SANSIRI NO.475 Issue 01/2014

Page 71

NIGHBORHOOD - GREEN SPACE

การใช้ชีวิตในเมืองใหญ่เคียงคู่ไปกับ วิถีธรรมชาติ ตอบรับกับแนวคิดที่มนุษย์เริ่ม ตระหนักว่าเมื่อโลกเจริญขึ้นเท่าใด การใช้ ชีวติ ใกล้ชดิ ธรรมชาติกห็ า่ งกันมากขึน้ เท่านัน้ ท�ำให้คนเมืองเริม่ หาหนทางการอยูอ่ าศัยร่วม กับธรรมชาติรอบด้าน ทั้งในแง่วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ไปจนถึงงานออกแบบที่ช่วยเสริม ความงดงามและความมีชีวิตชีวาได้อย่าง ชาญฉลาด ความต้ อ งการเหล่ า นี้ ถู ก พั ฒ นาเป็ น แผนการจัดพื้นที่เมืองให้เกิดสุนทรียภาพ (Aesthetics Area) โดยสร้างความสมดุล ให้เกิดขึ้นระหว่างกิจกรรมการอยู่อาศัยและ ความเป็นธรรมชาติแบบเมืองนิเวศน์ (EcoCity) เข้ากับไลฟ์สไตล์การขี่จักรยานที่ก�ำลัง ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายตามเมือง ใหญ่ทั่วโลก จนกลายเป็นเทรนด์ของคนรุ่น ใหม่ที่หันมาใส่ใจธรรมชาติด้วยสองเท้าเรา เอง ยกตัวอย่างที่ประเทศสเปน มีโครงการ Madrid Rio ทีใ่ ช้พนื้ ทีเ่ ลียบ 2 ฝัง่ แม่นำ�้ Manzanares ซึ่งเคยถูกบดบังด้วยทางด่วนก่อ ให้เกิดทัศนียภาพอันย�่ำแย่มานาน มาปรับ โฉมใหม่ โดยเทศบาลเมืองมาดริดลงมือขุด อุโมงค์ใต้ดินให้เป็นทางสัญจรของรถ ส่วน สเปซของคนก็ดไี ซน์พนื้ ทีเ่ ลียบแม่นำ�้ ยาว 43 กิโลเมตรให้กลายเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ แบบครบวงจร ทั้งเป็น สวนสาธารณะ ส่วน สันทนาการของครอบครัว เพื่อให้ชาวเมือง มาดริดได้อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีควบคู่ ไปกับวิถีชีวิตที่ยั่งยืน ซึ่งไอเดียนี้สามารถน�ำ มาต่อยอดให้กับกรุงเทพมหานครที่มีพื้นที่ ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาอันสวยงามได้อย่าง ไม่ยากนักหากได้รับความร่วมมือจากทุก ภาคส่วน สิ่งที่กล่าวมาสอดคล้องกับการจัด ผังเมืองให้ตอบโจทย์โครงสร้างพื้นฐานและ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การใช้ชีวิต ที่พึงพากันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ซึ่ง Case Study ที่น่าสนใจยามนี้ คงหนีไม่พ้น สวนโมกข์กรุงเทพฯ หรือ "หอจดหมายเหตุ พุ ท ธทาส อิ น ทปั ญ โญ” ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นอาณา บริเวณสวนรถไฟ ที่หลอมรวมเอาศาสนา และธรรมชาติเข้าไว้ด้วยกันอย่างกลมกลืน โดยตัวอาคารสถาปัตยกรรมถูกออกแบบ ให้ มี ลั ก ษณะเรี ย บง่ า ย ไม่ แ ปลกแยกไป กั บ ธรรมชาติ ที่ เ ป็ น บึ ง น�้ ำ ใหญ่ แ ละสภาพ 71 SANSIRI NO.475

แวดล้อมทีเ่ ป็นพืน้ ทีส่ เี ขียว ก่อเกิดความสงบ สวยงาม ควบคู่ไปกับการใช้ประโยชน์จาก พืน้ ทีส่ เี ขียวทีม่ อี ยู่ ให้ผคู้ นในชุมชนได้เข้าไป ท�ำกิจกรรมหรือใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง ในเมืองใหญ่ทั่วโลกอาจมีพื้นที่สีเขียว ที่คงความเป็นธรรมชาติไม่มากนัก ด้วยข้อ จ�ำกัดทางภูมิทัศน์และสภาพที่ตั้ง ซึ่งกลุ่ม พื้นที่สีเขียวแบบมวลหนา (Mass of green space) มีประโยชน์ทางด้านควบคุมอุณหภูมิ มลภาวะและรักษาความสมดุลให้แก่อาณา บริเวณ ตลอดจนเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ ขนาดเล็ก ขณะที่เมืองใหญ่อย่างมหานคร ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และกรุงนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ก�ำลังโหมกระแสการ สร้างพืน้ ทีส่ เี ขียวแบบมวลหนาไว้ในเมืองให้ มากกว่าเดิม แต่ชาวกรุงเทพมหานครกลับ โชคดีอย่างมหาศาลที่มีพื้นที่ลักษณะนี้อยู่ เพียงแค่แม่น�้ำเจ้าพระยาคั่น ใกล้ชิดเพียง แค่ข้ามเรือถึง โดย “บางกระเจ้า” ที่นิตยสาร ไทม์ (Time ) ฉบับ The Best of Asia 2006 ยกย่องให้เป็น “The Best Urban Oasis of Asia” เป็นโมเดลต้นแบบทั้งเรื่องการรักษา พื้นที่สีเขียวประมาณ 1,200 ไร่ โดยผู้คน ในชุมชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ พันธุ์พืชที่มีลักษณะเฉพาะถิ่น หาดูได้ยาก ในเมืองใหญ่ปจั จุบนั เช่น ต้นล�ำพู ต้นจิก ต้น ช�ำมะเลียง โกงกาง ตอบรับกับกายภาพเมือง ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ให้มีเสน่ห์ แบบไทย ๆ ซึ่งปัจจุบันบางกระเจ้านอกจาก จะเป็นเสมือนปอดฟอกอากาศให้กรุงเทพ และพื้นที่ใกล้เคียงแล้ว ยังกลายเป็นสถาน ที่ยอดนิยมของบรรดานักปั่นจักรยานชาว บางกอกเกอร์รวมถึงชาวต่างชาติที่หลงใหล ในบรรยากาศธรรมชาติแบบกรีนคอนเซ็ปท์ แวะเวี ย นเข้ า มาเยี่ ย มชมปอดกลางเมื อ ง กรุงเทพกันอย่างไม่ขาดสาย สิง่ เหล่านีต้ อกย�้ำได้เป็นอย่างดีวา่ พืน้ ที่ สีเขียวเป็นประโยชน์ต่อการอยู่อาศัยของ คนในชุมชนเมือง จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่เราทุก คนต้องเป็นฟันเฟืองในการดูแลรักษาและ สร้างพื้นที่สีเขียวให้เพิ่มมากขึ้นมิใช้ลดน้อย ถอยลง โดยอาจเริม่ ต้นจากสิง่ เล็ก ๆ ด้วยการ ปลูกต้นไม้คนละต้น หรือเป็นหูเป็นตาปกปัก รักษาพืน้ ทีส่ เี ขียวให้แก่กรุงเทพเมืองฟ้าอมร ก็ไม่ผิดหลักกรีนคอนเซ็ปส์แต่ประการใด


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.