วารสารปฏิรูป "80ปีประชาธิปไตย"

Page 1

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ภาพ-คนไทย

เครือข่ายศิลปิน เดินหน้า

ไม่ทิ้งกัน

“เล่าเรื่องโกง” หน้า

2

พลังขับเคลื่อน

80ปี

ประชาธิปไตย

เพื่อเปลี่ยนสังคม

ก้าวข้าม‘หลุมดำ�’ ประชาชน จัดการตนเอง เกาะติด 6 มติ

สมัชชาปฎิรูป ระดับชาติ

7 เด่น ในฉบับ

ชู ‘ลาดกระบังโมเดล’ ต้นแบบรับมือ ภัยพิบัติ

รุมคัดค้าน สร้างเขื่อนแม่วงก์ สัญญาณต้าน ‘ยืดเยื้อเรื้อรัง’

8

เป็นสมบัติ ของชาติ หน้า 16


2

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

รายงานพิเศษ

• พฤทธิ์ ขวัญเจริญ •

“เนาวรัตน์” บอก การโกงมี 3 รูปแบบ พร้อมระบุสังคมไทย “รับได้” หวั่นเกิดเป็น จริยธรรมใหม่ ชี้ต้องปลูก และปลุกจิตสำ�นึก อย่างเร่งด่วน หวังใช้ หนังสั้น เรื่องสั้น ละครเร่ ช่วย ก่อนจะฝังรากลึก จนเกินเยียวยา เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 ที่ ผ่านมา เครือข่ายศิลปินเพื่อการปฎิรูป สำ�นั ก งานกองทุ น สร้ างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ สมาคมนักเขียนแห่ง ประเทศไทย กองทุนศรีบูรพา สมาคม ผู้กำ�กับภาพยนตร์ไทย หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และเครื อ ข่ า ยสั ง คมคุ ณ ธรรม ศู น ย์ คุณธรรม ได้จัดฉายหนังสั้นสร้างสรรค์ สังคม “เล่าเรื่องโกง” กว่า 20 เรื่อง และแสดงละครเร่ ทั้ ง ยั ง จั บ มื อ มหาวิทยาลัยหอการค้า ไทย และ TIGA จัดกิจกรรม “ชวนน้องดูหนัง...หลัง สอบเอ็นท์” เพื่อสะท้อนปัญหา หวัง สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

เครือข่ายศิลปินเดินหน้า

ลํ้าในสังคม นายเนาวรั ต น์ พงษ์ ไ พบู ล ย์ ประธานคณะกรรมการเครือข่ายศิลปิน เพื่อการปฎิรูป กล่าวว่า จากสถิติที่พบ ว่า คนไทยกว่าร้อยละ 64.5 มองว่าการ ทีท่ กุ รัฐบาลมีการทุจริตคอรัปชัน่ แต่ถา้ มีแล้วทำ�ให้ประเทศชาติรงุ่ เรือง ประชา ชน อยูด่ กี นิ ดี ตนเองได้รบั ผลประโยชน์ ด้วยก็ยอมรับได้นั้น กรณีนี้ทำ�ให้เรื่อง “โกง” เป็นเรื่องที่มีความจำ�เป็นอย่าง เร่งด่วนที่ต้องพูด ต้องคุย และกล่าวถึง ให้มากขึ้น ก่อนที่เรื่องนี้จะกลายเป็น จริยธรรมใหม่ขึ้นมา ซึ่งเมื่อมองถึงรูป แบบของการโกงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย นั้นมีอยู่อย่างหลากหลายสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) ดื้อตาใส หมายถึง การโกง แบบหน้าด้านๆไร้ยางอายโกงกันซึ่งๆ หน้าไม่สนใจกฎหมายและคุณธรรม 2) ใช้ตัวช่วย หมายถึงพวกที่ โกงแบบซ่อนเร้น กลัวถูกจับ ได้ จึ ง ต้ อ งพยายามหา เล่ห์เหลี่ยมทุกรูปแบบ มาใช้เป็นเครื่องมือ 3) มวยล้มต้มคน ดู หมายถึง การ โกงแบบฮัว้ กัน เรียกว่าทัง้ คน โกงและคน ย อ ม ใ ห้ ถู ก โกง ต่ า งรู้

พลังขับเคลื่อน

ด้ า นนายดนั ย หวั ง บุ ญ ชั ย กรรมการและหน่วยเลขานุการ เครือ ข่ายศิลปินเพื่อการปฎิรูป กล่าวว่า ครั้งนี้ถือเป็นจังหวะ ก้าวของการนำ�หนังสั้นทั้งหมดมาเผย แพร่เพือ่ กระตุน้ สังคมให้ “ไม่โกง” และ เพื่อเพิม่ พลังในการรณรงค์อีกหนึ่งช่อง ทาง จึงได้จับมือกับคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย และ บริษัท TIGA จำ�กัด จัดกิจกรรมชวน น้องดูหนัง...หลังสอบเอ็นท์’55 ฉาย ภาพยนตร์การ์ตูนยอดนักสืบจิ๋ว “โค นัน ตอน 15 นาทีเฉียดวิกฤตมรณะ” ร่วมด้วย จากนั้นจะนำ�ผลงานเรื่องสั้น 20 เรื่อง จาก 20 นักเขียน หนังสั้น 20 เรือ่ ง จาก 21 ผูก้ �ำ กับ และละครเร่ เรือ่ ง

เห็นเป็นใจ พร้อม ใจกันเล่นละครตบตา เพื่อโกงคนอื่นๆอีกต่อหนึ่ง ดังนั้น เพื่อสะท้อนการโกงที่มี อยู่ อ ย่ า งหลากหลาย การเพิ่ ม พลั ง พลเมือง สร้างการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนในสังคม ให้ตระหนักถึงภัยร้าย ของการทุจริตคอรัปชั่นให้เกิดขึ้นเพื่อ นำ�ไปสูก่ ารสร้างความเป็นธรรมและลด ความเหลือ่ มลํา้ ในสังคม ในระยะยาวได้ จึงเป็นที่มาทำ�ให้เกิดโครงการ “เล่า เรือ่ งโกง” เท่าทันการโกง (corruption literacy) ผ่ า นศิ ล ปิ น “เรื่ อ งสั้ น ” “หนังสัน้ ” และ “ละครเร่” ทีต่ อ้ งการ ปลุกกระแสสังคมให้ช่วยกันแก้ปัญหา การโกงหรือการคอรัปชั่นในสังคมไทย ที่ลุกลาม เรื้อรัง ฝังรากลึกจนเกินกว่า จะเยียวยาได้ ให้ลดลง

เคลือ่ นสำ�คัญ และภาคประชาสังคม ทีม่ ปี ระชา ชนและชุมชน ในแต่ละสมัยความสัมพันธ์ของ • พลานุภาพ • ทั้ง 3 ส่วนก็แตกต่างกันไป ก่อให้เกิดนโยบาย ในรูปแบบต่างๆ ที่เป็นส่วนผสมระหว่างผล ประโยชน์ของแต่ละกลุ่ม แต่ในปัจจุบันการกระจายอำ�นาจของ รัฐ ไม่ได้กระจายสู่ประชาสังคม เพราะเอกชน หรื อ ตลาดก้ า วหน้ า ไปมาก ซึ่ ง ทำ � ให้ ร ะบบ ศาสตราจารย์ดร.ชัยอนันต์ สมุท การเมืองของวันนีแ้ ตกต่างจากสมัยก่อน เพราะ วณิ ช อดี ต คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศ ในอดีตการหาเสียง นโยบาย และการดำ�เนิน ปาฐกถาพิเศษหัวข้อ “รัฐชาติสู่รัฐการตลาด การ ยังมีขอ้ พิจารณาเกีย่ วกับสาธารณประโยชน์ อำ�นาจรวมศูนย์” ในงานเสวนาทางวิชาการ อยู่ แต่การเมืองปัจจุบันกลับไม่เสรี และละเลย หัวข้อ “จากรัฐรวมศูนย์อ�ำ นาจ สูก่ ารกระจาย ประโยชน์ส่วนรวม เพราะมีกลุ่มทุนหรือตลาด อำ�นาจให้แก่ทอ้ งถิน่ และชุมชน” จัดโดยกลุม่ ครอบงำ�อยู่ ทำ�ให้ตลาดการเมืองแบบใหม่ ไม่ สยามประชาภิ วั ฒ น์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรม ต่างจากตลาดของการซื้อขาย การเลือกตั้งก็ ศาสตร์เมื่อ 22 พฤษภาคม 2555 มีสาระน่า เป็นการซื้อขาย สนใจจึงขอนำ�เสนอดังนี้ ถ้าว่าไปแล้ววันนี้เราไม่จำ�เป็นต้องมีการ ปัจจุบนั รัฐได้เปลีย่ นแปลงบทบาทไป เลือกตั้ง เพราะในความเป็นจริงการเลือกตั้งก็ อย่างมาก ขณะทีต่ ลาดกลายเป็นสิง่ ทีม่ อี ำ�นาจ คือการประมูล ใครมีเงินมากก็ได้ตำ�แหน่งหรือ มากกว่ารัฐ โดยเฉพาะการเปิดตลาดเสรีประ พื้นที่ตรงนั้นไป การซื้อขายตำ�แหน่งก็มีมาก ชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รัฐต้องดำ�เนินการทุก เพราะฉะนั้ น เมื่ อ อิ ท ธิ พ ลของตลาดที่ เข้ า สู่ วิถีทางที่จะรักษาตลาดเอาไว้ให้ได้ เพื่อสร้าง การเมืองก็ทำ�ให้ประชาชนมีความเคยชินกับ กฎ กติกา ระเบียบ และหลักการใหม่ๆ ในการ การเมืองทีก่ ลายเป็นลักษณะผูซ้ อื้ ผูข้ ายในทีส่ ดุ ดำ�เนินเศรษฐกิจ รัฐได้แปรสภาพจากรัฐชาติ เหมือนคำ�ที่ว่า “เงินไม่มากาไม่เป็น” จึงไม่ เป็นรัฐตลาด คือ รัฐที่ตลาดกลายเป็นกลไกที่ แปลกว่า การซื้อเสียงในท้องถิ่นจึงมีมาก สำ�คัญที่สุดในชีวิตประจำ�วันของคนไปแล้ว ส่วนงบประมาณของชาติก็ไม่ใช่ของ ในทางรัฐศาสตร์หรือในทางสังคมเรา สาธารณะอี ก ต่ อ ไป แต่ เ ป็ น การแย่ ง ชิ ง ของ แบ่งความสัมพันธ์เป็น 3 เส้า ได้แก่ รัฐ เอกชน นักการเมือง ที่แข่งขันกันเข้าไปควบคุมอำ�นาจ และประชาสังคม รัฐในที่นี้หมายถึงระบบ กลไกรัฐ เพื่อนำ�งบประมาณมาใช้ประโยชน์ ราชการและรัฐบาลอยู่บนสุด ถัดลงมาก็เป็น มากกว่า การคอร์รปั ชันจึงเกิดขึน้ อย่างมาก โดย • อ่านต่อหน้า 13 ภาคเอกชนซึง่ มีตวั แทนของตลาดเป็นกลไกขับ

ที่นี่...สถานีปฏิรูป

“เล่ า เรื อ ่ งโกง” ปลุกสำ�นักสังคมต้าน “โกง” ทัว่ ประเทศ!

“เมื่อผียังถูกโกง (ไม้พะยูงต้นเดียว)” จากศูนย์ศึกษาศิลปะธรรมชาติ เด็ก รักษ์ปา่ จ.สุรนิ ทร์ ทีไ่ ด้สะท้อนเรือ่ งราว มุมมองและรูปแบบการโกงอีก 1 รูป แบบ ไปขยายผลมากขึ้น “เรื่องสั้นจะมีการรวบรวมและ จัดพิมพ์เป็นเล่มเร็วๆนี้ ส่วนหนังสัน้ จะ มีการนำ�ไปฉาย ในโรงภาพยนตร์ชนั้ นำ� ทีวีสาธารณะ เคเบิ้ลทีวี และในขณะ เดียวกัน ก็จะมีการพัฒนาละครเร่ เพื่อ นำ�ไปเป็นกิจกรรม ROAD SHOW ร่วม กับ เรื่องสั้น หนังสั้น ไปยังสถานศึกษา ทุกภูมิภาค เพื่อปลูกและปลุกจิตสำ�นึก ให้กับคนที่ยังไม่ตื่น เห็นความสำ�คัญ ของเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง และเกิ ด จิ ต สำ�นึก ในการต่อต้านคอรัปชั่น ต่อไป” • อ่านต่อหน้า 15

รัฐชาติ+การตลาด อำ�นาจรัฐรวมศูนย์

เพื่อเปลี่ยนสังคม

เร่งกระจายอำ�นาจ ลงสู่ท้องถิ่นชุมชน “ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำ�นาจอันเป็นของ ข้าพเจ้าอยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎรทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยก อำ�นาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใดคณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้ อำ�นาจนัน้ โดยสิทธิขาด และโดยไม่ฟงั เสียงอันแท้จริงของประชา ราษฎร…” พระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 7 ที่ทรงสละราชสมบัตินี้ เป็นประจักษ์พยาน ชัดเจนว่าไม่ต้องการให้คณะหนึ่งคณะใดได้อำ�นาจไป เพราะแท้ที่จริงแล้วพระองค์เต็มใจที่จะสละอำ�นาจ ของพระองค์ ใ ห้ แ ก่ ร าษฎรเป็ น สำ � คั ญ แต่ เ มื่ อ ประเทศไทย เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมา เป็นระบอบประชาธิปไตยและมีรัฐธรรมนูญใช้แล้วต่างหาก ที่ “อำ�นาจ” นัน้ ถูกยือ้ ยุดฉุดรัง้ โดยบุคคลและคณะบุคคลบางกลุม่ บางพวกมาโดยตลอด 80 ปี และปัจจุบันนี้ก็ยังปรากฏอยู่ แรกที เ ดี ย วเป็ น การยึ ด อำ � นาจของคณะบุ ค คลที่ เรียกว่านายทหาร ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันครองอำ�นาจมาโดย ตลอดหลายต่อหลายรุ่น บางยุคบางสมัยมีพลเรือนหรือนักการ เมืองบางกลุ่มบางคนเข้าไปสมทบรู้เห็นเป็นใจด้วย โดยอ้างว่า เป็นผูแ้ ทนราษฎร ทีผ่ า่ นการเลือกตัง้ เข้ามา แต่เมือ่ ได้อ�ำ นาจแล้ว กลับไม่ใช้อ�ำ นาจเพือ่ ประชาราษฎรและประเทศชาติอย่างแท้จริง คณะบุคคลหรือกลุ่มคนที่เรียกตัวเองว่า “ผู้แทน ราษฎร” นั้นมีทั้งที่สังกัดและไม่ได้สังกัดพรรคการเมือง ซึ่งเป็น ที่รู้กันว่าพรรคการเมืองนั้นคือกลุ่มผลประโยชน์ที่เสนอตัวแทน เข้ามาเพื่อบริหารประเทศ ซึ่งในความเป็นจริงและแนวทาง ปฏิบัติแล้วไม่ได้เป็นอย่างนั้นเลย เพราะนักการเมืองส่วนใหญ่ เข้ามาเพื่อปกป้องและกอบโกยผลประโยชน์ของตนและพวก พ้องเท่านั้น ด้วยเหตุดังนั้นเรา “กองบรรณาธิการปฏิรูป” จึงมี ความเห็นว่าในภาวะทีป่ ระเทศชาติก�ำ ลังตกอยูใ่ นวิกฤติการแย่ง ชิงอำ�นาจของกลุ่มการเมืองจนเกิดความขัดแย้งแบ่งแยกแตก ฝ่ายกันอย่างชัดเจนจนยากที่จะเยียวยาได้เช่นนี้ มีแต่ต้องเร่ง การกระจายอำ�นาจลงสู่ท้องถิ่นและชุมชนต่างๆ โดยเร็วเพื่อให้ ประชาชนในแต่ละชุมชนและท้องถิ่นใช้อำ�นาจบริหารจัดการ ตนเอง เพื่อให้ประเทศชาติโดยรวมเดินหน้าต่อไปได้ ••• เปิดเป็นเวทีสาธารณะ ยิ น ดี รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ทรรศนะ วิพากษ์วจิ ารณ์ จาก นักวิชาการ ตลอดจนบุคคล ทั่ ว ไปและองค์ ก รเครื อ ข่ า ย เพื่ อ นำ � มาต่ อ ยอดแนวคิ ด แนวทางในการปฏิรูปประเทศไทย ให้ดำ�เนินไปในทิศทางที่ สร้ า งสรรค์ ให้ ผู้ อ่ า นพิ จ ารณาและวิ นิ จ ฉั ย โดยกอง บรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย >> วารสารรายเดือน

3

> เจ้าของ : สำ�นักงานปฏิรูป เลขที่ 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำ�ราศนราดูร ถนนติวานนท์ ซอย 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02-965-9531-3 โทรสาร 02-965-9534 www.reform.or.th

> คณะที่ปรึกษา

ศ.นพ.ประเวศ วะสี นพ.วิชัย โชควิวัฒน นพ.อำ�พล จินดาวัฒนะ นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ นพ.ชูชัย ศุภวงศ์ ทพ.กฤษฎา เรืองอารีรัชต์ รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์ กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร ดร.วณี ปิ่นประทีป

> บรรณาธิการบริหาร ทรงวิทย์ ดลประสิทธิ์

> กองบรรณาธิการ พัชรา อุบลสวัสดิ์ สุรศักดิ์ บุญเทียน ปนัดดา ขาวสะอาด ครรชิต ปิตะกา วิไลวรรณ สิริสุทธิ์

นงลักษณ์ ยอดมงคล พฤทธิ์ ขวัญเจริญ บัญชา เทียนดำ� วันวิสา แสงทิม จิตติมา อุ้มอารีย์ รัฐวรรณ เฮงสีหาพันธ์ > กราฟฟิคและผลิต สุพรรณี สุวรรณศรี โดย บริษัท ชินเซียงซ้ง มีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด นาตยา แท่นนิล สายใจ ปัสตัน พรทิพย์ เชื้องาม อาภาภรณ์ กิจศิริ


4

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

5

เรื่องจากปก

80ปี ประชาธิปไตย

ก้าวข้าม“หลุมดำ�” ประชาชนจัดการ ตนเอง นับตัง้ แต่การเปลีย่ นแปลงการ ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชเป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันที่ 24 มิ ถุ น ายน 2475 เป็ น ต้ น มา ประเทศไทยได้มกี ารใช้รฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยแล้วจำ�นวน 18 ฉบับ (ปัจจุบนั ใช้ฉบับ 2550) ตลอดช่วงระยะ เวลา 80 ปี โดยเฉพาะรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 นัน้ ถือว่า เป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่เป็น ประชาธิปไตยโดยประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วม (Participatory Democracy) มากที่สุดทั้งยังกำ�หนดให้เปลี่ยนแปลง ระบบการ บริ ห ารราชการจากส่ ว น กลางลงสู่ ท้ อ งถิ่ น และชุ ม ชนมากขึ้ น พร้อมกับคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพส่วน บุคคล ส่งเสริมความเป็นอิสระของศาล และสร้ า งกลไกเพื่ อ ให้ ก ารบริ ห าร ราชการเกิดความโปร่งใสมากที่สุด

แต่ ข ณะเดี ย วกั น การ ปล่อยให้ “นักการเมือง” ที่อ้าง ว่ า มาจากการเลื อ กตั้ ง ของ ประชาชนเข้ามามีอ�ำ นาจมาก เกินไป จึงทำ�ให้ยากต่อการ ควบคุม เพราะนักการเมือง ส่วนใหญ่ไม่ตระหนักและ ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ผล ประประโยชน์ ข อง ประชาชนอย่ า งแท้ จริง เนือ่ งจากไปติดยึดอยู่ กั บ อำ � นาจและผลประโยชน์ ข อง ตนเองและพวกพ้ อ งหรื อ นายทุ น เจ้าของพรรคการเมืองมากเกินไป ในที่ สุ ด โครงสร้ า งอำ � นาจ ระหว่ า งรั ฐ บาลกั บ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ใน ปัจจุบันเกิดความเหลื่อมลํ้าไม่ได้ดุลที่ เหมาะสม เนื่องจากรัฐยังคงรวมศูนย์ อำ�นาจไว้ทสี่ ว่ นกลาง แม้วา่ จะมีการกระ จายอำ�นาจโดยจัดตั้งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นรูปแบบต่างๆ แล้วก็ตาม แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่ก็ มีความเป็นอิสระและพึ่งพาตนเองได้ น้อยมาก ส่วนชุมชนถูกแปรสภาพให้ กลายเป็นเครื่องมือของรัฐบาล ส่งผล ให้ ป ระชาชนในฐานะเจ้ า ของบ้ า น เมืองเป็นเพียงผู้ออกเสียงลงคะแนน เลือกผู้ แทนไปบริหารบ้านเมืองแทน ตน โดยเฉพาะการควบคุมอำ�นาจ ทางการเงิ น การคลั ง ไว้ ที่ รั ฐ บาลส่ ว น กลาง โดยเฉพาะรูปแบบการใช้จ่ายงบ

ประมาณภาครัฐ ที่กำ�หนด ให้กรมในฐานะหน่วยงานนิตบิ คุ คลเป็น ผู้จัดทำ�คำ�ของบประมาณ ซึ่งมักเป็น ความต้องการของผู้มีอำ�นาจมากกว่า ความต้องการของประชาชนในท้อง ถิน่ ส่งผลให้การจัดสรรงบประมาณให้แก่ ท้องถิ่น ยังห่างไกลจากเจตนารมณ์ของ พระราชบั ญ ญั ติ กำ � หนดแผนและขั้ น ตอนการกระจายอำ�นาจให้กับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ อีก มาก นอกจากนี้ ยั ง เกิ ด ปรากฎ การณ์ที่รัฐบาลพยายามควบคุมชุมชน ท้ อ งถิ่ น ผ่ า นการจั ด สรรงบประมาณ ลงพื้นที่ ทำ�ให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดพฤติ กรรมที่คอยพึ่งงบประมาณจากรัฐบาล และละเลยการกำ�หนดมาตรการการจัด เก็บรายได้ในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง

ก้าวไปข้างหน้า เปลี่ยนโครงสร้างอำ�นาจ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม “กลุ่มสยามประชาภิวัฒน์” โดย นายพิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต จากคณะพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ แถลงว่า กลุ่มสยามประชาภิวัฒน์จะเดินหน้านำ�เสนอ แนวทางในการกระจายอำ�นาจอย่างแท้จริง ในการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำ�นาจส่วนร่วมและในระดับ ท้องถิ่น โดยให้ภาคประชาชนทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งอาจจะเป็นรูปแบบของสภาประชาชนในระดับจังหวัด และเปลี่ยนโครงสร้างของระบบรัฐสภา ให้มีตัวแทนของ ประชาชนในทุกภาคส่วนมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมอย่าง แท้จริง นอกจากนี้จะมีการจัดทำ�แผนพัฒนาประเทศ และท้องถิ่นโดยภาคประชาชนเอง รวมไปถึงแผนการ • พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต

จึงเป็นภาระของรัฐบาลเพิ่ม มากขึ้น และเกิดการแย่งงบ ประมาณลงพื้ น ที่ อ ย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรมอย่างที่ปรากฏตามนโยบาย “ประชานิยม” ดังนั้นการรวมศูนย์อำ�นาจ จึง ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ และแก้ปญ ั หาของประชาชนและชุมชน ทีม่ คี วามซับซ้อนแตกต่างหลากหลายได้ และไม่ทันการ ดังจะเห็นได้จากวิกฤติ มหาอุทกภัยในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่รัฐส่วน กลางไม่อาจจัดการปัญหาขนาดใหญ่ได้ โดยลำ�พังและทันเวลา รวมทั้งการรวม ศูนย์อำ�นาจยังบั่นทอน กดทับศักยภาพ ของชุมชนท้องถิน่ ซึง่ สามารถนำ�มาเป็น พลังสำ�คัญของการพัฒนาประเทศได้ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ประธาน คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปประเทศ มองว่าแม้ประเทศไทยจะใช้รฐั ธรรมนูญ มาแล้ว 18 ฉบับ แต่กย็ งั ไม่สามารถแก้ไข ปัญหาของประเทศได้ ประเทศไทยยัง เผชิญปัญหาวิกฤติโครงสร่างอำ�นาจที่ สลับซับซ้อน เกิดความไม่เป็นธรรม เกิด ความเหลือ่ มล้�ำ เกิดปัญหาสังคมสุขภาพ ความยากจนและความรุ น แรงเป็ น อุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ “ปัญหาของประเทศไทยเวลา นี้ เ ปรี ย บเสมื อ น “หลุ ม ดำ � ” ของ ประเทศ ซึ่งหลุมดำ�เหล่านั้นจะส่งผลให้ เกิ ด การคอร์ รั ป ชั่ น การแตกแยกกั น ทางการเมือง การลิดรอนอำ�นาจในท้อง ถิน่ จนส่งผลให้ทอ้ งถิน่ เกิดความอ่อนแอ

จัดสรรงบประมาณด้วย “สิ่งที่สำ�คัญที่ดำ�เนินการต่อไปที่มีความสำ�คัญ ต่ออนาคตของชาติ คือการปฏิรูประบบนโยบายและ การบริหารพลังงานของชาติ ทั้งก๊าซและนํ้ามันที่ กำ�ลังจะตกอยู่ในมือของเถ้าแก่และพรรคพวก ขั้นแรกคือ การนำ� ปตท.กลับมาเป็นของประชาชน ขณะเดียวกันก็ต้องผลักดันให้มีการปฏิรูประบบการ ศึกษาไทยขนานใหญ่ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาจากระบบ อุปถัมภ์ หรือแปะเจี๊ยะ อีกต่อไป เพื่อไม่ให้ผลิตคนที่ จะมาคอยเดินตามเถ้าแก่ออกมาอีก ตลอดจนไปถึง การขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร และผู้ บริโภคที่เผชิญกับของแพงอยู่ในปัจจุบันนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 24 มิ.ย.นี้ทางกลุ่มจะเริ่มเดินสายสัญจร เพื่อพูดคุยเสวนากับประชาชนทั่วประเทศ” เป้าหมายของกลุ่ม สยามประชาภิวัฒน์ ก็คือ อยากเห็นสังคมไทย มีความสุข และมีความ เป็นธรรมมากขึ้น

หลุมดำ�นั้นเกิดจากการรวมอำ�นาจไว้ที่ ส่วนกลาง การแก้ปัญหาต่างๆต้องรอ จากส่วนกลางหรือผู้นำ�ประเทศ” ด้วยเหตุดังนี้จึงมีความจำ�เป็น ที่จะต้องเร่งกระจายอำ �นาจสู่ท้องถิ่น โดยเร็ว เพราะการที่รัฐรวมศูนย์อำ�นาจ มาถึงทางตันแล้ว การปฏิรูปโครงสร้าง อำ�นาจจึงจำ�เป็นต้องกระจายอำ�นาจให้ องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นและคืน อำ � นาจให้ ป ระชาชน โดยส่ ง เสริ ม ให้ ชุมชนท้องถิน่ เป็นพลังหลักในการปฏิรปู สั ง คม และเพื่ อ ให้ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น มี ศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับภาครัฐ ที่สามารถ บริ ห ารจั ด การชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ได้ ด้ ว ย ตนเอง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแนวคิด การกระจายอำ�นาจสู่ท้องถิ่นจะไม่ใช่ เรื่องใหม่ในสังคมไทย แต่การกระจาย อำ�นาจดังกล่าวยังอยู่ภายใต้กรอบคิด ระบบราชการ โดยเฉพาะจากกรมการ ปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงทำ�ให้ “อำ�นาจ” ไม่ได้ตกไปถึงประชาชน อย่างแท้จริง ดังนั้นจึงมีความพยายาม ทีจ่ ะใช้แนวคิด “จังหวัดจัดการตนเอง” ซึ่งขณะนี้กำ�ลังรณรงค์และดำ�เนินการ ด้านธรรมนูญการปกครอง และผลักดัน ให้เกิด“พระราชบัญญัติจัดการตนเอง” รูปธรรมดังกล่าวเกิดขึ้นแล้ว เช่น ในภาคเหนือที่เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอนและน่าน ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ที่ ขอนแก่น และอำ�นาจเจริญ ภาคกลางที่นครปฐม ภาคใต้ ที่ชุมพร

และ 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ที่ มี กระบวนการขั บ เคลื่ อ นเช่ น แนวคิ ด “ปัตตานีมหานคร” เป็นต้น กรณีศึกษาที่เกิดเป็นรูปธรรม แล้วคือธรรมนูญ ประชาชนตนอำ�นาจ เจริญ ธรรมนูญประชาชนฉบับแรกของ ไทย โดย นายวิรัตน์ สุขกุล ผู้ประสาน งานเครื อ ข่ า ยองค์ ก รชุ ม ชน จั ง หวั ด อำ�นาจเจริญ กล่าวว่า ความท้าทายที่ ยิ่งใหญ่ของตนอำ�นาจเจริญในทศวรรษ นี้คือ ความสามารถที่จะขับเคลื่อนให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงชุมชนท้องถิ่นไปสู่ การจัดการตนเองให้ดียิ่งขึ้น ที่มุ่งปลด ปล่อยสร้างความเป็นไทให้กบั ตนอำ�นาจ เจริญให้สามารถจัดการตนเองได้อย่างมี อิสระ “เหตุผลในการจัดทำ�ธรรมนูญ ประชาชนตนอำ � นาจเจริ ญ เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในวางระเบี ย บกติ ก าของ ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและ ภาคีทเี่ กีย่ วข้อง สำ�หรับใช้เป็นมาตรการ ปฏิบัติเพื่อสร้างประชาธิปไตยชุมชน

เป็นกรอบและแนวทางในการกำ�หนด นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนา และ การดำ�เนินการที่เกี่ยวข้องกับชุมชน ท้องถิ่น อนาคตจะมีการยกร่าง ธรรมนูญประชาชน คน อำ�นาจเจริญ เป็นพระราช บัญญัติจังหวัดจัดการตนเอง โดยจะให้มีประชาชน รักษาการในข้อบัญญัตินี้” ดังนั้นการมี ธรรมนูญประชาชคนอำ�นาจ เจริญจะเป็นพื้นที่กลางให้กับ ทุกคนได้ร่วมกันกำ�หนดอนาคต ของตนอำ�นาจเจริญในอนาคต •••

(พิมพ์เขียว)โครงสร้าง สถาบันการเมืองไทย • ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)

ตอนนี้ประเทศไทย คล้ายกับระบอบ เผด็จการ เพราะมีแต่พรรคการเมืองของพวกนายทุน บริหารกันเหมือนบริษัท มีสมาชิกพรรค เหมือน พนักงานบริษัท คอยจะฟังจากเจ้าของบริษัทเพียง อย่างเดียว ปัญหาส่วนใหญ่มาจากอำ�นาจทางการ เมืองถูกผูกขาดจากชนชั้นนำ�ในสังคม และอำ�นาจ

ของพรรคการเมืองนายทุน โดยที่ไม่มีพื้นที่ของพี่น้อง ประชาชนเลย เราต้องปรับโครงสร้างกันใหม่ ให้กระจาย อำ�นาจสู่สังคมท้องถิ่น ให้แต่ละจังหวัดจัดการกันเอง โดยใช้สภาประชาชนจังหวัด ส่วนสภาผู้แทนราษฎร ก็ต้องมีตัวแทนจากประชาชนในภาคอาชีพต่างๆเข้า มามีส่วนร่วมด้วย หากจะให้พี่น้องประชาชนเข้าไปมีบทบาท ในโครงสร้างการเมืองไทย ต้องแก้โจทย์การผูกขาด โดยชนชั้นนำ�ให้ได้ ดังนั้นจึงควรมีการจัดตั้ง “สภา ประชาชนจังหวัด” ที่ประกอบด้วยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และตัวแทนกลุ่มผล ประโยชน์ของประชาชนอย่างแท้จริง โดยให้สภา

ประชาชนจังหวัดเลือกตัวแทนในพื้นที่เข้าไปนั่งใน วุฒิสภาเพื่อใช้คานอำ�นาจกับรัฐ มีอำ�นาจในการ กำ�หนดทิศทางของตัวเอง ไม่จำ�เป็นต้องรอ ครม. สัญจรเหมือนในปัจจุบัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ฝ่ายการเมืองไม่ ต้องการให้เกิดขึ้น เพราะจะไม่สามารถหากินจากงบ ประมาณของชาติได้อีก ขณะที่สภาผู้แทนราษฎรนั้นก็จะให้คัด เลือก ส.ส.ที่มาจากตัวแทนของประชาชนจากฐาน อาชีพที่หลากหลายกว่าในปัจจุบัน ในส่วนท้องถิ่นก็ ต้องสร้างองค์กรในระดับพื้นที่ และชุมชนให้เข้มแข็ง ในลักษณะ “สภาชุมชนท้องถิ่น” เพื่อให้องค์กร เหล่านี้มาติดตามแผนงาน และตรวจสอบการใช้งบ ประมาณ โดยทำ�งานเชื่อมโยงกับสภาประชาชน จังหวัด เชื่อว่าทิศทางนี้จะเป็นการตอบโจทย์เพื่อไม่ ให้ชนชั้นนำ�ผูกขาดอีกต่อไป และเป็นการปฏิรูป ประเทศอย่างแท้จริง •••


6

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

เร่งกระจายอำ�นาจ

สู่ท้องถิ่น-ชุมชน

• รศ.ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน

• ผศ.ทวี สุรฤทธิกุล

ในการเสวนา หัวข้อ “จากรัฐรวมศูนย์อำ�นาจ สู่การกระจายอำ�นาจให้ แก่ท้องถิ่นและชุมชน” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวี สุรฤทธิกุล อาจารย์ภาควิชา รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กล่าวว่าถึงเวลาต้องปฏิรปู ประเทศไทย กันใหม่ โดยรัฐต้องกระจายอำ�นาจให้แก่ทอ้ งถิน่ และชุมชน ต้องให้ประชาชนเข้ามา มีสว่ นร่วมในการบริหารประเทศโดยเสนอพิมพ์เขียวโครงสร้างสถาบันการเมืองไทย ขึ้นมามีแนวคิดข้อเสนอแนะให้ปฏิรูปประเทศไทย ทั้งระบบการเมือง ระบบการ บริหารบ้านเมือง และระบบเศรษฐกิจสังคม และการที่รัฐรวมอำ�นาจเอาไว้ที่ส่วน กลางทำ�ให้บ้านเมืองมีปัญหาวุ่นวายมาจนทุกวันนี้ ขณะที่ รองศาสตราจารย์ ทวี ศั ก ดิ์ สู ท กวาทิ น อาจารย์ ค ณะ รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิดา้ ) กล่าวว่า รัฐ รวมอำ�นาจเอาไว้ที่ศูนย์กลาง ทำ�ให้ ประชาชนไม่ อ าจมี ส่ ว นร่ ว มในการ บริหารประเทศอย่างแท้จริง ต้องให้ แต่ละพืน้ ทีแ่ ต่ละจังหวัดจัดการกันเอง ต้องมีการปฏิรูปประเทศไทยกันใหม่ โดยให้รัฐสละอำ�นาจ แล้วกระจายอำ� นาจสู้ท้องถิ่น ด้านอาจารย์คมสัน โพธิ์คง คณะ นิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมา ธิราช กล่าวว่า พรรคการเมืองไทยในปัจจุบันนี้ เปรียบเหมือน “บริษัท พรรค การเมือง จำ�กัด ไม่มหาชน” มีการจับมือกันของนายทุนต่างๆ ทัง้ ทุนรัฐ ทุนท้องถิน่ และทุนโลก มีการ จัดตัง้ งบประมาณทีใ่ หญ่เกินไป มีอ�ำ นาจมากไป จะต้องทำ�ให้ทนุ มันเล็กลง กระจาย อำ�นาจให้เล็กลง โดยนำ�เสนอผ่านพิมพ์เขียวโครงสร้างสถาบันการเมืองไทย ที่กลุ่ม สยามประชาภิวัฒน์ ทำ�ขึ้นมา พร้อมยังชี้ว่า รัฐสภาในปัจจุบัน คือ ปัญหาใหญ่ใน ปัจจุบันนี้ อาจารย์ ศักดิณ ์ รงค์ มงคล นักวิชาการอิสระ ได้ชวี้ า่ ประเทศชาติไม่พฒ ั นา เพราะว่า เราไม่ปรับปรุงการบริหารการปกครอง ให้ทันสมัย เราต้องมีผู้นำ�ที่ดี มี กฎหมายที่ดี การกระจายอำ�นาจสู่ท้องถิ่นและชุมชน คือการนำ�ไปสู่ประชาธิปไตย ที่แท้จริง

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

7

คณะกรรมการติดตาม มติสมัชชาปฎิรูป ร่วมกันประชุมหารือ ติดตามความคืบหน้า การดำ�เนินงานตาม 6 มติ สมัชชาปฎิรูป ระดับชาติครั้งที่ 2 เพื่อวางแนวทางความ ร่วมมือและบูรณาการทำ�งานร่วมกัน พร้อมสานงานให้ต่อเนื่อง การประชุมเพื่อรับฟังความคืบหน้าผลการดำ�เนินงานตาม มติสมัชชา ทั้ง 6 มติ และสรุปประเด็นข้อเสนอแนะทั้งหมด โดยมี นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ และ นพ.มานิตย์ ประพันธศิลป์ เป็นคณะ กรรมการติดตามการดำ�เนินงานตามมติสมัชชาปฎิรปู โดยมีการชีแ้ จง รายละเอียดต่างๆ ของทั้ง 6 มติ ไว้นำ�เสนอพร้อมชี้แจงกรอบการ ดำ�เนินงาน และความร่วมมือจากองค์กรภาคีเครือข่าย และหน่วย งานที่เกี่ยวข้องเพื่อผลักดัน สนับสนุน อำ�นวยการ ประสานให้มติ สมัชชาเป็นจริงในทางปฎิบัติ และเน้นใช้ภาคส่วนราชการเป็นหลัก โดยแยกเป็นรายมติ ดังนี้ มติที่ 1 การปฎิรูประบบแรงงานและสวัสดิการ : การ เพิม่ อำ�นาจต่อรองของแรงงาน การปรับโครงสร้างค่าจ้าง การเพิม่ ผลิตภาพและคุ้มครองแรงงาน รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ ประธานคณะทำ�งานการปฎิ รูประบบแรงงานและสวัสดิการ ชี้แจงว่า ณ ตอนนี้ค่อนข้างมีปัญหา มากมายเรือ่ งแรงงาน เป็นเรือ่ งทีล่ ะเอียดอ่อน แต่อยากจะให้แรงงาน มีอำ�นาจต่อรอง มีสิทธิ มีเสียง ที่จะป้องกันตนเอง อยากให้สังคมได้ รับรู้และเข้าใจถึงปัญหาแรงงานที่มีอยู่อย่างแท้จริงสังคมไทยยังคงมี ความเหลือ่ มลํา้ อยูม่ าก ผูท้ มี่ บี ทบาทในการกำ�หนดนโยบายและผูน้ �ำ ไปปฎิบัติ ยังขาดความรู้เรื่องแรงงาน ขาดความตระหนัก ขาดความ เข้าใจ จึงยังไม่สามารถปฎิรปู ระบบแรงงานและสวัสดิการได้อย่างถูก ต้องและเหมาะสม มติที่ 2 การปฎิรูประบบเกษตรกรรม : เพื่อความเป็น ธรรมและความมั่นคงทางอาหาร อาจารย์พฤกษ์ ยิบมันตะศิริ ประธานคณะทำ�งา นการปฎิ รูประบบเกษตรกรรมชีแ้ จงว่า แม้ประเทศไทยจะส่งออกสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์ตา่ งๆเป็นลำ�ดับต้นๆของโลก แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยงั คงประสบปัญหาหนีส้ นิ การมีทดี่ นิ ทำ�กินไม่เพียงพอ การขาดแรงงาน ในภาคการเกษตร การเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศ และภัยพิบตั ติ าม ธรรมชาติ การผูกขาดในระบบเกษตรกรรมและการกระจายอาหาร และปั ญ หาอื่ น ๆอี ก มากมาย อยากให้ มี อ งค์ ก รอิ ส ระเข้ า ไปดู แ ล ทำ�ความเข้าใจ ให้เกิดการขับคลื่อนการเกษตรกรรมไปข้างหน้าเพื่อ การทำ�งานด้วยความราบรื่นต่อไป โดยมีกฎหมายใหม่ๆที่เกี่ยวข้อง เข้ามารองรับอีกทางหนึ่ง มติที่ 3 การปฎิรูปโครงสร้างอำ�นาจ : สู่การปรับ ดุลอำ�นาจที่เหมาะสมระหว่างรัฐบาลกับชุมชนท้องถิ่น คุณยุวดี คาดการณ์ไกล นักวิชาการสุขาภิบาล ชี้แจงว่า โครงสร้างอำ�นาจระหว่างรัฐบาลกับชุมชนท้องถิ่นในปัจจุบัน ยังคงมี ความเหลือ่ มลํา้ ไม่ได้ดลุ ทีเ่ หมาะสม รัฐยังคงรวมอำ�นาจไว้ทสี่ ว่ นกลาง ซึง่ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการและแก้ปญ ั หาให้ประชาชนได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่มีอิสระและพึ่งพาตนเองได้น้อย มาก ดังนั้นรัฐจึงต้องกระจายอำ�นาจให้องค์กรส่วนท้องถิ่นและคืน อำ�นาจให้ประชาชน โดยส่งเสริมให้ชมุ ชนท้องถิน่ เป็นพลังหลักในการ

เกาะติด 6 มติ สมัชชาปฎิรูประดับชาติ เพื่อขับเคลื่อนพลังปฎิรูปประเทศไทย จะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง อันจะเป็นการวาง รากฐานทีม่ นั่ คงของระบอบประชาธิปไตยในระยะยาว ซึ่งที่ผ่านมาคนไทยมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งในเชิงรูปแบบและความเข้มข้น ซึ่งจะนำ�ไปสู่การ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในแนวทางที่ดีขึ้น

• นพ.ชูชัย ศุภวงศ์ ประธานคณะกรรมการติดตาม การดำ�เนินงานตามมติสมัชชาปฎิรูป

ปฎิรูปสังคมและบริหารจัดการชุมชนท้องถิ่นได้ด้วย ตนเองต่อไป

มติที่ 5 การปฎิรปู โครงสร้างและกฎหมาย ด้านที่ดิน : การบริหารจัดการที่ดิน ผศ.อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์ ประธานคณะ ทำ�งานการปฎิรูปโครงสร้างและกฎหมายด้านที่ดิน ชี้แจงว่า ยังคงมีปัญหาอยู่อีกมากมาย ทั้งการถือครอง ที่ดินของต่างด้าว ปัญหาการเช่าที่ดินเพื่อการเกษตร กรรม คดีความที่เกี่ยวกับปัญหาที่ดินต่างๆ การกระ จายถื อ ครองที่ ดิ น อย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม ปั ญ หาความ ขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ระหว่างรัฐกับ ประชาชน และการแก้กฎหมายที่ดินต่างๆ ให้เหมาะ สมกับโครงสร้างสังคมในปัจจุบนั ควรจะจัดให้มี โฉนด ชุมชน การจัดตัง้ ธนาคารทีด่ นิ เพือ่ หาทีด่ นิ ให้ผไู้ ร้ทดี่ นิ ทำ�กิน มีการคุ้มครองที่ดินเพื่อเกษตรกรรมและแยก พื้ น ที่ สำ � หรั บ ภาคอุ ต สาหกรรมออกจากพื้ น ที่ ก าร เกษตรโดยเด็ดขาดตามผังเมือง และเพิ่มมาตรการ ต่างๆเพื่อประโยชน์ของประชาชนต่อไป

มติที่ 4 การปฎิรปู ระบบการเมือง : พัฒนา ความเข้มแข็งของพลเมืองเพื่อปฎิรูปประเทศไทย นายพงศ์โพยม วาศภูติ ประธานคณะทำ�งาน การปฎิรปู ระบบการเมือง ชีแ้ จงว่าควรจะมีการร่วมมือ กันของทุกๆฝ่าย มีการทำ�งานไปพร้อมๆกัน และควร เริ่มต้นทำ�ให้ประชาชนชาวไทยมีความตระหนัก สำ�นึก และกระตือรือร้น มีความสามารถและมีพลังอำ�นาจที่

มติที่ 6

การปฎิรูปการศึกษา : ปรับ

ทิศทางการศึกษาเพื่อสร้างคุณภาพและลดความ เหลื่อมลํ้าในสังคม ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ประธานคณะทำ� งานการปฎิรูปการศึกษา ชี้แจงว่า ทุกภาคส่วนควรจะ มีบทบาทในการจัดการการศึกษา เพือ่ การพัฒนาความ เป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ โ ดยเฉพาะมิ ติ ค วามมี ห ลั ก คุณธรรม จริยธรรม การแบ่งปัน ด้วยความเคารพ และ อยู่ร่วมกันอย่างมั่นคงผาสุกระหว่างคนไทย แต่การ ศึกษาไทยยังบกพร่องเรื่องคุณภาพ ทั้งในเชิงความ สามารถทางวิชาการ การคิด การใช้เหตุผล ทั้งยังไม่ สามารถนำ�การศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพทีท่ วั่ ถึงและเท่าเทียม เข้าไปถึงประชาชนโดยเฉพาะในชนบท การศึกษาที่มี คุณภาพ กระจุกอยูใ่ นเขตเมืองทีส่ ว่ นใหญ่มชี นชัน้ กลาง อาศัยอยู่เท่านั้นเอง นอกจากนีย้ งั ประสบปัญหาของการยกระดับ การเรียนรู้ของคนทั้งสังคม ในมิติของการเสริมความ มั่นคงในอาชีพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอีกด้วย ต้องใช้การเคลือ่ นไหวในภาคประชาชน และชุมชนท้อง ถิ่นเข้ามาร่วมจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและ การจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อตอบโจทย์ การพัฒนาในมิติต่างๆให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นคำ� ตอบหรื อ แนวทางสำ � คั ญ ในการจั ด หรื อ พั ฒ นาการ ศึกษาของประเทศต่อไป •••


8

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

ชู‘ลาดกระบั ง โมเดล’ ต้นแบบรับมือภัยพิบตั ิ

รายงานพิเศษ

• กองบรรณาธิการ •

ลกส่ ง สั ญ ญาณการเปลี่ ย น แปลง ทัง้ ภัยแล้ง ภัยหนาว ภัย นํ้า แผ่นดินไหว หลายองค์กร จัด “วันรวมพลังรับมือภัย พิบัติ” เตรียมพร้อมทุกพื้นที่ ทั่วประเทศเพื่อปกป้องดูแลประชาชน โดยมีสถาบันการศึกษาเป็นตัวเชื่อม ผู้สื่อข่าวรายงาน ว่า เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2555 ที่หอประชุมใหญ่ คณะสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบั ง กรุ ง เทพมหานคร (กทม.) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ร่ ว มกั บ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง Thaiflood และ ภาคี เครือข่าย จัดวันรวมพลังรับมือภัยพิบัติ National Disaster Preparedness Day 2012 เตรียมพร้อมทุกที่ทั่วประ เทศ กำ�หนดสถานการณ์จำ�ลอง หาก เกิดภัยพิบัติในพื้นที่ เช่น แผ่นดินไหว พายุ นํ้าท่วม เป็นต้น ภายใต้โครงการ รวมพลังรับมือภัยพิบัติ ดร.คมสัน มาลีสี รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม สถาบันฯเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กล่าว เปิดงาน ว่า โลกเตือนเราถีข่ นึ้ มีสญ ั ญาณ หลายอย่างทีบ่ อกให้รวู้ า่ โลกกำ�ลังเผชิญ กับความเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติ ทั้งภัยหนาว ภัยแล้ง ภัยนํ้า แผ่นดินไหว รวมทั้งความแปรปรวนของสภาพอา กาศ ฯลฯ ที่ล้วนเป็นภัยพิบัติ ที่นับวัน จะทวีความรุนแรง และเกิดขึน้ ทัว่ ทุกหน ทุกแห่งของโลก “การจั ด วั น รวมพลั ง รั บ มื อ ภั ย พิบัติ National Disaster Preparedness Day 2012 เป็นส่วนหนึ่งในการ ขับเคลือ่ นปกป้อง ดูแลประชาชน ซึง่ นับ ว่ า เป็ น พลั ง สำ � คั ญ ภายหลั ง จากเกิ ด ปั ญ หาอุ ท กภั ย เมื่ อ ปี 2554 ทำ � ให้ ประเทศและประชาชนเดือดร้อน ทุกข์ แสนสาหัส แต่การเกิดเหตุการณ์ ทำ�ให้ เกิดการรวมพลังในแต่ละจังหวัด เขต ภาค เพื่ อ จั ด กลุ่ ม หารื อ ถึ ง แนวทาง เตรียมความพร้อมกับการรับมือภัยพิบตั ิ ในอนาคต โดยใช้ประชาชนในพืน้ ทีด่ แู ล และสามารถอยู่ในพื้นที่ได้”

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

• ดร.คมสัน มาลีสี

• ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์

• หาญณรงค์ เยาวเลิศ

เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติแม้จะเป็น ปัจจัยที่ไม่อาจควบคุมได้ แต่สามารถ เรียนรู้ และปรับตัวที่จะอยู่อย่างสอด คล้องกับธรรมชาติได้ “ในช่วงวิกฤตมหาอุทกภัยปลาย ปี 2554 ทุกภาคส่วนได้ร่วมมือให้การ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย โดยเกิดเป็นกลุม่ จิตอาสาจำ�นวนมาก สสส. และภาคี เครือข่ายได้เป็นส่วนหนึง่ ในการกูว้ กิ ฤติ ของประเทศด้วย โดยจัดตั้งศูนย์ช่วย เหลือ “บ้านอาสาใจดี” และเชือ่ มโยงจิต อาสาจากภาคส่วนต่างๆ มาทำ�งานร่วม กั น ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย อย่ า งต่ อ เนื่อง” นายหาญณรงค์ เยาวเลิ ศ ประธานมูลนิธเิ พือ่ การบริหารจัดการนํา้ กล่าวว่า จนถึงขณะนี้รัฐบาลยังไม่ยอม ขี้แจงตัวเลขและวิธีการบริหารจัดการ

มาผสานเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ทั้ ง นี้ สถาบั น การศึ ก ษาต้ อ งอยู่ คู่ กั บ ชุ ม ชน และเป็นที่พึ่งของสังคมทั้งในยามมีภัย และไม่มีภัย” ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ รองผู้ จัดการสำ�นักงานกองทุนสสส. กล่าวว่า หัวใจสำ�คัญในการจัดวันรวมพลังฯมา จากเหตุ ก ารณ์ อุ ท กภั ย เมื่ อ ปี 2554 ประเทศไทยเปลีย่ นโหมดจากธรรมชาติ ที่มีความอุดมสมบูรณ์และประสบภัย พิ บั ติ น้ อ ยมาก แต่ ข ณะนี้ โ ลกเปลี่ ย น ประเทศไทยเปลี่ยน โลกไม่เหมือนเดิม ภัยพิบัติมีความถี่ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นภัย แล้งที่หลายจังหวัดประสบอยู่ ไม่นับ ภัยทีส่ ร้างด้วยน้�ำ มือมนุษย์ใน 3 จังหวัด ภาคใต้

• ปรเมศวร์ มินศิริ • ศศิน เฉลิมลาภ

ดร.คมสัน กล่าวอีกว่า เวลาที่ รั ฐ บาลมี ก ารเปลี่ ย นแปลงแผนการ บริหารจัดการต่าง ๆ ก็จะถูกลบทิ้งแล้ว เริม่ วางแผนกันใหม่อยูต่ ลอดเวลา ดังนัน้ หากประชาชนพึ่ ง รั ฐ บาลเพี ย งอย่ า ง เดียวถือว่าเป็นการเสี่ยงเกินไป แต่ประ ชาชนมาสามารถเข้ามีสว่ นร่วมและช่วย เหลื อ กั น ได้ ด้ ว ยการสร้ า งเครื อ ข่ า ยที่ เชื่อมโยงกันโดยสถาบันการศึกษาเป็น ตัวเชื่อม อย่างไรก็ตามการสร้างและเชือ่ ม โยงเครือข่ายภัยพิบตั จิ ำ�เป็นต้องมีความ ร่วมมือจากหลายฝ่าย ทั้งสถาบันการ ศึกษาและชุมชน โดยในช่วงที่เกิดอุทก ภัยปี 2554 สถาบันฯได้ทำ�งานร่วมกับ ชุมชนภายใต้แนวคิดที่เมื่อนํ้าไหลเข้า พืน้ ทีแ่ ล้วต้องทำ�ให้ไหลออกโดยเร็วทีส่ ดุ ไม่ใช่ไม่ให้นํ้าเข้าพื้นที่เลย จึงได้จัดตั้ง ศูนย์เฝ้าระวังทำ�งานร่วมมือกับ 61 ชุม ชนในพื้นที่รอบสถาบันฯ เพื่อกำ�หนด แผนรับมือนํ้าท่วมอย่างเป็นระบบใน

การวางแผน, วัดและรายงานระดับนํ้า, การแจ้งเตือนและช่วยเหลือตลอดจน วางแผนฟื้นฟูอย่างเป็นระบบเพื่อที่จะ สามารถนำ�ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับใน แต่ละพื้นที่และสถานการณ์ต่างๆ ทั่ว ประเทศ “สถาบันฯได้ส่งทีมนักศึกษาจิต อาสา “หมอไฟ-หมอบ้าน” ร่วมดูแล ชุมชนและพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ เรี ย กว่ า “ลาดกระบั ง โมเดล” เป็นการนำ�ภูมิปัญญาชาวบ้าน

ทั้ ง นี้ ค นไทยไม่ เ หมื อ นเกาหลี ญีป่ นุ่ จึงไม่มสี ญ ั ชาตญาณในการเอาตัว รอดจากเหตุการณ์นํ้าท่วมหรือโคลน ถล่ม ซึ่งโดยปกติตามหลักสากลนั้นเมื่อ เผชิญภัยพิบัติจะมีการจัดการเชิงระบบ และเชิ ง วั ฒ นธรรม แต่ ป ระเทศไทย อ่อนแอเพราะมีปญ ั หาเชิงระบบและเชิง วั ฒ นธรรม รวมทั้ ง กฎหมายพ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ดังนั้น

1. ควรจะมีการพัฒนาคนไทยให้ ตื่นตัวตื่นรู้ปรับตัว 2. สร้างความรูใ้ ห้มากพอในการ จั ด การเชิ ง ระบบตั้ ง แต่ ปั จ เจกบุ ค คล ครอบครัว ชุมชน เมือง ประเทศ และ 3. การเชือ่ มโยง ตัง้ แต่ชมุ ชนช่วย เหลือครอบครัว ไปจนถึงประเทศช่วย ประสานเมือง ในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมาประเทศไทย เกิดเหตุภัยพิบัติอย่างต่อเนื่อง และมี สัญญาณที่ทำ�ให้ต้องตระหนักถึงความ เปลี่ยนแปลงทั้งสภาพอากาศ สิ่งแวด ล้อม สังคมต้องหันมาตระหนักและมี ส่ ว นร่ ว มกั บ การเตรี ย มความพร้ อ ม เนื่ อ งจากที่ ผ่ า นมามี เ พี ย งแผนใน กระดาษทีย่ งั ไม่ได้ปฏิบตั จิ ริง ซึง่ ต้องหา หนทางที่จะช่วยลดความสูญเสียหากมี ภั ย พิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ที่ ม าของการ กำ�หนดวันรวมพลังรับมือภัยพิบัติ เป็น ครัง้ แรก โดยใช้วนั ดีในวันที่ 5-5-55 เป็น วั น เริ่ ม ต้ น รณรงค์ ใ ห้ ทุ ก ภาคส่ ว นร่ ว ม เป็นเครือข่ายรับมือภัยพิบัติ และเพื่อ ช่วยกระตุ้นเตือนให้คนไทยได้เตรียม ความพร้อมของตนเอง ครอบครัว ชุม ชน และสังคม ในการรับมือภัยพิบัติที่ อาจเกิดขึ้นอีกในอนาคต เพราะความ

น้�ำ ทีช่ ดั เจน หากประชาชนต้องการจะรู้ ข้อมูลต้องขับรถไปดูเอง รวมทั้งยังไม่มี ความชัดเจนว่าหากเกิดภัยพิบตั ขิ นึ้ แล้ว หน่ ว ยงานต่ า งๆ มี อุ ป กรณ์ ห รื อ เจ้ า หน้ า ที่ มี ค วามพร้ อ มในช่ ว ยเหลื อ ประชาชนหรือไม่ นอกจากนั้นการวาง แผนงานบริหารจัดการนํ้าและแนวทาง การป้องกันยังทำ�กันอย่างไม่ เปิดเผย ไม่ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น และเสี ย งวิ จ ารณ์ เพราะเป็นวางแผนกันในห้องประชุม โดยที่ประชาชนไม่ได้เช้ามามีส่วนร่วม

“กรณี ที่ ค รม.อนุ มั ติ เ มื่ อ 10 เมษายน 2555 เรื่องการก่อสร้างเขื่อน แม่วงก์ จ.นครสวรรค์ที่ขณะนี้ก็ยังไม่มี คำ�ตอบทีช่ ดั เจนว่าการก่อสร้างเขือ่ นจะ ช่วยป้องกันนํา้ ท่วมได้อย่างไร ยืนยันว่า ตัวเลขเม็ดเงินไม่ได้เป็นตัวชี้วัดที่จะทำ� ให้ประชาชนมั่นใจในการแก้ไขปัญหา ของรั ฐ บาล และขอแนะนำ � ว่ า วั น นี้ รั ฐ บาลยั ง มี โ อกาสในการสร้ า งความ มั่นใจ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องกับประชาชน” นายศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร กล่าวว่า ปัจจุบัน โลกเป็นของวิศวกรที่จะสร้างควบคุม บังคับธรรมชาติ แต่เมือ่ ธรรมชาติชนะก็ ต้องกลับมาใช้ความรู้เดิม คือ การเรียน รู้ธรรมชาติ ซึ่งในธรรมชาติจะมีที่ลุ่ม ที่ ดอน แต่เมือ่ มีเขือ่ นก็จะทำ�ให้ไม่สามารถ คาดคะเนทิศทาง ปริมาณนํ้าได้ ขณะที่ หน่วยป้องกันนํ้าท่วมของไทยมีเพียง หน่ ว ยเดี ย วคื อ สำ � นั ก การระบายนํ้ า กทม. ส่วนกรมชลประทาน ทำ�หน้าที่ หานํ้ามาให้เกษตรกรเท่านั้น และคลอง ชลประทานก็ไม่ได้ทำ�เพื่อระบายนํ้า ดัง นั้น จึงควรมีหน่วยงานประจำ�ที่ทำ�หน้า ที่จัดการปัญหานํ้าท่วมโดยตรง และ จำ�เป็นต้องมีกฎหมายมารองรับ นายปรเมศวร์ มินศิริ ผู้จัดการ โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติ สสส. กล่ า วว่ า โครงการฯได้ ร วบรวมองค์ ความรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการทำ � งานของ เครือข่ายต่างๆ นำ�มาถ่ายทอดประสบ การณ์ในวันรวมพลังรับมือภัยพิบตั ิ และ จะนำ�ไปเผยแพร่ผา่ นทางเว็บไซต์ www. thaiflood.com และช่องทางการสื่อ สารทางโซเชียลมีเดียอื่นๆ เพื่อตอกยํ้า ให้เกิดความตระหนักในการสร้างรูป แบบการรับมือกับภัยพิบัติแบบต่างๆ ตลอดจนการเชื่อมโยงเครือข่ายให้ทำ� งานบนฐานข้อมูลเดียวกัน โดยในวัน รวมพลังรับมือภัยพิบตั นิ ี้ ได้จดั ทำ�แผนที่ ความเสี่ยง (DisasterHazard Mapping) และแผนที่ศักยภาพมนุษย์ (Human Mapping) ในรูปแบบดิจติ อลไฟล์ เพื่ อ นำ � มาต่ อ ยอดเพิ่ ม เติ ม ข้ อ มู ล จาก ประสบการณ์ท�ำ งานของภาคส่วนต่างๆ เพือ่ นำ�ไปเผยแพร่และสร้างความพร้อม ในชุมชนต่อไป นอกจากนี้ภายในงานยังมีการ

9

จัดกิจกรรมทีน่ า่ สนใจ โดยได้เปิดเวทีใน การแลกเปลีย่ น และระดมความคิดเห็น ข้อมูลความรู้ ภูมิปัญญา บทเรียน และ ประสบการณ์ในการรับมือกับภัยพิบัติ ตลอดจนการเตรียมการ และการปรับ ตัว, การสร้างพื้นที่ในการพบปะ เชื่อม โยงความร่วมมือ ตลอดจนกลไกจากทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง, การร่วมกันสร้าง โมเดล หรือแผนปฏิบัติในการรับมือกับ ภัยพิบตั อิ ย่างมีสว่ นร่วม และบูรณาการ รอบด้าน ครอบคลุมทุกมิตสิ งั คม เศรษฐ กิจ วัฒนธรรม ทัง้ นีภ้ าคีเครือข่ายจังหวัดสระบุรี ได้เสนอผังเมืองระดับประเทศ ซึ่งเป็น สิ่งสำ�คัญมีหลายจังหวัดในประเทศไทย ที่ยังไม่ได้มีการประกาศใช้ผังเมือง ทั้งนี้ การออกแบบและการวางผั ง เมื อ งมี ความสำ�คัญมาก ดังนัน้ ประชาชนจึงต้อง มีส่วนร่วมในการ ออกแบบ เพื่อแก้ไข ปัญหาระยะยาว ขณะที่ ภ าคี เ ครื อ ข่ า ยจั ง หวั ด ชั ย นาท อยากให้ รั ฐ บาลแสดงความ ชัดเจนในการใช้พื้นที่รับนํ้า ขณะเดียว กันเมื่อมีการจัดเสวนาต่างๆ ควรเชิญ ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐเข้ามามีส่วน ร่วมด้วย เพื่อจะได้สะท้อนความรู้สึก ความทุกข์ของชาวบ้าน ตลอดจนให้ รัฐบาลประกาศการวางผังเมืองและให้ ดำ�เนินการตามอย่างเคร่งครัด อย่ า งไรก็ ต ามภายในงานยั ง มี การสร้างองค์ความรู้ในการเตรียมตัว รับมือภัยพิบตั ิ ทีส่ ามารถนาไปปรับใช้ได้ ในสถานการณ์จริง ทั้งในระดับปัจเจก ตลอดจนครอบครัว ชุมชน และท้องถิน่ , การวิเคราะห์พื้นที่ และปักหมุดพื้นที่ เสี่ยง เพื่อสร้างแผนที่เฝ้าระวังภัยพิบัติ ทั่วประเทศ, Human Mapping ปัก หมุ ด ต้ น ทุ น คน องค์ ก ร องค์ ค วามรู้ ตลอดจนทรัพยากร เพื่อวางแผน และ ออกแบบโมเดลการรับมือกับภัยพิบัติ รวมทั้ ง แจกฟรี แ ผนที่ เ สี่ ย งภั ย พิ บั ติ (Disaster Hazard map) น้ำ�ท่วม, ดิน ถล่ม, พายุ, แผ่นดินไหว, สึนามิ ฉบับ ดิจิตอลไฟล์ และอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อการเตรียมพร้อม และการ รับมือกับภัยพิบัติตั้งแต่ระดับปัจเจก จนถึงระดับชาติ •••


10

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

ขณะทีน่ พ.อำ�พล จินดาวัฒนะ อนุกรรมการ บริหารสมัชชาปฏิรูป ยืนยันว่าในปีที่ 3 นี้และหลัง 3 ปีผา่ นไป สมัชชาปฏิรปู ก็จะดำ�เนินการต่อไป โดยเน้น คุณภาพตามมติที่จะขับเคลื่อนเป็นหัวใจสำ�คัญเพื่อ ขยายวง ขยายพลังภาคีเครือข่ายออกไป จะมีการวาง รูปแบบ สร้างกลไกใหม่ ก้าวใหม่ เปิดโอกาสให้หน่วย งานองค์ ก รอื่ น ๆมาร่ ว มเป็ น เจ้ า ของ เพื่ อ ต่ อ ยอด ขบวนการใหม่ออกไป ขยายวง ขยายพลังดึงภาคเครือ ข่ายต่างๆมาเป็นเจ้าของ ด้าน นพ.ชูชยั ศุภวงศ์ กรรมการติดตามการ ดำ � เนิ น งานสมั ช ชาปฏิ รู ป กล่ า วว่ า การขั บ เคลื่ อ น สมัชชาปฏิรูปต่อไปจะเน้นเรื่องการสื่อสารสาธารณะ ให้มากขึ้ น และมี คุ ณ ภาพ ถื อ เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ก าร สื่อสารสาธารณะที่จะต้องเข้มข้นขึ้นเพื่อให้ได้รับการ ยอมรับและมีความยั่งยืนเช่นเดียวกับองค์กรอื่นๆที่มี

กรรมการจัดสมัชชาปฏิรูป ยืนยันดำ�เนินการต่อ หลัง 3 ปี เน้นสร้างภาคีและขยายเครือข่าย ให้เข้มแข็ง เปิดให้เข้าร่วมดำ�เนินการ เหมือนเป็นเจ้าของ ต่อยอดการ ขับเคลื่อนสังคมอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องเพื่อแก้ปัญหาเชิง โครงสร้างของสังคมไทย ผูส้ อื่ ข่าวรายงาน เมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2555 นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ ประธานคณะกรรมการ ดำ � เนิ น การจั ด สมั ช ชาปฏิ รู ป ฯ (คจสป.) เปิ ด เผย ระหว่างการประชุม สรุปบทเรียนการจัดสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติครั้งที่ 2 ถึงแนวทางการขับเคลื่อนสมัชชา ปฏิรูป ตามคำ�สั่งสำ�นักนายกรัฐมนตรีที่ 171/2553 ของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งมีแนวโน้มที่ รัฐบาลชุดปัจจุบนั ของนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี จะไม่สนับสนุนว่าในช่วงปีที่ 3 และหลัง 3 ปี ต่อไป คจสป.ก็จะดำ�เนินการต่อไปไม่หยุด ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ เกิดการขับเคลื่อนสังคมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เป็นเวทีในการเปิดพื้นที่ทางสังคมและปัญญาอย่าง กว้างขวาง ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพและความเข้ม แข็งของเครือข่ายเพื่อแก้ปัญหาเชิง โครงสร้างของ สังคมไทย “ในปีที่ 3 นี้เราก็จะประชุมกันว่าจะดำ�เนิน การจัดสมัชชาปฏิรูปต่อไปอย่างไร แต่แนวทางหนึ่งที่ จะสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนก็คือการเปิดให้ภาคี เครือข่ายต่างๆมาร่วมเป็นเจ้าของสมัชชา มาร่วม ลงทุนด้วยความเต็มใจ และขับเคลื่อนอย่างจริงจัง ขยายภาคเครือข่ายให้ใหญ่ขึ้นและมากขึ้นเพื่อให้การ

• นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ

คจสป.เดินหน้าจัดสมัชชาปฏิรูปฯ เล็งดึงภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อน

ขับเคลื่อนการปฏิรูปเชิงระบบและโครงสร้างด้าน ต่างๆดำ�เนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความร่วม มือจากทุกภาคส่วน” นางปรีดา คงแป้น กรรมการ คจสป. กล่าว ว่าเวทีสมัชชาปฏิรูปจะต้องปรับคุณภาพการจัดด้วย การลงพื้นที่ให้มากขึ้น มีการสื่อสารเชื่อมโยงไปยัง เครือข่ายต่างๆ เช่น เครือข่ายศิลปินเพื่อการปฏิรูป เพื่อเคลื่อนไหวไปพร้อมๆกัน จัดองค์ประกอบการใน การขับเคลื่อน สนับสนุนเครือข่ายในพื้นที่ประสาน กับเครือข่ายต่างๆ และดึงกลไก อบต.อบจ.ต่างๆมา ร่วมมือกันยกระดับการขับเคลื่อน

กฎหมายรองรับ เช่น คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนและสำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพเป็นต้น นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองผู้อำ�นวย การสำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) กล่าวว่า การจัดสมัชชา ปฏิรูปครั้งต่อไป ภาคีเครือข่ายจะต้องไปขยายผล ด้วยการสอบถามเพื่อเสริมสร้างพลังประชาชน สร้าง กลไกต่างๆมาหนุนเสริม โดยสปร.จะเป็นตัวต่อประ สานไปยังภาคเครือข่ายเพื่อให้เป็นสาระประชาชน โดยเครือข่ายภาคประชาชน •••

แนวทางการขับเคลื่อนสมัชชาปฏิรูป ปีที่ 3 >> แนวทางที่ 1 สำ�นักงานปฏิรูป ทำ�งานต่อเนื่องจากระยะ 3 ปีแรก เพื่อเป็นกลไกกลางขับเคลื่อนการปฏิรูป o มีลักษณะเป็นกลไกกลางที่มีความ เป็นอิสระ ทำ�หน้าที่เชื่อม โยงพลังต่างๆ ในการขับเคลือ่ น พัฒนาต่อยอดการดำ�เนินงานอย่างต่อเนือ่ ง o แนวทางการจัดกลไก อาจผลักดันให้มีการต่ออายุระเบียบ สำ�นักนายกรัฐมนตรีฯ หรือการออกกฎหมายใหม่ (เช่น ร่าง พรบ.ปฏิรูป แห่งชาติ) >> แนวทางที่ ๒ การส่งต่อหน้าที่ให้กับองค์กรที่มีบทบาทใกล้เคียงกัน o คำ�นึงถึงอัตลักษณ์ของสมัชชาปฏิรูป เป็นหลักสำ�คัญในการ ทำ�งาน o มีการกำ�หนดเป้าหมายร่วม วางยุทธศาสตร์ในการขับเคลือ่ น

และแนวทางการหนุนเสริม ทรัพยากรจากภาคียุทธศาสตร์ให้ ชัดเจน >> แนวทางที่ ๓ สร้างพันธะสัญญาของเครือ ข่ายในการขับ เคลื่อนต่อ (แม้จะไม่มีสำ�นักงานปฏิรูป) o มีการวางเป้าหมายร่วมและ ยุทธศาสตร์การทำ�งานให้ ชัด ผลักดันให้ภารกิจการ ปฏิรูป เป็นภาระของทุกกลุ่ม/องค์กร/ เครือข่าย ที่จะขับเคลื่อนร่วมกัน o ถักทอเครือข่าย ทำ� Social mapping เครือข่ายในพื้นที่ มี เวทีเครือข่ายเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงการทำ�งาน และมีการทำ� กิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในด้านการเชือ่ มโยงประเด็นและ การจับคู่กิจกรรม

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

ชงพ.ร.บ.เกษตรกรรมยั่งยืน

เป็นวาระแห่งชาติ

เสนอยกร่างพ.ร.บ.ส่งเสริมสนับสนุนระบบเกษตรกรรมยั่งยืน พร้อมเลิกหรือแก้ไขพ.ร.บ.ที่กระทบต่อการพัฒนาและขยายผลเกษตรกรรม เพื่อคุ้มครองเกษตรกร โดยเสนอให้เป็นวาระแห่งชาติให้แล้วเสร็จ ในปี 2556 พร้อมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมเยียวยาชดเชย ความเสียหายจากการเปิดเสรีการค้าการลงทุนหรือเออีซี.ด้วย ดร.วณี ปิ่นประทีป รองผู้ อำ�นวยการ สำ�นักงานปฏิรปู เปิดเผยว่า ทีป่ ระชุมสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติครัง้ ที่ 2 เมื่อเร็วๆนี้ ได้พิจารณาเรื่อง การ ปฏิรูประบบเกษตรกรรม : เพื่อความ เป็นธรรมและความมั่นคงทางอาหาร แล้วมีมติ ให้รัฐบาลและหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง โดยการมีสว่ นร่วมขององค์กร เกษตร ผลักดันให้มีพ.ร.บ.ที่ส่งเสริม และสนับสนุนระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ให้ เ ป็ น วาระแห่ ง ชาติ เช่ น พ.ร.บ. คุ้ ม ครองพั น ธุ์ พื ช พื้ น เมื อ งเฉพาะถิ่ น พ.ร.บ.คุ้ ม ครองพั น ธุ์ สั ต ว์ พื้ น เมื อ ง พ.ร.บ.คุ้ ม ครองพื้ น ที่ เ กษตรกรรม พ.ร.บ.ควบคุมการใช้สารเคมีการเกษตร ที่เป็นอันตราย และพ.ร.บ.คุ้มครอง ประมงพื้นบ้าน เป็นต้น ขณะเดียวกันก็ให้ยกเลิกและ แก้ไขพ.ร.บ.ที่มีผลกระทบต่อแนวทาง การพั ฒ นาและการขยายผลเกษตร กรรมยั่งยืน สิทธิชุมชน การเข้าถึงการ อนุรกั ษ์ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากร ชีวภาพ เช่น พ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืชฯ และพ.ร.บ.ปุ๋ย เป็นต้น โดยการสนับ สนุนให้มีกลไกการทำ�งานเชิงพื้นที่ทั้ง ระดั บ จั ง หวั ด และตำ � บล พร้ อ มกั บ เร่งรัดให้มกี ารตราพ.ร.บ.พัฒนาเกษตร กรรมยั่ ง ยื น และพ.ร.บ.ว่ า ด้ ว ยการ คุ้ ม ครองเกษตรกรภายใต้ ร ะบบการ เกษตรแบบพันธะสัญญา ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2556 “ส่ ว นการขั บ เคลื่ อ นนั้ น ให้ คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติมอบหมาย หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเช่ น กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ สภาเกษตรกรแห่ง ชาติ และกระทรวงพาณิชย์ สนับสนุน การเตรียมความพร้อมของเกษตรกร รายย่อย การยกระดับวิสาหกิจชุมชน การเกษตรในทุกด้าน ส่งเสริมอุตสาห กรรมชุมชนเพือ่ แปรรูปผลผลิตทางการ เกษตร พร้อมเยียวยาและชดเชยความ

• ดร.วณี ปิ่นประทีป

เสียหายที่เกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการ ค้าและการลงทุน เช่นการเข้าสู่ประชา คมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี ในปี 2558 เป็นต้น” นอกจากนี้ยังมีมติให้องค์กร คุ้มครองผู้บริโภค โดยการสนับสนุน ของหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง รั ฐ และ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรชุมชน สร้างระบบและกลไก สนับสนุนให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลผลิต จากระบบเกษตรกรรมที่ยั่งยืน ผลิต ภัณฑ์จากตลาดเกษตรกร ตลาดท้องถิน่ และมี ส่ ว นร่ ว มในการรณรงค์ เ พื่ อ ไม่ เลือกซือ้ อาหารและผลิตภัณฑ์ทมี่ าจาก กลุ่มธุรกิจที่เอารัดเอาเปรียบเกษตรกร ตามหลักการค้าที่ยุติธรรม เพื่อสนับ สนุนการผลิตทีเ่ ป็นมิตรกับท้องถิน่ และ สิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดจนสุ ข ภาวะของ คนในสังคม ทั้ ง นี้ จ ะต้ อ งมี ร ะบบการรั บ รองผลผลิตเกษตรอินทรีย์ตามมาตร ฐานสากล และระบบสนั บ สนุ น ให้ ผู้ บริโภคได้เลือกซื้อสินค้าเกษตรกรรม ยั่งยืนตามมาตรฐานท้องถิ่นที่ชุมชนมี ส่วนร่วมในการกำ�หนด ด้านอาจารย์พฤกษ์ ยิบมัน ตระศิ ริ จากศู น ย์ วิ จั ย เพื่ อ การเพิ่ ม ผลผลิต คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยา

ลั ย เชี ย งใหม่ ในฐานะประธานคณะ ทำ�งานว่าด้วยการปฏิรูปเกษตรกรรม สมัชชาปฏิรูปฯกล่าวถึงพ.ร.บ.เกษตร กรรมยั่ ง ยื น ว่ า เนื่ อ งจากเรื่ อ งเกษตร กรรมยั่ ง ยื น มี ข อบข่ า ยที่ ต้ อ งเข้ า ไป

• อาจารย์พฤกษ์ ยิบมันตระศิริ

เกีย่ วข้องกับพรบ.หรือกฎหมายอืน่ ๆอีก มาก รวมถึงนโยบายอันเป็นหลักชีน้ �ำ ใน การดำ � เนิ น โครงการต่ า งๆ เช่ น ยุ ท ธ ศาสตร์ ด้ า นการจั ด การอาหารของ ประเทศ ทีจ่ ะเป็นกรอบการดำ�เนินการ ของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ใน การพัฒนาอย่างบูรณาการสำ�หรับการ ผลิตอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย และมีความมั่นคงเพื่อสังคมไทยและ ชาวโลก “เมื่อรัฐบาลได้กำ�หนดยุทธ ศาสตร์ด้านการจัดการอาหารและถ้า ได้มีการหนุนเสริมคู่ขนานกับพ.ร.บ. เกษตรกรรมยั่งยืน จะทำ�ให้กระบวน การขับเคลื่อนความการประสานสอด คล้องไปกับยุทธศาสตร์ดา้ นอาหารของ ชาติ ที่ผ่านมาก็ได้มีการรับฟังความคิด เห็นจากทุกภาคส่วน ซึ่งทำ�ให้เข้าถึง แนวทางทีถ่ กู ต้องว่า พ.ร.บ.เกษตรกรรม ยัง่ ยืน จะสะท้อนคุณภาพชีวติ เกษตรกร อย่างไร ทั้งนี้เพื่อการร่วมกันออกแบบ ส่งเสริม พัฒนาเกษตกรรรมอย่างยัง่ ยืน และมี ส่ ว นร่ ว มจากประชาชนอย่ า ง แท้จริง” ส่ ว นความคื บ หน้ า พ.ร.บ. เกษตรกรรมยั่งยืนนั้น อาจารย์พฤกษ์ กล่าวว่าตามกำ�หนดการนัน้ จะสามารถ ประกาศใช้ในปี 2556 อย่างไรก็ตาม

11

ด้วยวิสยั ทัศน์ของภาครัฐทีม่ กั จะมองว่า เกษตรกรรมยั่งยืน เป็นเรื่องที่ต้องใช้ ระยะเวลาในการดำ�เนินการอยูม่ ากพอ สมควร ดังนั้นรัฐจึงต้องไปขับเคลื่อน โครงการทีม่ องว่าน่าจะเร่งด่วนมากกว่า แต่ก่อน ซึ่งแท้จริงแล้ว เกษตรกรรม ยั่ ง ยื น มี ผ ลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของ ประชาชาติ ทีจ่ ะต้องเร่งสร้างนับแต่วนั นี้เป็นต้นไปเช่นกัน “นอกจากพ.ร.บ.เกษตรกรรม ยั่ ง ยื น ที่ กำ � ลั ง รอคอยแล้ ว “กองทุ น เกษตรกรรมยัง่ ยืน” ก็เป็นอีกหนึง่ ความ หวังที่ได้มีการดำ�ริและขับเคลื่อนมาใน ระดับหนึ่งแล้ว มีการผลักดันแนวคิดนี้ ไปสู่เชิงปฏิบัติระยะหนึ่งแล้ว โดยรูป แบบการดำ�เนินการจะคล้ายคลึงกับ “กองทุนหมู่บ้าน” ที่จะอาศัยให้คนใน พื้ น ที่ ที่ ต้ อ งการเงิ น ทุ น ไปใช้ ใ นการ พัฒนาระบบการผลิตเพื่อปรับเปลี่ยน ไปสูเ่ กษตรกรรมยัง่ ยืน เรือ่ งนีค้ งต้องใช้ เวลาพอสมควร เนื่ อ งจากพ.ร.บ. เกษตรกรรมยั่ ง ยื น ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ก าร ประกาศใช้แต่อย่างใด” •••

@ เกษตรศักดิ์ @ หากไม่ยืนพื้นฐานการเกษตร ไทยจะเป็นประเทศที่ล้าหลัง ได้แต่ตามเขาไปไม่บันยัง กลายเป็นถึงขยะใหญ่ไร้เขตรั้ว ทิ้งพื้นฐานการผลิตไปบริโภค ไม่ชะโงกดูเงากะลาหัว บ้าแต่ซื้อ ซื้อ ซื้อ ถือใยบัว จนขายตัวขายชีวิตจิตวิญญาณ เอาเงินเป็นตัวตังวางมาตรวัด เอาเงินเป็นบรรทัดประหัตประหาร มุ่งเอาเงินเป็นใหญ่ไม่เอางาน โกงกันเป็นทางการทั้งบ้านเมือง ไทยต้องยืนพื้นฐานการเกษตร ไทยต้องเป็นประเทศที่ครบเครื่อง ไร่นาสวนสารพันเป็นฟันเฟือง ไทยจะเปลื้องพันธนาได้สารพัน ต้องปลดปล่อยทุกพลังแห่งการผลิต ต้องปลดปล่อยความคิดที่สร้างสรรค์ ต้องให้คนสร้างทำ�ได้สำ�คัญ ต้องลงมือทำ�กันแต่วันนี้! เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ พฤ.๑๗/๕/๒๕๕๕


12

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

ความสะดวก ไม่ต้องไปกู้เงินนอกระบบ ก็ สามารถรูดบัตรได้ แต่คงจะไม่ครอบคลุม ได้ทั้งหมด เพราะในหมู่บ้านไม่มีที่รูดบัตร ร้านค้าที่ขายเครื่องมืออุปกรณ์การเกษตร บางร้านอาจไม่มีเครื่องรูดบัตร ชาวบ้าน ต้องเดินทางเข้าไปในเมืองหรือตัวอำ�เภอ ธ.ก.ส.เตรียมแจกบัตรเครดิต เกษตรกร 1 ล้านใบทั่วประเทศให้ซื้อปุ๋ย ซึ่งเป็นภาระ พันธุ์ข้าว ยาฆ่าแมลง “เอ็นนู” ห่วงบางรายสมคบพ่อค้ารูดใช้เงินแทนเอาปุ๋ย ด้าน นายบุญช่วย เจียดำ�รงค์ชัย ส่วนดร.พฤกษ์ ชี้ข้อดีของบัตร ไม่ต้องไปกู้เงินนอกระบบ แต่อาจไม่ครอบคลุม รองผู้จัดการธ.ก.ส. กล่าวถึงโครงการพัก • ลักษณ์ วจนานวัช ทุกพื้นที่เพราะห่างตัวเมือง หนี้ดีว่า ตั้งแต่เปิดโครงการเมื่อวันที่ 24 เมษายน-23 พฤษภาคม มีลูกค้าขอเข้า ด้าน นายเอ็นนู ซื่อ โครงการแล้วกว่า 3.12 แสนราย คิดเป็น นายลักษณ์ วจนานวัช ผู้จัดการ สุวรรณ อดีตรองผู้จัดการ มูลหนี้ 3.62 หมื่นล้านบาท จากผู้ที่มีสิทธิ์ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ธ.ก.ส.และในฐานะประธาน กว่า 2.94 ล้านราย คิดเป็นมูลหนีก้ ว่า 3.96 การเกษตร หรือธ.ก.ส. เปิดเผยว่า ธนาคาร คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป แสนล้านบาท เชื่อว่าก่อนปิดโครงการใน จะเปิดตัวโครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกร แสดงความเป็นห่วงว่าเรื่องนี้ วันที่ 20 สิงหาคมนี้ จะมีลูกหนี้เข้ามาตาม อย่างเป็นทางการในวันที่ 16 มิถุนายนนี้ ขึ้นอยู่กับเกษตรกรที่ต้องการ เป้าหมายที่ตั้งไว้ 90-100% โดยตัง้ เป้าแจกบัตรรอบแรกก่อนจำ�นวน 1 ความสะดวกและอยากได้ ล้านใบ ให้แล้วเสร็จในปี 2555 เพื่อ เปิด สำ�หรับเป้าหมายแผนดำ�เนินงาน ปัจจัยการผลิตเพิม่ ขึน้ จริงๆก็ ของธ.ก.ส.ในปีบัญชี 2555 (1 เม.ย.2555ให้เกษตรกรนำ�บัตรไปซือ้ ปัจจัยการผลิต 3 สามารถไปรู ด บั ต รได้ ต าม 31 มี.ค. 2556) ธ.ก.ส.ตั้งเป้าหมายสินเชื่อ อย่างได้แก่ ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ข้าว และยาฆ่า วงเงิน แต่เป็นห่วงว่าเกษตร 6.58 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเป้าหมาย แมลงและเตรียมแจกอีก 1 ล้านใบ รวมเป็น กรบางคนไม่ต้องการปุ๋ยหรือ ปีบญ 2 ล้านใบ ให้แล้วเสร็จในปี 2556 ั ชี 2554 ที่ 8.84% ตัง้ เป้าหมายระดม ส่วนกรณีที่จะให้นำ�ไปรูดซื้อนํ้า และเติมเครื่องจักร เครื่องสูบนํ้า พร้อมกัน ปัจจัยการผลิตจริง แต่ต้องการเงินแล้ว เงินฝาก 7.5 หมื่นล้านบาท โดยจะยังไม่มี มันที่ปั๊มบางจากและปตท. ได้แบบมีส่วน นี้ ยังมอบหมายให้ศกึ ษาขยายแจกบัตรสิน สมคบกับพ่อค้าหรือร้านค้า เช่น ใส่ราคา การประเมินผลกำ�ไร เพราะต้องรอดูความ ลดนัน้ ยังอยูร่ ะหว่างการหารือคาดว่าจะได้ เชื่อไปยังเกษตรกรอื่นๆ นอกเหนือจาก ปุ๋ย 5,000 บาท โดยไม่เอาปุ๋ย แต่รับเงิน ชัดเจนนโยบายรัฐบาล อาทิ โครงการพัก ข้อสรุปในเดือนกรกฎาคมนี้ สำ�หรับการ ชาวนา ที่ ธ.ก.ส. จะแจกจ่าย 2 ล้านใบ ซึ่ง พ่อค้ามา 4,000 บาท แล้วให้พ่อค้าไปหัก หนี้ ลู ก ค้ า ดี ที่ ค าดว่ า จะมี ผ ลกระทบต่ อ เพิม่ เงือ่ นไขในบัตรสินเชือ่ ให้ใช้ซอื้ นํา้ มันได้ หากมี ก ารขยายไปยั ง เกษตรกรอื่ น ๆ ก็ เงินกับ ธ.ก.ส. ซึ่งน่าเป็นห่วงมาก ธ.ก.ส. 8,000 ล้านบาท การนำ�ส่งเงินเข้า จะไม่ก่อให้เกิดหนี้เสีย เพราะธนาคารยัง สามารถเพิม่ จำ�นวนบัตร โดยขณะนี้ เกษตร กองทุ นพัฒนาประเทศที่จะมีผลกระทบ “อีกเรือ่ งหนึง่ คือบริษทั หรือร้าน กำ�หนดวงเงินสินเชื่อในบัตรไม่เกิน 60- กรทีเ่ ป็นลูกค้า ธ.ก.ส. มีจ�ำ นวนกว่า 4 ล้าน ค้าที่มาขึ้นทะเบียนถ้าทำ�ดีตามกติกาก็ดี 4,000 ล้านบาท 80% ของผลผลิตส่วนเหลือเผือ่ ขายเดิม ซึง่ ราย โดยเป็นชาวนากว่า 2.7 ล้านราย โดย เกษตรกรก็สามารถเพิม่ ผลผลิตจากเกษตร ทั้ง นี้ ในช่วง 11 เดือนของปีบัญชี เบื้องต้นจะแจกบัตรสินเชื่อแก่เกษตรกร ผลการศึกษาเรือ่ งการขยายประเภทสินค้า อินทรียไ์ ด้ดขี นึ้ และเป็นประโยชน์ แต่ถา้ ทำ� 2554 ธ.ก.ส. ได้จา่ ยสินเชือ่ ให้กบั เกษตรกร ปลูกข้าวที่มีประวัติการชำ�ระหนี้ ที่ดีก่อน และขยายไปยังเกษตรกรอื่นๆ คาดว่าจะ เป็นธุรกิจอย่างเดียว เกรงว่าเกษตรกรจะ รวมถึงโครงการรัฐบาลทั้งสิ้น 759,841 ก่ อ นหน้ า นี้ นายกิ ต ติ รั ต น์ ณ แล้วเสร็จภายในเดือนมิ.ย.-ก.ค.นี้ ไม่มที างเลือก เพราะตลาดขึน้ อยูก่ บั บริษทั ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 31.55% มี ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรมว.คลัง ปัจจุบนั บัตรสินเชือ่ ธ.ก.ส. มีรา้ น และร้านค้า นอกจากนี้ยังต้องการให้ธุรกิจ กำ�ไร 7,018 ล้านบาท และคาดว่าเมื่อสิ้น ในฐานะประธานคณะกรรมการ ธ.ก.ส. ได้ ค้าที่มาลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการแล้ว ภาคชุมชนมาขึ้นทะเบียนรับบริการด้วย สุดปีบัญชี 31 มี.ค. 2555 จะมีกำ�ไร 8,000 มอบหมายให้ ธ.ก.ส. ศึกษาแนวทางการ 2,000 แห่ง ซึ่งเป็นร้านเครือข่ายธ.ก.ส. แต่ ต้ อ งทำ � ตามกติ ก าและทำ � อย่ า งมี ล้านบาท โดยในปี บัญชี 2554 ธ.ก.ส.มีเงิน เพิ่มประเภทของปัจจัยการผลิตอื่นๆ ที่จะ โดยขณะนี้กำ�ลังเปิดให้ลงทะเบียนร้านค้า คุณภาพด้วย” ฝากรวม 821,721 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจาก สามารถใช้บัตรนี้ได้ จากปัจจุบันบัตรสิน ทั่วไป 1,000 แห่ง ซึ่งธ.ก.ส.ได้เข้มงวดร้าน ปี ขณะที่ดร.พฤกษ์ ยิบมันตระศิริ ก่อน 95,148 ล้านบาท คิดเป็น 13.10% เชื่ อ เกษตรกรจะซื้ อ ได้ เฉพาะปุ๋ย ยาฆ่า ค้าไม่ให้มีการรับใช้บัตรที่ผิดวัตถุประสงค์ จากศูนย์วิจัยเพื่อการเพิ่มผลผลิต คณะ มีสินทรัพย์รวม 976,739 ล้านบาท หนี้สิน แมลง และเมล็ ด พั น ธุ์ โดยมี เ กษตรกร อาทิ นำ�บัตรสินเชื่อเกษตรกรไปรูดเพื่อ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใน 891,574 ล้านบาท และมีหนีท้ ไี่ ม่กอ่ ให้เกิด ร้องขอให้ขยายไปซือ้ สินค้าอุปโภค บริโภค เปลี่ยนเป็นเงินสด ถ้าหากมีการตรวจสอบ ฐานะประธานคณะทำ � งานว่ า ด้ ว ยการ รายได้หรือเอ็นพีแอล 7.64% อาทิ ข้าวสาร เครื่องจักร เครื่องสูบนํ้า นํ้า พบเกษตรกรและร้านค้ามีพฤติกรรมดัง ปฏิรูปเกษตรกรรม สมัชชาปฏิรูปฯมองว่า ••• มันสำ�หรับการเติมรถขนส่งทางการเกษตร กล่าว จะถูกตัดสิทธิ์พร้อมถูกขึ้นบัญชีดำ� โดยหลั ก การแล้ ว ถื อ ว่ า เกษตรกรได้ รั บ

ดีเดย์16 มิ.ย. แจกบัตรเครดิตเกษตรกร หวั่นสมคบพ่อค้ารูดเอาเงินแทนปุ๋ย

นพ.วิ น ย ั นั่งเลขา สปสช. สมัยที่ 2

ผู้สื่อข่าวรายงานเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2555 ว่า ที่สำ�นักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ศูนย์ ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ นาย วิทยา บุรณศิริ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง สาธารณสุข (สธ.) ประชุมบอร์ดกรรม การสรรหาเลขาธิการสำ�นักงานคณะ กรรมการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

(สปสช.) ภายหลังที่ นพ.วินัย สวัสดิวร พ้นวาระไปตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ส่วนผลการเลือกเลขาธิการ สปสช.ครั้งนี้ มีผู้สมัครทั้งหมด 3 คน 3 อันดับ ได้แก่ 1. นพ.วินัย สวัสดิวร อดีต

เลขาธิการ สปสช. 2. นพ.สมเกียรติ วั ฒ นศิ ริ ชั ย กุ ล ภาควิ ช าศั ล ยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ และ 3. นพ.ชาญวิทย์ ทระเทพ ผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นพัฒนาระบบ บริการสาธารณสุข สำ�นักปลัดกระทรวง สาธารณสุข โดยคณะกรรมการสรรหา มีมติเห็นชอบให้ นพ.วินยั สวัสดิวร เป็น เลขาธิการ สปสช. ด้วยคะแนน 22 เสียง ขณะที่นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล มี คะแนน 7 เสียง ส่วน นพ.ชาญวิทย์ ทระ เทพ ไม่ได้รับคะแนนเสียง

ด้านนพ.วินัย สวัสดิวร ว่าที่ เลขาธิการ สปสช.คนใหม่ ยืนยันว่า จะ สานต่องานพัฒนาระบบหลักประกัน สุ ข ภาพให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเน้ น นโยบายของรัฐบาลที่ให้สร้างความเท่า เที ย มของสามกองทุ น ภายใต้ ชุ ด สิ ท ธิ ประโยชน์และหลักการพืน้ ฐานเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการในภาวะ เจ็ บ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ น ที่ มี คุ ณ ภาพอย่ า งทั น ท่วงทีและเข้าถึงการบริการสาธารณสุข ที่จำ�เป็นอย่างทั่วถึง •••

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

เสนอยกร่าง“พรบ.กองทุนยุติธรรม” ลดความเหลื่อมลํ้าเยียวยาผู้เสียหาย ทีป่ ระชุมการปฏิรปู กองทุนยุตธิ รรม เห็นชอบยกร่างขึน้ เป็นพรบ.ให้มฐี านะ เป็นนิตบิ คุ คล เพือ่ ลดความเหลือ่ มลํา้ ในการเยียวยาผูต้ อ้ งหาและจำ�เลย “นักวิชาการ” แนะหักเงินบางส่วน จากค่าขึน้ ศาล ค่าทนายความเข้าสมทบ กองทุน พร้อมรับช่วงสิทธิผเู้ สียหาย นพ.ชูชยั ศุภวงศ์ กรรมการสมัชชาปฏิรปู เปิดเผยผลการประชุมสมัชชาเฉพาะประเด็นเรือ่ ง การปฏิรูปกองทุนยุติธรรม เพื่อหาแนวทางและ ฉันทามติ สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลือ่ มลํา้ ว่ า อุ ป สรรคของคนจนที่ จ ะเข้ า ถึ ง กระบวนการ ยุตธิ รรมยังดำ�รงอยู่ โดยเฉพาะการเข้าสูร่ ะบบการ ประกันตัว ซึ่งหากยังใช้กลไกเดิมอยู่ต่อไป ความ เหลื่อมลํ้าก็จะขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นที่ ประชุมจึงด้วยกับแนวทางแก้ไขที่จะเสนอยกร่าง เป็นพ.ร.บ.กองทุนยุติธรรม ซึ่งจะเป็นเครื่องมือ และยกระดับการช่วยเหลือเยียวยาทางกฎหมาย แก่ประชาชนได้มากขึ้น “การจัดประชุมเฉพาะประเด็นในครั้งนี้ก็ เพื่อให้ตัวแทนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ทำ�ความเข้าใจ และแสดงความคิดเห็นต่อร่างมติในกระบวนการ สมัชชาปฏิรูป ซึ่งเป็นกระบวนการประชาธิปไตย แบบมีส่วนร่วม มีการพิจารณาอย่างเป็นระบบ โปร่งใสชัดเจนในทุกขั้นตอน เพื่อให้ได้ข้อเสนอที่ เป็นรูปธรรมนำ�ไปปฏิบัติได้ พร้อมแลกเปลี่ยน ความคิ ด เห็ น เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป กองทุ น ยุติธรรม ด้วยการสื่อสารสาธารณะผ่านช่องทางที่ หลากหลายและกว้างขวาง มีการติดตามและผลัก ดันข้อเสนออย่างต่อเนื่องให้เกิดผลในทางปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม” ด้าน ผศ.ดร.ปกป้อง ศรีสนิท อาจารย์คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวถึง ภารกิจและแนวทางการให้ความช่วยเหลือทาง ด้านกฎหมายแก่ประชาชนให้เข้าถึงกระบวนการ ยุตธิ รรมผ่านกองทุนยุตธิ รรม ทีไ่ ด้ยกร่างเสนอเป็น พ.ร.บ.ให้มีสถาานะเป็นนิติบุคคลเพื่อเกิดความ สะดวกในการดำ�เนินคดี “โดยเฉพาะการเยี ย วยาผู้ เ สี ย หายและ จำ � เลยที่ ถู ก ยกฟ้ อ งให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องกองทุ น ยุติธรรม ซึ่งแม้ปัจจุบันจะมีพ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้ เสียหายและค่าทดแทนค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดี อาญา พ.ศ.2544 แล้วก็ตาม เพราะประชาชนยัง ต้องมีค่าใช้จ่ายเป็นค่าขึ้นศาล ค่าจ้างทนายความ

• นพ.ชูชัย ศุภวงศ์

• ผศ.ดร.ปกป้อง ศรีสนิท

อีกมากมาย” นอกจากนี้ ยั ง มี ป ระเด็ น การให้ เ งิ น หลั ก ประกันกับผู้ต้องหาหรือจำ�เลยที่น่าเชื่อว่าจะไม่ได้ กระทำ�ความผิด ซึ่งปัจจุบันเงินกองทุนยุติธรรมที่ ได้จากงบประมาณรัฐยังไม่เพียงพอ เพราะความ ต้องการของประชาชนทีใ่ ห้กองทุนช่วยเหลือมีมาก ทำ�ให้รัฐเสียโอกาสที่จะนำ�งบประมาณไปพัฒนา ส่วนอืน่ ๆ “บางคดีเมือ่ ใช้เงินประกันตัวออกมาแล้ว ผูต้ อ้ งหาหลบหนี เงินประกันซึง่ มาจากงบประมาณ ของรัฐก็สญ ู เปล่า จึงอยากให้พจิ ารณาการประกัน จากพฤติ ก รรมมากกว่ า ใช้ เ งิ น หรื อ หลั ก ทรั พ ย์ ประกัน” ขณะเดี ย วกั น ผศ.ดร.ปกป้ อ ง ได้ เ สนอ แนวทางแก้ ปั ญ หาเพื่ อ เพิ่ ม รายได้ ข องกองทุ น ยุติธรรม โดยให้ศาลนำ�ส่งเงินบางส่วนจากค่าขึ้น ศาลสมทบเข้ากองทุน เพื่อใช้เป็นค่าขึ้นศาลให้กับ ผู้ยากไร้ รวมทั้งทนายความก็นำ�ส่งเงินสมทบเข้า กองทุนเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังให้นำ�เงินที่ศาล บังคับหลักประกันของผู้ต้องหาหรือจำ�เลยที่หลบ หนี บ างส่ ว นเข้ า กองทุ น เพื่ อ มาใช้ ป ระกั น ตั ว ผู้ ต้องหาหรือจำ�เลยด้วย “เมื่ อ กองทุ น ยุ ติ ธ รรมมี ส ถานะเป็ น นิ ติ บุคคลตามพ.ร.บ.แล้ว จะสามารถเพิ่มรายได้ตาม หลัก Solidality โดยหักเงินบางส่วนของเบี้ย ประกันภัยของทัง้ ประเทศเข้ากองทุน เพือ่ ไปเยียว ยาผู้เสียหายที่ยากไร้และไม่มีโอกาสประกันภัย ขณะเดียวกันกองทุนก็สามารถรับช่วงสิทธิของผู้ เสียหายไปไล่เบีย้ กับผูก้ ระทำ�ความผิดทีแ่ ท้จริงได้” สำ�หรับร่างพ.ร.บ.กองทุนยุติธรรมพ.ศ.... ประกอบด้วยหมวด 1 กองทุนยุติธรรม หมวด 2 คณะกรรมการกองทุนยุติธรรม หมวด 3 การเข้า ถึงกระบวนการยุตธิ รรม และหมวด 4 การเยียวยา ผู้เสียหายในคดีอาญาและจำ�เลยที่ถูกยกฟ้องคดี อาญา •••

13

• ต่ อ จ า ก ห น้ า 3

ที่นี่...สถานีปฏิรูป

• พลานุภาพ •

ทัว่ ไปเราจะพบว่าปัญหาของประชาธิปไตย ไม่ได้มเี ฉพาะ เรือ่ งของพรรคการเมือง หรือคุณธรรมของนักกการเมือง แต่อยูท่ โี่ ครงสร้างของรัฐ และโครงสร้างตลาด รัฐได้แปร สภาพจากรัฐที่รวมศูนย์อำ�นาจ กลายเป็นรัฐตลาด “สิ่งที่เห็นได้ชัด คือ นโยบายประชานิยม ที่มุ่ง ที่จะซื้อคะแนนเสียงจากประชาชน ซื้อขายคะแนนเสียง จนกลายเป็นการแลกเปลี่ยนทางการเมือง อำ�นาจที่ได้ ไปก็น�ำ ไปทำ�ให้ประชาชนให้สนับสนุนโดยหวังได้เสียงคืน มา นักการเมืองวันนี้พยายามทำ�สองอย่าง คือ มือหนึ่ง แย่งชิงงบประมาณมาเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว อีกมือหนึ่งก็นำ�งบประมาณลงไปให้ประชาชน เพื่อหวัง ซื้อเสียงให้ตัวเอง” ยุคนี้ต้องยอมรับว่า ตลาดมีอำ�นาจมากกว่ารัฐ รัฐต้องทำ�ทุกวิถีทางที่จะรักษาตลาดไว้ โดยเฉพาะตลาด ทุน ที่เป็นเครื่องบ่งชี้เสถียรภาพของรัฐบาล ทำ�ให้ฝ่าย การเมืองพยายามรักษากฎหมายสร้างมาตรการต่างๆ เพื่อที่จะชักจูงให้เกิดการลงทุนจากต่างประเทศเข้ามา ทำ�ให้อิทธิพลของตลาดได้มีส่วนในการกำ�หนดนโยบาย ของรั ฐ หลายอย่ า ง เช่ น นโยบายต่ า งประเทศ และ เศรษฐกิจ เพื่อเป็นหลักประกันว่านักลงทุนเข้ามาใน ประเทศต้องได้รับการคุ้มครอง ต่างๆ เหล่านี้ทำ�ให้ ลักษณะดั้งเดิมของรัฐเปลี่ยนแปลงไป โดยที่ให้ความ

>> ศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช

สำ�คัญต่อเอกชนหรือตลาดมากกว่าภาคประชาสังคม สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมด เพื่อที่จะชี้ให้เห็นว่า เมื่อดู ความสัมพันธ์ของรัฐตลาด และชุมชน ในปัจจุบนั จะพบ ว่าตลาดเติบโตขึ้นมาก ปริมาณความสำ�คัญของธุรกรรม การเงินของตลาดของบรรษัทข้ามชาติต่างๆ มีมากกว่า งบประมาณของรัฐหลายร้อยเท่า ตลาดขยายตัวโดยมี เครื่องมือของตัวเอง ระบบราชการและชุมชนด้อยกว่า เป็นอย่างมาก เพราะวันนี้ประชาสังคมถูกประกบอยู่ตรง กลาง ระหว่างอำ�นาจรัฐที่รวมศูนย์และไม่เป็นกลาง กับ อำ�นาจตลาดที่รุกรานชีวิตของประชาชนในรูปแบบของ ระบบทุนนิยมต่างๆ ดังนัน้ ทางออกของปัญหานี้ คือ ต้อง มีเศรษฐกิจพอเพียง พึง่ ตัวเองให้ได้ เพือ่ ปฏิเสธทัง้ อำ�นาจ รัฐและอำ�นาจตลาด “ปัญหาของประชาธิปไตยนั้น เป็นปัญหา ของอำ�นาจรัฐและอำ�นาจตลาด ที่ทั้งสองอำ�นาจยังไม่ เสรีอย่างแท้จริง ทำ�ให้เสรีประชาธิปไตยที่แท้จริง เหมื อ นในต่ า งประเทศยั ง ไม่ ส ามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ เ ลย ตราบเท่าที่ยังมีความพยายามเข้าไปยึดกุมอำ�นาจรัฐ และนำ � อำ � นาจรั ฐ ไปออกนโยบายเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กลุ่ ม นายทุ น ความเป็ น อิ ส ระเสรี ข องรั ฐ และตลาดไม่ สามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ แ ล้ ว ก็ จ ะเป็ น ความกดดั น ให้ ประชาชนปลีกตัวออกจากอำ�นาจทั้งสอง” •••


14

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

ได้เพียงร้อยละ 1.9 อย่างนํ้าท่วม ยาว นาน 100 วัน ก็จะเหลือ 98 วัน หรือใน พืน้ ทีน่ าํ้ ท่วมปกติ 1 เมตร เป็นเวลา 1-7 วัน นํ้าท่วมอาจจะลดลงเป็น 70 เซนติ เมตร ใน 5 วัน ซึ่งคุ้มค่าหรือไม่กับการ ทำ�ลายป่าที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด และยัง ทำ�ลายสัตว์ป่ามากมาย เพราะอย่าลืม ว่าปัจจุบนั ป่าไม้ของไทยก็เริม่ ลดน้อยลง ที่มีอยู่ยังจะทำ�ลายอีกหรืออย่างไร” นอกจากนีใ้ นช่วงเดือน กรกฎา คมนี้ มูลนิธิสืบฯจะร่วมกับเครือข่าย อนุรักษ์ต่างๆ จัดประชุมวิชาการเพื่อ รวบรวมนักวิชาการดำ�เนินการรวบรวม ข้อมูลการศึกษาผล กระทบต่างๆ รวม ทั้งแนวทางออกในการป้องกันนํ้าท่วม กรณีการสร้างเขื่อนแม่วงก์ถือว่าไม่คุ้ม

มูลนิธิ สืบฯเดินหน้า คัดค้านสร้างเขื่อน แม่วงศ์ ต่อเนื่อง ชี้ไม่คุ้มค่าช่วยลด น้ำ�ท่วมแค่ร้อยละ 1.9 แต่กระทบป่าสมบูรณ์ หมื่นไร่ สมาคมต่อต้าน ภาวะโลกร้อนยื่นศาล ปกครอง นักศึกษา คอทส.16 สถาบันจี้รัฐ เลิกมติครม.“ธีระ”แจง สภาฯ ทุกอย่างพร้อม คาดเสร็จ ปี 62 จากกรณีที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 อ นุ มั ติ ใ น ห ลั ก ก า ร ใ ห้ ก ร ม ช ล ประทานก่ อ สร้ า งเขื่ อ นแม่ ว งก์ จ.นครสวรรค์ ในลุม่ เเม่นาํ้ สะแกกรัง เพื่อแก้ไขปัญหานํ้าท่วมภาคกลาง ส่งผลให้กลุม่ ประชาชน นักวิชาการ และนักอนุรักษ์ ทั้งมูลนิธิสืบนาคะ เสถียร มูลนิธิโลกสีเขียว และเครือ ข่ า ยต่ า งๆ ออกมาเคลื่ อ นไหว คัดค้านโครงการดังกล่าว โ ด ย ไ ด้ ยื่ น ห นั ง สื อ ถึ ง น.ส.ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร นายก รัฐมนตรี ขอให้ทบทวนและยกเลิก มติดังกล่าว เนื่องจากโครงการนี้ ทำ�ลายป่าสมบูรณ์ในอุทยานแห่ง ชาติแม่วงก์พื้นที่กว่า หมื่นไร่ และ ทำ � ลายที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ ป่ า หา ยากอีกกว่าหลายร้อยชนิด ขณะที่ ป้องกันนํ้าท่วมได้เพียงร้อยละ 1.9 เท่านั้น ล่าสุดวันที่ 19 พฤษภาคม มูลนิธสิ บื นาคะเสถียร ร่วมกับกลุม่ บิ๊ก ทรีส์ และมูลนิธิโลกสีเขียว จัด เวทีรวมพลคนสื่อเรื่องเขื่อนแม่วงก์ ที่หอศิลปและวัฒนธรรมกรุงเทพ มหานคร โดยนายศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ สื บ นาคะเสถี ย ร เปิดเผยว่า หลังจากมีการยืน่ หนังสือ ถึงนายกรัฐมนตรีคัดค้านโครงการ ดังกล่าว จนบัดนี้รัฐบาลก็ยังคงนิ่ง เฉย แต่ เ ครื อ ข่ า ยอนุ รั ก ษ์ ฯ จะไม่ หยุ ด นิ่ ง และจะสื่ อ สารข้ อ มู ล ให้ ประชาชนได้รับทราบข้อเท็จจริง เนื่ อ งจากเป็ น โครงการ ใหญ่ของกรมชลประทานในการใช้ พื้นที่บริเวณเขาสบกก เขตอุทยาน

• อุทยานแห่งชาติแม่วงก์

รุมคัดค้านสร้างเขือ ่ นแม่วงก์ สัญญาณต้าน‘ยืดเยือ้ เรือ้ รัง’

แห่งชาติแม่วงก์ จ.นครสวรรค์ สร้าง เขื่อนความจุสูงสุดที่ 250 ล้านลูกบาศก์ เมตร (ลบ.ม.) รองรับนํา้ ท่วมได้ประมาณ 17 ตารางกิโลเมตร (ต.ร.กม.) หรือ ประมาณ 11,000 ไร่ ใช้งบประมาณสูง 13,000 ล้านบาท โดยกำ�หนดก่อสร้าง แล้วเสร็จปี 2562 ซึ่งรัฐบาลไม่เคยเปิด เผยว่ า จะป้ อ งกั น นํ้ า ท่ ว มได้ ม ากน้ อ ย เพียงใด และผลกระทบจะเป็นเช่นใด “ได้ มี ค วามพยายามทำ � ราย งานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิง่ แวด ล้อม หรืออีไอเอ (EIA) เมื่อปี 2540 แต่ ถูกคัดค้าน เนื่องจากไม่ได้ศึกษาผลกระ ทบของสัตว์ป่า ทั้งๆ ที่แม่วงก์เป็นพื้นที่ ที่อุดมสมบูรณ์มากที่สุดในไทยรองจาก ห้วยขาแข้ง และล่าสุดยังพบเสือโคร่งอยู่ ในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งจัดเป็นสัตว์อนุรักษ์ ที่หายาก โดยในไทยมีเพียง 300 ตัว ขณะที่ทั่วโลกมีประมาณ 3,500 ตัว” นายศศินกล่าว อีกว่า ประเด็น สำ�คัญของการสร้างเขือ่ นแม่วงก์ มักอ้าง ถึงประโยชน์ในการป้องกันนํ้าท่วม โดย ให้ข้อมูลว่าจะสามารถป้องกันนํ้าท่วม ในลุ่มนํ้าแม่วงก์ อ.แม่วงก์ และ อ.ลาด ยาว จ.นครสวรรค์ แต่ความเป็นจริง สภาพภูมิศาสตร์ของ อ.แม่วงก์ และ อ.ลาดยาว มีลกั ษณะเป็นพืน้ ทีล่ าดเอียง คื อ มี พื้ น ที่ สู ง ทางทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวันตก และลาดเอียงลง ซึง่ มีลกั ษณะ

• นายศศิน เฉลิมลาภ

เป็นแอ่งรับนํ้าอยู่แล้ว ในกรณีที่เกิดฝน ตกหนักนํ้าจะหลากจากพื้นที่สูง ได้แก่ ทิศเหนือจาก จ.กำ�แพงเพชร ทิศตะวัน ออกจาก อ.บรรพตพิสยั และ อ.เก้าเลีย้ ว ทิศตะวันตกเฉียงเหนือจาก อ.แม่วงก์ และทิศตะวันตกจากกิ่ง อ.แม่เปิน และ กิ่ง อ.ชุมตาบง ลงมาสู่ อ.ลาดยาว ซึ่ง ลักษณะนี้เป็นธรรมชาติตั้งแต่ต้น “สาเหตุหลักของนํ้าท่วมลุ่มนํ้า แม่วงก์มาจากนํ้าที่หลากจากพื้นที่อื่นๆ ไม่ใช่นํ้าที่ไหลมาจากลุ่มนํ้าแม่วงก์ทั้ง หมด ดั ง นั้ น หากสร้ า งเขื่ อ นแม่ ว งก์ บริเวณเขาสบกก จะเป็นการกั้นลำ�นํ้า แม่วงก์เพียงสายเดียว แต่ลำ�นํ้าที่ไหล ผ่านลุ่มนํ้านี้ มีอีกหลายสายที่ไหลมา บรรจบกับนํา้ แม่วงก์ ซึง่ เป็นสาเหตุหนึง่ ของนํ้าท่วมในตัวเมือง อ.ลาดยาว ซึ่ง หากป้องกันนํ้าท่วมนั้น อาจช่วยได้ใน บางพื้นที่ เช่น อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัย ธานีบ้าง กล่าวคือ หากสร้างเขื่อนความ จุ 250 ล้าน ลบ.ม. จะลดปัญหานํ้าท่วม

• นายธีระ วงศ์สมุทร

โดยจะจั ด นิ ท รรศการและกิ จ กรรม รณรงค์รักษาอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ อย่างต่อ เนื่องด้วย ก่อน หน้านี้นายประสาท ตัน ประเสริฐ ส.ส.นครสวรรค์ พรรคชาติ พัฒนา ได้ตั้งกระทู้ถามสดนายกฯ ใน การประชุ ม สภาผู้ แ ทนราษฎร ว่ า งบ ประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างเขื่อนแม่ วงศ์ จากการตรวจสอบตามร่างพระราช บัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ไม่ได้ระบุไว้ อีกทั้งงบประมาณที่จัดสรร จะนำ�ไปใช้ ในกิจการใดบ้าง ขณะที่ นายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ชี้แจงแทนนายกฯ ว่า เขื่อนแม่ วงก์เป็นโครงการที่ชาวนครสวรรค์รอ คอยมานานกว่า 30 ปี โดยมีการบรรจุ ไว้ ใ นแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติฉบับที่ 5 ซึ่งมีการศึกษาผล กระทบทั้ ง ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและด้ า น

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

ต่างๆ ไปเสร็จสิน้ แล้ว ใช้งบประมาณ 13,280 ล้ า นบาท และเหตุ ที่ ง บ ประมาณไม่ปรากฏในร่างพ.ร.บ.งบ ประมาณ 2556 เพราะมีแผนใช้เงิน กู้ตามพ.ร.ก.ให้อ�ำ นาจกระทรวงการ คลังเพื่อวางระบบบริหารจัดการนํ้า และสร้างอนาคตของประเทศ โดย แบ่งเป็นเงินกู้ตามโครงการ 9,000 ล้านบาท ส่วนทีเ่ หลือใช้งบปกติ อาทิ งบประมาณดำ � เนิ น การก่ อ สร้ า ง 3,000 ล้านบาท งบประมาณแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม 600 ล้านบาท ทั้ ง นี้ เ มื่ อ ทุ ก อย่ า งพร้ อ มก็ จ ะเริ่ ม ดำ�เนินการได้โดยโครงการจะดำ�เนิน การเสร็จ สิ้นภายในปี 2562 ส่วนสมาคมต่อต้านสภาวะ โลกร้อนขึ้นเว็บไซต์สังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ก เพื่อหาแนวร่วมในการยื่น ฟ้องระงับ หรือเพิกถอนโครงการ สร้างเขื่อนแม่วงก์ จ.นครสวรรค์ ต่อ ศาลปกครอง ขณะที่ ก ลุ่ ม อดี ต นั ก ศึกษาที่เคยทำ�กิจกรรมร่วมกับคณะ กรรมการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรม ชาติ และสภาพแวดล้อม 16 สถาบัน (คอทส.) ออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 17 เมษายน คัดค้านการก่อสร้าง เขื่อนแม่วงก์ โดยระบุว่า มติครม. เป็นการตัดสินใจเร่งด่วน และขาด ความรัดกุม โดยอาศัยสถานการณ์นาํ้ ท่วมใหญ่เมื่อปลายปี 2554 เป็นข้อ อ้างอย่างเลื่อนลอย และขาดกระ บวนการรับฟังความคิดเห็นจากภาค สังคม ประชาชน นักวิชาการ ผู้เชี่ยว ชาญจากสาขาต่ า งๆ จึ ง เสนอให้ รัฐบาลยกเลิกมติครม. เมื่อวันที่ 10 เมษายน และให้ ก รมชลประทาน กลับไปศึกษาเพิ่มเติม ในเรื่องการ บริหารจัดการลุม่ นํา้ ทัง้ ระบบ รวมทัง้ เสนอให้รฐั บาลสร้างกระบวนการรับ ฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่าง เป็นรูปธรรม อนึ่ง โครงการเขื่อนแม่วงก์ นี้ กรมชลประทาน เสนอให้สร้าง ตั้งแต่ปี 2528 ความจุนํ้า 380 ล้าน ลบ.ม. โดยใช้งบฯก่อสร้าง 3,187 ล้านบาท ต่อมาเมื่อเดือนสิงหาคม 2554 กรมชลประทานเพิ่ ม งบ ประมาณเป็น 9,629 ล้านบาท แต่ลด ความจุของเขื่อน เหลือเพียง 258 ล้านลบ.ม. แต่ในวันที่ ครม.อนุมัตินี้ วงเงินก่อสร้างกลับพุ่งพรวดขึ้นเป็น 13,000ล้านบาท •••

15

• ต่ อ จ า ก ห น้ า 2

รายงานพิเศษ

เครือข่ายศิลปินเดินหน้า

“เล่าเรื่องโกง”

ปลุกสำ�นักสังคมต้าน “โกง” ทั่วประเทศ! ส่ ว นงานฉาย ภาพยนตร์ สั้ น “เล่ า เรื่องโกง” ที่ได้รับราง วัลจากผู้กำ�กับดาวรุ่ง 3 เรื่องและผลงานผู้กำ�กับ กิตติมศักดิ์ 5 เรื่อง ที่โรง ภาพยนตร์สกาล่า ประกอบด้ ว ย ผู้ กำ�กับดาวรุ่ง เรื่ อ ง “สี่ แ ยก” โดยที ม ระเบียงฟิลม์ รางวัลชนะเลิศ มีเนือ้ เรื่องย่อ “อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกลางสี่ แยก ระหว่างพ่อที่กำ�ลังขับรถไปส่ง ลูกกับแม่ค้าเก็บของเก่าขาย ที่ต่าง คนต่ า งไม่ ย อมรั บ ผิ ด ถึ ง แม้ จ ะมี ตำ�รวจหรือประกันมาช่วยจัดการให้ แล้วการต่อสู้เพื่อความจริงจึงเกิด ขึ้น” เรือ่ ง “เหรียญ” โดยทีม ดวง ดีโปรดักชั่น รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 มีเนือ้ เรือ่ งย่อ “ในยุคทีเ่ งิน ตรามีอิทธิพลต่อชีวิตและจิตใจของ มนุษย์มากกว่าศีลธรรม ผู้คนทำ�ทุก วิธีทางเพื่อถีบตัวเองให้อยู่รอด การ เดิ น ทางของเหรี ย ญสิ บ สะท้ อ น วังวนการเอารัดเอาเปรียบคนอื่น เล็กๆน้อยๆที่จะดูเป็นเรื่องธรรมดา ไปแล้วในสังคมไทย” เรื่ อ ง “ไก่ ตั ว สุ ด ท้ า ย” โดยทีม ห่างห่างฟิลม์ รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 2 มีเนื้อเรื่อง ย่อ “ชายคนหนึ่งจำ�เป็นต้อง ใช้เอกสารทีด่ นิ หลังจากเจ้า หน้าที่วัดที่เสร็จก็ได้มาดื่ม กินที่บ้านของชายผู้นั้น ก่อน กลับ เจ้าหน้าที่ได้พูดถึงความ ยากของกระบวนการในการทำ� เอกสารดังกล่าว แล้วขอเงิน จากชายผู้นั้น โดยเรื่องทั้งหมด อยู่ในสายตาของลูกชาย”

สำ�หรับผลงานผู้กำ�กับ

กิตติมศักดิ์ เรื่อง “ภิกษุณี” โดย คุณ ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ มีเนื้อเรื่องย่อ “สมใจ สาวใหญ่ วัย 40 ปี ตัดสินใจแน่วแน่วา่ จะบวชเป็น พระ จึงเดินเข้าไปในโบสถ์ขอให้หลวง พ่ อ บวชให้ แต่ ก ารบวชเป็ น พระใน พระพุทธศาสนาในประเทศไทยนั้นมี เพียงเพศชายเท่านัน้ ทีส่ ามารถบวชเป็น พระภิกษุได้” เรื่อง “โกง” โดย คุณโสภณ ศักดาพิสิษฐ์ มีเนื้อเรื่องย่อ “วงจรของ การโกงเกิดขึน้ และดับลงทุกวัน ตามแต่ กรรมของคนจะทำ�ให้มันเกิดขึ้น และ แน่นอนว่าเมื่อมีกรรมก็ย่อมต้องมีผล ของกรรมตามมา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึง่ บางครัง้ ผลของกรรมนัน้ อาจวนกลับ มาหาเราอย่างรวดเร็วจนคาดไม่ถึง” เรือ่ ง “ไฟท์บงั คับ” โดย คุณอิน ทิ ร า เจริ ญ ปุ ร ะ และ คุ ณ ช า ค ร

ไชยปรีชา มีเนื้อเรื่องย่อ “ปลายฟ้า นัก แสดงสาววั ย รุ่ น กั บ หนึ่ ง วั น อั น แสน วุ่นวายของเธอ ด้วยตารางงานอันแน่น ขนัดที่บีบบังคับให้เธอต้อง “โกง” เพื่อ ทำ�ให้ทุกอย่างราบรื่น ทว่าตัวตนหน้า ฉากหรือหลังกล้องกันแน่ที่เป็นตัวจริง ของเธอ” เรื่อง “สิบหมื่น” โดย คุณเป็น เอก รัตนเรือง มีเนื้อเรื่องย่อ “หนังเล่า เรือ่ งอารยะ คนเก็บหนีน้ อกระบบทีต่ อ้ ง ต่อสู้กับเรื่องในระบบของวงการภาพ ยนตร์ที่มันผิดเพี้ยน” และเรือ่ ง “กล้วยแขก” โดย คุณ อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง มีเนื้อ เรื่ อ งย่ อ “เรื่ อ งราวบนท้ อ ง ถนนของชายคนหนึ่งกับเด็ก ข า ย ก ล้ ว ย แข ก เ กี่ ย ว กั บ พฤติกรรมการโกงในสังคม”


16

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

สมบัติของชาติ คนไทยไม่ทิ้งกัน

ต้นฉบับชุดที่1 ///////////////////////////////////////////// เสนอยกร่าง”พรบ.กองทุนยุติธรรม” ลดความเหลื่อมล้ำ�เยียวยาผู้เสียหาย ที่ประชุมการปฏิรูปกองทุนยุติธรรมเห็นชอบยกร่างขึ้นเป็นพรบ.ให้มีฐานะเป็น นิ ติ บุ ค คล เพื่ อ ลดความเหลื่ อ มล้ำ � ในการเยี ย วยาผู้ ต้ อ งหาและจำ � เลย “นั ก วิชาการ”แนะหักเงินบางส่วนจากค่าขึน้ ศาล ค่าทนายความเข้าสมทบกองทุน พร้อม รับช่วงสิทธิผู้เสียหายไปไล่เบี้ยคนผิดที่แท้จริงได้ นพ.ชูชัย ศุภวงศ์ กรรมการสมัชชาปฏิรูป เปิดเผยผลการประชุมสมัชชา เฉพาะประเด็นเรือ่ งการปฏิรปู กองทุนยุตธิ รรม เพือ่ หาแนวทางและฉันทามติ สร้าง ความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ�ว่าอุปสรรคของคนจนที่จะเข้าถึงกระบวนการ ยุตธิ รรมยังดำ�รงอยู่ โดยเฉพาะการเข้าสูร่ ะบบการประกันตัว ซึง่ หากยังใช้กลไกเดิม อยู่ต่อไป ความเหลื่อมล้ำ�ก็จะขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นที่ประชุมจึงด้วยกับ แนวทางแก้ไขที่จะเสนอยกร่างเป็นพรบ.กองทุนยุติธรรม ซึ่งจะเป็นเครื่องมือและ ยกระดับการช่วยเหลือเยียวยาทางกฎหมายแก่ประชาชนได้มากขึ้น “การจัดประชุมเฉพาะประเด็นในครัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้ตวั แทนผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องได้ ทำ�ความเข้าใจและแสดงความคิดเห็นต่อร่างมติในกระบวนการสมัชชาปฏิรูป ซึ่ง เป็นกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม มีการพิจารณาอย่างเป็นระบบ โปร่งใสชัดเจนในทุกขัน้ ตอน เพือ่ ให้ได้ขอ้ เสนอทีเ่ ป็นรูปธรรมนำ�ไปปฏิบตั ไิ ด้ พร้อม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปกองทุนยุติธรรม ด้วยการสื่อสาร สาธารณะผ่านช่องทางที่หลากหลายและกว้างขวาง มีการติดตามและผลักดันข้อ เสนออย่างต่อเนื่องให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม” ด้ า นผศ.ดร.ปกป้ อ ง ศรี ส นิ ท อาจารย์ ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ กล่าวถึงภารกิจและแนวทางการให้ความช่วยเหลือทางด้านกฎหมาย แก่ประชาชนให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมผ่านกองทุนยุติธรรม ที่ได้ยกร่างเสนอ เป็นพ.ร.บ.ให้มีสถาานะเป็นนิติบุคคลเพื่อเกิดความสะดวกในการดำ�เนินคดี

• รองชนะเลิศอันดับที่ 1 (ประเภทประชาชนทั่วไป) นายอดิศร ฉาบสูงเนิน ชื่อภาพ สู้เต็มกำ�ลัง

• รางวัลชนะเลิศ (ประเภทประชาชนทั่วไป) นายอนุสรณ์ สนะพันธ์ ชื่อภาพ จิตอาสา

• รองชนะเลิศอันดับที่ 2 (ประเภทประชาชนทั่วไป) นายชลิต สภาภักดิ์ ชื่อภาพ เพื่อปกป้อง

พลเอกศรุต นาควัชระ กรรมการมูลนิธิ รัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ พร้อมด้วย นางฐาณิยา พงษ์ศิริ ผู้อำ�นวยการสถานีโทรทัศน์ TNN2 และ นายครรชิต ปิตะกา หัวหน้าฝ่ายสื่อสาร สังคม สำ�นักงานปฏิรูป (สปร.) และคณะได้นำ� ภาพถ่ายจากโครงการประกวดภาพถ่าย “อุทกภัย 2554 คนไทยไม่ทิ้งกัน” จำ�นวน 607 ภาพ ไปมอบให้กับ นางทิพย์วรรณา ชุ่มเพ็งพันธ์ ผู้อำ�นวยการ สำ�นักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เพื่อเป็น สมบัติของชาติและเก็บรวบรวมเป็นข้อมูล ในการจัดทำ�หนังสือเกี่ยวกับเหตุการณ์นํ้าท่วม ในประเทศไทยในเร็วๆ นี้

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2555

“โดยเฉพาะการเยียวยาผู้เสียหายและจำ�เลยที่ถูกยกฟ้องให้เป็นหน้าที่ ของกองทุนยุตธิ รรม ซึง่ แม้ปจั จุบนั จะมีพรบ.ค่าตอบแทนผูเ้ สียหายและค่าทดแทน ค่าใช้จา่ ยแก่จ�ำ เลยในคดีอาญาพ.ศ.2544แล้วก็ตาม เพราะประชาชนยังต้องมีคา่ ใช้ จ่ายเป็นค่าขึ้นศาล ค่าจ้างทนายความอีกมากมาย” นอกจากนี้ยังมีประเด็นการให้เงินหลักประกันกับผู้ต้องหาหรือจำ�เลยที่น่า เชือ่ ว่าจะไม่ได้กระทำ�ความผิด ซึง่ ปัจจุบนั เงินกองทุนยุตธิ รรมทีไ่ ด้จากงบประมาณ รัฐยังไม่เพียงพอ เพราะความต้องการของประชาชนที่ให้กองทุนช่วยเหลือมีมาก ทำ�ให้รฐั เสียโอกาสทีจ่ ะนำ�งบประมาณไปพัฒนาส่วนอืน่ ๆ”บางคดีเมือ่ ใช้เงินประกัน ตัวออกมาแล้ว ผูต้ อ้ งหาหลบหนี เงินประกันซึง่ มาจากงบประมาณของรัฐก็สญ ู เปล่า จึงอยากให้พิจารณาการประกันจากพฤติกรรมมากกว่าใช้เงินหรือหลักทรัพย์ ประกัน” ขณะเดียวกัน ผศ.ดร.ปกป้อง ได้เสนอแนวทางแก้ปัญหาเพื่อเพิ่มรายได้ ของกองทุนยุตธิ รรม โดยให้ศาลนำ�ส่งเงินบางส่วนจากค่าขึน้ ศาลสมทบเข้ากองทุน เพือ่ ใช้เป็นค่าขึน้ ศาลให้กบั ผูย้ ากไร้ รวมทัง้ ทนายความก็น�ำ ส่งเงินสมทบเข้ากองทุน เช่นเดียวกัน นอกจากนีย้ งั ให้น�ำ เงินทีศ่ าลบังคับหลักประกันของผูต้ อ้ งหาหรือจำ�เลย ที่หลบหนีบางส่วนเข้ากองทุน เพื่อมาใช้ประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำ�เลยด้วย

17

“เมื่อกองทุนยุติธรรมมีสถานะเป็นนิติบุคคลตามพรบ.แล้ว จะสามารถเพิ่ม รายได้ตามหลัก Solidality โดยหักเงินบางส่วนของเบี้ยประกันภัยของทั้งประเทศ เข้ากองทุน เพื่อไปเยียวยาผู้เสียหายที่ยากไร้และไม่มีโอกาสประกันภัย ขณะ เดียวกันกองทุนก็สามารถรับช่วงสิทธิของผู้เสียหายไปไล่เบี้ยกับผู้กระทำ�ความผิด ที่แท้จริงได้” สำ�หรับร่างพรบ.กองทุนยุติธรรมพ.ศ.... ประกอบด้วยหมวด1 กองทุน ยุติธรรม หมวด2 คณะกรรมการกองทุนยุติธรรม หมวด3 การเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรม และหมวด4 การเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาและจำ�เลยที่ถูกยกฟ้องคดี อาญา ////////////////////////////////////////////////// เครือข่ายศิลปินเดินหน้า “เล่าเรื่องโกง” ปลุกสำ�นักสังคมต้าน “โกง” ทั่วประเทศ!

“เนาวรัตน์” บอกการโกงมี 3รูปแบบ พร้อมระบุสังคมไทย “รับได้” หวั่นเกิดเป็น จริยธรรมใหม่ ชี้ต้องปลูกและปลุกจิตสำ�นึก อย่างเร่งด่วน หวังใช้หนังสั้น เรื่องสั้น ละครเร่ ช่วย ก่อนจะฝังรากลึกจนเกินเยียวยา

ผู้สื่อข่าวรายงาน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมาว่า เครือข่าย ศิลปินเพื่อการปฎิรูป สำ�นักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ สมาคม นั ก เขี ย นแห่ ง ประเทศไทย กองทุ น ศรี บู ร พา สมาคมผู้ กำ � กั บ ภาพยนตร์ ไ ทย หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยและ เครือข่ายสังคมคุณธรรม ศูนย์คณ ุ ธรรม ได้จดั ฉายหนังสัน้ สร้างสรรค์สงั คม “เล่าเรือ่ งโกง” กว่า 20 เรือ่ งและ แสดงละครเร่ ทัง้ ยังจับมือมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ TIGA จัดกิจกรรม “ชวน น้องดูหนัง...หลังสอบเอ็นท์” เพือ่ สะท้อนปัญหา หวังสร้างความเป็นธรรม ลดความ เหลื่อมล้ำ�ในสังคม นายเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ประธานคณะกรรมการเครือข่ายศิลปินเพื่อ การปฎิรูป กล่าวว่า จากสถิติที่พบว่า คนไทยกว่าร้อยละ 64.5 มองว่าการที่ทุกรัฐบาลมีการ ทุจริตคอรัปชัน่ แต่ถา้ มีแล้วทำ�ให้ประเทศชาติ รุง่ เรือง ประชาชน อยูด่ กี นิ ดี ตนเอง ได้รับผลประโยชน์ ด้วยก็ยอมรับได้นั้น กรณีนี้ทำ�ให้เรื่อง”โกง” เป็นเรื่องที่มีความจำ�เป็นอย่างเร่งด่วนที่ต้อง พูด ต้องคุย และกล่าวถึงให้มากขึ้น ก่อนที่เรื่องนี้จะกลายเป็นจริยธรรมใหม่ขึ้นมาซึ่ง เมื่อมองถึงรูปแบบของการโกงที่เกิดขึ้นในสังคมไทยนั้นมีอยู่อย่างหลากหลาย สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) ดื้อตาใส หมายถึง การโกงแบบหน้าด้านๆไร้ยางอายโกงกันซึ่งๆหน้าไม่สนใจ กฎหมายและคุณธรรม 2) ใช้ตัวช่วย หมายถึง พวกที่โกงแบบซ่อนเร้น กลัวถูกจับได้ จึงต้องพยายาม หาเล่ห์เหลี่ยมทุกรูปแบบมาใช้เป็นเครื่องมือ 3) มวยล้มต้มคนดู หมายถึง การโกงแบบฮั้วกัน เรียกว่าทั้งคนโกงและคนยอม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.