เจดีย์ในศิลปะพม่า-มอญ

Page 15

บทที่ ๒

เจดีย์ทรงระฆังกลุ่มอิทธิพลปาละ ในศิลปะพุกาม เจดียท์ รงระฆังในศิลปะพุกามกลุ่มที ่ ๒ คือ เจดียท์ รงระฆังกลุ่มอิทธิพลปาละ  ซึง่ แสดงความเกีย่ วข้องกับศิลปะปาละทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียอย่างมาก   เจดียก์ ลุม่ นีค้ งมีระยะความนิยมอยูใ่ นสมัยพุกามเท่านัน้  เนือ่ งจากไม่พบเจดียก์ ลุม่ ดังกล่าว  ในศิลปะอังวะ-อมรปุระ-มัณฑเล โดยที่สมัยพุกามตอนต้นน่าจะเป็นระยะที่เจดีย์แบบ  ดังกล่าวได้รับความนิยมสูงสุด ตัวอย่างทีส่ ำ� คัญของเจดียก์ ลุม่ นี ้ เช่น เจดีย์ ใกล้หมูบ่ า้ นมยิงกาบา (รูปที ่ ๒๓)  เจดีย์ ใกล้อเพยทนะ (รูปที่  ๒๔) เจดีย์เป็ตเลก (รูปที่  ๒๖) เจดีย์เสียนเยทนยิมา (รูป  ที ่ ๒๗-๓๐) เจดียป์ ยาตสาชเวกู  (รูปที ่ ๓๑-๓๓) เจดียบ์ เู ลธิ  (รูปที ่ ๓๕-๓๖) และเจดีย์  พอดอมู  (รูปที ่ ๓๙) เป็นต้น  นอกจากนีย้ งั ปรากฏว่ายอดของเจติยวิหารในศิลปะพุกาม  ตอนต้นหลายแห่งก็ปรากฏการใช้เจดีย์กลุ่มอิทธิพลปาละเป็นยอดด้วย เช่น เจดีย์  อเพยทนะ (รูปที่  ๒๕) เจดีย์ปาโทธรรมยา (รูปที่  ๓๔) เป็นต้น

เจดีย์ ในศิลปะวกาฏกะกับการปูพื้นฐานต่อศิลปะปาละ

เจดีย์ ในศิลปะปาละมีพื้นฐานมาจากเจดีย์ศิลปะวกาฏกะ จึงจ�ำเป็นต้องกล่าว  ถึงเจดียท์ ถี่ ำ�้ อชันตาก่อน ตัวอย่างของเจดียท์ ถี่ ำ�้ อชันตาทีจ่ ะท�ำการศึกษา ได้แก่  เจดีย์  ในถ�้ำอชันตาที่  ๑๙ (รูปที่  ๑๙) และเจดีย์ ในถ�ำ้ อชันตาที่  ๒๖ (รูปที่  ๒๐) เจดีย์ ในศิลปะวกาฏกะมีลกั ษณะส�ำคัญ คือ มีแผนผังเป็นทรงกลม ฐานยืดสูง เป็นทรงกระบอกรองรับอัณฑะทรงกลมขนาดเล็ก ด้านหน้าสถูปมักปรากฏซุ้มจระน�ำ ประดิษฐานพระพุทธรูปเสมอ แสดงให้เห็นถึงการซ้อนสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า ๒ ประการ คือ สถูปกับพระพุทธรูป  อนึง่  ซุม้ จระน�ำในศิลปะวกาฏกะมีเพียง ๑ ซุม้ เสมอ  แตกต่างไปจากศิลปะปาละที่มีถึง ๔ ซุ้ม

|

ผศ.ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี 51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
เจดีย์ในศิลปะพม่า-มอญ by SARAKADEE-MUANG BORAN - Issuu