68 ปี อาชี พ ข้ า ราชการการเมื อ ง และ ผู ้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น สถานทีท่ ำ� งาน เทศบาลต�ำบลหางดง ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ คู ่ ส มรส นางจรวยพร เร่ ง ถนอมทรั พ ย์ อดีตข้าราชการครู สังกัด สปช. มีบตุ ร 3 คน ดังนี้ คนที่ 1 พ.ต.อ.จตุพล เร่งถนอมทรัพย์ ต�ำแหน่ง ผกก.6 บก.ทล. คนที่ 2 พ.ต.ดร.เจริญศักดิ์ เร่งถนอมทรัพย์ ต�ำแหน่ง พนักงานสอบสวนคดี พิเศษช�ำนาญการ กองกิจการต่างประเทศและ คดีอาชญากรรมระหว่างประเทศ กรมสอบสวน คดีพิเศษ คนที่ 3 พ.ต.ท.จักรวัฒน์ เร่งถนอม ทรัพย์ ต�ำแหน่ง สว. (สอบสวน) สน.ท่าข้าม บช.น. การศึกษา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหาร การพั ฒ นา) มหาวิ ท ยาลั ย นอร์ ท -เชี ย งใหม่

พ.ศ. 2554, รั ฐ ประศาสนศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2544 และครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ครู เชี ย งใหม่ พ.ศ. 2524 ประสบการณ์ในการท�ำงานราชการ ครู โรงเรี ย นอนุ ส ารบ� ำ รุ ง วิ ท ยา (เอกชน), ครูโรงเรียนสิรกิ รศิลปวิทยา (เอกชน), ครูโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัด สปช., ผู้ช่วยหัวหน้าการ ประถมศึ ก ษาอ� ำ เภอแม่ ส ะเรี ย ง จั ง หวั ด แม่ฮอ่ งสอน, รักษาการหัวหน้าการประถมศึกษา กิ่งอ�ำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน, ผู้ช่วย หัวหน้าการประถมศึกษาอ�ำเภอดอยเต่า จังหวัด เชียงใหม่, ผูช้ ว่ ยหัวหน้าการประถมศึกษาอ�ำเภอ สารภี จังหวัดเชียงใหม่, คณะกรรมการการ ปฏิรูปการศึกษาเชียงใหม่ และ คณะกรรมการ บริ ห ารและจั ด หาระบบคอมพิ ว เตอร์ ข อง หน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย


ต�ำแหน่งทางสังคม 1. ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ (121 เทศบาล) 2. ประธานคณะกรรมการสันนิบาต เทศบาลภาคเหนือ (17 จังหวัด) 3. อุปนายกสมาคมสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทย 4. คณะกรรมการพนักงานเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่ 5. ประธานกรรมการพัฒนา โรงพยาบาลหางดง 6. คณะกรรมการลุ่มน�ำ้ ปิงตอนบน โดยการ แต่งตัง้ ของคณะกรรมการทรัพยากรน�ำ้ แห่งชาติ 7. กรรมการเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล (ก.ส.ท.) 8. อนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการ จั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คม ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาสั ง คม และความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่ ปีพ.ศ. 2556-2561 9. อนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้พิการจังหวัดเชียงใหม่ ส�ำนักงานพัฒนา สั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ จั ง หวั ด เชียงใหม่ ปี พ.ศ.2560 ถึงปัจจุบัน 10. คณะกรรมการบริ ห ารงานจั ง หวั ด แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เชียงใหม่ 11. คณะกรรมการประชาคมท้องถิ่นระดับ จังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ 12. คณะกรรมการประสานแผนพั ฒ นา ท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วน จังหวัดเชียงใหม่ 13. คณะกรรมการบริหารงานอ�ำเภอหางดง (กบอ.หางดง) 14. ประธานคณะกรรมการประสานแผน พัฒนาท้องถิ่นอ�ำเภอหางดง

รางวัลและเกียรติคณ ุ ยกย่อง 1. รางวัลชนะเลิศ “การบริหารจัดการที่ดี” (ธรรมาภิบาล) ประจ�ำปี 2549 จากกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น 2. รางวัลชนะเลิศ “การประเมินองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพยายามในการ จัดเก็บภาษีประจ�ำปี 2551 จากกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น 3. โล่เกียรติคุณ “นายกสมาคมผู้ปกครอง และครูดีเด่น จังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2554” จากสภาผู้ปกครองและครูแห่งประเทศไทย 4. ประกาศเกียรติคณ ุ “พ่อตัวอย่างแห่งชาติ ประจ�ำปี 2557” เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ ครั้งที่ 35 วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2557 5. เกี ย รติ บั ต ร “ครอบครั ว ดร.จ� ำ รู ญ เร่งถนอมทรัพย์ ” ครอบครัวต้นแบบยุติความ รุนแรงดีเด่น ส�ำนักงานอัยการภาค 5 ประจ�ำปี พ.ศ.2557 วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2558 6. รางวั ล ตลาดสดเทศบาลต� ำ บลหางดง “ตลาดสดติดดาว” ประจ�ำปี 2561 กรมการค้า ภายใน 7. โล่รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ผลการปฏิบตั งิ านดีเด่น ประจ�ำปี 2561 ด้านการ ศึกษา วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2561 กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น

8. เกียรติบตั รรางวัลผูบ้ ริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ดีเด่น ด้านการศึกษา ประจ�ำปี 2561 จากมูลนิธิช่วยการศึกษาท้องถิ่น และกรมส่ง เสริมการปกครองท้องถิน่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2562 9. รางวัลชมเชย องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปีงบประมาณ 2562 ส� ำ นั ก งานปลั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ส�ำนักงานคณะกรรมการการกระจายอ�ำนาจให้ แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ติดต่อผมได้ที่ ที่ท�ำงาน : เทศบาลต�ำบลหางดง ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 3 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ทีบ่ า้ น : เลขที่ 206 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50230 โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ 08-1952-3394

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

5


Welcome to

Zzz Crest Chiang Mai a nice option for you

ยินดีต้อนรับสู่ ซี เครสท์ เชียงใหม่ ทางเลือกที่ดีที่สุด สำ�หรับคุณ Finding an ideal romantic hotel in Chiang Mai does not have to be difficult. Welcome to Zzz Crest Chiang Mai, a nice option for travelers like you. Given the close proximity of popular landmarks, such as Wat Phra That Doi Kham (Temple of the Golden Mountain) (1.9 mi) and Wat Suan Dok (1.9 mi), guests of Zzz Crest Chiang Mai can easily experience some of Chiang Mai's most well known attractions. Free internet access is offered to


guests, and rooms at Zzz Crest Chiang Mai offer air conditioning, a refrigerator, and a minibar. During your stay, take advantage of some of the amenities offered, including room service and a concierge. Guests of Zzz Crest Chiang Mai are also welcome to enjoy a pool and free breakfast, located on site. For travelers arriving by car, free parking is available. If you are looking for a good sushi restaurant, you may want to check out Musashi Contemporary Sushi Bar, Sushi umai, or Tengoku-Yaki while staying at Zzz Crest Chiang Mai. If you’re looking for things to do, you can check out Wat Umong (0.5 mi), Bann Kang Wat (0.7 mi), or Wat Ram Poeng (0.6 mi), which are popular attractions amongst tourists, and they are all within walking distance. Zzz Crest Chiang Mai looks forward to welcoming you on your visit to Chiang Mai.

ซี เครสท์ เชียงใหม่ (zZz Crest Chiang Mai)

225 หมู่ 13 ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200

zzzcrestcm

http://zzzcrest.blogspot.com

Tel. +66 61 428 2446


Nim Hotel : โรงแรมนิ่มซี่เส็ง

บ้านนิ่ม ...เหนือระดับของคำ�ว่า “โรงแรม”

Nim Hotel... เราคือ บ้านที่รอคอยการกลับมาของคุณเสมอ... ก่อนจะมาเป็น Nim Hotel เราเริ่มต้นจากคำ�ว่า

...ครอบครัว...

มาจากครอบครัวนักเดินทาง ท่านประธานมักจะพาลูกๆ เดินทางไปเที่ยวบ่อยๆ ทั้งในไทยและต่างประเทศ เพราะท่านบอกเสมอว่า การท่องเที่ยวทำ�ให้เราเกิดการพัฒนามากขึ้น หลายครั้ง เราพบว่าห้องพักไม่ได้ตอบโจทย์ การเดินทางแบบครอบครัวและผองเพื่อน ต้องแยกกันนอนคนละห้องบ้าง บางทีลูกๆ ก็อยากนอนกับพ่อแม่ในห้องเดียวกัน เมื่อเราได้มีโอกาสมาบริหารโรงแรมแห่งนี้ เราจึงตั้งใจสรรสร้างที่พักเพื่อตอบโจทย์ คำ�ว่า

“ครอบครัวและผองเพื่อน”

โดยเฉพาะ พ่อแม่ลูกเยอะ ก็ได้อยู่ห้องเดียวกันได้สบายๆ หรือเพื่อนจะมาสามมาสี่ เราก็พร้อมสำ�หรับการได้นอนเม้าท์กันทั้งคืน


การร่วมทำ�บุญตักบาตรด้วยกันทุกเช้า และฟังบรรยายธรรมทุกวันอาทิตย์ กับพระในเชียงใหม่ กิจกรรมดีๆ ตามวิถีพุทธ วิถี ไทย ที่ยังคงรักษาไว้สืบต่อกันไป ยังคงไว้ที่ “Nim Hotel”

"พักใจ"

บนโลกที่วุ่นวายด้วยความต้องการที่ไม่จบสิ้น มาที่นี่ ท่านจะได้ สดับรับฟังธรรมะดีดี ทุกเช้าวันอาทิตย์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการรับมือจัดการ กับเรื่องราวต่างๆบนโลกนี้ และทุกๆ เช้า เรามีบริการนิมนต์พระมาบิณฑบาต ให้กับลูกค้าทุกท่าน เพราะเราเชื่อว่า การให้ เป็นจุดเริ่มต้นของคุณภาพชีวิตที่ดี เราจึงร่วมสร้าง สังคมแห่งการให้... สังคมแห่งการแบ่งปัน... และมอบให้กับแขก ผู้เข้าพักทุกท่าน ที่มีโอกาสมาเยือนบ้านเรา..

นึกถึงเชียงใหม่ นึกถึงเรา Nim Hotel

ส�ำรองห้องพักติดต่อ :

79,81,83 ถนนเวียงพิงค์ ต�ำบลช้างคลาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 Tel. : 053 - 277115 , 085 - 6950238

Nim Hotel เราคือ #บ้านนิ่ม เราคือที่พักสำ�หรับครอบครัว และผองเพื่อน เพื่อการพักผ่อนภายใต้บรรยากาศ ที่อบอุ่นและปลอดภัย ทุกครั้งเมื่อคุณมา เราดี ใจ และ เมื่อคุณกลับไปเราคอย...คิดถึงคุณ

nim.hotel nimhotel NimHotel @nimhotel


EDITOR’S

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

การเดินทางสอนผมว่า เราจะ “ใส่ใจ” และให้เวลากับการเรียนรู้ที่อยู่ตรงหน้า โดยไม่มีข้อต่อรองกับชีวิต

ตลอดการท�ำงานและการเดินทาง เราได้รับการต้อนรับด้วยไมตรีจิตจาก ผู้หลักผู้ใหญ่ในท้องถิ่นและนักธุรกิจ ในชุมชนที่มีหัวใจแห่งความเสียสละ อันยิ่งใหญ่ ในนามของนิตยสาร SBL ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณ ทุกท่านทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะ ท่านผู้ว่าราชการจังหวัด นายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ และ นายวิรุฬ พรรณเทวี รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้มุ่งมั่น ในการตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 อย่างต่อเนื่องและช่วยเหลือประชาชน ดั่งพี่น้อง พร้อมทั้งกราบขอบพระคุณ นายนรศักดิ์ สุขสมบูรณ์ ท้องถิ่นจังหวัด เชียงใหม่ และผู้บริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นทุกท่านที่มิได้เอ่ยนาม รวมทั้ง ศาสนสถาน บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่ง กรุณาสนับสนุนให้ทีมงานด�ำเนินการจัด ท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ ท้องถิ่น & เอกชน เชียงใหม่ ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี

เมื่อองค์ประกอบทั้งหมดผสานกันอย่าง ลงตัว การท่องเที่ยวในท้องถิ่นเชียงใหม่ ที่เคยเป็น UNSEEN ก็เปิดตัวมากขึ้น เรื่อยๆ และมีมุมมองในการขยับ การท่องเที่ยวจากสถานที่ซึ่งไม่เคยไป กลายเป็นว่า ต้องไปแล้วไปอีก เพราะมี จุดเด่นใหม่ๆ มาน�ำเสนอนักเดินทาง ท่องเที่ยวและนักธุรกิจตลอดเวลา ผ่าน โซเชียลเน็ตเวิร์ก หรือสังคมออนไลน์ ที่แต่ละท่านเมื่อเดินทางมาก็ช่วยกัน น�ำเสนอในมุมมองส่วนตัวลงไปในช่องทาง สื่อสารต่างๆ ของตนเอง ซึ่งวันนี้กลายเป็น แหล่งโปรโมทเชียงใหม่ได้อย่างวิเศษ ที่หน่วยงานและนักธุรกิจต่างๆ เมื่อได้อ่าน คอมเมนต์แล้วก็มาช่วยกันปรับปรุง ให้เชียงใหม่น่าเที่ยว น่ามาศึกษาเรียนรู้ และต่อยอดทางธุรกิจมากขึ้น รวมไปถึง การขายสินค้าออนไลน์ ซึ่งท�ำให้สินค้า โอทอปกลายเป็นสินค้าระดับโลกไปมากมาย

เพราะการท�ำงานด้วนการตลาด ย่อมมี ข้อต่อรองอยู่ในหัวใจเสมอ ทั้งผู้ค้าและ ลูกค้า เราต่างมีธงในใจว่าเราจะมีกำ� ลัง ในการซื้อ และการขายอย่างไรเพื่อให้ได้ ก�ำไรทั้งสอง คือ WIN WIN และด้วยค�ำนี้ จะท�ำให้เราท�ำธุรกิจต่อเนื่องกันได้อย่าง ยาวนาน การเดินทางของผมและทีมงานในครั้งนี้ จึงพบว่า ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหน ไม่ว่า จะเป็นใครบนโลกใบนี้ นอกเหนือจาก การต่อรองแล้ว “ความใส่ใจ” และ “ความเต็มใจ” ในการซื้อหาและ ให้ก�ำลังใจ คือโอกาส คือ ศิลปะของชีวิต ที่มีรสชาติที่สามารถมอบให้กันและกัน ในวันที่มีความหมายที่สุดของชีวิต เพราะทุกครั้งของการพบปะคือมิตรภาพ และจุดเชื่อมต่อที่จะน�ำเราไปสู่คู่ค้า คนส�ำคัญต่อไปในอนาคต

Editor's talk.indd 10

และนั่นคือความหมายของการท่องเที่ยว เดินทางที่ท�ำให้เรายิ่งรักกันมากขึ้น

16/3/2563 10:13:15


Magazine คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

คณะทีมงาน ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน มนสิกุล โอวาทเภสัชช์

ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า

ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ

ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต

การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171

www.sbl.co.th

Editor's talk.indd 11

16/3/2563 10:13:15


CONTENTS จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ I CHIANG MAI 2020

2 บันทึกเส้นทางประธานสันนิบาตเทศบาล

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว

จังหวัดเชียงใหม่ “จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์”

42

16 บันทึกเส้นทางผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

“นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์”

22 บันทึกเส้นทางรองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

“นายวิรุฬ พรรณเทวี”

24 บันทึกเส้นทางรองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

“คมสัน สุวรรณอัมพา”

26 บันทึกเส้นทางท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

“นายนรศักดิ์ สุขสมบูรณ์”

34 บันทึกเส้นทาง “นายพรชัย จิตรนวเสถียร” 36 ใต้ร่มพระบารมี 38 บันทึกเส้นทางความเป็นมา 42 บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว 54 บันทึกเส้นทางสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่

อ�ำเภอเชียงดาว

92

86 เทศบาลต�ำบลท่าศาลา 92 เทศบาลต�ำบลบ้านแปะ 94 อ�ำเภอเชียงดาว 96 เทศบาลต�ำบลเมืองนะ 100 องค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงดาว 106 อ�ำเภอดอยสะเก็ด 108 เทศบาลต�ำบลลวงเหนือ 110 เทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน 112 เทศบาลต�ำบลส�ำราญราษฎร์ 12

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เทศบาลต�ำบลท่าศาลา

บันทึกเส้นทาง ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

86

“นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์”

16


CONTENTS จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ I CHIANG MAI 2020

114 เทศบาลต�ำบลแม่คือ 116 เทศบาลต�ำบลป่าเมี่ยง 118 อ�ำเภอดอยเต่า 120 องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า 122 องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าเดื่อ 128 องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน 132 องค์การบริหารส่วนต�ำบลต�ำบลแม่สูน 136 อ�ำเภอพร้าว 138 เทศบาลต�ำบลเวียงพร้าว 140 องค์การบริหารส่วนต�ำบลโหล่งขอด 142 อ�ำเภอแม่แตง 144 เทศบาลเมืองต้นเปา

เทศบาลเมืองต้นเปา

144 อ�ำเภอฮอด

188

152 เทศบาลต�ำบลสันพระเนตร 156 เทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง 158 เทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม 164 เทศบาลต�ำบลสันป่าตอง

117

เทศบาลต�ำบลสันป่าตอง

166 เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง 172 เทศบาลต�ำบลหนองผึ้ง 178 เทศบาลต�ำบลหางดง 184 อ�ำเภออมก๋อย 186 เทศบาลต�ำบลอมก๋อย 188 อ�ำเภอฮอด 190 เทศบาลต�ำบลบ่อหลวง

184

อ�ำเภออมก๋อย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

13


CHIANG MAI MAP แผนที่จังหวัดเชียงใหม่

LOCATION 1 2 3 4

พระธาตุดอยสุเทพ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ดอยอินทนนท์ อ�ำเภอจอมทอง ประตูท่าแพ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ม่อนแจ่ม อ�ำเภอแม่ริม

7

5 สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อ�ำเภอแม่ริม 6 บ้านป่าบงเปียง อ�ำเภอแม่แจ่ม 7 ดอยหลวงเชียงดาว อ�ำเภอเชียงดาว 8 บ้านแม่ก�ำปอง อ�ำเภอแม่ออน 4 5

8 2 6

1 3

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

115


สารจากผู้ว่าราชการ

จังหวัดเชียงใหม่

กระผม นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ขอแสดงเจตจ�ำนงต่อหัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ นายอ� ำ เภอ ผู ้ บ ริ ห ารการปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ข้ า ราชการ บุ ค ลากร สาธารณชนทั้งภาครัฐและเอกชน และประชาชนชาวเชียงใหม่ว่า กระผมจะปฏิบัติหน้าที่ และบริหารราชการจังหวัดเชียงใหม่ ด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม มีความโปร่งใส มีจิตส�ำนึกรับผิดชอบ โดยยึดถือ ประโยชน์ของทางราชการ และประโยชน์สุขของประชาชนเป็นส�ำคัญ เพื่อขับเคลื่อนจังหวัดเชียงใหม่ ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง (City of Life and Prosperity) เมืองที่ ให้ความสุขและชีวิตที่มีคุณค่าแก่ผู้อยู่อาศัยและผู้มาเยือน ในฐานะเมือง ที่น่าอยู่และน่าท่องเที่ยวในระดับโลก” ซึ่งจังหวัดเชียงใหม่จะบริหารงาน ให้พัฒนาอย่างต่อเนื่องโดย ๑. ยึดมั่นในหลักการและปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล ๒. รักษาวินัย ยึดหลักความพอเพียง และจิตอาสา ๓. เสริมสร้างการท�ำงานโดยบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนทุกคนอย่างยั่งยืน

กระผมมีหน้าที่ผลักดัน ให้เชียงใหม่เป็นนครแห่งชีวิต และความมั่งคั่งยั่งยืน ต่อไปให้ยาวนาน

(นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์) ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

15


Special Interview

CHIANG MAI

GOVERNOR ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่

นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ “เรียนรู้และเติบโตไปด้วยกัน ในนครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง กับกิจกรรมและภาระหน้าที่ของท่านผู้ว่าฯ เพื่อประชาชน” จากวิสัยทัศน์จังหวัดเชียงใหม่ “นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง” (City of Life and Prosperity) เมืองที่ให้ ความสุขและชีวิตที่มีคุณค่าแก่ผู้อยู่อาศัยและผู้มาเยือน ในฐานะเมืองที่น่าอยู่และน่าท่องเที่ยวในระดับโลก” สู่ภาคการปฏิบัติจากหัวใจของท่านเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ SBL บันทึกประเทศไทย ภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้สนทนากับท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่อย่างเป็นกันเองถึง วิสัยทัศน์ที่น�ำไปสู่ภาคการปฏิบัติสู่ชุมชนท้องถิ่นและภาคเอกชนที่ได้มีส่วนร่วมในการบูรณาการเชียงใหม่ให้เป็นนคร แห่งชีวิตและความมั่งคั่ง โดยมีกิจกรรมและภาระหน้าที่ของท่านผู้ว่าฯ เพื่อประชาชนมากมาย ดังนี ้

16

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

17


ต้อนรับผู้แทนพระองค์

พิธีวางพานพุ่มถวายราชสักการะ

สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี โครงการ “สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า” ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 14.00 น. ที่ห้องพลอยไพลิน กรีนเลครีสอร์ท อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สมเด็จพระเจ้า น้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรี สวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ทรงพระกรุณาโปรดให้ นายชวัช อรรถยุกติ รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ เป็นผู้แทนพระองค์ เปิ ด โครงการฝึ ก อบรมแบบบู ร ณาการ เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้ แ ละการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีในการบริหารจัดการโรคพิษสุนัขบ้าสู่ชุมชน ภายใต้ โครงการ “สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า” ตามพระราช ปณิธานฯ โดยมีกระผม นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัด เชียงใหม่ ให้การต้อนรับ ส�ำหรับโครงการ “สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า” ตามพระปณิธานฯ เป็นโครงการที่มุ่งหวังให้คนและสัตว์อยู่ร่วมกันอย่าง ปลอดภั ย สามารถควบคุม ประชากรสุนัข และแมวจรจัด ป้องกัน การ ระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างยั่งยืน โดยมีกิจกรรมการบรรยายทาง วิชาการ การฝึกใช้แอปพลิเคชันเพื่อป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และการระดม สมอง ซึ่ ง มี เจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบงานควบคุ ม โรคพิ ษ สุ นั ข บ้ า ในสั ต ว์ ครูผู้สอนด้านสุขศึกษา อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน และผู้แทน ชุมชน กว่า 200 คน เข้าร่วมงานในครั้งนี้

ในวันยุทธหัตถีสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และในวันเดียวกัน 18 มกราคม พ.ศ.2563 มีพิธีวางพานพุ่มถวายราช สั ก การะ เนื่ อ งในวั น ยุ ท ธหั ต ถี ส มเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ที่ บ ริ เวณ พระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์ ต�ำบลเมืองงาย อ�ำเภอ เชี ย งดาว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โดยมี ก ระผมนายเจริ ญ ฤทธิ์ สงวนสั ต ย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย นางสุดาภรณ์ สงวนสัตย์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทหาร ต�ำรวจ หน่วยงานราชการ และประชาชนทั่วไป ร่วมวางพานพุ่มดอกไม้สด ถวายราชสั ก การะและกล่ า วสดุ ดี เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนเรศวร มหาราช เนื่องในวันคล้ายวันยุทธหัตถีสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งจัด ขึ้นในวันที่ 18 มกราคมของทุกปี เพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดี และ น้อมร�ำลึกพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญ การรบยิ่ง ทรงฉลาดในการวางยุทธวิธี และอุบายกระบวนศึกที่ไม่มีผู้ใด เสมือน ทรงเป็นผู้ริเริ่มการรบแบบกองโจร คือใช้คนน้อยแต่สามารถต่อสู้ กับคนจ�ำนวนมากได้ พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการใช้อาวุธที่ท�ำการ รบแทบทุกชนิด ตลอดรัชสมัยของพระองค์ทรงอุทิศเวลาให้กับศึกสงคราม เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความยิ่งใหญ่ให้แก่แผ่นดิน และการท�ำ ยุทธหัตถีของพระองค์ ถือเป็นวีรกรรมครั้งส�ำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ภายหลังจากนั้นก็ไม่มีข้าศึกใดกล้ายกทัพมารุกรานไทยนานกว่า 150 ปี พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่นี้ ล้วนจารึกอยู่ในใจของปวงชนชาวไทย ตลอดมา

18

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


งานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2563 ย้อนกลับไปในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2563 ส�ำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ร่ ว มกั บ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จัดงานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2563 ณ บริเวณเวทีกาชาด ในงานฤดู หนาวและงาน OTOP ของดีเมืองเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2563 กิจกรรมใน งานประกอบด้วย 1. การมอบรางวัลเด็กดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2563 จ�ำนวน 8 ท่าน 2. การมอบประกาศเกียรติคุณ “วัฒนธรรมวินิต” จากส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 15 ท่าน 3. การแสดงจากเด็กในสถานสงเคราะห์ 4. กิจกรรมบนเวที ร้อง เล่น เต้น ร�ำ/เล่นเกมชิงของรางวัล 5. บูธกิจกรรมจากหน่วยงานภาคีต่าง ๆ 6. การเลี้ยงอาหารกลางวันเด็กในสถานสงเคราะห์ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เด็กในสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน เชียงใหม่ เด็กในสถานสงเคราะห์เด็กบ้านเวียงพิงค์ ผูร้ บั บริการในบ้านพักเด็ก และครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 100 คน และเด็กทั่วไป จ�ำนวน 200 คน รวมทั้งสิ้น 300 คน โดยมีกระผม นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธี ทัง้ นีน้ างสุดาภรณ์ สงวนสัตย์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมเลี้ยงอาหารกลางวันเด็กในสถาน สงเคราะห์เด็กชายบ้านเชียงใหม่ ,เด็กในสถานสงเคราะห์เด็กบ้านเวียงพิงค์ และผู ้ รั บ บริ ก ารในบ้ า นพั ก เด็ ก และครอบครั ว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จ�ำนวน 100 คน

เชียงใหม่รณรงค์แก้ ไขปัญหาฝุ่นควัน ร่วมใจไม่ขับ ช่วยดับเครื่องยนต์ ลดฝุ่น PM 2.5 การรณรงค์แก้ไขปัญหาฝุ่นควัน ร่วมใจไม่ขับ ช่วยดับเครื่องยนต์ ลดฝุ่น PM 2.5 กิจกรรมนี้ได้จัดขึ้นในเมืองเชียงใหม่ที่ผ่านมาถือว่าได้ผล ดีมาก โดยเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2563 ที่บริเวณข่วงประตูท่าแพ กระผมได้เป็นประธานเปิดกิจกรรมรณรงค์แก้ไขปัญหาฝุ่นควัน และผลก ระทบจากไฟป่าในเขตเมือง “ร่วมใจไม่ขับ ช่วยดับเครื่องยนต์ ลดฝุ่น pm 2.5 ” โดยจังหวัดเชียงใหม่ ได้ร่วมกับสมาพันธ์นักเรียนเก่า 7 สถาบัน ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา เครือข่าย ภาคประชาชนเมื อ งเชี ย งใหม่ สภาองค์ ก รชุ ม ชน และสภาลมหายใจ เชียงใหม่ จัดขึ้นอย่างเป็นทางการ และได้รับการตอบรับจากการร่วมกัน รณรงค์อย่างดีมาก

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

19


ประวัติท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ โดยสังเขป นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เกิดเมื่อ : วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2503 คู่สมรส : นางสุดาภรณ์ สงวนสัตย์ การศึกษา : ศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) การอบรม : หลักสูตรปลัดอ�ำเภอ รุ่นที่ 80 วิทยาลัยการปกครอง , หลักสูตร ผู้บังคับบัญชา หัวหน้าฝ่ายทะเบียนและบัตรฯ รุ่นที่ 3 วิทยาลัยการปกครอง, หลักสูตรจ่าจังหวัด รุ่นที่ 9 วิทยาลัยการปกครอง , หลักสูตรนักเรียนนาย อ�ำเภอ รุ่นที่ 48 วิทยาลัยการปกครอง, หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 49 สถาบันด�ำรงราชานุภาพ ,หลักสูตรวปอ. รุ่นที่ 57 วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร ประวัติการท�ำงาน : - นักการข่าว 3 กรมประมวลข่าวกลาง (1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2527) - ปลัดอ�ำเภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 3) อ�ำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย (15 มิถุนายน พ.ศ.2527) - เจ้าพนักงานปกครอง 4 ส�ำนักการศึกษาท้องถิ่นกรมการปกครอง (10 พฤศจิกายน พ.ศ.2529) - นักวิชาการศึกษา 5 ส�ำนักการศึกษาท้องถิ่น กรมการปกครอง (15 พฤษภาคม พ.ศ.2533) - ปลัดอ�ำเภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 6) หัวหน้าฝ่ายกิจการพิเศษ อ�ำเภอสังคมจังหวัดหนองคาย (21 มกราคม พ.ศ.2534) - ปลัดอ�ำเภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 6) หัวหน้าฝ่ายทะเบียนทั่วไปและ บัตรประจ�ำตัวประชาชน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย (2 พฤศจิกายน พ.ศ.2535) - จ่าจังหวัด (เจ้าพนักงานปกครอง 7) ที่ท�ำการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ (2 มกราคม พ.ศ.2544) - ผู้ตรวจการส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ (เจ้าพนัก งานปกครอง 7) ที่ท�ำการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ (21 มกราคม พ.ศ.2545) - ท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ (1 ตุลาคม พ.ศ.2545) - ท้องถิ่นจังหวัดชลบุรี (7 ธันวาคม พ.ศ.2552) - ผู้ตรวจราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (7 ธันวาคม พ.ศ.2554) - รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ (7 ธันวาคม พ.ศ.2555) - รองผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน (1 ธันวาคม พ.ศ.2557) - ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก (22 เมษายน พ.ศ.2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2562) - ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ (1 ตุลาคม พ.ศ.2562 - ปัจจุบัน)

20

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

21


VICE GOVERNOR OF

CHIANG MAI รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นายวิรุฬ พรรณเทวี

“ตามรอยพระยุคลบาทรัชกาลที่ 9 ...เราท�ำงานกับทุกคนเหมือนญาติพี่น้อง”

SBL บันทึกประเทศไทย มีความยินดีอย่าง ยิ่งที่ได้สนทนาอย่างใกล้ชิดถึงหัวใจการท�ำงาน ของท่ า นวิ รุ ฬ พรรณเทวี รองผู ้ ว ่ า ราชการ จังหวัดเชียงใหม่ ท่านได้น้อมน�ำหลักการทรง งานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 มาใช้ในชีวิตและการท�ำงาน เป็นแรงบันดาลใจมาโดยตลอด ดังนี้ หลั ก การท� ำ งาน คื อ หลั ก ชั ย ของชี วิ ต “เศรษฐกิจพอเพียง” ข้าราชการไทยควรน้อมน�ำสิ่งที่ดีที่สุด คือ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาใช้ ในชีวิตและการท�ำงาน ซึ่งหลักการทรงงานของ พระองค์ ท ่ า นมี ทั้ ง หมด 23 ประการ คื อ 1.จะท� ำ อะไรต้ อ งศึ ก ษาข้ อ มู ล ให้ เ ป็ น ระบบ 22

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

2. ระเบิดจากภายใน 3. แก้ปัญหาจากจุดเล็ก 4. ท�ำตามล�ำดับขั้น 5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ 6. ท�ำงานแบบองค์รวม 7. ไม่ติด ต�ำรา 8. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์ สูงสุด 9. การท�ำให้ง่าย 10. การมีส่วนร่วม 11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม 12. บริการที่จุดเดียว 13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ 14. ใช้อธรรม ปราบอธรรม 15. ปลูกป่าในใจคน 16. ขาดทุน คือก�ำไร 17. การพึ่งพาตนเอง 18. พออยู่พอ กิน 19. เศรษฐกิจพอเพียง 20. ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน 21. ทานอย่างมีความสุข 22. ความเพียร และ 23. รู้ รัก สามัคคี โดย เฉพาะเรื่ อ งความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ไม่ ใช่ เ ฉพาะ ข้ า ราชการ ทุ ก คน พี่ น ้ อ งประชาชนก็ ต ้ อ งมี ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เหมื อ นสุ ภ าษิ ต ไทยที่ ว ่ า “ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน”

ไม่ว่าจะยุคเด็ก ยุคสมัยใหม่ หรือยุคของผมซึ่ง เราเห็นความยากล�ำบากของพระองค์ท่าน ท่าน เป็นหลักชัย ที่บ้านเมืองเราสงบได้ทุกวันนี้ก็ เพราะพระบารมีของท่าน ในหลักการท�ำงาน พระองค์ท่านเป็นหลักชัยได้ดีที่สุด และในเรื่อง ศาสนาพุทธ พระองค์ท่านก็น้อมน�ำเอาหลัก พระพุทธเจ้ามาน้อมน�ำและปฏิบัติ โดยเฉพาะ เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิกฤตเศรษฐกิจ ที่ผ่านมาในหลายครั้งที่เราเจอในเรื่องเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง เราจะเห็นว่าพี่น้องเรากลับ บ้าน อย่างเช่นพี่น้องเรา ที่ขับแท็กซี่เขาจะกลับ บ้าน ไม่ได้อดอยากนะ พอช่วงท�ำนา ก็กลับบ้าน ท�ำนา เกี่ยวข้าว เราไม่ได้อดอยาก เรามีอาชีพ นี่แหละเป็นเสน่ห์ของเมืองไทย


EXC LU S IV E

คติประจ�ำใจ ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ยึดความดีเป็น ที่ตั้ง จะเป็นเกราะป้องกันชีวิตของเรา ภารกิจการงาน รับผิดชอบด้านเศรษฐกิจ และ ด้านสังคม ในการท�ำงานจะเน้นเรื่องการท�ำงานกับเพื่อน ร่วมงานเสมอ ว่าเราก�ำลังท�ำงานกับญาติพี่น้อง ไม่ได้ท�ำงานกับประชาชน อย่างเช่น เขามา ติดต่องาน ถ้าเราคิดว่าเป็นประชาชน เวลาใน การท�ำใช้เวลานาน 3-5 วัน แต่ถ้าเราคิดว่าเรา ท�ำงานกับญาติพี่น้อง ก็ใช้เวลาไม่กี่นาที ไม่กี่ ชั่วโมงก็ท�ำได้ให้เสร็จ เพราะพี่น้องบางคนเดิน ทางมาติดต่อราชการ ใช้เวลาในการเดินทาง หลายชั่วโมงกว่าจะมาถึงจังหวัด พี่น้องจะได้ไม่ ต้องเสียเวลานาน ในการติดต่อ “รู้รักสามัคคี” หัวใจของการพัฒนาจังหวัด การพัฒนาจังหวัด เราต้องกล่าวถึงเรื่องการ รู ้ รั ก สามั ค คี ที่ ใ นหลวงรั ช กาลที่ 9 ท่ า นได้ กล่าวไว้ เราต้องมีความสามัคคีกันก่อน เราถึง จะท�ำแผนกันได้ชัด คือจังหวัดในภาคราชการ เราพร้ อ มที่ จ ะสนั บ สนุ น ในเรื่ อ งแผนงาน

โครงการ ในการท�ำในพื้นที่ต่างๆ อยากให้พี่ น้องได้พูดคุยกัน ว่าท่านเองยังขาดอะไรที่จะให้ ภาครัฐเข้าไปช่วย อย่างเช่น ในชุมชนของท่าน อยากเลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู บางทีเราก็มีองค์ความรู้ แล้ ว มี ไ ก่ แ ล้ ว แต่ อ ยากได้ ค วามรู ้ เ รื่ อ ง วิชาการ ชาวบ้านเองก็ต้องการองค์ความรู้เรื่อง การตลาด เขาผลิตมาแล้ว จะมีตลาดขายไหม จะขายดีไหม การพัฒนามันต้องต่อยอดและขณะเดียวกัน อยากจะเรียนทางพี่น้องนะครับว่า ถ้าท่านได้ โอกาส ได้รับองค์ความรู้จากรัฐแล้ว อยากให้

พีน่ อ้ งถ่ายทอดองค์ความรูไ้ ปให้พนี่ อ้ งประชาชน ต่ อ ๆ ไป และอยากให้ ดู แ ลสุ ข ภาพอนามั ย ท่านด้วย นั่นก็คือ งดใช้สารเคมี ที่เป็นอันตราย ต่อท่าน งดการใช้ยาฆ่าแมลง งดอะไรที่ท�ำให้ สุขภาพไม่ดี คนเราอยู่ให้มีอายุยืนยาวอยู่ให้มี ความสุข เรื่องเงินก็ไม่ใช่ปัจจัยที่ส�ำคัญ สังคม ไทยเมื่อก่อนผมก็อยากเห็นแต่ก่อนบ้านเราแกง เราก็ใส่ถ้วยไปให้อีกบ้าน แลกเปลี่ยนกับข้าวกัน ผมว่าตรงนี้คือเสน่ห์ของวิถีไทยที่งดงาม และสุดท้าย ครอบครัวเป็นสิ่งส�ำคัญมาก ผมอยากให้พี่น้องแบ่งเวลาให้ถูก เวลาไหนควร เป็ น เวลาครอบครั ว เงิ น ซื้ อ ไม่ ไ ด้ ทุ ก อย่ า ง นะครับ ขอฝากไว้ด้วยความรักจากหัวใจ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

23


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

CHIANG MAI

VICE GOVERNOR รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นายคมสัน สุว รรณอัมพา

คติพจน์ประจ�ำใจ กระผมมีคติพจน์ประจ�ำใจอยู่ว่า “ คิดดี ท�ำดี พูดดี” และเชื่อแน่ว่าการกระท�ำทุกสิ่งอย่าง หากมิได้เกิดขึ้นจากความคิดที่ดีจะไม่สามารถก่อเกิดผลงานที่ดีได้อย่างแน่นอน ความคิดที่ดี เปรียบเสมือนการวางแผนงานที่ดีและน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ดี ภายใต้การบูรณาการร่วมกันกับทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องกับกิจการนั้นๆ และการท�ำงานร่วมกันทั้งภาครัฐ ประชาชน หมู่มากหรือน้อยก็ตาม หากพูดจากันด้วยมิตรไมตรีแล้วสัมฤทธิ์ผลก็จะบังเกิดขึ้นโดยไม่ล�ำบากยากเย็นครับ

24

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสรณ์สถานท้าre1.indd วสุรนารี24(ย่าโม) อ�ำเภอเมือง

ดอยอ่างขาง อ�ำเภอฝาง

. - 02/03/2563 16:45:50 PM


EXC LU S IV E

ภาระงานที่ก�ำกับดูแล ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่กรุณาให้ กระผมดู แ ลรับ ผิด ชอบงานด้า นกิจ การพิเศษ ประกอบด้วย กรมประชาสัมพันธ์ กรมการขนส่ง ทางบก กรมชลประทาน กรมทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม กรมที่ ดิ น กรมโยธาธิ ก าร โครงการหลวง กระทรวงพลังงาน การท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย การท่องเทีย่ วและกีฬา เป็นต้น ซึ่งถือว่าเป็นภาระงานที่ท้าท้ายเป็นอย่างมาก ภายใต้ความร่วมมือทั้งหน่วยงานภาครัฐ และ ภาคเอกชน รวมถึงภาคประชาสังคมทีเ่ ราต้องรับฟัง และน� ำ มาประชุ ม สรุ ป เป็ น แนวทางในการ ปฏิบตั งิ านร่วมกัน เพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายของรัฐ สูก่ ารปฏิบตั แิ ละบรรลุผลสัมฤทธิใ์ นทีส่ ดุ ทุกๆ งาน

ผสานการมีส่วนร่วมในการพัฒนาจังหวัดให้เจริญก้าวหน้า จังหวัดเชียงใหม่เราเน้นการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา จากการที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางสู่ จังหวัดเชียงใหม่มากมายโดยเฉพาะจากประเทศจีน การประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักรู้ของ ประชาชนและนักท่องเที่ยวจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เราต้องสร้างการรับรู้โดยเฉพาะขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของล้านนา โบราณ สถานสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ต้องสื่อสารให้นักท่องเที่ยวได้รับทราบ เพื่อการเคารพสักการะได้อย่างถูกต้อง ไม่เกิดภาพที่อาจกระทบต่อจิตใจและความเชื่อของประชาชน ในพืน้ ทีจ่ ากกระแสสือ่ สังคม ออนไลน์ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาระดับบริหารก็ยงั คงรับฟังอยูเ่ ช่นกันไม่วา่ จะด้านบวก หรือลบก็ตาม และเชื่อมโยงเข้าสู่เวทีการพบปะพูดคุยฉันมิตรไมตรีกระทั่งเกิดการบูรณาการร่วมกับ ภาคประชารัฐ เช่น การพัฒนาคลองแม่ข่า เป็นต้น ก็มาจากการระดมความคิดของทุกภาคส่วน จนน�ำมาสู่การร่วมกันพัฒนาในที่สุด

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

re1.indd 25

25

. - 02/03/2563 16:45:54 PM

บุคคล มีผ โดยตร เคยร่ว หลวงป ชาติ ศ ความซ ปฏิ บั ต ต� ำ แห จังหวัด ติดต่อส ไลน์ ไม อย่างท ด�ำรงร มิใช่อภ แบบอ


EXC LUS I VE

CHIANG MAI

PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION

ท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

นายนรศั ก ดิ์ สุ ข สมบู ร ณ์ “เสริมสร้างให้องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นเป็นเมืองน่าอยู่ ภายใต้หลักบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี” วิสัยทัศน์ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ชั้น 3 อาคารอ�ำนวย การกลาง ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชต นา กม.7 ปัจจุบัน นายนรศักดิ์ สุขสมบูรณ์ ด�ำรง ต�ำแหน่ง ท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ SBL บันทึกประเทศไทย มีความภูมิใจอย่าง ยิ่งที่ได้สนทนากับท่านนรศักดิ์ สุขสมบูรณ์ ท้อง ถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ จากก้นบึ้งของหัวใจในภาพ รวมที่ เจาะลึ ก ไปถึ ง บทบาทหน้ า ที่ ใ นการส่ ง 26

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เราเลือกทางที่ประชาชน ได้ประโยชน์ ท�ำเพื่อให้ ประชาชนได้ประโยชน์ โดยยึดความถูกต้อง เป็นธรรม

เสริ ม ความเป็ น อยู ่ ข องประชาชนในท้ อ งถิ่ น เชียงใหม่ให้ก้าวหน้ายั่งยืนมั่งคั่งอย่างถาวร ดังนี้

เพราะเรามี ท รั พ ยากรอั น อุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละ วัฒนธรรมล้านนาอันแข็งแรง ใช่ แ ล้ ว ครั บ เชี ย งใหม่ เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี วั ฒ นธรรมเก่ า แก่ แ ละมี ท รั พ ยากรมากมาย องค์กรปกครองท้องถิ่นในเชียงใหม่ในแต่ละ พื้นที่ก็จะมีจุดเด่น ซึ่งแตกต่างกันไป แต่ละจุด ก็สามารถดึงศักยภาพในแต่ละด้าน เช่น บริหาร จัดการและด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งแต่ละ ที่เขาสามารถดึงจุดเด่นออกมา และก็สามารถ ท�ำรายได้ให้กับท้องถิ่น


จุดแข็งของเชียงใหม่ คือ ความเป็นเอกภาพ ความเป็ น เอกภาพของความเป็ น ท้ อ งถิ่ น ล้านนาเชียงใหม่ค่อนข้างสูง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น สามารถปรึกษาแทนเองได้ เรื่อง ร้องเรียนของเชียงใหม่น้อย ตั้งแต่ผมมาอยู่ ไม่ ค่อยมีเรื่องร้องเรียนในการท�ำงาน ความขัดแย้ง ในองค์กรมีน้อยมาก เพราะฉะนั้นการท�ำงานใน เทศบาล อบต. อบจ. ก็เป็นไปโดยราบรื่น ส่วน เรื่องการน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ก็เป็นจุดเด่น อย่างหนึ่งขององค์กรปกครองท้องถิ่น เขาจะน�ำ เทคโนโลยีใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการเก็บภาษี การ บริการของประชาชน ไม่ว่าจะเป็นงานทางด้าน ก่อสร้าง สามารถขออนุญาตทางออนไลน์ได้ นายกเทศมนตรีไม่อยู่ ก็สามารถอนุญาตได้นะ เช่น แบบบ้านของแม่เหียะ ที่ไม่ได้เป็นแบบ บ้านโครงสร้างสูง เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย นายเทศมนตรี ก็สามารถดูแบบจากที่ช่างส่งไปทางออนไลน์ สามารถอนุญาตทางออนไลน์ได้ ปริ้นเอกสาร อนุญาตออนไลน์ได้เลย ก็เป็นส่วนหนึ่งของการ บริการประชาชนและสามารถลดขั้นตอน ลดค่า ใช้จ่ายได้

หลักการท�ำงาน ยึดความถูกต้องเป็นธรรม และประโยชน์ของประชาชน ความถูกต้องเป็นธรรม คือ การด�ำเนินการ ที่ท้องถิ่นต้องท�ำในเรื่องอะไรก็แล้วแต่ ต้องยึด หลักกฎหมาย ระเบียบเขียนว่ายังไง ต้องว่าไป ตามนั้น ถ้าท�ำตามระเบียบกฎหมายแล้ว เราไม่ ต้องกลัวว่าจะมาโดนตรวจสอบทีหลัง และท้อง ถิ่นก็สบายใจ เราก็ให้ค�ำปรึกษาท้องถิ่นทุกที่ ถ้ า เขามี ป ั ญ หาในเรื่ อ งระเบี ย บกฎหมาย เราพยายามจะเสริมทุกอย่าง ประโยชน์ของประชาชน การท�ำงานของ ราชการต้องยึดถือประโชน์ของประชาชนเป็น

ส�ำคัญและต้องถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย ด้วยแต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าเอากฎหมาย เอา ระเบียบมาเป็นก�ำแพงแล้วท�ำอะไรไม่ได้เลย เราก็ต้องดูเป็นเรื่องๆ ไป ถ้าระเบียบข้อไหน มันติดแล้วท�ำให้ประชาชนไม่ได้ประโยชน์ มัน มี ช ่ อ งทางที่ จ ะขอยกเว้ น ผ่ อ นผั น ได้ ไ หม ถ้าท�ำได้ตามระเบียบกฎหมายเราก็จะท�ำเพื่อ องค์กรปกคองส่วนท้องถิ่นจะได้ท�ำงานอย่าง สบายใจ เพื่อให้บริการประชาชนได้ มันก็ไม่ ได้หมายความว่าตึงเกิน จนบริการชาวบ้าน ไม่ได้

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

27


สาธารณสุ ข ท้ อ งถิ่ น หั ว ใจของสุ ข ภาพ ชุมชน ท้ อ งถิ่ น มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ค รอบคลุ ม ใน หลายๆ ด้าน แต่มีเรื่องหนึ่งที่น่าจะให้ชัด คือเรื่องสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต� ำ บล (รพ.สต.) มาอยู ่ กั บ ท้ อ งถิ่ น เทศบาล แต่ผมมองว่าถ้ามาอยู่กับเทศบาล อบต. เขาจะเป็นคนในชุมชนท้องถิ่น และ สามารถดูแลคนของเขาได้ดีกว่า ชาวบ้าน กั บ ส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข อ� ำ เภอ กั บ เทศบาล ซึ่งชาวบ้านกล้าแสดงความคิดเห็น กับเทศบาล ถ้าเทศบาลท้องถิ่นท�ำอะไรที่ไม่ ดี ถ้าบริการไม่ดี ชาวบ้านกล้าว่าแต่กับส่วน ราชการไม่กล้าว่านะ เขามองว่าไม่ใช่คนใน พื้นที่ ไม่ใช่คนของท้องถิ่น ถ้าโรงพยาบาล สาธารณสุขต�ำบลไปอยู่กับท้องถิ่น อยู่กับ เทศบาล อยู่กับ อบต. การบริหารจัดการก็ จะมี ง บประมาณสนั บ สนุ น การบริ ห าร จั ด การก็ จ ะดี ขึ้ น ไม่ ต ้ อ งรอกระทรวง สาธารณสุขจัดสรรงบประมาณมาให้

28

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


แพทย์แผนไทยลดภาระของราชการ สร้างความสุขของประชาชน อีกประการหนึ่งที่ควรจะเพิ่มอ�ำนาจหน้าที่ ให้กับท้องถิ่น ด้านสาธารณสุข สาธารณสุขคือ เรื่อง “แพทย์แผนไทย” แพทย์แผนปัจจุบัน เป็ น หน้ า ที่ ข องทางกระทรวงสาธารณสุ ข ไป ส่วนแผนแพทย์ไทย อบต. เทศบาล ตั้งศูนย์ แพทย์แผนไทยเองได้ ผมว่ามันก็จะเป็นการ ช่ ว ยลดภาระของภาครั ฐ ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ต ้ อ งมา รักษาดูแลบริการประชาชน ถ้าแพทย์แผนไทย อย่างสมุนไพร การนวดแผนไทย ถ้าท้องถิ่นมา จัดการตรงนี้ ก็จะแบ่งเบาภาระส่วนหนึ่ง แล้ว ก็เป็นการที่เขาดูแลคนของเขาเอง ถ้าสามารถ ให้ท้องถิ่นดูแลแพทย์แผนไทยได้มีศูนย์แพทย์ แผนไทยทุกต�ำบล ก็จะเป็นการดี และอีกอย่างหนึ่งที่ท้องถิ่นจะมีปัญหามาก เลยก็คือเรื่องการพัฒนา ก็คือว่า การขออนุญาต ใช้พื้นที่ คือถ้าเชียงใหม่มีป่าไม้เยอะ ท้องถิ่น เวลาจะไปท� ำ การพั ฒ นาเรื่ อ งถนน โรงเรี ย น ศูนย์เด็ก ประปา สร้างไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับอนุญาต

ให้ใช้พื้นที่ เพราะว่าไปอยู่ในพื้นที่ป่า ป่าในที่นี้ ไม่ได้เป็นป่าอุดมสมบูรณ์นะ ป่าในที่นี้คือ ป่าที่ เป็นชุมชนบ้านคน แต่มันเป็นเขตป่า การไป ก่อสร้างในแดนเขตป่าต้องได้รับอนุญาตจาก อธิบดี หรือรัฐมนตรี ขอไป 2 ปี 3 ปี ก็ยังไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับอนุญาตใช้พื้นที่ ของบก็ไม่ได้ เพราะ ฉะนั้นงบตัดหมดเลย คุณภาพชีวิตที่เขาควรจะ ได้รับเท่ากับคนในเมืองก็ไม่มี เช่น คนแม่แจ่ม คนอมก๋อย คนกัลยานิวัฒนา ที่อยู่ในพื้นที่ป่า แทนที่เขาจะได้โรงเรียนเหมือนกับเด็กในเมือง ได้ศูนย์เด็ก ได้ประปาเหมือนคนในเมือง ก็ไม่ ได้เพราะว่าการขออนุญาตงบไม่ใช่ไม่มีนะ กรม ส่งเสริมปกครองท้องถิ่น มีงบประมาณอุดหนุน เฉพาะกิจ ให้ในเรื่องโรงเรียน เรื่องประปา เรื่อง ศูนย์เด็ก มาให้แต่เราท�ำไม่ได้เพราะว่าไม่ได้รับ อนุ ญ าต ก็ มี ห มู ่ บ ้ า นที่ ยั ง ไม่ มี ป ระปาอยู ่ 2 หมู่บ้าน ที่แม่แจ่ม เพราะเป็นพื้นที่ป่า มีข้อ จ� ำ กั ด ท้ อ งถิ่ น ก็ พู ด ยาก ถ้ า เป็ น ชุ ม ชน เป็ น หมู่บ้านที่อยู่ในเขตที่ประกาศเป็นเขตป่าก็ให้ ท้ อ งถิ่ น เขาไปจั ด การเองได้ เ ลยในเรื่ อ ง

โครงสร้างพื้นฐาน ถ้าอย่างนี้ก็จะสามารถช่วย ขาวบ้านได้เยอะ คือไม่ได้ไปบุกตัดต้นไม้สักต้น เพราะมันไม่มีป่าแล้ว มันเป็นเมืองแล้ว ถ้าท้อง ถิ่นเขามีอ�ำนาจตรงนี้ได้ ก็น่าจะเป็นการดี จากใจท้องถิ่น การท� ำ งานทุ ก วั น นี้ ข องท้ อ งถิ่ น และ ส่วนราชการลงไป โดยให้ท้องถิ่นเป็นคนท�ำ โดยเฉพาะด้านสังคม งานที่ต้องมีการบูรณาการ การท�ำงานกับส่วนอื่นๆ สิ่งที่อยากฝากท้องถิ่น ก็คือ ถ้าท้องถิ่น ต้องแยกแยะหน้าที่ให้ได้ว่า อ�ำนาจหน้าที่ของท้องถิ่นคืออะไร อยากให้เห็น ภาพ ระหว่างท้องถิ่นกับฝ่ายปกครอง ท้องถิ่นมีหน้าที่พัฒนา ส่วนฝ่ายปกครอง มีหน้าที่ปกครองรักษาความสงบ ถ้าแยกกัน ท้องถิ่น พัฒนาก็พัฒนาไป ฝ่ายปกครอง ก�ำนัน นายอ�ำเภอ ท้องที่ก็ปกครองดูแลรักษาความ สงบไป แยกหน้าที่กัน 2 ฝ่าย ถ้าบูรณาการและ ส่งเสริม สนับสนุนกัน เทศบาล อบต. นั้นๆ จะไปได้ดี ถ้าสองฝ่ายท�ำงานบูรณาการร่วมกันได้ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

29


โรงแรมลัคกี้แพนด้า

Lucky Panda Hotel

โรงแรมลัคกี้แพนด้า เป็นโรงแรมขนาด 50 ห้อง ตั้งอยู่ ใกล้กับถนนวัวลาย (ถนนคนเดินวันเสาร์) ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์พอร์ต และยังใกล้กับสนามบินเชียงใหม่ โดยใช้เวลาเดินทางเพียง 10 นาทีเท่านั้น ด้วยทำ�เลทองนี้ ทำ�ให้ท่าน ได้ ใกล้ชิดกับย่านผู้อยู่อาศัย ของชาวเชียงใหม่แต่ ไม่วุ่นวาย นอกจากนั้นยังมีบริการรถรับ-ส่งสนามบินและจุดต่างๆ Free

ส�ำหรับห้องพัก มีให้เ ลือกทั้ ง แบบ ห้ องสอง เตียง ห้องเตียงใหญ่ 1 เตียง ห้องเตียงสอง ชั้น และห้อง Home Theater โดยภายในแต่ละ ห้องออกแบบไว้อย่างเรียบง่ายสไตล์โมเดิร์น ประยุกต์ เน้นใช้สอย เข้าออกสะดวก เป็นกันเอง มีเฟอร์นิเจอร์ที่ท�ำจากไม้และวัสดุอย่างดี และ ที่ส�ำคัญบริการ Free High speed Wi-fi ที่ให้ ความเสถียรสูง เอาใจนักเดินทางยุคใหม่ มีบริการ Executive lounge ทีเ่ ปรียบเสมือนห้องนัง่ เล่นของทุกคน มีบริการ ชา-กาแฟ บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป อาหารส�ำเร็จรูปแช่แข็งและบริการ ไมโครเวฟตลอด 24 ชั่วโมง


เรามีบริการอาหารเช้าเป็นเมนูเลือกได้ระหว่างอาหารไทย หรืออาหารที่ทางโรงแรมจัดให้ และในบางฤดูกาล ทางโรงแรม มีผลไม้ปลอดสารพิษจากสวนของเราเอง ให้ทา่ นได้รบั ประทานฟรี โดยห้องอาหารเช้าจะเปิดให้บริการตัง้ แต่ 6.30 -10.00 น. ส�ำหรับ บริการขนส่ง เราจะจัดให้เป็นรถรับ-ส่งตามจุดต่างๆ ตามรอบเวลา อาทิ รถรับส่งสนามบินเชียงใหม่ - โรงแรมลัคกี้แพนด้า รถรับส่ง ในเมืองเชียงใหม่ ได้แก่ ถนนนิมมาน ถนนคนเดิน ไนท์บาร์ซาร์ อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ เป็นต้น รวมอยู่ในแพคเกจด้วย ** รายละเอียดเป็นไปตามเงื่อนไขที่โรงแรมก�ำหนด **

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่

โรงแรมลัคกี้แพนด้า (Lucky Panda Hotel) เลขที่ 17/1 ถนนศรีปิงเมือง ซอย 3 ต�ำบลช้างคลาน อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 51000

โทร 065 594 4988 luckypanda8 luckypandahotel Email : luckypanda8.rsvn@gmail.com


SBL บันทึกประเทศไทย

Website : www.sbl.co.th

Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56

06/07/61 14:25:11


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 13

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

. - 25/11/2562 09:25:59 AM


IN T E RV I EW

“ชีวิตของผมเป็นดั่งวงออร์เคสตรา” นายพรชัย จิต รนวเสถีย ร ประธานกรรมการบริหารโรงแรม โรยัลเพนนินซูลา เชียงใหม่ และประธานมูลนิธิกองทุนเพื่ออนุรักษ์ดอยอินทนนท์

34

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติส่วนตัว : นายพรชัย จิตรนวเสถียร เกิดวันที่ 29 เดือนมกราคม พ.ศ.2512 อายุ 51 ปี การศึกษา : ปี พ.ศ. 2536 ปริญญาตรี คณะ บริ ห ารธุ ร กิ จ สาขาการตลาด มหาวิ ท ยาลั ย พายั พ , ปี พ.ศ.2539 ปริ ญ ญาโท คณะ บริหารธุรกิจ 2 สาขา , สาขาการตลาดและสาขา การเงินการธนาคาร Natonal University, San Diego, USA, ปี พ.ศ.2550 ปริญญาโท คณะ รั ฐ ศาสตร์ แ ละรั ฐ ประศาสนศาสตร์ สาขา การเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต�ำแหน่งทางธุรกิจ : ประธานกรรมการ บริหาร ซีเอ็ม ศูนย์คอมพิวเตอร์และการศึกษา, ประธานกรรมการบริหารโรงแรม โรยัลเพนนินซู ลา เชียงใหม่ และ ประธานกรรมการบริหาร โรงแรม โรยัลพรรณราย เชียงใหม่ ต� ำ แหน่ ง ทางการเมื อ ง : ปี พ.ศ.2542 สมาชิกสภาเทศบาลนครเชียงใหม่, ปี พ.ศ.2547 เลขานุการนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่, ปี พ.ศ. 248 รองนายกเทศมนตรี ส� ำ นั ก การศึ ก ษา เทศบาลนครเชียงใหม่ และรองนายกเทศมนตรี ส�ำนักการช่าง เทศบาลนครเชียงใหม่, ปี พ.ศ. 2549 รองนายกเทศมนตรี ส� ำ นั ก การศึ ก ษา เทศบาลนครเชี ย งใหม่ เลขานุ ก ารนายก เทศมนตรีนครเชียงใหม่ ต�ำแหน่งทางสังคม (ปัจจุบัน) : ประธาน มู ล นิ ธิ ก องทุ น เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ด อยอิ น ทนนท์ ,กรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวเขตพัฒนาการ ท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา, ประธานกรรมการ ตระกูลหลิว (เล้า) เชียงใหม่, ทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมนั ก ธุ ร กิ จ ไทยจี น เชี ย งใหม่ , ที่ ป รึ ก ษา กต.ตร.จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ , ที่ ป รึ ก ษาสมาคม ธรรมศาสตร์ภาคเหนือ,ที่ปรึกษาประจ�ำศูนย์ ประสานงานคดีนกั ท่องเทีย่ วในจังหวัดเชียงใหม่ ศาลแขวง ,กรรมการสถานศึ ก ษาวิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป์ เ ชี ย งใหม่ , กรรมการส่ ง เสริ ม มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ , คณะกรรมการผู ้ ท รง คุ ณ วุ ฒิ ป ร ะ จ� ำ ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่,กรรมการสมาคม แต้จิ๋ว จังหวัดเชียงใหม่,รองประธานกลุ่มพัฒนา วัดโลกโมฬีฝา่ ยฆราวาส และ รองประธานมูลนิธิ พระบรมธาตุดอยสุเทพ

เพราะผมมีหลักการท�ำงานว่า “ การปฏิบัติภาระหน้าที่และ ความรับผิดชอบที่ ได้ รับมอบหมายให้ดีที่สุด ”

รางวัลและเกียรติคุณที่ภาคภูมิใจ อาทิ โล่ เกียรติคุณการสนับสนุนธุรกิจบริการสุขภาพให้ จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับเลือกเป็นเมืองสุขภาพ อันดับ 7 ของโลกในปี 2561 ,รางวัล “ นักบริหาร ดีเด่น สาขาบริหารและพัฒนาท้องถิ่น” ประจ�ำ ปี 2561 โดยมูลนิธิเพื่อสังคมไทย, รางวัล คนดี ศรีเชียงใหม่” ในวาระครบรอบ 720 ปี จังหวัด เชียงใหม่ ประจ�ำปี 2559 โดย สมาพันธ์สตรีอาสา สมัครพุทธ คริสต์ อิสลาม, รางวัล Thailand PES AWARD 2015 จากส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจ จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) เป็นต้น ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ : ริเริ่มถนนคน เดินทั้ง 3 สาย คือ ถนนคนเดินถนนราชด�ำเนิน (ท่าแพ) , ถนนคนเดินถนนวัวลาย และถนนคน เดินถนนบ�ำรุงราษฎร์ (หลังโรงเรียนปรินส์รอย แยลส์วิทยาลัยเชียงใหม่), ริเริ่มงานเชียงใหม่ไช น่าทาวน์ , ริเริ่มการจัดงาน Chiang Mai and North Travel Mart หรืองาน CTM ,ริเริ่มและ ประสานงานโครงการ “ รวมใจล�ำไยเหนือสู่ชาว ใต้ “ เพือ่ ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง, ริเริ่มโครงการน�ำสวดแข่งขันการประกวดแผ่ เมตตาแบบล้านนา, ริเริ่มกระทงลอยน�้ำในงาน

ประเพณียี่เป็งจังหวัดเชียงใหม่, ริเริ่มโครงการ เชียงใหม่น่าอยู่ ศาสนายั่งยืน ท�ำบุญทุกเช้า ณ ลานอนุสาวรียส์ ามกษัตริย์ และริเริม่ และผลักดัน ให้เทศบาลนครเชียงใหม่จัดงานเชียงใหม่เคาน์ ดาวน์ ที่ยิ่งใหญ่สมกับเป็นเมืองท่องเที่ยวอันดับ ต้นของเมืองไทย กิจกรรมที่ท�ำเพื่อสังคมและโครงการี่เป็น ประโยชน์ต่อจังหวัดเชียงใหม่ เช่น จัดตั้งศูนย์ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วมตลอดระยะเวลา ของการเกิดวิกฤตน�้ำท่วมเมืองเชียงใหม่ ช่วย เหลือประชาชน ที่ได้รับความเดือนร้อนด้าน ต่างๆ ในเขตเทศบาลเมืองเชียงใหม่ เป็นต้น ติดต่อผมได้ช่องทางนี้ครับ ที่อยู่ 9/9 ถนนอัษฎาธร ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50200 อีเมล์ pjit555@gmail.com โทร. 061-791-9999 , 081-681-3444 Facebook : พรชัย จิตรนวเสถียร Fanpage : พรชัย จิตรนวเสถียร

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

35


ใต้ร่มพระบารมี

โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชดำ�ริ

ดอยฟ้าห่มปก

เพื่อให้ราษฎรที่ยากไร้ได้มีที่อยู่

ที่ทำ�กินเป็นหลักแหล่ง และพัฒนา คุณภาพชีวิต รักษาต้นน้ำ�ตาม แนวทางคนอยู่ร่วมกับป่า ในลักษณะบ้านเล็กในป่าใหญ่

36

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ความเป็นมา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง ทรงมีพระราชเสาวนีย์กับคุณสหัส บุญญาวิวัฒน์ ผู้ช่วยเลขาธิการ พระราชวังฝ่ายกิจกรรมพิเศษ ให้พิจารณาหาพื้นที่ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อจัดตั้งโครงการตามแนวทางบ้านเล็กในป่าใหญ่ ห้วยหญ้าไซ อำ�เภอ แม่สรวย จังหวัดเชียงราย โดย คุณสหัส ได้ให้ผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาหาพื้นที่ที่ เหมาะสม ซึ่งคณะทำ�งานได้คัดเลือกพื้นที่ดอยผ้าห่มปก ตำ�บลแม่สาว อำ�เภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ดำ�เนินงาน สรุปลำ�ดับการจัดตั้ง โครงการได้ดังนี้


ที่ตั้งโครงการและข้อมูลพื้นฐาน บ้ า นเล็ ก ในป่ า ใหญ่ ด อยฟ้ า ห่ ม ปก ตั้ ง อยู่ หมู่ ที่ 15 ตำ �บลแม่ ส าว อำ�เภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่ อ สนองพระราชเสาวนี ย์ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ทรงให้ราษฎรทีย่ ากไร้และสมัครใจ เข้าร่วมโครงการฯได้มีที่อยู่ที่ทำ�กินเป็นหลักแหล่ง เพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของราษฎรให้ดีขึ้น รวมทั้งบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ตามแนวทางคนอยู่ร่วมกับป่า ในลักษณะ “บ้านเล็กใน ป่าใหญ่” และเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้�ำ ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ดังเดิม อีกทั้งเพื่อเป็นข้อมูลในการกำ�หนดแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้อย่างยั่งยืนต่อไป

ความภาคภูมิใจจากผลงานที่ ได้รับ สามารถสนองพระราชดำ � ริ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ทรงห่วงใยราษฎรผู้ยากไร้ ในพื้นที่ชนบทได้มีที่อยู่ที่ทำ�กินเป็นหลักแหล่ง ราษฎรมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีอาชีพ พึ่งพาตนเองได้ สามารถอยู่ร่วม กับป่าได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ดูแลรักษาป่า ตามแนวทาง “บ้านเล็กในป่าใหญ่” โดยราษฎรมีความเป็นอยูแ่ บบพอเพียงตามวิถชี วี ติ ของชนเผ่า เป็นแหล่งศึกษาข้อมูลกรรมวิธีดำ�เนินการที่ได้ผล ราษฎรตระหนักถึง ความสำ�คัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม และมีส่วน ร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าต้นน้ำ� ทำ�ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ราษฎรเกิ ด ความสำ � นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ มี ค วามจงรั ก ภั ก ดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ มีความหวงแหนในผืนแผ่นดิน และเป็นกำ�ลัง สำ�คัญในการพัฒนาประเทศ ต่อไป CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

37


TR AV EL

บันทึกเส้นทางความเป็นมา

UNSEEN อาณาจักรล้านนา ท่ามกลางขุนเขาที่โอบล้อมชุมชนท้องถิ่นเชียงใหม่ ศูนย์กลางทางพุทธศาสนาในภาคเหนือ เชี ย งใหม่ (CHIANG MAI) เป็ น เมื อ งที่ มี ข นาด ใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่ท่ามกลางภูเขาที่สูงที่สุดของประเทศ ในพืน้ ทีโ่ อบล้อมแห่งธรรมชาตินอี้ ดุ มไปด้วยทรัพยากรป่า ไม้อันบริสุทธิ์หลากหลายชีวภาพ ยังเป็นเมืองวัฒนธรรม ที่ส�ำคัญที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นเมือง ศูนย์กลางของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นอดีตนครหลวงแห่ง อาณาจักรล้านนา และเทศบาลนครเชียงใหม่ยังเป็น เทศบาลนครแห่งแรกของประเทศไทยอีกด้วย โดยอยูห่ า่ ง จากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง 700 กิโลเมตร (435 ไมล์) มีแม่นำ�้ ปิงไหลผ่านเมือง มีประชากร ของเทศบาลนครเชียงใหม่ประมาณ 130,000 คน ชื่อของเชียงใหม่หมายความว่า "เมืองใหม่" เนื่องจาก เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 1839 แทนเมืองเชียงราย อดีตนครหลวงที่ก่อตั้งใน ปี พ.ศ. 1805 ซึ่งเป็นรัฐอิสระจนถึงปีพ.ศ. 2101 บริเวณ เขตเมืองเก่าของเชียงใหม่ยังคงมีซากก�ำแพงเมืองและ คูเมืองโบราณที่ในอดีตเคยเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม และศาสนา และยังเป็นที่ตั้งของวัดทางพุทธศาสนาที่ ก่อสร้างอย่างประณีตงดงามนับร้อยๆ แห่ง รวมถึงวัดพระ สิงห์ทสี่ ร้างขึน้ ในศตวรรษที่ 14 และวัดเจดียห์ ลวงทีส่ ร้าง ขึน้ ในศตวรรษที่ 15 ซึง่ ประดับประดาด้วยรูปปัน้ พญานาค เทศบาลนครเชีย งใหม่ เมื่อเริ่ม แรกมีฐานะเป็น เพียง สุขาภิบาลเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2458 และยัง ขึ้นตรงต่อมณฑลพายัพ แต่ต่อมาเมื่อประเทศไทยมีการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในปี พ.ศ. 2475 สภา ผูแ้ ทนราษฎรจึงมีมติสมควรจัดตัง้ ชุมชน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็น สุขาภิบาลให้มีฐานะเป็น “เทศบาล” โดยในครั้งนั้นนคร

38 38

SBL SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย II เชี เชียยงใหม่ งใหม่

เชียงใหม่ได้รับฐานะใหม่จากสุขาภิบาลเมืองเชียงใหม่ขึ้น เป็น "เทศบาลนครเชียงใหม่" ในปี พ.ศ. 2478 จึงถือได้วา่ เป็นเทศบาลนครแห่งแรกของไทย จากนั้น เทศบาลนคร เชียงใหม่มีการขยายเขตเทศบาลให้กว้างขึ้นเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2526 เทศบาลนครเชี ย งใหม่ มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมดประมาณ 40.216 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 14 ต�ำบลของ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ได้แก่ ต�ำบลหายยา ต�ำบลช้างม่อย ต�ำบลศรีภมู ิ ต�ำบลวัดเกต ต�ำบลช้างคลาน ต�ำบลพระสิงห์ ต�ำบลสุเทพ ต�ำบลป่าแดด ต�ำบลฟ้าฮ่าม ต�ำบลหนองป่าครัง่ ต�ำบลท่าศาลาบางส่วน ต�ำบลป่าตัน ต�ำบลหนองหอย และต�ำบลช้างเผือก ชุมชนเมืองเชียงใหม่ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น�้ำปิง ตอนกลางเชิงดอยสุเทพ มีแม่น�้ำปิงไหลผ่านใจกลางเมือง ในแนวเหนือ–ใต้ ส่วนชุมชนดัง้ เดิมหรือบริเวณเมืองเก่าตัง้ อยูท่ างฝัง่ ตะวันตกของแม่นำ�้ ปิง ต่อมาเมือ่ ชุมชนได้พฒ ั นา ให้มีความเจริญขึ้น มีการขยายตัวข้ามแม่น�้ำปิงมาทางฝั่ง ตะวันออก และภายหลังจากที่ได้มีการตัดถนนอ้อมเมือง ชุมชนได้พฒ ั นาออกไปหลายทิศทางตามเส้นทางคมนาคม และโครงข่ายสาธารณูปโภค ธุรกิจการพัฒนาที่ดินและ ที่พักอาศัยได้ขยายตัวเป็นอย่างมาก สภาพที่แท้จริงของชุมชนเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน จึงไม่ได้คงอยู่แต่เฉพาะในเขตเทศบาลเท่านั้น แต่ได้ ขยายออกไปตามบริเวณชานเมืองและชนบทโดยรอบ อย่างเช่น เขตอ�ำเภอหางดง อ�ำเภอสันทราย อ�ำเภอแม่รมิ อ� ำ เภอสารภี อ� ำ เภอสั น ก� ำ แพง อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด อ�ำเภอสันป่าตอง อ�ำเภอจอมทอง และอ�ำเภอแม่แตง เป็นต้น


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

39


ดวงตราสัญลักษณ์ของเทศบาลนครเชียงใหม่ เป็นรูปพระบรมธาตุดอยสุเทพตั้งตระหง่าน อยู่บนปุยเมฆ และยังมีพญานาค รวงข้าว และ ลายดอกประจ�ำยาม ในดวงตราสัญลักษณ์อีกด้วย พระบรมธาตุ ด อยสุ เ ทพ สถานที่ ซึ่ ง เป็ น ปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงยังเป็นสถานที่ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท� ำ ให้ ที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น ที่ เ คารพสั ก การะของพระ พุทธศาสนิกชนแสดงถึงการเป็นศูนย์กลางทาง พุ ท ธศาสนาในภาคเหนื อ ที่ รุ ่ ง เรื อ งมายาวนาน ทุกสมัย ปุยเมฆ เป็นตัวบ่งบอกลักษณะสภาพอากาศ โดยทั่วไปของนครเชียงใหม่ ที่เย็นสบายเกือบ ตลอดทั้งปี พญานาค ซึ่ ง ตามประวั ติ ค วามเป็ น มานั้ น พญานาคถือว่าเป็นผู้ให้น�้ำ และในที่นี้หมายถึง แม่น�้ำปิง ซึ่งเป็นแม่น�้ำสายส�ำคัญที่ไหลผ่านนคร เชียงใหม่ รวงข้าว เปรียบดังความอุดมสมบูรณ์ของเมือง ที่ มี พื ช พั น ธุ ์ ธั ญ ญาหารอุ ด มสมบู ร ณ์ ต ลอดทั้ ง ปี เช่นกัน ประชากรในเทศบาลนครเชียงใหม่ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ 91.80% ศาสนาคริสต์ 5.60% ศาสนาอิสลาม 1.17% ศาสนาฮินดูและศาสนา ซิกข์ 0.02% และอื่น ๆ 1.14% ประเพณีและวัฒนธรรม เทศบาลนครเชี ย งใหม่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ที่ ยาวนาน คนเชียงใหม่ได้สั่งสมวัฒนธรรมประเพณี สืบทอดมาจากบรรพบุรุษอย่างต่อเนื่อง โดยส่วน ใหญ่มีความผูกพันกับพุทธศาสนาและความเชื่อ ดั้งเดิม ประเพณีที่ส�ำคัญ ได้แก่ 40

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ปีใหม่เมือง หรือ สงกรานต์ จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 13–15 เมษายนของทุกปี เป็นประเพณีที่ส�ำคัญ และยิ่งใหญ่ของชาวเชียงใหม่ แบ่งเป็นวันที่ 13 เป็นวันมหาสงกรานต์ มีขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ และพิธีสรงน�้ำพระ วันที่ 14 เข้าวัดก่อเจดีย์ทราย และวันที่ 15 เมษายน ประเพณีรดน�้ำด�ำหัวผู้ใหญ่ และมีการเล่นสาดน�้ำตลอดช่วงเทศกาล ประเพณียี่เป็ง จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทง ของทุกปี ราวเดือนพฤศจิกายน มีการตกแต่งบ้าน เรือนและสถานที่ต่างๆ ด้วยโคมชนิดต่าง ๆ มีการ ปล่อยโคมลอย มีการลอยกระทง ประกวดกระทง และนางนพมาศ ประเพณี เข้ า อิ น ทขิ ล จั ด ขึ้ น ในช่ ว งเดื อ น พฤษภาคมถึงมิถุนายน ที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็ น การบู ช าเสาหลั ก เมื อ งโดยการน� ำ ดอกไม้ ธูปเทียนมาใส่ขันดอก มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ จัดขึ้นในอาทิตย์ แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี บริเวณสวน สาธารณะบวกหาด มีขบวนรถบุปผาชาติ และ นางงามบุปผาชาติ ศู น ย์ ก ลางการพาณิ ช ย์ อุ ต สาหกรรมและการ คมนาคม เทศบาลนครเชียงใหม่ เป็นเมืองหลักของภาค เหนือ เป็นศูนย์กลางการพาณิชย์ อุตสาหกรรม และการคมนาคม จึ ง มี เ ส้ น ทางคมนาคมหลั ก ทั้งทางบก และทางอากาศ มีทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงจังหวัด และเส้นทางมาตรฐานหลายสาย ท�ำให้การเดินทางติดต่อภายในจังหวัด การเดินทาง สูจ่ งั หวัดใกล้เคียงและกรุงเทพมหานครเป็นไปด้วย ความสะดวก ทั้งทางถนน โดยมีรถสองแถวที่รู้จัก กันในชื่อ รถแดง การเดิ น ทางจากกรุ ง เทพมหานครมายั ง นครเชียงใหม่ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิ น ) แล้ ว แยกเข้ า ทางหลวงแผ่ น ดินหมายเลข 32 (ถนนสายเอเชีย) ผ่านจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง จังหวัดสิงห์บรุ ี และจังหวัดชัยนาท จากนัน้ เข้าสูถ่ นนพหลโยธินอีก ครั้ง ผ่านจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดก�ำแพงเพชร จังหวัดตาก และจังหวัดล�ำปาง แล้วแยกซ้ายใช้ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (ถนนซุปเปอร์ ไฮเวย์) ผ่านจังหวัดล�ำพูน เข้าจังหวัดเชียงใหม่ จนถึงเขตเทศบาล

การเดินทางในท้องถิ่น ระบบโดยสารมวลชน อาทิ รถแดง รถตุ๊กตุ๊ก รถโดยสารประจ�ำทาง และประมาณ พ.ศ. 2550 เริ่มมีแท็กซี่มิเตอร์ในบริการในจังหวัดเชียงใหม่ โดยรถมี สี เ หลื อ ง-น�้ ำ เงิ น เป็ น แท็ ก ซี่ ส หกรณ์ ส่วนสีแดง-เหลืองเป็นแท็กซี่ส่วนบุคคล มีสถานี ขนส่งภายในตัวจังหวัดเชื่อมต่ออ�ำเภอต่าง ๆ คือ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 1 (สถานีขนส่งช้างเผือก) และสถานีขนส่งระหว่าง จังหวัด คือ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 และสถานีขนส่งผูโ้ ดยสารจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 3 (สถานีขนส่งอาเขต) การคมนาคมทางรถไฟ ปั จ จุ บั น มี ร ถไฟ สายกรุ ง เทพ–เชี ย งใหม่ โดยผ่ า นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา–ลพบุ รี – นครสวรรค์ – พิ ษ ณุ โ ลก–อุ ต รดิ ต ถ์ – แพร่ – ล� ำ ปาง–ล� ำ พู น เปิดการเดินรถเร็ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ และรถ ดีเซลรางปรับอากาศ รวมวันละ 14 ขบวนไป–กลับ และนครสวรรค์–เชียงใหม่ วันละ 2 ขบวนไป–กลับ มีสถานีรถไฟหลักและเป็นสถานีปลายทางในนคร เชียงใหม่ คือ สถานีรถไฟเชียงใหม่ การคมนาคมทางอากาศ นครเชี ย งใหม่ มี ท ่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ ที่มีความหนาแน่นของผู้ใช้บริการเป็นอันดับ 4 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือ ง ท่า อากาศยานภูเก็ต ตามล�ำดับ โดยมีเที่ยวบินไป–กลับวันละหลาย เที่ยวบิน ทั้งสายการบินภายในประเทศ และสาย การบินระหว่างประเทศ โดยสายการบินระหว่าง ประเทศ มีสายการบินในแถบเอเชียมีเที่ยวบิน โดยตรงจากเชียงใหม่ไปยังหลายประเทศ เช่น ประเทศจี น ประเทศเกาหลี ใ ต้ ประเทศลาว ประเทศพม่า ประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงคโปร์ เป็นต้น และด้วยการคมนาคมขนส่งทุกด้านที่พร้อม ท่ า มกลางขุ น เขาธรรมชาติ อั น บริ สุ ท ธิ์ และ วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ที่ ยั ง คงเจิ ด จรั ส ทอแสงแห่ ง ความเป็ น ล้ า นนาได้ อ ย่ า งงดงามผสานกั บ การ เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเอกลักษณ์ของชุมชน ท้องถิ่นเชียงใหม่จึงสามารถน�ำทุกท่านที่เดินทาง ท่องเทีย่ วและมาท�ำธุรกิจทีน่ มี่ คี วามสุขทุกอรรถรส เลยทีเดียว


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

41


T R AV EL

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ท้องถิ่นเชียงใหม่

ซอกแซก

เชียงใหม่

ในมุมที่เป็นตัวของตัวเอง

42

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


19

การท่องเที่ยวท้องถิ่นเชียงใหม่ ไฉไล ดื่มด�ำ่ สัมผัสรสชาติอาหารพื้นบ้าน ชื่นชมความงามแห่งขุนเขา ป่าธรรมชาติ เรียนรู้วัฒนธรรมชาวล้านนา อันอุดมสมบูรณ์ อยู่เย็นเป็นสุขกับ วิถีชีวิตชาวบ้าน เข้าวัด ไหว้พระ นอนพักอุ่นสบายในลมหนาว กับรีสอร์ทวิวสวย หรือจะเดินซื้อ ของฝากก็ไม่อั้นส่งไปรษณีย์ ไปรอรับที่บ้านได้เลย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

43


ไหว้พระ 9 วัด จัดเต็ม

1. พระธาตุดอยสุเทพ

“พระธาตุประจ�ำปีมะแม” สักการะ "พระธาตุดอยสุเทพ” วัดพระธาตุ ดอยสุเทพราชวรวิหาร ปูชนียสถานที่แสดงออก ถึงศิลปกรรมล้านนาไทยที่ส�ำคัญคู่เมืองเชียงใหม่ มาช้านาน มีความส�ำคัญในแง่ประวัติศาสตร์อัน ยาวนาน ภายในเป็นที่ประดิษฐานขององค์เจดีย์ ทรงมอญ ทีใ่ ต้ฐานพระเจดียม์ พี ระบรมสารีรกิ ธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรรจุอยู่ อีกทั้ง ยังเป็นพระธาตุประจ�ำปีมะแมด้วย นอกจากนี้ยัง สามารถขึน้ มาชมความงดงามขององค์เจดีย์ พร้อม กับชมทิวทัศน์โดยรอบของตัวเมืองเชียงใหม่ได้ โดยสามารถเดินขึ้นบันไดนาค 300 ขั้นวัดก�ำลัง กาย ก�ำลังใจเพื่อไปยังวัด หรือจะเลือกใช้บริการ รถกระเช้าขึ้น-ลงดอยสุเทพ ก็หายเหนื่อยเลยที เดียว ที่ตั้ง : ถนนศรีวิชัย ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง เชียงใหม่

2. วัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร

พระธาตุส�ำหรับผู้ที่เกิดปีชวด วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร พระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร เป็นวัดส�ำคัญคูเ่ มืองจอมทองและ ผู้เกิดปีชวดควรไปสักการะสักครั้ง เพราะเป็นที่ตั้ง ของ "พระธาตุศรีจอมทอง" อันเป็นพระธาตุประจ�ำ ปีชวด ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานของพระทักษิณโมลีธาตุ (พระธาตุส่วนที่เป็นพระเศียรเบื้องขวาของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า) ตามประวัติเล่าว่า พระเจ้า อโศกมหาราช เป็นผู้อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่ดอย จอมทอง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 218 ปัจจุบนั พระธาตุถกู บรรจุ ไว้ในพระโกศ 5 ชั้น ตั้งอยู่ภายในพระวิหารจตุรมุข ที่ตั้ง : อยู่ที่ถนนเชียงใหม่-ฮอด ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอจอมทอง

44

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


3. วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร

พระธาตุประจ�ำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีมะโรง พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร เป็นอีกวัดหนึง่ ทีส่ ำ� คัญของเมืองเชียงใหม่ ตัง้ อยูใ่ น บริเวณคูเมืองเชียงใหม่ ถนนสามล้าน โดย "พญา ผายู" กษัตริย์องค์ที่ 5 ในราชวงศ์มังราย ได้โปรด เกล้าฯ ให้สร้างวัดนี้ พร้อมทัง้ พระเจดียส์ งู 24 ศอก เพือ่ ใช้เป็นทีบ่ รรจุอฐั ขิ อง "พญาค�ำฟู" พระราชบิดา ภายในวัดมีพระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิ เพชร ชาวบ้านเรียกกันว่า "พระพุทธสิหงิ ค์" (ศิลปะ เชียงแสน) เป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์และชาว เชียงใหม่ให้ความเคารพนับถืออย่างมาก นอกจาก นี้ยังเป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีมะโรง อีกด้วย ที่ตั้ง : บริเวณคูเมืองเชียงใหม่ ถนนสามล้าน ต�ำบลพระสิงห์ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่

4. วัดพระธาตุดอยค�ำ

หอมดอกมะลิบูชาหลวงพ่อทันใจ ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังของอุทยานราชพฤกษ์ หนึ่งในวัดเก่าแก่ของเชียงใหม่ ชวนกันมาสักการ บูชาพระธาตุดอยค�ำแล้วก็อย่าลืมไหว้พระ "หลวง พ่อทันใจ" ทีส่ ร้างขึน้ ในรัชสมัยพญากือนา กษัตริย์ แห่ ง อาณาจั ก รล้ า นนา ด้ ว ยกิ ต ติ ศั พ ท์ ค วาม ศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องโชคลาภ การงาน การค้า และให้ พลังใจกับผู้คน กองดอกมะลิที่ผู้มีจิตศรัทธาน�ำมา ใช้เป็นเครื่องแก้บนหลังจากทีพ่ รของตนเองส�ำเร็จ ได้ดังหวังมากมายมหาศาล ว่ากันว่าคนที่เดินทาง มาขอพรกับหลวงพ่อทันใจที่นี่โดยรวมแล้วส�ำเร็จ 90% จะมีเพียง 10% เท่านั้นที่ไม่สำ� เร็จ โดยจะ ต้องมีข้อแม้ว่าเวลาอธิษฐานต้องระบุดอกมะลิให้ ชัดเจน ว่าจะถวายกี่พวง เอ่ยชื่อ-นามสกุลให้ชัด และขอสองสามเรือ่ งพร้อมกันไม่ได้ อันนีเ้ ป็นความ เชื่อส่วนบุคคล โปรดใช้วิจารณญาณนะ (จากสถิติ ผู้เดินทางไปสักการบูชาฝากบอก) ที่ตั้ง : ต�ำบลแม่เหียะ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ (ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์) CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

45


5. วัดอุโมงค์

ลอดช่องอุโมงค์กรรมฐาน พบสวนพุทธธรรม ร่มรื่น อีกหนึ่งวัดที่งดงามและต้องไปสักการะ สร้าง ขึ้นในสมัยพญามังราย ราวปี พ.ศ. 1839 เพื่อให้ ฝ่ายอรัญวาสีจ�ำพรรษา ต่อมาพญากือนา ทรง สร้างอุโมงค์ข้ึนเพื่อให้พระมหาเถรจันทร์ใช้เป็นที่ วิปัสสนากรรมฐาน อุโมงค์นี้มีลักษณะเป็นก�ำแพง ภายใน เป็นทางเดินหลายช่องทะลุกันได้ ภายใน อุโมงค์นนั้ มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง แต่ปจั จุบนั ค่อน ข้างรางเลือนไปมากตามกาลเวลา ส่วนด้านบนอุโมงค์เป็นเจดีย์ล้านนาเก่าแก่ นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าสร้างประมาณต้นพุทธ ศตวรรษที่ 20 มีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงระฆัง มีชั้น ทรงกลมประมาณ 3 ชั้นเหมือนกลีบบัวซ้อนกัน อยู่ ด้านบนมีปลียอด ส่วนด้านหน้าอุโมงค์มีเศียร พระพุทธรูปหินสลัก สกุลช่างพะเยา พ.ศ.19502100 นอกจากนีบ้ ริเวณวัดอุโมงค์ยงั เป็นสวนพุทธ ธรรมที่ร่มรื่นด้วยแมกไม้นานาพรรณ ที่ตั้ง : ถนนสุเทพ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่

6. วัดเชียงมั่น

สักการบูชาพระแก้วขาว "พระเสตังคมณี" วัดเชียงมั่นเป็นวัดเก่าแก่ที่สุดใน ตัวเมืองเชียงใหม่ เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปส�ำคัญของเชียงใหม่ คือ "พระเสตังคมณี" หรือ "พระแก้วขาว" อันเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์และเป็น ที่ เ คารพสั ก การะของชาวเชี ย งใหม่ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีสิ่งที่น่าสนใจ อื่น ๆ อีกมากมาย เช่น วิหารหลวง, เจดีย์ช้างล้อม, ศิลาจารึกวัดเชียงมั่น และหอครูบาศรีวิชัย เป็นต้น ที่ตั้ง : ถนนราชภาคินัย ต�ำบล ศรีภูมิ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่

46

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


8. วัดโลกโมฬี

น้อมเศียรเกล้าบูชา "พระพุทธสันติจิรบรม โลกนาถ” วัดเก่าแก่คู่เมืองเชียงใหม่ เป็นวัดที่งดงามตาม แบบฉบับของศิลปะล้านนา ภายในวัดมีศาสน สถานส�ำคัญมากมาย เช่น "เจดีย์ทรงปราสาท" มี ประติมากรรมรูปเทวดาทีป่ ระดับตามมุมของเจดีย,์ "วิหารหลวง" เป็นวิหารทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ภายหลังการ บูรณะวัด เป็นศิลปะแบบล้านนา แฝงไว้ดว้ ยความ งดงามและประณีต ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป ปางสมาธิ นามว่า "พระพุทธสันติจิรบรมโลกนาถ" และ "หอมณฑปพระนางเจ้าจิรประภามหาเทวี" ภายในประดิษฐานรูปหล่อพระนางจิรประภามหา เทวี เป็นต้น ที่ตั้ง : ถนนมณีนพรัตน์ ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอ เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

7เมื.องแกน วัดบ้านเด่นสะหลีศรี

ด้วยบารมีแห่งท่านครูบาเจ้าเทือง วัดดังในอ�ำเภอแม่แตง เดิมวัดแห่งนี้เป็นเพียง วัดเล็ก ๆ แต่ด้วยบารมีของท่านครูบาเจ้าเทือง ซึ่ง มีลูกศิษย์ให้ความเคารพมากมาย มีผู้มีจิตศรัทธา น�ำเงินมาถวายเป็นปัจจัยในการท�ำบุญเป็นจ�ำนวน มาก และได้ มี ก ารน� ำ เงิ น เหล่ า นั้ น มาใช้ ใ นการ ปรับปรุงก่อสร้างวัดเด่นสะหลีศรีเมืองแกนใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2534 จุดเด่นของวัดอยู่ที่ความวิจิตร ตระการตาของสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ทั้งในส่วน ของอุโบสถ, หอไตร, หอกลอง, วิหารเสาอินทขิล, กุฏไิ ม้สกั ทองทรงล้านนา, พระวิหาร และสถูปเจดีย์ ที่แฝงไว้ด้วยคติธรรมให้เหล่าพุทธศาสนิกชนทั้ง หลายได้เข้ามาเรียนรู้และศึกษา ที่ตั้ง : ต�ำบลอินทขิล อ�ำเภอแม่แตง จังหวัด เชียงใหม่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

47


9. วัดศรีสุพรรณ

เยือนพระอุโบสถเงินสุดอลังการ ประดิษฐาน พระพุทธปาฏิหาริย์ (พระเจ้า 500 ปี) เป็นอีกวัดหนึ่งในเชียงใหม่ที่ขอเชิญชวนมาส ร้างบารมีธรรมกัน ภายในวัดศรีสุพรรณมีพระ อุโบสถเงินสุดอลังการที่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2043 ในรัชสมัยของพระเจ้าเมืองแก้ว ภายในเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธปาฏิหาริย์ (พระเจ้า 500 ปี) อุโบสถ เป็นสถาปัตยกรรมแบบล้านนาโบราณ มี โครงสร้างก่ออิฐถือปูนและมีการประดับตกแต่ง ลวดลายทุกส่วนด้วยอะลูมิเนียมและเงิน พร้อม มีการสลักลวดลายภาพสามมิติที่มีเรื่องราวเกี่ยว กับพุทธศิลป์ปริศนาธรรม ค�ำสอนในทางพระพุทธ ศาสนา ประวัตศิ าสตร์ของวัดและชุมชน เรียกได้วา่ เป็น "อุโบสถทีท่ ำ� จากเงินและอะลูมเิ นียมหลังแรก ของโลก" เลยก็ว่าได้ ที่ตั้ง : ถนนวัวลาย ต�ำบลหายยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

48

48 SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่ SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ธรรมชาติรังสรรค์ สวรรค์บนดอยสูง

10. ดอยอินทนนท์

ภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย ดอยอินทนนท์ เป็นยอดดอยอมตะที่ไม่ควร พลาดเลย ที่นี่สูงจากระดับน�้ำทะเลมากถึง 2,565 เมตร จึงเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในเมืองไทย ซึ่งใคร ต่อใครก็อยากได้ไปสัมผัสสักครั้งในชีวิต ดอยอิน ทนนท์ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มี ธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ อากาศจึงหนาวเย็นตลอด ทั้งปี นอกจากนี้บริเวณโดยรอบดอยอินทนนท์ยังมี สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจอีกมากมาย ไม่ว่าจะ เป็นเส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน, เส้นทาง ศึกษาธรรมชาติอ่างกา, น�้ำตกสิริภูมิ, น�้ำตกแม่ ยะ, น�้ำตกวชิรธาร, พระมหาธาตุเจดีย์นภเมทนี ดล, พระมหาธาตุเจดีย์นภพลภูมิสิริ เป็นต้น โทรศัพท์ : อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ โทรศัพท์ 053-286-729 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย 49 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 49


11. ดอยผ้าห่มปก

นอนเต็นท์ดูดาวบนยอดดอย ตั้งอยู่ภายในอุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก เป็นยอดดอยสูงอันดับ 2 ของเมืองไทย ด้วยความ สูง 2,285 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเล บริเวณยอดดอย เป็นจุดชมวิวที่สวยงามอีกแห่งหนึ่งของเมืองไทย ตลอดเส้นทางการขึ้นไปยังยอดดอย มีพืชพรรณ ต่าง ๆ สัตว์ป่า และดอกไม้ป่าหลากหลายชนิด สามารถกางเต็นท์บนยอดดอยชมดวงดาวได้อย่าง โรแมนติก ท่ามกลางอากาศทีห่ นาวเหน็บ นอกจาก นี้ยังได้มองเห็นสายหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นใน ยามเช้าตรู่อีกด้วย ติดต่อเจ้าหน้าที่ก่อนขึ้นดอย : อุทยานแห่ง ชาติดอยผ้าห่มปก ต�ำบลโป่งน�้ำร้อน อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ : 0-5345-3517

12 . สตรอว์เบอร์รี แห่งทุ่งสะเมิง

ให้ทุกวันเป็นวันแห่งความรัก เก็บสดจากไร่ หวานฉ�่ำทุกค�ำ มาถึงเชียงใหม่แล้วผลไม้ยอดฮิตทีไ่ ม่ควรพลาด คือ "สตรอว์เบอร์รี" ลูกสีแดงหวานฉ�่ำ ซึ่งถ้าจะให้ ขึ้นชื่อสมกับการเดินทางมาเก็บสตรอว์เบอร์รีสด ถึงเชียงใหม่ก็ต้องไปที่ "อ�ำเภอสะเมิง" เพราะเป็น อ�ำเภอหนึง่ ทีต่ งั้ อยูใ่ นหุบเขาสูง และมีอากาศหนาว เย็นตลอดทัง้ ปี ท�ำให้อณ ุ หภูมทิ เี่ หมาะต่อการปลูก สตรอว์เบอร์รีเป็นอย่างมาก ท�ำให้สตรอว์เบอร์ รีกลายเป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงที่สุดในสะเมิงเลยที เดียว สตรอเบอร์รี อ�ำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ จัด งานเทศกาลสตรอเบอร์รี่และของดีอ�ำเภอสะเมิง ทุกปีในช่วงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ วันแห่งความรัก ของทุกปี ณ บริเวณที่ว่าการอ�ำเภอสะเมิง เพื่อ ส่งเสริม สนับสนุน เกษตรกรผู้ปลูกสตรอเบอร์รี่ และส่งเสริมการท่องเที่ยวอ�ำเภอสะเมิง ภายใน งานจะมีการออกร้านจ�ำหน่ายสตรอเบอร์รี่ การ จ�ำหน่ายสินค้า OTOP ประกวดธิดาสตรอเบอร์รี่ การจัดนิทรรศการของหน่วยงาน ประกวดผลิตผล ทางการเกษตร เป็นต้น

50

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ท้องถิ่นสุขใจ ชื่นชมวัฒนธรรม ประเพณีล้านนา

13. ชุมชนวัดเกต

ตัง้ อยูภ่ ายในวัดเกตการาม ริมฝัง่ แม่นำ�้ ปิงด้านตะวันออก เป็นชุมชนโบราณที่เต็มไปด้วยผู้คนจากหลากหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวจีน ฝรั่งและชาวพื้นเมือง จึงก่อเกิดวัฒนธรรมหลาก หลายของชุมชน ที่สะท้อนผ่านสถาปัตยกรรมคลาสสิกมา จนถึงปัจจุบัน โดยมีวัดเกตการามเป็นศูนย์กลางของชุมชน ทีน่ ชี่ าวบ้านยังคงใช้ชวี ติ กันอย่างเรียบง่ายแบบดัง้ เดิม การไป เดินเล่นเรื่อย ๆ เสพกลิ่นอายของวันวาน นอกจากจะได้รูป ถ่ายสวย ๆ เก๋ ๆ ไม่ซำ�้ ใครแล้ว ก็ยงั จะได้เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ อีกด้วย ภายในพิพิธภัณฑ์วัดเกตการามได้รวบรวมสมบัติดั้งเดิม ของวัดเอาไว้ และเก็บรักษาดูแลอย่างดี เช่น ช่อฟ้า ใบระกา ซึ่งเป็นไม้แกะสลัก ถ้วยชามฝาจีบ ภาชนะต่าง ๆ เป็นต้น และหลังจากชมอดีตจนจุใจแล้ว อย่าลืมออกมาเดินเลียบ ริมน�้ำปิงชมความงามของอาคารบ้านเรือนริมฝั่งแม่น�้ำ ซึ่ง ตลอดเส้นทางมีร้านอาหารดั้งเดิมและร้านจ�ำหน่ายของที่ ระลึกให้ได้เพลิดเพลิน ที่ตั้ง : บนฝั่งแม่น�้ำปิงด้านตะวันออก ในวัดเกตการาม อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ เปิดทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 08.00-16.00 น.

14. ประเพณียี่เป็ง

ปล่อยเคราะห์ปล่อยโศก หมดโรค หมดภัย ทุกวันเพ็ญเดือนยี่ (เดือนสอง) ของล้านนา ภาพโคม นับร้อย ๆ ดวงค่อย ๆ ลยละลิ่วส่องแสงสว่างเจิดจ้าอยู่บน ท้องฟ้าเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสัญลักษณ์ของ "ประ เพณียี่เป็ง" หรือประเพณีเดือนยี่ หรือประเพณีลอยกระทง แบบล้านนา ซึ่งประเพณีนี้งดงามจนใครที่อยากไปสัมผัส กับความตระการตาเหล่านี้สักครั้ง ณ ถนนช้างคลาน ย่าน ไนท์บาซาร์ อ�ำเภอเมือง ซึ่งภายในงานจะมี การแสดงแสง สี เสียง การปล่อยโคมลอย การแสดงศิลปวัฒนธรรม ล้าน นา และขบวนแห่ กระทงขบวนโคมยี่เป็ง งานประเพณีพื้นบ้านในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ของชาว ล้านนาจังหวัดเชียงใหม่ ทีม่ คี วามเชือ่ ในการปล่อยโคมลอย ซึ่งท�ำด้วยกระดาษสาติดบนโครงไม้ไผ่แล้วจุดตะเกียงไฟ ตรงกลางเพื่อให้ไอความร้อนพาโคมลอยขึ้นไปในอากาศ เป็นการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกและเรือ่ งร้ายๆต่างๆ ให้ไป พ้นจากตัว ซึง่ การปล่อยโคมลอยเป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ อย่างหนึ่งในประเพณียี่เป็ง เป็นที่รวมแห่งศรัทธาสามัคคี ของชาวบ้านกับชาววัด นอกจากนี้การท�ำโคมลอยยังถือ เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของชาวล้านนา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

51


15.ประเพณีเข้าอินทขิล

ร่มเย็นเป็นสุข ประเพณี เข้ า อิ น ทขิ ล เป็ น ประเพณี ที่ ช าว เชียงใหม่ปฏิบัติสืบทอดกันมาช้านานแล้ว เมื่อถึง เดือนพฤษภาคมไปจนถึงต้นเดือนมิถุนายน ตรง กับ วันแรม 13 ค�่ำ เดือน 8 ซึ่งเรียกว่า “วันเข้าอิน ทขิล” ระหว่างนี้ ชาวเชียงใหม่ จะร่วมกันประกอบ พิธี บูชาอินทขิล อันเป็นเสาหลักเมือง ซึ่งอยู่ที่วัด เจดียห์ ลวง ใจกลางเมืองเชียงใหม่ การประกอบพิธี บูชาเสาอินทขิลนี้ก็เพื่อให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข ในบ้านเมือง

16. สงกรานต์ภาคเหนือ

ประเพณีสะรีปี๋ใหม่เมืองเชียงใหม่ เพราะทีน่ เี่ ป็นจังหวัดทีม่ ผี คู้ นจากทัว่ ทุกสารทิศทัง้ ชาวไทยและชาวต่าง ชาติไปเที่ยวงานสงกรานต์ มากเป็ น อั น ดั บ ต้ น ๆ ของประเทศเลยที เ ดี ย ว หนุ่มสาวจากทั่วสารทิศมาท่องเที่ยวกันมากมาย มหาศาล เป็นประเพณีเปีย่ มสุข ชุม่ ฉ�ำ่ ไปด้วยน�ำ้ อบ น�้ำหอม นอกจากเล่นน�้ำสงกรานต์แล้ว ที่นี่ยังมี กิจกรรมส�ำคัญอื่นๆ ที่น่าสนใจอีกมากมาย ไม่ว่า จะเป็นการจัดขบวนแห่และสรงน�ำ้ พระพุทธสิหงิ ค์ ขี่รถถีบกาลางจ้อง รดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ ขนทราย เข้าวัด การแสดงพืน้ เมือง การสาธิตศิลปะพืน้ บ้าน การเล่นน�้ำสงกรานต์ ปีใหม่เมืองรอบคูเมือง ถนน วัฒนธรรมคนเมืองอาหารนานาชาติ ฯลฯ

17. ประเพณีแห่ไม้คำ�้ โพธิ์ ต้นแบบการแห่ไม้ค�้ำสะหลีของชาวล้านนา ประเพณีแห่ไม้ค�้ำโพธิ์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไป ของทุกปี ที่บริเวณตัวเมือง จอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่ม ต่างๆ กว่า 40 ขบวน แห่ไปตามเมืองจอมทอง อ�ำเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามต�ำนานเกิดขึ้นที่ อ�ำเภอเภอจอมทอง ถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งเดียวใน โลก ประเพณีแห่ไม้ค�้ำโพธิ์ กลายเป็นต้นแบบของ การแห่ไม้ค�้ำสะหลีของชาวล้านนา จนได้รับความ นิยมไปทั่วภาคเหนือ และเป็นประเพณีที่เริ่มมีชื่อ เสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมาก 52

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


18. มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ

เมืองดอกไม้บานตลอดปี เชียงใหม่ ดินแดนถิ่นไทยงาม ความสดสวยด้วยธรรมชาติ ป่าเขา ลําเนาไพร พร้อมดอกไม้นานาพันธุ์ น�้ำตก ต้นน�้ำลําธารของแม่น�้ำสาย สําคัญ และ ความงามตามธรรมชาติ เพื่ออนุรักษ์ความงามตามธรรมชาติ อันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ ชาวเชียงใหม่จึงได้ร่วมกันปลูกพันธุ์ ไม้ตามสถานทีต่ า่ ง ๆ เพือ่ สร้างเชียงใหม่ให้เป็น "เมืองดอกไม้บานตลอดปี" อันเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวและส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกรที่ สําคัญอีกอย่างหนึง่ จึงกําหนดให้มกี ารจัดงาน "มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ" ซึง่ ถือเป็นงานประเพณีอนั สําคัญอีกงานหนึง่ ของจังหวัดเชียงใหม่ ทีจ่ ดั ต่อ เนือ่ งสืบทอดเป็นประจาํ ทุกปี โดยงานจะจัดขึน้ ในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ณ สวนสาธารณะหนองบวกหาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ในงานจะมี การประกวดนางงามบุปผชาติและขบวนแห่บปุ ผชาติ นิทรรศการทางการ เกษตร การประกวดไม้ดอกไม้ประดับประเภทต่างๆ การประกวดจัดสวน และ การออกร้านของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป้นต้น

19. ร่มบ่อสร้าง

ต�ำนานแห่งการธุดงค์ “บ่อสร้างกางจ้อง” (จ้อง แปลว่า ร่ม) ค�ำนีด้ เู หมือนจะเป็นทีน่ ยิ มเรียกขาน มานานจนติดปากไปแล้ว ความเป็นมาเกี่ยวกับเรื่องการท�ำร่มกระดาษสาบ่อ สร้าง มีการบอกเล่ากันมา 2 ทางด้วยกัน เรือ่ งแรก ก็คอื ในสมัยก่อนมีพระธุดงค์มาปักกลดทีบ่ า้ นบ่อสร้าง แล้วกลด ที่ปักไว้นั้นใช้การไม่ได้เนื่องจากมีลมพายุพัดแรงมาก ชายชราผู้หนึ่งชื่อเผือก ได้ซ่อมแซมให้จนใช้ได้ และได้น�ำมาเป็นตัวอย่างดัดแปลงท�ำร่มใช้ขึ้นในเวลา ต่อมา อีกเรื่องหนึ่ง เล่าถึงที่มาของร่มบ่อสร้าง ประมาณกว่า 100 ปีมาแล้ว พระอินถาผู้เป็นภิกษุประจ�ำส�ำนักสงฆ์วัดบ่อสร้างได้ธุดงค์ปฏิบัติธรรมไปยังที่ ต่าง ๆ มีอยู่ครั้งหนึ่งท่านธุดงค์เข้าไปใกล้ชายแดนพม่าและมีชาวพม่าน�ำกลด มาถวาย ด้วยความที่ท่านมีความสนใจในเรื่องศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นต่าง ๆ อยู่แล้ว รู้สึกชอบกลดที่ชาวบ้านน�ำมาถวายจึงสอบถามถึงที่มา ชาวพม่าที่ น�ำกลดมาถวายได้เล่าให้ฟังว่า เมืองที่เขาอยู่นั้นมีการท�ำกลดกัน ท่านจึงเดิน ทางเข้าไปในเมืองพม่าแล้วได้เห็นจริงตามทีข่ าวพม่าผูน้ นั้ บอก ท่านมีความเห็น ว่ากลดซึ่งมีลักษณะเหมือนร่มนี้ใช้กันแดดกันฝนได้ ท�ำจากวัสดุที่หาง่าย และ สามารถพกพาไปไหนต่อไหนได้สะดวก พระอินถาตัง้ ใจศึกษาฝึกฝนจนสามารถ ท�ำร่มหรือกลดชนิดนี้ได้ หลังจากนั้นจึงเดินทางกลับมายังบ้านบ่อสร้างเพื่อ เผยแพร่วิธีการท�ำร่ม โดยใช้วัดเป็นโรงเรียน ชาวบ้านมาสนใจเรียนการท�ำร่ม จ�ำนวนมาก โดยฝ่ายชายศึกษาเรื่องการท�ำโครงร่มโดยใช้ไม้บงหรือไม้ไผ่ ฝ่าย หญิงศึกษาเรื่องการท�ำกระดาษสาส�ำหรับใช้คลุมร่ม ไม่นานนักก็สามารถท�ำ กันได้ จนกลายเป็นอาชีพหนึ่งรองจากการท�ำนา จึงเกิดเป็นหมู่บ้านท�ำร่มขึ้น มาโดยเฉพาะ จนบ่อสร้างมีชื่อเสียงในการท�ำร่มมาจนถึงทุกวันนี้ และกลาย เป็นอาชีพหลักของคนบ่อสร้างไปเสียแล้ว

ขอขอบคุณข้อมูลจาก ท้องถิน่ เชียงใหม่, จังหวัดเชียงใหม่ และการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย (ททท.) จังหวัดเชียงใหม่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

53


EXC LUS I VE

THE NATIONAL MUNICIPAL LEAGUE OF

CHIANG MAI สันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่

ดร.จ� ำ รู ญ เร่ ง ถนอมทรั พ ย์

ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ 54

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


“ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผาชาติล้วนงามตา งามล�้ำค่านครพิงค์” นั บ แต่ พญามั ง รายมหาราช ได้ ก ่ อ ร่ า ง สร้ า งเมื อ งนพบุ รี ศ รี น ครพิ ง ค์ เ ชี ย งใหม่ บริเวณที่ราบเชิงดอยสุเทพ เมื่อปีพ.ศ.1839 เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางราชธานี ข องอาณาจั ก ร ล้ า นนาไทย นับ จวบจนวันนี้ ราชธานีแห่งนี้ ผ่ า นร้ อ น ผ่ า นหนาว และเหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ ตามกาลเวลา มาเป็นเวลาถึง 723 ปี เชียงใหม่ จังหวัดที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ที่สุด ของภาคเหนือและเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจั ง หวั ด นครราชสี ม า พื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ ล้ อ มรอบไปด้ ว ยป่ า ไม้ แ ละภู เ ขาท� ำ ให้ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วใน หลากหลายรู ป แบบสามารถท่ อ งเที่ ย ว ได้ทุกฤดูกาลครอบคลุมทั้ง 25 อ�ำเภอ ด้วยคุณสมบัติทางภูมิประเทศ ผนวกกับ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม อาหารพื้นเมือง หลากหลายรสชาติ น�้ ำ ใจและมิ ต รไมตรี ข อง คนท้องถิ่น รวมถึงไลฟ์สไตล์และความพร้อม ด้านต่าง ๆ ของเมืองเชียงใหม่ จึงเป็นมนต์เสน่ห์ ที่ เ ชิ ญ ชวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและ ชาวต่างประเทศจากทั่วทุกมุมโลกเข้ามาเยือน

จังหวัดเชียงใหม่อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วของจั ง หวั ด เชียงใหม่นั้น ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว เพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ปี ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ การการั น ตี ค วาม น่าสนใจโดยการได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยว ติดต่อกันหลายปี และในปี 2562 ที่ผ่านมา จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับการจัดอันดับเป็นเมือง ท่ อ งเที่ ย วที่ ดี ที่ สุ ด ในโลก เป็ น ล� ำ ดั บ ที่ 3 ของโลก ประจ�ำปี 2019 ของนิตยสาร Travel + Leisure นิตยสารท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและ มีผู้ติดตามมากที่สุดในอเมริกา จากเหตุผลข้างต้น ท�ำให้เห็นได้ว่ารายได้ ทีส่ ำ� คัญในจังหวัดเชียงใหม่มาจากการท่องเทีย่ ว ดั ง นั้ น ทุ ก ภาคส่ ว นในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนจึงได้ บูรณาการและประสานความร่วมมือกันในทุก ๆ ด้ า น เพื่ อ ให้ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เ ป็ น เมื อ งที่ มี ความมั่ น คงและมั่ ง คั่ ง ทั้ ง ในด้ า นเศรษฐกิ จ สังคม ประเพณีวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว หนึ่ ง ในหน่ ว ยงานที่ มี ส ่ ว นในการช่ ว ย ประชาสั ม พั น ธ์ ดู แ ลรั ก ษาและพั ฒ นา

ผนึกก�ำลังพัฒนาท้องถิ่นในทุกด้าน ทุกฤดูกาล กับเมนูการท่องเที่ยว ในท้องถิ่นเชียงใหม่ครบทุกรสชาติ สันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมต้อนรับทุกการมาเยือน... แหล่งท่องเที่ยวให้สวยงาม พร้อมที่จะต้อนรับ นั ก ท่ อ งเที่ ย วผู ้ ม าเยื อ นอยู ่ เ สมอ นั่ น คื อ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในที่ นี้ จ ะ หมายความถึ ง องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในส่ ว นของเทศบาลซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ต ่ า ง ๆ ของจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ภายใต้ ก ารรวมตั ว อย่างเป็นปึกแผ่น ในรูปแบบการท�ำงานของ “สันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่” โดยการ บริหารงานของ ดร.จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ ประธานสั น นิ บ าตเทศบาลจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ และคณะ ซึ่ ง ในฉบั บ นี้ ท ่ า นจะได้ พ าพวกเรา ไปรู้จักแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญในแต่ละอ�ำเภอ เพื่อให้นักท่องเที่ยวและผู้ที่รักในการเดินทาง ได้ เ ลื อ กไปสั ม ผั ส ความงดงามของจั ง หวั ด เชียงใหม่อย่างใกล้ชิดกันเลยทีเดียว CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

55


สันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ชวนเที่ยว

อ� ำ เภอเมื อ ง “ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผาชาติล้วนงามตา งามล�้ำค่านครพิงค์” อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ศูนย์กลางความเจริญ ของจังหวัดเชียงใหม่ในทุก ๆ ด้านแต่ยังแฝง ไปด้วยกลิน่ ไอของความเป็นล้านนาทีผ่ สมกลมกลืน กันอย่างลงตัว มีโบราณสถานและแหล่งท่องเทีย่ ว ทีน่ า่ สนใจอยูห่ ลายแห่ง ไม่วา่ จะเป็นวัดวาอาราม ที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน โดยเฉพาะ วัดพระธาตุดอยสุเทพ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มือง ของจังหวัดเชียงใหม่ หากใครมาเยือนเชียงใหม่ ต้องไม่พลาดในการขึ้นไปนมัสการวัดพระธาตุ ดอยสุ เ ทพและอนุ ส าวรี ย ์ ค รู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย นักบุญแห่งล้านนา ที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงดอยสุเทพ เพื่อความเป็นศิริมงคลต่อตนเองและครอบครัว นอกจากนั้นยังมี วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง วัดเจ็ดยอด วัดอุโมงค์ สวนพุทธธรรม วัดโลกโมฬี ฯลฯ หากอยากเพลิ ด เพลิ น กั บ การช็ อ ปปิ ้ ง สามารถไปจับจ่ายใช้สอยกันได้บริเวณถนนคน เดินท่าแพ ซึ่งเปิดให้บริการในทุก ๆ วันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 17.00 น.เป็นต้นไป ถือเป็นถนน คนเดินที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ มีสินค้า และอาหารพื้ น เมื อ งให้ ท ่ า นได้ เ ลื อ กซื้ อ และ เลือกชิมมากมาย นอกจากนัน้ ยังมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว อี ก หลายๆ แห่ง สามารถเดินทางได้สะดวก ไม่วา่ จะเป็นเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี อุทยานหลวง ราชพฤกษ์ ฯลฯ

ถนนคนเดินท่าแพ 56

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดพระธาตุดอยสุเทพ

อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย

วัดโลกโมฬี

วัดอุโมงค์

วัดพระสิงห์

วัดเจดีย์หลวง

วัดเจ็ดยอด


อ� ำ เภอกั ล ยาณิ วั ฒ นา

“ดินแดนในฝัน ป่าสนพันปี ประเพณี วัฒนธรรม บริสุทธิ์ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สมามัคคี สมานฉันท์” อ� ำ เภอกั ล ยาณิ วั ฒ นา เดิ ม คื อ อ� ำ เภอ วั ด จั น ทร์ เ ฉลิ มพระเกียรติ จังหวัดเชียงใหม่ ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากในหลวง รัชกาลที่ 9 พระราชทานอ�ำเภอนีว้ า่ “อ�ำเภอกัลยาณิวฒ ั นา” เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้า ฟ้ า กั ล ยานิ วั ฒ นากรมหลวงนราธิ ว าสราช นครินทร์ทที่ รงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจในพืน้ ที่ ต�ำบลวัดจันทร์ ลักษณะภูมิประเทศของอ�ำเภอ ตั้ ง อยู ่ บ นเทื อ กเขาสู ง รายล้ อ ม ด้ ว ยป่ า เขา บรรยากาศสงบ อากาศหนาวเย็นตลอดทัง้ ปี และ เมื่ อ เดิ น ทางเข้ า สู ่ ตั ว อ� ำ เภอกั ล ยาณิ วั ฒ นา นักท่องเที่ยวจะได้พบเห็นป่าสนที่เรียงรายไป ตลอดเส้นทาง จนได้รบั สมญานามว่า “เป็นดินแดน แห่งป่าสนพืน้ ใหญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” จากการเป็นอ�ำเภอที่ถูกโอบล้อมด้วยภูเขาสูง ท� ำ ให้ มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ แ ละ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่น่าสนใจที่หลากหลายและ มีชื่อเสียง ได้แก่ ศู น ย์ พั ฒ นาโครงการหลวงวั ด จั น ทร์ เป็นโครงการในพระราชด�ำริของในหลวง รัชกาล ที่ 9 เพือ่ ช่วยสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ราษฎร ชาวเขาในเขตหมูบ่ า้ นวัดจันทร์ ให้มคี วามเป็นอยู่ ที่ดีขึ้น ความน่าสนใจที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยว เข้ามาท่องเที่ยวที่นี่ คือ ทิวทัศน์ป่าเขา และ ธรรมชาติ ที่ ส วยงาม ของป่ า สนที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศไทย ทั้งที่องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อปป) และทีศ่ นู ย์พฒ ั นาโครงการหลวงวัดจันทร์ ซึง่ อยูใ่ นความดูแลของโครงการหลวง เช่นเดียวกัน วัดจันทร์ (วิหารแว่นตาด�ำ) สันนิษฐานว่า มีอายุเก่าแก่มากกว่า 300 ปี จุดน่าสนใจและ

โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชด�ำริบ้านเสาแดง

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์

สะดุ ด ตาของวั ด จั น ทร์ คื อ วิหารที่แต่เดิมท�ำเป็นช่องลม โปร่ ง บริ เ วณผนั ง ด้ า นหน้ า ของวิหาร แต่ถูกโจรใช้ช่อง ทางนีล้ กั ลอบเข้ามาขโมยพระ และของมี ค ่ า ภายในวิ ห าร ชาวบ้านจึงน�ำกระจกกรองแสง สี ด� ำ มาติ ด ตั้ ง กั น ขโมยท� ำ ให้ ป่าสนวัดจันทร์ วิหารหลังนี้ดูคล้ายมีแว่นตา ขนาดใหญ่สวมอยูจ่ งึ ได้ฉายาว่า “วิหารแว่นตาด�ำ” หรือ “วิหารเรย์แบนด์” ทีม่ คี วามโดดเด่นแปลก ตาเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร โครงการสถานี พั ฒ นาการเกษตรที่ สู ง ตามพระราชด�ำริบา้ นเสาแดง เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2547 ตามพระราชด�ำริของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชนนี พั น ปี ห ลวง เมื่ อ คราวเสด็ จ ทอดพระเนตรสภาพพื้ น ที่ บ ้ า นลี ซ อเสาแดง ซึ่งแต่เดิมราษฎรมีการบุกรุกป่าเพื่อท�ำไร่ฝิ่น และท�ำไร่เลื่อนลอย ท�ำให้มีรายได้ไม่เพียงพอ

วัดจันทร์

ต่อการด�ำรงชีวติ และต้องละทิง้ ถิน่ ฐานไปรับจ้าง ท�ำงานต่างถิ่น นอกจากนี้ยังพบว่าราษฎรขาด โอกาสทางการศึ ก ษาและการบริ ก ารทาง สาธารณสุ ข ขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง พระราชทาน พระราชด�ำริให้จดั ตัง้ สถานีพฒ ั นาการเกษตรทีส่ งู ขึ้ น เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของราษฎร ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นโดยให้ราษฎรเรียนรู้ การท�ำการเกษตรอย่างถูกวิธีจากการจ้างงาน ในพื้ น ที่ ที่ จ� ำ กั ด แต่ ใ ห้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต เพี ย งพอ ต่อการเลี้ยงครอบครัว CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

57


อ� ำ เภอจอมทอง

นาขั้นบันไดบ้านแม่กลางหลวง บ้านผาหมอน

พระมหาธาตุนภเมทนีดลและนภพลภูมิสิริ

ยอดดอยอินทนนท์

สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์

กิ่วแม่ปาน

พระธาตุศรีจอมทอง

ประเพณีแห่ไม้ค�้ำโพธิ์

อินทนนท์สูงเด่น ร่มเย็นองค์พระธาตุ น�้ำตกสวยสะอาด เชิดชูศาสน์ไม้ค�้ำโพธิ์

อ�ำเภอจอมทอง เป็นอ�ำเภอขนาดใหญ่ตงั้ อยู่ ทางตอนใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ มีประวัติความ เป็นมายาวนานกว่า 117 ปีแล้ว มีศักยภาพ ในการพั ฒ นาสู ง มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์และมีประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม 58

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ�ำเภอจอมทอง มีประวัติความเป็นมาสืบเนื่อง เกีย่ วกับต�ำนานพระบรมธาตุศรีจอมทอง ซึง่ เป็น ศาสนสถานทีส่ ำ� คัญคูเ่ มืองจอมทอง เป็นทีเ่ คารพ สักการะของชาวเหนือโดยทั่วไป ประเพณีเด่นที่ ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในอ�ำเภอ จอมทอง คือประเพณีการแห่ไม้ค�้ำโพธิ์ ซึ่งเป็น ประเพณีของชาวล้านนาทีถ่ อื ว่าการเอาไม้มาค�ำ้ โพธิ์ เป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนา นอกจากแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและประเพณี ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาแล้ว อ�ำเภอจอมทอง

ยังมีแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงเป็นทีร่ จู้ กั นัน้ คือ ดอยอิ น ทนนท์ ซึ่ ง เป็ น ยอดดอยที่ สู ง ที่ สุ ด ในประเทศไทย มีอากาศหนาวเย็นตลอดปี ตลอด เส้นทางสองข้างทางก่อนถึงยอดดอยอินทนนท์ นั้ น ยั ง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วอี ก มากมาย ใครที่ เดิ น ทางขึ้ น มาเที่ ย วชมยอดดอยอิ น ทนนท์ ต้องแวะนมัสการพระมหาธาตุนภเมทนีดล และ พระมหาธาตุ น ภพลภู มิ สิ ริ ซึ่ ง เป็ น เสมื อ น สัญลักษณ์ของดอยอินทนนท์ หรือแวะศึกษา ธรรมชาติระยะสั้นที่กิ่วแม่ปาน ซึ่งอยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ที่มีจุดชมนก นานาพันธุแ์ ละธรรมชาติทสี่ วยงาม, สถานีเกษตร หลวงอินทนนท์ เป็นสถานีวิจัยเกี่ยวกับไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผลและไม้ผลเมืองหนาว แวะพักผ่อน เติมพลัง ในการเดินทางที่บ้านแม่กลางหลวง และบ้านผาหมอน สัมผัสบรรยากาศนาข้าวขัน้ บันได ท่ า มกลางหุ บ เขาล้ อ มรอบ ที่ มี บ ้ า นพั ก แบบ ส่วนตัว รีสอร์ทชุมชน และโฮมสเตย์ที่อยู่บน สันดอยสามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ท่ีสวยงาม และแสนสงบ


อ� ำ เภอไชยปราการ

ถ�้ำตับเตา

พระเจ้าพรหมราช

น�้ำซาวรู

กาดเมืองผี

“พระเจ้าพรหมสร้างเมือง รุ่งเรืองวัฒนธรรม งามล�้ำถ�้ำตับเต่า เมืองเก่าไชยปราการ” เมื อ งไชยปราการเป็นเมืองที่แฝงไปด้ว ย ความงดงามอันบริสทุ ธิข์ องธรรมชาติไว้มากมาย ยั ง เป็ น เมื อ งเศรษฐกิ จ ที่ มี ผ ลิ ต ผลทางด้ า น เกษตรกรรมที่เชิดหน้าชูตาหลากหลาย ได้แก่ ลิ้นจี่ กระเทียม โคนม ฯลฯ ดังนั้น กระทรวง มหาดไทยจึงได้เห็นความส�ำคัญในข้อนี้ อีกทั้ง เห็นว่าสภาพท้องทีโ่ ดยทัว่ ไปจะมีความเจริญมาก ขึน้ และจะสามารถขยายตัวต่อไปในอนาคต อันจะ เป็นประโยชน์ด้านการปกครองและเพื่ออ�ำนวย

ความสะดวกแก่ประชาชน จึงได้จดั ตัง้ กิง่ อ�ำเภอ ไชยปราการโดยแยกมาจากอ�ำเภอฝาง ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2531 ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2530 และ ยกฐานะเป็ น อ� ำ เภอไชยปราการ เมื่ อ วั น ที่ 4 กรกฎาคม 2537 เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ที่เป็นป่าเขาสลับซับซ้อนจึงมีแหล่งท่องเที่ยว ที่น่าสนใจ หลายแห่งอาทิเช่น ถ�้ำตับเต่า บนเส้นทางสายเชียงใหม่-ฝาง ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 120 และ 121 แยกซ้าย มือเข้าไปประมาณ 3 กิโลเมตร ภายในบริเวณวัด ร่มรืน่ มีหอพระไตรปิฎกสร้างอยูก่ ลางน�ำ้ ภายใน ถ�ำ้ มีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ ถ�ำ้ ตับเต่านีแ้ ยก ออกเป็น 2 ถ�้ำ คือ ถ�้ำผาขาว และถ�้ำปัญเจค

บริเวณหน้าถ�้ำมีกุฏิและศาลาส�ำหรับพักผ่อน วัดพระเจ้าพรหมมหาราช (วัดป่าไม้แดง) เป็นวัดประจ�ำอ�ำเภอไชยปราการ มีศิลปะการ ก่อสร้างทีเ่ ก่าแก่สวยงามเป็นศิลปกรรมแบบล้านนา เป็นที่ประดิษฐานของอนุสาวรีย์ของพระเจ้า พรหมมหาราชผู้สร้างนครไชยปราการ น�้ำซาวรู หรือ น�้ำ 20 รู มหัศจรรย์อุโมงค์ส่งน�ำ้ ใต้พิภพ ที่หล่อเลี้ยงชาวอ�ำเภอไชยปราการ จึงเรียกว่า “เมืองมหัศจรรย์ น�ำ้ ซาวรู” เป็นธารน�ำ้ ธรรมชาติ ไหลออกจากช่องหินกลายเป็นล�ำน�ำ้ สายใหญ่ กาดเมืองผี ตัง้ อยูใ่ นเขตป่าชุมชนบ้านทรายขาว หมู ่ 7 ต� ำ บลศรี ด งเย็ น อ� ำ เภอไชยปราการ ครอบคลุมพื้นที่ 96 ไร่ มีสภาพเป็นที่ราบลอน คลื่นสูงต�่ำไม่สม�่ำเสมอกัน ลักษณะของหน้าผา เป็นดินทรายและเสาหินทราย รูปร่างคล้าย ดอกเห็ดหรือปราสาทโรมัน หรือประตูเมืองเก่า แล้วแต่มมุ มองในแต่ละด้าน คาดว่าอยูใ่ นยุคเดียวกับ แพะเมืองผีของจังหวัดแพร่ แต่ที่ไชยปราการ จะมีพื้นที่กว้างใหญ่ สวยงามวิจิตรอลังการ และ ยิ่งใหญ่กว่ามาก CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

59


อ� ำ เภอเชี ย งดาว

บ้านแม่แมะ ,บ้านเมืองคอง ,บ้านนาเลาใหม่

น�้ำพุร้อนโป่งอาง ดอยหลวงเชียงดาว

ถ�้ำเชียงดาว

“เชียงดาวชายแดน ถ�้ำสวยดอยสูง พระสถูปเมืองงาย ก�ำเนิดสายแม่ปิง” อ�ำเภอเชียงดาว เมืองอันแสนสงบทีร่ ายล้อม ด้วยธรรมชาติและความงดงามของดอยหลวง เชียงดาวที่ยิ่งใหญ่ การใช้ชีวิตของผู้คนเรียบง่าย ความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้และทุง่ นาอันเขียวขจี มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ น ่ า สนใจกระจายอยู ่ ทั่ ว ทั้ ง อ� ำ เภอ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ที่ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เชิงวัฒนธรรม เชิงธรรมชาติ เชิงเกษตร ฯลฯ ในจ� ำ นวนแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ และมี ชื่อเสียง เชื่อแน่ว่านักท่องเที่ยวไม่ควรจะพลาด การไปเยื อ นดอยหลวงเชี ย งดาวซึ่ ง มี ค วามสู ง 2,225 เมตร จากระดับน�้ำทะเล เป็นยอดดอย ที่สูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย มีทะเลหมอก 60

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดถ�้ำเชียงดาว

ปกคลุมตลอดทัง้ ปี ถ�ำ้ เชียงดาวเป็นถ�ำ้ ขนาดใหญ่ ที่แต่งแต้มความสวยงามจากธรรมชาติ ชวนให้ ตื่นตาตื่นใจด้วยปรากฎการณ์หินงอกหินย้อย ในรูปแบบต่าง ๆ เมื่อกระทบกับแสงไฟจะมี ประกายระยิบระยับ และมีสายน�ำ้ ไหลจากในถ�ำ้ ออกมารวมตั ว กั น เป็ น สระน�้ ำ บริ เวณหน้ า ถ�้ ำ มีปลาน้อยใหญ่แหวกว่ายสร้างความสดชืน่ ให้แก่ ผู้มาเยือน,พระสถูปเจดียพ์ ระนเรศวรเมืองงาย หรือชื่อเต็มๆ ว่ า “พระสถู ป เจดี ย ์ ส มเด็ จ พระนเรศวรมหาราชานุสรณ์” สร้างขึ้นมา ประมาณ 50 ปีทแี่ ล้ว เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่สมเด็จ พระนเรศวรทีต่ ามประวัตเิ ล่าว่าได้ใช้เส้นทางเดิน ทัพและตั้งค่ายที่นใี่ นช่วงทีก่ รีฑาทัพไปเมืองพม่า ก่อนทีจ่ ะประชวรและสวรรคต, น�ำ้ พุรอ้ นโป่งอาง เป็นน�้ำพุร้อนขนาดเล็ก จ�ำนวน 2 บ่อ ตั้งอยู่ใน

พระสถูปเมืองงาย

โครงการหลวงห้วยลึก สถานีวิจัยเกษตรที่สูงป่าเกี๊ยะ

เขตอุทยานแห่งชาติผาแดง ห่างจากตัวอ�ำเภอ เชียงดาวประมาณ 30 กิโลเมตร นอกจากนั้น ยังมีแหล่งท่องเทีย่ วทีเ่ ปิดให้บริการนักท่องเทีย่ ว อี ก หลายแห่ ง ไม่ ว ่ า จะเป็ น บ้ า นแม่ แ มะ, บ้านเมืองคอง, บ้านนาเลาใหม่, สถานีวจิ ยั เกษตร ทีส่ งู ป่าเกีย๊ ะ ดอยแม่ตะมาน, โครงการหลวงห้วยลึก ฯลฯ


อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด

หนองบัวพระเจ้าหลวง

ศูนย์พัฒนาห้วยฮ่องไคร้

เขื่อนแม่กวงอุดมธารา

พระธาตุดอยสะเก็ด

“หนองบัวพระเจ้าหลวง แม่กวงเขื่อนใหญ่ ห้วยฮ่องไคร้ศูนย์ศึกษา ล้วนนานาหัตถกรรม” “ดอยสะเก็ด” ตัง้ อยูท่ างตอนกลางของจังหวัด เชียงใหม่ เป็นพืน้ ที่ ๆ มีความเจริญทางเศรษฐกิจ ในล�ำดับต้นๆ เนือ่ งจากเป็นเส้นทางส�ำคัญทีผ่ า่ น จากจังหวัดเชียงใหม่ไปยังจังหวัดเชียงราย ทัง้ ยัง เป็นแหล่งศึกษาเรียนรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี

ทีง่ ดงามและมีสถานทีส่ ำ� คัญทางศาสนามากมาย สถานที่ ที่ น ่ า สนใจของอ� ำ เภอดอยสะเก็ ด อาทิ เช่ น วั ด พระธาตุ ด อยสะเก็ ด เป็ น วั ด ที่ อยู ่ บนภูเขา ตามต�ำนานเชื่อกันว่าเป็นที่บรรจุ พระเกศาธาตุ ข องพระพุ ท ธเจ้ า และมี ต้นศรีมหาโพธิ์ต้นแรก ที่ได้อัญเชิญหน่อกล้า มาจากพุทธคยา ประเทศอินเดีย, หนองบัว พระเจ้าหลวง เป็นหนองน�ำ้ ธรรมชาติทมี่ คี วาม สวยงาม มีเนือ้ ที่ 102 ไร่ ทั้งยังเคยเป็นที่รับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชนนีพนั ปีหลวง เมือ่ วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2505 เมือ่ ทัง้ สองพระองค์พร้อมด้วยสมเด็จ พระราชินีประเทศเดนมาร์ค เสด็จทรงประทับ ลงเรือยาวที่หนองบัวเเห่งนี้ นับว่าเป็นสถานที่ ที่มีความส�ำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ และ เป็ น ที่ ภ าคภู มิ ใจของชาวอ� ำ เภอดอยสะเก็ ด เป็นอย่างมาก, เขือ่ นแม่กวงอุดมธารา เป็นเขือ่ นดิน ถมบดอัดแน่นขนาดใหญ่สร้างกั้นแม่น�้ำกวงและ หุ บ เขาสู ง ก่อให้เกิดเป็นอ่างเก็บน�้ำที่เสมือน ทะเลสาบน�ำ้ จืดขนาดใหญ่ทโี่ อบล้อมด้วยทิวเขา และป่าไม้เขียวขจี ในยามเช้าจะมีเมฆหมอกสีขาว คล้ า ยปุ ย ฝ้ า ยลอยตั ว ปกคลุ ม ทั่ ว ท้ อ งน�้ ำ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของคนในท้องถิ่น และพื้นที่ใกล้เคียง, ศูนย์พัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยฮ่ อ งไคร้ อั น เนื่ อ ง มาจากพระราชด� ำ ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช โดยมีพระราช ประสงค์ ที่ จ ะให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในการศึ ก ษา ทดลอง วิจยั เพือ่ หารูปแบบการพัฒนาด้านต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสมกับสภาพพืน้ ทีภ่ าคเหนือ และเผยแพร่ แก่ราษฎรให้สามารถน�ำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ต่อไป CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

61


อ� ำ เภอดอยเต่า “มะนาวลูกใหญ่ ล�ำไยเนื้อหนา ดอยเกิ้งสูงสง่า ชิมรสปลาดอยเต่า” อ� ำ เภอดอยเต่ า เดิมอยู่ในความปกครอง ของอ�ำเภอฮอด เมือ่ ได้กอ่ สร้างเขือ่ นภูมพิ ลท�ำให้ พืน้ ทีถ่ กู น�ำ้ ท่วมกรมประชาสงเคราะห์ได้ดำ� เนินการ จัดตั้งนิคมสร้างตนเองเขื่อนภูมิพลปีพ.ศ. 2506 ช่วยเหลือราษฎรประมาณ 2,400 ครอบครัว เพื่อสะดวกในการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงได้ประกาศฐานะขึ้นเป็นกิ่งอ�ำเภอดอยเต่า อยูใ่ นความปกครองของอ�ำเภอฮอด เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2515 และมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะ กิง่ อ�ำเภอดอยเต่า ขึน้ เป็นอ�ำเภอดอยเต่า เมือ่ วันที่ 25 มี น าคม 2522 เป็ น ชนพื้ น เมื อ งท้ อ งถิ่ น

วัดพระพุทธบาทตะเมาะ

วัดพระธาตุดอยเกิ้ง 62

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ทะเลสาบดอยเต่า

มี ป ระเพณี แ ละวั ฒ นธรรมเป็ น ของตนเอง และเมือ่ นึกถึงแหล่งท่องเทีย่ วของอ�ำเภอดอยเต่า แน่นอนว่านักท่องเทีย่ วจะนึกถึง ทะเลสาบดอยเต่า เดิ ม เป็ น พื้ น ที่ น�้ ำ ท่ ว มถึ ง ภายหลั ง การสร้ า ง เขือ่ นภูมพิ ลเป็นอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่ซงึ่ อยูเ่ หนือ เขื่ อ นภู มิ พ ล เคยใช้ ใ นการเกษตรกรรม การประมงในบริเวณอ่างเก็บน�ำ้ หากมีนำ�้ มากพอ (โดยมากจะอยูใ่ นช่วงเดือนตุลาคม-เมษายน) จะ มีบริการแพพัก ราคา 1,000-1,500 บาท และ เรื อ น� ำ เที่ ย วไปยั ง เขื่ อ นภู มิ พ ล จั ง หวั ด ตาก นอกจากนัน้ ยังมีสถานทีส่ ำ� คัญๆ ทีน่ า่ สนใจ ได้แก่ วั ด พระพุ ท ธบาทตะเมาะ เป็ น สถานที่ ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า 4 พระองค์ แ ห่ ง กั ป นี้ ได้ แ ก่ พระพุทธเจ้ากกุสนั โธ พระพุทธเจ้าโกนาคมนาคม พระพุ ท ธเจ้ า กั ส ปะ พระพุ ท ธเจ้ า สมณโคดม เคยเสด็จมาโปรดเวไนยสัตว์ และประทับรอย พระพุทธบาทไว้และเคยมีพุทธสาวกหลายองค์ มาปฏิบัติและบรรลุธรรมที่สถานที่แห่งนี้ วั ด พระธาตุ ด อยเกิ้ ง พระเจดี ย ์ บ รรจุ พระบรมธาตุ ส่ ว นพระนลาฎเบื้ อ งซ้ า ยของ พระพุทธเจ้าสร้างแต่ครั้งโบราณเก่าแก่ เมื่อปี พ.ศ. 1200-1260 พระนางจามเทวี ผู้ครอง นครหริ ภุ ญ ไชยได้ ท� ำ การบู ร ณะ ต่ อ มา พระครูบาศรีวิชัยได้เป็นประธานในการบูรณ ปฏิ สั ง ขรณ์ ใ นวั น เพ็ ญ เดื อ น 3 วั น มาฆบู ช า และมีการจัดพิธสี รงน�ำ้ พระธาตุเป็นประจ�ำทุกปี


อ� ำ เภอดอยหล่ อ

อุทยานแห่งชาติแม่วาง

ผาช่อ

วัดห้วยม่อนแก้ว

“พระธาตุดอยน้อยพันปี รสดีแคนตาลูปล�ำไย กว่างชนเลื่องชื่อลือไกล กลองใหญ่สืบสานประเพณี” ดอยหล่ อ เป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ของจั ง หวั ด เชียงใหม่ แยกพื้นที่ออกจากอ�ำเภอจอมทอง ในอดีตเป็นอ�ำเภอเล็ก ๆ ทีม่ หี มูบ่ า้ นกระจายตาม ถนนสายเชียงใหม่-จอมทอง แต่ในปัจจุบนั อ�ำเภอ ดอยหล่อถูกพัฒนาให้เป็นพืน้ ทีร่ องรับการขยาย ตัวของนครเชียงใหม่และรองรับความเจริญจาก อ�ำเภอจอมทอง ศูนย์กลางความเจริญทางตอนใต้ ของจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ แ ละเมื่ อ กล่ า วถึ ง สถาน ที่ท่องเที่ยวในอ�ำเภอดอยหล่อนั้นมีหลายแห่ง ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มไปสั ม ผั ส ในอั น ดั บ ต้ น ๆ เมื่อมาถึงเมืองเชียงใหม่ คือ วัดพระธาตุดอยน้อย ตั้งอยู่บนภูเขาทาง ทิศตะวันออกของถนนสายเชียงใหม่ – ฮอด ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 44 ก.ม. เป็น ที่ประดิษฐานพระเจดีย์ ซึ่งตามต�ำนานกล่าวว่า พระนางจามเทวีได้ทรงสร้างขึ้น เมื่อครั้งที่เสด็จ มาครองเมืองล�ำพูนตามค�ำเชิญของสุเทวฤาษี ประมาณ ปี พ.ศ.1201 เมือ่ นับเวลามาถึงปัจจุบนั นี้ (พ.ศ.2563) วัดพระธาตุดอยน้อยนี้ มีอายุ ถึง 1362 ปี

วัดพระธาตุดอยน้อย

ผาช่ อ เป็ น ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ลั ก ษณะหน้ า ผาดิ น สู ง ประมาณ 30 เมตร กว้าง 100 เมตร บางคนก็เปรียบเทียบว่าเป็น แกรนด์แคนยอนเมืองไทย ลักษณะของผาช่อนัน้ มีการเรียงตัวของดินเป็นชัน้ ๆ ในแนวตัง้ สลับกับ แนวนอน เมื่ อ มองดู จ ะเห็ น เป็ น ลวดลาย ที่แปลกตาต่างกับหน้าผาที่ถูกกัดเซาะอย่างเช่น แพะเมืองผี ปายแคนยอน วัดม่อนห้วยแก้ว เป็นแหล่งการเรียนรูช้ มุ ชน ในสังกัดมหานิยาย ก่อตัง้ ครัง้ แรกใช้ชอื่ ส�ำนักสงฆ์ รัตนารามมี แต่เดิมพื้นที่นี้เป็นพื้นที่สาธารณะ ประโยชน์ของหมู่บ้านลักษณะพื้นที่ป่าเป็นเนิน สลับล�ำห้วยเล็กๆ ชื่อ ห้วยแก้ว เป็นแหล่งน�ำ้ ซับ

และใช้เป็นแหล่งน�้ำกินของชาวบ้านในสมัยนั้น อุทยานแห่งชาติแม่วาง ครอบคลุมพืน้ ทีป่ า่ จอมทอง ป่าแม่ขาน และป่าแม่วาง อยู่ในเขต ท้ อ งที่ ต� ำ บลสั น ติ สุ ข ต� ำ บลยางคราม ต� ำ บล ดอยหล่อ อ�ำเภอดอยหล่อ ต�ำบลบ้านหลวง ต�ำบลข่วงเปา อ�ำเภอจอมทอง และต�ำบลทุ่งปี้ อ�ำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 74,766 ไร่ หรือ 119.6256 ตารางกิโลเมตร ปกคลุมด้วยป่าไม้ชนิดต่างๆ คือ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าเต็งรังผสม ป่าดิบเขา และป่าสนเขา ท� ำ ให้ มี สั ต ว์ ป ระเภทต่ า ง ๆ เข้ า มาอาศั ย อยู ่ อย่างมากมาย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

63


อ� ำ เภอฝาง “เมืองพระเจ้าฝาง ดอยอ่างขางสูงซ้อน น�ำ้ พุรอ้ น-เย็นลือเลือ่ งเมืองเกษตรกรรม แหล่งวัฒนธรรมล้านนา ล�ำ้ เลอค่าน�ำ้ มันดิบ” อ� ำ เภอฝาง เป็ น ศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ในเขตเชี ย งใหม่ ต อนบน มี จ� ำ นวนประชากร มากเป็นอันดับ 2 ของจังหวัดเชียงใหม่ ผูค้ นส่วนใหญ่ ท�ำอาชีพเกษตรกร ท�ำสวนท�ำนา พืชผลที่นิยม ปลูกกันมาก ได้แก่ ส้ม ล�ำไย ลิน้ จี่ ข้าว หอมหัวใหญ่ ข้าวสาลี พุทรานมสดผลไม้เมืองหนาว ฯลฯ นอกจากการเป็ น เมื อ งเกษตรกรรมแล้ ว อ�ำเภอฝางยังอุดมไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวที่น่าไป สัมผัสสักครั้งในชีวิต เช่น ดอยอ่างขาง ตั้งอยู่ บนทิ ว เขาแดนลาว เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น ดิ น แดน แสนโรแมนติ ก ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มไปสั ม ผั ส ความหนาวเย็น ชมความงามของดอกพญาเสือโคร่ง รวมถึงดอกไม้และพืชผักเมืองหนาวอันสวยงาม ชมวิวพระอาทิตย์ขึ้นและทะเลหมอก สัมผัสวิถี ชี วิ ต ชาวไทยภู เขาที่ มี ค วามหลากหลายทาง ชาติ พั น ธุ ์ , สถานี เ กษตรหลวงอ่ า งขาง เป็นโครงการหลวงแห่งแรกทีใ่ นหลวง รัชกาลที่ 9 ได้มีพระราชด�ำริจัดตั้งขึ้นโดยพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ ใช้เป็นสถานีวจิ ยั และทดลองปลูกพืช เมืองหนาวชนิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผัก ไม้ผล ไม้ดอก เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรชาวเขา ในการน�ำพืชเหล่านีม้ าเพาะปลูกเพือ่ สร้างรายได้ แทนการปลู ก ฝิ ่ น และพระราชทานนามว่ า สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ด้วยความสวยงาม ของดอกไม้เมืองหนาวนานาชนิด ท�ำให้ต่อมา สถานี เ กษตรฯ ได้ รั บ การพั ฒ นาให้ เ ป็ น แหล่งท่องเทีย่ ว นักท่องเทีย่ วสามารถเข้ามาเทีย่ วชม ภายในสถานีฯ ได้, น�ำ้ พุรอ้ นฝาง ภายในน�ำ้ พุรอ้ นฝาง มี ที่ แช่ น�้ ำ แร่ ต้ ม ไข่ และสามารถพั ก แรมได้ , บ่ อ น�้ ำ มั น ฝาง หรื อ ศู น ย์ พั ฒ นาปิ โ ตรเลี ย ม ภาคเหนือ เป็นแหล่งน�้ำมันดิบบนบกแห่งแรก ของประเทศไทย ถูกค้นพบเมื่อราว พ.ศ. 2464 เนื่องจากชาวบ้านพบน�้ำมันลักษณะสีด�ำไหลซึม ขึน้ มาบนผิวดิน ปัจจุบนั ขึน้ กับกรมพลังงานทหาร น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ส ถ า น ที่ ท ่ อ ง เ ที่ ย ว อีกมากมาย เช่น จุดชมวิวกิว่ ลม, หมูบ่ า้ นขอบด้ง, หมู่บ้านนอแล, สวนบอนไซ 64

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ดอยกิ่วลม

สถานีเกษตรษหลวงอ่างขาง

น�้ำพุร้อนฝาง

บ่อน�้ำมันฝาง

บ้านขอบด้ง

บอนไซ


อ� ำ เภอพร้า ว “เมืองเก่าวังหิน ถิ่นประเพณีล�้ำค่า บูชาพระเจ้าล้านทอง เรืองรองเกษตรกรรม แดนธรรมหลวงปู่แหวน” เมื อ งพร้ า ว มี ป ระวั ติ ม ายาวนานคู ่ เ มื อ ง เชียงใหม่ มีหลากหลายประเพณีทสี่ บื ทอดกันมา ตัง้ แต่รนุ่ สูร่ นุ่ ดัง่ เช่นแห่พระเจ้าเข้าเมือง และเป็น เมืองอู่ข้าวอู่น�้ำ อุดมไปด้วยพืชพันธุ์ เป็นแหล่ง ปลูกข้าวหอมมะลิ และมะม่วงน�้ำดอกไม้สีทอง ที่เป็นที่ต้องการของตลาด มีธรรมชาติที่สงบ พระอริยเจ้าหลวงปู่แหวนท่านเป็นที่ยึดเหนี่ยว จิตใจ ในส่วนของแหล่งท่องเทีย่ วในอ�ำเภอพร้าว ก็มีความน่าสนใจหลายแห่ง เช่น ดอยม่อนล้าน สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชด�ำริ ดอยม่อนล้าน เดิมพืน้ ทีบ่ ริเวณนี้ เป็นพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ต่อได้มีโครงการพื้นฟู สภาพพื้นที่ป่าให้มีความเขียวชอุ่มและสวยงาม อีกครั้ง โดยมียอดดอยม่อนล้านเป็นจุดสูงสุด สามารถมองเห็นวิวของทะเลหมอก รวมทั้งยอด ดอยน้อยใหญ่บริเวณโดยรอบได้อย่างชัดเจน อากาศเย็นสบาย เที่ยวได้ตลอดทั้งปี วัดดอยแม่ปง๋ั เป็นวัดทีค่ นเชียงใหม่ให้ความ นับถือและเคารพศรัทธาด้วยทีน่ เี่ คยเป็นทีพ่ ำ� นัก ของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ พระนักปฏิบัติสาย หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต โดยภายในวัดจะมีรปู เหมือน หลวงปู ่ แ หวนเท่ า องค์ จ ริ ง ตอนถื อ ธุ ด งควั ต ร รวมทั้ ง ยั ง มี อ าคารไม้ เ ก่ า แก่ ใ นสไตล์ ล ้ า นนา และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิอ์ นื่ ๆ ให้ได้เข้าเทีย่ วชมมากมาย วัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล เป็นวัดส�ำคัญ อี ก หนึ่ ง แห่ ง ของอ� ำ เภอพร้ า ว โดยสิ่ ง ส� ำ คั ญ ของวั ด ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มมาเที่ ย วชมก็ คื อ พระธาตุดอยเวียง เป็นที่ประดิษฐานพระเกศา ของพระพุทธเจ้า มีอายุหลายร้อยปี ตัง้ อย่างสง่างาม อยู่ด้านหลังของวิหารไม้สไตล์ล้านนา วัดห้วยบง ตั้งอย่างโดดเด่นบริเวณเชิงเขา ในเขตบ้านห้วยบง ต�ำบลเขื่อนผาก เป็นอีกวัด ที่ส�ำคัญ ของอ�ำเภอพร้าว ความน่าสนใจของที่นี่ ก็คือ “วิหารจีน” ซึ่งมีสถาปัตยกรรมสไตล์จีน อันสวยงาม ภายในวิหารมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามแบบ วัดจีนให้ได้กราบไหว้ขอพร เพื่อเป็นสิริมงคล ต่อตนเอง และครอบครัวมากมาย

ดอยม่อนล้าน วัดห้วยบง

วัดดอยแม่ปั๋ง

วัดพระเจ้าล้านทอง

เขตอนุรักษ์น�้ำรู

วัดพระธาตุดอยเวียง

วัดพระเจ้าล้านทอง เป็นอีกวัดคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของเมืองพร้าว ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองปลามัน ต�ำบลน�ำ้ แพร่ เป็นที่ประดิษฐานของพระเจ้าล้านทอง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองพร้าว เขตอนุรักษ์ปา่ น�้ำรู ตั้งอยู่ในต�ำบลน�้ำแพร่ อ�ำเภอพร้าว เป็นแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติที่มีตาน�้ำขนาดใหญ่ โดยน�ำ้ จะไหลออกมาจากตาน�้ำ เป็นน�้ำใสบริสุทธิ์ เย็นฉ�ำ่ นักท่องเที่ยวสามารถที่จะลงไปเล่นน�้ำในสระ ได้ น�ำ้ ไม่ลึกมากนัก จึงเล่นได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

65


อ� ำ เภอแม่ แ จ่ ม

นาขั้นบันได “ป่าปงเปียง”

น�้ำพุร้อนเทพพนม

วัดพุทธเอ้น

“เที่ยวบ่อน�้ำแร่ ล่องแพน�้ำแจ่ม พักแรมน�้ำตก ผ้าตีนจกยอดน�้ำมือ” วัดยางหลวง

วัดกองกาน

ผ้าซิ่นตีนจก ศูนย์หัตถกรรมบ้านท้องฝาย 66

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ�ำเภอแม่แจ่ม อ�ำเภอเล็กๆ ทางตะวันตกเฉียงใต้ ของเชียงใหม่ ซ่อนตัวอยู่ท่ามกลางหุบเขาที่อยู่ ด้านหลังของดอยอินทนนท์ มีผู้คนอยู่อาศัยจาก หลายเชือ้ ชาติ แต่สงิ่ ทีย่ งั คงรักษาไว้คอื วัฒนธรรม และวิ ถี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ ยั ง มี ค วามเรี ย บง่ า ย แต่ แ ฝงไว้ ด ้ ว ยนั ย ยะตามหลั ก พุ ท ธศาสนา นอกจากนั้น แม่ แจ่ ม ยั ง เป็ น เมื อ งสงบร่ ม เย็ น มีธรรมชาติที่อุดมสมบูร ณ์ มีเอกลัก ษณ์แห่ง ความงดงาม ทัง้ วัดวาอารามเก่าแก่อนั ทรงคุณค่า และสายน�ำ้ แจ่มที่เป็นแม่น�้ำสายหลักหล่อเลี้ยง คนแม่แจ่ม มีท้องทุ่งนาขั้นบันได อันเขียวขจี ในฤดู ฝ น และงานฝี มื อ อั น เลื่ อ งชื่ อ จาก “ผ้าทอตีนจกแม่แจ่ม” ทีไ่ ด้รบั การประกาศจาก กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยการขึน้ ทะเบียนเป็น สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ อั น สามารถบ่ ง บอกว่ า สิ น ค้ า ที่ เ กิ ด จากแหล่ ง ภู มิ ศ าสตร์ เป็ น สิ น ค้ า ที่มีคุณภาพและไม่สามารถน�ำไปแอบอ้างได้

วัดป่าแดด

จากบริบททางกายภาพที่น่าสนใจข้างต้น ท�ำให้แม่แจ่มเป็นจุดหมายปลายทางของ นักเดินทาง จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น บ้ า นปงเปี ย ง หมู ่ บ ้ า นที่ ร ายล้ อ มไปด้ ว ยนาขั้ น บั น ได ต้นข้าวโพด สามารถที่จะเที่ยวชมได้ตลอดทั้งปี, น�้ำพุร้อนเทพพนม เป็นบ่อน�้ำร้อนธรรมชาติ เกิดจากความร้อนใต้พภิ พ มีแรงดันพุง่ ขึน้ มากระทบ น�้ำเย็นใต้ดิน เป็นไอร้อนคุกรุ่นอยู่ตลอดเวลา, วัดพุทธเอ้น เป็นวัดเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี ความพิเศษของวัดนี้ คือ มีโบสถ์ที่ตั้งอยู่กลางน�ำ้ ภายในวัดมีบ่อน�้ำพุทธเอ้น ซึ่งมีน�้ำใสไหลเย็น ไหลออกมาจากพื้นดินตลอดเวลา ชาวแม่แจ่ม ถื อ ว่ า เป็ น บ่ อ น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละมั ก นิ ย มตั ก ไป บริโภคหรือเก็บไว้เพื่อเป็นสิริมงคล และยังมีอีก สถานที่น่าสนใจอีกหลายแห่ง เช่น วัดกองกาน, วัดป่าแดด, วัดยางหลวง, หมู่บ้านหัตถกรรม ผ้าซิ่นตีนจกแม่แจ่ม ฯลฯ


อ� ำ เภอแม่ แ ตง

ตลาดแม่มาลัย

โป่งเดือดป่าแป๋

ห้วยน�้ำดัง ,น�้ำตกหมอกฟ้า

เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล

วัดบ้านเด่น

พญาสามฝั่งแกน

อุทยานแห่งชาติ น�้ำตกบัวตองและน�้ำพุเจ็ดสี

“แดนน�้ำสามแม่ ล่องแพขี่ช้าง แอ่วอ่างแม่งัด กาดนัดแม่มาลัย โป่งเดือดใหญ่ลำ�้ ค่า หมอกฟ้าห้วยน�ำ้ ดัง มนต์ขลังเมืองแกน ท่องแดนถ�ำ้ บัวตอง” อ� ำ เภอแม่ แ ตง มี กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย ว ในหลายๆ รูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นกิจกรรมการท่องเทีย่ ว แบบผาดโผน การพักผ่อนหย่อนใจ และการท่องเทีย่ ว ตามธรรมชาติ ตามค�ำขวัญของอ�ำเภอได้กล่าวถึง แหล่งท่องเที่ยวและสถานที่ส�ำคัญหลายๆ แห่ง ทีม่ ชี อื่ เสียงและเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของอ�ำเภอ แม่แตงเลยทีเดียว ดินแดนสามแม่ คือ แม่แตงเป็นดินแดนของ แม่นำ�้ 3 สาย ไหลมาบรรจบกัน นัน่ คือ น�ำ้ แม่ปงิ น�ำ้ แม่แตง และน�ำ้ แม่งดั , ล่องแพขีช่ า้ ง หมายถึง “ปางช้างแม่ตะมาน” ที่นักท่องเที่ยวสามารถ ใกล้ชิดและท�ำกิจกรรมร่วมกับช้างแสนรู้และ ควาญช้าง นัง่ ชมความงามของหุบเขาแม่ตะมาน และสองฝั่งล�ำน�้ำแม่แตง รับประทานอาหาร

ปางช้างแม่ตะมาน

ท่ามกลางธรรมชาติและฝูงช้าง นอกจากนี้ยังมี บริการล่องแพในล�ำน�้ำแม่แตงและนั่งเกวียน เที ย มวั ว อี ก ด้ ว ย, แอ่ ว อ่ า งแม่ งั ด หมายถึ ง เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชล สร้างขึน้ ตามพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช นอกจากเพื่อประโยชน์ในด้านการ ชลประทานแล้ว ยังมีทิวทัศน์ที่ล้อมรอบด้วย ภูเขาและป่าไม้เขียวขจี เหมาะส�ำหรับคนรัก ธรรมชาติ และต้ อ งการพั ก ผ่ อ นแบบสงบ ท่ามกลางสายน�ำ้ , กาดนัดแม่มาลัย เป็นตลาดสด ขนาดใหญ่ มี สิ น ค้ า จ� ำ หน่ า ยที่ ห ลากหลาย ทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าท้องถิ่นที่มี ตามฤดูกาล, โป่งเดือดใหญ่ล�้ำค่า หมายถึง น�ำ้ พุรอ้ นโป่งเดือด เป็นน�ำ้ พุรอ้ นไกเซอร์ (Geyser type) ที่ปล่อยกระแสน�้ำร่วมกับไอน�้ำออกมา เป็นระยะๆ ไม่สม�่ำเสมอจ�ำนวน 3-4 บ่อ และ ยั ง มี เ ส้ น ทางเดิ น ศึ ก ษาธรรมชาติ ผ ่ า นป่ า ไม้ ที่อุดมสมบูรณ์, หมอกฟ้าห้วยน�้ำดัง หมายถึง น�ำ้ ตกหมอกฟ้า เป็นน�ำ้ ตกทีม่ ลี กั ษณะเป็นสายน�ำ้

พุง่ ตัวลงมาตามหน้าผาสูงชัน เมือ่ มีกระแสลมพัด ละอองน�ำ้ ก็จะกระเซ็นฟุง้ ไปทัว่ ราวกับ สายหมอก สีขาว งดงามและน่าตืน่ ตาตืน่ ใจ อีกทัง้ ห้วยน�ำ้ ดัง ซึ่งเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีป่าไม้และธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ นักท่องเทีย่ วส่วนใหญ่นยิ มเดินทาง มาพิสจู น์ความหนาวเย็นโดยการพักค้างแรมเพือ่ ชมพระอาทิตย์ขึ้นและทะเลหมอกที่จุดชมวิว ดอยกิ่วลม, มนต์ขลังเมืองแกน หมายถึง ชุมชน โบราณที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน ก่อตั้งมา ตั้งแต่สมัยพญามังราย ครองเมืองเชียงใหม่ จึงมี หลักฐานทางโบราณคดีกระจัดกระจายอยูท่ วั่ ไป ท่องแดนถ�ำ้ บัวตอง คือ น�ำ้ ตกบัวตอง เป็นน�ำ้ ตก หินปูนเพราะน�้ำจากน�้ำตกบัวตองเป็นน�้ำแร่ที่มี แคลเซียมคาร์บอเนตอยูม่ ากกว่าปกติ เมือ่ น�ำ้ ไหล ผ่ า นมาเป็ น เวลานาน จึ ง ท� ำ ให้ หิ น น�้ ำ ตก ถูกเคลือบจนเป็นหินปูนแข็ง ไม่มคี วามลืน่ เหมือน หินน�้ำตกทั่วไป นักท่องเที่ยวสามารถปีนป่าย น�ำ้ ตกได้อย่างสนุกสนาน และทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติ น�้ำตกบัวตองยังมี น�้ำพุเจ็ดสี ซึ่งเป็นตาน�้ำ ที่มี น�้ำใสมากๆ ไหลพุ่งออกมาเป็นล�ำธารและไหล รวมไปเป็นน�้ำตกบัวตอง โดยน�้ำที่ไหลออกมา จากน�้ำพุเจ็ดสี มีความใสสะอาดและเย็นมาก ในตอนกลางวันหรือเวลามีแดดมากระทบก็จะ เห็ น แสงสะท้ อ นกั บ สระน�้ ำ พุ ค ล้ า ยๆ กั บ สี ของรุ ้ ง กิ น น�้ ำ น�้ ำ ที่ อ อกมานี้ ก็ จ ะเป็ น น�้ ำ แร่ ซึ่งมีแคลเซียมคาร์บอเนตอยู่มากกว่าน�ำ้ แร่ปกติ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

67


อ� ำ เภอแม่ ริ ม “น�้ำตกแม่สา งามตากล้วยไม้ ไหว้พระบาทสี่รอย แอ่วดอยชมช้าง งามสล้างพฤกษา เจ้าแม่ดาราเป็นขวัญ มวลชนมุ่งมั่น สร้างสรรค์ความดี” อ�ำเภอแม่รมิ เป็นอ�ำเภอทีม่ กี ารเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว มีความพร้อมทุก ๆ ด้าน จนเป็น อ�ำเภอขนาดใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นที่ตั้ง ของศูนย์ราชการทีส่ ำ� คัญ ปัจจุบนั มีการขยายตัว ด้านการท่องเที่ยวอย่างรวดเร็ว และเป็นเมือง ท่องเที่ยวที่ใกล้เมืองเชียงใหม่มากที่สุด จุดเด่นของอ�ำเภอแม่ริม คือการมีแหล่ง ท่องเที่ยวที่หลากหลายและวิวทิวทัศน์ที่งดงาม หลายแห่ง โดยเฉพาะเส้นทางแม่ริม - สะเมิง ถือว่าเป็นเส้นทางการท่องเที่ยวหลักของอ�ำเภอ เช่น น�้ำตกแม่สา เป็นน�้ำตกขนาดกลาง ตั้งอยู่ ในเขตวนอุทยานน�้ำตกแม่สา อุทยานแห่งชาติ ดอยสุเทพ-ปุย มีสายน�้ำไหลชุ่มฉ�่ำตลอดทั้งปี และมี อ ากาศร่ ม รื่ น เย็ น สบาย เป็ น ที่ นิ ย ม มาพั ก ผ่ อ นของนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ, ฟาร์มกล้วยไม้และฟาร์มผีเสือ้ อ� ำ เภอแม่ ริ ม จั ด ว่ า เป็ น แหล่ ง ปลู ก กล้ ว ยไม้ นานาพันธุข์ องจังหวัดเชียงใหม่ จึงมีอตุ สาหกรรม ฟาร์มกล้วยไม้และฟาร์มผีเสือ้ มากมายหลายแห่ง ในพื้นที่, พระบาทสี่รอย ตั้งอยู่ในหุบเขา เป็นที่ ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า ที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ในประเทศไทย ลั ก ษณะเป็ น รอยพระพุ ท ธบาทประทั บ ซ้ อ นกั น ถึ ง สี่ ร อย เรียงจากรอยใหญ่ไปหารอยเล็ก, ปางช้างแม่สา เป็นหมู่บ้านช้างที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือของ ประเทศไทย แขกผู ้ ม าเยื อ นจะได้ สั ม ผั ส ประสบการณ์การนั่งช้าง, การฝึกช้าง, อาบน�้ำ ให้ช้าง หรือแม้กระทั่งชมความสามารถของช้าง ในการวาดภาพวิวทิวทัศน์ออกมาได้อย่างสวยงาม, สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ มีลักษณะเป็นที่ราบและที่สูงสลับกัน เป็นสวน พฤกษศาสตร์ ร ะดั บ นานาชาติ การจั ด สวน จะแบ่ ง พั น ธุ ์ ไ ม้ ต ามวงศ์ แ ละความเหมาะสม ของสภาพพื้นที่ สามารถขับรถเข้าชมโดยรอบ บริเวณได้, ม่อนแจ่ม แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว, ต� ำ หนั ก เจ้ า ดารารั ศ มี เป็นพระต�ำหนักของเจ้าดารารัศมี พระชายา 68

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ม่อนแจ่ม

พระต�ำหนักเจ้าดารารัศมี

ฟาร์มกล้วยไม้

น�้ำตกแม่สา

ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตัวพระต�ำหนักเป็นเรือนไม้สองชั้น ซึง่ ได้รบั การปรับปรุงเป็นพิพธิ ภัณฑ์พระต�ำหนัก ดารารั ศ มี จั ด แสดงพระราชประวั ติ แ ละ พระราชวงศ์ ฝ ่ า ยเหนื อ รวมถึ ง เครื่ อ งใช้ ส่วนพระองค์ ปางช้างแม่สา วิถแี ห่งการเลีย้ งช้างอุดมการณ์ แห่ ง การอนุ รั ก ษ์ แ ละสื บ สานสายพั น ธุ ์ ช ้ า ง ที่ ร อให้ คุ ณ ไปสั ม ผั ส เป็ น บ้ า นหลั ง ใหญ่ ที่ ช ้ า ง หลายเชือกอยู่ร่วมกันกับควาญช้างด้วยสายใย แห่งความรัก และความกลมเกลียว ถือเป็น ปางช้างที่มีจ�ำนวนช้างมากที่สุดในภาคเหนือ

สวนพฤกษศาสตร์

ปางช้างแม่สา

พระพุทธบาทสี่รอย

ฟาร์มผีเสื้อ

ด้วยสภาพแวดล้อมที่อยู่ในอ้อมกอดของป่าเขา ล�ำเนาไพรทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ ในเขตพืน้ ทีห่ บุ เขาแม่สา การแสดงช้างสุดประทับใจกับความสามารถและ พรสวรรค์ของช้างไทยทีไ่ ด้รบั การฝึกมาอย่างดี


อ� ำ เภอแม่ ว าง

หัวหอมใหญ่พืชเศรษฐกิจของอ�ำเภอแม่วาง

“แดนหัวหอมใหญ่ พฤกษาลือไกล ท่องไพรแม่วิน งามถิ่นแม่วาง” อ� ำ เภอแม่ ว าง อยู ่ ใ นที่ ร าบตอนกลาง ของจังหวัดเชียงใหม่และยังเป็นอ�ำเภอที่มีพื้นที่ ครอบคลุ ม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ 3 แห่ ง ได้ แ ก่ อุทยานแห่งชาติแม่วาง อุทยานแห่งชาติออบขาน และอุทยานแห่งชาติอินทนนท์ ประชากรส่วน ใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกร พื ช เศรษฐกิ จ ได้แก่ ข้าว ถั่วเหลือง ล�ำไย ข้าวโพดหวาน และ หอมหัวใหญ่ ซึง่ อ�ำเภอแม่วาง ถือเป็นแหล่งปลูก หัวหอมใหญ่แห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ ในด้านของการท่องเทีย่ ว “แม่วาง” เลือ่ งลือ ว่าเป็นดินแดนน่าผจญภัย ทัง้ การท่องไพร ล่องแพ ที่น่าตื่นตาตื่นใจ ท่ามกลางธรรมชาติที่โอบล้อม ด้วยป่าไม้และสายน�ำ้ จึงเป็นจุดหมายปลายทาง ของนักเดินทางที่ชอบวิถีชีวิตที่ท้าทาย ซึ่งสถาน ที่ท่องเที่ยวในพื้นที่อำ� เภอแม่วาง ได้แก่ วัดหลวงขุนวิน มีต้นก�ำเนิดมาตั้งแต่สมัย พุทธกาลพระพุทธเจ้าเคยเสด็จมา ณ บริเวณ ที่ตั้งวัด และประทับรอยพระบาทไว้ในป่าแห่งนี้ ซึ่งรอยพระบาทนี้เรียกว่า “พระบาทย�่ำหวิด” และพ้องกับชื่อเมือง แต่เดิม คือ “เมืองหวิด” ต่อมาเปลีย่ นเป็น “เมืองวิน” ต่อมาชาวบ้านได้ทลู ขอ พระเกศาธาตุจากพระพุทธองค์ แล้วสร้างเจดีย์ ไว้บรรจุพระธาตุเพื่อการกราบไหว้บูชา อีกทั้ง ได้ช่วยกันสร้างวัดไว้ด้วย คือ วัดหลวงขุนวิน ในปัจจุบัน ปางช้างแม่วาง สถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่ง ในอ�ำเภอแม่วางที่นักท่องเที่ยวสามารถนั่งช้าง ชมธรรมชาติของป่าแม่วางและมีบริการล่องแพ ไม้ไผ่ในล�ำน�้ำแม่วางด้วย ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง ตัง้ อยูบ่ น ดอยอินทนนท์ ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ปางช้างแม่วาง

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง

วัดหลวงขุนวิน

น�้ำตกแม่วาง

2525 เมื่อครั้งในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่านทรงมี พระราชด�ำรัสให้กองพืชสวน กรมวิชาการเกษตร ด�ำเนินการใช้ท้องทุ่งแห่งนี้ เป็นสถานที่ทดลอง และขยายพั น ธุ ์ พื ช บนที่ สู ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกรบนทีส่ งู และเพือ่ ทดแทนการปลูกฝิ่น นักท่องเที่ยวจะได้สนุก ไปกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ชมความสวยงาม ของแปลงไม้ผลเมืองหนาวที่จะพากันออกดอก

ผลสะพรั่งดูสดใส และเที่ยวชมความงามของ ดอกพญาเสือโคร่ง (ซากุระเมืองไทย) ภายใน โครงการอีกด้วย น�้ำตกแม่วาง เป็นน�้ำตกสูงประมาณ 20 เมตร กว้าง 10 เมตร เป็นน�้ำตกธรรมชาติที่อยู่ ในป่า สัมผัสได้ถึงความเย็นสดชื่นของธรรมชาติ ห้อมล้อมไปด้วยป่าไม้ น�้ำที่ไหลมาจากป่ากลาย เป็นน�้ำตกแม่วาง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

69


อ� ำ เภอแม่ อ อน

วัดพระธาตุดอยผาตั้ง

บ้านแม่ก�ำปอง

“ผาตัง้ ธาตุคเู่ มือง รุง่ เรืองฟาร์มโคนม รืน่ รมย์นำ�้ พุรอ้ น เมืองออนถ�ำ้ แสนงาม” แม่ อ อน เป็ น อ� ำ เภอขนาดเล็ ก ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ พื้ น ที่ มี ทั้ ง ภู เขาและที่ ร าบส� ำ หรั บ ท�ำเกษตรกรรม นับเป็นพื้นที่รอบนอกสุดของ เมืองเชียงใหม่ มีแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ได้แก่ วั ด พระธาตุ ด อยผาตั้ ง น�้ ำ พุ ร ้ อ นสั น ก� ำ แพง ถ�้ำเมืองออน น�ำ้ ตกแม่ก�ำปอง หมู่บ้านโฮมสเตย์ แม่กำ� ปอง และวังเย็น วั ด พระธาตุ ด อยผาตั้ ง หรื อ เดิ ม ชื่ อ ว่ า วั ด ม่ อ นธาตุ เป็ น วั ด เก่ า แก่ คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ ง ของอ�ำเภอแม่ออนเริ่มสร้างวัดเมื่อใดไม่ปรากฏ หลั ก ฐาน พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ อ งค์ เ ดิ ม นั้ น เป็ น องค์ เ ก่ า แก่ ที่ บ รรจุ “พระเกศาธาตุ ” ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สหกรณ์โคนมอ�ำเภอแม่ออน เป็นสหกรณ์ โคนมที่ประสบความส�ำเร็จมากที่สุดแห่งหนึ่ง ของจังหวัดเชียงใหม่ มีสมาชิกอยู่ในสหกรณ์ 65 ฟาร์ ม ด� ำ เนิ น กิ จ การโดยใช้ แรงงานภายใน ครอบครัวเป็นหลัก น�ำ้ พุรอ้ นสันก�ำแพง แต่กอ่ นอยูใ่ นเขตอ�ำเภอ สันก�ำแพง แต่ปัจจุบันอยู่ในเขตอ�ำเภอแม่ออน เป็ น แหล่ ง น�้ ำ พุ ร ้ อ นที่ มี ชื่ อ เสี ย งของจั ง หวั ด เชียงใหม่ บรรยากาศร่มรื่น สวยงาม ล้อมรอบ ไปด้วยภูเขาธรรมชาติ ดอกไม้นานาพรรณ ตืน่ ตา ตืน่ ใจกับน�ำ้ พุรอ้ นอุณหภูมถิ งึ 100 องศาเซลเซียส น�ำ้ ร้อนเดือดพล่านพุง่ ขึน้ จากใต้ดนิ สูงถึง 15 เมตร 70

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

โครงการหลวงตีนตก

สหกรณ์ โคนมอ�ำเภอแม่ออน

ถ�้ำเมืองออน

น�้ำพุร้อนสันก�ำแพง

ถ�้ำเมืองออน ตั้งอยู่บนเนินเขาในบริเวณ พื้ น ที่ ข องวั ด ถ�้ ำ เมื อ งออน มี หิ น งอกหิ น ย้ อ ย ภายในโถงถ�ำ้ ทีก่ ว้างขวางมีพระธาตุนมผาเป็นจุด ส�ำคัญ ลักษณะเป็นหินงอกที่ภายในมีแท่งหิน ที่บรรจุ “พระเกศาธาตุ” ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถือเป็นพระธาตุที่แปลกไม่มีที่ไหน เหมือนเพราะบรรจุอยู่ในหินปูนที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ โครงการหลวงตีนตก เมื่อปี พ.ศ. 2524 ในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานพระราช ทรัพย์สว่ นพระองค์เป็นค่าใช้จา่ ยส�ำหรับก่อสร้าง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตกเป็นศูนย์สาธิต และส่งเสริมการเพาะเห็ดหอม รวมทั้งส่งเสริม

การปลูกกาแฟอาราบิก้าเพื่อเป็นอาชีพให้แก่ ราษฎรในพื้นที่ นอกเหนือจากการท�ำอาชีพเดิม คือ การปลูกเมีย่ ง ต่อมาจึงได้เริม่ น�ำพืชเขตหนาว ชนิดอื่น ๆ เข้ามาส่งเสริมแก่เกษตรกรในพื้นที่ ปลูกมากขึ้น บ้านแม่ก�ำปอง เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ที่ซ่อนตัว อยู ่ ท ่ า มกลางป่ า เขาเขี ย วขจี มี ล� ำ ธารใสเย็ น ไหลพาดผ่าน ความสุขของการมาท่องเที่ยว หมู่บ้านแม่ก�ำปอง คือ การได้มาสัมผัสอากาศ บริสุทธิ์ความเป็นธรรมชาติของป่าไม้ ล�ำธาร และวิถชี วี ติ ความเป็นอยูข่ องชาวบ้านทีย่ งั คงอยู่ ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างลงตัว


อ� ำ เภอแม่ อ าย

วัดท่าตอน

พระธาตุปูแช่ อุทยานดอยผ้าห่มปก

น�้ำพุร้อนมะลิกา

“เมืองเจ้าแม่มะลิกา เด่นสง่าวัดท่าตอน น�ำ้ พุรอ้ นเมืองงาม ล่องแพตามล�ำน�ำ้ กก ดอยผ้าห่มปกบังเงา ชนชาวเขา หลากหลาย มากมายด้วยผลไม้” อ�ำเภอแม่อาย ตั้งอยู่ในบริเวณเมืองโบราณ ที่ ชื่ อ เวี ย งมะลิ ก า เป็ น อ� ำ เภอที่ ตั้ ง อยู ่ ท าง ตอนเหนื อ สุ ด ของจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ห่ า งจาก ตัวเมืองประมาณ 174 กิโลเมตร มีพรมแดน ติ ด กั บ ประเทศพม่ า และจั ง หวั ด เชี ย งราย ช่วงฤดูหนาว เป็นช่วงฤดูแห่งการท่องเที่ยว แหล่งท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม ที่ดึงดูดให้คนเข้ามาเยี่ยมเยือนอ�ำเภอนี้ เช่น พระธาตุสบฝาง, พระธาตุดอยน�ำ้ ค้าง, พระธาตุ ปูแช่, อนุสาวรีย์เจ้าแม่มะลิกา นอกจากนี้ยังมี แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ เช่น ล่องเรือล�ำน�ำ้ กก ดอยลาง และที่พลาดไม่ได้คือ การกางเต็นท์ ชมวิวทะเลหมอก และดอกพญาเสือโคร่งหรือ ซากุระเมืองไทย ที่โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ บนดอยผ้าห่มปก วั ด ท่ า ตอน เป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่บนยอดเขาเนื้อที่กว่า 425 ไร่

พระธาตุสบฝาง

อนุสาวรีย์พระนางมัลลิกา

แยกเป็นพื้นที่ตั้งวัดและเขตอุทยานพุทธศาสนา มีทั้งหมด 9 ชั้น ชั้นบนสุดเป็นพระเจดีย์แก้ว ที่ ส วยงาม และสามารถมองเห็ น วิ ว ของ เมื อ งท่ า ตอน, อนุ ส าวรี ย ์ พ ระนางมั ล ลิ ก า เป็นพระธิดาของพระเจ้าฝางอุดมสินและพระนาง สามผิว ได้น�ำไพร่พลเข้าช่วยพระบิดาต่อสู้กับ พม่าที่ยกทัพเข้ามาตี เมืองฝาง เมื่อ พ.ศ. 2172 เป็นเวลานานถึง 3 ปี ก่อนจะเสียเมืองให้กบั พม่า ต่อมาได้มีการสร้างอนุสาวรีย์ขึ้นเพื่อร�ำลึกถึง คุณงามความดีของพระนาง และเป็นทีเ่ คารพสักการะ ของชาวแม่อายจนตราบเท่าทุกวันนี้, ล่องแพ แม่นำ�้ กก เป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทย และ ชาวต่างประเทศ เพือ่ ชมทัศนียภาพทีง่ ดงาม และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ริมแม่นำ�้ กก, น�้ำพุร้อน เมืองงาม มีชอื่ เป็นทางการว่า “น�ำ้ พุรอ้ นมะลิกา” อยู่ในบริเวณของหมู่บ้านเมืองงาม (หมู่บ้าน

กะเหรี่ ย ง) ต� ำ บลท่ า ตอน ห่ า งจากถนน สายแม่อาย-แม่จัน ประมาณ 50 เมตร ลักษณะ เป็นแอ่งน�ำ้ ติดกับเนินเขา เป็นบ่อน�ำ้ ร้อนทีเ่ กิดขึน้ เอง ตามธรรมชาติ โดยจะมีนำ�้ ร้อนอุณหภูมสิ งู ถึง 80 องศาเซลเซียส โพยพุ่งออกมา เป็นบ่อ ๆ ดอยผ้าห่มปก ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ ดอยฟ้าห่มปก มีความสูง 2,285 เมตร เป็นยอดดอย ที่สูงเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย สภาพป่า มีความสมบูรณ์ ชุกชุมไปด้วยสัตว์ป่านานาชาติ เช่น เก้ง, หมีควาย , เลียงผา และผีเสื้อ ทีใ่ กล้จะ สู ญ พั น ธุ ์ จ ากประเทศไทยแล้ ว คื อ ผี เ สื้ อ ไกเซอร์อมิ พีเรียล นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมท่องเทีย่ ว ทีน่ า่ สนใจหลากหลาย เช่น การชมดอกไม้ปา่ ดูนก ดูผีเสื้อ ดูดาว อาบน�้ำแร่ อบไอน�ำ้ แร่เพื่อสุขภาพ นวดแผนไทย เดินป่า ปั่นจักรยานเสือภูเขา ตั้งแคมป์ พักแรม และชมทะเลหมอก CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

71


อ� ำ เภอเวี ย งแหง “พระธาตุแสนไหเป็นศรี ประเพณีหลายเผ่า ชมทิวเขาสุดสยาม งามล�้ำค่าฟ้าเวียงอินทร์” อ� ำ เภอเวี ย งแหง ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นเมืองหน้าด่านของเชียงใหม่ มาตั้ ง แต่ ส มั ย โบราณ เนื่ อ งจากมี อ าณาเขต ด้านทิศเหนือติดต่อกับประเทศเพือ่ นบ้าน (เมียนมาร์) เดิมเป็นต�ำบลขึ้นอยู่กับอ�ำเภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม่ มีลักษณะเป็นเมืองปิด การคมนาคม ขนส่งยากล�ำบาก ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็น กิง่ อ�ำเภอเวียงแหง และมีพระราชกฤษฎีกาตัง้ เป็น อ�ำเภอเวียงแหง เมือ่ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2536 จากการทีเ่ ป็นเมืองหน้าด่าน มีพนื้ ทีร่ าบสลับ ป่าเขาสูง และติดต่อกับประเทศเพือ่ นบ้าน ท�ำให้ ได้รับอิทธิพล วัฒนธรรมประเพณี จากกลุ่ม ชาติพันธุ์ที่หลากหลาย รวมถึงแหล่งท่องเที่ยว ที่น่าสนใจกระจายอยู่ทั่วไป เช่น วัดพระธาตุแสนไห เป็นที่ตั้งพระบรมธาตุ ที่บรรจุ ”พระเขี้ยวแก้ว” ของพระพุทธเจ้า และ มี ต�ำ นานเล่ า สืบ ต่อ ๆ กันมาว่าภายใต้ภูเขา ทีป่ ระดิษฐานพระบรมธาตุมถี ำ�้ ภายในถ�ำ้ มีทรัพย์ สมบัติอันมีค่านานาประการนับประมาณมูลค่า ได้ถงึ แสนไห จึงได้ชอื่ ว่า “พระบรมธาตุแสนไห” โครงการหลวงดอยแปกแซม หรือ สถานี สาธิตและถ่ายทอดการเกษตร ป่าไม้ สิง่ แวดล้อม อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริบ้านแปกแซม ณ บ้านเปียงหลวง ต�ำบลเปียงหลวง อ�ำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานีสาธิตและถ่ายทอด การเกษตร ป่าไม้ สิง่ แวดล้อม เป็นแหล่งถ่ายทอด เทคโนโลยีดา้ นการเกษตรแก่ราษฎรทีม่ าท�ำงาน ในสถานี วัดฟ้าเวียงอินทร์ มีลักษณะสถาปัตยกรรม แบบไทยใหญ่ สมัยก่อนบริเวณบ้านหลักแต่งนี้ ถือเป็นเขตอิทธิพลของขุนส่า อาณาเขตของวัดนี้ จึงนับเป็นดินแดนเดียวกัน แต่เมื่อขุนส่ามอบตัว แก่รัฐบาลทหารพม่า ดินแดนของวัดจึงถูกแยก เป็นสองส่วน มีเจดีย์สีเหลืองทองอร่ามอยู่ใน แดนไทย และจะมองเห็นหลังคาโบสถ์สีแดงทรง ไทยใหญ่อยู่ในฝั่งพม่า ด้านหลังเป็นศาลสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชชาวบ้านจะให้ความเคารพมาก และที่เชิงเขาด้านหลังเป็นสุสานนายพลโมเฮง อดีตผู้น�ำชาวไทยใหญ่ที่นี่ 72

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดพระธาตุแสนไห

วัดฟ้าเวียงอินทร์

น�้ำตกแม่หาด ตั้งอยู่ในบ้านแม่หาด หมู่ 1 ต�ำบลเมืองแหง อ�ำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติห้วยน�้ำดัง มี 4 ชั้น ความสูงประมาณ 40-50 เมตร กว้างประมาณ 8-10 เมตร มีนำ�้ ไหลผ่านหน้าผา มีแอ่งน�้ำให้ได้ เล่ น พื้ น ที่ โ ดยรอบปกคลุ ม ด้ ว ยป่ า ดิ บ ชื้ น และ โขดหินสวยงาม เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญแห่งหนึ่ง ของอ�ำเภอเวียงแหงในช่วง หน้าร้อนจะเป็นสถานที่ ๆ ผู้คนนิยมไปเที่ยวกันมาก

น�้ำตกแม่หาด

โครงหลวงดอยแปกแซง


อ� ำ เภอสะเมิ ง “สตรอเบอรีร่ สเยีย่ ม ภูเขาสูงเทียมฟ้า ดอกไม้พันธุ์นานา บรรยากาศสวิสฯ เศรษฐกิจพอเพียง” อ�ำเภอสะเมิง เป็นอ�ำเภอเล็ก ๆ ภายใต้ อ้อมกอดของขุนเขา เป็นแหล่งปลูกสตรอเบอรี่ อันขึน้ ชือ่ ของจังหวัดเชียงใหม่ ทีน่ ไี่ ม่ได้มดี เี พียงแค่ การเป็นแหล่งปลูกสตรอเบอรี่เท่านั้น แต่ยังมี แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ให้ไปเที่ยวชมอีกมากมาย อาทิ ทุ่งดอกเก๊กฮวย บ้านอมลอง ทุ่งดอกเก๊กฮวยสีขาวสวยบริสุทธิ์ ซึ่งจะบานสะพรั่งในทุกฤดูหนาวที่บ้านอมลอง ต� ำ บลแม่ ส าบ ที่ มี ก ารปลู ก ตามพื้ น ที่ สั น เขา ลดหลั่นกันลงมา สวยงามมาก, จุดชมทิวทัศน์ ป่าสะเมิง เป็นจุดที่สามารถชมความสวยงาม อุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ในอ�ำเภอสะเมิงได้แบบ กว้างไกล ทั้งทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้น ในตอนเช้ า และชมความงามไม่ แ พ้ กั น ของพระอาทิตย์ตกในตอนเย็น, สบสะเมิง อุทยาน แห่งชาติออบขาน เป็นจุดทีแ่ ม่นำ�้ สองสายไหลมา บรรจบกัน คือ แม่น�้ำขานและแม่น�้ำสะเมิง ซึ่ง ทัง้ สองฟากฝัง่ ของล�ำธารมีโขดหินน้อยใหญ่ รูปร่าง สวยงามแปลกตามากมาย, ถ�้ำหลวงแม่สาบ เป็นถ�ำ้ ซึง่ มีหนิ งอกหินย้อยงดงาม บริเวณด้านหน้า ปากถ�้ ำ จะมี ลั ก ษณะเป็ น เพดานสู ง มี ช ่ อ ง อยูด่ า้ นบน คล้ายกับปากปล่องภูเขาไฟ ส่วนด้านใน จะมี ถ�้ ำ ขนาดกลางอยู ่ 2 ชั้ น เต็ ม ไปด้ ว ย

ถ�้ำหลวงแม่สาบ

ทุ่งเก๊กฮวย

สเตอร์เบอร์รี่สะเมิง

พระธาตุดอยผาส้ม

ปอเทือง

ศูนย์วิจัยข้าว

หิ น งอกหิ น ย้ อ ย และยั ง เป็ น สถานที่ อ าศั ย ของค้างคาวด้วย, ศูนย์วจิ ยั ข้าวสะเมิง ก่อตัง้ ขึน้ ตามพระราชประสงค์ของในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถานีทดลองข้าวไร่ และธัญพืชเมืองหนาว มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 308 ไร่ ซึ่งมีทั้งแปลงทดลองและผลิตเมล็ดพันธุ์ ป่าต้นน�้ำ สนามหญ้า แปลงไม้ดอกไม้ประดับ, วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม ตั้งอยู่บนดอยสูง ในเขตรอยต่อต�ำบลแม่สาบและต�ำบลยั้งเมิน เป็นที่ตั้งของพระบรมธาตุ ที่ด้านในนั้นบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ สร้างขึ้นโดยครูบาศรีวิชัย และ ครูบาอุปาละ ต่อมาก็ได้มกี ารบูรณะขึน้ ใหม่ ให้เป็นพระมณฑปจตุรมุขสวยงาม, พระธาตุดอยนก อีกหนึง่ สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิข์ องอ�ำเภอสะเมิง ตัง้ อยู่ บนยอดเขา ด้านบนมีพระธาตุสีขาวสวยงาม ตัง้ อยูใ่ ห้ชาวบ้านและนักท่องเทีย่ วได้มากราบไหว้ ขอพร และเป็นจุดชมวิวทะเลหมอก พระอาทิตย์ขนึ้ ที่ ส วยงามมากที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของสะเมิ ง , น�ำ้ พุรอ้ นโป่งกวาว เป็นบ่อน�ำ้ พุรอ้ นจากธรรมชาติ มีการจัดท�ำพื้นที่ให้เหมาะสมต่อการลงแช่น�้ำแร่ ของนักท่องเที่ยว และปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ บริเวณน�ำ้ พุรอ้ นให้สวยงาม, ดอยนก ฟาร์มสเตย์ ที่มีวิวสวยงาม โอบล้อมด้วยป่าไม้และภูเขา เป็นแหล่งชมดอกไม้และสตรอเบอรี่ ในช่วงฤดูฝน ก็จะมี ทุง่ ปอเทืองให้เทีย่ วชม และในช่วงฤดูหนาว จะเป็นไร่สตรอเบอรี่

จุดชมวิวป่าสะเมิง

น�้ำพุร้อนโป่งกราว

พระธาตุดอยนก CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

73


อ� ำ เภอสั น ก� ำ แพง “ทิวทัศน์ขึ้นชื่อ เลื่องลือคนงาม เขตคามโคนม ชื่นชมหัตถกรรม” สันก�ำแพง เป็นอ�ำเภอที่อยู่ติดกับอ�ำเภอ เมืองเชียงใหม่มชี อื่ เสียงในด้านการทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย การท�ำร่มและการท�ำกระดาษสา นอกจากนั้น ยังมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วและพักผ่อนหย่อนใจทีข่ นึ้ ชือ่ อยู่หลายแห่ง เช่น น�ำ้ พุร้อนสันก�ำแพง หมู่บ้าน ท� ำ ร่ ม บ่ อ สร้ า ง หมู ่ บ ้ า นกระดาษสาต้ น เปา ป่าดงปงไหว การเดินทางมาอ�ำเภอสันก�ำแพง ท�ำได้หลายวิธกี ารเนือ่ งจากมีความสะดวกสบาย ในการเดินทางมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นรถสองแถว รถมอเตอร์ไซค์ หรือการขับรถยนต์ น�้ำพุร้อนสันก�ำแพง

วัดป่าตึง (ครูบาหล้า)

หมู่บ้านร่มบ่อสร้าง

หมู่บ้านกระดาษสาต้นเปา

น�้ำพุร้อนสันก�ำแพง เป็นแหล่งน�้ำพุร้อน ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของเมื อ งเชี ย งใหม่ ม าเนิ่ น นาน ปัจจุบันมีการบริหารงานในรูปแบบของสหกรณ์ ให้ชาวบ้านในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม สถานที่ มีความร่มรืน่ สวยงามและน่าตืน่ ตาตืน่ ใจกับน�ำ้ พุรอ้ น ที่พุ่งสูงขึ้นมาจากใต้ดินถึงกว่า 15 เมตร ทุกวัน จะมี นั ก ท่ อ งเที่ย วเดินทางไปเที่ย วชมกันเป็น จ�ำนวนมาก, พิพธิ ภัณฑ์บา้ นจ๊าง นักก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิรยิ ะ ซึง่ ได้รวบรวม ช่างแกะสลักฝีมือดีและมีความรักในศิลปะการ แกะสลักไม้แบบล้านนาแกะสลักขึ้นมา โดยการ พัฒนารูปแบบการแกะสลักช้างให้มีท่าทางและ อิ ริ ย าบถที่ เ หมื อ นช้ า งจริ ง ๆ เป็ น แห่ ง แรก 74

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ป่าดง ปงไหว

ที่มีการใช้วัสดุใหม่ๆ ที่มีในท้องถิ่นมาทดแทน วัสดุเดิมที่นับวันจะหายากมากขึ้น, หมู่บ้านร่ม บ่อสร้าง เป็นหมูบ่ า้ นผลิตร่มทีม่ ชี อ่ื เสียงและเป็น ที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาซื้อหาเป็น ของที่ระลึกเสมอ เนื่องจากมีสีสันและลวดลาย สวยงามสะดุดตา มีทั้งหมด 3 ชนิดด้วยกันคือ ร่มท�ำด้วยผ้าแพร ผ้าฝ้าย และกระดาษสา, หมู ่ บ ้ า นกระดาษสาต้ น เปา เป็ น แหล่ ง ผลิ ต กระดาษสาทีม่ ชี อื่ เสียงของเชียงใหม่ มานานกว่า

พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊าง

100 ปี เป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาจากชนเผ่า ไทยเขินซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวต้นเปาที่ได้ อพยพมาจากสิบสองปันนา เชียงตุง และเชียงรุง้ , วัดป่าตึง ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลออนใต้ อ�ำเภอสันก�ำแพง สร้างขึ้นเมื่อปี 2485 บริเวณวัดมีเจดีย์บรรจุ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ แ ละของมี ค ่ า มากมาย รวมถึ ง ศิ ล าจารึ ก และเตาเผาเครื่ อ งสั ง คโลก กระจายอยู่ทั่วไป อีกทั้งมีพระพุทธรูปส�ำคัญ ได้แก่ พระเจ้าฝนแสนห่า และหลักศิลาจารึก ของหมื่นดาบเรือน ที่ได้น�ำมาจากวัดเชียงแสน (วัดร้าง) โดยน�ำมาเก็บรักษาไว้ทนี่ ดี่ ว้ ย, ป่าดงปงไหว เป็นเขตดินพรุที่ชุ่มน�้ำ มักเกิดขึ้นในแหล่งชุ่มชื้น หรือเขตป่าไม้ ที่อุดมสมบูรณ์ เมื่อเดินหรือขย่ม ผิวดินจะสะเทือนไหว และเกิดเป็นแผ่นดินดูดได้ ป่ า ดงปงไหวตั้ ง อยู ่ ร ะหว่ า งหมู ่ บ ้ า นม่ ว งเขี ย ว หมู่ที่ 4 ต�ำบลร้องวัวแดง และบ้านป่าตึง หมู่ที่ 7 ต�ำบลห้วยทราย ซึ่งเป็นป่าหนาทึบ ไม่ปรากฏ หลักฐานความเป็นมาที่ชัดเจน


อ� ำ เภอสั น ทราย

ป่าอนุรักษ์บ้านโปง

พระธาตุจอมกิตติ

“เกษตรดี สตรีสวย รวยหมาก ของฝากข้าวแต๋น แน่นแฟ้นคุณธรรม” สั น ทราย เป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ที่ มี ก ารเติ บ โต อย่างรวดเร็ว เพือ่ รองรับความเจริญจากนครเชียงใหม่ ปัจจุบนั มีสถานะเป็นอ�ำเภอขนาดใหญ่ลำ� ดับที่ 2 ของจังหวัดในแง่ของจ�ำนวนประชากรและสถาน ประกอบการที่ มี ม าก รองจากอ� ำ เภอเมื อ ง เชียงใหม่จากการเจริญเติบโต และการขยายตัว ของชุมชนโดยเฉพาะชุมชนเมืองแม่โจ้ ท�ำให้ อ� ำ เภอสั น ทรายมี ค วามพร้ อ มในทุ ก ๆ ด้ า น ทั้งสถานศึกษา สถานประกอบการ บ้านจัดสรร จึ ง ถู ก ก� ำหนดบทบาทให้เป็นที่รองรับ ในด้าน แหล่งที่อยู่อาศัยที่ส�ำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งนอกจากการเป็นอ�ำเภอที่รองรับความเจริญ และการขยายตั ว ของนครเชี ย งใหม่ แ ล้ ว อ� ำ เภอสั น ทรายยั ง มี ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม และ สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่ วัดพระธาตุ จอมกิ ต ติ เป็ น วัด เก่าแก่สร้างในสมัยเจ้าแม่ จามเทวี เมื่อ พ.ศ. 2478 เป็นที่ประดิษฐาน ของพระเจดีย์ รูปทองปราสาท ภายในบรรจุ

พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง

วัดดอยแทนพระผาหลวง

พระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า สร้างตามแบบ สถาปั ต ยกรรมล้ า นนาก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ กั บ ปู น , พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านที่เก็บ รวบรวมเครือ่ งใช้ ของคนล้านนาไว้มากมาย บาง ชิ้นหาดูยากมาก เกิดจากแนวคิดของพระครู โกวิทธรรมโสภณ (ศรีผ่อง โกวิโท) เจ้าอาวาส วัดร้องเม็ง ที่มีความตั้งใจจะอนุรักษ์ของเก่า ของโบราณไว้ให้คนรุน่ หลังได้ศกึ ษา, วัดดอยแทน พระผาหลวง เป็นวัดเก่าแก่สร้างในสมัยพระเจ้า กือนา เป็นวัดทีม่ ี ป่าไม้อดุ มสมบูรณ์ มีความวิเวก สันโดษเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม สิ่งที่น่าสนใจ ของวัดนี้ คือ องค์พระประธานขนาดใหญ่ทสี่ ร้าง ในสมัยเชียงแสนยุคต้นโยนกนคร ซึ่งมีลักษณะ

หันหลังให้กับประชาชน เป็นที่อัศจรรย์ใจยิ่ง, ป่าอนุรกั ษ์บา้ นโปง เป็นป่าทีม่ หาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ขอเข้าท�ำประโยชน์ในเขตพื้นที่ป่าไม้ เมื่อปี 2535 เพื่ อ การศึ ก ษาและพั ฒ นาพื้ น ที่ ป ่ า ตามพระราชด�ำริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ตั้งอยู่ ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าสันทรายท้องที่ต�ำบล หนองหาร และต�ำบลป่าไผ่ อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือ้ ที่ 3,686 ไร่ มีลกั ษณะเป็น ป่ า เต็ ง รั ง มี ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยแมกไม้นานาพรรณ มีสตั ว์ปกี นก แมลง ทีส่ วยงาม เหมาะแก่การศึกษาธรรมชาติ และเป็นแหล่งอาหารจากป่าให้กับคนในพื้นที่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

75


อ� ำ เภอสั น ป่า ตอง

เวียงท่ากาน

วัดป่าเจริญธรรม

“พระนอนใหญ่ศักดิ์สิทธิ์ งามวิจิตรเวียงท่ากาน ต�ำนานหนองสะเรียม ดีเยี่ยมพันธุ์ขา้ วเหนียว กลมเกลียวชาติพันธุ์ มหัศจรรย์ไม้แกะสลัก” ค�ำว่า “สันป่าตอง” เป็นชื่อที่ตั้งตามชื่อ หมู่บ้าน ซึ่งในขณะนั้นคือหมู่บ้านสันป่าตอง ค�ำว่า “สัน” คือพื้นที่มี ลักษณะภูมิประเทศ เป็นทีด่ อน และค�ำว่า “ป่าตอง” มาจากป่า ต้นตอง หรื อ ชื่ อ สามั ญ คื อ ต้ น ทองหลาง ซึ่ ง ต้ น ตอง เป็นต้นไม้พุ่มขนาดใหญ่ บริเวณล�ำต้นมีหนาม และดอกมีสีเหลือง ซึ่งขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมากใน พื้นที่ จึงเป็นที่มาของค�ำว่า สันป่าตอง อ� ำ เภอสั น ป่ า ตอง เป็ น หนึ่ ง ในพื้ น ที่ ของจังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ไปทางทิศใต้ ประมาณ 22 กิโลเมตร เป็นอ�ำเภอ ที่ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาที่ น ่ า สนใจและยั ง คง หลงเหลื อ หลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ ใ ห้ คนรุน่ หลังได้ศกึ ษา รวมถึงสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วอืน่ ๆ ซึ่งนักท่องเที่ยวมักจะแวะเวียนมาเยี่ยมเยือน มาเสมอ สถานทีท่ นี่ า่ สนใจของอ�ำเภอสันป่าตอง ได้แก่ วัดป่าเจริญธรรม มีพระนอนที่ใหญ่ที่สุด ในภาคเหนือประดิษฐานอยู่ มีความสูง 9.9 เมตร ยาว 69 เมตร และมีสถานทีเ่ ป็นแหล่งสอนธรรมะ มี รู ป ปั ้ น และรู ป วาดต่ า ง ๆ ในสมั ย อดี ต , โบราณสถานเวียงท่ากาน ตั้งอยู่ในเขตชุมชน บ้านท่ากาน มีกำ� แพงและคูเมืองล้อมรอบเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง 500 เมตร 700 เมตร 76

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ่างเก็บน�้ำหนองสะเรียม

สร้างขึ้น เมื่อราวพุท ธศตวรรษที่ 16 ในสมัย พระเจ้ า อาทิ ต ยธรรมิ ก ราช กษั ต ริ ย ์ แ ห่ ง อาณาจั ก รหริ ภุ ญ ชั ย ปั จ จุ บั น ก� ำ แพงเมื อ ง บางส่วน กลายสภาพเป็นคันดิน บางส่วนถูกปรับ เป็นถนนภายในชุมชน, อ่างเก็บน�ำ้ หนองสะเรียม เป็นหนองน�้ำเพื่อการเกษตรขนาดใหญ่ มีพื้นที่ ประมาณ 150 ไร่ ได้ รั บ การพั ฒ นา จาก ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และองค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น พั ฒ นาเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและ พักผ่อนหย่อนใจ, หมูบ่ า้ นแกะสลักบ้านกิว่ แลน้อย งานแกะสลักไม้ของหมูบ่ า้ นกิว่ แลน้อยได้รบั การ สื บ ทอดจากรุ ่ น สู ่ รุ ่ น มาเกื อ บ 6 ทศวรรษ ภูมปิ ญ ั ญาการแกะสลักไม้ของหมูบ่ า้ นกิว่ แลน้อย มี ทั้ ง หมด 3 แขนงด้ ว ยกั น เริ่ ม แรกนั้ น คื อ

หมู่บ้านแกะสลักบ้านกิ่วแลน้อย

การแกะสลักช้าง ตามด้วยการแกะสลักแผ่นไม้ ลายไทยและวิถีชีวิตชนบท ต่อด้วยการแกะสลัก ภาพพุทธประวัติและวรรณคดีต่าง ๆ ปัจจุบัน หมูบ่ า้ นกิว่ แลน้อย ถือเป็นหมูบ่ า้ นต้นแบบในการ แกะสลั ก ไม้ เป็ น ที่ ตั้ ง ของศู น ย์ หั ต ถกรรม การแกะสลักไม้แห่งอ�ำเภอสันป่าตอง ซึง่ จะมีครูชา่ ง สาธิ ต และสอนการแกะสลั ก ให้ แ ก่ ผู ้ ที่ ส นใจ มีบริการบ้านพัก โฮมสเตย์รบั รองผูม้ าเยือนอีกด้วย


อ� ำ เภอสารภี

เวียงกุมกาม

ถนนสายต้นยาง

“ต้นยางใหญ่ ล�ำไยหวาน เมืองโบราณเวียงกุมกาม พระนอนบวรงาม เชิดชูนามสารภี” “สารภี ” อ� ำ เภอที่ อ ยู ่ ท างด้ า นทิ ศ ใต้ ของเมืองเชียงใหม่ เป็นทั้งย่านที่อยู่อาศัยและ อยู่ใกล้แหล่งงาน โดยเฉพาะสถานประกอบการ และอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีสัญลักษณ์เป็นที่ รู ้ จั ก กั น ดี คื อ “ถนนสายต้ น ยาง” หรื อ ถนนเชียงใหม่ - ล�ำพูนสายเก่า ที่มีต้นยางนา อายุกว่า 120 ปี เรียงรายตลอดสองข้างทาง นอกจากนั้น ยังมีโบราณสถาน “เวียงกุมกาม” หรือ “นครใต้พิภพ” ซึ่งเป็นเมืองหลวงในอดีต ของอาณาจักรล้านนา ที่พญามังรายได้สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 1829 แม้ เ มื่ อ ความเจริ ญ ของเมื อ งเริ่ ม กระจาย มาสู่พื้นที่อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน แต่ความ งดงามและความมี เ อกลั ก ษณ์ ข องต้ น ยางนา รวมถึงโบราณสถานยังคงความมีเสน่ห์ ทั้งการ เป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย และด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว เช่ น เวียงกุมกาม เป็นเมืองโบราณ ที่พญามังราย สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1829 โดยให้ขุดคูเวียงขึ้น ทั้ง 4 ด้าน ไขน�ำ้ ปิงมาขังไว้ ก่อนที่จะถูกน�้ำท่วม จมอยู่ในตะกอนดินเป็นเวลานาน และภายหลัง ได้ ขุ ด ค้ น พบรวมถึ ง ท� ำ การบู ร ณะและพั ฒ นา ภูมทิ ศั น์โดยรอบ จนกลายมาเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว

วัดพระนอนป่าเก็ดถี่

ที่ ส ามารถนั่ ง รถม้ า หรือจะนั่งรถรางไฟฟ้า ชมโบราณสถานพร้อม การบรรยายของ มั ค คุ เ ท ศ ก ์ ก็ ไ ด ้ , วัดพระนอนป่าเก็ดถี่ มี พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ปางไสยาสน์องค์ใหญ่ แห่ ง เดี ย วซึ่ ง อยู ่ ใ น ท่าปรินิพพาน ด้านใน พระเศียรของพระพุทธรูป ประดิษฐานพระเกศา ของพระพุทธเจ้า, วัดพระนอนหนองผึ้ง เป็น วัดที่สร้างขึ้นในสมัย พระนางเจ้าจามเทวี เมื่อปี พ.ศ. 1200 เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปางไสยาสน์ (พระนอน) องค์ใหญ่ และพระพุทธรูป ปางมารวิชัย (พระเจ้าทันใจ) ขนาดหน้าตัก กว้าง 3 ศอก 1 คืบ ในสมัยที่พญามังรายได้สร้าง “เวียงกุมกาม” และได้อปุ ถัมภ์วดั นี้ จนถือเป็น วัดส� ำ คั ญ วั ด หนึ่ ง ในสมั ย นั้ น และมี ป ระเพณี

วัดพระนอนหนองผึ้ง ถนนคนเดินยางเนิ้ง

นมั ส การสรงน�้ำปิดทองพระนอน ในวันเพ็ญ เดื อ นแปดเหนื อ ทุ ก ปี ต ่ อ มาจนปั จ จุ บั น นี้ , ถนนคนเดินยางเนิง้ เปิดให้บริการทุกวันเสาร์ บนถนนสายเชียงใหม่ - ล�ำพูน ตั้งแต่ที่ว่าการ อ� ำ เภอสารภี ไ ปจนถึ ง วัดแสนหลวง จะมีการ ปิดถนนท�ำเป็นถนนคนเดิน โดยสามารถเดิน เลือกซื้อสินค้าหัตถกรรมหลากหลายรูปแบบ โดยเป็นสินค้าพื้นเมืองจากผู้ผลิดโดยตรง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

77


อ� ำ เภอหางดง

บ้าน100 อัน 1000 อย่าง

วัดต้นเกว๋น

ออบขาน

สวนกุหลาบห้วยผักไห่ / โครงการหลวงทุ่งเริง

“เศรษฐกิจดีสตรีแสนสวย ร�ำ่ รวยหัตถกรรม วัฒนธรรมมัน่ คง หางดงพัฒนาประชาแจ่มใส” อ�ำเภอหางดง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัด เชียงใหม่ ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นเมืองที่มี ความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และความพร้อม ในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจและการจราจร ทีค่ บั คัง่ ปัจจุบนั ลักษณะทางกายภาพของอ�ำเภอ หางดง มีความผสมกลมกลืนกับเมืองเชียงใหม่ จนเรี ย กได้ ว ่ า เป็ น เมื อ งเดี ย วกั น เป็ น เมื อ งที่ รองรับความเจริญของเมืองเชียงใหม่เพื่อขยาย ไปยังศูนย์กลางทางตอนใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ อีกด้วย เนื่องจากเป็นอ�ำเภอที่อยู่ติดกับเมือง เชียงใหม่ การเดินทางไปมาสะดวก และมีสถานที่ ท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลายแห่ง จึงท�ำให้อ�ำเภอ หางดงมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเดิ น ทางไปเยี่ ย มเยื อ น อยู ่ เ สมอ ไม่ ว ่ า จะเป็ น วั ด ต้ น แกว๋ น หรื อ 78

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดอินทราวาส เป็นวัดเก่าแก่และมีความส�ำคัญ กับชาวล้านนาด้วยเป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรม อันทรงคุณค่า โดยเฉพาะวิหารไม้อันโดดเด่น ใจกลางวั ด มี ลั ก ษณะเป็ น วิ ห ารแบบล้ า นนา ดั้งเดิม รายล้อมไปด้วยการตกแต่งและแกะสลัก ลวดลายอย่ า งประณี ต บรรจง ฐานเป็ น ปู น แต่โครงสร้างทัง้ หมดเป็นไม้ ซึง่ เป็นเพียงวัดเดียว ที่ยังคงมีวิหารแบบล้านนาที่สวยสมบูรณ์แบบ และเป็ น ต้ น แบบของหอค� ำ หลวงที่ ตั้ ง อยู ่ ที่ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ด้วย, ศูนย์หัตถกรรมไม้ แกะสลักบ้านถวาย ที่น่ีเป็นชุมชนแกะสลักไม้ สวยงามที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของเมื อ งไทย ชาวบ้ า นในชุ ม ชนได้ ร ่ ว มกั น จั ด ตั้ ง พื้ น ที่ เ พื่ อ จ�ำหน่ายงานแกะสลักไม้และผลิตภัณฑ์ที่ท�ำขึ้น จากไม้เพือ่ จ�ำหน่ายให้ผทู้ สี่ นใจในราคาย่อมเยา, สวนกุหลาบห้วยผักไห่ โครงการหลวงทุ่งเริง สัมผัสความงามของสวนกุหลาบแบบอังกฤษ

ศูนย์หัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านถวาย

ซึ่ ง มี กุ ห ลาบหลากหลายสายพั น ธุ ์ แ ละสี สั น ให้ชมกันอย่างใกล้ชดิ ในยามทีก่ หุ ลาบออกดอก พร้อม ๆ กัน ก็จะสวยสะพรั่ง บรรยากาศคล้าย กับสวนกุหลาบในอังกฤษเลยทีเดียว, อุทยาน แห่งชาติออบขาน เป็นอุทยานแห่งชาติทมี่ เี นือ้ ที่ กว้างใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ส่วนหนึ่งของอ�ำเภอ หางดงด้วย มีลักษณะเป็น หุบเขาสูงใหญ่ ซึ่งมี ล�ำน�้ำขานไหลผ่าน แล้วกัดเซาะริมฝั่งที่เป็นหิน ให้มรี ปู ร่างสวยงามแปลกตา, บ้านร้อยอันพันอย่าง เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีน่ า่ สนใจอีกแห่งหนึง่ ของ อ�ำเภอหางดง ก่อตั้งโดยอาจารย์ชรวย ณ สุนทร มี ลั ก ษณะเป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ ร วบรวมผลงาน ไม้แกะสลักอันทรงคุณค่า งานแกะสลักแต่ละชิน้ มีความสวยงามละเมียดละไมในการท�ำบางชิ้น หายากมากบางชิ้นมีเพียงชิ้นเดียวในโลก เช่น ไม้แกะสลักเป็นรูปหัวพญาคชสาร ไม้ขเี้ หล็กสลัก ภาพครูบาศรีวิชัย และไม้แกะพญางิ้วด�ำ


อ� ำ เภออมก๋ อ ย

จุดชมวิวม่อนจอง

จุดชมวิวดอยมูเซอ

หน่วยจัดการน�้ำห้วยจิโน

“ดินแดนในหุบเขา ใต้ร่มเงาพระเจ้าแสนทอง ดอยม่อนจองสูงสง่า สัตว์ป่าล้วนมากมี ประเพณีหลายเผ่าพันธุ์” อมก๋อย มาจากค�ำว่า อ�ำกอย เป็นภาษาลัวะ (ละว้า) แปลว่าขุนน�้ำหรือต้นน�้ำ สันนิษฐานว่า หมายถึง ต้นน�้ำแม่ตื่นที่ไหลผ่านชุมชนเมือง

ดอยม่อนจอง

วัดแสนทอง

โบราณตามต�ำนานเมืองตื่นนันทบุรีที่ได้จารึกไว้ อ� ำ เภออมก๋ อ ย ตั้ ง อยู ่ ท างใต้ สุ ด ของจั ง หวั ด มีอาณาเขตติดกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน และตาก อีกทัง้ ยังมีแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ คี วามสวยงามหลายแห่ง เช่น ดอยม่อนจอง ดอยมูเซอ วัดแสนทอง ซึง่ เป็น วัดคู่บ้านคู่เมืองอมก๋อย เป็นต้น ดังนั้นในช่วง ฤดูหนาว จึงเป็นช่วงที่จะมีนักท่องเที่ยวเข้าไป เยี่ยมชมความงดงามตามฤดูกาลของอมก๋อย รวมถึงการมาสัมผัสการพักผ่อนอย่างสงบใกล้ชดิ ธรรมชาติและวิถีชีวิตของคนอมก๋อยอีกด้วย ดอยม่อนจอง เป็นยอดดอยที่สูงที่สุดติด 1 ใน 10 ของประเทศไทย มีลักษณะเป็นดอยหรือ เนิ น เขารู ป สามเหลี่ ย มทรงจั่ ว จุ ด สู ง สุ ด ของ ดอยม่อนจองเรียกว่า หัวสิงห์ เพราะมีลกั ษณะคล้าย หัวสิงโต มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 1,929 เมตร เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว ผู้ชอบ มาพิ ชิ ต ขุ น เขา เนื่ อ งจากมี ทุ ่ ง หญ้ า สี ท อง

ทีส่ วยงามอันดับต้นๆ ของประเทศไทย และมีปา่ ไม้ ที่ยังมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นที่อยู่ของสัตว์ป่า น้อยใหญ่และยังเป็นแหล่งต้นน�ำ้ อีกด้วย, วัดแสนทอง เป็ น วั ด เก่ า แก่ อ ายุ ห ลายร้ อ ยปี คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ ง อมก๋อย เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปส�ำคัญ คือ พระเจ้าแสนทอง พระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน สีเหลืองทองอร่ามเหลืองสวยงาม, จุดชมวิวดอย มูเซอ อยูห่ า่ งจากตัวอ�ำเภออมก๋อยประมาณ 40 กิโลเมตร มีความสูงจากระดับน�ำ้ ทะเลประมาณ 1,400 เมตร เป็นแหล่งปลูกกะหล�ำ่ ปลีขนาดใหญ่ ทีส่ ง่ ไปจ�ำหน่ายทัว่ ประเทศ โดยบนพืน้ ทีเ่ ขาลาดชัน และปลูกอย่างเป็นระเบียบ ท�ำให้มองดูแล้ว สวยงาม ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวเป็น อย่างมาก, หน่วยจัดการต้นน�้ำห้วยจิโน อยู่ใน หมู่ 17 (บ้านแม่ระมีดหลวง) ต�ำบลอมก๋อย อยู่สูงจากระดับน�้ำทะเล 1,300 เมตร มีทิวทัศน์ สวยงามเหมาะส�ำหรับการไปพักผ่อน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

79


อ� ำ เภอฮอด “ออบหลวงเลื่องลือชื่อ ชนยึดถือประเพณี สวนสนเขียวขจี ฮอดเป็นศรีรวมเผ่าชน” ฮอด เป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ท างตอนใต้ ของจังหวัดเชียงใหม่ รองรับความเจริญเติบโตจาก อ�ำเภอจอมทอง เดิมชื่ออ�ำเภอเมืองฮอด พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นทิวเขาในอดีตเป็นอ�ำเภอหนึ่งที่มี ความยากล�ำบากในการเดินทางมี หอนาฬิกาเป็น สัญลักษณ์ของอ�ำเภอ เป็นทางผ่านของผูเ้ ดินทางหรือ นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปจังหวัดแม่ฮ่องสอน เมืองฮอดจึงเป็นทีน่ า่ สนใจของนักเดินทางที่ชื่นชอบ ธรรมชาติที่มีมากมายหลายแห่ง อาทิ ออบหลวง เป็นผาหินพิงชนกัน ตรงกลาง มีแม่น�้ำแจ่มไหลผ่าน เป็นภาพที่สวยแปลกตา บริ เวณโดยรอบเคยเป็ น แหล่ ง ที่ อ ยู ่ ข องมนุ ษ ย์ โบราณ และหากเดินขึ้นภูเขาไป จะเห็นวิวภูเขา สวยงามในเส้ น ทางไปออบหลวง ถ้ า เป็ น ในฤดูร้อนก็จะพบกับพัทยาเมืองฮอดที่เล่นน�้ำ คลายร้อนนั่งซุ้มกินอาหารอร่อย สวนสนบ่อแก้ว เป็นพืน้ ทีท่ ดลองปลูกสนภูเขา ชนิดต่างๆ ที่กรมอุทยานแห่งชาติ ฯ น�ำพันธุ์ มาจากต่างประเทศ เช่น ออสเตรเลีย แอฟริกาใต้ ไต้หวัน เพื่อทดลองหาพันธุ์ที่เหมาะสมส�ำหรับ ปลู ก บนพื้ น ที่ ป ่ า เสื่ อ มโทรมทางภาคเหนื อ สนที่น�ำมาปลูกมีอายุมากกว่า 30 ปี มีจ�ำนวน หลายพันต้นเรียงรายเป็นระเบียบบนลานโล่งเตียน ศู น ย์ พั ฒ นาโครงการหลวงแม่ โ ถ ตั้ ง อยู ่ ในอ�ำเภอฮอด ที่โดดเด่นในเรื่องของวิวทิวทัศน์ ที่สวยงาม มีแปลงผักที่ตั้งอยู่ท่ามกลางทิวเขา หลากหลายชนิด เส้นทางไปยังโครงการหลวง แม่ โ ถนั้ น ขึ้ น ชื่ อ ว่ า งดงามที่ สุ ด อี ก เส้ น ทางหนึ่ ง ได้เห็นวิวของภูเขาผักและต้นไม้ทเี่ ขียวขจีเรียงรายกัน สลับซับซ้อนทีน่ เี่ ป็นแหล่งปลูกผักของโครงการหลวง ที่ใหญ่ที่สุดอีกแห่งหนึ่งด้วย ตลาดเช้าฮอด เป็นอีกหนึ่งสถานที่บงบอก วิถีชีวิตของชาวบ้านที่นี่ บรรยากาศของตลาด มี ค วามคึ ก คั ก ทั้ ง วั น ตั้ ง แต่ เช้ า จรดเย็ น เพราะมี แม่ค้าทั้งจากในตัวอ�ำเภอฮอด ดอยเต่า และดอย แม่ โ ถ สลั บ สั บ เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นมาขายสิ น ค้ า ตามฤดูกาล เช่น มะก่อ ข้าวฟืน ฯลฯ 80

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

สวนสนบ่อแก้ว

ออบหลวง

น�้ำตกแม่บัวค�ำ

น�้ำตกแม่บัวค�ำ เกิดจากล�ำห้วยแม่บัวค�ำ อยูใ่ นเขตต�ำบลหางดง อ�ำเภอฮอดห่างจากทีท่ ำ� การ อุทยานแห่งชาติไปทางทิศใต้ประมาณ 1,500 เมตร เป็นน�ำ้ ตกทีม่ คี วามสวยงามมีความสมบูรณ์ ทางธรรมชาติ อ ยู ่ ม าก น�้ ำ ตกจากหน้ า ผา สูงประมาณ 50 เมตร ลดหลัน่ ลงมาเป็นเพิงชัน้ หิน ลงสู ่ อ ่ า งน�้ ำ เบื้ อ งล่ า งด้ า นหน้ า น�้ ำ ตกมี ล าน หินกว้างส�ำหรับนั่งพักผ่อน

ตลาดเช้าฮอด

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่โถ

ขอขอบคุณภาพ : การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลและรูปภาพ: เว็ปไซต์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่


“กิ จ กรรมเด่ น ” สั น นิ บาตเทศบาลจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โครงการประชุมสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ เรือ่ ง แนวทางปฏิบตั เิ รือ่ งภาษีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างและแนวทางการจัดการ เมืองน่าอยู่ (SMART CITY) 20 กันยายน 2562 สันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ จัดการประชุม วิชาการสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ เรือ่ ง แนวทางปฏิบตั เิ รือ่ งภาษีทดี่ นิ และสิ่งปลูกสร้างและแนวทาง การจัดการเมืองน่าอยู่ (SMART CITY) เพื่อรองรับกฎหมายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 และแลกเปลี่ยนเรียน รู ้ ค วามคิ ด เห็ น ประสบการณ์ ตลอดทั้ ง ซั ก ถามหารื อ ในประเด็ น ปั ญ หา ทีเ่ กิดจากการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ความถูกต้องในการน�ำไปปฏิบตั งิ าน และสามารถ ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว โดยได้รับเกียรติจากนายสกล ลีโนทัย อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริการ คลังท้องถิน่ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการเงินการคลัง สมาคมสันนิบาตแห่งประเทศไทย และคณะ เป็นวิทยากร ในการบรรยายให้ความรู้แก่สมาชิกสันนิบาตเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 119 แห่ง ประกอบด้วย

นายกเทศมนตรีหรือผู้แทน ปลัดเทศบาลหรือผู้แทน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จั ด เก็ บ รายได้ ห รื อ ส� ำ รวจข้ อ มู ล ที่ ดิ น และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งของเทศบาล และเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือการปฏิบัติงาน ในการประชุมวิชาการสันนิบาต เทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ รวม 377 คน ณ อาคารอเนกประสงค์ไทยเข้มแข็ง เทศบาลต�ำบลหางดง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

81


โครงการประชุมสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ สั น นิ บ าตเทศบาลจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ น� ำ โดย ดร.จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ ประธานสันนิบาตเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่ (นายกเทศมนตรีต�ำบลหางดง) และ คณะกรรมการสั น นิ บ าตเทศบาลจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จัดการประชุมวิชาการสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2562 ครั้งที่ 2/2562 ระหว่างวันที่ 18-20 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมเดอะบลูม บาย ทีวีพูล จ.นครราชสีมา ซึ่งได้รับเกียรติจาก พลต�ำรวจตรีต่อศักดิ์ สุขวิมล รองผู ้ บั ญ ชาการต� ำ รวจสอบสวนกลางและคณะ เป็นวิทยากรในการบรรยายเรื่อง “โครงการจิตอาสา พระราชทานตามแนวพระราชด� ำ ริ หั ว ข้ อ สถาบั น พระมหากษัตริย์กับประเทศไทย และ การบรรยายเรื่อง “เทศบาล : กฎหมายเลือกตั้งท้องถิ่นฉบับใหม่” โดย นายแสวง บุญมี รองเลขาธิการคณะกรรมการการเลือก ตัง้ และคณะ จากนัน้ เป็นการตอบข้อซักถาม ปัญหาและ อุปสรรคต่างๆในการบริหารงานของสมาชิกสันนิบาต เทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ จากประธานสันนิบาตเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่และคณะ โดยได้รับความสนใจจาก สมาชิ ก สั น นิ บ าตเทศบาลจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เข้ า ร่ ว ม การประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน 82

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


โครงการต้านภัยหนาว สันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ โดย ดร.จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ ประธานสั น นิ บ าตจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ และคณะกรรมการสั น นิ บ าต เทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ จัดโครงการมอบ เครื่องกันหนาว (ผ้าห่ม) ให้แก่สมาชิกของสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ได้นำ� ไปมอบให้แก่ ผูส้ งู อายุ ผูป้ ว่ ยติดเตียง และผูด้ อ้ ยโอกาส ให้ได้รบั ความช่วยเหลือด้าน เครื่ อ งนุ ่ ม ห่ ม กั น หนาว อั น เนื่ อ งมาจากสภาพอากาศหนาวเย็ น ในฤดูหนาวของภาคเหนือ มักส่งผลต่อสุขภาพและก่อให้เกิดความ เจ็บป่วยให้แก่ประชาชนได้ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

83


โครงการมอบชุดผจญเพลิง จากการประชุมสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2562 ครั้งที่ 2 / 2562 ระหว่างวันที่ 18-20 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมเดอะบลูม บาย ทีวีพูล ต�ำบลพญาเย็น อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ได้มีมติในที่ประชุมเห็นชอบการจัดซื้อชุด ปฏิ บั ติ ก ารนอกสถานที่ เ พื่ อ เป็ น การอ� ำ นวยความสะดวกและ ความปลอดภัยให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับสาธารณภัย ของเทศบาลที่เป็นสมาชิกของสันนิบาตเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่

84

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

Magazine

AD_

.indd 146

www.sbl.co.th

9/12/2562 14:33:51


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลท่าศาลา “เทศบาลต� ำ บลท่ า ศาลา เมื อ งน่ า อยู ่ ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลท่าศาลา

เป้าหมายการพัฒนา

นายศิ ริพั ฒ น์ กาวิ ล ะ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่าศาลา

เทศบาลต�ำบลท่าศาลา ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู ่ 2 ต� ำ บลท่ า ศาลา อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชียงใหม่ โดยสถานที่ตั้งของต�ำบลท่าศาลาอยู่ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ประมาณ 4 กิโลเมตร มีพื้นที่ 3,562 ไร่ หรือประมาณ 5.7 ตารางกิโลเมตร ลักษณะ ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ค�ำว่า “ท่าศาลา” มีที่มาจากในอดีตมีท่า เทียบเรือที่มีศาลาขนาดใหญ่ ผู้คนเรียกกันว่า ต่าศาลา (ท่าศาลา) ซึ่งตรงกับอนุสาวรีย์พระเจ้า กาวิ ล ะในปั จ จุ บั น ใช้ ข นถ่ า ยสิ น ค้ า ขึ้ น บกที่ ล�ำเลียงจากถิ่นต่าง ๆ ไปสู่เมืองสิบสองปันนา ต่อมามีการตั้งต�ำบลโดยถือเอาทิศใต้ของถนน เจริญเมือง ฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำปิง เป็น ต�ำบลท่าศาลา 86

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

สังคมและชุมชนเกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันและ กัน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ระบบเศรษฐกิจ มีความสมดุลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี การจ้างงานอย่างกว้างขวาง ชนบทและเมืองมีการ เชื่อมโยงอย่างเหมาะสมและเป็นระบบ ชุมชนมีความ เข้มแข็งและตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการมีส่วน ร่วมในการพัฒนา ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการ วางแผนทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ เขตการปกครองของเทศบาลต�ำบล ท่าศาลา หมู่ที่ 1 บ้านบวกครกหลวง หมู่ที่ 2 บ้านศรีบัวเงิน หมู่ที่ 3 บ้านสันทรายดอนจั่น หมู่ที่ 4 บ้านดอนจั่นพัฒนา หมู่ที่ 5 บ้านบวกครกหลวงพัฒนา บุคลากรผู้บริหาร นายศิริพัฒน์ กาวิละ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่าศาลา นายจ�ำรัส ค�ำราพิศ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีต�ำบลท่าศาลา นายอาทิตย์ ทนันชัย รองนายกเทศมนตรีต�ำบลท่าศาลา นายวุฒิชัย ไชยชนะชมภู รองนายกเทศมนตรีต�ำบลท่าศาลา นางวฤษณี แก้วสุทธิ เลขานุการนายกเทศมนตรีต�ำบลท่าศาลา นายสุรินทร์ ทาเกิด ปลัดเทศบาล นายณรงค์ฤทธิ์ ทายะ รองปลัดเทศบาล


เที่ยววัดปฏิบัติธรรม สืบสานวัฒนธรรม ล้านนา วัดบวกครกหลวง เรียนรู้ธรรมจากจิตรกรรมฝาผนังโดยช่าง ไทยใหญ่ เรื่อง “ทศชาติชาดก” วั ด บวกครกหลวง ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 1 ต� ำ บล ท่าศาลา มีวิหารแบบล้านนา จุดเด่นของวัด บวกครกหลวง คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังเก่าแก่ ที่ ป รากฏในวิ ห ารนี้ อ ายุ ไ ม่ ต�่ ำ กว่ า 300 ปี ซึ่งเขียนเรื่องราวพุทธประวัติและชาดกในนิบาต หรื อ เรื่ อ งทศชาติ ช าดก จ� ำ นวน 14 ห้ อ ง จิตรกรรมฝาผนังนี้เขียนบนผนังรอบๆ วิหาร ระหว่างช่องเสา ภาพแต่ละส่วนอยู่ในกรอบ ซึ่ ง เขี ย นเป็ น ลายล้อมกรอบด้ว ยลายสีน�้ำเงิน แดง และขาว โดยทางทิศเหนือเป็นภาพชาดก เรื่อง “มโหสถชาดก” ส่วนทางทิศใต้เป็นเรื่อง ทศชาติชาดก (พระเจ้าสิบชาติ) จิตรกรรมดังกล่าวเป็นฝีมือช่างชาวไทใหญ่ ที่ละเอียดประณีต เป็นที่น่าสังเกตว่าจิตรกรรม ฝาผนังในล้านนาจะไม่พบการเขียนภาพเรื่อง ทศชาติชาดกครบทั้ง 10 ชาติ หากเลือกมา

วัดศรีบัวเงิน “สืบสานประเพณีหล่อเทียนพรรษาในวิถี วัฒนธรรมล้านนา” วัดศรีบัวเงิน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่าศาลา มีอายุประมาณ 200 ปี มีเจ้าอาวาส พระภิกษุ

เฉพาะเรื่องที่นิยมกันเท่านั้น ซึ่งที่วัดบวกครก หลวงก็เช่นกัน มีทั้งหมด 6 เรื่อง คือ เตมียชาดก สุวรรณสามชาดก เนมิราชชาดก มโหสถชาดก วิธูรบัณฑิตชาดก และเวสสันดรชาดก รวมถึง ก า ร ถ ่ า ย ท อ ด ถึ ง ชี วิ ต พื้ น บ ้ า น รู ป แ บ บ สถาปัตยกรรมและการแต่งกายแบบพม่าและ ไทใหญ่ ไว้ ด ้ ว ย ซึ่ ง สภาวั ฒ นธรรมหมู ่ ที่ 1 ได้

สื บ สานประเพณี วั ฒ นธรรมล้ า นนาได้ แ ก่ ประเพณีหล่อเทียนจ�ำน�ำพรรษา ประเพณีใส่ บาตรเป็งปุ๊ด ประเพณีตานหลัวหิงไฟพระเจ้า ประเพณีการฟังเทศน์มหาชาติภาคเหนือ หรือ ประเพณีตั้งธรรมหลวง และประเพณีสรงน�้ำ พระธาตุเจดีย์ใส่ขันดอก 108 บูชาคุณหลวง เพื่อสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงามต่อไปในอนาคต

สามเณร อยู่จ�ำพรรษาตลอดมา ผู้เฒ่าผู้แก่ได้ เล่าว่า เจ้าอาวาสและศรัทธาประชาชนในสมัย นั้นได้ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา และได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าในปี พุ ท ธศั ก ราช 2488 สมั ย นั้ น วั ด ศรี บั ว เงิ น ยั ง ใช้ ชื่ อ ว่ า

“วัดป่าแดด” จะมองไปทางไหนมีแต่เปลวแดด ร้อนระอุ บ้านเรือนผู้คนมีไม่มาก มีแต่ทุ่งนา ป่าละเมาะ ชาวบ้านมีอาชีพเกษตรกรรม ต่อมาบ้านป่าแดดมีธารน�้ำไหลมาจากทาง ทิศตะวันตกของวัด และมีหนองน�้ำอยู่ทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ของวัด ซึ่งหนองน�้ำแห่งนี้ มีดอกบัวขาวเต็มไปหมด และมีต้นโพธิ์ใหญ่อยู่ ทางประตูวัดด้านตะวันออก (ปัจจุบันโค่นล้มไป แล้ว) 1 ต้น มีด้านประตูทิศตะวันตก 1 ต้น (โค่นล้มเช่นกัน) อีกทั้งยังมีหนองดอกบัวขาวอยู่ หน้าวัด ศรัทธาประชาชนในยุคนั้นเห็นสมควร ตั้ ง ชื่ อ วั ด เปลี่ ย นจาก “วั ด ป่ า แดด” มาเป็ น “วัดศรีบัวเงิน” (วัดสะหลีบัวเงิน) เพื่อจะได้เป็น สิริมงคล วัดศรีบัวเงินได้สืบสานประเพณีวัฒนธรรม ล้ า นนาได้ แ ก่ ประเพณี ห ล่ อ เที ย นพรรษา ประเพณีใส่บาตรเป็งปุ๊ด และประเพณีสรงน�้ำ พระธาตุเจดีย์ใส่ขันดอก เพื่อสืบทอดวัฒนธรรม อันดีงามต่อไปในอนาคต CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

87


ส�ำนักสงฆ์วัดสันทรายงามมิ่งมงคล “สั ก การบู ช าพระพุ ท ธรู ป องค์ ด� ำ แกะสลั ก ด้วยไม้” หมู่บ้านแห่งต้นก�ำเนิดโคมตุงแห่งล้านนา วั ด สั น ทรายงามมิ่ ง มงคล ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 3 ต�ำบลท่าศาลา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2547-2548 โดยแยกมาจากวัดดอนจั่น เพราะถูกถนนตัด ผ่านท�ำให้ไม่สะดวกในการเดินทาง ไป-มา ก่อน ที่จะมีการตัดถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ บริเวณดัง กล่าวนี้เป็นของศรัทธาวัดดอนจั่น แต่หลังจาก ตัดถนนผ่านท�ำให้ชาวบ้านที่แต่เดิมเดินทางไป วั ด ดอนจั่ น ต้ อ งล� ำ บากในการสั ญ จรไป-มา จึ ง ได้ ตั้ ง ที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ ขึ้ น เพื่ อ ให้ ชาวบ้านได้มาท�ำบุญได้สะดวกมากยิ่งขึ้น จุ ด เด่ น ของวั ด สั น ทรายงามมิ่ ง มงคลคื อ วิหารขนาดเล็กทีม่ คี วามสวยงามในแบบล้านนา และพระพุทธรูปองค์ด�ำที่แกะสลักด้วยไม้ที่ยัง คงสภาพสมบูรณ์ รอบๆบริเวณก�ำแพงวัดไป จนถึงถนนเส้นหลักของหมู่บ้าน จะประดับไป วัดดอนจั่น วัดแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและ เยาวชน วั ด ดอนจั่ น ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นดอนจั่ น หมู ่ ที่ 4 ต�ำบลท่าศาลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 ปัจจุบันมี พระอธิการอานันท์ อานันโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาสตั้งแต่ พ.ศ.2529 เป็นต้นมา โดยที่วัดได้ จัดโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็กก�ำพร้า เด็ก ยากจน เด็กด้อยโอกาส เปิดสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2528 มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีโรงเรียน ประถมตั้งอยู่ในที่ดินวัดอีกด้วย พระอธิการอานันท์ อานันโท หรือที่รู้จักกัน โดยทั่ ว ไปว่ า พระครู ป ราโมทย์ ป ระชานุ กู ล (พระประชานาถมุ นี ) เจ้ า อาวาสวั ด ดอนจั่ น ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ท่านมีจิตเมตตา โอบอ้อมอารี และชอบช่วย เหลือผู้อื่น ท่านได้ท�ำนุบ�ำรุงศาสนา ให้วัดดอน จั่นเป็นศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนาของพระสงฆ์และชาวพุทธ ทั้งยังได้สร้าง 88

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ด้ ว ยเสาโคมไฟที่ มี ค วามเป็ น เอกลั ก ษณ์ แ บบ ล้านนา มีความสวยงามเมื่อยามค�่ำคืน เพราะ เป็นหมู่บ้านแห่งต้นก�ำเนิดโคมตุงแห่งล้านนา วัดสันทรายงามมิ่งมงคลได้สืบสานประเพณี วัฒนธรรมล้านนาได้แก่ ประเพณีหล่อเทียน จ�ำน�ำพรรษา ประเพณีใส่บาตรเป็งปุด๊ เพือ่ สืบทอด วัฒนธรรมอันดีงามต่อไปในอนาคต

ให้วัดเป็นที่พึ่งของคนยากจน เป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ของชุมชน เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กด้อย โอกาสในสังคม รวมถึงเด็กที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร ที่รัฐบาลไม่สามารถจัดระบบการศึกษาเข้าถึง พื้นที่ได้ใน 13 จังหวัดภาคเหนือ ได้เรียนหนังสือ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เมื่อปีพ.ศ. 2528 มาจนถึง ปัจจุบัน

วัดดอนจั่นยังเปิดรับบริจาคสิ่งของอุปโภค บริ โ ภคตลอด เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ด้ อ ยโอกาสได้ มี สุ ข ภาพทางกาย และใจที่ แข็ ง แรง ได้ รั บ การศึ ก ษาในวั ด ดอนจั่ น ออกไปเป็ น คนดี สู ่ สังคมไทย โดยติดต่อสอบถามได้ที่เบอร์โทร 053-240-184


โรงเรี ย นเกษี ย ณวั ย เทศบาลต� ำ บลท่ า ศาลา “บ้านหลังที่สองของวัยเกษียณ” จัดตั้งขึ้นตามโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ ผู้สูงอายุ สังคมแห่งการเรียนรู้เคียงคู่วัฒนธรรม ทีด่ งี ามต�ำบลท่าศาลา มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ส่งเสริม การเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตในกลุ่มวัย ผู ้ สู ง อายุ ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งวั ย ที่ ผ ่ า นชี วิ ต มาอย่ า ง หลากหลาย สมควรที่จะได้รับการดูแล และ สรรหากิจกรรมที่สร้างสรรค์ และมอบความสุข ให้กับทุกคนได้ โดยมุ่งเน้นให้เป็นผู้สูงอายุท่ีมี คุณค่าในชุมชน และสังคม ภายใต้ความคิดที่ว่า “อายุ ไ ม่ ใช่ ข ้ อ จ� ำ กั ด ในการเรี ย นรู ้ และการ พัฒนาตนเอง” ซึ่งได้ด�ำเนินกิจกรรมโครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพชีวิตใน กลุ ่ ม วั ย ผู ้ สู ง อายุ ใ นต� ำ บลท่ า ศาลาด้ ว ยความ ประทับใจ และรอยยิม้ ทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยความสุข

ของทุ ก คน จั ด โครงการโดย นางกมลวรรณ ศรีเจริญจิตร์ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการศึกษา กองการศึ ก ษา เทศบาลต� ำ บลท่ า ศาลา จังหวัดเชียงใหม่ หลักสูตรการอบรมให้ความรู้ 5 หน่วยการ เรียนรู้ 1. การสร้ า งความสุ ข และกิ จ กรรม นันทนาการส�ำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การ ออกก�ำลังกาย กิจกรรมนันทนาการสร้างสุข ดนตรี บ� ำ บั ด ศิ ล ปะประดิ ษ ฐ์ เทคโนโลยี ที่ จ�ำเป็นส�ำหรับผู้สูงอายุ การเปิดโลกการเรียนรู้ สู่วิสัยทัศน์ที่สร้างสรรค์ 2. การพัฒนาศัก ยภาพ สวัส ดิการ สิท ธิ หน้าที่ของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย กฎหมาย ระเบียบ สวัสดิการส�ำหรับผู้สูงอายุ การเรียนรู้

ตลอดชีวิต การถอดบทเรียนสรุปปัญหา และ ความต้องการของผู้สูงอายุ 3. เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนและการสร้ า งอาชี พ ส�ำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การจัดท�ำบัญชี ครัวเรือน การสร้างรายได้เสริม อาชีพระยะสั้น การด� ำ รงชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอ เพียง 4. การจัดการ อนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชน และท้ อ งถิ่ น ประกอบด้ ว ย การจั ด การสิ่ ง แวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน พลังสูงวัยใส่ใจ ชุมชน กิจกรรม 3Rs 5. การด�ำรงชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย กิจกรรม อุ้ยสอนหลาน ศูนย์การเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ชุมชน ต� ำ บลท่ า ศาลา ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต ตลาดนั ด วิชาการ และภูมิปัญญาท้องถิ่น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

89


ซึ่ ง ผู ้ เ รี ย นจะต้ อ งร่ ว มกิ จ กรรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ บันทึกท�ำความดีให้ครบ 48 ชั่วโมง จึงจะถือว่าเป็นผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินของ หลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนในแต่ละ ครั้งนั้นประกอบด้วย 1. กิจกรรมเข้าแถว เคารพธงชาติ สวดมนต์ และคณะคุณครูพบปะนักเรียน 2. กิ จ กรรมนั น ทนาการเพื่ อ ละลาย พฤติกรรม สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลิน เล่ น เกมพั ฒ นาประสาทและสมองส� ำ หรั บ ผู้สูงอายุ 3. กิ จ กรรมการอบรมให้ ค วามรู ้ ต าม หลักสูตร โดยเน้นการระดมสมอง การท�ำงาม ร่วมกันเป็นทีม ช่วยคิด ช่วยท�ำ รู้จักการแบ่ง

กลุ่มสตรีต�ำบลท่าศาลา “ส่งเสริมการรวม กลุ่มในการแก้ไขปัญหาครอบครัว” กลุ่มสตรีต�ำบลท่าศาลา น�ำโดยนางพรรณี พรหมวิชัย ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรี ต�ำบลท่าศาลา ได้จัดท�ำโครงการต่างๆ เช่น โครงการฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพแก่ประชาชน โครงการศึ ก ษาดู ง านด้ า นส่ ง เสริ ม อาชี พ โครงการรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรี เป็นต้น เพื่ อ สนองนโยบายด้ า นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ชุมชนของรัฐบาล ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่ม ในการแก้ไขปัญหาครอบครัว สังคม และพัฒนา สิ น ค้ า อาชี พ รายได้ ของประชาชนในเขต เทศบาลต�ำบลท่าศาลา

90

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ปัน และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 4. การน�ำเสนอผลงานและสรุปบทเรียน เพื่อฝึกความกล้าแสดงออก และเวทีการแลก เปลี่ยนระหว่างกลุ่มเพื่อน 5. การรับประทานอาหารร่วมกัน เพื่อสร้าง ความรัก ความสามัคคี การแบ่งปันเอื้ออาทรซึ่ง กันและกัน 6. การทัศนศึกษาดูงานและการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อให้เกิดเครือข่าย และเปิดโลกทัศน์ ที่กว้างไกลมากยิ่งขึ้น จากการด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมานั้ น ท� ำ ให้ โรงเรียนเกษียณวัยเป็นที่ยอมรับจากผู้เข้าร่วม กิ จ กรรม ชุ ม ชน สาธารณชนทั่ ว ไปว่ า เป็ น กิจกรรมที่มีความหลากหลาย สามารถพัฒนา

คุณภาพชีวิต และสร้างความสุขให้แก่ผู้สูงอายุ ได้จริง แม้ว่าเราจะเปลี่ยนนักเรียนนานาชุดที่มี ความชอบแตกต่ า งกั น ไป แต่ ก ารที่ เราได้ ท� ำ กิจกรรมร่วมกันนั้น ท�ำให้เราเกิดเวทีการแลก เปลี่ยนการเรียนรู้ระหว่างวัยเดียวกันรู้จักการ แบ่งกัน เป็นสังคมที่เอื้ออาทร และเป็นสังคม แห่ ง การเรี ย นรู ้ เ คี ย งคู ่ วั ฒ นธรรมที่ ดี ง ามของ ท้องถิ่นต�ำบลท่าศาลาที่แท้จริง โรงเรียนเกษียณวัยเทศบาลต�ำบลท่าศาลา บ้านหลังที่สองของวัยเกษียณ ร่วมสร้างคุณค่า และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุต�ำบลท่าศาลา โดย กองการศึกษา เทศบาลต�ำ บลท่ าศาลา อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่


ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ “ล�ำน�้ำคาว” เทศบาลต�ำบลท่าศาลา มีล�ำน�้ำคาวไหลผ่าน ในพื้นที่ของชุมชน เป็นแหล่งน�้ำเพื่อการเกษตร และเป็นแหล่งพักผ่อนทางธรรมชาติ แม่น�้ำคาว มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ล้านนา มีความ ยาวประมาณ 35 กิโลเมตร ไหลผ่าน 5 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอสันทราย อ�ำเภอ แม่รมิ อ�ำเภอเมือง เชียงใหม่ อ�ำเภอสันก�ำแพง และอ�ำเภอสารภี ที่ผ่านมาแม่น�้ำคาวประสบปัญหา การบุกรุก ล่วงล�้ำล�ำน�้ำ ปัญหาน�้ำเน่าเสียและน�้ำตื้นเขิน เทศบาลต�ำบลท่าศาลาและผู้น�ำชุมชน ได้มีการ หารือร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหา จึงได้มีการจัด กิจกรรมเพื่อการรณรงค์รักษาความสะอาดและ กิจกรรมฟื้นฟูล�ำน�้ำแม่คาว เช่น กิจกรรมปั่น รักษ์น�้ำคาว กิจกรรมท�ำบุญตักบาตรและพิธีสืบ ชะตาแบบพืน้ บ้านล้านนา นักปัน่ รักษ์สงิ่ แวดล้อม เวที เ สวนาเหลี ย วหลั ง แลหน้ า ร่ ว มกั น รั ก ษา

ล� ำ น�้ ำ แม่ ค าว นิ ท รรศการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ปล่อยปลาสะเดาะเคราะห์ รักษาระบบนิเวศ นั่งเรือชมธรรมชาติสองฝั่งล�ำน�้ำคาว การแสดง ร� ำ วงพื้ น บ้ า น-ย้ อ นยุ ค และการแสดงดนตรี พื้นเมือง เป็นต้น รวมทั้งการสร้างจิตส�ำนึกให้เกิดความรัก และหวงแหนให้ ส ภาพน�้ ำ ที่ ใ สสะอาด เพื่ อ เป็นการปลูกจิตส�ำนึกและรณรงค์ให้ประชาชน รั ก ษาความสะอาดและความเป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อยของบ้านเมือง โดยหวังว่าจะสามารถ ท�ำเป็นเป็นแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และ เป็นมรดกต่อชนรุ่นหลังต่อไป

เทศบาลต�ำบลท่าศาลา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 179 หมู่ 2 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50000 โทร. 053-850-103 facebook: เทศบาลต�ำบลท่าศาลา จังหวัดเชียงใหม่ http://www.tazala.go.th CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

91


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลบ้านแปะ “ดิ น แดนมนุ ษ ย์ ก ่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ธรรมชาติ แ หล่ ง หิ น เก่ า เล่ า ขานต� ำ นานพระธาตุ รสชาติ ห วานล� ำ ไยพั น ธุ ์ ดี ” ค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลบ้านแปะ เจดีย์ วัดพระเจ้าด�ำ

ซุ้มประตูโขง วัดพระเจ้าแดง ตั้งอยู่บ้านสบแจ่ม ฝั่งขวา หมู่ที่ 8 ต�ำบลบ้านแปะ

ฐานเจดีย์ วัดพระเจ้าแดง ตั้งอยู่ีที่บ้านสบแจ่ม ฝั่งขวา หมูที่ 8 ต�ำบลบ้านแปะ

นายพั น ธ์ ศั ก ดิ์ แก้ ว สุ ด ใจ นายกเทศมนตรีต�ำบลบ้านแปะ

ประวัติความเป็นมา

วิสัยทัศน์

ต�ำบลบ้านแปะ เดิมมีราษฎรอาศัยอยู่ ติ ด กั บ ล� ำ ห้ ว ยและเชิ ง เขาใกล้ กั บ ถ�้ ำ แห่ ง หนึ่ ง คื อ ล� ำ ห้ ว ยแม่ แ ปะ ชื่ อ ล� ำ ห้ ว ยตามภาษาถิ่ น เหนื อ นั้ น มี ค วามหมายว่ า “แป๊ ” หมายถึ ง “ชนะ” ต�ำบลบ้านแปะ เดิมมีฐานะเป็นสภา ต�ำบลบ้านแปะ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 ต่อมา ได้ ย กฐานะขึ้ น เป็ น เทศบาลต� ำ บลบ้ า นแปะ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2552 เป็นต้นมา มีหมู่บ้านใน พื้นที่รับผิดชอบจ�ำนวน 20 หมู่บ้าน

“มีศกั ยภาพด้านการบริหาร เน้นบริการสาธารณะ ประชาชนอยู่ดีกินดี ตามวิถีพอเพียง” ทุ่งไฮเดรนเยีย ที่ใหญ่ที่สุด บ้านขุนแปะหมู่ที่ 2

92

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เทศบาลต�ำบลบ้านแปะ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 141 หมู่ 8 ถนนเชียงใหม่-ฮอด ต.บ้านแปะ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50240 โทร. 053- 032- 128-9 โทรสาร. 053- 032 -129 http://www.banpaecity.go.th

สวนดอกไฮเดรนเยีย อยู่ในพื้นที่ บ้านขุนแปะ หมู่ที่ 12 ต�ำบลบ้านแปะ


บ้านหลังเล็กที่โอบล้อมไปด้วยทุ่งนาและขุนเขา

‘บ้านสวนยายลี’

มาเชียงดาว คิดถึงบ้านสวนยายลี ซึมซับ รับบรรยากาศ บริสุทธิ์ สดชื่น

“บ้านพัก 8 หลัง สงบเงียบ เรียบง่าย บ้านยายอยู่เอง” ห้องพักสวย สะอาด บรรยากาศดี โอบล้อมด้วยขุนเขา คิดจะพัก คิดถึง บ้านสวนยายลี เชียงดาว

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่

บ้านสวนยายลี (Ban Suan Yai Lee Homestay) 277 หมู่ 4 ต.เมืองงาย อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 50170 277 Moo 4 Muang-ngai, Chiang Dao, Chiangmai

Tel. 081-1113817, 098-5859811

0985859811 บ้านสวนยายลี


WOR K LI FE

อ�ำเภอเชียงดาว “สั ม ผั ส ความงดงามของธรรมชาติ ท่ อ งถ�้ ำ เที่ ย ววั ด กราบพระธาตุ ดื่ ม ด�่ ำ กั บ วั ฒ นธรรมแห่ ง เชี ย งดาว” วิสัยทัศน์การพัฒนา อ�ำเภอเชียงดาว

“เชี ย งดาวชายแดน ถ�้ ำ สวยดอยสู ง พระสถู ป เมื อ งงาย ก� ำ เนิ ด สายแม่ ป ิ ง ” ค�ำขวัญอ�ำเภอเชียงดาว

อ�ำเภอเชียงดาวเป็นแหล่งก�ำเนิดน�้ำปิง ซึ่ง เป็นแม่น�้ำสายส�ำคัญในภาคเหนือ และด้วยพื้นที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ป่ า เขา จึ ง ท� ำ ให้ มี ที่ เ ที่ ย วแนว ธรรมชาติมากมาย โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 25 องศา มีอากาศหนาวเย็นในช่วง เดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์

กว่าจะมาเป็นอ�ำเภอเชียงดาว

นายชั ชวาลย์ พุ ท ธโธ นายอ�ำเภอเชียงดาว

ชวนชม แวะพัก เชียงดาว ...เมืองแห่งขุนเขา วัดถ�้ำ สายหมอก และ ดอกไม้

ดอยหลวงเชียงดาว ยอดเขาสุดฮอตของนัก ท่องเที่ยวสายผจญภัยที่นิยมไปพิชิตมากที่สุดแห่ง หนึ่งของเมืองไทย ซึ่งมีความสูงราว ๆ 2,225 เมตร วัดถ�้ำเชียงดาว เสน่ห์แห่งถ�้ำต่าง ๆ มากมายที่มี ความสวยงามแตกต่างกันออกไป บ้ า นนาเลาใหม่ หมู ่ บ ้ า นของชาวเขาอั น เงี ย บสงบ อยู ่ บ ริ เวณเชิ ง เขาดอยหลวงเชี ย งดาว ที่สามารถมองเห็นยอดดอยหลวงเชียงดาวได้อย่าง สวยงาม 94

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ�ำเภอเชียงดาว หรือ เมืองเชียงดาว ถูกกล่าว ถึงอยู่ในพงศาวดารโยนกว่าเป็นเมืองที่พระเจ้า เม็งรายมหาวีรกษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านนาไทย ซึ่งเสวยราชสมบัติในนครเชียงใหม่ ได้ยกเมือง เชียงดาวให้เป็น บ�ำเหน็จความชอบในราชการ สงครามแก่เจ้าไชยสงคราม ราชโอรสองค์ที่ 2 เมื่อประมาณ 600 ปีเศษมาแล้ว จนถึงปัจจุบัน อ�ำเภอเชียงดาวมีอายุในการจัดตั้งเป็นอ�ำเภอครบ 110 ปี ในปี พ.ศ. 2563


น�้ำตก บ้านแม่แมะ เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ กลางหุ บ เขา ซึ่ ง โอบล้ อ มไปด้ ว ยธรรมชาติ ที่ สวยงามอุดมสมบูรณ์ ทั้งป่าเขาและล�ำธารใส สะอาด บรรยากาศเงียบสงบ แก่งปันเต๊า ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่นะ อ�ำเภอ เชียงดาว เป็นแก่งหินเล็กๆ ในแม่น�้ำปิง ที่นัก ท่องเที่ยวนิยมมาเล่นน�้ำคลายร้อนกันได้ที่นี่ น�้ำตกศรีสังวาลย์ ตั้งอยู่ภายในอุทยานแห่งชาติ ผาแดง ต� ำ บลเมื อ งนะ มี ลั ก ษณะเป็ น น�้ ำ ตก หินปูนขนาดใหญ่ ใสสะอาดบริสุทธิ์ มีชั้นหินปูน ลดหลั่นกันลงมา สูงราว ๆ 20 เมตร บ่อน�้ำร้อนโป่งอ่าง ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเมืองนะ ภายในอุทยานแห่งชาติผาแดง มีลักษณะเป็น บ่ อ น�้ ำ ร้ อ นขนาดเล็ ก ที่ ส ามารถมาลงเล่ น เป็นการดูแลรักษาสุขภาพได้ สวนบัวชมพู ณ จอมคีรี ออแกนิคฟาร์ม สเตย์ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่นะ ที่รายล้อมไปด้วยนา ข้าวออแกนิคสีเขียวกว้างใหญ่ พระธาตุ ส ามเงา วั ด ปางมะโอ ตั้ ง อยู ่ ที่ ต�ำบลแม่นะ เป็นวัดเล็กๆ ในชุมชนปางมะโอ ความอัศจรรย์ก็คือ มีปรากฏการณ์เงาพระธาตุ ซ้อนกันสามเงา ส่องสะท้อนลงมาในวิหาร บ้านหัวทุ่ง ตั้งอยู่ในต�ำบลเชียงดาว บริเวณเชิง เขาดอยหลวงเชียงดาว เป็นชุมชนทีม่ เี อกลักษณ์ โดดเด่ น ท่ า มกลางธรรมชาติ ที่ ส วยงามอุ ด ม

สมบูรณ์ มีการอนุรักษ์ป่าชุมชนและมีประเพณี บวชป่าทุกปี บ้านอรุโณทัย ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเมืองนะ ติดกับ ชายแดนไทย-เมียนมา เป็นหมู่บ้านในอดีตที่ เคยเป็นหมู่บ้านของทหารจีนคณะชาติที่ค้างอยู่ ในประเทศไทย จึ ง ยั ง คงมี ก ลิ่ น อายของ วัฒนธรรมจีนให้ไปสัมผัสกัน เมืองคอง เมืองแห่งธรรมชาติทสี่ มบูรณ์และ การท�ำนาขั้นบันไดสวย ๆ ให้ได้ไปเดินเล่นกัน อย่างเพลิดเพลิน อีกทั้งยังมีโฮมสเตย์เก๋ ๆ ริม ท้องนาให้ได้ไปนอนชมดาวกัน พระสถู ป เจดี ย ์ ส มเด็ จ พระนเรศวรมหา ราชานุสรณ์ ตั้งอยู่ท่ีต�ำบลเมืองงาย ซึ่งชาวบ้าน

ได้ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ว่าครั้งหนึ่ง สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราชเสด็ จ มาประทั บ แรม ณ เมืองงาย ดอยแม่ตะมาน และสันป่าเกี๊ยะ ตั้งอยู่ท่ี ต� ำ บลแม่ น ะ จุ ด ชมวิ ว ดอยหลวงเชี ย งดาวที่ สวยงามมากที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองเชียงดาว โดยเฉพาะช่วงปลายฤดูหนาว ที่นี่จะมีต้นดอก นางพญาเสือโคร่งสีชมพูบานสะพรั่งทั่วทั้งดอย ศูนย์ฝึกช้างเชียงดาว ตั้งอยู่บนถนนเชียงใหม่ฝาง ต�ำบลเชียงดาว ชมการแสดงช้างในหลาก หลายรูปแบบ และสัมผัสกับช้างอย่างใกล้ชิด พร้อมร่วมกิจกรรมสนุกสนานกับช้างมากมาย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

95


WO R K L IF E

เทศบาลต�ำบลเมืองนะ เปิ ด ต� ำ นาน “ขุ น น�้ ำ แม่ ป ิ ง ” แหล่ ง น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ นการพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกรั ช กาลที่ 10 “สวั ส ดิ ก ารก้ า วหน้ า การศึ ก ษามั่ น คง เชื่ อ มโยงด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน สื บ สานประเพณี วั ฒ นธรรม ปกครองแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม” วิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลเมืองนะ

นายณฐภณ เดชไพรขลา

ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีต�ำบลเมืองนะ

96

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เทศบาลต�ำบลเมืองนะ ได้รับการจัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ.2539 และได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาล ต�ำบลเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ตั้งอยู่ ทางทิศเหนือของอ�ำเภอเชียงดาว ตั้งอยู่ที่บ้าน ห้ ว ยไส้ เลขที่ 80 ต� ำ บลเมื อ งนะ อ� ำ เภอ เชี ย งดาว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี พ้ื น ที่ ป ระมาณ 486.08 ตารางกิโลเมตร หรือ 303,800 ไร่ ประกอบไปด้วย ประชากรหลายชนเผ่า อาทิเช่น คนพื้นเมือง (พูดภาษาเหนือ), ไทยใหญ่, ลีซู, จีนยูนาน, อาข่า, ละว้า, คะฉิน่ และปะกากะเยอ รวม 9 ชนเผ่า ประชากรในเขตเทศบาลต� ำ บลเมื อ งนะ รวมทัง้ หมด 14 หมูบ่ า้ นประกอบด้วย 1. บ้านเมืองนะ 8. บ้านจองค�ำ 2. บ้านแกน้อย 9. บ้านไชยา 3. บ้านนาหวาย 10. บ้านอรุโณทัย 4. บ้านโล๊ะป่าหาญ 11. บ้านหนองแขม 5. บ้านโป่งอาง 12. บ้านหนองเขียว 6. บ้านน�้ำรู 13. บ้านเจียจันทร์ 7. บ้านห้วยไส้ 14. บ้านใหม่สามัคคี มีประชากรทั้งสิ้น 28,823 คน แยกเป็น ชาย 14,443 คน และหญิง 14,380 คน คิดเป็น ร้อยละ 49.89 มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งสิ้นจ�ำนวน 7,942 ครัวเรือน


หน้าที่ของเทศบาลต�ำบลเมืองนะ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การจัดให้ มีและบ�ำรุงทางบก ทางน�้ำ บ�ำรุงการไฟฟ้าและ แสงสว่าง การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอืน่ ๆ 2. ด้านการบริหารจัดการองค์กรและการ สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ส่งเสริม ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานของ เทศบาล พัฒนาและสนับสนุนให้ชุมชนเข้มแข็ง เพิ่ ม ศั ก ยภาพเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ ห้ พอเพี ย งและเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด พร้ อ มทั้ ง พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม บุ ค ลากรในองค์ ก รให้ มี ประสิทธิภาพ

3. ด้านการศึกษา ศาสนา การอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมปิ ญ ั ญา ท้ อ งถิ่ น เช่ น ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษา บ�ำรุงรักษาศิลปวัฒนธรรม ศาสนา จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น อันดีงาม 4. ด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ เช่น ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพอาชีพในกลุ่มต่างๆ ผลักดัน ให้ทุกครัวเรือนมีรายได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 5. ด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต สั ง คม และด้ า น สาธารณสุข เช่น ส่งเสริมด้านการศึกษา จัดให้ มี แ ละบ� ำ รุ ง สวนสาธารณะ สถานที่ พั ก ผ่ อ น การสาธารณะอนามัยครอบครัว การป้ อ งกั น โรคติ ด ต่ อ การควบคุ ม สุ ข ลั ก ษณะและ

อนามัยในร้านจ�ำหน่ายอาหาร 6. การจัดระเบียบชุมชน สังคม การกีฬา ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น และ การรักษาความสงบเรียบร้อย เช่น การป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การส่งเสริม ให้ประชาชนมีคุณธรรม 8. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น การบ�ำบัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม การสร้างจิตส�ำนึกแก่ประชาชน ให้รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ

วัดถ�้ำเมืองนะ

น�้ำพุร้อนโป่งอาง

น�้ำตกศรีสังวาลย์

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

97


ด่านกิ่วผาวอก

ตลาดนัดอรุโณทัย

98

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เทศบาลต�ำบลเมืองนะกับประวัติศาสตร์ ในพระราชพิธีส�ำคัญ “ขุนน�้ำแม่ปิง” ต้ น ก� ำ เนิ ด แหล่ ง น�้ ำศัก ดิ์สิท ธิ์ที่ใช้ในการ ประกอบพิธีพลีกรรมตักน�้ำในการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 เหตุที่ “ขุนน�้ำแม่ปิง” ในบริเวณนี้เชื่อว่า เป็นแหล่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์ จากค�ำบอกเล่าของคน เก่าแก่ซึ่งสืบทอดต่อกันมาว่า บริเวณพื้นที่เทือก เขาแห่งนี้สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จ

มาโปรดมนุ ษ ย์ สั ต ว์ เ ดรั จ ฉานทั้ ง หลายเมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ มายั ง เทื อ กเขาแห่ ง หนึ่ ง ซึ่งเป็นที่รวมของต้นน�้ำแม่ปิง ปัจจุบันเรียกว่า “สันดอยถ้วย” มาจนถึงปัจจุบันนี้ ส�ำหรับขนาดบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ ส่วนที่เป็น รอยเท้าทั้ง 2 บ่อ บ่อที่ 1 กว้าง 63 เซนติเมตร ลึก 52 เซนติเมตร, บ่อที่ 2 กว้าง 64 เซนติเมตร ลึก 61 เซนติเมตร ไม่ปรากฏว่าผู้ใดค้นพบคน แรก มีแต่ต�ำนานที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมาว่า เกิดจากรอยเท้าของพญาช้างเผือก

ซึ่ ง บ่ อ น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ จ ากรอยเท้ า พญาช้ า ง เผือกแห่งนี้ได้ถูกน�ำไปประกอบพิธีที่ส�ำคัญๆ เกี่ ย วกั บ พิ ธี ห ลวงหลายครั้ ง หลายครามาแต่ โบราณกาล อาทิ พิธพี ลีกรรมตักน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ศักดิ์สิทธิ์ในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 และได้น�ำไปประกอบพิธีเสกน�้ำ พุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์เพื่อทูลเกล้าถวายพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรม นาถบพิ ต ร เนื่ อ งในพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเนื่ อ งในพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม พ.ศ.2554 ขุนน�ำ้ ปิงแห่งนีเ้ ป็นต้นก�ำเนิดของแม่นำ�้ ปิง ซึ่ ง เป็ น แม่ น�้ ำ สายส� ำ คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของ ประเทศไทย เป็ น สายเลื อ ดใหญ่ ข องการ ด�ำเนินชีวิตของประชาชนลุ่มน�้ำปิงตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน เทศบาลต�ำบลเมืองนะ ตั้งอยู่เลขที่ 80 หมู่ 7 ต�ำบลเมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50170 โทรศัพท์ส�ำนักงาน : 053-045-082-3 โทรสาร : 053-045-087

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

99


WOR K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงดาว “โครงสร้ า งพื้ น ฐานครอบคลุ ม ชุ ม ชนร่ ว มใจพั ฒ นา บริ ก ารด้ ว ยความเป็ น เลิ ศ ” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงดาว

ต�ำบลเชียงดาว เป็นต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอ เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มีเขตการปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น 2 แห่ ง ได้ แ ก่ เทศบาลต� ำ บล เชี ย งดาว และองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เชียงดาว องค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงดาว ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ต�ำบลเชียงดาว ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ เชี ย งดาวมาทางทิ ศ ใต้ ข องอ� ำ เภอเชี ย งดาว 2 กิ โ ลเมตร มี ห มู ่ บ ้ า นในการดู แ ลทั้ ง หมด 16 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1 บ้านทุ่งละคร, หมู่ 2 บ้ า นดอน, หมู ่ 3 บ้ า นม่ ว งฆ้ อ ง, หมู ่ 4 บ้านวังจ๊อม, หมู่ 5 บ้านถ�ำ้ , หมู่ 6 บ้านเชียงดาว, หมู ่ 7 บ้ า นดง, หมู ่ 8 บ้ า นแม่ ก ๊ ะ , หมู ่ 9 บ้ า นทุ ่ ง หลุ ก , หมู ่ 10 บ้ า นนาเลา, หมู ่ 11 บ้ า นแม่ เ ตาะ, หมู ่ 12 บ้ า นโรงวั ว , หมู ่ 13 บ้านทุ่งดินแดง, หมู่ 14 บ้านหัวทุ่ง, หมู่ 15 บ้านศรีสะอาด, หมู่ 16 บ้านผาลาย

นายนิ วั ต ร จ�ำ ปี

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงดาว

100

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

มีจ�ำนวน ประชากรทั้งสิ้น 11,132 คน แยก เป็นครัวเรือนจ�ำนวน 2,354 ครัวเรือน


ท่องเที่ยวเชียงดาว กับความประทับใจ ไม่รู้ลืม วัดถ�้ำเชียงดาว “ต� ำ นานแห่ ง ความรั ก ของกวางดาวสู ่ ดิ น แดนวิปัสสนากรรมฐานของพระป่าเพื่อความ พ้นทุกข์” วัดถ�้ำเชียงดาว ตั้งอยู่เชิงเขาของดอยหลวง เชี ย งดาว ต� ำ บลเชี ย งดาว อ� ำ เภอเชี ย งดาว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง ธรรมชาติและเป็นสถานที่แห่งประวัติศาสตร์ที่ ส�ำคัญแห่งหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ ลักษณะเด่น เป็ น ถ�้ ำ ขนาดใหญ่ มี น�้ ำ ที่ ไ หลออกมาจากถ�้ ำ ตลอดปีท�ำให้บริเวณหน้าถ�้ำเกิดเป็นแอ่งน�้ำสี เขียวมรกต มีปลาน้อยใหญ่ว่ายวนไปมา เส้นทางเดินชมมี 3 เส้นทาง คือ เส้นทางถ�้ำ พระนอน เส้นทางถ�้ำม้า และเส้นทางถ�้ำมืดหรือ

ถ�้ำลับแล เมื่อนักท่องเที่ยวเข้าสู่ปากถ�้ำ และเดิน ไปตามทางเดินที่มีไฟส่องสว่างแล้วถือว่าเดิน เข้าสู่บริเวณถ�้ำพระนอน มีความยาว 360 เมตร และมีการติดตั้งไฟฟ้าไว้ตลอดเส้นทางนี้ ภายใน ถ�้ำมีหินงอกหินย้อยที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ บางจุดเป็นซอกหลืบ เมื่อฉายไฟจะมีประกาย ระยิบระยับ และมีการน�ำพระพุทธรูปเข้าไป ประดิษฐานสักการะในถ�้ำจ�ำนวนมาก โถงถ�้ำ พระนอนจะมีทางเชื่อมยาวต่อไปยังถ�้ำม้าและ ถ�้ำมืด ภายในถ�้ำทั้งสองนี้นักท่องเที่ยวจะพบกับ หินงอกหินย้อยรูปร่างต่าง ๆ มีชื่อเรียกตาม ลั ก ษณะรู ป ทรง เช่ น หิ น โคมไฟเทวดา หิ น ดอกบัวบาน หินมือยักษ์ หินดอกบัวพันชั้น เมื่อ ยามกระทบแสงระยิบระยับคล้ายประกายเพชร ดูงดงามตระการตา

ถ�้ ำ เชี ย งดาวเป็ น หนึ่ ง ในโบราณสถาน ศักดิ์สิทธิ์ที่ได้รับความเคารพจากชาวเชียงใหม่ อีกแห่งหนึ่ง โดยมีต�ำนานเล่าขานกันว่า ในอดีต เจ้าหลวงค�ำแดงบุตรชายของเจ้านครพะเยาได้ เคยเสด็จมายังบริเวณนี้และได้พบรักกับหญิง สาวคนหนึ่ง เธอเล่าว่าเธอถูกสาปให้อยู่แต่ใน ถ�้ำนี้ ถ้าหากออกไปจะกลายร่างเป็นกวางดาว เจ้าหลวงค�ำแดงจึงตกลงใจอยู่ที่ถ�้ำนี้ และค�ำว่า เชียงดาวของถ�้ำ ก็เชื่อกันว่ามาจากกวางดาวนี้ เอง ซึ่งจากความศักดิ์สิทธิ์นี้เอง ท�ำให้ในสมัย หนึ่งถ�้ำเชียงดาวได้เคยเป็นสถานปฏิบัติธรรม ของคณะสงฆ์ ก่อนจะมีการสร้างวัดเชียงดาว ขึ้นใกล้ ๆ ถ�้ำเชียงดาว และมีการบูรณะต่อเติม ขึ้นมาเรื่อยจนกลายเป็นวัดที่ประชาชนนิยมมา ท�ำบุญด้วยศรัทธาในปัจจุบัน เปิดให้เข้าชมทุก วัน เวลา 07.00-17.00 น. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

101


บ้านนาเลาใหม่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กับบ้านพักโฮมสเตย์ ครบวงจร บ้านนาเลาใหม่ เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว สามารถมองเห็น วิ ว ดอยหลวงทอดตั ว ยาวได้ อ ย่ า งชั ด เจน มีโฮมสเตย์ชุมชนหลายแห่งรองรับนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี คือ บ้านระเบียงดาว เป็น โฮมสเตย์ เจ้ า แรก ที่ พั ก เป็ น บ้ า นกระท่ อ ม หลังคามุงจากแบบเรียบง่าย มีการจัดการขยะ อย่างครบวงจร ปัจจุบันบ้านนาเลาอยู่ในการดูแลของเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว นักท่องเที่ยวที่จะ ไปท่องเที่ยวและพักค้างคืนในหมู่บ้านสามารถ ขออนุญาต โดยให้ผู้ประกอบการแจ้งชื่อและ จ�ำนวนก่อนวันเข้าพัก และเจ้าหน้าที่เขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาวจะตรวจเช็คที่ด่านตรวจ โดยเคร่งครัด เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวทุกท่าน บ่อน�้ำร้อนบ้านยางปู่โต๊ะ เดิ น ป่ า ชมธรรมชาติ แช่ ตั ว กลางผื น ป่ า เขียวชอุ่ม บ่ อ น�้ ำ ร้ อ นบ้ านยางปู ่ โ ต๊ ะ ตั้ ง อยู ่ ที่ ห ย่ อ ม บ้านยางปู่โต๊ะ บ้านเชียงดาว ต�ำบลเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ หมู่บ้านแห่งนี้โอบล้อมด้วย ภูเขา และผืนป่าเขียวชอุ่ม บรรยากาศร่มรื่น เป็นชุมชนของชนเผ่ากระเหรี่ยง วิถีชีวิตเรียบ ง่ายและเงียบสงบ ผู้คนใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ อย่างกลมกลืน มีกจิ กรรมเดินป่าให้นกั ท่องเทีย่ ว ได้ ช มธรรมชาติ โดยกฎของการเดิ น ป่ า คื อ “เก็บไว้เพียงภาพความประทับใจ ไม่เก็บอะไร กลับไปและไม่ทิ้งอะไรไว้ (ขยะ)” เมื่ อ เดิ น ชมธรรมชาติ อ ย่ า งเต็ ม อิ่ ม แล้ ว สามารถแช่ตัวหรือแช่เท้าในบ่อน�้ำร้อน ซึ่งมีทั้ง บ่อที่ไม่มีค่าบริการ และบ่อของวิสาหกิจชุมชน ที่คิดค่าบริการ ชั่วโมงละ 50 บาท/คน นอกจาก นี้ยังมีพื้นที่กางเต็นท์ให้นักท่องเที่ยวได้ชมดอย หลวงและดาวเดือนในยามค�่ำคืนในอ้อมกอด ของธรรมชาติอย่างใกล้ชิดอีกด้วย 102

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ชุมชนบ้านปางแดง ไหว้สาพระธาตุรอยพระบาท เรียนรู้ผ้าทอ ย้อมสีธรรมชาติ สัมผัสวัฒนธรรมชนเผ่าดาราอัง้ ชุ ม ชนบ้ า นปางแดง แต่ ดั้ ง เดิ ม เป็ น ชาว ปะหล่อง อพยพมาจากประเทศพม่า ในปี พ.ศ. 2529 เริ่มมีทัวร์ป่า เข้ามาพักในหมู่บ้าน ต่อมา หน่วยพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา บ้านห้วย อีโก๋ได้เข้าไปให้ความรู้กับคณะกรรมการชุมชน ในเรื่ อ งการบริ ก ารและจั ด การท่ อ งเที่ ย วโดย ชุมชน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น การจัดการร้านค้าให้เป็น ระเบี ย บ การก� ำ จั ด ขยะ และการพั ฒ นา

หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า น เพื่ อ น� ำ มาจั ด ระเบี ย บให้ แก่ ชุ ม ชน พร้ อ มจั ด ตั้ ง เป็ น โฮมสเตย์ เ พื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มาเรี ย นรู ้ แ ละท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมชนเผ่า วัฒนธรรมของชนเผ่าดาราอั้งมีความเป็น เอกลักษณ์ เช่น ประเพณีการบูชาเลี้ยงผีต้นน�้ำ ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีสงกรานต์ซึ่งจะ มีการย้อมผ้าฝ้ายจากสีธรรมชาติในช่วงเวลานี้ ประเพณีปิดและเปิดประตูเมือง เป็นต้น นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเข้ า ชมการแสดง วัฒนธรรมชนเผ่า ชมวนศาสตร์ชุมชนเดินป่า ศึกษาธรรมชาติ เดินขึน้ เขาไหว้เจดีย์ และท่องเทีย่ ว

หมู่บ้านในเครือข่ายอีก 5 บ้าน คือ ห้วยอีโก๋ เผ่าลีซู และอาข่าผาลาย เผ่ากระเหรีย่ ง ปางแดง กลางเผ่าปะหล่อง แม่จรเผ่าปะหล่อง ท่าขี้เหล็ก เผ่ากระเหรี่ยง ห้วยปงเผ่าปะหล่อง และลาหู่ ซึ่งจะมีวัฒนธรรมปลีกย่อยให้เรียนรู้มากมาย อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ชุ ม ชนแห่ ง มี ค วามเป็ น เอกลักษณ์คือสินค้าที่เกิดจากภูมิปัญญาของ ชาติพันธุ์ดาราอั้ง ซึ่งมีการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติบ้านปางแดงใน มีการ จัดจ�ำหน่ายสินค้าหัตถกรรม เช่น กระเป๋า เสื้อ กระโปรง หมวก ตะกร้า กระเป๋า และเครื่อง เงิน เป็นต้น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

103


ชุมชนบ้านหัวทุ่ง ชุมชนต้นแบบที่โดดเด่นในด้านท่องเที่ยว เชิงนิเวศ ชุมชนบ้านหัวทุ่ง ตั้งอยู่ในต�ำบลเชียงดาว อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มีความโดด เด่ น ด้ า นธรรมชาติ ที่ ยั ง อุ ด มสมบู ร ณ์ ตั้ ง อยู ่ ระหว่างแนวต่อเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์ป่าดอย เชียงดาว ซึ่งเป็นเขตต้นน�้ำห้วยแม่ลุและห้วย ละครที่ ไ หลลงสู ่ ล� ำ น�้ ำ ปิ ง ทิ ศ ตะวั น ตกมี ช าย ขอบของผืนป่าใหญ่ที่อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านยัง คงวิถีชีวิตที่ใกล้ชิดธรรมชาติ ที่นี่จึงเป็นชุมชนต้นแบบที่โดดเด่นในด้าน การจัดกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การอนุรักษ์ ป่ า ชุ ม ชน การบริ ห ารจั ด การและการใช้ ประโยชน์ จ ากป่ า ชุ ม ชน ภายใต้ ก ฎกติ ก าที่ สมาชิ ก ในชุ ม ชนจั ด ท� ำ ร่ ว มกั น มี ก ารใช้ ภูมิปัญญา วัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ชุมชน เช่น กิจกรรมบวชป่า พิธีเลี้ยงผีขุนน�้ำ หรื อ ต้ น น�้ ำ การท� ำ การเกษตรแบบไม่ เ ผา 104

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

การน�ำแก๊สชีวภาพจากขี้หมูมาใช้ในครัวเรือน เพื่อลดการใช้ฟืนในการหุงต้ม การจัดการชุมชนที่โดดเด่นหลายประการ ได้แก่ การ “สานก๋วย” อันเป็นผลผลิตต่อเนื่อง ของ “ป่าไผ่เศรษฐกิจ” เพราะธรรมชาติเป็นต้น ทุ น ส� ำ คั ญ ของหมู ่ บ ้ า นที่ ช าวบ้ า นจ� ำ นวน 94 ครอบครัวได้ช่วยกันปลูกในพื้นที่ 42 ไร่ ของ หน่วยทหารพัฒนาการพื้นที่ 32 ซึ่งเดิมพื้นที่ ตรงนี้ไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไร ชาวบ้านจึงเข้าไป ขอเพื่อปลูกป่า “ไผ่บงกาย” ที่เป็นไผ่พื้นเมือง และไผ่อเนกประสงค์ หน่อกินได้รสชาติอร่อย เนื้อไม้แกร่ง เหนียว ใช้ท�ำเครื่องจักสานได้ดี นอกจากนี้ยังมีการสร้างบอลลูนแก๊สเพื่อ แปรสภาพขี้ ห มู ใ ห้ เ ป็ น แก๊ ส ชี ว ภาพเพื่ อ แก้ ปัญหาเรื่องกลิ่นที่เป็นมลภาวะทางอากาศจน ประสบความส�ำเร็จอย่างดี ซึ่งแต่ละครัวเรือน ยั ง ได้ มี แ ก๊ ส ส� ำ รองไว้ ใ ช้ ส� ำ หรั บ หุ ง ต้ ม ใน ครัวเรือน แก๊สชีวภาพนี้ยังมีบทบาทช่วยลดการ ปล่อยแก๊สมีเทน แก๊สเรือนกระจกได้ด้วย

จุ ด เด่ น ทางกายภาพที่ น ่ า มาท่ อ งเที่ ย วใน ชุมชนบ้ านหัวทุ่งคือ การที่ทุกพื้นที่ในชุมชน สามารถมองเห็นดอยหลวงเชียงดาวและดอย นางได้อย่างชัดเจนสวยงาม แต่จุดแข็งที่ส�ำคัญ กว่าคือการมีส่วนร่วมในการจัดการร่วมกันของ คนในชุ ม ชนท� ำ ให้ ชุ ม ชนนี้ เข้ ม แข็ ง และเป็ น ชุ ม ชนต้ น แบบที่ มี ห ลายรางวั ล การั น ตี อาทิ รางวัลหมู่บ้านปลอดการเผา , รางวัลศูนย์เรียน รู้หมู่บ้านต้นแบบปลอดการเผา, รางวัลชุมชน ต้ น แบบปลู ก ป่ า ครอบครั ว , รางวั ล ชุ ม ชน ต้นแบบพลังงานสะอาด ชาติสดใส เป็นต้น


เรียนรู้วิถีวัฒนธรรมชาวเชียงดาวจาก ความกตัญญูรู้คุณต่อธรรมชาติ ต�ำบลเชียงดาว อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัด เชี ย งใหม่ มี ป ระชากรหลากหลายชาติ พั น ธุ ์ นอกจากคนพื้นเมืองล้านนาแล้วยังมีชนชาติ พันธุ์อีกจ�ำนวนหนึ่ง ได้แก่ ชนเผ่าอาข่า (อีก้อ) ชนเผ่าลีซู (ลีซอ) ชนเผ่าลาหู่ (มูเซอ) ชนเผ่า ปกากะญอ (กะเหรีย่ ง) ไทใหญ่ (ไต) และดาราอัง้ (ปะหล่อง) โดยวัฒนธรรมของคนพื้นเมืองล้าน นาจะมี ก ารตานข้ า วใหม่ แ ละตานข้ า วจี่ ข้าวหลาม ซึ่งนิยมท�ำในเดือน 4 เหนือ ขึ้น 15 ค�่ำ หรือเรียกว่าเดือน 4 เป็ง เพราะเป็นช่วงที่มี การเก็บเกี่ยวข้าว และเอาข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ ใหม่ ม าท� ำ บุ ญ ก่ อ นที่ จ ะน� ำ ไปรั บ ประทาน เป็ น ประเพณี ที่ ไ ด้ ท� ำ สื บ ทอดกั น มาตั้ ง แต่ บรรพบุรุษ

ประเพณีตานข้าวใหม่ หมายถึง คนพืน้ เมือง จะน� ำ ข้ า วเปลื อ ก ข้ า วสารใหม่ ข้ า วหลาม ข้าวต้ม ขนมจ๊อก (ขนมเทียน) ห่อนึ่ง อาหารไป ตานขั น ข้ า ว (เครื่ อ งไทยทาน อาหารคาว ของหวานถวายให้กับผู้ล่วงลับ และน�ำข้าวใหม่ ไปใส่ บ าตรท� ำ บุ ญ แด่ พ ระสงฆ์ ส ามเณรที่ วั ด พร้อมอุทิศส่วนกุศลให้บิดา มารดาและพี่น้อง ที่ล่วงลับไปแล้ว นอกจากนี้ก็มี ประเพณีเปรตพลี (เป๋ต๊ะพลี) หรือประเพณี 12 เป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 10 ของทุกปี คนพื้นเมืองล้านนาจะท�ำบุญอุทิศ ส่วนกุศลให้แก่ญาติของตนที่เสียชีวิตไปแล้ว โดยจะท� ำ บุ ญ ถวายเครื่ อ งไทยทาน และฟั ง เทศน์ 1 กัณฑ์ “กัณฑ์เปรตพลี” โดยมีความเชื่อ ว่าในช่วงเดือนเพ็ญ 10 พระเจ้าจะเปิดโลกทั้ง สามให้สัตว์โลกทั้งหลายได้ใช้ชีวิตตามอัธยาศัย

และวั ฒ นธรรมประเพณี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธรรมชาติได้แก่ พิธีเลี้ยงผีขุนน�้ำเดือนเก้าเป็ง คือ วัน 15 ค�่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินล้านนา ประเพณีเลี้ยงผีขุนน�้ำเป็นพิธีกรรมโบราณของ ชุ ม ชนบ้ า นหั ว ทุ ่ ง อ� ำ เภอเชี ย งดาว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ที่ เชื่ อ มเอาความเชื่ อ เรื่ อ งผี เรื่ อ ง เทพยดาอารักษ์ผู้ปกปักรักษาขุนเขาป่าต้นน�้ำ หลอมรวมเข้ากับความเคารพในธรรมชาติ ต้นน�ำ้ พื ช พรรณป่ า ไม้ สิ ง สาราสั ต ว์ สื บ ทอดเป็ น ประเพณีมายาวนานกว่า 100 ปี เป็นประเพณี ที่ รื้ อ ฟื ้ น มาเพื่ อ ให้ ชุ ม ชนอนุ รั ก ษ์ ป ่ า ต้ น น�้ ำ ให้ ชุ ม ชนผู ้ พึ่ ง พิ ง ป่ า มี ค วามกตั ญ ญู รู ้ คุ ณ ต่ อ ธรรมชาติ ส่วนวัฒนธรรมของชนเผ่าชาติพันธุ์ จะมี ความแตกต่ า งจากกลุ ่ ม คนพื้ น เมื อ งล้ า นนา มีเอกลักษณ์แตกต่างกันไปในแต่ละเผ่าพันธุ์

ขอเชิญนักท่องเที่ยวมาเชียงดาว แล้วจะค้นพบความสุขในทุกอณูของชีวิต องค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงดาว ตั้งอยู่เลขที่ 408 หมู่ 8 ต�ำบลเชียงดาว อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ 50170 โทรศัพท์ 0 5345 6317, 0 5345 5552 เว็บไซต์ http://www.chiangdaosao.go.th CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

105


WO R K L IF E

อ�ำเภอดอยสะเก็ด “ท่ อ งเที่ ย วเหิ น ฟ้ า ชื่ น ชมดิ น แดนแห่ ง พุ ท ธประวั ติ และต� ำ นานความเชื่ อ ของคนโบราณ” วิสัยทัศน์การพัฒนา อ�ำเภอดอยสะเก็ด

“หนองบั ว พระเจ้ า หลวง แม่ ก วงเขื่ อ นใหญ่ ห้ ว ยฮ่ อ งไคร้ ศู น ย์ ศึ ก ษา ล้ ว นนานาหั ต ถกรรม” ค�ำขวัญอ�ำเภอดอยสะเก็ด

นายอรรถชา กั ม ปนาถแสนยากร นายอ�ำเภอดอยสะเก็ด

106

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ดอยสะเก็ดตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ.2445 ทีบ่ า้ นเชิงดอย หมู่ที่ 3 ต� ำบลเชิงดอย ค� ำว่า “ดอยสะเก็ ด ” สั น นิ ษ ฐานว่ า เป็ น ค� ำ ที่ เ พี้ ย นมาจากค� ำ ว่ า “ดอยเส้นเกศ” ซึ่งเป็นสถานที่เก็บเส้นพระเกศา ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าบริเวณใกล้กับ ตัวอ�ำเภอ “ดอยสะเก็ด” มีประวัติเก่าแก่อันยาวนาน และแตกต่ า งไปกว่ า ประวั ติ ข องอ� ำ เภออื่ น ๆ เพราะเกี่ ย วข้ อ งกั บ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศ พุ ท ธ ประวัติ และต�ำนานความเชื่อของคนโบราณ ดังนี้ “ดอยสะเด็น” เป็นค�ำหนึ่งที่เชื่อว่าเป็นที่มา ของชื่ออ�ำเภอดอยสะเก็ด ที่คนโบราณเรียกตาม ลั ก ษณะของภู มิ ป ระเทศที่ ตั้ ง ของอ�ำ เภอตามที่ ตามองเห็น เพราะอ�ำเภอดอยสะเก็ดมีภูเขา(ดอย) ลูกหนึ่งที่ตั้งอยู่เพียงลูกเดียวไกลกว่าเทือกเขา อื่น ๆ (สะเด็น หมายถึง กระเด็น) ซึ่งเป็นที่ตั้ง ของวัดดอยสะเก็ดในปัจจุบัน และศูนย์กลางของ อ�ำเภอดอยสะเก็ดก็ได้ตั้งอยู่เชิงภูเขานี้


“ดอยเส้นเกศ” และ “ดอยสระเกล็ด” เป็น อี ก ค� ำ หนึ่ ง ที่ เชื่ อ ว่ า เป็ น ที่ ม าของชื่ อ อ� ำ เภอ ดอยสะเก็ดที่เป็นต�ำนานเล่าขานสืบต่อกันมา สรุปได้ดังนี้ว่า องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ แสดงปาฏิหาริย์ปรากฏเป็นกายทิพย์ ณ ดอย แห่งนี้ แล้วทรงเปล่งพระฉัพพรรณรังสีสว่างเจิด จ้าไปทั่ว พญานาคคู่หนึ่งที่อาศัยอยู่ในหนองบัว บังเกิดความเลื่อมใส จึงได้แปลงกายเป็นชาย หนุ่มและหญิงสาว พร้อมน�ำดอกบัวไปถวาย พระพุ ท ธองค์ ท รงแสดงธรรมโปรด และได้ ประทานเส้นพระเกศาแก่พญานาคแปลงคู่นั้น เพื่ อ เก็ บ ไว้ บู ช า พญานาคจึ ง ได้ ส ร้ า งเจดี ย ์ ประดิษฐานเส้นพระเกศาไว้บนภูเขาลูกนี้ และ เรียกภูเขาลูกนี้ว่า “ดอยเส้นเกศ” ต่อมาค�ำว่า ดอยเส้ น เกศได้ เ รี ย กเสี ย งเพี้ ย นเป็ น ค� ำ ว่ า ดอยสะเก็ด

อีกต�ำนานหนึ่งที่เกี่ยวกัน กล่าวว่า พญานาคดัง ข้างต้นได้มีการลอกคราบหรือท�ำความสะอาด ตัวอยู่บนภูเขา มีผู้พบเห็นจึงได้เรียกภูเขาลูกนี้ ว่า “ดอยสระเกล็ด” ค�ำว่า “สระ” มีความ หมายว่า ไซ้ หรือท�ำความสะอาด ส่วนค�ำว่า “เก็ด” หมายถึง เกล็ดพญานาคนั่น

ท่องเที่ยวดอยสะเก็ด กับการผจญภัยไร้ พรมแดน อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด แต่ เ ดิ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย ว หลายคนมักคิดว่าอ�ำเภอนี้เป็นเพียงทางเพื่อไป จังหวัดเชียงราย ที่จริงแล้วอ�ำเภอดอยสะเก็ด มีที่ท่องเที่ยวมากมาย มีร้านกาแฟเก๋ไก๋ข้างทาง เยอะมาก และ กิจกรรมที่พลาดไม่ได้ คือการ ได้ สั ม ผั ส กั บ การเหิ น ฟ้ า เหนื อ น่ า นฟ้ า เมื อ ง เชี ย งใหม่ ด้ ว ยท� ำ เลและสภาพภู มิ ป ระเทศ

ที่เอื้ออ�ำนวยต่อกิจกรรมการผจญภัยแนวนี้ จึง ท�ำให้ธุรกิจการท่องเที่ยวที่อ�ำเภอดอยสะเก็ดมี การขยายตั ว มากขึ้ น การนั่ ง บอลลู น เล่ น เครื่องร่อน เครื่องบินเล็ก ชมวิว จึงเป็นการ เที่ยวอีกแบบที่ไม่จ�ำเจ ที่ว่าการอ�ำเภอดอยสะเก็ด ตั้งอยู่เลขที่ 130 หมู่ที่ 3 ต�ำบลเชิงดอย อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50220 โทรศัพท์ : 053-495-781 โทรสาร : 053-495-781 เว็บไซต์อ�ำเภอ : doisaket.chiangmai.doae.go.th

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

107


WO R K L IF E

เทศบาลต�ำบลลวงเหนือ ต� ำ บลลวงเหนื อ ลื อ นาม งดงามแผ่ น ดิ น หวิ ด เขื่ อ นแม่ ก วงแหล่ ง ชี วิ ต เศรษฐกิ จ หมู ่ บ ้ า นน� ำ อารยธรรมไทลื้ อ เลื่ อ งลื อ หั ต ถกรรมชุ ม ชน ด� ำ รงตนในคุ ณ ธรรม ค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลลวงเหนือ

เทศบาลต� ำ บลลวงเหนื อ บริ ห ารงานตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล การคมนาคมสะดวกสบาย ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต พั ฒ นากลุ ่ ม อาชี พ ประชาชนสุ ข ภาพแข็ ง แรง สมบู ร ณ์ รั ก ษาขนบธรรมเนี ย มประเพณี อนุ รั ก ษ์ ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น พึ่ ง พาตนเอง ยึ ด หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง วิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลต�ำบลลวงเหนือ

ต�ำบลลวงเหนือ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ ตั้งอยู่ทิศเหนือของอ�ำเภอดอยสะเก็ด มี พื้ น ที่ 125 ตารางกิ โ ลเมตร ภู มิ ป ระเทศ ร้อยละ 80 เป็นพื้นที่ราบ ร้อยละ 20 เป็นภูเขา และป่าไม้ พื้นที่ป่าเป็นที่ตั้งของเขื่อนแม่กวง อุดมธารา จึงท�ำให้ต�ำบลลวงเหนือมีสถานที่ ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ได้แก่ เขื่อนแม่กวงอุดมธารา และบ้านป่าสักงาม ที่ตั้งอยู่เหนืออ่างเก็บน�้ำแม่ กวงอุดมธารา

นายดวงแก้ ว สะอาดล้ ว น นายกเทศมนตรีต�ำบลลวงเหนือ

เทศบาลต�ำบลลวงเหนือ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อก่อสร้าง สะพานแขวนคู่ข้ามเขื่อนแม่กวงอุดมธารา – บ้านป่าสักงาม เพื่อเป็นการ แก้ปัญหาการสัญจรไปมาของประชาชนต�ำบลลวงเหนือ และถือได้ว่าเป็น สะพานแขวนข้ามเขื่อนแห่งแรกของประเทศไทย จึงกลายเป็นสถานที่ท่อง เที่ยวแห่งใหม่ของอ�ำเภอดอยสะเก็ดและของจังหวัดเชียงใหม่ที่สามารถ ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเยี่ยมชมเป็นจ�ำนวนมาก และมีพิธีเปิดสะพาน แขวนไปแล้วเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2561 โดยมี นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรีมาเป็นประธาน และให้ชื่อสะพานแห่งนี้ว่า สะพานแขวนคู่เชื่อม ใจ อีกทั้งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไตลื้อบ้านลวงเหนือ โดยใช้สะพานแขวนคู่เชื่อมใจข้ามเขื่อนแม่กวงอุดมธาราเป็นสิ่งเชื่อมโยงไป สู่การท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถีป่าสักงามได้อีกด้วย 108

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


การท่องเที่ยวโดยชุมชนไตลื้อเมืองลวงเหนือ (CBT Tai lue Loungnue) เว็บไซต์ http://www.tailue.loungnuae.go.th ศูนย์ข้อมูลเทศบาลต�ำบลลวงเหนือ 0-5310-4548

CBT TaiLue Luangnue

CBTtailue loungnuae

Wean_Patcharanan

กิจกรรมและฐานเรียนรู้

หมู่บ้าน OTOP นวัตวิถีบ้านป่าสักงาม

จุดชมวิวแผ่นดินหวิด เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าซับน�้ำ

กาดผี

น�้ำตกป่าสักงามและบ้านพักเอเฟรม

ถ�้ำหลวง/ถ�้ำค้างคาว

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

109


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน “สง่ า บ้ า น – ป่ า ลาน ต� ำ บลน่ า อยู ่ เชิ ด ชู วิ ถี ชุ ม ชน คนสุ ข ภาพดี ภาคี ร ่ ว มสร้ า ง อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม น้ อ มน� ำ ปรั ช ญา พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน

เทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน ตั้งอยู่เลขที่ 185 หมู ่ ที่ 3 บ้ า นป่ า งิ้ ว ต� ำ บลสง่ า บ้ า น อ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ในเขตพื้นที่ ครอบคลุม 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลสง่าบ้าน และ ต� ำ บลป่ า ลาน อยู ่ ห ่ า งจากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร ปัจจุบัน นายวัฒนชัย โทอึ้น ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลสง่าบ้าน

นายวั ฒ นชั ย โทอึ้ น นายกเทศมนตรีต�ำบลสง่าบ้าน

ประวัติความเป็นมาการจัดตั้ง แต่ เ ดิ ม ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง สภาต� ำ บลสง่ า บ้ า น ต่อมาได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล สง่าบ้าน เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ สภาต�ำบลป่าลานได้ยุบรวมกับเทศบาลต�ำบล สง่ า บ้ า น ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2547 ต่อมา เทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน ได้รับการยก ฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลสง่าบ้าน เป็น “เทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน” ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหาร 110

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ส่วนต�ำบลเป็นเทศบาล ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2551 ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 โดยอาศั ย อ� ำ นาจตามความใน มาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและ องค์การบริหารส่วนต�ำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 และมาตรา 7 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ เ ทศบาล พ.ศ. 2496 ในการยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลสง่าบ้าน นั้น มีเหตุผลสืบเนื่องจากการบริหารงานในรูป แบบเทศบาลมี ก ารก่ อ ตั้ ง มาเป็ น เวลานาน

โดยภาพรวมมีความเข้มแข็งและเป็นที่ยอมรับ การบริ ห ารจั ด การมี ร ะเบี ย บกฎหมาย และ แนวทางปฏิ บั ติ อ ย่ า งชั ด เจน ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และภารกิจของเทศบาล มีความ ครอบคลุมกับความต้องการของประชาชนใน พื้นที่ อีกทั้งการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน จากรัฐบาลจะเพิ่มขึ้น เมื่อมีงบประมาณเพิ่มขึ้น ท�ำให้การพัฒนามีความต่อเนื่อง สนองต่อความ ต้ อ งการและสามารถแก้ ไ ขปั ญ หาความ เดือดร้อนของประชาชนได้เป็นอย่างดี


ผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพสร้างสรรค์ 1. เตาหลวงสตูดิโอ ตั้งอยู่เลขที่ 89 หมู่ที่ 2 ต�ำบลป่าลาน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 08-4041-9770 2. กลุ่มอาชีพน�้ำพริกป่าดู่ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่าลาน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 08-9838-2167 3. ของที่ระลึกจากไม้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลสง่าบ้าน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร.09-3363-4632 4. กลุ่มผลิตข้าวกล้องอินทรีย์ ตั้งอยู่ที่บ้านป่าลาน หมู่ที่ 2 ต�ำบลป่าลาน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 08-6184-3885 5. กลุ่มสนใจอาชีพงานตัดเย็บ ตั้งอยู่ที่บ้านดอกแดง หมู่ที่ 1 ต�ำบลสง่าบ้าน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 08-7300-0445 6. กลุ่มหมอนสมุนไพรใบชา ตั้งอยู่เลขที่ 176 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสง่าบ้าน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 08-9555-7151

วัดประจ�ำต�ำบลสง่าบ้าน

วัดป่าฝาง ตั้งอยู่เลขที่ 82 บ้านป่าฝาง หมู่ที่ 4 ต�ำบลสง่าบ้าน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ วัดป่าฝาง สร้างเมื่อ พ.ศ.2235 เดิมชื่อวัดสันป่าฝาง โดยมีหลวงพ่อมงคลเป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดขึ้น ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2462

วัดสุวรรณฉิมพลี (ป่างิ้ว) ต�ำบลสง่าบ้าน อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 อุโบสถ พระเจ้าพันองค์ วัดสุวรรณฉิมพลี เป็นศูนย์รวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ที่สร้างพระพุทธรูปประธาน 1 องค์ กับพระพุทธรูปประดิษฐานไว้ที่ผนัง อุโบสถ จ�ำนวน 999 องค์ รวมเป็น 1,000 องค์ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

111


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลส�ำราญราษฎร์ “สั ม ผั ส บรรยากาศวิ ถี ชุ ม ชนไทยล้ า นนา เรี ย นรู ้ ภู มิ ป ั ญ ญาจากบรรพชน” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลส�ำราญราษฎร์

ดร.เกษม ปารมีศิลป์ขจร

ต� ำ บลส� ำ ราญราษฎร์ อยู ่ ท างทิ ศ ใต้ ข อง อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด ห่ า งจากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด ประมาณ 10 กิโลเมตร ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลป่าลาน ทิศตะวันออกติดต่อกับ ต�ำบลแม่คือและต�ำบลตลาดใหญ่ ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลสันปูเลย ทิศใต้ติดต่อกับต�ำบล สันปูเลยและต�ำบลแม่คือ มีเนื้อที่โดยประมาณ

9.45 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,907 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา พื้นที่ทั้งหมดส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ที่นา เหมาะส�ำหรับอาชีพเกษตรกรรมและเป็นที่อยู่ อาศัย มีความอุดมสมบูรณ์ มีแม่น�้ำ ล�ำคลอง ไหลผ่ า น เป็ น ศู น ย์ ร วมแหล่ ง หั ต ถกรรม อุ ต สาหกรรมพื้ น บ้ า น และมี พื้ น ที่ ติ ด ต่ อ กั บ

นายกเทศมนตรีต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ� ำ เภอสั น ก� ำ แพง สามารถพั ฒ นาฝี มื อ และ แรงงานในท้องถิ่นเพื่อผลิตสินค้า OTOP ป้อน สู่ตลาดได้ ท�ำให้ชาวบ้านมีอาชีพและอาชีพรอง เพื่อสร้างเสริมรายได้ให้มั่นคง โดยมีอาชีพหลัก คือ ท�ำนา ท�ำสวน ท�ำไร่ เพาะเห็ดฟางและ รับจ้า ง โดยมีอาชีพ เสริมคือ แกะสลัก และ หั ต ถกรรมกระดาษสา โดยมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก กระดาษสามากมาย และมี ที่ น อน หมอน ซึ่งผลิตจากนุ่นธรรมชาติ ที่ได้พัฒนาจนกลาย เป็นสินค้า OTOP ของต�ำบลส�ำราญราษฎร์

สถานที่ท่องเที่ยวและฐานการเรียนรู้ส�ำคัญของต�ำบลส�ำราญราษฎร์ บ้านจันทร์ส่องแสง โฮมสเตย์ ( วิสาหกิจชุมชนบ้านจันทร์ ส่องแสง ) รหัสทะเบียน 6-50-05-08/1-0008 ชวนผู้มาเยือน ให้สัมผัสกับบรรยากาศวิถีชีวิตไทยล้านนา ที่ตั้ง 15/3 หมู่ 2 บ้านสันต้นม่วงเหนือ ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 084-480-8902 วิสาหกิจชุมชนป้าค�ำ ขนมไทย รหัสทะเบียน 6-50-05-08/1-0002 ที่ตั้ง 17 หมู่ 2 ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 081-033-9263

112

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมิ่งไม้เมืองเหนือ รหัสทะเบียน 6-50-05-08/1-0005 ที่ตั้ง 10 หมู่ 2 ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-887-502 ครูภูมิปัญญางานไม้ นายนิกร แสนยศ

ครูภูมิปัญญาไม้แกะสลัก นายทองค�ำ หนุนแปง

อานันท์ – ภธดา ราชวังอินทร์ ศิลปินล้านนาร่วมสมัย หอศิลป์แสดงงานศิลปะ ที่ตั้ง 21/3 หมู่ 2 บ้านสันต้นม่วงเหนือ ต� ำ บลส� ำ ราญราษฎร์ อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โทรศัพท์ 089-850-0266 www.facebook.com/Ratchawang-inn บ้านสวนแม่บัวแก้ว โฮมสเตย์ ชวนผู้มาเยือนให้ สัมผัสกับบรรยากาศวิถีชีวิตไทยล้านนา ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 บ้านสันมะเกี๋ยง ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

ศูนย์ปฏิบัติธรรม ตาณัง เลณัง เฉลิมราช 60 ปี สถานที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรมและประกอบพิ ธี ก รรมทางศาสนาใน ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 91 หมู่ 4 ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โทร :053-887-210 และ 053-042-705-6 หมู ่ บ ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง (บ้ า นต้ น แบบ พ่ อ หลวงธนรั ช ต์ ใจมาขั ติ ) บ้ า นสั น โป่ ง หมู ่ ที่ 8 ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และ หมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง (บ้านต้นแบบ นายนิวาส์ โปธา) บ้านป่าเหมือด หมู่ที่ 5 ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

ติดต่อ ส�ำนักงานเทศบาลส�ำราญราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 103 หมู่ 4 ต�ำบลส�ำราญราษฎร์ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-042-789 โทรสาร 053-042-712 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

113


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลแม่คือ “พระเพชรเก่ า พระเจ้ า ทั น ใจ ประตู ใ ต้ ด อยสะเก็ ด เขตเกษตรกรรม โครงพั ด โครงร่ ม สื บ สานวั ฒ นธรรม จั ก สานผ้ า ฝ้ า ยงามล�้ ำ ต� ำ บลแม่ คื อ ” ค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลแม่คือ

ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา พั ฒ นาชี วิ ต เศรษฐกิ จ ดี ประเพณี ท ้ อ งถิ่ น วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลแม่คือ

เทศบาลต� ำ บลแม่ คื อ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 142 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลแม่ คื อ อ� ำ เภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ น ต� ำ บลด้ า นใต้ สุ ด ของ อ�ำเภอดอยสะเก็ด มีทั้งหมด 6 หมู่บ้าน และมี พื้ น ที่ 6.72 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 4,000 ไร่ จ�ำนวนครัวเรือน 2,549 ครัวเรือน ประชากร 5,781 คน ชาย 2,776 คน หญิง 3,015 คน ปัจจุบันมีนายอุดม อิ่นค�ำ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีต�ำบลแม่คือ

นายอุ ด ม อิ่น ค�ำ นายกเทศมนตรีต�ำบลแม่คือ

ความเป็นมาของชุมชน “ต�ำบลแม่คือ” จากประวัติที่บันทึกไว้ในปี พ.ศ.2360 มีชาวลัวะ อพยพมาจากทางตอนเหนือของประเทศไทย เข้ามา ตั้งที่อยู่อาศัย ณ ต�ำบลแม่คือ โดยบริเวณแห่งนี้มี ภูมิประเทศเป็นหนองน�้ำและแม่น�้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเกิด จากการไหลของแม่น�้ำดอกแดง และมีเศษดินพืชต่างๆ มารวมตัวกัน เรียกว่า “คือ” และ “ป่ารก” เมื่อชาว ไทยยวน ไทยใหญ่บางส่วนเข้ามาอาศัยและสร้างทีท่ ำ� กิน จึงเกิดเป็นหมู่บ้านต่างๆ ขึ้นโดยการขนานนามชื่อ หมู่บ้านตามความเชื่อของคนสมัยนั้น เช่น บ้านแพะ โดยอ้างอิงว่าแถบนั้นเป็นป่ารกทึบ หรือภาษาท้องถิ่น 114

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เรียกว่า ป่าแพะ จึงเรียกว่าบ้านแพะ และกลาย เป็น หมู่ 1 บ้านแพะแม่คือ ในปัจจุบัน และที่ หมู ่ บ ้ า นแพะมี วั ด ป่ า ก๋ อ ยเป็ น ที่ เ คารพบู ช า เนื่องจากเป็นวัดเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยก่อน แต่ใน ปัจจุบันวัดป่าก๋อยกลายเป็น ประปาหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 หมู่บ้านแพะ


ผลิตภัณฑ์ส�ำคัญของชุมชน ชาผักเชียงดา เป็นผักท้องถิน่ ทางภาคเหนือ และเป็นพืชผักสวนครัวที่น�ำดอกและยอดอ่อน มาท�ำเป็นอาหาร โดยผักเชียงดามีทั้งที่อยู่ในป่า และที่ น� ำ มาปลู ก เพื่ อ การบริ โ ภค ชนิ ด ที่ สรรพคุ ณ ลดน�้ำตาลในเส้นเลือด ลดปริมาณ คอเลสเตอรอล ลดไขมัน บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกระดูก โครงพัดโครงร่ม ต�ำบลแม่คือเป็นแหล่ง ผลิตโครงพัดโครงร่ม ส่งไปยังบ้านบ่อสร้างและ ศูนย์หัตถกรรมร่มบ่อสร้างเพื่อผลิตเป็นพัดและ ร่มต่อไป โดยผู้ท�ำโครงพัดโครงร่มเป็นกลุ่มผู้สูง อายุ และกลุ่มแม่บ้านภายในต�ำบลแม่คือ ผ้าฝ้ายทอมือ เป็นผลิตภัณฑ์ภายในต�ำบล แม่ คื อ ที่ เ กิ ด จากฝี มื อ การทอผ้ า ของกลุ ่ ม นักปราชญ์ผสู้ งู อายุบา้ นป่าบง หมูท่ ี่ 4 เป็นผูผ้ ลิต ขึ้นเอง

ต�ำบลแม่คือชวนเที่ยว วัดแม่คือ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่คือ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ มีพระเพชรเก่าอายุหลายร้อยปีประดิษฐานอยู่ ภายในวัด โรงทอผ้าวัดเทพินทราราม ตั้งอยู่เลขที่ 121 หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่คือ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยกลุ่ม ทอผ้าไทยวนบ้านป่าบง วัดสารภี (พระเจ้าล้านเหรียญทันใจ) เป็นวัดเก่าแก่ คู่บ้านคู่เมืองของต�ำบลแม่คือ แต่ก่อนเป็นเพียงวัดร้างเก่าแก่ อยู่กลางทุ่งนา แต่ด้วยจิตศรัทธาของพี่น้องประชาชนต�ำบล แม่คือ ร่วมกับเจ้าอาวาสวัด ได้ร่วมกันบูรณะวัดร้างแห่งนี้ให้ เป็นวัดสารภี และได้ร่วมกันจัดสร้างองค์พระเจ้าล้านเหรียญ ทันใจ โดยขอรับบริจาคเหรียญชนิดต่างๆ จากประชาชน คณะศรัทธา เพื่อน�ำมาติดองค์พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่สุดใน ต�ำบลแม่คือ ปัจจุบันวัดสารภี ได้อยู่คู่บ้านคู่เมืองของต�ำบล แม่คือมากว่า 27 ปี แล้ว ที่ท�ำการเทศบาลต�ำบลแม่คือ ตั้งอยู่เลขที่ 149 หมู่ 2 ต�ำบลแม่คือ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50220 โทรศัพท์ : 053-387-062 และ 053-386-294 แฟกซ์ : 053-387-062 E-mail : maekhu01@hotmail.com และ เว็บไซด์ http://www.maekhu.go.th CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

115


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลป่าเมี่ยง

นายนัน ท์ เครือนพรัตน์ นายกเทศมนตรีต�ำบลป่าเมี่ยง

จุดเด่นของต�ำบลป่าเมี่ยง

“ต�ำบลน่าอยู่ ธรรมชาติยั่งยืน”

เทศบาลต�ำบลป่าเมี่ยง เดิมเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล จัดตั้งตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2542 ได้ยกฐานะ จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าเมี่ยง เป็นเทศบาลต�ำบลป่าเมี่ยง ตาม พระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 (และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552) และพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 (และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546) ประกอบกับการพิจารณาจัดตั้ง อบต. เป็นเทศบาลต�ำบล ซึ่งอยู่ในเขต อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2552 มีเนื้อที่ ทั้งหมดประมาณ 159.36 ตารางกิโลเมตร หรือ 120,000 ไร่ โดยมีพื้นที่ บางส่วนของต�ำบลป่าเมีย่ งอยูใ่ นเขตป่าขุนแม่กวง ซึง่ เป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ที่มาของชื่อต�ำบลป่าเมี่ยง เป็นชื่อเรียกตามอาชีพหลักของราษฎรใน พื้นที่ คือ ท�ำสวนเมี่ยง (ชา) ส่วนการตั้งถิ่นฐานจากการอพยพตามพื้นที่ การเกษตร เมื่อนานเข้าก็พัฒนากลายเป็นชุมชน เดิมพื้นที่ต�ำบลป่าเมี่ยง อยู่ในเขตต�ำบลเชิงดอย ต่อมาขอแยกต�ำบล เป็นต�ำบลป่าเมี่ยง มีหมู่บ้าน จ�ำนวน 12 หมู่บ้าน เมื่อปี 2514 และปี 2535 ต�ำบลป่าเมี่ยงได้แยกเป็น 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลป่าเมี่ยง และต�ำบลเทพเสด็จ หลังจากมีการตั้งถิ่นฐาน เพิ่มขึ้น ท�ำให้การปกครองต้องเพิ่มภาระมากขึ้นและเพื่อให้เกิดความ คล่องตัวในการบริการประชาชน เทศบาลต�ำบลป่าเมี่ยง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านปางอั้น , หมู่ที่ 2 บ้านห้วยหม้อ, หมู่ที่ 3 บ้านแม่หวาน, หมู่ที่ 4 บ้านโป่งกุ่ม, หมู่ที่ 5 บ้านปางแฟน และหมู่ที่ 6 บ้านโป่งสามัคคี ซึ่งในจ�ำนวนนี้มีเพียง 2 หมู่บ้านที่ยังคงท�ำสวนเมี่ยงอยู่ คือ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 แต่ก็เหลือเพียงจ�ำนวนไม่มากนัก ทั้งนี้เพราะความนิยมของตลาด ลดลงราษฎรเปลี่ ย นอาชี พ ของตนไปตามการเปลี่ ย นแปลงของโลก ปัจจุบนั ในต�ำบลป่าเมีย่ ง มีประชากรจ�ำนวน 3,510 คน เป็นชาย 1,779 คน เป็นหญิง 1,731 คน ( ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2562 ) 116

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ในพื้นที่ต�ำบลมีเส้นทางการเดินทางที่สะดวกซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วย ส่งเสริมการคมนาคมขนส่งและด้วยมีความหลากหลายทางธรรมชาติจึง เหมาะสมแก่การส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวประกอบกับประชาชน ต� ำ บลป่ า เมี่ ย งมี ค วามหลากหลายของชาติ พั น ธุ ์ ที่ ยั ง คงรั ก ษา ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาความมีน�้ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่การรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีและยังคงรักษาความ เป็นชนบทของชุมชนไว้อย่างดีและการที่อยู่ใกล้โครงการพระราชด�ำริ “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” จึงส่งเสริมให้ต�ำบลป่าเมี่ยงมีโอกาสเข้าถึงแหล่งองค์ความรู้และแหล่ง สนับสนุนปัจจัยการผลิตทางการเกษตรและแหล่งตลาดได้อย่างครบ วงจร รวมทั้งส่งเสริมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอีกด้วย

ประเพณีและวัฒนธรรมในพื้นที่ ประเพณีเลีย้ งเสือ้ บ้าน “ส่งเสริมความรักใคร่ ปรองดอง สามัคคีในชุมชน”

พิธีสรงน�้ำพระธาตุ “เพื่อเป็นสิริมงคลแห่ง”ชีวิต”

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลป่าเมี่ยง เลขที่ 257 หมู่ 4 ต�ำบลป่าเมี่ยง อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-5310-6895 www.pamiang.go.th


วัดปางอั้น หมู่ที่ 1 บ้านปางอั้น

สวนรุกขชาติดงเย็น หมู่ที่ 4 บ้านโป่งกุ่ม

กลุ่มทอผ้า หมู่ที่ 5 บ้านปางแฟน

ส�ำนักสงฆ์อุดมมงคล หมู่ที่ 2 บ้านห้วยหม้อ

น�้ำพุร้อนดอยสะเก็ด หมู่ที่ 6 บ้านโป่งสามัคคี

กลุ่มผู้ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ หมู่ที่ 3 บ้านแม่หวาน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

117


WOR K LI FE

อ�ำเภอดอยเต่า “ชวนเที่ ย วทะเลสาบดอยเต่ า ... ทะเลสาบบนดอยสู ง ” วิสัยทัศน์การพัฒนา อ�ำเภอดอยเต่า

“มะนาวลู ก ใหญ่ ล� ำ ไยเนื้ อ หนา ดอยเกิ้ ง สู ง สง่ า ชิ ม รสปลาดอยเต่ า ” ค�ำขวัญอ�ำเภอดอยเต่า

ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี บ�ำ รุ ง เกี ย รติ วิ นั ย พานิ ช นายอ�ำเภอดอยเต่า

ดอยเต่าเป็นอ�ำเภอเล็กๆ อยู่ทาง ตอนใต้สุดของเชียงใหม่ การเดินทาง ไปดอยเต่า ค่อนข้างใช้เวลานาน และ มีเฉพาะรถเมล์ประจ�ำทาง ซึ่งวิ่งไป สายเดียวกับอ�ำเภอจอมทอง - อ�ำเภอ ฮอด และ จากอ�ำเภอฮอด -อ�ำเภอ ดอยเต่ า แต่ ไ ม่ ใช่ ร ถทุ ก คั น ที่ ไ ปสุ ด ปลายทางที่อ�ำเภอดอยเต่า

118

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ�ำเภอดอยเต่า เดิมอยู่ในความปกครองของ อ�ำเภอฮอด ต่อมาทางราชการได้ก่อสร้างเขื่อน ภูมพิ ล ท�ำให้พนื้ ทีถ่ กู น�ำ้ ท่วม กรมประชาสงเคราะห์ ได้ด�ำเนินการจัดตั้งนิคมสร้างตนเองเขื่อนภูมิพล ในปีพ.ศ. 2506 ช่วยเหลือราษฎรประมาณ 2,400 ครอบครั ว และเพื่ อ สะดวกในการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงได้ประกาศฐานะขึ้นเป็น กิ่งอ�ำเภอดอยเต่า ให้อยู่ในความปกครองของ อ�ำเภอฮอด เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2515 และ มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอ�ำเภอดอยเต่า ขึ้น เป็นอ�ำเภอดอยเต่า เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2522 เป็นชนพื้นเมืองท้องถิ่น มีประเพณี และ วัฒนธรรมเป็นของตนเอง


แหล่งท่องเที่ยวอ�ำเภอดอยเต่า มนต์เสน่ห์ที่ไม่รู้ลืม “ทะเลสาบดอยเต่า” นัง่ เรือนแพ ชมธรรมชาติสดุ ฟิน กินปลาน�ำ้ จืด เมื่ อ เอ่ ย ถึ ง “ทะเลสาบดอยเต่ า ” ใครๆ ก็รู้จัก เพราะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญมาช้า นานแล้ว เป็นอ่างเก็บน�้ำขนาดใหญ่ อยู่เหนือ เขื่อนภูมิพล ตั้งอยู่ ต�ำบลท่าเดื่อ อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ เป็นลักษณะเวิ้งกว้างสุดลูกหู ลูกตา มีทิวทัศน์ที่สวยงาม นอกจากเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ และท� ำ ประมงน�้ ำ จื ด ของชาวอ� ำ เภอดอยเต่ า แล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ลือชื่ออีกด้วย ซึ่ง ก่อนหน้านั้นหลายปี “ทะเลสาบดอยเต่า” เคย เงียบสนิทยาวนานถึง 8 ปี เมื่อฝนตกหนักลงมา ติดต่อกัน ส่งผลให้ระดับหน้าเขื่อนภูมิพลสูงขึ้น ทะเลสาบดอยเต่าได้ฟื้นคืนลมหายใจมีชีวิตชีวา มาได้หลายปี และครั้งหลังล่าสุด เมื่อปี พ.ศ. 2555 เกิดฝนแล้งขึ้นมาอีก ทะเลสาบแห่งนี้ น�้ำ แห้งขอดอีกครั้ง เหลือแต่พื้นดินแห้งกลายเป็น ที่เลี้ยงวัว และปลูกข้าวโพดของชาวบ้าน เป็น ความเงียบอีกครั้งที่ยาวนานถึง 5 ปี ต่อมาในปี พ.ศ.2560 มีฝนตกลงมาอย่าง ต่ อ เนื่ อ งในพื้ นที่จังหวัด เชีย งใหม่และจังหวัด ใกล้เคียง ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นน�้ำ แม่น�้ำสาขาต่างๆ ไหลลงสู่แม่น�้ำปิงเพิ่มขึ้นส่งผลให้ปริมาณน�้ำใน เขื่อนภูมิพลสูงขึ้นด้วย เป็นผลดีกับทะเลสาบ ดอยเต่า ท�ำให้ทะเลสาบดอยเต่าฟื้นคืนชีพมา อีกครั้งหนึ่งจนถึงปัจจุบัน

ขอเชิญทุกท่านมาเที่ยว

ทะเลสาบดอยเต่า... ทะเลสาบบนดอยสูง ที่ว่าการอ�ำเภอดอยเต่า ตั้งอยู่ที่บ้านแปลง 5 หมู่ที่ 3 ต�ำบลท่าเดื่อ อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ หมายเลขโทรศัพท์0-5346-5066 และ หมายเลขโทรสาร 0-5346-9066

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

119


WOR K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า “พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต จั ด ระเบี ย บสั ง คม อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มด� ำ รงไว้ ซึ่ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม จารี ต ประเพณี และภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า

นายอนุ รัก ษ์ ก๋ อ งโน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า ตั้งอยู่เลขที่ 379 หมู่ที่ 7 ต�ำบลดอยเต่า อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอดอยเต่า ประมาณ 10 กิโลเมตร พื้นที่ต�ำบลดอยเต่ามีพื้นที่ ประมาณ 123 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 76,875 ไร่ พื้นที่ทางการเกษตร ประมาณ 22,510 ไร่ มี ป ระชากรประมาณ 6,468 คน จ� ำ นวนครั ว เรื อ น 2,432 ครั ว เรื อ น ประชากรแบ่ ง เป็ น ชาย 3,236 คน และเป็นหญิง 3,232 คน องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า มีอ�ำนาจหน้าที่ในการพัฒนาต�ำบลดอยเต่า ซึ่งประกอบด้วย หมู่บ้านต่าง ๆ รวม 10 หมู่บ้าน โดยมี พันธกิจ (Mission) 4 ประการคือ 1.พัฒนาบริการสาธารณะ ขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนอย่างเพียงพอและทั่วถึง 2.พัฒนาโดยน�ำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง ในการส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศิลป วัฒนธรรมและความมั่นคงของท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสั ง คมแห่ ง ชาติ 3.พั ฒ นาขี ด ความสามารถของบุ ค ลากรบนพื้ น ฐานหลั ก ธรรมาภิ บ าล และ 4.พัฒนาศักยภาพของคนและชุมชนให้เข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้ 120

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสิน


สถานที่ส�ำคัญและแหล่งท่องเที่ยว ต�ำบลดอยเต่า อ่างเก็บน�้ำแม่ตูบ ตั้งอยู่บ้านฉิมพลี หมู่ที่ 4 ต�ำบลดอยเต่า อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ วัดหลวงดอยเต่า ตั้งอยู่ เลขที่ 302 หมู่ 3 บ้านดอยเต่า ต�ำบล ดอยเต่า อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2448 เดิมเคยเป็นวัดร้างของพระลัวะมาก่อน ตั้งอยู่ริมฝั่งล�ำห้วยแม่หาก ฝั่งตะวันออก ต่อมาได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัดในปี พ.ศ. 2448 และได้ รับการยกย่องเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง อนุสาวรียพ์ ระเจ้าตากสิน สร้างขึน้ เพือ่ ร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ที่ช่วยให้เชียงใหม่ซึ่งเคยอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า นานถึง 216 ปี ได้รับอิสรภาพ ข่วงพระเจ้ากาวีละ สร้างขึ้นเพื่อร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระเจ้ากาวีละ ที่ทรงช่วยพระเจ้าตากสิน และสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลก ในการสู้รบกับพม่าจนกระทั่งเชียงใหม่ได้รับอิสรภาพ

วัดหลวงดอยเต่า

ข่วงพระเจ้ากาวีละ

ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่น มีผ้าซิ่นตีนจก และ ตุ๊กตาหัวหลวง

ติดต่อ ส�ำนักงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า เลขที่ 379 หมู่ที่ 7 ต�ำบลดอยเต่า อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ 50260 โทรศัพท์ 053-106-834 และ โทรสาร 053-106-835 Email : info@doitao.go.th Website : www.doitao.go.th Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยเต่า

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

121


WOR K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าเดื่อ “ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ มี ก ารส่ ง เสริ ม อาชี พ ถ้ ว นหน้ า พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ยึ ด หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิสัยทัศน์ขององค์การบริการส่วนต�ำบลท่าเดื่อ

นายณั ฐ รั ฐ ชั ย บาล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าเดื่อ

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลท่ า เดื่ อ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลท่าเดื่อ อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัด เชียงใหม่ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากอ�ำเภอดอยเต่าไป ทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร ได้รับการ ยกฐานะจากสภาต�ำบล จัดตั้งเป็นองค์การ บริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 โดยปั จ จุ บั น มี น ายณั ฐ รั ฐ ชั ย บาล ด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ท่าเดื่อ

122

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าเดือ่ มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบทั้งสิ้น 415 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขต การปกครองออกเป็น 2 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลท่าเดือ่ และต�ำบลมืดกา มีจ�ำนวน 9 หมู่บา้ น ดังนี้ ต�ำบลท่าเดื่อ ประกอบด้วย 1.บ้านห้วยส้ม หมูท่ ี่ 3, 2.บ้านวังหลวง หมูท่ ี่ 4 , 3.บ้านหนองบัวค�ำ หมู่ที่ 5, และ 4.บ้านดงมะนะ หมู่ที่ 6 ต�ำบลมืดกา ประกอบด้วย 1.บ้านโป่งแพ่ง หมู่ที่ 1, 2.บ้านแปลง 1 หมู่ที่ 2 , 3.บ้านแปลง 4 หมู่ที่ 3, 4.บ้านดอยหลวง หมู่ที่ 4 และ 5.บ้านดอยแก้ว หมู่ที่ 5 มีจำ� นวนประชากรทัง้ สิน้ 2,355 คน เป็นชาย 1,198 คน หญิง 1,157 คน จ�ำนวนหลังคาเรือน ทั้ ง หมด 863 ครั ว เรื อ น ประชากรในพื้ น ที่ ส่วนใหญ่เป็นชนพื้นเมืองและชนเผ่ากะเหรี่ยง ส่วนใหญ่จะพูดภาษาท้องถิ่นพื้นเมืองและภาษา กะเหรี่ยง


ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงภูเขา และเนินเขาสูงสลับกันไป อีกทั้งมีแอ่งน�้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเกิดจากการสร้างเขื่อนภูมิพล เรียกว่า ทะเลสาบดอยเต่า

วัฒนธรรมประเพณี 1. ประเพณีสรงน�้ำพระบรมธาตุเจ้าดอยเกิ้ง 2. ประเพณียี่เป็ง 3. ประเพณีรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ

4. ประเพณีแห่ไม้ค�้ำ 5. ประเพณีนิยมตามเทศกาลและวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น สงกรานต์ ลอยกระทง เข้าพรรษา ออกพรรษา เป็นต้น 6. ประเพณีชนเผ่า เช่น ประเพณีปี๋ใหม่ชนเผ่า ประเพณีเลี้ยงพ่อเจ้า เป็นต้น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

123


ท่องเที่ยวท่าเดื่อ เพลินธรรมน�ำทางชีวิต พักผ่อนในวิถีวัฒนธรรมสานสุข กราบพระบรมสารีริกธาตุ “วัดพระบรม ธาตุเจ้าดอยเกิ้ง” วัดพระบรมธาตุเจ้าดอยเกิ้ง ตั้งอยู่ในเขต พื้นที่ หมู่ที่ 5 ต�ำบลท่าเดื่อ อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ มีครูบาบุญศรี เป็นเจ้าอาวาสวัด เป็นวัดที่สงบ งดงาม และมีอายุเก่าแก่ มีปูชนีย สถานที่ ส� ำ คั ญ คื อ เจดี ย ์ ที่ บ รรจุ พ ระบรม สารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ส่วนพระนลาฏ เบื้องซ้าย (กระดูกหน้าผากด้านซ้าย) ในทุกๆ ปี ช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ ในวันมาฆบูชา (เดือน 5 เป็ง (เหนือ)) จะมีประเพณีส�ำคัญคือ ประเพณีเดินดอยเกิ้งเพื่อสักการะองค์พระบรม ธาตุฯ และสรงน�้ำพระบรมธาตุฯ ซึ่งเดินขึ้นทาง ทะเลสาบดอยเต่า ใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง ในการเดินขึ้นไป เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมา หลายชั่วอายุคน

ทะเลสาบดอยเต่า ทะเลสาบดอยเต่า ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลท่าเดื่อ อ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่น�้ำท่วมถึงภายหลังการสร้างเขื่อนภูมิพล มีลักษณะเป็น แอ่งน�้ำขนาดใหญ่เหนือเขื่อนภูมิพล มีวิวและทิวทัศน์ที่สวยงาม และเงียบสงบ ในช่วงที่มีน�้ำมาก (ในช่วงเดือนตุลาคม-เมษายน) จะมีเรือและเรือนแพ ส�ำหรับบริการน�ำเที่ยวและพักค้างแรม และที่ส�ำคัญมีบริการอาหาร โดยมีเมนูอาหารที่ขึ้นชื่อ ได้แก่ อาหารประเภทปลาน�้ำจืดหลายชนิด เช่น ปลานิล ปลาเนื้ออ่อน ปลากด ปลาคัง ปลาบึก ปลาสวาย ฯลฯ 124

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


วิถีชุมชนบ้านดอยหลวง-ดอยแก้ว ชุมชนบ้านดอยหลวง-ดอยแก้ว ตั้งอยู่ใน เขตพื้นที่ หมู่ 4 และ หมู่ 5 ต�ำบลมืดกา อ�ำเภอ ดอยเต่ า จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี ลั ก ษณะพื้ น ที่ เป็ น ภู เขาสู ง มี อ ากาศเย็ น สบายตลอดทั้ ง ปี ประชากรในพื้ น ที่ เ ป็ น กลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ เ ผ่ า กะเหรี่ยง ซึ่งมีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การท�ำไร่กาแฟ และการทอผ้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน (ปลาแห้ง) ดอยเต่า เป็นแหล่งรวมปลามากมายหลาย ชนิด เช่น ปลากด ปลาสวาย ปลาชะโด ปลากา (เพี้ย) ปลาสังกะวาด ปลากราย ปลาเค้า ฯลฯ ซึ่ ง กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นในพื้ น ที่ ไ ด้ น� ำ มาแปรรู ป เป็ น ผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ปลาแห้งดอยเต่า ถือ เป็ น ของฝากที่ ขึ้ น ชื่ อ ของดอยเต่ า มี ร าคา ย่อมเยา รสชาติอร่อย สามารถน�ำไปประกอบ อาหารได้หลากหลายเมนู

อาหารและที่พัก 1. เรือนแพลูกแม่ปิง ติดต่อโทร. 081-993-4162 , 081-724-5470 2. เรือนแพธารทิพย์ ติดต่อโทร. 091-026-4970 3. เรือนแพดอยเต่าริมปิง โทร 081-961-1854 , 084-885-5982 4. ร้าน CHECK IN DOI TAO CAFE’ AND RESORT ติดต่อโทร 062-969-8264

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลท่ า เดื่ อ เลขที่ 342 หมู ่ 3 ต� ำ บลท่ า เดื่ อ อ� ำ เภอดอยเต่ า จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ รหั ส ไปรษณี ย ์ 50260 หมายเลขโทรศั พ ท์ 053-469-139 มื อ ถื อ 086-461-4926 FACEBOOK : อบต.ท่ า เดื่ อ ดอยเต่ า เว็ บ ไซต์ www.thaduea.go.th

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

125


FANG MODERN HOTEL โรงแรมฝาง โมเดิร์น

มาพักผ่อนกับเรา เพราะเราเชื่อว่าธรรมชาติจะเยียวยาทุกสิ่ง ฝางโมเดิร์น นอนฟังเสียงธรรมชาติ

ที่ตั้งของโรงแรมเป็นทุ่งนา ใช้ท�ำนากันตั้งแต่ สมัยบรรพบุรุษ โดยครอบครัวของโรงแรมก็ท�ำนาเช่น กัน จึงได้ศกึ ษาวิธกี ารท�ำโรงแรมและมีไอเดียอยากท�ำให้ คนทั่วไปซึมซับบรรยากาศกลางทุ่งนาและธรรมชาติ ซึ่งคนรุ่นใหม่ได้ห่างหายจากทุ่งนากันไปมาก จึงท�ำให้ โรงแรมเรามีนโยบายห้องพักหลักร้อยวิวหลักล้านก็เพือ่ ที่จะให้ได้เข้าถึงคนทุกกลุ่มและทุกคนสามารถพักได้

บรรยากาศกลางทุ่งนา แห่งเดียวในอ�ำเภอฝาง ห้องพักสไตล์โมเดิร์น


 ที่พักของเรา แบ่งออกเป็น 3 โซนคือ โซนตึก โซนบ้าน และโซนแค้มป์ ที่พัก โซนตึก สิ่งอ�ำนวยความสะดวกมี แอร์ ทีวี ตู้เย็น เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ตูเ้ สือ้ ผ้า ชัน้ วางของ เก้าอีช้ มวิวตรงระเบียง ที่พัก โซนบ้าน สิ่งอ�ำนวยความสะดวกมีดังนี้ แอร์ ทีวี ตู้ เย็น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น ไดร์เป่าผม กาต้มน�้ำร้อน ตู้เสื้อผ้า ชั้น วางของ ชุดโต๊ะระเบียง ที่พัก โซนแค้มป์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกมีดังนี้ แอร์ ตู้เย็น โซฟา เตียง 6 ฟุต ชุดโต๊ะอาหาร ห้องน�ำ้ ส่วนตัว อ่างจากุซซี่

 ร้านอาหารต่างๆ ภายในโรงแรม

ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม หรือติดต่อจองห้องพักกรุณาโทร

โรงแรมฝาง โมเดิร์น (Fang Modern Hotel)

405 หมู่ 3 ต.สันทราย อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 50110 052-005204 , 086-4391843 , 097-9743685

ID. fangmodern999

• • •

ร้านอาหาร & กาแฟสดภายในโรงแรม ชูใจมีนา ร้านหมูจมุ่ บุฟเฟต์ เวลาให้บริการ 18.00 - 22.00 น. ท่านละ 109 บาท ลานเครื่องดื่ม เวลาให้บริการ 18.00 - 22.30 น.


WOR K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน “มุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาทุ ก หมู ่ อยู ่ กั บ ธรรมชาติ ปราศจากยาเสพติ ด น� ำ พาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง คู ่ เ คี ย งคุ ณ ธรรม” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน

“ดื่ ม ด�่ ำ ธรรมชาติ ด อยอ่ า งขาง โครงการหลวงน� ำ ทางสร้ า งวิ ถี งดงามวั ฒ นธรรมประเพณี แม่ ง อนดี ลื อ เลื่ อ งพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ” ค�ำขวัญองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน

นายชาญวิทย์ เตียวกุล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน 128

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่งอน ในเขตของ อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ มีพื้นที่ต้องรับผิดชอบประมาณ 107 ตาราง กิโลเมตร หรือ 66,875 ไร่ มีหมู่บ้านทั้งหมดจ�ำนวน 15 หมู่บ้าน อยู่ในเขต ความรั บ ผิ ด ชอบขององค์ การบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลแม่ ง อน ปัจจุบันมี นาย ชาญวิทย์ เตียวกุล ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน


แม่งอน ชวนเที่ยว “สั ม ผั ส ความงดงามที่ ซ ่ อ นตั ว อยู ่ ใ ต้ เ งา แห่งขุนเขา” หมู่บ้านบ้านยาง เสน่ห์แห่งอาหารยูนนาน ความงามแห่งธรรมชาติที่บ้านยาง เชียงใหม่ หนึ่งแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสัมผัส บ้ า นยาง ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 12 ต� ำ บลแม่ ง อน อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในเขตโครงการพัฒนา

พืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ แม่งอนอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริฯ เป็น อีก หนึ่งหมู่บ้ านซุกซ่อนตัวอยู่ใต้เงาแห่ง ขุนเขา อันเต็มไปด้วยเสน่ห์ รอคอยให้นักเดิน ทางเข้าไปสัมผัส ความโดดเด่นของหมูบ่ า้ นแห่งนี้ คือความงดงามตระการตาของธรรมชาติ และความ งดงามของวิถชี วี ติ ในชุมชน ทีผ่ สมผสานวัฒนธรรม หลากหลาย ทั้งพุทธ มุสลิม และคริสต์ โดย ทั้งหมดมีการอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

นอกจากนี้ ยังมีความงดงามในความเรียบ ง่ายของวิถีชีวิตที่ด�ำเนินตามแนวพระราชด�ำริ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และเปี่ยมล้นไปด้วย ความส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ซึ่ ง เป็ น บรรยากาศที่ผู้มาเยือนจะสัมผัสได้ในทุกย่าง ก้าวของหมู่บ้านเล็กๆ แห่งนี้ อันเป็นหนึ่งใน หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัด เชียงใหม่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

129


“พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ 1 (ฝาง)” แหล่ ง รวมรอยพระเมตตาในหลวง ร.9 ผู้ทรงพลิกจาก “ดอยฝิ่น” สู่ “ดอยค�ำ” ด้วยพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราช บรมนาถบพิ ต ร รั ช กาลที่ 9 ที่ มี พระราชประสงค์ “ช่วยชาวเขา ช่วยชาวเรา ช่วยชาวโลก” และทรงต้องการพัฒนาความเป็น อยูข่ องพสกนิกรในท้องถิน่ ทุรกันดารให้อยูด่ กี นิ ดี จึ ง เกิ ด เป็ น “โครงการหลวง” ที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ ราษฎรเพาะปลูกท�ำการเกษตร จ�ำพวกผักและ ผลไม้เมืองหนาว แทนการปลูกฝิน่ ทีม่ มี าแต่ดงั้ เดิม

และนอกจากนั้ น ยั ง มี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ ก่อสร้าง “โรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูปที่ 1 (ฝาง)” ขึ้นที่หมู่บ้านยาง ต�ำบลแม่งอน อ�ำเภอ ฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในปีพ.ศ. 2515 เพื่อรับ ซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากเกษตรกรและน�ำ มาแปรรู ป เป็ น การช่ ว ยสร้ า งรายได้ แ ละยก ระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของชาวบ้านใน พื้นที่ลุ่มน�้ำแม่งอนและดอยอ่างขางให้ดีขึ้น ต่ อ มาส� ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระมหา กษัตริย์ได้เข้ารับช่วงการด�ำเนินงานของโรงงาน หลวงอาหารส�ำเร็จรูป จัดตั้งเป็นบริษัทโดยใช้ ชื่อทะเบียนการค้าคือ “ดอยค�ำ” ที่เน้นผลิต

ศาลเจ้าแม่กวนอิม “สถานีอนามัยพระราชทาน” แห่งแรกของต�ำบลแม่งอน สถานีอนามัยพระราชทาน เดิมเป็นบ้านพักของนายเจิงหลิ่ง แซ่ซู ราษฎรในพื้นที่ต�ำบลแม่งอน อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งถวายอาคารหลังนี้แด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร รั ช กาลที่ 9 เพื่อใช้เป็นสถานที่ตั้งสถานีอนามัยเมื่อ พ.ศ. 2515 ในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทาน พระราชทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ ส� ำ หรั บ การจั ด ตั้ ง สถานี อ นามั ย พร้อมกับการจัดสร้างโรงงานแปรรูปอาหาร และศูนย์โภชนาการเด็ก เพื่อช่วยเหลือและยกระดับความเป็นอยู่ของราษฎร สถานี อ นามั ย แห่ ง นี้ นั บ เป็ น สถานี อ นามั ย แห่ ง แรกของ ต�ำบลแม่งอน อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในอดีตรับผิดชอบ พื้นที่การให้บริการสาธารณสุข 6 หมู่บ้าน แม้ว่าสถานีอนามัย ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกลประสบปัญหาด้านเวชภัณฑ์ และบุคลากร แต่ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาก็ยังท�ำหน้าที่ในการรักษาพยาบาล ผู้คนในชุมชนอย่างทั่วถึงโดยไม่เลือกปฏิบัติ

130

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

สินค้าจากผลิตผลของเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อ สนับสนุนสินค้าเกษตรไทย และพัฒนาสินค้าให้ มีคุณค่าทางอาหาร เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนา ครั้งใหญ่จาก “ดอยฝิ่น” สู่ “ดอยค�ำ” นั่นเอง พิพธิ ภัณฑ์โรงงานหลวงที่ 1 (ฝาง) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 72 หมู่ 2 ต�ำบลแม่งอน อ�ำเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่ เปิดให้เข้าชมฟรี เวลา 08.30-16.30 น. โดยปิ ด บริ ก ารเฉพาะวั น จั น ทร์ (เว้ น วั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ ) และวั น หยุ ด ประจ� ำ ปี 15-30 กั น ยายนของทุ ก ปี ส่ ว นเวลาท� ำ การของ ร้ า นขายของที่ ร ะลึ ก คื อ 08.00-17.00 น. ปิดวันจันทร์ (เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)


ดอยอ่างขาง “ดอยแห่ ง ความงดงามและการพึ่ ง ตนเอง” ตามแนวพระราชด�ำริ ตั้ ง อยู ่ บ นทิ ว เขาแดนลาว ต� ำ บลแม่ ง อน อ� ำ เภอฝาง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี ค วามสู ง จาก ระดับน�้ำทะเล 1,400 เมตร และมียอดดอยสูง ถึง 1,928 เมตร เป็นที่ตั้งของสถานีเกษตรหลวง อ่างขาง ซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512 ตามแนว พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ที่ว่า “ให้เขาช่วย ตัวเอง” เปลี่ยนพื้นที่จากไร่ฝิ่นมาเป็นแปลง เกษตรเมืองหนาวที่สร้างรายได้ดีกว่าเก่าก่อน ดอยอ่างขางในปัจจุบัน มีสถานที่ท่องเที่ยว น่ า สนใจมากมาย เช่ น สถานี เ กษตรหลวง อ่างขาง, สวนบอนไซ, จุดชมวิวกิ่วลม, หมู่บ้าน ขอบด้ง และ หมู่บ้านนอแล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่งอน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่งอน ในเขตของอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50320 โทรศัพท์ : 053-346-296

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

131


WOR K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน “ร่ ว มคิ ด ร่ ว มแก้ ไ ขปั ญ หา ร่ ว มสร้ า ง ร่ ว มส่ ง เสริ ม ความเข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชน... โดยเน้ น ให้ ป ระชากรทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก วั ย เป็ น ศู น ย์ ก ลางของการพั ฒ นา” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สนู มีสำ� นักงาน ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 400 หมู ่ ท่ี 1 บ้ า นแม่ สู น หลวง ต� ำ บลแม่ สู น อ� ำ เภอฝาง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของถนนสายโชตนา (ทางหลวงแผ่ น ดิ น สาย 107) จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2539 ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2539 (หน้า 64 ล�ำดับที่ 632 ) ปัจจุบนั นายวันชาติ ศิรภิ ทั รนุกลู ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล แม่สูน นายสวัสดิ์ ปินตา, นายกองชัย ธรรมสุ ทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วน ต� ำ บลแม่ สู น และ สิ บ ตรี ส มศั ก ดิ์ กองจาย ด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการนายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลแม่สูน

นายวั น ชาติ ศิ ริภั ท รนุ กู ล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน

132

นายกองชัย ธรรมสุทธิ์

นายสวั สดิ์ ปิ น ตา

รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน

รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

สิ บ ตรี สมศั ก ดิ์ กองจาย เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน


กว่าจะมาเป็น “ต�ำบลแม่สูน” เราเริ่มรู้จักค�ำว่า “บ้านแม่สูน” ในสมัย เจ้าของสุริโยยศอยู่เมืองฝาง พ.ศ. 2324 ตาม บันทึกใบลานของพระเจ้าหลวงเมืองฝาง ซึ่งพ่อ หลวงสุวรรณมนูญหลวงรักษา เก็บรักษาเอาไว้ และต่อมาเมือ่ เจ้าหลวงมหาวงษ์ บ้านห้วยน�้ำริน แขวงสะลวง เดินทางมารับต�ำแหน่งเจ้าหลวง เมืองฝางแทนเจ้าหลวงสุริโยยศ ได้สร้างถนน สายแรกของเมืองฝาง จากตัวเมืองฝางมาสิ้นสุด ที่ บ ้ า นแม่ สู น และมี ก ารจั ด พิ ธี สู ่ ข วั ญ บายศรี ต้ อ นรั บ เจ้ า มหาวงษ์ ที่ บ ้ า นแม่ สู น จึ ง เคลื่ อ น ขบวนไพร่ พ ลบริ ว าร และครอบครั ว เข้ า สู ่ เมืองฝาง

ต่อมาเจ้าหลวงมหาวงษ์ได้ยกฐานะชุมชน ต่าง ๆ เป็นแคว้นรอบ ๆ เมืองฝางตั้งแคว้น ในเวียง แคว้นแม่สาว แคว้นแม่นาวาง แคว้นแม่สนู แคว้ น แม่ ง อน แคว้ น แม่ ท ะลบ เราจึ ง รู ้ จั ก บ้ า นแม่ สู น ในฐานะแคว้ น ครั้ น ต่ อ มาใน ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบบริหาร ราชการแผ่นดินเสียใหม่จากหัวเมืองเป็นจังหวัด อ�ำเภอ ต�ำบล หมู่บ้าน แคว้นแม่สูนก็ยกฐานะ เป็ น ต� ำ บล พ่ อ แคว้ น ก็ เ ปลี่ ย นมาเป็ น ก� ำ นั น ซึง่ ขุนบริหารทวยชนเป็นผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งคนแรก ต่อมาต�ำบลแม่สูน ได้แบ่งเขตพื้นที่ปกครองเป็น 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลแม่สูน และ ต�ำบลแม่คะ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

133


ภารกิจและหน้าที่ “องค์การบริหารส่วน ต�ำบลแม่สูน” การพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลแม่สูน เป็นการสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนในการร่วมคิด ร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมสร้าง ร่วมจัดท�ำส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนใน เขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นใน ทุกด้าน การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต�ำบล แม่สูน จะสมบูรณ์ได้จ�ำเป็นต้องอาศัยความร่วม มือของชุมชนในพื้นที่ให้เกิดความตระหนักร่วม กั น แก้ ไขปั ญ หาและความเข้ า ใจในแนวทาง แก้ไขปัญหากันอย่างจริงจัง และเน้นให้คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนาในทุกกลุ่มทุกวัยของ ประชากร นอกจากนี้ ยั ง ได้ เ น้ น การส่ ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น ในด้ า นการศึ ก ษาเด็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย น และพัฒนาเยาวชนให้พร้อมที่จะเป็นบุคลากร ที่ มี คุ ณ ภาพโดยยึ ด กรอบแนวทางในการจั ด ระเบียบการศึกษา ส่วนด้านการพัฒนาอาชีพ นั้น จะเน้นพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองใน ท้องถิ่น และเศรษฐกิจแบบพอเพียง

ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สูน เลขที่ 400 หมู่ 1 บ้านแม่สูนหลวง ต�ำบลแม่สูน จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50110 โทรศัพท์/โทรสาร 0-5334-6333 , E-mail : Maesoonlocal@gmail.com

134

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


If you love

HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE

www.sbl.co.th

SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย

วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง

Book of sbl.indd 16

. - 19/04/2562 14:30:07 PM


WO R K L IF E

อ�ำเภอพร้าว “เมื อ งเก่ า วั ง หิ น ถิ่ น ประเพณี ล�้ ำ ค่ า บู ช าพระเจ้ า ล้ า นทอง เรื อ งรอง เกษตรกรรม แดนธรรมหลวงปู ่ แ หวน” ค�ำขวัญ อ�ำเภอพร้าว

กว่าจะมาเป็นอ�ำเภอพร้าว

นายทรงศั ก ดิ์ วลั ย ใจ นายอ�ำเภอพร้าว

136

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ในปี พุ ท ธศั ก ราช 1801 พระเจ้ า เม็ ง ราย ผู ้ ค รองหิ รั ญ นครเงิ น ยาง (จั ง หวั ด เชี ย งรายใน ปัจจุบัน) ใน ขณะทรงมีพระชนมายุ 20 พรรษา มีพระโอรส 3 พระองค์ คือ ขุนเครื่อง ขุนคราม และขุ น เครื อ ต่ อ มาในปี พุ ท ธศั ก ราช 1823 พระเจ้าเม็งรายได้ยกทัพไพร่พลมุ่งสู่เมืองล�ำพูน (หริภุญชัย) เพื่อเข้าตีเมืองขณะเดินทัพมาถึงที่ แห่งหนึ่ง พระองค์เห็นว่าท้องที่แห่งนี้เป็นชัยภูมิ ที่ เ หมาะสมตามต� ำ ราพิ ชั ย สงคราม มี พื ช พั น ธุ ์ ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ จึงหยุดทัพเพื่อสะสม ไพร่พลและเสบียงอาหาร เพื่อให้กองทัพมีความ เข้มแข็งมากขึ้น โดยตั้งค่ายคูประตูหอรบอย่าง มั่ น คงแข็ ง แรง อยู ่ บ นสั น ดอยแห่ ง หนึ่ ง ชื่ อ “เวี ย งหวาย” และขนานนามว่ า “นครป้ า ว” บางต�ำนานว่า “นครแจ้สกั ” หรือ “เมืองป้าววังหิน” ค�ำว่า “ป้าว” มาจากค�ำว่า “ป่าวร้อง กะ เกณฑ์ ไพร่ พ ล” ภาษาท้ อ งถิ่ น หมายถึ ง “มะพร้ า ว” เพราะลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศของ อ�ำเภอพร้าวมีภูเขาล้อมรอบกลมกลืนเหมือนลูก มะพร้าว จึงได้เรียกขานกันต่อมาว่า “อ�ำเภอ พร้าว” ในปัจจุบัน โดยนับแต่สร้างนครป้าวมา ตั้งแต่ พ.ศ.1823 จนถึงเดี๋ยวนี้มีอายุกว่า 723 ปี


วัดส�ำคัญและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อ เสียงในอ�ำเภอพร้าว ส ถ า นี พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ สู ง ต า ม พระราชด� ำ ริ ดอยม่ อ นล้ า น อ� ำ เภอพร้ า ว จังหวัดเชียงใหม่ วัดดอยแม่ปั๋ง ตั้งอยู่บ้านแม่ปั๋ง หมู่ที่ 5 ต�ำบลแม่ปั๋ง ที่มีชื่อสียง คือ หลวงปู่แหวน สุจิณ โน มรณภาพเมื่อ พ.ศ.2530 ปัจจุบันนี้วัดดอย แม่ปั๋งมีอัฐิของหลวงปู่และหุ่นขี้ผึ้งรูปเหมือน ประดิษฐานอยู่ เพื่อให้สาธุชนสักการบูชาได้ ตลอดเวลา วัดถ�้ำดอกค�ำ ตั้งอยู่บ้านสหกรณ์ด�ำริ หมู่ที่ 7 ต� ำ บลน�้ ำ แพร่ มี ร อยประทั บ นั่ ง และรอย พระหั ต ถ์ ห รื อ รอยนิ้ ว มื อ เป็ น เครื่ อ งระลึ ก ถึ ง พระพุทธเจ้าเพื่อให้เกิดปีติในพุทธานุภาพ ใน การโน้มน้าวจิตใจให้กระท�ำคุณงามความดี และ ให้ช่วยกันอนุรักษ์พัฒนาปูชนียสถานส�ำคัญคู่ บ้านคู่เมืองสืบไป พระเจ้าล้านทอง เรียกอีกนามว่า “พระเจ้า หลวง” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยเก่าแก่ สร้ า งมานานสมั ย เวี ย งพร้ า ววั ง หิ น ซึ่ ง ได้ ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น โบราณวั ต ถุ ต ามประกาศกรม ศิลปากรเรียบร้อยแล้ว

วัดพระธาตุกลางใจเมือง ตั้งอยู่ในหมู่บ้าน ศรีค�้ำ หมู่ที่ 8 ต�ำบลสันทราย วัดสร้างโดย พระเจ้ากือนาธรรมิกราช พระผู้สร้างประทาน นามว่ า “วั ด สะดื อ เมื อ ง” อั น หมายถึ ง จุดศูนย์กลางของเวียงพร้าววังหิน เปรียบได้กับ สะดือของร่างกาย ในการสร้างวัดพระธาตุกลาง ใจเมือง ได้มีการปลูกไม้ศรีมหาโพธิ์ (ไม้ศรี – อ่านออกเสียงตามภาษาล้านนาว่า ไม้สะหลี) ด้วย ตามประเพณีการสร้างวัดในสมัยโบราณ ราชประเพณีของล้านนาไทย โบราณสถานพระธาตุม่วงเนิ้ง ตั้งอยู่บ้าน ป่าห้า หมู่ที่ 5 ต�ำบลโหล่งขอด เป็นโบราณ สถานที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของอ�ำเภอพร้าว มีผู้คน นับถือสักการบูชามานานหลายชั่วอายุคน มี ท่านผู้เฒ่าแห่งหมู่บ้านต�ำบลโหล่งขอดเล่าสืบ ต่อกันมาว่า พระธาตุมีอายุมานานประมาณ 1,000 กว่าปีมาแล้ว วัดศรีดอนไชยทรายมูล (สถานที่ประดิษฐ์ พระฝนแสนห่า) ตั้งอยู่บ้านหนองอ้อ หมู่ที่ 5 บ้านหนองอ้อ ต�ำบลเวียง มีพระพุทธรูปทอง สัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย และพระโมลีเป็นไม้ ฐาน ฝั ง ลงแท่ น แก้ ว หรื อ ชุ ก ชี ที่ ฐ านไม่ มี ค� ำ จารึ ก พระพุทธรูปองค์นี้คนทั่วไปเรียกว่า “พระฝน

แสนห่า” เป็นศิลปกรรมแบบเชียงแสน วัดพระเจ้าตนหลวง (พระเจ้านั่งช้าง) และ พระธาตุดอยกาหลง ตั้งอยู่บ้านสบปั๋ง หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่ปั๋ง มีประเพณีในการสรงน�้ำพระธาตุ ท�ำบุญทุกๆ เดือน 8 เหนือ ขึ้น 15 ค�่ำ เป็น ประจ�ำทุกปี วัดพระธาตุดอยนางแล หรือ พระธาตุดอย กิ่วแล หรืออีกชื่อหนึ่งว่า พระธาตุดอยนกแล ปัจจุบันตั้งอยู่บนเขาเตี้ยๆ ระหว่างอาณาเขต หมู่ที่ 4 บ้านท่ามะเกี๋ยงและหมู่ที่ 5 บ้านสันปง ต�ำบล สันทราย ปัจจุบันเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม อยู ่ ใ นความดู แ ลของพระครู ป ั ญ ญาธี ร ยุ ต รองเจ้าคณะอ�ำเภอพร้าว ที่ว่าการอ�ำเภอพร้าว : ถนนรอบเวียงด้านใต้ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50190 โทรศัพท์ : 0-5347-5301, 0-5347-5260 โทรสาร : 0-5347-5301

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

137


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลเวียงพร้าว “ดิ น แดนพระยาเขื่ อ นเมื อ ง รุ ่ ง เรื อ งการเกษตร เขตการค้ า ชุ ม ชน มากล้ น แหล่ ง อารยธรรม น้ อ มน� ำ บู ช าหลวงพ่ อ ดาบส”

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลเวียงพร้าว เลขที่ 333 หมู่ 4 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 50190 โทรศัพท์ / โทรสาร (053) 475-025 http://www.wiangphrao.go.th

ค�ำขวัญเทศบาล ต�ำบลเวียงพร้าว

เทศบาลต�ำบลเวียงพร้าว ตั้งอยู่ที่เลขที่ 333 หมู่ 4 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอพร้าว จังหวัด เชียงใหม่ ได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลเวียง พร้าว เป็นเทศบาลต�ำบลเวียงพร้าว เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 ตามพระราชบัญญัติ เปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542 ต่ อ มากระทรวงมหาดไทยได้ ประกาศยุบรวมองค์การบริหารส่วนต�ำบลเวียง และองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งหลวง เข้ากับ เทศบาลต�ำบลเวียงพร้าว ท�ำให้มีพื้นที่ในเขต รับผิดชอบ ประมาณ 12.3 ตารางกิโลเมตร 138

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เขตพื้ น ที่ ข องเทศบาลต� ำ บลเวี ย งพร้ า ว ตั้งอยู่ใจกลางของอ�ำเภอพร้าว เป็นศูนย์กลาง ทางการค้าขายของอ�ำเภอพร้าว เป็นที่ตั้งของ หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัท ห้างร้าน ตลาดสด มีศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การลงทุนค้าขาย การเกษตรกรรม และมีความ งดงามทางศิ ล ปวั ฒ นธรรมประเพณี อั น ดี ง าม ประกอบด้วยหมู่บ้าน 2 ต�ำบล 12 หมู่บ้าน คือ ต�ำบลเวียง 6 หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านช่างค�ำ หมู่ที่ 2 บ้านขามสุ่ม หมู่ที่ 3 บ้านป่าเสี้ยว หมู่ที่ 4 บ้านแจ่งกู่เรือง หมู่ที่ 5 บ้านหนองอ้อ

หมู่ที่ 6 บ้านแม่กอย ต�ำบลทุ่งหลวง 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งหลวง หมู่ที่ 2 บ้านป่าจี้ หมู ่ ที่ 3 บ้ า นสั น มะนะ หมู ่ ที่ 4 บ้ า นแม่ งั ด หมูท่ ่ี 5 บ้านหม้อบน หมู่ที่ 6 บ้านหม้อล่าง โดยมีวิสัยทัศน์การพัฒนาเวียงพร้าวว่า “เวียงพร้าว...นครแห่งชีวติ และวัฒนธรรม” ร่ ว มกั น พั ฒ นาเวี ย งพร้ า วให้ เ ป็ น เมื อ งที่ มี ความสุขเป็นดินแดนแห่งธรรม น�ำวิถีชีวิตให้ มีคุณภาพด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง และมี ความงดงามทางวัฒนธรรม เทศบาลต� ำ บลเวี ย งพร้ า ว ได้ รั บ การ พัฒนามาอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมที่สร้างสรรค์ พัฒนางานด้านโครงสร้างพื้นฐาน ถนนหนทาง เพื่ อ รองรั บ การสั ญ จรไปมาได้ อ ย่ า งสะดวก สบาย ส่งเสริมงานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เช่น การจัดงานประเพณีใส่ขันดอกอินทขีล, งานสงกรานต์ ,งานลอยกระทง, งานสรงน�้ำพระ ธาตุ เป็นต้น ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ของประชาชน ทุกระดับ เป็นศูนย์จัดการเครือข่ายร่วมสร้าง ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ร่วมกับส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใต้ โครงการสานพลังภาคีเครือข่ายสู่การพัฒนา อย่างยั่งยืน เกิดแหล่งเรียนรู้ที่เห็นผลเป็นรูปธรรม และ น� ำ สู ่ ก ารแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นการส่งเสริมการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรกรรม แหล่งเรียนรู้ในชุมชนใน ด้านต่างๆ และแหล่งโบราณสถาน วัด สถานที่ ส� ำ คั ญ ในต� ำ บล มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การ รองรับผู้มาท่องเที่ยวได้อย่างสมบูรณ์แบบ เช่น ที่พัก โฮมสเตย์ รถรับส่ง อาหาร การต้อนรับ ฯลฯ เพื่อสร้างความสุขและความประทับใจให้ ผู้มาเยือนเวียงพร้าว


แหล่งเรียนรู้การท่องเที่ยวทางศิลป วัฒนธรรม วิถีชุมชน และการเกษตร

แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

5. วัดหนองอ้อ เป็นที่ประดิษฐานพระเจ้า ฝนแสนห่า เจดีย์ 12 ราศีปีเกิด ฯลฯ 1. ศาลหลักเมืองพร้าวและอนุสรณ์สถาน พระยาเขื่ อ นเมื อ ง มี ก ารจั ด งานประเพณี ใส่ขันดอกบูชาอินทขีลเป็นประจ�ำทุกปีในช่วง เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน (ช่วงเดือนแปดเข้า เดือนเก้าออก เดือนทางล้านนา)

มีแหล่งเรียนรู้ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ด้านสุขภาวะในชุมชน เช่น

1. ศาลาอโรคยา เปิ ด บริ ก ารนวดเพื่ อ สุขภาพ นวดแผนไทย นวดผ่อนคลาย 2. อนุสาวรีย์พญามังรายและพระอริยสงฆ์ ประดิษฐานเป็นอนุสรณ์สถานให้ประชาชนผู้มา เทีย่ วเวียงพร้าวได้กราบไหว้สกั การะบูชาเพือ่ ความ เป็นสิรมิ งคล ณ ด้านหน้าทีว่ า่ การอ�ำเภอพร้าว

1. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (บ้านทุ่งหลวง)

2. พร้าวกรีนวัลเลย์ (บ้านขามสุ่ม) การ จั ด สรรพื้ น ที่ เ ป็ น เกษตรผสมผสาน ปลู ก พื ช หลากหลายระดับ 3. สวนไผ่อุ้ยอวน (บ้านหนองอ้อ) มีการ ปลู ก ไผ่ ห ลากหลายชนิ ด เป็ น โฮมสเตย์ แ ละ แหล่งเรียนรู้ของชุมชน

สินค้าชุมชน 2. สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา (แม่ค�ำผง) เป็น แหล่ ง การปลู ก พื้ น สมุ น ไพรในครั ว เรื อ นรอบ บ้าน น�ำมาแปรรูป จ�ำหน่ายให้แก่ผู้ที่สนใจ 1. ศูนย์ทอผ้าพื้นเมือง วัดทุ่งหลวง จ�ำหน่าย ผ้าทอพื้นเมือง

3. วัดป่าอาจารย์มั่น เป็นสถานที่หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ได้จ�ำพรรษาและปฏิบัติธรรม มีกุฏิ และสถานที่ เ ดิ น จงกรมหลวงปู ่ มั่ น มณฑป บูรพาจารย์ ฯลฯ

4. วัดทุ่งหลวง เป็นสถานที่ตั้งของศูนย์กู้ภัย พร้ า ววั ง หิ น บริ ก ารช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ผู้ประสบภัยตลอด 24 ชั่วโมง เป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่ อ พระพุ ท ธส� ำ เร็ จ ศั ก ดิ สิ ท ธิ์ พระเจ้ า ทันใจ รูปเหมือน 9 คณาจารย์ ฯลฯ

3. ป่าจี้ หมู่บ้านจัดการตนเอง เป็นหมู่บ้าน ต้นแบบที่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่ น มี ก ลุ ่ ม องค์ ก รชุ ม ชน วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน กองทุน กลุ่มปลูกผักปลอดภัย อสช. รถไถนา ชุมชน เป็นต้น

2. การผลิตถั่วเน่าแปรรูป บ้านหนองอ้อ จ�ำหน่ายถัว่ เน่าแผ่น ถัว่ เน่าแปรรูป หลายรสชาติ

4. ขามสุม่ หมูบ่ า้ นจัดการขยะชุมชน เป็นหมูบ่ า้ น ต้นแบบด้านการจัดการขยะให้ชุมชน น�ำมา จ�ำหน่าย แปรรูป ลดการทิ้งขยะในชุมชน ฯลฯ

3. มีผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มอาชีพ เช่น ข้าวหอมมะลิ เห็ด ไข่เค็ม พรมเช็ดเท้า ไม้กวาด สมุนไพร แชมพู น�้ำยาล้างจานฯลฯ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

139


WOR K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโหล่งขอด “สร้ า งโหล่ ง ขอดให้ น ่ า อยู ่ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา พั ฒ นาการเกษตร ขยายเขตคมนาคม ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลโหล่งขอด

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโหล่งขอด ตั้งอยู่เลขที่ 73 หมู่ที่ 3 ต�ำบลโหล่งขอด อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยอยู่ห่างจาก ที่ว่าการอ�ำเภอพร้าวประมาณ 31 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 60 กิโลเมตร

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญในต�ำบลโหล่งขอด

นายประจั ก ษ์ วงค์ ป ั ญ ญา

ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโหล่งขอด

140

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พระธาตุ 700 ปีแห่งอ�ำเภอพร้าว วัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นหลวง ต� ำ บลโหล่ ง ขอด อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ วั ด พระธาตุ ด อยเวี ย งชั ย มงคล หรื อ พระมหาธาตุเจดีย์บารมี 19 ยอด ประดิษฐาน พระมหาธาตุเจดีย์นครคีรีนพบุรี เป็นโบราณ สถานเก่าแก่ของอ�ำเภอพร้าว มีอายุกว่า 700 ปี มี ก ารค้ น พบโบราณวั ต ถุ ใ นครั้ ง ที่ มี บู ร ณ ปฏิสังขรณ์พระธาตุดอยเวียง เมื่อปี พ.ศ. 2546 สันนิฐานว่าสร้างในสมัยพญามังรายมหาราช กษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านนา เนื่องจากบริเวณพระธาตุสามารถมองเห็น วิวทิวทัศน์ต�ำบลโหล่งขอดได้ทั้งหมด ปัจจุบัน ทางวัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล ได้จัดสร้าง เป็นระเบียงชมวิว ให้ผู้ที่เดินทางมาสักการะ ได้ชื่นชมความอุดมสมบูรณ์ผืนป่าสีเขียวของ ต�ำบลโหล่งขอดได้อย่างชัดเจน


1

พิพิธภัณฑ์สานฝันบรรพชน บ้านหลวง ต�ำบลโหล่งขอด

ศูนย์การเรียนรู้พิพิธภัณฑ์สานฝันบรรพ ชนภูมิปัญญาบรรพชน ในอดีตเป็นบ้านของ พระครู วรรณวิวฒ ั น์ ดร. (นพบุรี มหาวณฺโณ มหาวรรณ) เจ้า อาวาสวัดบ้านหลวง เจ้าคณะต�ำบลโหล่งขอดและ ด.ต.วิ รั ต น์ มหาวรรณ์ ร่ ว มกั น มอบให้ กั บ ชุ ม ชน บ้านหลวง เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลัง นักท่องเที่ยวและ ผู้สนใจได้ศึกษาเรียนรู้อารยธรรม ศิลปะ ภูมิปัญญา ต่างๆ โดยรวบรวมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุซึ่งเป็น มรดกสืบทอดจากบรรพบุรุษกว่า 8,000 ชิ้น

2

การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บ้านหลวง ต�ำบลโหล่งขอด ท�ำบุญตักบาตร ณ วัด บ้านหลวง

ชมประวัติศาสตร์เรื่องราวพระพุทธรูปของ หมู่บ้าน เยี่ยมชมตัวอย่างสวนเกษตรอินทรีย์ และระบบไร่นาสวนผสมตามรอยพระราชด�ำริ และพักโฮมสเตย์ในหมู่บ้าน ร่วมท�ำบุญตักบาตรเนื่องในวันพระ และเข้าร่วมศาสนพิธีในวันส�ำคัญทางศาสนา วัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล และชมวิว ทิวทัศน์มุมสูงของบ้านหลวง เป็นการท่องที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้นักท่องเที่ยวสัมผัสถึงวัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของคนในหมู่บ้านต�ำบลโหล่งขอดที่เพียบ พร้อมทุกรสชาติของชีวิตอันอุดมสมบูรณ์

3

บ้านหลวง “หมู่บ้านตัวอย่างตามรอย เท้าพ่อ”

ศูนย์เรียนรู้หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ต�ำบลโหล่งขอด “บ้านหลวง” เป็นหมู่บ้านที่มีขนาดใหญ่ มีอาณาเขตทั้งหมดรวมถึงพื้นที่ในการเพาะปลูกทางการ เกษตรกว้างขวางที่สุดในต�ำบลเดียวกัน จากรากฐานการเป็นหมู่บ้านเกษตรกรรมและการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหมู่บ้าน จึงส่งผลให้ บ้ า นหลวงได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ การประกวดโครงการ “หมู ่ บ ้ า นตั ว อย่ า งตามรอยเท้ า พ่ อ ” ประเภทโครงการ พัฒนาด้านแหล่งน�้ำ ประจ�ำปีงบประมาณ 2558 รางวัล หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับ จั ง หวั ด น� ำ ไปสู ่ การเป็ น หมู ่ บ ้ า นต้ น แบบในการน้ อ มน� ำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปเป็นแนวทางในการด�ำเนิน ชีวิตจึงท�ำให้ประชาชนในบ้านหลวงสามารถพึ่งตนเองได้ อย่างยั่งยืน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

141


WO R K L IF E

อ�ำเภอแม่แตง “แดนน�้ ำ สามแม่ ล่ อ งแพขี่ ช ้ า ง แอ่ ว อ่ า งแม่ งั ด กาดนั ด แม่ ม าลั ย โป่ ง เดื อ ดใหญ่ ล�้ ำ ค่ า หมอกฟ้ า ห้ ว ยน�้ ำ ดั ง มนตร์ ข ลั ง เมื อ งแกน ท่ อ งแดนถ�้ ำ บั ว ตอง ” ค�ำขวัญอ�ำเภอแม่แตง

นายสื บ พงษ์ นิ่ ม พู ล สวั ส ดิ์ นายอ�ำเภอแม่แตง

ชมทะเลหมอกยามเช้า เก็บความประทับใจ ในดินแดนแห่งการท่องเที่ยวอ�ำเภอแม่แตง ดื่ ม ด�่ ำ กั บ บรรยากาศท่ อ งเที่ ย วแบบซาฟารี ขี่ ช ้ า ง ล่ อ งแพ นั่ ง เกวี ย น กั บ สายน�้ ำ แม่ แ ตง ชมความสามารถของช้างแสนรู้ที่ได้รับการฝึก เช่น วาดภาพ เล่ น เตะฟุ ต บอล ฝึ ก การท� ำ งาน เช่ น ยกขอนไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีที่เที่ยวส�ำคัญๆ อย่างโป่งเดือด เป็นน�้ำพุร้อนธรรมชาติที่ช่วยรักษาโรคปวดตามข้อ หรือไปชมความงามที่สุดของธรรมชาติที่อุทยาน

142

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

แห่ ง ชาติ ห ้ ว ยน�้ ำ ดั ง ที่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ อ� ำ เภอ แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ กับอ�ำเภอปาย จังหวัด แม่ฮ่องสอน

อ�ำเภอแม่แตง มีแม่น�้ำที่ส�ำคัญ 3 สาย ไหลมา บรรจบกั น ที่ โ ครงการส่ ง น�้ ำ และบ� ำ รุ ง รั ก ษา แม่แตง หรือที่ชาวแม่แตงเรียกว่าชลประทาน ซึ่งแม่น�้ำ 3 สายนั้น คือ แม่น�้ำแม่งัด แม่น�้ำแตง และแม่น�้ำปิง ดังเป็นที่มาของค�ำว่า “แดนน�้ำสาม แม่” นั่นเอง อ� ำ เภอแม่ แ ตงอยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของจั ง หวั ด เชียงใหม่ บนถนนทางหลวงหมายเลข 107 ผ่าน อ� ำ เภอแม่ ริ ม ห่ า งจากจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ 40 กิโลเมตร ได้รับจัดล�ำดับเป็นอ�ำเภอชั้น 2 ของ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่ ทั้งหมด 1,362.784 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วน ใหญ่เป็นที่ราบสูง ภูเขา และป่าไม้ ประมาณ 70 % เป็นป่าสงวนแห่งชาติ เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า และอุทยานแห่งชาติ และเป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร ที่ส�ำคัญ 3 สาย ได้แก่ แม่น�้ำปิง แม่น�้ำแตง และ แม่งัด


แนะน�ำสถานที่ท่องเที่ยวน่าสนใจ 1. อุทยานแห่งชาติห้วยน�้ำดัง 2. ขุนแม่ยะ 3. วัดบ้านเด่นสะหรีศรีเมืองแกน 4. เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล 5. โป่งเดือดป่าแป๋ 6. น�้ำตกหมอกฟ้า 7. วนอุทยานน�้ำตกบัวตองและน�้ำพุเจ็ดสี 8. ล่องแพแก่งกึ๊ด 9. พิพิธภัณฑ์แหล่งเตาเผาอินทขิล 10. ปางช้างแม่แตง ที่ว่าการอ�ำเภอแม่แตง ตั้งอยู่เลขที่ 200 หมู่ 2 ถนนเชียงใหม่ – ฝาง ต�ำบลสันมหาพน อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50150 โทรศัพท์ : 053-471-322 โทรสาร : 053-471-322 ต่อ14 เว็บไซต์อ�ำเภอ : maetang.go.th แนะน�ำเฟซบุ๊ก : facebook แม่แตง

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

143


WO R K L IF E

เทศบาลเมืองต้นเปา “ปากท้ อ ง ความเป็ น อยู ่ อาชี พ และรายได้ ของพี่ น ้ อ งประชาชนต� ำ บลต้ น เปาต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลอย่ า งทั่ ว ถึ ง ” วิสัยทัศน์เทศบาลเมืองต้นเปา

ภารกิจและหน้าที่ของเทศบาล

นายปราการ ขั น ปั ญ ญา

ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีเมืองต้นเปา

ชวนเที่ยวพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยใหม่เอี่ยม “พลังอันยิ่งใหญ่ของศิลปะที่สร้างคุณค่าให้กับ ทุกๆ ชีวิต” พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยใหม่เอี่ยม เปิดให้อย่าง เป็ น ทางการตั้ ง แต่ วั น ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2559 เป็นต้นมา เนื่องจากศิลปหัตถกรรมเฟื่องฟูเป็นอย่าง มากที่เมืองหลวงของภาคเหนืออย่างเชียงใหม่ ซึ่งเป็น ที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ด้วยประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของช่างฝีมือมากทักษะ ส�ำหรับช่วงศตวรรษที่ผ่านมา และในปัจจุบัน เชียงใหม่ได้เป็นบ้านของศิลปินและ นักเขียนร่วมสมัยหลายๆ ท่าน ด้วยความเป็นเมืองที่ ผสมผสานวิถีชนบทและวิถีเมืองหลวงเข้าไว้ด้วยกัน และความเป็นกลุ่มก้อน เกิดเป็นแรงบันดาลใจให้ 144

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ภารกิจหลัก 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 3. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ 4. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว 5. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 6. การส่งเสริมด้านการศึกษาของประชาชน และเยาวชน ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน 7. การส่งเสริมเรื่องการกีฬา การดูแลรักษา สุขภาพอนามัยของประชาชนและเยาวชน 8. การส่งเสริมด้านการบ�ำรุงศิลปะ จารีต ประเพณี ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และวัฒนธรรมอันดี ของท้องถิ่น และภารกิจรอง คือ 1. การพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 2. แก้ปัญหาการเมือง การบริหาร


ครอบครั ว บุ น นาค-เบอร์ เ ดอเลย์ ได้ ก ่ อ ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย ใหม่ เ อี่ ย มขึ้ น โดย คุณฌอง มิเชล เบอร์เดอเลย์ และ คุณพัฒศรี บุ น นาค ภรรยาผู ้ ล ่ ว งลั บ รวมทั้ ง คุ ณ เอริ ค บุนนาค บู๊ทซ์ บุตรชายของท่านทั้งสองมีความ ประสงค์ที่จะแบ่งปันคอลเลคชั่นส่วนตัวที่สะสม มากว่า 30 ปี ให้ทุกคนสามารถสัมผัสได้ด้วย ตนเองถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของศิลปะที่จะสร้าง คุณค่าให้กับทุกๆ ชีวิต และเป็นการส่งต่อแรง

บั น ดาลใจให้ กั บ นั ก สะสมรุ ่ น ใหม่ ๆ ชื่ อ ของ พิพิธภัณฑ์นั้นเป็นการผสมผสานระหว่างค�ำว่า “ใหม่” ที่มาจากชื่อเมือง “เชียงใหม่” และ หมายถึง “ความสดใหม่” กับค�ำว่า “เอี่ยม” ซึ่ง เป็นการสดุดถี งึ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระองค์ทรงมีชีวิตอยู่ ระหว่ า งการเปลี่ ย นผ่ า นสู ่ ค วามทั น สมั ย ของ ประเทศไทย เมื่อรวมสองค�ำเข้าด้วยกันกลาย เป็นค�ำว่า ใหม่เอี่ยม ซึ่งมีความหมายดีเยี่ยม

แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ

ก็ เข ้ า ไ ป ยื น อ ยู ่ ใ ก ล ้ ชาวนาผู้นั้นแล้ว จึงตรัส ถามว่ า ดู ก รอุ บ าสก ท ่ า น ก� ำ ลั ง ท� ำ อ ะ ไร ชาวนาผู้นั้นเงยหน้าขึ้น เห็ น พระพุ ท ธเจ้ า เช่ น นั้นก็เข้าใจว่าเป็นยักษ์ ก็ ต กใจกลั ว มื อ ก็ ถื อ ด้ามพลั่วหวาดกลัวจน ตัวสั่น พระองค์จึงตรัส ว่า อย่าอุบาสก อย่ากลัวเรา เราคือพระพุทธเจ้า ชาวนาผู้นั้นรู้ว่าเป็นพระพุทธเจ้าจริง แล้วจึง กราบลงนอบน้อมนมัสการด้วยความเคารพยิ่ง พระพุทธเจ้าตรัสว่า ในคืนวันนี้เราตถาคต จั ก นอนอยู ่ ที่ นี่ ชาวนาผู ้ นั้ น ประนมมื อ ไว้ พระพุทธเจ้าแล้วทูลว่า ข้าแด่พระพุทธเจ้า ข้า ขออาราธนาไปพักผ่อน ไปพักนอนในกระท่อม ของข้าพระพุทธเจ้านั้นเถิด พระพุทธเจ้าจึงตรัส ว่า เราตถาคตจักพักนอนที่คันนานี้ไม่ไปที่อื่น ชาวนาผู ้ นั้ น ได้ ยิ น พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส เช่ น นั้ น

แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ในเขตเทศบาล เมืองต้นเปา ส่วนใหญ่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง ศิลปวัฒนธรรมอาทิเช่น วัดพระป้าน (วัดพระนอนแม่ปูคา) สั ก การบู ช าพระเกศาธาตุ พ ระพุ ท ธเจ้ า วั ด พระป้ า น (วั ด พระนอนแม่ ปู ค า) ตั้ ง อยู ่ ที่ บ้ า นสั น พระเจ้ า งาม หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลต้ น เปา อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ จากต�ำนาน พระนอนปูคา ปรากฏในธรรมเทศนาอักษรล้านนา ชื่อ “ต�ำนานพระป้าน” มี 2 ฉบับ คือ ฉบับ 1 ผูก และฉบับ 2 ผูก ข้อความส่วนใหญ่คล้ายคลึง กับต�ำนานพระเจ้าเลียบโลกฉบับพิสดาร 25 ผูก ต�ำนานดังกล่าวจารึกลงใบลานด้วยอักษรและ ภาษาเมื อ งเหนื อ “ค� ำ เมื อ ง” กล่ า วว่ า “พระพุทธเจ้าเสด็จลีลาไปถึงสถานที่แห่งหนึ่ง พระอาทิ ต ย์ จ วนอั ส ดงคตแล้ ว พระองค์ ท รง ทอดพระเนตรเห็ น ชาวบ้ า นผู ้ ห นึ่ ง ก� ำ ลั ง ขึ้ น คันนา (ค�ำเมืองเรียกป้านคันนา) อยู่ พระองค์

พิพิธภัณฑ์ จัดแสดงคอลเลคชั่นงานสะสม ของครอบครัว ซึ่งมีผลงานชั้นเยี่ยมของ ศิลปิน ร่วมสมัยชั้นครูอย่างมณเฑียร บุญมา ฤกษ์ฤทธิ์ ตี ร ะวนิ ช คามิ น เลิ ศ ชั ย ประเสริ ฐ ชาติ ช าย ปุยเปีย อารย ราษฎร์จ�ำเริญสุข นาวิน ราวันชัย กุล นที อุตฤทธิ์ วสันต์ สิทธิเขตต์ และพิณรี สั ณ ฑ์ พิ ทั ก ษ์ รวมทั้ ง ผลงานจากการเสาะ แสวงหาศิลปินรุ่นใหม่จากทั่วประเทศ

จึงรีบไปดึงเอาหญ้าคาที่มุงกระท่อมมาปูลาด คั น นาส� ำ หรั บ พระพุ ท ธองค์ พระพุ ท ธเจ้ า ก็ ประทับแรมที่คันนาแห่งนั้น ชาวนาผู้นั้นก็เข้าไป กราบ แล้ ว กราบทู ล พระพุ ท ธเจ้ า ว่ า ข้ า แด่ พระพุทธเจ้าอย่าได้รีบไปเสด็จไปที่อื่น ขอทรง รั บ ข ้ า ว บิ ณ ฑ บ า ต ข อ ง ข ้ า พ ร ะ พุ ท ธ เจ ้ า เสียก่อนเถิด พอถึงเวลารุ่งแล้วชาวนาจัดแจง น� ำ ข้ า วน�้ ำ โภชนาหารมาใส่ บ าตรถวายแด่ พระพุทธเจ้า แล้วพระองค์ได้ประทานพระเกศา ให้ 1 เส้น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

145


วันต้นเปา “พระเจ้าสา” พระพุทธรูปท�ำจากกระดาษสา “หนึ่งเดียวในโลก” วั ด ต้ น เปา ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นต้ น เปา หมู ่ ที่ 1 ต�ำบลต้นเปา อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ พระอธิ ก ารวั ช ระพล ถิ ร ธั ม โม เจ้ า อาวาส วัดต้นเปา เล่าว่า พระเจ้าสา หรือ พระเจ้า กระดาษสา นั้น ค�ำว่าสา เป็นค�ำพ้องเสียงทาง ล้านนา แปลว่า การไหว้สา หรือคนภาคกลาง จะกล่าวว่าสาธุ เกิดจากจุดเริ่มที่ว่าท�ำอย่างไร ให้ลูกหลานในหมู่บ้านเห็นความส�ำคัญเรื่องของ กระดาษสา ที่เป็นของพื้นบ้านหมู่บ้านต้นเปา จึ ง คุ ย กั บ ชาวบ้ า นว่ า จะท� ำ ให้ ก ระดาษสานี้ มหัศจรรย์ขึ้นได้อย่างไร เพราะที่ผ่านมาเอาไป ท�ำเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆมากมาย แต่ที่ผ่านมาไม่ ได้ท�ำอะไรเกี่ยวกับพุทธศาสนาโดยตรง ท่านจึง ให้ ช าวบ้ า นช่ ว ยกั น ท� ำ กระดาษสาให้ เ ป็ น พระพุทธรูป ปางมารวิชัย หรือปางชนะมาร หน้าตักกว้าง 40 นิ้ว ขึ้น โดยใช้การตัดแปะ กระดาษสา หรือฝรั่งเรียกว่าเปเปอร์มาเช่ ซึ่งใช้ เวลา 1 เดือนเศษจนแล้วเสร็จ และถือว่าเป็น พระพุทธรูปที่ท�ำจากกระดาษสา ที่มีหนึ่งเดียว ในโลก ที่เกิดจากแรงศรัทธาของชาวบ้านอย่าง เต็มเปี่ยม ส�ำนักงานเทศบาลเมืองต้นเปา เลขที่ 989 หมู่ที่ 7 ต�ำบลต้นเปา อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ 50130 โทรศัพท์. 053-338048-9 โทรสาร (แฟกซ์). 053-338048 ต่อ 103 www.tonpao.go.th เพจท่องเที่ยว: Journey at Tonpao และ เพจBorsang Market

146

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

หมู่บ้านบ่อสร้าง ต�ำนานร่มพระธุดงค์สู่หมู่บ้านท�ำร่ม ณ บ้านบ่อสร้าง หมู่ 3 ต�ำบลต้นเปา อ�ำเภอ สันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหมู่บ้านมีอาชีพ หั ต ถกรรมขึ้ น ชื่ อ ด้ า นการท� ำ ร่ ม ในอ� ำ เภอ สันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เดิมชื่อ บ้านบ่อซาง เนื่องจากชาวบ้านได้ขุดบ่อน�้ำใกล้กับต้นไผ่ซาง ต่อมาเพี้ยนมา เป็นบ่อสร้าง ชาวบ้านบ่อสร้าง อพยพมาจากสิบสองปันนา และมีเชื้อสายไทลื้อ จากต�ำนานบอกเล่าของคนในยุคก่อนกว่า 200 ปีที่ผ่านมา ได้เล่าขานกันว่า หลวงพ่ออินถา พระสงฆ์ผู้ธุดงค์ไปมาหาสู่ประเทศพม่าและไทย เป็นประจ�ำ ได้น�ำกลดหรือร่มธุดงค์ของพระ สงฆ์ จ ากพม่ า เข้ า มายั ง ไทยที่ เ มื อ งเชี ย งใหม่ ระหว่ า งที่ พ� ำ นั ก อยู ่ ที่ บ ้ า นบ่ อ สร้ า ง อ� ำ เภอ สันก�ำแพง ขณะนั้นกลดได้เกิดการช�ำรุดเสีย หาย หลวงพ่อจึงน�ำไปให้ชาวบ้านช่วยซ่อมแซม จนกลดใช้ได้ดีดังเดิม

ศูนย์หัตกรรมกระดาษสาบ้านต้นเปา หมู่บ้านกระดาษสา บ้านต้นเปา ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลต้นเปา อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีประวัติ ความเป็นมาตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีอายุ 109 ปี ได้เล่าให้แก่ลูกหลานฟัง จากการที่ผู้น�ำหมู่บ้าน ได้ไปเห็นต้นไม้ต้นหนึ่งที่ยืนต้นสูงชะลูดมีดอก ส่งกลิ่นหอมอบอวลไปทั้งหมู่บ้าน ชาวบ้านคน

หนึ่งได้บอกว่า ต้นไม้ต้นนี้มีชื่อว่า “ต้นไม้เปา” ผู้น�ำหมู่บ้านและชาวบ้านจึงลงความเห็นกันว่า ควรน� ำ ชื่ อ ต้ น ไม้ นี้ ม าเป็ น ชื่ อ หมู ่ บ ้ า น ดั ง นั้ น หมู ่ บ ้ า นแห่ ง นี้ จึ ง ได้ ชื่ อ ว่ า “บ้ า นต้ น เปา” มาจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา บ้านหนองโค้ง บ้านหนองโค้ง ตั้งอยู่หมู่ 2 ต�ำบลต้นเปา อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ที่นี่มีแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วที่ น ่ า สนใจมากมาย อาทิ 1.ศิ ล ป หัตถกรรม “ต้องครัว” (ขุดุน) งานหัตถกรรมที่ ได้ สื บ ทอดงานประณี ต ศิ ล ปะนี้ ม าจากวั ด ศรีสุพรรณ มีลวดลายเอกลักษณ์ไทยที่มีความ สวยงาม 2. บ้ า นโบราณและการทอผ้ า สันก�ำแพง บ้านไม้โบราณอายุกว่า 50 ปี ที่มี ความสวยงามและโดดเด่นอยู่ในชุมชน 3.ผาง ประทีปหลากสีสัน 4. แกะสลักไม้ การแกะสลัก จะใช้ไม้สักเป็นวัตถุดิบหลักในการแกะสลัก โดย จะนิยมแกะสลักแผ่นป้ายต่าง ๆ และ 5. การ ท�ำโคมลอย ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดงาน มหกรรมโคมของหมู่บ้านหนองโค้งอีกด้วย


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 13

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

. - 25/11/2562 09:25:59 AM


แม่แฝกวิลล่า รีสอร์ท Mae Faek Villa Resort

แม่แฝกวิลล่า รีสอร์ท ห้องพักตกแต่งสวยงาม มี บริการที่สมบูรณ์แบบพร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็น อย่างครบครัน เพื่อคอยเติมความสดชื่นให้แก่ผู้เข้าพัก ณ ที่พักเปี่ยมคุณภาพแห่งนี้ ท่านจะได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ พร้อมบริการ Wi-Fi ทุกห้อง (ฟรี), สระว่ายน�้ำ, ที่จอดรถ กว้างขวาง สะดวกปลอดภัย ด้วยระบบรักษาความปลอดภัย 24 ชั่วโมง


การเดินทาง แม่แฝกวิลล่า รีสอร์ท ตัง้ อยูใ่ นอ�ำเภอสันทราย ท่านจะได้สมั ผัสไฮไลท์ ทางวัฒนธรรมอย่าง พิพธิ ภัณฑ์ วังดาราภิรมย์ และ Tita Gallery อีกทัง้ เพลิดเพลินกับ กิจกรรมที่ เดอะ รอยัล เชียงใหม่ กอล์ฟ รีสอร์ท และ ใบออร์คิดแอนด์บัตเตอร์ฟลายฟาร์ม ทุกท่านควรแวะ ไปชม คุ้มเสือ และ Elephant PooPooPaper Park นอกจากนี้ท่านยังสามารถเที่ยวชมสถานที่ต่างๆ ได้ อย่างสะดวก เช่น พระธาตุจอมกิตติ, พระบาทสี่รอย, น�้ำตกแม่สา, น�้ำตกบัวตอง เป็นต้น

• สถานีรถไฟเชียงใหม่ - ขับรถ 27 นาที • เชียงใหม่ (CNX-สนามบินนานาชาติเชียงใหม่) • ขับรถ 49 นาที • ติดต่อ •

แม่แฝกวิลล่า รีสอร์ท

ที่อยู่ 170 หมู่ 1 ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย ฟจ.เชียงใหม่ ประเทศไทย 50290

โทร 098-639-3966


โรงแรม ดี สบาย เรสสิเด้นซ์ D-sabai Residence Hotel

When​you are here. It’s​just like your home... ขอต้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า นสู ่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ด้วยที่พักที่แสนสบายสไตล์ Budget Hotel ห้อง พักสะอาดหลายหลากสี สวยหรูเพียบพร้อมด้วย สิ่งอ�ำ นวยความสะดวก อาทิเช่น ทีวีจอแบน ฟรี WiFi ที่จอดรถ และระบบความปลอดภัย ตลอด24 ชั่วโมง.บรรยากาศสบาย ๆ ท่ามกลาง ของวิถีธรรมชาติคนเมืองแห่งล้านนา เหมาะ ส�ำหรับการพักผ่อนนอนหลับ

บริหารงานโดย ดร.จิรวัฒน์ อริยคงพันธุ์ และ ดร.สุภาพร ราธิเสน


การเดินทางสะดวกสบาย ไม่ไกลจากสนามบิน เดินทางเพียง 15 นาที ก็ถึงที่พัก ใกล้แหล่งสถาน ศึกษา ม.แม่โจ้ ม.พายัพ ม.เชียงใหม่ ใกล้จุด รีววิ ท่องเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียง เช่น ม่อนแจ่ม ปางช้าง น�้ ำ ตก ล่ อ งแพ น�้ ำ พุ ร ้ อ น ดอยสุ เ ทพ และอี ก มากมาย มีหา้ งสรรพสินค้า อาทิเช่น เซ็นทรัล festival เมย่ า ,รวมโชคพลาซ่ า ถนนคนเดิ น เชี ย งใหม่ ร้านอาหารอร่อย ๆ ที่ หลากหลาย มี 7-11 อยูใ่ กล้ โรงแรม และสถานที่อื่น ๆ ที่ส�ำคัญในจังหวัด เชียงใหม่อีกมากมายด้วยความสะดวกสบาย

D-Sabai Residence Budget Hotel, Chiang Mai is Conveniently located at Sansai- Maejo Rd., A Famous destination with great combination of modern and Local cultures. Arts and cuisines. Going around easy with short distance to Airport, Zoo, Doi suthep and famous shopping maiis, etc. All 40 Rooms are comfortable newly decorated in modern style warm color design.

“WITH FAMILY HOSPITALITY SERVICE“ ติดต่อจองห้องพัก

258 ม.3 ต.สันทรายน้อย อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210 โทร 053-351419-20, 092-271-9787, 081-625-4965 Email: dsabairesidence@gmail.com

www.dsabai.com


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลสันพระเนตร

นายสัมฤทธิ์ ฤทธิเดช ประธานสภาเทศบาล

นายทิพย์ภาเวชช์ ณ เชียงใหม่ ปลัดเทศบาล

นายพิ ทูร วิ เ ศษศิ ริ นายกเทศมนตรีต�ำบลสันพระเนตร

“สั น พระเนตรเมื อ งงาม” วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลสันพระเนตร

ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลสันพระเนตร มีฐานะเป็นสภาต�ำบลสันพระเนตร และ ได้ รั บ การประกาศจั ด ตั้ ง เป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลสั น พระเนตร ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2539 และ ได้ เ ปลี่ ย นแปลงฐานะจาก องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลสั น พระเนตร เป็นเทศบาลต�ำบลสันพระเนตร ตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2551

ตราสัญลักษณ์เทศบาลต�ำบลสันพระเนตร รู ป วงกลมตรงกลาง มี รู ป ช้ า งเผื อ กทรงฉั ต รห้ า ชั้ น หมอบท� ำ ความเคารพ สื่ อ ความหมายดั ง นี้ ช้ า งเผื อ ก สื่ อ ความหมายถึ ง ต� ำ บลสั น พระเนตร ซึ่ ง เดิ ม เรี ย กว่ า “สั น พระเนตรช้ า งแก้ ว ” หมอบท� ำ ความเคารพ สื่ อ ความหมายถึ ง ดิ น แดนแห่ ง อารยธรรม มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในพระพุ ท ธศาสนามี ข นบธรรมเนี ย ม ประเพณี และวั ฒ นธรรมที่ ล�้ ำ ค่ า ควรค่ า แก่ ก ารเคารพยกย่ อ ง และ ฉัตรห้าชั้น สื่อความหมายถึง การคุ้มครอง คุ้มกัน ปกป้อง 152

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เทศบาลต� ำ บลสั น พระเนตร ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 999 หมู ่ ที่ 3 ต�ำบลสันพระเนตร อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 6.18 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,900 ไร่ มีหมู่บ้านในความ รับผิดชอบ จ�ำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านสันศรี ,หมู่ที่ 3 บ้านป่าไผ่, หมู่ที่ 4 บ้านสันพระเนตร, หมู่ที่ 5 บ้านใหม่สามัคคี , หมู ่ ที่ 6 บ้ า นแม่ ย ่ อ ยสั น ศรี และ หมู ่ ที่ 7 บ้ า นท่ า ทุ ่ ม (หมู่ที่ 2 บ้านแม่คาว อยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลสันทรายหลวง) เทศบาลต�ำบลสันพระเนตร มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 3,224 ครัวเรือน และมีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด 6,046 คน

คณะผู้บริหาร และสมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลสันพระเนตร

ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่เทศบาลต�ำบลสันพระเนตร


“วังปลาบ้านท่าทุ่ม-ยางพระธาตุ” เกิดจากความร่วมมือของ 2 หมู่บ้าน คือ บ้านท่าทุ่ม หมู่ที่ 7 ต�ำบลสันพระเนตร อ�ำเภอ สันทราย และ บ้านยางพระธาตุ หมู่ที่ 11 ต�ำบลสันปูเลย อ�ำเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ที่ตระหนักถึงปัญหาล�ำน�้ำแม่กวง เน่าเสีย อยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมมาก ท�ำให้จ�ำนวนปลาและ สัตว์น�้ำลดจ�ำนวนน้อยลง ระบบนิเวศไม่สมดุล จึงเกิดความร่วม มื อ ระหว่ า งประชาชนทั้ง 2 หมู่บ ้าน และหน่ว ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน จนสามารถท�ำให้เกิด โครงการ “วังปลาบ้านท่าทุ่ม – ยางพระธาตุ” ขึ้น จ�ำนวน 1 แห่ง โดยความร่วมมือในการช่วย อนุรักษ์พันธุ์ปลา และสัตว์น�้ำชนิดอื่น ตลอดจนช่วยบ�ำรุงรักษา ล�ำน�้ำแม่กวง ให้ปราศจากมลพิษทางน�้ำ มีดัชนีชี้วัดอย่างง่ายๆ แบบชาวบ้าน คือ “คุณภาพน�้ำดี สัตว์น�้ำอยู่ได้ คุณภาพน�้ำไม่ดี สัตว์น�้ำอยู่ไม่ได้” โดยกลุ่มวังปลาบ้านท่าทุ่ม – ยางพระธาตุ มาจากชุมชน ซึ่งประกอบไปด้วย ผู้น�ำชุมชน กลุ่มสตรีแม่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ชุ ด รั ก ษาความปลอดภั ย ภายในหมู ่ บ ้ า น เกษตรกร เยาวชน ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ ช่วยในการจัดระเบียบการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมล�ำน�้ำแม่กวง อย่างต่อเนื่อง ทุ ก ปี โดยการปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ให้ ป ระชาชนช่ ว ยกั น ดู แ ลรั ก ษา และหวงแหนล�ำน�้ำแม่กวงให้คงคุณภาพน�้ำดีสัตว์น�้ำอยู่ได้ต่อไป ซึ่งพื้นที่ด�ำเนินการเริ่มแรกในปี พ.ศ.2552 มีระยะทางประมาณ 400 เมตร และในปี พ.ศ.2553 ได้ขยายเขตพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์พนั ธุป์ ลา เพิม่ อีก 2,100 เมตร รวมเป็นระยะทางทัง้ สิน้ ประมาณ 2,500 เมตร ผลจากการด�ำเนินโครงการ ท�ำให้ล�ำน�้ำแม่กวงมีระบบนิเวศ สมบูรณ์ มีทั้งพันธุ์ปลา พันธุ์นก พันธุ์ต้นไม้ ที่ได้รับการอนุรักษ์ ท�ำให้เป็นสถานทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ในด้านอาหาร มีสถานทีอ่ อกก�ำลังกาย เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและปล่อยปลาของชาวบ้าน มีการจัดกิจกรรมท�ำบุญสืบชะตาล�ำน�้ำแม่กวงและปล่อย พันธุป์ ลาเพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล โดยการร่วมมือกันทัง้ ภาครัฐ และเอกชนในช่วงเดือนสิงหาคมเป็นประจ�ำทุกปี

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

153


ความภาคภูมิใจที่ ได้รับ 1. รางวั ล นวั ต กรรมท้ อ งถิ่ น ไทย ครั้ ง ที่ 1 กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการ การกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ส�ำนักงานปลัด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2553 2. โครงการต้นแบบในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น จาก ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2553 3. หมู่บ้านต้นแบบดีเด่น ด้านอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น�้ำ จาก ส�ำนักงานประมงจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2554 4. ผลงานนวัตกรรมชุมชนเพื่อสุขภาพดีเด่น จาก ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2554 5. โครงการจัดการทรัพยากรประมงโดยชุมชน เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 จาก กรมประมง เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2554 6. โครงการเยาวชนสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นรักษ์สิ่งแวดล้อม จาก ส�ำนักเลขาธิการวุฒิสภา เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2555 7 อนุ รั ก ษ์ พื้ น ที่ สี เขี ย ว จาก จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เมื่ อ วั น ที่ 3 ธันวาคม 2557 8. ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ก ลุ ่ ม วั ง ปลาบ้ า นท่ า ทุ ่ ม -ยางพระธาตุ จากภาคี เชี ย งใหม่ เ พื่ อ การปฏิ รู ป การศึ ก ษา องค์ ก ารบริ ห าร ส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ คุณภาพเยาวชน ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ และมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2561

154

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


กิจกรรมการเพิ่มพื้นที่สีเขียว

การจัดเก็บขยะ และท�ำความสะอาด ในที่หรือทางสาธารณะ

การจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R s การก�ำจัดผักตบชวา

โครงการอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ร่วมใจสร้างท้องถิ่น ใสสะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ได้ก�ำหนด ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศไว้ 6 ด้าน เพื่อน�ำประเทศไปสู่ความ มั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน โดยเน้นให้มีการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประกอบกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยและของเสียอันตรายของประเทศ โดยใช้หลัก 3R s : Reduce Reuse Recycle (ใช้น้อย ใช้ซ�้ำ น�ำกลับมาใช้ใหม่) และมุ่งเน้นให้ความ ส�ำคัญของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เริ่มจากการปลูกฝังจิตส�ำนึก รักษ์สิ่งแวดล้อมในวัยเด็ก การเรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อรักษา สิ่งแวดล้อมในระดับเยาวชน การรวมกลุ่มเครือข่ายเพื่อช่วยปกป้องและ รักษาสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น จึงได้ริเริ่มโครงการอาสาสมัคร ท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด�ำเนินการ เปิ ด รั บ สมั ค รอาสาสมั ค รท้ อ งถิ่ น รั ก ษ์ โ ลก เพื่ อ เสริ ม สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก กระบวนการเรียนรู้ และการพึ่งตนเอง รวมทั้งถ่ายทอดองค์ความรู้ในการ บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) หมายความว่า ประชาชนที่มีจิตอาสา สมัครใจ เสียสละ และอุทิศตน เพื่อช่วยเหลืองานด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล และมูลฝอย การปกป้อง และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้ชื่อย่อว่า “อถล.” มีชื่อเรียกภาษา อังกฤษว่า “Local Environment Volunteer” และใช้ชื่อย่อภาษา อังกฤษว่า “LEV” มีหน้าที่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการจัดการ สิง่ ปฏิกลู และมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิง่ แวดล้อม เฝ้าระวัง สอดส่อง ดูแล และรายงานสถานการณ์ การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม สื่อสาร เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างจิตส�ำนึกด้านการบริหารจัดการ สิ่งปฏิกูลและ มูลฝอย การป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมกิจกรรม เกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยการป้องกันและรักษา สิ่งแวดล้อม ให้ความร่วมมือกับส่วนราชการ ภาคเอกชนและเครือข่าย อถล. เพื่อด�ำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม เทศบาลต�ำบลสันพระเนตรได้เล็งเห็นความส�ำคัญของยุทธศาสตร์และ นโยบายดังกล่าว จึงได้ด�ำเนินงาน โครงการอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ร่วมใจสร้างท้องถิน่ ใสสะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม

วัดในต�ำบลสันพระเนตร วัดสันศรี

วัดแม่คาว

ที่พักสงฆ์พระเจดีย์

วัดท่าทุ่ม

วัดสันพระเนตร

ติดต่อเทศบาลต�ำบลสันพระเนตร ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสันพระเนตร อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50210 โทรศัพท์. 0-5334-3600 โทรสาร. 0-5334-3600 ต่อ 13 www.sanphanet.go.th Facebook : ทต.สันพระเนตร สันทราย CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

155


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง “บริ ห ารจั ด การดี ประชาชนมี ค วามสุ ข ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง

ป ร ะ ช า ก ร เ ท ศ บ า ล ต� ำ บ ล สั น น า เ ม็ ง มี ทั้ ง หมด 7,856 ครั ว เรื อ น และมี จ� ำ นวน ประชากรทั้งหมด 12,315 คน แยกเป็นผู้ชาย 5,675 คน ผู้หญิง 6,640 คน

กิจกรรมและโครงการเด่นของเทศบาล ต�ำบลสันนาเม็ง

นายนั น ทพล พงศธรวิ สุ ท ธิ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลสันนาเม็ง

เทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสันนาเม็ง อ�ำเภอสันทราย จังหวัด เชียงใหม่ มีพื้นที่ทั้งหมด 8.95 ตารางกิโลเมตร ปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ใ นเขตเทศบาลต� ำ บลสั น นาเม็ ง เป็นที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ เนื่องจากตั้งห่างจาก ตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 8 กิโลเมตร จึงมี ในส่วนของโครงการบ้านจัดสรรเข้ามาใช้พื้นที่ ท�ำเป็นโครงการหมู่บ้านเป็นจ�ำนวนมาก

ประวัติเทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง เทศบาลต�ำบลสันนาเม็งได้รับการยกฐานะ 156

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลสันนาเม็ง เมื่อ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2551 โดยจัดตั้งเป็น เทศบาลต� ำ บลสั น นาเม็ ง ตั้ ง แต่ วั น ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2551 เป็นต้นไป ปัจจุบันฐานะ การคลังได้ปรับขนาดเทศบาลจากขนาดเล็ก เป็นอยู่ในระดับชั้นเทศบาลขนาดกลาง ตามมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการพนั ก งานเทศบาล จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 3/2556 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2556 และแบ่งเขตการเลือกตั้งออก เป็น 2 เขต โดยแบ่งพื้นที่เขตรับผิดชอบจ�ำนวน 12 หมู่บ้าน

เทศบาลต� ำ บลสั น นาเม็ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนใน ต�ำบลสันนาเม็ง โดยได้รับถ่ายโอนสถานีอนามัย บ้ า นสั น นาเม็ ง จากกระทรวงสาธารณสุ ข เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งถือเป็น 4 แห่งแรกในจังหวัดเชียงใหม่และเป็น 39 แห่งแรก ของประเทศไทย โดยได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “ศูนย์บริการ สาธารณสุขชุมชนเทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง” สังกัดกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม


ศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชนเทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง ให้บริการประชาชนด้านสาธารณสุขครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ส่งเสริมสุขภาพ รักษาพยาบาล ป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพ เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนทั้งเชิงรับและเชิงรุกแบบบูรณาการ อีกทั้งจัดให้มีการบริการ ทั้งการบริการตรวจโรคทั่วไป การบริการทันตกรรม การให้บริการ กายภาพบ�ำบัด กิจกรรมบ�ำบัด แพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก ให้ความรู้ในชุมชนด้าน ต่างๆ รวมทั้งหน่วยกู้ชีพกู้ภัย และงานเยี่ยมบ้าน

โรงเรียน อสม. คือ ศูนย์เรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน จัดตั้งขึ้นมาเพื่อแลกเปลี่ยน เผยแพร่ ความรู้ข้อมูลทางสุขภาพ การท�ำงาน รับนโยบายและข้อมูลต่างๆ จากศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง และน�ำไปพัฒนาศักยภาพแก้ไขปัญหา ตลอดจนพัฒนางานด้านสาธารณสุข ของประชาชนในต�ำบลสันนาเม็ง

โรงเรียนปัจฉิมวัยสร้างสุขต�ำบลสันนาเม็ง จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2560 ซึ่งปัจจุบันด�ำเนินการฝึกอบรมมาแล้ว จ�ำนวน 3 รุ่นและก�ำลัง เปิดการฝึกอบรมเป็นรุ่นที่ 4 ระหว่างเดือนมกราคม – กันยายน 2563 โดยเปิดการเรียนการ สอนทุกวันอังคารที่ 2 และ 4 ของเดือน จัดตั้งเพื่อรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของต�ำบล สันนาเม็ง เปิดโอกาสให้ท�ำกิจกรรมร่วมกัน เผยแพร่ความรู้ในการดูแลสุขภาวะทั้งทางด้านจิตใจ อารมณ์และสังคม กิจกรรมการออกก�ำลังกาย การให้ความรู้ในการประกอบอาชีพ โดยใช้ หลักไตรสิกขามาเป็นแนวทางในการจัดท�ำหลักสูตรในการฝึกอบรม

“ของดี-ผลิตภัณฑ์เด่น” ในต�ำบลสันนาเม็ง

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ คมตุ ง ล้ า นนาและเครื่ อ ง สักการะล้านนา โดยนายจักรพันธ์ ชัยแปง หรือ สล่าเอก หมายเลขโทรศัพท์ 066-042-9969

แหนมมณฑา จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูป จากเนื้อสัตว์ ที่มีความ สด สะอาด ถูกหลัก อนามัย มีมาตรฐาน GMP การันตีความอร่อย นานกว่า 20 ปี โดยนางจันทร์แสง แก้วยอดหล้า หมายเลขโทรศัพท์ 081-9506278

ชิ้นเอก ร้านจ�ำหน่าย แ ล ะ ผ ลิ ต สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ ข อ ง ที่ระลึก ของช�ำร่วย ของตกแต่งหลากหลาย ประเภท อาทิเช่น กรอบรูป ,อัลบั้มกระดาษสา, กล่องไม้ ประเภทต่างๆ, พวงกุญแจ, แม่เหล็ก ติดตู้เย็น และหัวโขน โดยคุณกฤษณา ฉัตรสีรุ้ง หมายเลขโทรศัพท์ 081-992-2632

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บ้ า นป่ า กล้ ว ย หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลสั น นาเม็ ง ได้จัดตั้งเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมี ศูนย์กลางคือวัดป่ากล้วยท่ากุญชรที่เป็นศูนย์ รวมจิตใจของคนในหมู่บ้าน

เทศบาลต�ำบลสันนาเม็ง ร้านผ้าเสน่หเ์ หนือ กลุม่ เย็บผ้าบ้านสันหลวง “เสน่ห์แห่งความงาม นิยามแห่งความคงทน” จ�ำหน่ายเสื้อผ้าสไตล์ล้านนาของบุรุษและสตรี เครื่องประดับทั้งปลีกและส่ง โดยนางแก้วพา ถวาย หมายเลขโทรศัพท์ 095-261-6494

ลาบต้ น ข่ อ ย ร้ า นลาบชื่ อ ดั ง ของจั ง หวั ด เชียงใหม่ อาหารจานเด่น ได้แก่ ลาบควาย แกงอ่อม ส้า โดยนายสมรัตน์ กมล หรือ ลุงรัตน์ หมายเลขโทรศัพท์ 081-765-2424

ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสันนาเม็ง อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50210 โทรศัพท์ 0-5303-8140 หรือ www.sannameng.go.th CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

157


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

นายอนั น ต์ ค�ำ ชั ย วงค์ นายกเทศมนตรีต�ำบลหนองจ๊อม

เทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู ่ ที่ 9 ต� ำ บลหนองจ๊ อ ม อ� ำ เภอสั น ทราย จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของที่ว่าการอ�ำเภอสันทราย ห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอสันทราย ประมาณ 3 กิโลเมตร ห่างจาก ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ประมาณ 11 กิโลเมตร พื้นที่โดยประมาณทั้งต�ำบล 7,745 ไร่ หรือ 12.39 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบนั นายอนันต์ ค�ำชัยวงค์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบล หนองจ๊อม ส�ำหรับอ�ำเภอสันทราย เป็นอ�ำเภอหนึ่งใน เขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีการเติบโต อย่างรวดเร็ว เป็นอ�ำเภอที่รองรับความเจริญ จากนครเชี ย งใหม่ ปั จ จุ บั น อ� ำ เภอสั น ทราย มีสถานะเป็นอ�ำเภอขนาดใหญ่ล�ำดับที่ 2 ของ 158

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

จั ง หวั ด ในแง่ ข องจ� ำ นวนประชากร รองจาก อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ สถานประกอบการ ที่มี มากรองจากอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ การขยายตัว ของชุ ม ชนเมื อ งแม่ โจ้ ท� ำ ให้ อ� ำ เภอสั น ทราย มีความพร้อมทุก ๆ ด้าน ทั้งสถานศึกษา สถาน ประกอบการ บ้านจัดสรร จากการเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง อ�ำเภอสันทราย ถูกก�ำหนดบทบาทให้ เป็นอ�ำเภอที่รองรับในด้านแหล่งที่อยู่อาศัยที่ ส�ำคัญของจังหวัดเชียงใหม่

ท�ำความรู้จักประวัติความเป็นมา “เทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม” ในอดี ต ที่ ผ ่ า นมา พระนางเจ้ า จามเทวี เจ้าผู้ครองนครล�ำพูน ได้เสด็จมาสรงน�้ำในสระ แห่ ง หนึ่ ง ในเขตต� ำ บลหนองจ๊ อ มปั จ จุ บั น

เมื่อสรงน�้ำเสร็จแล้วได้เสด็จกลับ พระนางได้ลืม จ๊ อ มปั ก ผมไว้ ที่ ส ระสรงน�้ ำ นั้ น เมื่ อ เสด็ จ ถึ ง หมู่บ้านแห่งหนึ่ง พระนางได้เหลียวมาดูหมู่บ้าน แห่งนั้น ปัจจุบันได้ชื่อว่า บ้านนางเหลียว และ สระที่พระนางเจ้าจามเทวี ลืมจ๊อมไว้จึงได้ชื่อว่า หนองจ๊อม ตามภาษาพื้ น เมื อ ง ค� ำ ว่ า “หนอง” หมายถึ ง “สระ” และ “จ๊ อ ม” หมายถึ ง “ปิ่น” เป็นชื่อ ต�ำบลหนองจ๊อม ในปัจจุบัน


ภูมิประเทศ ต�ำบลหนองจ๊อมมีสภาพทาง กายภาพทั่ ว ไปเป็ น ที่ ร าบ และเป็ น พื้ น ที่ เกษตรกรรมอยู่ในเขตชลประทาน มีลักษณะ สังคมแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท เป็นที่ราบลุ่มอยู่ใน ชั้นความสูงประมาณ 303 - 308 เมตร ลักษณะ พื้นที่ลาดเอียงมาทางทิศใต้ ที่ตั้งต�ำบลอยู่ทาง ตอนใต้ของพื้นที่อ�ำเภอสันทราย อยู่ในเขตพื้นที่ รั บ น�้ ำ ของชลประทานแม่ แ ฝก มี ท างหลวง จังหวัดหมายเลข 1001 ถนนเชียงใหม่-พร้าว ผ่านด้านตะวันตกของต�ำบล ชุมชนต่อเนื่องจาก ต� ำ บลหนองหาร และกระจุ ก ตั ว เป็ น บางจุ ด ภายในพื้นที่ต�ำบลมีพื้นที่เกษตรกรรมโดยรอบ ชุมชน ภู มิ อ ากาศ มี ส ภาพอากาศค่ อ นข้ า งเย็ น เกือบตลอดทั้งปี เขตการปกครอง ต�ำบลหนองจ๊อม ได้รับ การยกฐานะจากสภาต�ำบลหนองจ๊อม ขึ้นเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองจ๊อม เมื่อวันที่ 2 มี น าคม 2538 โดยประกาศในราชกิ จ จา นุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนพิเศษ ลงวันที่ 3

มีนาคม พ.ศ.2538 หน้า 15 และปัจจุบันได้รับ การยกฐานะจากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล หนองจ๊ อ ม เป็ น เทศบาลต� ำ บลหนองจ๊ อ ม เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2550 ได้แบ่งการ ปกครองภายในต�ำบลเป็น 8 หมูบ่ า้ น คือ หมูท่ ี่ 1 บ้านฟ้ามุ่ย หมู่ที่ 2 บ้านนางเหลียว หมู่ที่ 3 บ้ า นโป่ ง -สั น ป่ า สั ก หมู ่ ที่ 4 บ้ า นท่ า เกวี ย น

หมูท่ ี่ 5 บ้านแม่แก้ดหลวง หมูท่ ี่ 6 บ้านศรีทรายมูล หมู่ที่ 8 บ้านหนองไคร้หลวง และ หมู่ที่ 9 บ้านต้นจันทน์ มีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด 16,997 คน แยกเป็นชาย 7,732 คน และ หญิง 9,265 คน ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม มีจ�ำนวนครัว เรือนทั้งหมด 9,026 ครัวเรือน

สินค้าในชุมชนของต�ำบลหนองจ๊อม กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นเกษตรกรบ้ า นต้ น จั น ทน์ : ผลิตภัณฑ์ “ไข่เค็ม น�้ำพริกขิงไข่เค็ม น�้ำพริกเผา ไข่เค็ม หมูสวรรค์ และหมูปั้นเผือก” ตั้งอยู่เลขที่ 9 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50210

กลุม่ วิสาหกิจชุมชนตัดเย็บ เสือ้ ผ้าบ้านดลฤดี : ผลิตภัณฑ์ “ชุดสตรี (เสื้อส�ำเร็จรูปสตรี) และขี้ผึ้งสมุนไพร” ตั้งอยู่เลขที่ 248 หมู่ที่ 6 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50210

กลุ่มภูดอยออร์คิดส์ : ผลิตภัณฑ์ “กล้วยไม้ และใบไม้ชุบทอง” ตั้งอยู่เลขที่ 208 หมู่ที่ 6 ถนนเชี ย งใหม่ – แม่ โ จ้ ต� ำ บลหนองจ๊ อ ม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50210 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

159


แหล่งท่องเที่ยวในเทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม 1.อนุสาวรีย์พระนางเจ้าจามเทวี ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

160

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


2.หนองน�้ำเต่าค�ำและศาลเจ้าพ่อหนองเต่าค�ำ ตั้งอยู่ทางเข้าหมู่บ้านธนาพร หมู่ที่ 8 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

3.หนองบัว ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

161


วัดในต�ำบลหนองจ๊อม วัดฟ้ามุ่ย ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วัดนางเหลียว ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วัดสันป่าสัก ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วัดท่าเกวียน ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วัดแม่แก้ดหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วัดศรีทรายมูล ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 162

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดหนองไคร้หลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

วัดต้นจันทน์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่


สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

ประเพณีวัฒนธรรมในเทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม งานประเพณีสรงน�้ำพระธาตุ

เทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองจ๊อม อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50210 หมายเลขโทรศัพท์ 053-350-326 ,053-350-328 facebook : เทศบาลต�ำบลหนองจ๊อม เว็บไซต์เทศบาล www.nongjom.go.th CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

163


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลสันป่าตอง “เทศบาลต� ำ บลสั น ป่ า ตอง เป็ น องค์ ก รที่ ทั น สมั ย มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมโดยยึ ด ประชาชนเป็ น ศู น ย์ ก ลางให้ อ ยู ่ ดี มี สุ ข อย่ า งยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์ เทศบาลต�ำบลสันป่าตอง

นายสั ก การ ณิ ย กู ล ปลัดเทศบาลต�ำบลสันป่าตอง

ต้นมะจ�ำโรง ตั้งอยู่ : ใกล้กับสี่แยกไฟแดงตลาดมะจ�ำโรง สันป่าตอง ม.14 ต�ำบลยุหว่า ขนาด : เส้นรอบล�ำต้น 10 เมตร ความสูงเกินกว่า 90 เมตร ประวัติ : เป็นต้นไม้อยู่คู่เมืองนี้หลายชั่วอายุคน สัญลักษณ์ ที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดของอ�ำเภอสันป่าตอง เท่าที่สืบค้นได้ ปัจจุบัน ยังเป็นต�ำนานที่คนเฒ่าอายุกว่า 100 ปีที่เล่าถึงว่า น่าจะปลูกไว้ตงั้ แต่ยคุ สร้างเมืองเชียงใหม่ นอกจากให้รม่ เงาอยูร่ ว่ ม กับบ้านคนที่นี่แล้ว มีชาวบ้านเชื่อว่าเป็นต้นไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์และ ศรัทธาตั้งศาลบูชาไว้โดยรอบ เคยมีคนพยายามขอซื้อเพื่อตัด ไปขาย ก็มอี นั เป็นไปกันหลายราย จากข้อมูล เจ้าของทีด่ นิ แปลงนี้ คื อ คุ ณ จิราวรรณ์ สุต ๋า บ้านเลขที่ 470 หมู่ 14 ต.ยุหว่า อ.สั น ป่ า ตอง ซึ่ ง ครอบครองสื บ ทอดต่ อ มาจากบรรพบุ รุ ษ บอกว่ า เกิ ด มาก็ เ ห็ น แล้ ว ยั ง คงยื น ยั น ที่ จ ะอนุ รั ก ษ์ ต ่ อ ไป ด้วยความภาคภูมิใจ

164

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ที่ตั้งเทศบาลต�ำบลสันป่าตอง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวจังหวัดระยะ ทาง 22 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร 696 กิโลเมตร


เทศบาลสันป่าตอง ชวนเที่ยว ไหว้พระขอพร วัดศรีอรุณ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 57 หมู่ 5 บ้านไร่ ต.ทุ่งต้อม อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ มีเนื้อที่ 3 ไร่ 95 ตารางวา วัดศรีอรุณ เดิม ชื่อว่า “วัดป่าหญ้าก่อน ” เพราะสถานทีต่ งั้ วัดเป็นป่า มีตน้ ไม้ใหญ่ขนึ้ หนาทึบ และบริ เวณวั ด จะมี ห ญ้ า ชนิ ด หนึ่ ง ขึ้ น อยู ่ เ ป็ น จ�ำนวนมากเป็นวัชพืช ที่ชอบติดเสื้อผ้าเวลา เดินผ่าน ท�ำให้เกิดความร�ำคาญ ทางเหนือเรียก หญ้ า ชนิ ด ว่ า “หญ้ า ก่ อ น” เพราะเหตุ นี้ เ อง จึงเป็นที่มาของการตั้งชื่อ “วัดป่าหญ้าก่อน” ในเวลานั้น จากค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าประจ�ำหมู่บ้านได้เล่าให้ฟังว่า สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายในบริเวณวัดจะเป็นที่พักอาศัยของทหารญี่ปุ่น ผู้คนในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นชาวไทยจะรับจ้างขนของให้ทหารญี่ปุ่นโดยใช้วิธีเดิน และล้อเกวียน วัดป่าหญ้าก่อน ได้เปลี่ยนชื่อเป็นวัดศรีอรุณ และได้พัฒนาเสนาสนะ และภูมิทัศน์ภายในวัดมาเป็นล�ำดับ วัดศรีอรุณสร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2433 โฉนดที่ดินเลขที่ 1463 วัดพัฒนาตัวอย่าง เมื่อ พ.ศ. 2547 โดยมีพระครู อรุณพัฒนโกศล ปทุมฺวณฺโณ เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีอรุณ วัดสันป่าตอง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 193 บ้านสันป่าตอง หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลยุ ห ว่ า อ� ำ เภอสั น ป่ า ตอง จังหวัดเชียงใหม่ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2320 ตั้งเป็นวัดตามทะเบียนวัดที่จังหวัด ได้ส่งมาเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ โครงสร้ า งท� ำ ด้ ว ยคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก บานประตู บานหน้าต่าง ท�ำด้วยไม้สักแกะสลัก ลายดอกไม้ และภาพพุ ท ธประวั ติ ต อนเสด็ จ ออกบวช ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ 2 หลัง หอไตรท�ำด้วยไม้แกะสลัก วิหาร ศาลาบ�ำเพ็ญบุญ ศาลา และโรงครัว ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พระพุ ท ธรู ป พระประธาน ในวิหาร และเจดีย์โบราณ การบริหาร และการปกครอง มีเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 5 พระอธิการกินญ์ , รูปที่ 6 พระอธิการโปธิ รูปที่ 7 พระอธิการอุประ ,

รูปที่ 8 พระอธิการสุวรรณ์ พ.ศ. 2476 ถึง 2480, รูปที่ 9 พระอธิการใจ๋ อนนโท พ.ศ. 2481 ถึง 2500 , รูปที่ 10 พระอธิการตวง ธมมสาโร พ.ศ. 2501 ถึง 2516 , รูปที่ 11 พระครูอภินันท์เขมคุณ (สมบูรณ์ เขมนนโท) ตั้งแต่ พ.ศ.2517 เป็นต้นมาจนถึง ปัจจุบัน

เทศบาลต�ำบลสันป่าตอง ตั้งอยู่เลขที่ 675 หมู่ 1 ต�ำบลยุหว่า อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 50120 โทรศัพท์ 053-355-270 , 053–312-076 โทรสาร 053-311-949 www.sanpatong.go.th

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

165


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

“ยางเนิ้ ง เมื อ งน่ า อยู ่ ภายใต้ ห ลั ก บริ ห ารจั ด การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง

ต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอสารภีนี้ แม้ว่าจะเปลี่ยนชื่อ จากอ� ำ เภอยางเนิ้ ง มาเป็ น อ� ำ เภอสารภี แ ล้ ว ก็ตาม แต่ที่ตั้งที่ว่าการอ�ำเภอสารภีก็ยังคงตั้งอยู่ ที่ต�ำบลยางเนิ้งเช่นเดิม ซึ่งค�ำว่า “ยาง” หมายถึง ต้นยาง ส่วนค�ำว่า “เนิ้ง” เป็นภาษาพื้นเมือง แปลว่า “โน้มเอน” ทั้งนี้เพราะเดิมเป็นป่ายาง ที่มีต้นยางขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก

นายมณู ญ บู ร ณพั ฒ นา นายกเทศมนตรีต�ำบลยางเนิ้ง

เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง มีส�ำนักงานตั้งอยู่ เลขที่ 19/1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลยางเนิ้ง อ�ำเภอ สารภี จังหวัดเชียงใหม่ บริเวณที่ตั้งพื้นท่ี่ 1 ไร่ ต�ำบลยางเนิง้ มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบลุม่ อยูห่ า่ งจากจังหวัดเชียงใหม่ ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 (เชียงใหม่ – ล�ำพูน) เป็นระยะทาง ประมาณ 7 กิโลเมตร มีพนื้ ทีท่ งั้ สิน้ 10.04 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,050 ไร่ ซึ่งประกอบด้วย 13 หมู่บ้าน เดิมทีอำ� เภอสารภีมชี อื่ เดิมคือ อ�ำเภอยางเนิง้ แต่เม่ื่อ พ.ศ.2470 ท้าวพญาขุนและ ประชาชน ส่ ว นมากได้ เ สนอแนะต่ อ นายอ� ำ เภอว่ า ชื่ อ อ� ำ เภอยางเนิ้ ง ไม่ ไ พเราะ ควรเปลี่ ย นชื่ อ อ�ำเภอเสียใหม่ เป็น “อ�ำเภอสารภี” ซึ่งเป็นชื่อ 166

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

โดยมีค�ำขวัญของต�ำบลยางเนิ้งที่ว่า “เจ้าพ่อแสนหลวงศักดิ์สิทธิ์ พระนอนวิจิตร เลื่ อ มใส พั ฒ นาร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ ยางใหญ่ ยางนา ยางเนิ้ง”


พันธกิจ (Mission) เทศบาลต� ำ บลยางเนิ้ ง ต้ อ งมี ศั ก ยภาพ พร้อมทุกด้าน ส�ำหรับการก้าวเข้าสูย่ คุ โลกาภิวฒ ั น์ ได้อย่างมั่นใจ และสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ทุ ก ด้ า นที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เทศบาลต� ำ บลยางเนิ้ ง ในอนาคตจะบริ ห ารงานตามยุ ท ธศาสตร์ การบริหารและการพัฒนาเมืองที่เน้นการพัฒนา แบบยั่ ง ยื น ตามที่ ก� ำ หนดไว้ อ ย่ า งจริ ง จั ง และ ต่ อ เนื่ อ ง และตามเจตนารมณ์ ข องหลั ก การ ปกครองตนเองท้องถิน่ (Local Self-Government) อย่างมีประสิทธิภาพ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

167


โครงการนวัตกรรมและผลงานที่โดดเด่น ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของประชาชน โครงการอนุ รั ก ษ์ ต ้ น ยางนาถนนสาย เชียงใหม่ – ล�ำพูน อดีตอันงดงาม...ต้นไม้ริมทางหลวง บนเส้นทางความเป็นมา ทางประวัติศาสตร์ ส� ำ หรั บ สายพั น ธุ ์ ต ้ น ยางนั้ น เจ้ า พระยา สุรสีห์ฯ เป็นผู้ริเริ่มน�ำพันธุ์ต้นยางมาปลูกสอง ข้างทางจากขัวย่านอ�ำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ จนจรดเขตอ� ำ เภอเมื อ งล� ำ พู น ท่ า นก� ำ ชั บ ว่ า ถ้าต้นยางตรง กับหน้าบ้านผู้ใดก็ให้เจ้าของบ้าน ผู้นั้นเอาใจใส่ ท�ำรั้วล้อมรอบ เพื่อกันวัวควาย เข้ามาเหยียบย�่ำ และให้หมั่นรดน�้ำพรวนดิน ดายหญ้าใส่ปยุ๋ แล้วท่านก็นำ� พันธุต์ น้ ยางมาปลูก เมื่อวันท่ี่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2425 “ต้ น ยางปลอดภั ย คนก็ มี ค วามสุ ข ” โครงการอนุ รั ก ษ์ ต ้ น ยางนา ถนนสาย เชียงใหม่- ล�ำพูน ส� ำ หรั บ การปลู ก ต้ น ยางนั้ น เริ่ ม ต้ น ปลู ก อย่างจริงจัง เมื่อ พ.ศ.2465 ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี่ 6 นับจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ (พ.ศ.2562) ส�ำหรับต้นยางนา ถนนสายเชียงใหม่-ล�ำพูน จ�ำนวนต้นยางนาทั้งหมด มีจ�ำนวน 949 ต้น ต้นยางนาภายในเขตต�ำบลยางเนิ้ง มีจ�ำนวน 252 ต้น โดยมีตน้ ยางนาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ หมายเลขต้น 457 หน้าวัดศรีโพธาราม หมู่ท่ี 5 ต�ำบลยางเนิ้ง เป็ น ที่ น ่ า ปลาบปลื้ ม ยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง เมื่ อ ล้ น เกล้ า ล้ น กระหม่ อ ม พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช 168

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

มหาราชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 และ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถพระบรม ราชชนนี พั น ปี ห ลวง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ทอดพระเนตร ต้นยางนา เมื่อปี พ.ศ.2506 ณ อ�ำเภอสารภี และเมือ่ ครัง้ สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงเปิด ห้องเรียนคอมพิวเตอร์พระราชทาน ณ ศู น ย์ ส งเคราะห์ บุ ค คลปั ญ ญาอ่ อ น อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ทรงมีพระราชด�ำรัสว่า “ฝากผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ อย่าให้ ใครตั ด ต้ น ยางนาที่ ถ นนเชี ย งใหม่ - ล� ำ พู น เพราะไม่มีอีกแล้ว” “โครงการอนุ รั ก ษ์ ต ้ น ยางนาถนนสาย เชียงใหม่-ล�ำพูนมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง” ต่อการ จัดการสิ่งแวดล้อมในเขตเทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง เนื่องจากต้นยางนาสองข้างถนนสายเชียงใหม่ล� ำ พู น ถื อ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น ของชาว อ� ำ เภอสารภี จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ น ถนน ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มี อ ายุ เ ก่ า แก่ ที่ มี ต ้ น ไม้ ข นาด ใหญ่ เรี ย งรายสองข้ า งทาง ซึ่ ง มี คุ ณ ค่ า และ ความส�ำคัญอย่างยิ่ง ช่วยท�ำให้ภูมิทัศน์เมือง มีความสวยงาม และช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยว เป็นแหล่งพันธุกรรมไม้ยางนาส�ำหรับใช้ขยายพันธุ์ ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ ์ ไ ม้ หรื อ ใช้ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ มีต้นยางนาอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้เห็นถึง ความส� ำ คั ญ ในการร่ ว มอนุ รั ก ษ์ ต ้ น ยางนา เนื่ อ งจากความเจริ ญ ขยายตั ว เข้ า มาและ เปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ ต้นยางนาสองข้างถนน

สิ่ ง เหล่ า นี้ ท� ำ ให้ ต ้ น ยางนาสองข้ า งทางถู ก คุก คาม จากกระแสการพัฒนาเมือ งซึ่งไม่ได้ ให้ความส�ำคัญกับมิติด้านสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควร จนท�ำให้ต้นยางนาป่วยหักโค่นและล้มตายไป อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในเขตเทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง มี ก ารประเมิ น ผลกระทบต่ อ ประชาชนกลุ ่ ม เป้ า หมาย คื อ ประชาชนในพื้ น ที่ แ ละผู ้ อ ยู ่ อาศั ย สองฝั ่ ง ต้ น ยางนาและพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง เน้นประชาชนที่อยู่ ตามแนวเส้นทางต้นยางนา เป็นเป้าหมายหลัก เนื่องจากได้รับผลกระทบ โดยตรง ทั้งในด้านท่ี่เป็นประโยชน์ เช่น ใกล้ ทางสัญจร สะดวกต่อการค้าขาย เป็นต้น และ ด้านที่ได้รับผลกระทบ เช่น ความเดือดร้อน จากกรณีต้นยางนาหักโค่น ความรู้สึกไม่มั่นคง ปลอดภั ย เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ต ้ น ยางนาให้ ส ามารถ คงอยู่ต่อไปคู่กับชุมชน โดยไม่เกิดปัญหาแก่ ประชาชน เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง จึงได้ด�ำเนิน โครงการอนุรักษ์ต้นยางนา ถนนสาย เชียงใหม่ล�ำพูน ซึง่ ได้สร้างการมีสว่ นร่วมพัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือ และรณรงค์ให้ทุกภาคส่วน เห็น ความส�ำคัญของการดูแลต้นยางนาถนนเชียงใหม่ - ล�ำพูนมากขึน้ เช่น หน่วยงานราชการ หน่วยงาน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กร เครือข่ายเอกชน ประชาชนจิตอาสา เป็นต้น


โครงการตลาดนัดชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง “ถนนคนเดินยางเนิ้ง” เทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง ได้ด�ำเนินงานตาม โครงการตลาดนั ด ชุ ม ชน เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ถนนคนเดิ น ยางเนิ้ ง โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน ผู้ผลิตสินค้า OTOP และสินค้าชุมชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสน�ำสินค้า ของตนเองมาแสดงและจั ด จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า เพือ่ เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ประชาชน สามารถแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ด้ า นการตลาด พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจ สั ง คม ตลอดจนส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วของ อ�ำเภอสารภี และจังหวัดเชียงใหม่ โดยก�ำหนด จัดทุกวันเสาร์ ตัง้ แต่เวลา 16.00 น.– 22.00 น. ณ บริเวณสีแ่ ยกทีว่ า่ การอ�ำเภอ สารภี ถึงสามแยก วัดแสนหลวง หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลยางเนิง้ อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

169


วัดแสนหลวง เจ้าพ่อแสนหลวง สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2338 ในสมัยพระเจ้ากาวิละ มีอายุ 270 ปี (2563) ที่ตั้ง: เลขที่ 2 หมู่ที่ 3 บ้ า นแสนหลวง ต� ำ บลยางเนิ้ ง อ� ำ เภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประวั ติ วั ด พอสั ง เขป : ในรั ช สมั ย ของ พระเจ้าเมกุฎิวิสุทธิวงศ์ แห่งราชวงศ์เม็งราย องค์ที่ 20 ได้เสียเมืองเชียงใหม่ให้แก่พระเจ้า บุเรงนองมหาราช กษัตรย์พม่า เมื่อปี พ.ศ. 2102 และพระองค์ได้ถูกจับตัวไปยังกรุงอังวะ นับตั้งแต่นั้นมาลานนาไทยก็หมดอิสรภาพโดย สิ้นเชิงและต้องตกไปอยู่ใต้อ�ำนาจของพม่าเป็น เวลาช้านานถึง 216 ปี ต่อมาในปี พ.ศ.2317 พญ่าจ่าบ้าน (บุญมา) ซึ่งเป็นน้าของพระเจ้ากาวิละ ได้ร่วมกับพระเจ้า กาวิ ล ะ น� ำ ทั พ ของพระเจ้ า ตากสิ น มหาราช เข้าตีเมืองเชียงใหม่ ท�ำการขับไล่พม่าออกจาก แผ่ น ดิ น ลานนา เมื อ งเชี ย งใหม่ จึ ง เป็ น อิ ส ระ อีกครัง้ หนึง่ เมือ่ พระเจ้ากาวิละและพญาจ่าบ้าน

170

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

มาอยู ่ ที่ เ วี ย งหวากแล้ ว จึ ง ปรึ ก ษาหารื อ กั น ได้มีมติเห็น ชอบตรงกันในอันที่จะสร้างวัดขึ้น สักวัดหนึ่ง เพ่ือไว้บ�ำเพ็ญกุศลของข้าราชการ ในราชส�ำนัก และไพร่ฟ้าประชากร การก่อสร้าง วั ด ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งไปได้ ด ้ ว ยดี ต่ อ มาไม่ น านนั ก พญาแสนหลวงก็ถึงแก่อนิจกรรมลงต่อมาอีก เพียง 3 วัน มหาเถรจ่อค�ำต๊ะโร เจ้าอาวาส ก็ถึงแก่มรณกรรมลงในระยะเวลาใกล้ๆ กันนั้น พระเจ้ากาวิละจึงได้จัดการปลงศพพร้อมกัน เมื่ อ ท� ำ บุ ญ ปลงศพเสร็ จ แล้ ว จึ ง ได้ ใ ห้ ส ล่ า แป๋งหอ (ศาล) ไว้สองหอ หอค�ำสร้างไว้ที่หลัง พระวิหาร ต่อมาหอค�ำนี้ก็ได้หายสาบสูญไป ส่วนอีกหอหนึ่ง คือหอพญาแสนหลวงที่สร้างไว้ ที่แจ่ง ก�ำแพงวัดด้านเหนือ คือที่ริมศาลาบาตร ใต้ต้นโพธิ์ตราบ เท่าทุกวันนี้ พระเจ้ า กาวิ ล ะและพญาจ่ า บ้ า น จึ ง ได้ พระกรุณาโปรดให้ตงั้ ชือ่ วัดนีว้ า่ “วัดแสนหลวง” เพื่อให้เป็นอนุสรณ์ให้แก่ “พญาแสนหลวง” นายช่ า งใหญ่ ผู ้ อ อกแบบและด� ำ เนิ น การ

ก่อสร้างวัดนี้ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2338 ส่วนศาล พญาแสนหลวง ต่อมาได้นามว่า “ศาลเจ้าพ่อ แสนหลวง” เพื่ อ เป็ น ที่ สั ก การบู ช าของ ประชาชนต่อ ไปอีกนานเท่านาน ต่ อ มาในปี พ.ศ.2339 พระเจ้ า กาวิ ล ะ และพญาจ่าบ้าน (บุญมา) สองน้าหลาน เห็นว่า เมืองเชียงใหม่ได้ถูกปล่อยให้รกร้างว่างเปล่า มานานแล้ ว ควรจะพากั น ไปปฎิ สั ง ข์ เ มื อ ง เชียงใหม่อนั เป็นเมืองหลวงเดิม คิดได้เช่นนีแ้ ล้ว จึ ง ได้ อ พยพไพร่ ฟ ้ า ข้ า แผ่ น ดิ น กลั บ เข้ า เมื อ งเชี ย งใหม่ ท� ำ การปฎิ สั ง ขรณ์ บู ร ณะจน เจริญรุ่งเรืองมาตราบทุกวันนี้


วัดพระนอนป่าเก็ดถี่ วัดพระนอนป่าเก็ดถี่ ตั้งอยู่บ้านป่าเก็ดถี่ หมู่ที่ 4 ต�ำบลยางเนิ้ง อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ความส� ำ คั ญ ของพระพุ ท ธปฏิ ม ากร พระนอน ป่าเก็ดถี่ มีดังนี้ 1. เป็ น ปู ช นี ย สถานส� ำ คั ญ ของลานนาไทย ที่ มี พระเกษาธาตุของพระพุทธเจ้าสถิตย์อยู่ 2. มีเขีย้ วยักษ์ฝงั อยูท่ หี่ มอนพระ ถ้าคนใดไม่เป็นคน บริสุทธิ์หมดจดคดโกง ลักลูกเมียคนอื่น เป็นผีปอบ ผี ก ระสื อ เป็ น ต้ น เข้ า ไปในวิ ห าร จะมี อ ากั ป กิ ริ ย า กระสับกระส่ายกว่าคนอืน่ โบราณว่ายักษ์ทรี่ กั ษาท�ำให้เกิด อาการเช่นนั้น 3. มีศลิ ปะทีส่ ร้างขึน้ ในยุคทองของพระนางจามเทวี ปรากฏฝีมืออยู่ พระมีใบหน้ายิ้มงาม ปรากฏเหมือน หญิงสาว ใครได้เห็นแล้วก็อมิ่ อกอิม่ ใจ เหมือนได้โชคลาภ จนท�ำให้บางคนหลง (เมาพระ) ถึงกับขอโชคลาภก็เคยมี 4. เป็ น พระนอนที่ ใ หญ่ แ ห่ ง เดี ย ว ที่ น อนในท่ า ปรินิพพาน จนครั้งหนึ่งพระราชชายาเจ้าดารารัศมี เสด็จมานมัสการแล้วประทานชื่อว่า พระนอนแสนสุข

รางวัลผลงานที่ภูมิใจ รางวัลพระปกเกล้าประจ�ำปี 2559 และ ประจ�ำปี 2560 เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ประเภทรางวั ล ด้ า นความ โปร่งใส และส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน รางวั ล พระปกเกล้ า ทองค� ำ ประจ� ำ ปี 2561 ประเภทรางวัลด้านความโปร่งใสและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน รางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี ผ ลคะแนนผ่ า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น ในรอบ การประเมิ น ของสถาบั น การศึ ก ษา ในการ ประกวด คัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการ จัดการบริหารที่ดี ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 จากส� ำ นั ก งานปลั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี โดยได้รบั เงินรางวัล จ�ำนวน 476,190.47.- บาท รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้า สู ่ ร อบการประเมิ น ในรอบสุ ด ท้ า ย ในการ ประกวดคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จากส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี โดยได้รบั เงินรางวัล จ�ำนวน 755,263.16.- บาท

โล่เกียรติคุณยกย่อง เชิดชูเกียรติเป็น องค์กร ที่ด�ำเนินงานด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูดูแล และการสนั บ สนุ น ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยใช้ มิ ติ ท างวั ฒ นธรรม ในการสื บ สานต� ำ นานต้ น ไม้ จากกระทรวง วัฒนธรรม ประจ�ำปี 2560 รางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ที่ มี ผ ลงานด้ า นการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น ดี เ ด่ น ประจ� ำ ปี 2562 จากสถาบั น การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โล่ ร างวั ล เชิ ด ชู เ กี ย รติ เ ป็ น องค์ ก ร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ จังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รางวั ล โครงการวิ จั ย ดี เ ด่ น ประเด็ น แปรรูปขยะ โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม การจั ด การตนเองของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น น่ า อยู ่ จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) โดยส�ำนักสนับสนุนภาวะชุมชน (ส�ำนัก 3) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฎล�ำปาง ประจ�ำปี 2561

เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติที่หน่วยงานได้รับผลการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (ITA) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ 2561 ในระดับสูง จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่

รางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปีงบประมาณ 2562 ได้ รั บ เงิ น รางวั ล 1,500,000 บาท จากส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลยางเนิ้ง ถนนเชียงใหม่-ล�ำพูน 19/1 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลยางเนิง้ อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140 โทรศัพท์ : 053-321-420 , 053-321-951 แฟกซ์ : 053-321-420 ต่อ 103 อีเมล์ : theyang2009@gmail.com, info@theyang.go.th http://www.theyang.go.th CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

171


WO R K L IF E

เทศบาลต�ำบลหนองผึ้ง “เทศบาลต� ำ บลหนองผึ้ ง เป็ น องค์ ก รที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การโปร่ ง ใส พั ฒ นาสุ ข อนามั ย ถ้ ว นหน้ า รั ก ษาสภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม สร้ า งความพร้ อ มทางการศึ ก ษา ฟื ้ น ฟู ภู มิ ป ั ญ ญา ร่ ว มรั ก ษาวั ฒ นธรรม น� ำ การพั ฒ นาชุ ม ชน และท้ อ งถิ่ น น่ า อยู ่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลหนองผึ้ง

เทศบาลต�ำบลหนองผึ้ง เป็นเทศบาลขนาด กลาง ตั้งอยู่เลขที่ 444 หมู่ 1 ต�ำบลหนองผึ้ง อ� ำ เภอสารภี จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ตั้ ง อยู ่ ที่ ท าง ทิศ เหนือที่ว่าการอ�ำ เภอสารภี และห่า งจาก ที่ว่าการอ�ำเภอสารภีประมาณ 4 กิโลเมตร

ประวัติความเป็นมา

พ.อ.อ.ปั ญ ญา หล้ า ดวงดี นายกเทศมนตรีต�ำบลหนองผึ้ง

172

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นอยู่โดย ทั่วไปเป็นจ�ำนวนมาก และมีผึ้งมาสร้างรังผึ้งอยู่ ตามต้นไม้ใหญ่ และต้นยาง ด้วยเหตุนี้จึงได้ตั้ง ชื่อเรียกต�ำบลนี้ว่า “ต�ำบลหนองผึ้ง” ต�ำบลหนองผึ้ง ได้จัดตั้งเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและ องค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2538 ปัจจุบัน พ.อ.อ.ปัญญา หล้ า ดวงดี ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลหนองผึ้ง


ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตเทศบาลได้ อ นุ รั ก ษ์ ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ได้ แ ก่ วิ ธี ก ารท� ำ เครื่ อ ง จั ก สานใบมะพร้ า ว ใบลานและใบเตย (สานหมวก, โคมไฟ, ตะกร้ า ,ปลาตะเพี ย น, ขันวางของ) การผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย และวิธี การผลิตเตาอังโล่

สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ประชาชนในเขตเทศบาลหนองผึ้งได้ผลิต ของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอา ไว้จ�ำหน่ายบ้าง ได้แก่ ผ้าบาติก ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

173


จากสมุนไพร และหัตถกรรมท้องถิ่น

ประวัติ ถนนเชียงใหม่-ล�ำพูน (สายเก่า-ยางนา) ประมาณปี พ.ศ.2438 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 พระยาทรงสุรเดช (อั้น บุนนาค) ข้าหลวงใหญ่มณฑลลาวเฉียง ได้ปรับปรุง และขยายเส้นทางนี้ให้กว้างขึ้นจนเกวียนสามารถเดินได้ และในปี พ.ศ.2449 (ร.ศ.124) เจ้าพระยาสุรสีหว์ สิ ษิ ฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) ข้าหลวงใหญ่มณฑลพายัพ ได้ปรับปรุง เส้นทางสายนี้อีกครั้งโดยให้ มิสเตอร์ โรเบิร์ต ข้าหลวง โยธาเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำ ซึ่งการปรับปรุงครั้งนี้ท�ำให้เส้น ทางสายนี้สภาพดีขึ้นและมีความกว้างกว่า 3 วา เท่ากัน ตลอดทั้ ง เส้ น เป็ น ที่ ม าของถนนสายเชี ย งใหม่ - ล� ำ พู น สืบมาจนถึงปัจจุบันนี้

ท่องเที่ยวทางธรรม วัดพระนอนหนองผึ้ง วั ด พระนอนหนองผึ้ ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 205 หมู ่ 4 บ้ า นหนองผึ้ ง ถนนเชี ย งใหม่ - ล� ำ พู น ต� ำ บลหนองผึ้ ง อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 14 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา วั ด พระนอนหนองผึ้ ง สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.1836 ในอดี ต เป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของชนเผ่ า ลั๊ ว ะ ต่ อ มาประมาณปี พ.ศ.1200 พระมหาเถระเจ้า จ�ำนวน 5 รูป ซึ่งติดตาม พระนางเจ้าจามเทวีมาครองนครหริภุญชัยตามค�ำเชิญ ของพระเทวฤษี ไ ด้ จ ารึ ก และเทศนาถึ ง หมู ่ บ ้ า นแห่ ง นี้ ชาวลั๊วะเกิดความเลื่อมใสศรัทธาประสาทะ จึงน�ำรังผึ้ง จากต้นมะขามริมสระน�้ำใกล้หมู่บ้านมาถวายพร้อมสร้าง พระอารามให้ อ ยู ่ จ� ำ พรรษา และน� ำ พระสารี ริ ก ธาตุ ใส่กระบอกไม้รวกบรรจุผอบทองค�ำในหลุมลึก 22 ศอก ขนานนามว่า “ วัดหนองผึง้ ” วัด หนองผึ้งได้ดำ� รงต่อมาหลายชั่วอายุคนและได้ร้าง ไปชั่วระยะหนึ่งจนปี พ.ศ.1836 มีพระมหาเถระเจ้า พร้อมเศรษฐีและบริวารจากเมืองเชียงแสน ได้บูรณะ เจดีย์ขึ้นและสร้างพระพุทธรูปปางไสยาสน์ (พระนอน) ยาว 38 ศอก ร่วม 19 นิว้ และสร้างพระพุทธรูปปางมารวิชยั (พระเจ้าทันใจ) 1 องค์ หน้าตักกว้าง 3 ศอก กับ 1 คืบ ต่อมาลุปี พ.ศ.1838 พระเจ้าเม็งรายตีนครหริภุญชัยได้ สร้างเมืองใหม่ทิศเหนือนครหริภุญชัย ชื่อว่านครกุมกาม ได้รวมเอาวัดนี้เป็นวัดส�ำคัญในนครกุมกาม มีประเพณี นมัสการสรงน�ำ้ ปิดทองพระนอน ในวันเพ็ญ 8 เหนือทุกปี 174

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


สืบต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2456

พักผ่อนในวิถีวัฒนธรรม “ยุ้งข้าวล้านนา” “รีสอร์ทเชิงอนุรักษ์เพื่อสืบสาน งานสถาปัตยกรรมและวิถีล้านนา” ยุ้งข้าวล้านนา ตั้งอยู่เลขที่ 242/2 หมู่ 1 ต�ำบลหนองผึ้ง อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งโดย อาจารย์อดุลย์ เหรั ญ ญะ ได้ เ ปิ ด ยุ ้ ง ข้ า วแห่ ง นี้ ต ้ อ นรั บ ผู ้ ที่ มี ใจรั ก ในงาน ศิลปะ และผู้ที่ต้องการเข้ามาเรียนรู้ความชาญฉลาดของ ช่างไม้ล้านนาในการสร้างเรือนไทยโดยไร้เครื่องมืออันทัน สมัยให้สามารถรองรับน�้ำหนักเมล็ดข้าวเป็นตันๆ ได้ อีกทั้ง ยั ง เป็ น สถาปั ต ยกรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ต่างจาก ยุ้งข้าวในจังหวัดภาคเหนืออย่างสิ้นเชิง โทรศัพท์ 053-816-538 หรือ https//www.facebook.com/lannaricebarn ติดต่อส�ำนักงาน เทศบาลต�ำบลหนองผึ้ง เลขที่ 444 หมู่ 1 ต�ำบลหนองผึ้ง อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50140 โทร.053-103-882-3 แฟกซ์.052-005-212 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

175


บ้านถวาย ล้ า นนา รี ส อร์ ท Baan Tawai Lanna Resort มาเชียงใหม่เมื่อใด ให้บ้านถวายล้านนารีสอร์ท ดูแลคุณและครอบครัว หากคุ ณ ก� ำ ลั ง มองหาที่ พั ก ที่ ส บายและสงบให้ บ้านถวาย ล้านนา รีสอร์ท ได้เป็นทางเลือกของคุณ ซึ่ ง เป็ น รี ส อร์ ท ที่ ตั้ ง อยู ่ ภ ายในหมู ่ บ ้ า นถวายเพี ย งแค่ ไม่กี่วินาทีส�ำหรับการเดินไปยังแหล่งช็อปปิ้ง ซึ่งเป็น ศูนย์หัตถกรรมที่ใหญ่ที่สุดของเชียงใหม่ ณ ที่แห่งนี้ คุณจะได้สัมผัสกับบรรยากาศของล้านนาและการต้อนรับ ที่อบอุ่น เป็นมิตร กับห้องพักที่สะอาด สะดวก สบาย สระว่ายน�้ำกลางแจ้ง พร้อมอาหารเช้าที่แสนอร่อย มาสั ก การบู ช าขอพรให้ ส� ำ เร็ จ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พระพิฆเนศบ้านทิพย์มณี (หมู่บ้านถวาย) ท�ำบุญไหว้ พระครูบาโสภาอดีตเจ้าอาวาสวัดถวาย ศิษย์เอกของ ครูบาศรีวิชัยรวมถึงเยี่ยมชมวิหาร ไม้สักทองทั้งหลัง และศาลา 9 ห้องบรรจุพระพุทธรูปเก้าตือ้ ทีต่ กแต่งด้วย ศิลปะไม้วัดถวายอย่างงดงาม


บ้านถวาย ล้านนา รีสอร์ท ตั้งอยู่ในอ�ำเภอหางดง ห่างจาก สนามบินนานาชาติเชียงใหม่เพียง 15 นาที และยังล้อมรอบด้วย สถานที่ท่องเที่ยวในเชียงใหม่ที่ส�ำคัญ คือ ประตูท่าแพ วัดเชียงมั่น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด อยสุ เ ทพ ต� ำ หนั ก ภู พิ ง ค์ ร าชนิ เ วศ ดอยปุ ย และทีพ่ ลาดไม่ได้คอื อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ วัดพระธาตุดอยค�ำ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ และไนท์ซาฟารี

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม

บ้านถวาย ล้านนา รีสอร์ท

Baan Tawai Lanna Resort 196 ถนนสองฝั่งคลอง อำ�เภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 50230 โทร 09-9446-1818, 09-9189-3236 บ้านถวายล้านนารีสอร์ท Baan Tawai Lanna Resort Email: baantawailannaresort@gmail.com


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลหางดง “หางดงน่ า อยู ่ อ าศั ย ก้ า วไกลทางเศรษฐกิ จ ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลหางดง

ดร.จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ นายกเทศมนตรีต�ำบลหางดง

เทศบาลต�ำบลหางดง ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นเทศบาลขนาดกลาง ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 15 กิโลเมตร เดิ ม มี ฐ านะเป็ น สุ ข าภิ บ าลหางดง อยู ่ ใ น ความรับผิดชอบของอ�ำเภอหางดง ได้จัดตั้งเป็น สุ ข าภิ บ าลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย 178

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2499 และได้รับการ เปลี่ ย นแปลงเป็ น เทศบาลต� ำ บลหางดง ตามพระราชบั ญ ญั ติ เ ปลี่ ย นแปลงฐานะของ สุ ข าภิ บ าลเป็ น เทศบาล พุ ท ธศั ก ราช 2542 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ชุ ม ชนเทศบาลต� ำ บลหางดง เป็ น ชุ ม ชน กึ่งเมืองกึ่งชนบท ที่มีการตั้งถิ่นฐานในบริเวณ ที่ราบลุ่ม ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานเกาะกลุ่มไปตาม เส้นทางคมนาคมหลักของชุมชน คือ ทางหลวง หมายเลข 108 มีล�ำเหมืองแม่ท่าช้าง ล�ำเหมือง แม่ขัก และล�ำเหมืองแม่ค�ำลม ไหลผ่านทางด้าน ทิ ศ เหนื อ ด้ า นตะวั น ตก ด้ า นทิ ศ ใต้ แ ละ ทิศตะวันออก ของชุมชน มีเนื้อที่รับผิดชอบ 2.72 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 1,700 ไร่ การเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลต�ำบล หางดง คณะผู ้ บ ริ ห าร น� ำ โดย ดร.จ� ำ รู ญ เร่งถนอมทรัพย์ นายกเทศมนตรีต�ำบลหางดง พร้อมทั้งคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล

ได้มีการระดมพลังความคิด น�ำเอาข้อดีและ ข้ อ ด้ อ ยในพื้ น ที่ ม าวิ เ คราะห์ เ พื่ อ ใช้ ใ นการ บริหารงานของเทศบาล อันจะเป็นการป้องกัน แก้ไข ปัญหาในด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามกระแส สังคมปัจจุบันที่แพร่เข้ามาในวิถีชีวิตและในวิถี วัฒนธรรมของคนในชุมชน พร้อมกับการสร้าง ความรั ก ความสามั ค คี สร้ า งอาชี พ รายได้ ตลอดจนการสาธารณู ป โภค สาธารณู ป การ และการดูแลสุขภาพ ควบคู่กันไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สังคมเล็ก ๆ แห่งนี้ อยู่ร่วมกันอย่าง มี ค วามสุ ข เกิ ด การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น อย่ า งเป็ น รูปธรรมและยั่งยืน โดยการจัดท�ำโครงการและ กิจกรรมต่าง ๆที่จะน�ำไปสู่เป้าหมายที่มีร่วมกัน อย่างชัดเจน โดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วม ตามแนวความคิ ด เรื่ อ งหลั ก ธรรมาภิ บ าลมา บูรณาการ กับวิถีวัฒนธรรมการด�ำรงชีวิตของ คนในท้องถิ่นเป็นส�ำคัญ จึงก่อเกิดเป็นโครงการ ที่น่าสนใจของเทศบาลต�ำบลหางดง ดังนี้


โครงการน�้ำประปาสุขใจ ลดใช้งบ ประมาณ (SMART WATER) เดิม “เทศบาลต�ำบลหางดง” ได้มีการจัดท�ำ ระบบประปาใต้ดินบริการส่งจ่ายน�้ำประปาให้ กับประชาชน แต่ต่อมาเมื่อเมืองขยายตัวขึ้น น�้ำใต้ดินเริ่มลดลง คุณภาพน�้ำไม่ดี มีตะกอน ธาตุ สู ง ส่ ง จ่ า ยน�้ ำ ได้ เ พี ย งระยะทางสั้ น ๆ ไม่ ส ามารถสนองตอบต่ อ ความต้ อ งการของ ประชาชนได้ อีกทั้ง เทศบาลต้องประสบปัญหา ขาดทุ น จากค่ า ซ่ อ มบ� ำ รุ ง ที่ สู ง มาก แต่ ห าก ยกเลิกการผลิตประปา ย่อมส่งผลกระทบให้ ประชาชนได้รับความเดือดร้อน

คณะผู้บริหารจึงได้มีการปรึกษาหารือร่วม กันไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐ ภาคประชาสังคม ที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาหาทางแก้ไขในเรื่อง การบริหารจัดการในเรื่องน�้ำประปา ทั้งในส่วน ของภาครัฐ (การประปาส่วนภูมิภาค) และวิธี การบริ ห ารจั ด การด้ า นน�้ ำ ประปาของภาค เอกชน เพื่ อ น� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ ป รั บ ปรุ ง ใช้ ใ ห้ เหมาะสมกั บ พื้ น ที่ และพบว่ า การผลิ ต น�้ำประปาของเอกชนจะสอดคล้องกับการแก้ไข ปัญหาเรื่องน�้ำประปาของเทศบาลต�ำบลหางดง ได้อย่างรวดเร็วและมีความคล่องตัว จึงได้น�ำ มตินี้ไปท�ำการศึกษาและน�ำเสนอสภาเทศบาล

และประชาคมในพื้นที่ จนผ่านมติในที่สุดและ เป็นที่มาของจุดเริ่มต้นของโครงการ ซึ่งการบริการจัดการระบบประปาเทศบาล หางดงร่วมกันในครั้งนี้ ได้พลิกวิกฤตให้เป็น โอกาสโดย น�ำบ่อดินรกร้างจากการถูกขุดหน้า ดินไปขายเพื่อการก่อสร้าง จนเกิดเป็นบ่อขนาด ใหญ่ เมื่อมีน�้ำฝนและน�้ำ ใต้ดินบางส่วนไหลมา รวมกันจึงถูกขังสะสมไว้ โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์ และทางเอกชนก็มีการน�ำเสนอให้น�ำมาเป็นบ่อ ฝังกลบขยะ แต่ถูกคัดค้านจากชาวบ้าน มาใช้ เป็นแหล่งน�้ำดิบในการจัดท�ำระบบประปาของ เทศบาล ต�ำบลหางดง แล้วส่งผ่านขั้นตอนและ กระบวนการในการผลิตน�้ำประปาที่มีคุณภาพ และมาตรฐานตามที่ก�ำหนดถือเป็นนวัตกรรม ร่วมกันของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งเทศบาลต�ำบล หางดง ภาคเอกชน และภาคประชาชนผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังได้มีความร่วมมือในการท�ำ กิจการนอกเขต จากทั้ง 10 ต�ำบล ในเขตอ�ำเภอ หางดง โดยความเห็นชอบจากท่านผู้ว่าราชการ จังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก โครงการส่งน�ำ้ และบ�ำรุงรักษา แม่แตงส�ำนักงาน ชลประทานที่ 1 ในการส่งน�ำ้ จากคลองชลประทาน มาเก็บกักไว้ที่บ่อดิน เพื่อผลิตน�้ำประปาให้พอ เพียงอีกด้วย “โครงการน�ำ้ ประปาสุขใจ ลดใช้งบประมาณ” สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการให้บริการน�้ำ ประปาที่ ไ ด้ ม าตรฐาน เป็ น การจั ด ระบบ สาธารณูปโภคแบบมีสว่ นร่วม มีการน�ำเทคโนโลยี สมัยใหม่มาใช้ เป็นพืน้ ฐานการพัฒนาเมือง จาก ความส�ำเร็จของความร่วมมือกันในการแก้ไข ปัญหาเรือ่ งน�ำ้ ประปาในพืน้ ที่ ท�ำให้โครงการน�ำ้ ประปาท้องถิน่ สุขใจ ลดใช้งบประมาณ (SMART WATER) ของเทศบาลต�ำบลหางดงได้รับรางวัล “ชมเชย” องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการ บริหารจัดการทีด่ ี ประจ�ำปี 2562 จากส�ำนักงาน คณะกรรมการการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี และยังเป็นตัวอย่างโครงการบริหาร จัดการน�ำ้ ประปาตามแนวทางการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่น ๆ ได้เข้ามาศึกษาหาดูงานและน�ำไปพัฒนา ต่อยอดในพืน้ ทีข่ องตนต่อไป CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

179


โครงการศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแบบผสม ผสานด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา เทศบาลต�ำบลหางดง “สุขภาพที่ดีไม่มีขาย อยากได้ต้องสร้างเอง เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีของสถาบันครอบครัว การดูแลสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและรองรับ การแข่งขันกีฬาใน ท้องถิ่นและจังหวัด ” ในสภาวการณ์ปัจจุบันที่ความก้าวหน้าทาง ด้านเทคโนโลยีได้เข้ามามีอิทธิพลในการพัฒนา ด้านต่าง ๆ ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง ของเศรษฐกิจสังคม รวมไปถึงค่านิยมในการ ใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของประชาชนส่ ว นใหญ่ ที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ประชาชนละเลย การออกก�ำลังกายท�ำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ ตามมา ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม สุ ข ภาพแบบผสมผสาน ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเทศบาลต�ำบลหางดง จึงเกิดขึ้นด้วยทุน การก่อสร้าง 13,815,500 บาท ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ภายในศูนย์ฯประกอบด้วย สระว่ า ยน�้ ำ ขนาดมาตรฐาน ห้ อ งฟิ ต เนส ห้องอบซาวน่า ห้องโยคะ สนามฟุตบอล ลู่วิ่ง และ เครื่องออกก�ำลังกายกลางแจ้ง ฯลฯ เป้ า หมายที่ ส� ำ คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ของ ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม สุ ข ภาพแบบผสมผสานด้ า น วิทยาศาสตร์การกีฬาเทศบาลต�ำบลหางดง คือ การสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีของสถาบันครอบครัว ด้ ว ยบริ ก ารที่ ค รบครั น เช่ น พ่ อ เล่ น ฟิ ต เนส แม่ เ ล่ น โยคะและอบซาวน่ า หรื อ ลู ก เรี ย น ว่ายน�้ำฯลฯ ทุกคนสามารถท�ำกิจกรรม หรือ ออกก�ำลังกายได้ ตามความต้องการของตนเอง ภายในสถานที่เดียวกัน นอกจากนั้น เทศบาลต�ำบลหางดงยังได้มี การให้ บริ การต่าง ๆ อาทิเช่น การฝึกสอน การแนะน�ำและการให้คำ� ปรึกษาทางด้านการกีฬา เพื่อให้ประชาชนผู้ใช้บริการได้มีโอกาสเข้าถึง การดูแลรักษาสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้ง ยั ง เป็ น สถานที่ ร องรั บ การจั ด แข่ ง ขั น กี ฬ า ประเภทต่าง ๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับ จังหวัดได้อีกด้วย

180

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


โครงการบริหารจัดการด้านการศึกษา ด้วยการก่อสร้างและจัดตั้งโรงเรียน เทศบาลหางดง (ประชาคมสร้างสรรค์) โรงเรี ย นเทศบาลหางดง (ประชาคม สร้างสรรค์) สังกัดเทศบาลต�ำบลหางดง จัดตั้ง ขึ้นตามความเห็นชอบของสภาเทศบาลต�ำบล หางดง ในคราวประชุ ม สภาเทศบาลต� ำ บล หางดง สมัยสามัญสมัยที่ 2 ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ.2551 เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ให้ด�ำเนินการจัดตั้งโรงเรียนอนุบาล โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนอนุบาลเทศบาลต�ำบล หางดง “ตามประกาศเทศบาลต� ำ บลหางดง เรื่องการจัดตั้งโรงเรียนเทศบาลต�ำบลหางดง ลงวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2551 เพื่อเป็น สถานที่ จั ด การเรี ย นการสอนให้ กั บ เยาวชน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพเทียบเท่ า กับ สถานศึกษา

ในท้องถิน่ อืน่ ๆ โดยมี ดร.จ�ำรูญ เร่งถนอมทรัพย์ นายกเทศมนตรี ต� ำ บลหางดง เป็ น ประธาน กรรมการสถานศึกษา เริ่มมีการจัดการเรียนการสอนครั้งแรกใน ปีการศึกษา 2552 เมือ่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2552 ในระดั บ ชั้ น อนุ บ าล 1 และอนุ บ าล 2 โดยเทศบาลต�ำบลหางดง ได้รับงบประมาณ จากส�ำนักบริหารการศึกษาท้องถิน่ กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย ในการ ก่อสร้างอาคารเรียนต่าง ๆ ภายในโรงเรียน อนุบาลเทศบาลต�ำบลหางดง ปี 2553 ได้มีการ ปรั บ ขยายชั้ น เรี ย นตามเกณฑ์ อ ายุ คื อ ชั้นอนุบาล 1 (3 ขวบ) ,ชั้นอนุบาล 2 (4 ขวบ), ชั้นอนุบาล 3 (5 ขวบ) ในปีการศึกษา 2554 เป็นต้นมา ได้มีการ เปิดการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 1 และโรงเรี ย นอนุ บ าลเทศบาลต� ำ บล

หางดง ได้ ท� ำ การเปลี่ ย นชื่ อ โรงเรี ย นเป็ น “โรงเรียนเทศบาลหางดง (ประชาคมสร้างสรรค์) เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พุทธศักราช 2554 ปั จ จุ บั น “โรงเรี ย นเทศบาลหางดง (ประชาคมสร้ า งสรรค์ ) ได้ เ ปิ ด การเรี ย น การสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 มีจ�ำนวนห้องเรียนทั้งหมด 31 ห้องเรียน และมี จ� ำ นวนนั ก เรี ย นทั้ ง สิ้ น 933 คน มี ค รู จ�ำนวน 25 คน ภายใต้วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ในการที่จะมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคมสติปัญญา และมี คุ ณ ธรรม มี ค วามสุ ข บนพื้ น ฐานของสั ง คม แห่ ง การเรี ย นรู ้ โดยสื่ อ ทางเทคโนโลยี แ ละ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี และส่ ง เสริ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ที่ ดี ง าม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังปรัชญาของโรงเรียนที่ว่า “การศึกษาพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม”

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

181


โครงการส่งเสริมและพัฒนา ตลาดสดดี มีมาตรฐาน แต่เดิมนั้น ตลาดสดเทศบาลต�ำบลหางดง ไม่ต่างจากตลาดสดทั่วไป การดูแลเอาใจใส่ยัง ไม่ ทั่ ว ถึ ง ขาดการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน พ่อค้า แม่ค้า และผู้ประกอบการในตลาด มีการ ยึดติดกับรูปแบบการด�ำเนินการในแบบเดิม ๆ โดยเอาประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ยากต่อการ 182

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พัฒนา และบริหารจัดการให้เป็นไปในทางที่ดี ทางเทศบาลจึงได้ท�ำการน�ำจุดด้อยของปัญหา มาวิ เ คราะห์ หาจุ ด ขายของตลาดเพื่ อ ให้ สอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิตของประชาชน โดยด�ำเนินการปรับปรุงให้ตลาดสดแห่งนี้มีการ บริ ห ารจั ด การที่ เ ป็ น ระบบระเบี ย บ และถู ก สุขอนามัย สามารถรองรับสินค้าจากแหล่งอืน่ ๆ ทั้ ง ในชุ ม ชน และต่ า งชุ ม ชนได้ แม้ ว ่ า ใน ระยะแรก จะเกิดปัญหาต่าง ๆ มากมายในการ

อธิบาย ท�ำความเข้าใจกับพ่อค้า แม่ค้า และ ผู้ประกอบการ ให้เข้าใจในเป้าหมายที่วางไว้ เพื่อให้ได้ประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกัน แต่มา ถึงวันนี้เป้าหมายที่วางไว้ได้ประสบผลส�ำเร็จ และเป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายอย่างเป็นรูปธรรม มากขึ้น แต่เทศบาลต�ำบลหางดง ก็ยังไม่หยุด ยั้งที่จะพัฒนาตลาดสดเทศบาลต�ำบลหางดงให้ มีการพัฒนาในทุกด้าน เช่น การปรับปรุงสภาพ ทั่วไปของตลาดสดเทศบาลให้มีความทันสมัย มั่นคงแข็งแรง และสะดวกสบายต่อผู้ใช้บริการ ไม่ว่าการปรับปรุงรางระบายน�้ำภายในบริเวณ ตลาดสด การปรับปรุงซ่อมแซมหลังคาอาคาร ขายสินค้าให้มีแสงสว่างมากยิ่งขึ้น การจัดให้มี ห้องน�้ำสะอาดปลอดภัย และที่จอดรถมีหลังคา ไว้ อ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ ผู ้ ม าใช้ บ ริ ก าร รวมทั้ ง ผู ้ พิ ก ารและผู ้ สู ง อายุ การติ ด ตั้ ง กล้องวงจรปิด เพื่อช่วยในเรื่องความปลอดภัย ของทรัพย์สินประชาชน เป็นต้น ดังนัน้ ตลาดสดเทศบาลต�ำบลหางดงจึงเป็น แหล่งขายสินค้าที่เป็นหน้าเป็นตาของชุมชน อีกทั้งเป็นแหล่งท�ำมาหากินและสร้างรายได้แก่ พี่น้องประชาชนชาวหางดงเป็นอย่างดี ค�ำตอบ ที่ดีที่สุดของการใช้หลักธรรมาภิบาล ด้านการ มีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ท�ำให้ตลาดสดเทศบาล ต� ำ บลหางดง ได้ รั บ รางวั ล ตลาดสดดี เ ด่ น จากกระทรวงพาณิชย์ ปี 2548, รางวัลตลาดสดดี มีมาตรฐาน จากกระทรวงมหาดไทย ปี 2549 – 2551 และรางวั ล ตลาดสดน่ า ซื้ อ จาก กระทรวงสาธารณสุข ปี 2551 , รางวัลตลาดสด ติดดาว ในความส่งเสริมของกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ประจ�ำปี 2561 ถึงปัจจุบัน


โครงการจัดตั้งศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ผู้พิการและ กายภาพบ�ำบัด เทศบาลต�ำบลหางดง จากข้อมูลของ United Nations World Population Ageing พบว่า ประเทศไทยก�ำลัง อยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ โดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยมีการคาด การว่า ในปี 2564 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ สังคมประชากรสูงวัยแบบสมบูรณ์ โดยมีผู้ที่ อายุมากกว่า 60 ปี เกิน 20% ของจ�ำนวน ประชากรทั้งหมด สถานการณ์นี้เป็นผลมาจาก การพั ฒ นาเศรษฐกิจ และการพัฒ นาประเทศ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ การแพทย์ ท� ำ ให้ ป ระชากรมี อ ายุ ยื น ยาว นโยบายการวางแผนครอบครัวหรือการควบคุม การมีบุตร ท�ำให้เกิดการลดภาวะเจริญพันธ์ อย่างรวดเร็ว และการลดลงอย่างต่อเนื่องของ ระดับการตายของประชากร ท�ำให้จ�ำนวนและ สัดส่วนประชากรสูงอายุของไทยเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกั บ จ� ำ นวนประชากรทั้ ง สิ้ น ของ เทศบาลต�ำบลหางดง เมื่อปี 2561 มีจ�ำนวนทั้ง สิ้น 7,381 คน ซึ่งเมื่อมีการตรวจประเมินความ สามารถในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันตามดัชนี บาร์เธลเอดีแอล โดยผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (CM) พบว่ายังมีผู้สูงอายุที่มีคะแนนเอดีเอล เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน ใน 4 หัวข้อ

หลักที่น�ำมาใช้ในการประเมิน ซึ่งได้แก่ กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้างและอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ 2 เคลื่อนไหวได้บ้างและอาจมีปัญหา การกินหรือการขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทาง สมอง (ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง แต่ต้องพึ่งพาผู้ อื่ น บางกิ จ กรรมและมี ภ าวะสั บ สนทางสมอง กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหา การกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วย รุนแรง (ช่วยเหลือตนเองได้น้อยมาก และต้อง พึ่งพิงผู้อื่นในกิจวัตรประจ�ำวัน) และกลุ่มที่ 4 มีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้าย ของชีวิต (ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ และต้องอยู่ใน ภาวะพึ่งพิงตลอด) โดยผู้สูงอายุเหล่านี้จ�ำเป็น ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ทั้ ง ด้ า นบริ ก าร สาธารณสุขและด้านสังคม จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นที่มาของ การปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างเทศบาลต�ำบล หางดง และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้มีมติ ร่วมกันจัดตั้งศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ผู้พิการและกายภาพบ�ำบัด เทศบาล ต� ำ บลหางดงขึ้ น เพื่ อ เป็ น สถานที่ ติ ด ต่ อ เพื่ อ อ�ำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงาน ในเรื่องของการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ผู้พิการและกายภาพบ�ำบัดภายในเขต เทศบาลต�ำบลหางดงและใกล้เคียง อีกทั้งยัง เป็ น การลดภาระการเดิ น ทางไปใช้ บ ริ ก ารที่

โรงพยาบาลหางดง โดยอาคารที่ท�ำการตั้งอยู่ที่ เลขที่ 222 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และมีพธิ เี ปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2562 ปั จ จุ บั น การด� ำ เนิ น งานของศู น ย์ พั ฒ นา และฟื้นฟูคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ผู้พิการและ กายภาพบ�ำบัด เทศบาลต�ำบลหางดง มีผู้มา ขอรั บ บริ ก ารอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมี เ จ้ า หน้ า ที่ เฉพาะทางด้ า นกายภาพบ� ำ บั ด ของเทศบาล ต� ำ บลหางดง และเจ้ า หน้ า ที่ จิ ต อาสา ด้านสาธารณสุขที่ผ่านการอบรมด้านการดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และกายภาพบ�ำบัดให้บริการ และประสานงานแก่ ผู ้ ม าขอรั บ บริ ก าร ในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ บทสรุป จากบริบทการพัฒนาท้องถิ่นโดย อาศั ย หลั ก ธรรมาภิ บ าล ในเรื่ อ งของการมี ส่วนร่วมของประชาชนในทุกๆ ด้าน เพื่อให้เกิด ความรัก ความหวงแหน และส�ำนึกรักบ้านเกิด ก่อให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และด�ำเนิน การบริหารจัดการท้องถิ่นได้อย่างเป็นรูปธรรม ของเทศบาลต�ำบลหางดง นี่คือ “เทศบาลต�ำบลหางดง” ชุมชนน่าอยู่ น่าอาศัย จากการน�ำวัฒนธรรม ประเพณี และ วิถีชีวิตของคนในชุมชน มาประสานกับความ ทั น สมั ย ความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม ได้อย่างลงตัว ภายใต้แนวคิด “สังคมน่าอยู่ อาศัย ก้าวไกลทางเศรษฐกิจ” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

183


WO R K L IF E

อ�ำเภออมก๋อย “ช้ า งไถนา...งานยิ่ ง ใหญ่ ป ี ล ะครั้ ง ช่ ว งพฤษภา ท่ อ งเที่ ย วขึ้ น ชื่ อ ของอ� ำ เภออมก๋ อ ย” วิสัยทัศน์การพัฒนา อ�ำเภออมก๋อย

ดิ น แดนในหุ บ เขา ใต้ ร ่ ม เงาพระเจ้ า แสนหลวง ดอยม่ อ นจองสู ง สง่ า สั ต ว์ ป ่ า สงวนมากมี ประเพณี ห ลายเผ่ า พั น ธุ ์ ค�ำขวัญอ�ำเภออมก๋อย

อ�ำเภออมก๋อย อยู่ในดินแดนที่ห่างไกล ตั้งอยู่ ในหุ บ เขา การเดิ น ทางสมั ย ก่ อ นล� ำ บากมาก ปัจจุบันดีขึ้นมากสามารถไปเที่ยวได้สบาย จุดเด่น ของการมาเที่ยวอ�ำเภออมก๋อย อยู่ที่ดอยม่อนจอง ค�ำว่า “ม่อน” เป็นภาษาเหนือ หมายถึง ดอย, เนินเขา, ภูเขา ส่วนค�ำว่า “จอง” ภาษาเหนือ ออกเสียงว่า “จ๋อง” หมายถึง “ลักษณะจั่วสามเหลี่ยมที่อยู่ สูงที่สุด” ซึ่งเรียกตามลักษณะภูมิประเทศที่เป็น ยอดเขา และมี ห น้ า ผาสู ง ชั น ชี้ ไ ปบนท้ อ งฟ้ า นักท่องเที่ยวจะเดินเท้าขึ้นไปยืนปลายยอดและเก็บ ภาพประทับใจ

นายศิ ว ะ ธมิ ก านนท์ นายอ�ำเภออมก๋อย

บันทึก “อมก๋อย” บันทึกความเป็นมา... อมก๋อย มาจากค�ำว่า อ�ำกอย เป็นภาษาลัวะ (ละว้า) แปลว่า ขุนน�้ำหรือต้นน�้ำสันนิษฐานว่า หมายถึงต้นน�้ำแม่ตื่นที่ไหลผ่านชุมชนเมืองโบราณจากต�ำนานเมืองตั๋นบุรีได้จารึกไว้ว่า พระยาช้างเผือก และ พระยาเลิก สองพี่น้องได้พาราษฎรที่อพยพมาจากเมืองเชียงใหม่มาท�ำการสร้างเมืองตั๋นบุรี ในปี พ.ศ.1985 (ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่ตื่น) มีอาณาเขตถึงบ้านฟ้อนฟ้า นาหง สะหรง แม่ระมาด หินลวด นาไฮ หนอแสง ดินแดง บ้านป๊อก บ้านหมาก ผาสาด และ วังค�ำ ต่อมาพระอทิตตราได้สร้างพระบรมธาตุเจดีย์วัดจอมแจ้งขึ้น ที่ดอยนางนอนในปีพ.ศ. 2148 และ พระยาอนันตราช เจ้าเมืองตั๋นได้บรรจุพระบรมธาตุเจดีย์ในปี พ.ศ. 2299 และได้มีประเพณีไหว้พระธาตุ ในเดือน 9 เหนือ ขึ้น 15 ค�่ำ ที่สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

184

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ�ำเภออมก๋อยในปัจจุบัน ส�ำหรับที่ตั้งอ�ำเภออมก๋อยในปัจจุบัน เดิมเป็น หมู่บ้านของชาวลัวะ มีขุนแสนทองเป็น หัวหน้า หมู่บ้าน ต่อมาได้มีคนเมืองอพยพเข้ามาแทนที่ และชาวลัวะได้ย้ายออกไปอยู่ในท้องที่อื่น ส่วนทาง ราชการได้ ท� ำ การจั ด ตั้ ง เป็ น ต� ำ บลอยู ่ ใ นเขต ปกครองของอ�ำเภอฮอดได้ท�ำการยกฐานะขึ้นเป็น กิ่งอ�ำเภออมก๋อย ในปี พ.ศ. 2463 และได้ ยกฐานะ เป็นอ�ำเภออมก๋อยเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 เป็ น อ� ำ เภอที่ ตั้ ง อยู ่ ท างใต้ สุ ด ของจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ปั จ จุ บั น มี นายพุ ฒิ พ งศ์ ศิ ริ ม าตย์ เป็นนายอ�ำเภออมก๋อย คนที่ 24


สัมผัสอากาศหนาวตลอดปี กับ สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม

“ชมกุหลาบพันปี บนยอดดอยหัวสิงห์” ในอ�ำเภออมก๋อย ไม่ได้มีเพียง “ดอยม่อนจอง” ต�ำบลม่อนจอง เท่านั้น ขอชวนนักท่องเที่ยวสัมผัส ความงามของธรรมชาติ บ นยอดดอยหั ว สิ ง ห์ ชมกุหลาบพันปี ดูทัศนียภาพมุมสูงของอมก๋อย ชมยอดดอย 360 องศา แถมอากาศหนาวเย็นสบาย ที่นี่ยังมี เทศกาลกรีนซีซั่น ในทุ่งข้าวเขียวขจี แถววั ด แสนทอง มากมายด้ ว ยแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว หลากแบบที่ดอยมูเซอ หมู่ 5 ต�ำบลม่อนจอง น�ำ้ ตก แม่ตื่นน้อย, นางนอน, ห้วยตาด,วังควายเผือก และ โป่งดิน สัมผัสวิถีชุมชน การใช้ช้างไถนาซึ่งจัดงาน ยิ่ ง ใหญ่ ทุ ก ๆปี (ช่ ว งพฤษภาคม) เป็ น อี ก หนึ่ ง เทศกาลท่องเที่ยวขึ้นชื่อของ ต.นาเกียน อ.อมก๋อย ที่ว่าการอ�ำเภออมก๋อย ตั้งอยู่ที่บ้านหลิม หมู่ 1 ถนนเจริญทัศนา อ�ำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50310 โทรศัพท์ 053-467-060 และ โทรสาร 053-467-060

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

185


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลอมก๋อย “ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง สั ง คมน่ า อยู ่ เศรษฐกิ จ ยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลอมก๋อย

เทศบาลต�ำบลอมก๋อย ได้รับการยกฐานะ จากสุขาภิบาลต�ำบลอมก๋อย เป็นเทศบาลต�ำบล อมก๋อย ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะ สุขาภิบาลเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 ปัจจุบันส�ำนักงานเทศบาลอมก๋อย ตั้งอยู่เลขที่ 789 ถนนเจริญทัศนา หมู่ที่ 1 ต�ำบล อมก๋อย อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี นายบุ ญ เย็ น ใจตา ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายก เทศมนตรีต�ำบลอมก๋อย

นายบุ ญ เย็ น ใจตา นายกเทศมนตรีต�ำบลอมก๋อย

สถานที่ส�ำคัญในต�ำบล

วัดแสนทอง (Wat Saen Thong) ตั้งอยู่ เลขที่ 123 บ้ า นดง หมู ่ ที่ 9 ต� ำ บลอมก๋ อ ย อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2444 มี อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า วั ด บ้ า นดง เป็ น ที่ ประดิษฐานของ “พระเจ้าแสนทอง” ซึ่งเป็น พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน ตามต�ำนานเล่าขาน ครั้งหนึ่งพระนางจามเทวีได้รับเชิญจากเจ้าเมือง เชียงใหม่ให้มาครองหัวเมืองล�ำพูน พระนาง เสด็ จ ขึ้ น มาทางเรื อ ตามแม่ น�้ ำ ปิ ง และได้ น� ำ พระเจ้ า แสนทองมาด้ ว ย การเดิ น ทางของ พระเจ้าแสงทองผ่านสงคราม และการย้ายที่ 186

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประดิษฐานอยู่หลายครั้ง จนกระทั่งปัจจุบัน พระเจ้าแสนทองได้รับอาราธนากลับมาอยู่ที่ เดิมที่วัดแสนทองจนถึงทุกวันนี้ และเป็นสถาน ที่ที่นักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยือนในอ�ำเภออมก๋อย ได้กราบสักการบูชาเพื่อความสวัสดีแห่งชีวิต

พระธาตุดอยแก้ว จากปาฏิหาริย์เกิดขึ้นใน ช่วงเข้าพรรษาเป็นวันขึ้น/แรม 15 ค�่ำ หรือขึ้น/ แรม 8 ค�่ำ ช่วงเวลาประมาณ 19.30 น. เป็นต้น ไป จนถึงเที่ยงคืนที่ชาวบ้านจากหลายหมู่บ้าน ได้พบเห็นที่เกิดปรากฏการณ์ลูกแก้วหรือดวง แก้วสีเขียวนวลลอยไปลอยมาระหว่างบนยอด ดอยจนท�ำให้เกิดความศรัทธาในความเชื่อเรื่อง พระธาตุ ขึ้ น มา ต่ อ มาภาคส่ ว นต่ า ง ๆ และ

ประชาชนในพื้ น ที่ มี แ นวคิ ด ว่ า ควรจะมี ก าร ก่อสร้างพระธาตุดอยแก้วไว้บริเวณดอยแก้ว ซึ่ง ชื่อดอยแก้วมาจากชื่อ “น�้ำบ่อแก้ว” ซึ่งตั้งอยู่ กลางดอย โดยวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 7 หรือเดือน 9 เหนือ ของทุกปี จะมีพิธีตักน�้ำจากบ่อแห่งนี้ ไปเจริญพระพุทธมนต์ส�ำหรับสรงพระเจ้าแสน ทอง พระคู่บ้านคู่เมืองอมก๋อย ปัจจุบัน พระ มหาดวงรัตน์ ฐิตรตโน เป็นเจ้าอาวาสวัดแสน ทอง คณะกรรมการพระธาตุดอยแก้ว เทศบาล ต�ำบลอมก๋อย รวมถึงผู้มีจิตศรัทธา ได้ร่วมกัน ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบให้มีจุดชมวิว ห้องน�้ำ น�้ำประปา ถนนที่ใช้เดินทางขึ้นลงได้สะดวก เป็ น สถานที่ ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เข้ า มาเยื อ นใน อ�ำเภออมก๋อยได้กราบสักการบูชาเพื่อความ เป็นสิริมงคลแห่งชีวิต


สะพานคู่รัก สะพานแห่งนี้เป็นสะพานคู่ที่ เชื่อมระหว่างหมู่ที่ 1 บ้านหลิม ต�ำบลอมก๋อย กับ หมู่ที่ 1 บ้านหลวง ต�ำบลยางเปียง อ�ำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นทีบ่ รรจบของแม่นำ�้ 2 สาย คือ น�้ำแม่ตื่น แม่ต๋อม เทศบาลต�ำบล อมก๋อย ได้มีการปรับปรุงให้สะพานคู่แห่งนี้เป็น สะพานคู่รัก โดยทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของ ทุกปี จัดให้มีการจดทะเบียนสมรสระหว่างสามี ภรรยา ณ สะพานแห่งนี้ยังเป็นจุดเช็คอินแห่ง ใหม่ของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยือนในอ�ำเภอ อมก๋อยอีกด้วย

งานส่งเสริมการท่องเที่ยวอากาศดี...ที่อมก๋อย เทศบาลต�ำบลอมก๋อย เริม่ จัด “งานส่งเสริมการท่องเทีย่ วอากาศดี...ทีอ่ มก๋อย” ขึน้ เป็นครัง้ แรกในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ณ สนามกีฬาเทศบาล ต�ำบลอมก๋อย และได้ด�ำเนินการจัดงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี โดยความร่วมมือระหว่างเทศบาลต�ำบลอมก๋อย อ�ำเภออมก๋อย องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลในอ�ำเภออมก๋อย ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจและภาคธุรกิจเอกชน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในอ�ำเภอ อมก๋อยให้เป็นทีร่ จู้ กั แพร่หลาย และกระจายรายได้แก่ประชาชนในท้องถิน่ มีการจ�ำลองบ้านสีช่ นเผ่าได้แก่ ชนเผ่าพืน้ เมือง ชนเผ่ากะเหรีย่ ง ชนเผ่าม้ง และ ชนเผ่ามูเซอ (ลาหู่) เพื่อการเรียนรู้วิถีชีวิตของแต่ละชนเผ่า ปัจจุบันได้รับการตอบรับและสนับสนุนจากประชาชนชาวอมก๋อยเป็นอย่างดี

งานประเพณีแอ่วปี๋ใหม่เมืองแห่ครัวตาน หลวง

ติดต่อส�ำนักงานเทศบาลอมก๋อย

เทศบาลต�ำบลอมก๋อย จัดให้มีงานประเพณี แอ่วปี๋ใหม่เมืองแห่ครัวตานหลวง จัดขึ้นทุกวันที่ 14 เมษายน ของทุกปี เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่กับชาว อมก๋ อ ย เป็ น การสร้ า งความสามั ค คี ร ่ ว มมื อ ร่วมใจกันของชาวบ้านในการร่วมกันจัดท�ำต้น ครั ว ตาน เพื่ อ น� ำ มาเข้ า ร่ ว มประกวดในงาน ประเพณี แ อ่ ว ปี ๋ ใ หม่ เ มื อ งแห่ ค รั ว ตานหลวง เป็นการสร้างจิตส�ำนึกให้ประชาชนคนรุ่นหลัง

ตั้งอยู่เลขที่ 789 ถนนเจริญทัศนา หมู่ที่ 1 ต�ำบลอมก๋อย อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50310 โทรศัพท์ 053-467-058 โทรสาร 053-467-013 ต่อ 18 เว็บไซต์ www.tessabanomkoi.go.th

ได้เห็นคุณค่าและคุณประโยชน์ของวัฒนธรรม ประเพณีอันน่าภาคภูมิใจที่เกิดจากภูมิปัญญา ของคนในท้องถิ่น

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

187


WOR K LI FE

อ�ำเภอฮอด ชวนเที่ ย ว...หน้ า ร้ อ นนี้ ที่ “กิ โ ลเก้ า ” วิสัยทัศน์การพัฒนา อ�ำเภออมก๋อย

“ออบหลวงเลื่ อ งลื อ ชื่ อ ชนยึ ด ถื อ ประเพณี สวนสนเขี ย วขจี ฮอดเป็ น ศรี ร วมเผ่ า ชน” ค�ำขวัญอ�ำเภอฮอด

นายอนั น ต์ ภั ท รเดชมงคล นายอ�ำเภอฮอด

ฮอดเป็นอ�ำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด และเป็นอ�ำเภอ ที่ มี พื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทิ ว เขา มี ค วามยาก ล�ำบากในการเดินทางในอดีต มีหอนาฬิกา เป็นสัญลักษณ์ของอ�ำเภอ เป็นทางผ่านของผู้ เดินทาง หรือนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไป จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในหน้าร้อนจะมีแหล่ง ท่องเที่ยวที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “กิโลเก้า” ซึ่ง ท�ำรายได้ให้กับคนในพื้นที่เป็นอย่างมาก เป็น แหล่งพักผ่อนหย่อนใจของผู้เดินทางหรือผู้ที่ เหนื่อยจากการท�ำงาน เพราะมีล�ำน�้ำแจ่มไหล คั่น เป็นสถานที่ที่ได้รับความนิยมมากในช่วง เทศกาลสงกรานต์และเป็นแหล่งน�้ำที่มีหาด ทรายสวยงามแห่งเดียวของเชียงใหม่

อ�ำเภอฮอดตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอ และจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภอแม่แจ่มและอ�ำเภอจอมทอง, ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอบ้านโฮ่งและอ�ำเภอลี้ (จังหวัดล�ำพูน), ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอดอยเต่าและอ�ำเภออมก๋อย ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอสบเมยและอ�ำเภอแม่สะเรียง (จังหวัด แม่ฮ่องสอน) โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 ต�ำบล 61 หมู่บ้าน

188

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ท่องวัดและโบราณสถาน 1.วัดพระเจ้าโท้ ตั้งอยู่ที่กม.12 ถนนสายฮอด – วั ง ลุ ง สร้ า งขึ้ น ราวพ.ศ. 1203 เมื่ อ พระนาง จามเทวีได้ยาตราทัพจากละโว้ขึ้นมาทางชลมารค แม่น�้ำปิง เมื่อมาถึงที่แห่งนี้ได้สั่งให้ไพร่พลหยุดและ สร้างวัดกับพระเจดีย์ อีกทั้งสร้างพระพุทธรูปองค์ ใหญ่ถวายเป็นพุทธบูชาอุทิศส่วนกุศลแก่ไพร่พลที่ เสียชีวิต พระพุทธรูปองค์ใหญ่ชาวบ้านเรียกว่า “พระเจ้าโท้” ส�ำหรับค�ำว่า “โท้” แผลงมาจาก ค�ำว่า “โท๊ะ” เป็นค�ำอุทานในภาษาล้านนาแปลว่า “ใหญ่โต” 2. วัดลัฎฐิวัน เป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าแสนแซ่ เล่ากันว่าในองค์พระพุทธรูปมีข้อต่อเชื่อมกันถึง แสนท่อน แต่ละท่อนมีนอต (แซ่) ท�ำด้วยทองค�ำยึด เอาไว้ เมื่อมาสักการะพระเจ้าแสนแซ่แล้ว อย่าลืม เลือกหาซื้อผ้าฝ้ายทอมือและผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายของ ชาวบ้านตาลที่อยู่รายล้อมวัดแห่งนี้ซึ่งเป็นสินค้า ท้องถิ่นที่หาได้ยาก สถานที่ตั้งวัดลัฎฐิวันอยู่ที่บ้าน ตาลเหนือหมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านตาล 17 กม.ถนนสาย ฮอด - ดอยเต่า

เที่ยวอุทยาน เดินป่า บนผาสูง 1. อุทยานแห่งชาติออบหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอฮอด (กม.ที่ 17 ทางหลวง หมายเลข 108 ถนนสายฮอด - แม่สะเรียง ) 2. สวนสนดอยบ่ อ แก้ ว สถานีทดลองปลูก พรรณไม้ บ่อแก้ว ตั้งอยู่ต�ำบลบ่อหลวง อ�ำเภอฮอด กม.ที่ 36 อยู่ติดถนนหมายเลข 108 ถนนสายฮอด - แม่สะเรียง 3. สวนป่าดอยบ่อหลวง ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลบ่อหลวง อ�ำเภอฮอด สวนป่าดอยบ่อหลวงอยู่ กม.ที่ 42 ทางหลวงหมายเลข 108 ถนนสายฮอด - แม่สะเรียง 4. ศูนย์บ�ำรุงพันธ์ไม้สน - ไม้โตเร็ว ตั้งอยู่ใน ต�ำบลบ่อหลวง อ�ำเภอฮอด อยู่ กม.ที่ 50 ทางหลวง หมายเลข 108 ถนนสาย ฮอด - แม่สะเรียง 5. อุทยานแห่งชาติแม่โถ ตั้งอยู่ในต�ำบลบ่อสลี แยกจาก กม.ที่ 55 ทางหลวงหมายเลข 108 เข้าไป ตามเส้นทางไปบ้านแม่โถ 16 กม. มีเรือนรับรอง 10 หลัง มีน�้ำตก 2 แห่ง 6. ผาวิ่งชู้ อยู่ในพื้นที่ดงด�ำ หมู่ที่ 5 ต�ำบลฮอด กม.ที่ 19 ถนนสายฮอด - ดอยเต่า

7. ผาสิงห์เหลียว อยู่ที่บ้านตาลเหนือ หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านตาล กม.ที่ 19 ถนนสาย ฮอด - ดอยเต่า 8. ผานางหลวง / ผานางน้อย อยู่ในพื้นที่ แม่ยุย หมู่ที่ 7 ต�ำบลบ้านตาล กม.24 ถนนสาย ฮอด – ดอยเต่า

ที่ว่าการอ�ำเภอฮอด ตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50240 โทรศัพท์ 053-461-111 โทรสาร 053-461-111 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

189


WOR K LI FE

เทศบาลต�ำบลบ่อหลวง “เป็ น องค์ ก รที่ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชน ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนตามแนวปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง พร้ อ มให้ บ ริ ก ารสาธารณะอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลบ่อหลวง

“พระธาตุ ด อยเหลี้ ย มสู ง สง่ า สวนสนป่ า เขี ย วขจี ชาวบ่ อ หลวงน�้ ำ ใจดี มี ศั ก ดิ์ ศ รี ทุ ก เผ่ า ชน” ค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลบ่อหลวง

นายสุ ร ชาติ ใจตุ ้ ย นายกเทศมนตรีต�ำบลบ่อหลวง

เทศบาลต�ำบลบ่อหลวง ชวนเที่ยวศาสนสถานที่ส�ำคัญ และสถานที่ท่องเที่ยว ดังนี้ วัดบ้านขุน ตั้งอยู่ที่บ้านขุน หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ่อหลวง อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดในพระพุทธ ศาสนา ตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ.2470 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 โดยมีพระครูสังวรสิทธิ โชติ เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ.2538 จนถึง

ปัจจุบัน จุดประสงค์ในการพัฒนาวัด คือ การ อบรมศีลธรรมแก่ประชาชน มุ่งเน้นการอบรม ธรรมะทั้งภาคปริยัติและภาคปฏิบัติให้แก่พระ ภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตลอดจน สาธุชนผู้สนใจศึกษาธรรมะทุกท่าน นักท่อง เที่ยวที่เดินทางมาสามารถแวะพักปฏิบัติธรรม เพื่อความสงบแห่งใจได้ตามอัธยาศัย วัดบ้านขุน

190

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


วัดพระธาตุดอยเหลี้ยม (นาฟ่อน)

วัดพระธาตุดอยเหลี้ยม (นาฟ่อน) ตั้งอยู่บ้านนาฟ่อน ต�ำบลบ่อหลวง อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดขนาดเล็ก ล้อมรอบด้วยป่า สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2523 ด้านบน วั ด ข้ า งพระธาตุ มี จุ ด ชมวิ ว ที่ เ ห็ น วิ ว ภู เขาได้ ก ว้ า ง เห็ น ป่ า ที่ อุ ด ม สมบูรณ์ เป็นหนึ่งในจุดชมวิวสวยของ อ�ำเภอฮอด ตามประวัติความเป็นมามีผู้รู้เล่าว่า ณ ที่แห่งนี้ชาวบ้านขนาน นามว่า (ดอยหมอเวียง) ประมาณปี พ.ศ. 2500 ต่อมาชาวบ้านได้ นิมนต์ท่านพระคุณเจ้าพระครูพิพัฒนคณาภิบาล (อาจารย์ทอง สิริมั งคโล) เจ้าคณะอ�ำเภอฮอด ในขณะนั้นเป็นพระธรรมทูต เดินทางมา ดูและอธิษฐานเพื่อจะสร้างเจดีย์ ท่านก็ได้อธิษฐานจิต และบอกคณะ ศรัทธาว่าสร้างได้ ต่อมาอาจารย์ทองเดินทางไปเผยแผ่และแสวงบุญ ที่ประเทศศรีลังกา และได้พบกับครูบามานพ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุ หนองจันทร์ อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ ที่เดินทางไปแสวงบุญ และได้ สนทนากันและได้ขอให้ครูบามานพ อธิษฐานจิต ครูบามานพ ตอบ ว่าสร้างได้ และได้เริ่มสร้างเมื่อพ.ศ.2523 โดยมีชาวบ้านที่ศรัทธามา ช่วยกันจนส�ำเร็จ สร้างความดีใจให้กับชาวบ้านนาฟ่อนเป็นอย่างมาก สวนสนบ่อแก้ว

อนุสาวรีย์ขุนหลวงวิลังคะ ตั้ ง อยู ่ ณ บริ เ วณส� ำ นั ก งานเทศบาล ต�ำบลบ่อหลวง บ้านบ่อหลวง หมู่ที่ 1 อนุสาวรีย์ ขุ น หลวงวิ ลั ง คะ เป็ น ที่ เ คารพ ศรั ท ธาของ ประชาชนทั่ ว ไป โดยเฉพาะประชาชน ต� ำ บลบ่ อ หลวง เนื่ อ งจากขุ น หลวงวิ ลั ง คะ เปรี ย บเสมื อ นเป็ น บรรพบุ รุ ษ ของประชาชน ในต� ำ บลบ่ อ หลวง ซึ่ ง ทุ ก ปี จ ะมี ก ารจั ด งาน สมโภชอนุสาวรีย์ขุนหลวงวิลังคะขึ้นประมาณ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ข องทุ ก ปี เพื่ อ เป็ น การ แสดงออกถึงความเคารพ เลื่อมใสศรัทธาของ ประชานต�ำบลบ่อหลวง

สวนสนบ่อแก้ว อยู่บนเส้นทางสายฮอด-แม่สะเรียง กิโลเมตรที่ 36 สวนสนเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการส�ำรวจวัตถุดิบเพื่อท�ำเยื่อ กระดาษและเป็นแปลงทดลองปลูกพืช จ�ำพวกสนสามใบ และยูคาลิปตัส ใน เนื้อที่ประมาณ 2,072 ไร่ สภาพอากาศ มีความชื้นและเย็นตลอดปี สวยงาม ด้วยทิวสนทีป่ ลูกอย่างเป็นระเบียบงามตา จึงท�ำให้เป็น ที่นิยมของนักท่อ งเที่ยว ที่ ชื่ น ช อ บ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ห น า ว เ ย็ น กลางป่าสนเป็นอย่างยิ่ง

ติดต่อ เทศบาลต�ำบลบ่อหลวง 152 หมู่ 12 ต�ำบลบ่อหลวง อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 052-081-663, 093-137-4778 โทรสาร 053-081-664 Facebook : เทศบาลต�ำบลบ่อหลวง E mail : baulaung@hotmail.com www.govesite.com/baulaung อนุสาวรีย์ขุนหลวงวิลังคะ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

191


ฮอด รีสอร์ท

Hod Resort & Jamjai Café พักผ่อนริมแม่นำ�้ แจ่ม บริการด้วยหัวใจ ราคาสบายใจ ถ่ายรูปกับหุ่นฟางคิงคองยักษ์ ใจดีแห่งเดียวใน “ฮอด”

ฮอดรีสอร์ท & แจ่มใจคาเฟ่

ต้อนรับวันใหม่ด้วยจิตใจเบิกบาน ยิ้มรับธรรมชาติ สดใส ด้วยอากาศที่สดชื่น เปิดรับโอโซนบริสุทธิ์ ที่ ฮอด รีสอร์ท เชียงใหม่

มาฮอด เมื่อไหร่ อย่าลืมแวะพักผ่อน รับประทานอาหาร และดื่มกาแฟสดหอมกรุ่นทุกวัน ทุกเวลา


ฮอด รีสอร์ท เชียงใหม่ พร้อมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น เสมือนบ้านคุณเอง เพราะเราใส่ ใจ บริการด้วยหัวใจ ราคาก็สบายใจ ประทับใจไม่รู้ลืม

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ฮอด รีสอร์ท

เลขที่ 239 ถนนฮอด-แม่สะเรียง ต�ำบลหางดง อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ 50240 โทรศัพท์ : 09-3663-9500

ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ที่

โทร : 09-3663-9500

hodresort Hod Resort & Jamjai Cafe’


2.indd 999

3/8/2561 9:24:03



Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

WWW.SBL.CO.TH

.indd 196

16/3/2563 10:08:35


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.