ค�ำอธิบายศัพท์ กโปตะ (ส.) กลศะ (ส.) กาบบน-กาบล่าง- ประจ�ำยามอก (ท.) กาบเต็ม/กาบครึ่ง (ท.) กุมภะ (ส.) กูฑุ (ทมิฬ) เก็จกรรณะ (ส.) เก็จประติภัทระ (ส.) เก็จภัทระ (ส.) ขูระ (ส.) ครรภคฤหะ (ส.) ควากษชาละ (ส.) คอศิขระ (ท.) เคล็ก (พม่า) งวงไอยรา (ท.)
หลังคาลาดที่ประดับด้วยกูฑุ มักใช้เป็นองค์ประกอบของฐานบัว บัวลูกแก้วเต็มท้องไม้ตามแบบศิลปะอินเดีย โปรดดู “ลวดบัวลูกแก้ว” คือ ลวดลายตกแต่งเสาติดผนัง โดยกาบบน มีลกั ษณะเป็นสามเหลีย่ ม ห้อยลง กาบล่างมีลกั ษณะเป็นสามเหลีย่ มตัง้ ขึน้ และประจ�ำยามอก มีลกั ษณะเป็นรูปกลีบบรรจุภายในกรอบสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั หรือสีเ่ หลีย่ ม ขนมเปียกปูนโดยประดับอยู่ที่กึ่งกลางเสา กาบเต็ม คือ กาบซึง่ ประดับ “เสาติดผนังทีด่ า้ น” กาบมีลกั ษณะเป็น สามเหลีย่ มเต็ม ส่วนกาบครึง่ คือ กาบซึง่ ประดับ “เสาติดผนังทีม่ มุ ” กาบมีลกั ษณะเป็นสามเหลีย่ มมุมฉากเนือ่ งจากอีกครึง่ หนึง่ ของกาบ นั้นประดับอยู่ที่อีกด้านหนึ่งของเสา คือ “บัวคว�ำ่ ” อันเป็นองค์ประกอบส่วนล่างของฐานบัว หน้าบันรูปวงโค้งเกือกม้าเลียนแบบเครื่องไม้ ปรากฏเสมอในศิลปะ อินเดียและศิลปะในเอเชียอาคเนย์ เก็จมุมของอาคารที่ยกเก็จ โปรดดู “ปัญจรถะ” เก็จขนาบเก็จประธานของอาคารทีย่ กเก็จ โปรดดู “ปัญจรถะ” เก็จประธานของอาคารที่ยกเก็จ โปรดดู “ปัญจรถะ” หน้ากระดานล่าง คือ ส่วนระนาบด้านล่างสุดของฐานบัว คือ ห้องขนาดเล็กซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูป เป็นส่วนส�ำคัญที่สุด ของเจติยวิหาร (กู่) ต�ำแหน่งของห้องนี้มักตรงกับยอดเจดีย์ กูฑเุ ต็มอัน-ครึง่ อันทีป่ ระดับต่อเนือ่ งกันเป็นแผง ดูคล้ายแห (ชาละ) มักใช้ประดับเก็จต่างๆ ของศิขระ โปรดดูค�ำว่า “วรัณฑิกา” คือ ส่วนตกแต่งด้านบนกรอบซุม้ จระน�ำ ซึง่ มีลกั ษณะเป็นแท่งตัง้ ตรง คล้ายฝักเพกา ภาษาไทยเรียกส่วนนีว้ า่ “ฝักเพกา” คือ ปลายกรอบซุ้มซึ่งสะบัดขึ้นดูคล้ายงวงช้าง ในศิลปะพุกามมัก แตกร่างด้วยรูปมกรชูงวง ภาษาพม่าเรียกส่วนนี้ว่า “เช”
หมายเหตุ ส. – สันสกฤต ป. – บาลี ท. – ไทย หรือภาษาสันสกฤต-บาลีที่ถูกนำ�มาใช้ ในความหมายแบบไทยแล้ว
402
| เจดีย์ในศิลปะพม่า-มอญ