6 พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรมไทย
บทนำ�
ค�ำถามแรกส�ำหรับผู้อ่านหนังสือเล่มนีค้ ือ ศิลปกรรมไทยคืออะไร ศิลปกรรมไทย คือ ผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินและช่างไทย ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั มีรปู แบบ กลวิธ ี และลักษณะเฉพาะทีม่ เี อกลักษณ์ ชัดเจน ศิ ล ปกรรมไทยมี ห ลายประเภท โดยเฉพาะผลงานวิ จิ ต รศิ ล ป์ (Fine art) ที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ และราชส�ำนัก ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ซึ่งเรียกว่า ทัศนศิลป์ (Visual art) หรือศิลปะที่มองเห็นได้ด้วยตา ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะ แบบตะวั น ออก สร้ า งตามอุดมคติ ไม่เหมือนจริงอย่างศิลปะตะวันตก ศิลปกรรมไทยให้ความส�ำคัญกับเส้น รูปทรง สี และเนื้อหา โดยประมวล ขึ้นจากสุนทรียภาพ อารมณ์ ความรู้สึกที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมไทยและ คติความเชื่อในพุทธศาสนา ศิลปกรรมไทยในที่นี้หมายถึงงานทัศนศิลป์ ได้แก่ จิตรกรรม แบบประเพณี จิตรกรรมบนผ้า จิตรกรรมบนกระดาษ จิตรกรรมฝาผนัง โบสถ์ วิหาร และจิตรกรรมติดที่ต่างๆ ประติมากรรม ได้แก่ พระพุทธรูป ลวดลายแกะสลัก ลวดลายปูนปั้น และสถาปัตยกรรม ได้แก่ สถูป เจดีย ์ ปรางค์ โบสถ์ วิหาร และสิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมทั้งงานศิลปะประยุกต์หรือ ประยุกต์ศิลป์ (Applied art) ได้แก่ งานประณีตศิลป์และศิลปหัตถกรรม เช่น งานประดับมุก ลายรดน�้ำ เครื่องไม้จ�ำหลัก ลวดลายปูนปั้น เป็นต้น การชื่นชมและการเข้าถึงศิลปกรรมไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับ บุคคลทั่วไป ซึ่งมักคิดว่าเป็นเรื่องยาก เมื่อยากก็เลยไม่สนใจ ไม่เห็นคุณค่า ท�ำอย่างไรให้ผู้คนสนใจ ซึ่งเป็นปัญหาโลกแตกที่มีมานาน แม้ ปัจจุบันก็ไม่พัฒนามากนัก อุปสรรคส�ำคัญประการหนึง่ คือ ทัศนคติที่ปฏิเสธเป็นเบื้องต้น ไม่เข้าใจ ไม่รู้เรื่อง ซึ่งเป็นการไม่ยอมรับแต่แรก การชื่นชมงานศิลปกรรม ไม่เข้าใจ ไม่รู้เรื่องก็ได้ ประการแรกคือ การชืน่ ชมความงามหรือสุนทรียภาพของผลงาน ศิลปกรรมไม่จ�ำเป็นต้องรู้หรือเข้าใจ เมื่อชมงานจิตรกรรมฝาผนัง ความ รู้สึกแรกคืองามหรือไม่งาม ที่ว่างามนัน้ เกิดจากการประสานกลมกลืนกัน ของสี เส้นที่อ่อนช้อย เมื่อรู้สึกว่างามแล้วจะท�ำให้เกิดความสนใจ เกิด ค�ำถาม และแสวงหาค�ำตอบว่ารูปนัน้ เป็นรูปอะไร แสดงอะไร จนในที่สุด สามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ก็จะเกิดความรู้ความเข้าใจตามมา ดังนั้นการ ชื่นชมศิลปกรรมไทยจึงต้องท�ำใจให้ยอมรับเป็นเบื้องต้นเสียก่อน เสมือน การอ่านหนังสือหากไม่อยากอ่านเสียแต่หน้าแรก ก็ไม่เข้าใจ ไม่สามารถ