วารสารปฏิรูป "ปฏิรูประบบประกันสุขภาพ"

Page 13

13

หนทางปฏิรูประบบประกันสุขภาพ ใคร​ได้​ประโยชน์?

การ​ค ง​ไ ว้ ​ทั้ ง 2 ระบบ​เ ช่ น ​นี้ ผู้ ​ป ระกั น ​ตน​ก็ ​ไ ม่ ​ไ ด้ ​ ประโยชน์ เพราะ​ยัง​ต้อง​จ่าย​เงิน​อยู่​กลุ่ม​เดียว เงิน​จ่าย​สมทบ​ ทุกเ​ดือน​กไ​็ ม่ไ​ด้ใ​ช้ เพราะ​ไม่ค​ อ่ ย​เจ็บป​ ว่ ย เมือ่ ต​ อ้ งการ​ใช้ต​ อน​ สูงอ​ ายุก​ ถ​็ กู ย​ า้ ย​ไป​อยูร​่ ะบบ​อนื่ คน​สว่ น​ใหญ่ใ​น​ระบบ​บตั ร​ทอง​​ ก็ ​ไ ม่ ​ไ ด้ ​ป ระโยชน์ เพราะ​ไ ม่ มี ​ก ลุ่ ม ​ค น​ที่ ​แ ข็ ง ​แ รง​ม า​เ ฉลี่ ย​ ความ​เสี่ยง​ด้วย ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​รัฐ​ต้อง​จ่าย​เฉลี่ย​ต่อ​คน​ก็​สูง​ขึ้น ทาง​เลือก​ของ​โรง​พยาบาล​ก็​จำกัด เพราะ​ไม่มี​โรง​พยาบาล​ ไหน​อยาก​ดูแล​เด็ก หรือ​ผู้​สูง​อายุ​ที่​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​สูง ค่า​บริหาร​ จัดการ​รัฐบาล​ก็​ต้อง​จ่าย​ทั้ง​สอง​หน่วย​งาน ขาด​ประสิทธิภาพ​ ทั้ง​ระบบ ไม่​ว่า​เรื่อง​นี้​ประโยชน์​จะ​ตก​อยู่​กับ​ใคร คง​ไม่ใช่​เรา ประชาชน​ส่วน​ใหญ่​แน่ๆ

สรุป​แล้วร​ ูป​แบบ​ใด​ดี​ที่สุด?

ไม่มค​ี ำ​ตอบ​สำเร็จรูปว​ นั น​ ว​ี้ า่ ร​ ะบบ​ใด​หรือร​ ปู แ​ บบ​ใด​จะ​ดท​ี สี่ ดุ ขึน้ อ​ ยูก​่ บั บ​ ริบท​ของ​ สังคม ความ​เข้าใจ​ของ​ผู้คน​การเมือง ซึ่ง​อาจ​จะ​ต้อง​พึ่งพา​ทั้ง 2 ระบบ​ไป​ก่อน ใน​แวดวง​นกั ว​ ชิ าการ​เชือ่ ว​ า่ การ​มร​ี ะบบ​เดียว​แบบ​ภาค​บงั คับจ​ ะ​เป็นการ​เหมาะ​สม​ ที่สุด​ไม่​ว่า​กับ​ชา​ติ​ไหนๆ เพราะ​ใน​หลายๆ ประเทศ เช่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน ยุโรป ละติน​ อเมริกา ต่าง​ก็​เคย​มี​หลาย​ระบบ แต่​สุดท้าย​ก็​จบ​ที่​รวม​เป็น​หนึ่ง​เดียว เพราะ​สามารถ​รวม​ และ​เฉลีย่ ค​ วาม​เสีย่ ง​ได้ด​ ท​ี สี่ ดุ มีป​ ระสิทธิภาพ​ทสี่ ดุ ทุกค​ น​ได้ร​ บั ก​ าร​ดแู ล​ภาย​ใต้ม​ าตรฐาน​ เดียวกัน ใช้​งบ​บริหาร​จัดการ​เพียง​หน่วย​งาน​เดียว ไม่​ซ้ำ​ซ้อน อีกท​ งั้ ย​ งั ม​ อ​ี ำนาจ​ตอ่ ร​ อง​กบั โ​รง​พยาบาล​ได้ส​ งู โรง​พยาบาล​ทเ​ี่ คย​ดแู ล​ผป​ู้ ระกันต​ น​ ​ที่​แข็ง​แรง​กลุ่ม​เดียว​ก็​ต้อง​เข้า​มา​ดูแล​คน​กลุ่ม​อื่นๆ ด้วย และ​หาก​รวม​ทั้ง 2 ระบบ​ได้​ จริง การ​เฉลี่ย​กลุ่ม​ไม่​ป่วย​คือ​ผู้​ประกัน​ตน​เข้า​กับ​ระบบ​หลัก​ประกัน​สุขภาพ​ถ้วน​หน้า​นั้น​ ใน​เบื้อง​ต้น​รัฐ​สามารถ​ประหยัด​งบ​ประมาณ​ทันที​กว่า​หมื่น​ล้าน​บาท

ความทุกข์ของผู้ประกันตน โรง​พยาบาล​ไม่​ยอม​ส่ง​ต่อ จน​แพ้​ยา​รุนแรง

อังศ​ น​ า (นาม​สมมุต)ิ อายุ 28 ปี สาว​โรงงาน​ผลิตก​ ล้อง​ถา่ ย​รปู มีอ​ าการ​ ผื่น​คัน​ขึ้น​ทั่ว​ตัว เหมือน​เป็น​ลมพิษ ได้​เข้า​รักษา​ที่​โรง​พยาบาล​ตาม​สิทธิ​ประกัน​ สังคม​ตลอด แต่​ไม่​หาย จน​มี​อาการ​รุนแรง​ขึ้น​เรื่อยๆ กระทั่ง​ตั้ง​ครรภ์ แพทย์​ วินิจฉัย​ว่า​อาจ​เป็น​เพราะ​ครรภ์​เป็น​พิษ เมื่อ​คลอด​แล้ว​จะ​หาย​เอง แพทย์​จึง​ให้​กลุ่ม​ยา​แก้​แพ้ แก้​ผื่น​คัน และ​ยา​กด​ภูมิคุ้มกัน แต่​อาการ​​ ก็​ยัง​หนัก​ขึ้น​เรื่อยๆ หลังค​ลอด​ลูก​อาการ​ก็​ไม่​หาย เธอ​ต้องการ​ไป​รักษา​ที่​ โรง​พยาบาล​อื่น แต่​ทาง​โรง​พยาบาล​ไม่​ยอม​ออก​ใบ​ส่งตัว​ให้ พร้อม​เหตุผล​ว่า​ ยัง​รักษา​ได้ หลังจ​ าก​นนั้ ทีมแ​ พทย์เ​ริม่ พ​ งุ่ เ​ป้าไ​ป​ทโ​ี่ ร​คธา​ลสั ซ​ เ​ี มีย แต่ไ​ม่พ​ บ จึงว​ นิ จิ ฉัย​ ต่อไ​ป​วา่ อาจ​เป็นร​ ม​ู า​ตอยด์ แต่ก​ ต​็ รวจ​ไม่พ​ บ​เช่นก​ นั ระหว่าง​นนั้ ก​ ใ​็ ห้ย​ าก​ลมุ่ เ​ดิม​ ตลอด ใน​ทสี่ ดุ ผ​ ป​ู้ ว่ ย​กเ​็ กิดอ​ าการ​ชอ็ ก ไข้ข​ นึ้ ส​ งู ตัวบ​ วม มีอ​ าการ​ปวด​รนุ แรง แม้​ ฉีดยา​มอร์ฟีน​ก็​ไม่​สามารถ​ระงับ​ปวด​ได้ หลังจ​ าก​รกั ษา​อยูใ​่ น​โรง​พยาบาล​เดิม 3 วัน จน​ญาติท​ น​ไม่ไ​หว โต้เ​ถียง​กบั ​ โรง​พยาบาล​ให้​ส่ง​ต่อ​ไป​รักษา​ที่​โรง​พยาบาล​ศิริราช จน​โรง​พยาบาล​ยอม​ส่ง​ต่อ ใน​สภาพ​ทผ​ี่ ป​ู้ ว่ ย​หมด​สติ ผิวหนังบ​ าง​สว่ น​เน่าเ​ฟะ เธอ​ไป​ถงึ โ​รง​พยาบาล​ ศิริราช นอน​สลบ​ไป 3 วัน​เต็ม แพทย์​วินิจฉัย​ว่า​เป็น​ภาวะ​จาก​การ​ติด​เชื้อ​ ใน​กระแส​เลือด​เนื่องจาก​การ​แพ้​ยา เพราะ​ทาง​โรง​พยาบาล​เดิม​ให้​ยา​กด​ภูมิ​ ต้านทาน​ต่อ​เนื่อง​มา​นาน​เป็น​ปี ซึ่ง​กด​ภูมิ​ไม่​ให้​เป็น​ผื่น​คัน อาการ​แพ้​ยา​ที่​เป็น​ อยู่​นี้ ที่​โรง​พยาบาล​ศิริราช​พบ​เป็น​ครั้ง​แรก แต่​ถือ​เป็น ​ผู้​ป่วย​ราย​ที่ 4 ของ​ ประเทศไทย ซึ่ง​กรณี​แบบ​นี้​จะ​ไม่​เกิด​ถ้า​โรง​พยาบาล​ส่งตัว​ไป​รักษา​ต่อ เพราะ​เกิน​ ศักยภาพ​ของ​โรง​พยาบาล แต่​กรณี​นี้​โรง​พยาบาล​พยายาม​ยื้อ​ไว้ จน​อาการ​ รุนแรง​มาก​ขึ้น​เรื่อยๆ “วัน​นี้​อาการ​ผื่น​คัน​ที่​ทน​มา​ปีก​ว่า​ไม่มี​อีก​แล้ว หาย​สนิท เหลือ​แต่​เพียง​ ปัญหา​ทข​ี่ า​ซงึ่ เ​ป็นผ​ ล​มา​จาก​เซลล์เ​นือ้ ทีต​่ าย​แล้ว ทำให้ผ​ วิ หนังห​ นา​และ​ขา​ผดิ ร​ ปู ​ ไป​จาก​เดิม มี​อาการ​ชา​ที่​ขา ผล​จาก​การ​นอ​นอ​ยู​่โรง​พยาบาล​กว่า 1 เดือน และ​ กลับ​มา​พัก​ฟื้น​ที่​บ้าน 9 เดือน ทำให้​ขาด​เงิน เป็น​หนี้​สิน ท้าย​ที่สุด​สามี​ทิ้ง​ไป โชค​ดี​ที่​โรงงาน​รับ​กลับ​เข้า​ทำงาน แต่​ต้อง​เลี้ยง​ลูก​และ​ผ่อน​หนี้​สิน​ตาม​ลำพัง” ปัจจุบนั อังศ​ น​ า ยังม​ อ​ี าการ​ปว่ ย​ดว้ ย​โรค​ภาวะ​หวั ใจ​ขาด​เลือด ทีแ​ รก เธอ​ ไม่ม​ นั่ ใจ​ทจ​ี่ ะ​รบั ก​ าร​รกั ษา​ทโ​ี่ รง​พยาบาล​เดิม แต่ห​ มอ​แนะนำ​วา่ โ​รค​นต​ี้ อ้ ง​รกั ษา​ ต่อเ​นือ่ ง จึงต​ อ้ ง​กลับไ​ป​ใช้ส​ ทิ ธิป​ ระกันส​ งั คม ซึง่ ต​ อ้ ง​เจอ​กบั ค​ ำ​พดู ป​ ระชด​ประชัน​ จาก​โรง​พยาบาล​ที่​บอก​ว่า ต้อง​เสีย​เงิน​จ่าย​ค่า​รักษา​ขอ​งอังศ​นา​ให้​โรง​พยาบาล​ ศิริราช​ถึง 4 แสน​บาท “หาก​โรง​พยาบาล​สง่ ต​ อ่ ต​ งั้ แต่แ​ รก ชีวติ ก​ ค​็ ง​ไม่เ​ป็นแ​ บบ​นี้ สามีก​ ค​็ ง​ไม่ท​ งิ้ ​ ​เรา​ไป และ​เรา​ก็​คงจะ​มี​ชีวิต​ที่​ดี​กว่า​นี้ เวลา​ส่ง​โรง​พยาบาล​จะ​คิด​แต่​เรื่อง​เงิน​ ไม่​คำนึง​ถึง​ชีวิต​ผู้​ป่วย”

คุ้ม​ตัว ไม่​คุ้ม​ปาก

สุ ร ศั ก ดิ์ (นาม​ส มมุ ติ ) อายุ 51 ปี เข้า​รับ​การ​รักษา​ที่​คลินิก​ทันตแพทย์ ด้วย​โรค​กระดูก​หุ้ม​ฟัน​ซี่​ที่ 36 ละลาย เนื่องจาก​โรค​เหงือก​อักเสบ แพทย์​ให้การ​ รักษา​โดย​ปลูก​กระดูก​ด้วย​วัสดุ​กระดูก​ เทียม​สังเคราะห์ เสีย​ค่า​รักษา​พยาบาล​ เป็นเ​งิน 5,650 บาท เขา​สงสัยว​ า่ ใ​น​ฐานะ​ ทีจ​่ า่ ย​สมทบ​ทกุ เ​ดือน ทำไม​สทิ ธิป​ ระโยชน์​ ทั น ต​ก รรม​จึ ง​มี ​เพี ย ง ถอน​ฟั น อุ ด ​ฟัน​ ขูด​หินปูน ไม่​เกิน 2 ครั้ง​ต่อ​ปี และ​ครั้ง​ละ​​ ไม่ ​เ กิ น 300 บาท​เ ท่ า นั้ น ใน​ข ณะ​ที่ ​ บัตร​ทอง​กลับ​ให้​ความ​ครอบคลุม​ทุก​โรค​ ทันต​กรรม เขา​จึง​ทำ​เรื่อง​ถึง​สำนักงาน​ประกัน​ สังคม​ว่า โรค​ปริ​ทนต์​หรือ​โรค​เหงือก อยู่​ ใน​สิทธิ​ประกัน​สังคม​หรือ​ไม่ ซึ่ง​ได้​รับ​การ​ ยืนยัน​กลับ​มา​ว่า โรค​ดัง​กล่าว​ไม่​อยู่​ใน​ ความ​ครอบคลุม​ตาม​สิทธิ “ตอน​นั้น​จ่าย​เงิน​เอง​รวม​ทั้งหมด​ ประมาณ​กว่า 1 หมื่น​บาท ที่​จริง​การ​เบิก​ ค่าร​ กั ษา​พยาบาล ถ้าถ​ าม​ความ​รสู้ กึ แ​ ล้วก​ ​็ ผิด​หวัง​กับ​ประกัน​สังคม สงสัย​ว่า​แบบ​นี้​ หรือ​ที่​เขา​เรียก​ประกัน​สังคม ผม​ไม่​เห็น​ ว่ า ​จ ะ​เ ป็ น ​ห ลั ก ​ป ระกั น ​สั ง คม​ต รง​ไ หน​ เพราะ​พอ​เจอ​โรค​ที่​ต้อง​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​เยอะ​ หน่อย ประกัน​สังคม​ก็​บอก​ไม่​คุ้มครอง​ ผูป​้ ระกันต​ น​ตอ้ ง​จา่ ย​เอง อย่าง​นผ​ี้ ม​จะ​จา่ ย​ สมทบ​ไป​ทำไม ถ้าไ​ม่ใ​ห้ห​ ลักป​ ระกันโ​รค​ท​ี่ จำเป็น​แบบ​นี้ เพราะ​คิด​ว่า การ​รักษา​โรค​ นี้​ควร​ที่​จะ​เบิก​ได้ น่า​จะ​มี​การ​ปรับปรุง​ พั ฒ นา​ร ะบบ​บ้ า ง อย่ า ง​ค น​ที่ ​ใ ช้ ​สิ ท ธิ ​ บัตร​ทอง​ยัง​สามารถ​รักษา​ได้​ฟรี อย่าง​นี้​ ถือว่า​ไม่​เท่า​เทียม​กัน”

เสีย​ชีวิต เพราะ​โรง​พยาบาล​ลด​ต้นทุน

สุ​กานดา (นาม​สมมุติ) อายุ 43 ปี มี​ อาการ​ปวด​ทอ้ ง และ​ไป​พบ​แพทย์ โดย​ไม่ท​ ราบ​วา่ ​ ตนเอง​ตงั้ ค​ รรภ์เ​นือ่ งจาก​ได้ม​ ก​ี าร​ทำหมันห​ ลังจ​ าก​ ที่​คลอด​ลูก​เมื่อ 2 ปี​ก่อน หลัง​จาก​การ​เอกซเรย์ แพทย์ร​ ะบุว​ า่ ก​ อ้ น​เลือด​ทเ​ี่ ห็นใ​น​ฟลิ ม์ เ​ป็นเ​นือ้ ง​ อก จึง​นัด​ทำการ​ผ่าตัด​ใน​วัน​รุ่ง​ขึ้น​โดย​ไม่มี​การ​ตรวจ​ วินิจฉัย​ด้าน​อื่น​อีก โชค​ไม่​ดี เมื่อ​ผ่าตัด​แล้ว​พบ​ว่า​ก้อน​เลือด​ ที่​เห็น​คือ​ตัว​อ่อนข​อง​ทารก​ใน​ครรภ์ ซึ่ง​แพทย์​ได้​ ทำการ​เย็บ​มดลูก​กลับ​เข้าไป​ใหม่ ก่อน​ที่​เธอ​จะ​มี​ อาการ​ตก​เลือด​รุนแรง​ใน​อีก 2 เดือน​ต่อ​มา และ​ เสีย​ชีวิต​ระหว่าง​การ​รักษา​ใน​โรง​พยาบาล​ตาม​ สิทธิ​ประกัน​สังคม​ใน​ที่สุด เหตุการณ์น​ จ​ี้ ะ​ไม่เ​กิดข​ นึ้ หาก​โรง​พยาบาล​ ไม่​พยายาม​ลด​ขั้น​ตอน​ใน​การ​ตรวจ​เพื่อ​ควบคุม​ ต้ น ทุ น ​ก าร​รั ก ษา​ใ ห้ ​เ พี ย ง​พ อ​กั บ ​ง บ​เ หมา​จ่ า ย​​ ราย​หัว​ที่​ได้​รับ ทำให้​ผู้​ประกัน​ตน​เข้า​ไม่​ถึง​การ​ รักษา​ที่​จำเป็น ธีระ​ ช​ ยั (นาม​สมมุต)ิ สามีข​ อง​สก​ุ านดา เล่า​ ความ​ทุกข์​ที่​เกิด​ขึ้น​กับ​ตัว​เขา​และ​ครอบครัว​ว่า “ไม่เ​คย​คดิ ม​ า​กอ่ น​วา่ ช​ วี ติ เ​รา​ตอ้ ง​มา​เจอ​กบั ​ เรื่อง​แบบ​นี้ ก่อน​หน้า​นี้​ผม​มี​ชีวิต​ที่​ดี มี​ภรรยา​ที่​ดี มี​ลูก​ที่​น่า​รัก กำลัง​สร้าง​ครอบครัว แต่​จาก​นี้​ไป​ ชีวิต​ผม​ไม่​เหมือน​เดิม​แล้ว มัน​กะทันหัน​มาก ลูก​ ผม​ต้อง​เสีย​แม่​ตั้งแต่​เขา​ยัง​เล็กๆ ลูก​คน​เล็ก​อายุ​ ได้ 2 ขวบ​เท่านั้น ผม​แบก​รับ​ความ​รู้สึก​แบบ​นี้​ ไม่​ไหว ก่อน​หน้า​น​เ้ี รา​ไม่ม​ปี ญ ั หา​อะไร ภรรยา​ผม​ แค่ป​ วด​ทอ้ ง ทำไม​ไม่ต​ รวจ​ให้ล​ ะเอียด​เพิม่ อ​ กี ส​ กั น​ ดิ ​ ​ว่า​อาจ​มี​ความ​เสี่ยง​เรื่อง​อื่น เหตุการณ์​แบบ​นี้​จะ​ ไม่​เกิด​ขึ้น ผม​รู้สึก​ว่า​ไม่​ยุติธรรม ผม​ต้องการ​ให้​ สังคม​ได้​รู้​ว่า​มัน​มี​เหตุการณ์​แบบ​นี้​อยู่ แต่​ผม​ก็​ เหนือ่ ย ไม่รจ​ู้ ะ​ทำ​อย่างไร​ตอ่ อยาก​เรียก​รอ้ ง​ความ​ เป็น​ธรรม​ให้​กับ​ภรรยา​และ​ลูก​ผม​ที่​เสีย​ชีวิต​ไป​ แต่ผ​ ม​กร​็ ว​ู้ า่ เ​รือ่ ง​อย่าง​นไ​ี้ ม่ง​ า่ ย​เลย โดย​เฉพาะ​การ​ คุย​กับ​แพทย์”


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.