มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ#1

Page 1


มติ สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔

โดย คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป (คสป.) จัดพิมพและเผยแพร สํานักงานปฏิรูป (สปร.) พิมพที่ บริษัท วิกิ จํากัด พิมพครั้งแรก เมษายน ๒๕๕๔ จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม

สํานักงานปฏิรูป (สปร.) ๑๒๖/๑๔๖ ชั้น ๔ อาคาร ๑๐ ชั้น สถาบันบําราศนราดูร ซอยติวานนท ๑๔ ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๙๖๕ ๙๕๓๑-๓ โทรสาร ๐ ๒๙๖๕ ๙๕๓๔ เว็บไซต : http://www.reform.or.th ตู ปณ.๑๖ ปทฝ.กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๔ ISBN : ๙๗๘ - ๖๑๖ - ๑๑ - ๐๖๕๘ - ๔

(2)

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


คํานํา ปญหาความไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้าในสังคมไทย เปนปญหาเชิงโครงสรางและ ระบบ เปนปญหาที่แกไขไดยากประดุจการเขยื้อนขุนเขา จําเปนตองใชยุทธศาสตร “สามเหลี่ยม เขยื้อนภูเขา” ซึ่งประกอบดวย ยุทธศาสตรความรู ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนพลังสังคม และ ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนนโยบาย การขับเคลือ่ นโดยขบวนการสมัชชา เปนการขับเคลือ่ นทัง้ สามยุทธศาสตรไปพรอมกัน เริม่ จากการขับเคลื่อนเรื่องความรู ตั้งตนจากการกําหนดประเด็นปญหา หาสาเหตุ กําหนดเปาหมาย และเสนอวิธีการแกไข การขับเคลื่อนเรื่องความรูทําไปพรอมกับการขับเคลื่อนพลังสังคม คือให ทุกภาคสวนของสังคมเขามารวมขับเคลื่อน เพื่อนําไปสูการขับเคลื่อนนโยบายใหมีการแกปญหา เชิงระบบและเชิงโครงสรางตอไป การประชุมสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่ ๑ ระหวางวันที่ ๒๔ – ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔ มี มติออกมารวม ๙ มติ เปนมติในประเด็นตางๆ รวม ๘ เรื่อง และมติที่ ๙ เปนการกําหนดประเด็น ที่จะขับเคลื่อนตอไปในการประชุมสมัชชาระดับชาติครั้งที่ ๒ และ ๓ ในปตอๆ ไป มติในประเด็นตางๆ รวม ๘ เรื่อง มีการวิเคราะหปญหาและสรุปขอเสนออยางกระชับ ชัดเจนและเปนรูปธรรม จุดชี้ขาดที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูที่พลังของภาคประชาชน ที่ จะตองติดตาม ขับเคลื่อนและผลักดันอยางตอเนื่องในลักษณะกัดติด จนเกิดนโยบายนําไปสูการ เปลี่ยนแปลงเชิงระบบและโครงสรางเพื่อใหเกิดความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าไดอยาง แทจริง ทุกภาคสวนจะตองใชมติอันเปนฉันทมติของสมัชชาปฏิรูปนี้ ในการติดตาม ขับเคลื่อน และผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลง เพื่อสันติสุขของสังคมไทยสืบไป คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป สงกรานต ๒๕๕๔

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔

(3)


(4)

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สารบัญ สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๑ การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดินอยางเปนธรรมและยั่งยืน

สมัมัชชาปฏิ มติติ ๒ การปฏิ ชาปฏฏริ ูป ๑. มต การปปฏริ ูปโครงสร โครงสรา งการจัดั การทรัพยากรทะเลและชายฝง

สมัมัชชาปฏิ และทรัรัพยากร ชาปฏฏริ ูป ๑. ๑. มติ ๓ การคืนความเปนธรรมใหแกป ระชาชนกรณี ระชาาชนกรณีที่ดินและทร

สมัมัชั ชาปฏิ ชาปปฏิรูป ๑. มติ ๔ การปฏิรูประบบประกันสังคมเพื คมมเพ่อื ความเปนธรรม

๑๓

สมัมัชั ชาปฏิ ชาปปฏิรูป ๑. มติ ๕ การสรางระบบหลั งระบบหหลกั ประกั ประะกันใในการดํ นการดดํารงชีพแและระบบสั ละระบบสสังคม ที่สรางเสริมสสุ​ุขภภาวะแก าวะะแกกผ ูสูงอายุ อายุ

๑๖

สมัมั​ัชชาป ชาปฏิ ปฏิรูป ๑. มติ ๖ การสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเป เปปนสุขรรวมกัน

๑๙ ๑๙

สมัมัชั ชาปฏิ ยภาพ ชาปปฏิรูป ๑. มติ ๗ การปฏิรูปการกระจายอํานนาจเพื าจเพพื่อเสริมสรางและพัฒนาศักยภา าพ การจัดการตนเองของชุ ธรรมและ การตนเอองขอองชมุ ชนท ชนทองถิ่น สรางความเปนธร รรมและ ลดความเหลื่อมลํ ๒๒ มลล้าํ ในสั ในสสงั คม ๒๒ สมัมัชชาปฏิ ชาาปฏิรูป ๑. ๑. มติ มติ ๘ ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคมม

๒๖

สมัมัชชาปฏิรูป ๑. มมติติ ๙ ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชชาติ าติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓

๓๐

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔

(5)


(6)

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๑

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดิน อยางเปนธรรมและยั่งยืน สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่อง การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดินอยางเปนธรรมและยั่งยืน๑ ตระหนัก วามีความเหลื่อมลํ้าและขาดความเปนธรรมในการจัดการการใชที่ดินของ ประเทศ สงผลใหเกิดปญหาสองประการคือ ความขัดแยงในการใชประโยชนที่ดินระหวางราษฎร กับรัฐ และการกระจายการถือครองที่ดินที่ไมเปนธรรม รับทราบ ถึงการขาดโอกาสของประชาชนในการถือครองที่ดินทํากินและที่อยูอาศัย และความยากลําบากที่ประสบเมื่อถูกจับกุมดําเนินคดีกรณีเขาทํากินและอยูอาศัยในที่ดินของรัฐ เขาใจ วาการแกไขปญหาดังกลาวนี้ตองใชมาตรการหลายดาน โดยเฉพาะการใชวิธีการ จัดใหมีโฉนดชุมชนเพื่อแกไขปญหาความขัดแยงระหวางประชาชนกับรัฐ การจัดตั้งธนาคารที่ดิน เพื่อจัดหาที่ดินใหแกผูไรที่ดินทํากิน และจัดเก็บภาษีที่ดินเพื่อมาเปนเงินทุนหมุนเวียนของ ธนาคารที่ดิน และลดการถือครองที่ดินจํานวนมากลง ชื่นชม ในการกําหนดนโยบายของรัฐบาล เรื่อง โฉนดชุมชน ธนาคารที่ดิน และภาษีที่ดิน ตระหนัก ถึงความตอเนือ่ งของนโยบายของรัฐบาล และอุปสรรคในการแกไขปญหาทัง้ สอง ประการดังกลาวขางตน จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๑

1


๑. เห็นชอบหลักการ ของการจัดการที่ดิน ดังนี้ ๑.๑ ที่ดินเปนสมบัติของชาติ ที่พึงจัดการภายใตหลักการ การเปนเจาของรวม ระหวางรัฐ องคกรชุมชนสาธารณะ และปจเจกบุคคล ๑.๒ การเคารพสิทธิของประชาชนและของชุมชน ในการมีสว นรวมกับรัฐเพือ่ กําหนด กลไกในการเขาถึง การใชประโยชน การอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดรับ ประโยชนจากที่ดิน อีกทั้งในการคุมครองสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๖๖ และ ๖๗ โดยการสรางและสงเสริม การมีสวนรวม และกระจายอํานาจในการ จัดการทรัพยากรโดยประชาชน ชุมชน และทองถิ่น ๒. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอคณะรัฐมนตรี รัฐสภาและพรรคการเมืองตางๆ ดําเนินการผลักดันใหมีกฎหมายรับรองสิทธิในการจัดการที่ดินของชุมชน รวมถึงแกไขกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการจัดการที่ดิน ใหรับรองสิทธิของชุมชนในการมีสวนรวมจัดการที่ดิน ๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรี เพื่อแกไขปญหาความ ขัดแยงระหวางประชาชนกับรัฐในเรื่องการใชประโยชนจากที่ดิน โดย ๓.๑ ใหการรับรองสถานภาพ การเขาอยูอาศัยและทํากินอยางถูกตองตามกฎหมาย ในพื้นที่ของรัฐ ที่มีขอพิพาทอยูในปจจุบัน โดยการจัดใหมีระบบการออก โฉนดชุมชนโดยเร็ว ทั้งนี้การออกโฉนดชุมชนจะตองเปนไปโดยมีกระบวนการ ทีโ่ ปรงใส และใหหนวยงานของรัฐยุตกิ ารขับไล จับกุม ในระหวางการดําเนินการ จัดใหมีโฉนดชุมชนโดยเร็ว ๓.๒ ใหสงเสริม สนับสนุนกระบวนการจัดทําโฉนดชุมชนดวยการใหชุมชน ทองถิ่น และรัฐ รวมกันดําเนินการจัดทําแนวเขตโดยใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) กําหนดกติกา การใชประโยชนอยางยั่งยืน การอนุรักษ การควบคุมกํากับ ดูแล ที่ดิน ปาไมและทรัพยากรธรรมชาติ มิใหถูกบุกรุกทําลายโดยเร็ว ๓.๓ ใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการยกรางพระราชบัญญัติโฉนดชุมชนโดยเร็วที่สุด โดยมอบหมายใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเปนประธาน มีกรรมการประกอบดวย ตัวแทนจากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดทําโฉนดชุมชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาชน จํานวนไมนอยกวา ๑ ใน ๓ ของคณะ กรรมการ แทนการใชระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการจัดใหมีโฉนด ชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓

2

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๔. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป เสนอตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา เพื่อดําเนินการ แกไขปญหาการกระจายการถือครองที่ดินที่ไมเปนธรรม ดังนี้ ๔.๑ จํากัดขนาดการถือครองที่ดิน โดย ๔.๑.๑ สนับสนุนการจัดเก็บภาษีที่ดินในอัตรากาวหนา โดยใหเรงรัดการ ออกกฎหมายการจัดเก็บภาษีที่ดินใหมีผลบังคับใชโดยเร็ว ๔.๑.๒ ใหมีกฎหมายจํากัดการถือครองที่ดินรายละไมเกิน ๕๐ ไร สําหรับสวน ทีเ่ กินใหมมี าตรการจัดเก็บภาษีในอัตรากาวหนาตามประเภทของการใช ประโยชนจากที่ดิน ทั้งนี้ใหมีการศึกษาเกี่ยวกับการกําหนดอัตราภาษี ที่เหมาะสมสําหรับแตละประเภทของการใชประโยชนตอไปและศึกษา ขอบเขตการใชที่ดินในแตละประเภทดวย ๔.๒ มอบหมายใหชุมชนทองถิ่นดําเนินการปรับปรุงฐานขอมูลที่ดินและประเมิน ราคาที่ดินใหมใหตรงกับการใชประโยชนที่ดิน โดยใหประชาชนและชุมชน มีสว นรวมในการจัดทํา รวมทัง้ ใหมกี ารเปดเผยขอมูลการถือครองทีด่ นิ ทัว่ ประเทศ ภายในเวลา ๑ ป ๔.๓ ใหกระทรวงการคลังศึกษาเพิ่มเติมเรื่องการจัดเก็บภาษีมูลคาสวนเพิ่มของที่ดิน ตลอดจนการจัดใหมีกฎหมายภาษีมูลคาสวนเพิ่มภายในเวลา ๑ ป ๔.๔ สนับสนุนการจัดตั้งธนาคารที่ดิน โดยขอใหรัฐบาลเรงรัดรางพระราชกฤษฎีกา จัดตัง้ สถาบันบริหารจัดการธนาคารทีด่ นิ (องคการมหาชน) พ.ศ. …. ทีเ่ สนอโดย สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ใหสามารถมีผลบังคับใชโดยเร็วภายในเวลา ๑ ป ๔.๕ สนับสนุนการแกไขพระราชบัญญัติการเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยขอใหกระทรวงมหาดไทยเรงรัดการดําเนินการดังกลาว ๔.๖ ขอใหเรงรัดการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ใหเกิดการสิน้ สภาพนิคมสหกรณ ในเขตชุมชน และใหกรมที่ดินจัดการที่ดินในเขตนิคมสหกรณ ๕. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติและรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๑ : การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดินอยางเปนธรรมและยั่งยืน

3


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๒

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การปฏิรูปโครงสรางการจัดการ ทรัพยากรทะเลและชายฝง สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการปฏิรูปโครงสรางการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง๑ ตระหนัก วามีความไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้าในการอนุรักษ และใชประโยชน ทรัพยากรทะเลและชายฝง ทีเ่ กิดกับชุมชนชายฝง กลุม ชาติพนั ธุ มอแกน มอเกลน และอูรกั ลาโวย ชาวประมงพื้นบานที่มีจํานวนรอยละ ๙๓ ของชาวประมงทั้งหมดซึ่งมีจํานวนมากกวา ๖๐,๐๐๐ ครอบครัวใน ๔,๐๐๐ หมูบาน รับทราบ วาพื้นที่ทะเลไทยมีเนื้อที่ ๓๕๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ที่ดินชายฝง ๒๒ ลานไร ประชากรมากกวา ๑๓ ลานคนที่เกี่ยวของกับทรัพยากรทะเลและชายฝง ในดานการประมง การขนสงทางทะเล การทองเทีย่ ว การเกษตร ทะเลไทยและทะเลสาบสงขลามีความอุดมสมบูรณ มีทรัพยากรและระบบนิเวศที่สําคัญประกอบดวย ปาชายหาด ปาชายเลน ปะการัง หญาทะเล ระบบนิเวศมวลนํ้าทะเลและมวลนํ้ากรอยซึ่งอุดมไปดวยลูกสัตวนํ้าวัยออน และแพลงตอน แรธาตุ นํ้ามัน กาซธรรมชาติ และสารออกฤทธิ์ทางยา ซึ่งมีการประเมินวา ผลประโยชนของชาติ ทางทะเลที่ประเทศไทยพึงไดรับในแตละปไมตํ่ากวา ๗.๕ ลานลานบาท ในจํานวนนี้ตกอยูในมือ คนไทยไมถึงรอยละ ๓๐ รับทราบ วาสมัชชาสุขภาพแหงชาติครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดมีมติเรื่อง “แผนพัฒนา ที่ยั่งยืนบนฐานการพึ่งตนเองดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม กรณีภาคใต” ซึ่งไดผานความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยมีมติ ขอใหรฐั บาลโดยคณะรัฐมนตรี ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๒

4


ออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยแผนแมบทการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจภาคใตและภาคอืน่ ๆ อยางยั่งยืน โดยใชเครื่องมือที่หลากหลายมุงเนนสนับสนุนการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตรของพื้นที่ การมีสวนรวมของทุกฝายและคํานึงถึงผลกระทบอยางรอบดาน หวงใย วาสถานการณสัตวนํ้าในทะเลซึ่งเปนทรัพยากรสําคัญของการประมงมีภาวะ เสื่อมโทรม ลดจํานวนลงจากที่เคยจับไดมากกวา ๑๓๑ กิโลกรัมตอชั่วโมงลดลงเหลือ ๒๒ กิโลกรัมตอชั่วโมงในฝงอาวไทย และ ๔๕ กิโลกรัมตอชั่วโมงในฝงอันดามัน การลดลงของ สัตวนํ้าเกิดจากการกวาดจับสัตวนํ้าดวยเครื่องมือการประมงที่ไมเหมาะสม การไมมีพื้นที่ คุมครองระบบนิเวศทางทะเล ที่สําคัญ มูลคารวมของสัตวนํ้าจากทะเลปละกวา ๑๒๐,๐๐๐ ลานบาท ชาวประมงพื้นบานมีสัดสวนการจับอยูเพียงรอยละ ๙ ของสัตวนํ้าที่จับไดทั้งหมด กังวล วาชายฝงเกิดปญหาการกัดเซาะรุนแรงมากกวา ๕ เมตรตอป ใน ๑๗ จังหวัด ระยะทางชายฝง ๒๑๓ กิโลเมตร กัดเซาะปานกลาง ๑-๕ เมตรตอระยะทางชายฝง ๓๙๕ กิโลเมตร ในสวนอาวไทยตอนบนบางพื้นที่มีอัตรากัดเซาะมากกวา ๒๕ เมตรตอป ประเทศไทยสูญเสีย พื้นดินจากการกัดเซาะ ๒ ตารางกิโลเมตรตอป มูลคา ๖,๐๐๐ ลานบาท หวงใย วาหากทะเลไทยไมมีความสงบเรียบรอยและขาดความปลอดภัยจะกระทบตอ ผูใชประโยชนจากทะเลและชายฝงในดานตางๆ ตระหนัก วาที่ดินชายฝง ชายหาด ปาชายเลน ถูกบุกรุกครอบครองและออกเอกสาร สิทธิ์โดยไมชอบ โดยเอกชนและบริษัทขนาดใหญ โครงการพัฒนาของรัฐและเอกชนมุงใช ที่ดินชายฝงเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก การกอสรางทาเรือนํ้าลึก การถมทะเล ซึ่งกอให เกิดปญหาตอระบบนิเวศทางทะเล มลภาวะ และการผลักดันใหชุมชนชายฝงตองสูญเสีย อาชีพ เผชิญกับปญหาความยากจน อันเปนการพัฒนาโดยขาดการมีสวนรวมของประชาชน และไมตั้งอยูบนศักยภาพวิถีชีวิตของชุมชนชายฝงที่อิงอยูกับเศรษฐกิจการเกษตร การประมง และการทองเที่ยว ดังกรณีมาบตาพุด และโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใตที่มีเปาหมาย เปลี่ยนภาคใตเปนพื้นที่สําหรับอุตสาหกรรมหนัก และการขนสงนํ้ามัน โดยไมมีการพิจารณาทาง เลือกการพัฒนาดานอื่นที่สอดคลองกับศักยภาพพื้นที่และวิถีวัฒนธรรมทองถิ่น กังวล วาชุมชนชายฝงสวนใหญไมมีสิทธิในที่อยูอาศัย ที่ดินทํากิน เนื่องจากการประกาศ พื้นที่ปาของรัฐทับซอนไปในที่ดินและทะเลโดยขาดการมีสวนรวม และไมยอมรับสิทธิชุมชนใน การบริหารจัดการทรัพยากรอยางสมดุลและยั่งยืนตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ เขาใจ วาการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรทะเลและชายฝงตองใชพื้นที่เปนหลัก และ บูรณาการการทํางานในระดับจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิน่ และชุมชน โดยตองมีมาตรการ

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๒ : การปฏิรูปโครงสรางการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง

5


จําแนกการใชประโยชนที่ดินชายฝงที่ชัดเจน การประกาศพื้นที่คุมครองระบบนิเวศเพื่อเปน แหลงเพาะพันธุ และอนุบาลสัตวนํ้าวัยออน รวมทั้งสัตวทะเลใกลสูญพันธุ เชน พะยูน โลมา เตาทะเล วาฬ เปนตน ชื่นชม จังหวัด และองคกรปกครองสวนทองถิ่นในบางพื้นที่ที่ดําเนินการรวมกับกรม ทรัพยากรทะเลและชายฝง กรมประมงและกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช โดยเริ่ม ตนการดําเนินการคุมครองพื้นที่ทะเลและชายฝงพรอมๆ กับการมีสวนรวมของชุมชน การออก ขอบัญญัติตําบลเพื่ออนุรักษฟนฟูและใชประโยชนอยางยั่งยืน ซึ่งเปนตัวแบบที่สามารถศึกษา และขยายผลไปยังพื้นที่ชายฝงอื่นๆ ตระหนัก ถึงความสําคัญของทรัพยากรทะเลและชายฝง ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเปน พื้นที่สรางความมั่นคงทางอาหารทะเลที่ระบบนิเวศสมดุล เปนแหลงอาหาร รายได สวัสดิการ สังคม ของคนจน เด็ก สตรี คนชรา และชุมชนชายฝง ตลอดจนพื้นที่รักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ ความสมดุลของภูมิอากาศโลกใหกับมนุษยชาติโดยรวม จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. เห็นชอบในหลักการที่วา ทรัพยากรทะเลและชายฝง เปนทรัพยากรสาธารณะของชาติ ทีป่ ระชาชนมีสทิ ธิเขาถึง โดยชอบ การบริหารจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงตองตั้งอยูบนหลักธรรมาภิบาล สอดคลอง กับรัฐธรรมนูญ ตลอดจนสนับสนุนและสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและชุมชนรวมกัน บริหารจัดการใหสอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชน โดยมุงประโยชนของคนสวนใหญ มุงแกไขปญหา ความยากจน ลดความเหลื่อมลํ้า สรางความเปนธรรมทางสังคม บนหลักความมั่นคงของระบบ นิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมีความสําคัญตอเสถียรภาพ ของระบบนิเวศทางทะเล และเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ๒. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอ ใหคณะรัฐมนตรีมมี ติยกเลิกแผนพัฒนาชายฝง ทะเลทัว่ ทุกภาค หรือโครงการพิเศษใดๆ ทีก่ าํ หนดไว และทีก่ าํ ลังดําเนินการอยูใ นปจจุบนั และขอให มีการเรงรัดการดําเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแหงชาติครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ เรื่อง แผน พัฒนาที่ยั่งยืนบนฐานการพึ่งตนเองดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมกรณีภาคใต รวมทั้ง จัดใหมีกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาชายฝงทะเลทั่วทุกภาคของประเทศไทยขึ้นใหม ดวย กระบวนการที่มีสวนรวมจากผูไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ผูมีสวนไดสวนเสีย ประชาชนในพื้นที่ทุกเพศทุกวัยทุกเศรษฐฐานะ และหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีการ ศึกษาผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม สุขภาพและสังคม

6

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป เสนอตอรัฐบาลเพื่อกําหนด และมีแผนงานและ มาตรการที่เขมขน จริงจัง มีระยะเวลา รวมทั้งงบประมาณที่ชัดเจน ในการจัดการที่เกี่ยวกับ ทรัพยากรทะเล และชายฝง ดังนี้ ๓.๑ เรงตรวจสอบเพิกถอนเอกสารสิทธิ์ที่ออกโดยไมชอบดวยกฎหมาย กําหนด พื้นที่สาธารณะที่หามออกเอกสารสิทธิ์ ประกาศยกเลิกการออกเอกสารสิทธิ์ ที่ดินที่นํ้าทะเลทวมถึงถาวร และยกเลิกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทิ้งรางเนื่องจากถูก กัดเซาะลงทะเลใหเปนทีส่ าธารณะโดยใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ และชุมชน รวมกันบริหารจัดการ ๓.๒ ยกเลิก ไมตอ สัญญาทีด่ นิ ของรัฐทีใ่ หเอกชนเชา ยึดคืนพืน้ ทีส่ าธารณะ สันทราย ชายหาด ถนน ทะเล ปาตนนํ้า ปาชายเลน ๓.๓ หามปดกั้นชายหาดสาธารณะและยึดครองทะเลหรือทรัพยากรทะเลและ ชายฝงโดยมิชอบดวยกฎหมายและมีบทลงโทษทางอาญาที่สูงขึ้น ๓.๔ ใหนโยบายการแกปญ  หาการกัดเซาะชายฝง เปนนโยบายแหงชาติ จัดตัง้ กองทุน ชดเชยการปองกันการกัดเซาะชายฝงใหกับชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากการ กัดเซาะชายฝง ใหกอ สรางระบบปองกันแบบออนทีส่ อดคลองกับธรรมชาติ และ ใหหยุดการกอสรางเขือ่ นปองกันการกัดเซาะชายฝง แบบอืน่ ไวกอ น จนกวาจะมี แผนและผลการศึกษาอยางครบถวนสมบูรณ และเปนทีย่ อมรับตามหลักวิชาการ ๓.๕ กําหนดเขตถอยรนจากชายฝงเปนเขตหามและควบคุมการกอสรางที่จะกอ ผลกระทบตอระบบนิเวศทางทะเล จัดทําพื้นที่คุมครองระบบนิเวศชายฝงและ ทะเล ๓.๖ ใหเรงรัดประกาศเขตพืน้ ทีค่ มุ ครองชายฝง ทะเลใหครอบคลุมพืน้ ทีส่ าํ คัญๆ ตาม ผลการศึกษาทางวิชาการของชายฝงทะเลโดยเร็ว โดยชี้แจงใหประชาชนและ ทองถิ่น ใหเขาใจในมาตรการการจัดการของพื้นที่คุมครอง และใหมีการจัด ทําผังการใชพื้นที่ชายฝงทะเล ที่ผานกระบวนการมีสวนรวมจากชุมชนทองถิ่น อยางชัดเจนและครอบคลุม โดยกอนประกาศใชตองแจงรูปแบบที่เปนผลสรุป ใหชุมชนทราบกอน ๓.๗ เรงรัดผลักดันกฎหมายสงเสริมบริหารจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง โดย นํารางพระราชบัญญัตบิ ริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ฉบับ ๑๓๓ มาตราทีป่ ระชาชนรวมกันรางนําเขาสูค ณะรัฐมนตรีพจิ ารณาออกกฎหมายบังคับ ใชโดยเรงดวน เพือ่ ใหมแี นวทางปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนในการรับรองสิทธิชมุ ชน ในการ จัดการทรัพยากรทะเลอยางยัง่ ยืน ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ วในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๒ : การปฏิรูปโครงสรางการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง

7


รวมทัง้ มีการควบคุมมิใหมกี ารปลอยนํา้ เสียและของเสียลงทะเล และมีการโซนนิง่ เขตอุตสาหกรรมเขตชายฝงทะเล เขตทองเที่ยว เขตอนุรักษ มีโฉนดชุมชน แกไขปญหาที่ตั้งถิ่นฐานและทํากินของชุมชนชายฝง ๓.๘ นํา ราง พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. ... ฉบับใหมเขาสูก ารประชุมสภาผูแ ทนราษฎรใน สมัยการประชุมปจจุบัน หรือโดยเร็วที่สุด รวมทั้งจัดสรรเงินทุนหมุนเวียน สนับสนุนกลุมประมงพื้นบาน ๓.๙ มอบหมายใหหนวยงานราชการทีด่ แู ลในเรือ่ งการรักษาผลประโยชนของชาติทาง ทะเล หนวยงานใดหนวยงานหนึ่งที่มีความพรอม เปนหนวยงานหลักในการ บูรณาการการปฏิบัติงานรวมกัน กับหนวยงานราชการอื่นที่เกี่ยวของ โดยใหมี อํานาจในการบังคับบัญชาและมีอํานาจในการบังคับใชกฎหมายในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานในทะเล และจัดตั้งองคกรภาคีที่มีความพรอม ทางดานบุคลากรใหมหี นาทีศ่ กึ ษา คนควาและจัดการความรูเ กีย่ วกับทะเล รวม ทั้งจัดทํายุทธศาสตรทะเลเพื่อเปนแนวทางในการแสวงประโยชนและปกปอง การใชทะเลอยางยั่งยืน ๓.๑๐ ใชแผนแมบทการจัดการทรัพยากรชายฝงและแผนแมบททะเลไทย ในการ บริหารจัดทรัพยากรทะเลและชายฝงอยางจริงจังภายในระยะเวลา ๓-๕ ป โดยมีการรวมมือกับองคกรภาคีที่เกี่ยวของ ๔. สมาชิกสมัชชาปฏิรปู องคกรชุมชนและเครือขายภาคีการพัฒนา จะรวมกันดําเนินการ สนับสนุน การอนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรทะเลและชายฝงอยางยั่งยืน ดวยการสนับสนุน การบริหาร จัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงของชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคี ที่เกี่ยวของ การที่จะไมบริโภคสินคาหรือการใชบริการธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจขนสงสินคา ทางทะเลที่ละเมิดตอกฎหมาย ละเมิดสิทธิชุมชน ไมใชบริการที่พักของผูประกอบการทองเที่ยว ที่ครอบครองที่ดิน โดยมิชอบ ซึ่งกอใหเกิดปญหาทรัพยากรทะเลและชายฝง ๕. ขอใหสวนราชการ ชุมชน องคกรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนดูแลรักษาทรัพยากร ทางทะเล โดยกระบวนการประชาชนมีสวนรวม ใชทรัพยากรไดอยางยั่งยืน โดยจัดใหมี โครงการหรือพื้นที่นํารองดานการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงเพื่อเปนกรณีตัวอยางในการ นําไปสูการปฏิบัติตอไป ๖. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

8

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๓

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การคืนความเปนธรรมใหแกประชาชน กรณีที่ดินและทรัพยากร สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพจิ ารณารายงานเรือ่ งการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนกรณีทดี่ นิ และทรัพยากร๑ ตระหนัก วาประชาชนจํานวนไมนอ ยไดรบั ความไมเปนธรรมในคดีทดี่ นิ และทรัพยากร ทัง้ กรณีกอนและระหวางการพิจารณาคดี และเมื่อคดีถูกตัดสินแลว โดยมีสาเหตุของการไดรับความ ไมเปนธรรมหลายอยาง ไดแก ความบกพรองไมเปนธรรมของกฎหมายและกระบวนการเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินและ ทรัพยากร เชน การออกเอกสารสิทธิทับซอน ความบกพรองไมเปนธรรมของกระบวนการยุติธรรม เชน การไมเดินเผชิญสืบ หรือไม พิจารณาหลักฐานพยานบุคคลหรือประวัติศาสตร และการคอรัปชั่น เปนตน รับทราบ วาความไมเปนธรรมในกรณีคดีที่ดินและทรัพยากรมีความซับซอน และ เกี่ยวพันกับหลายภาคสวน ทั้งกระบวนการยุติธรรม กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของกับ การจัดสรรที่ดินและทรัพยากร และความเหลื่อมลํ้าในการถือครองและเขาถึงที่ดินและทรัพยากร ในปจจุบัน เปนตน เขาใจ วาการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนในกรณีคดีที่ดินและทรัพยากรตองทํา อยางเปนระบบและสามารถแกปญหาไดอยางยั่งยืนนั้น ตองประกอบดวย ๑. การใหความชวยเหลือและเยียวยาประชาชนทีไ่ มไดรบั ความเปนธรรมอยางครอบคลุม ทุกขั้นตอน ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๓

9


๒. ปฏิรูปกลไกการทํางานในกระบวนการยุติธรรมใหเกิดความเปนธรรม ทั้งทัศนคติของ เจาหนาที่บุคลากรที่เกี่ยวของในทุกกลไกและกระบวนการ ๓. ปฏิรูปกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติที่ไมเปนธรรม เชน กฎหมายที่เกี่ยวของกับ การออกเอกสารสิทธิ์ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หรือกฎหมาย พิจารณาคดีที่ดินและทรัพยากร เปนตน ๔. การดําเนินงานปฏิรปู ทีด่ นิ ควบคูก นั ไปเพือ่ ลดความเหลือ่ มลํา้ และสรางความเปนธรรม ชื่นชม การดําเนินการของกระทรวงยุติธรรมในการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชน ในคดีที่ดินและทรัพยากร โดย ประสานงาน ระงับการจับกุมหรือคุมขังประชาชนในคดีที่ดินและ ทรัพยากร ซึ่งเปนผูสุจริตและไมมีเจตนากระทําผิด และตั้งคณะทํางานศึกษาสถานการณและ วางแนวทางการคืนความเปนธรรมใหประชาชนในคดีที่ดินและทรัพยากรซึ่งอยูในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการยุติธรรม อีกทั้งยังมีการปรับปรุงระเบียบกระทรวงยุติธรรมวาดวยเรื่องกองทุน ยุติธรรมใหสามารถชวยเหลือประชาชนไดอยางครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ตระหนัก ถึงความจําเปนเรงดวนในการแกปญหาความไมเปนธรรมใหแกประชาชนใน กรณีคดีที่ดิน และทรัพยากรอยางเปนระบบและสามารถแกปญหาไดอยางยั่งยืน จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. เห็นดวยและสนับสนุนแนวทางการดําเนินงานของกระทรวงยุติธรรมและหนวยงาน ที่เกี่ยวของในการปฏิรูปคดีที่ดินและทรัพยากร และขอใหคณะรัฐมนตรีถือเปนนโยบายสําคัญ และมีมติเห็นชอบการดําเนินการดังกลาว ๒. ใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรี รัฐสภา คณะกรรมการปฏิรูป กฎหมาย พรรคการเมืองตางๆ ประธานศาลฎีกา คณะกรรมการตุลาการ อัยการสูงสุดและองคกร ที่เกี่ยวของ เรงรัดดําเนินการ ดังนี้ ๒.๑ ใหออกพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรมและพิจารณาปรับปรุงพระราชบัญญัติ คาตอบแทนผูเสียหาย คาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยใหมีกลไกการพิจารณาที่มีความเปนอิสระ ยืดหยุน คลองตัว ประชาชนเขาถึงงายและมีทรัพยากรเพียงพอ ๒.๒ ใหเกิดการปฏิรูปกลไกการทํางานในกระบวนการยุติธรรม ภายในแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) โดยนํา กระบวนการพิจารณาคดีที่หลากหลาย โดยไมใชระบบกลาวหามาใช เชน การใชระบบไตสวนทั้งระบบ (กฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาและกฎหมายวิธี

10

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๒.๓ ๒.๔

๒.๕

๒.๖

พิจารณาคดีแพง) การเดินเผชิญสืบของผูพ พิ ากษา การพิจารณาหลักฐานบุคคล หรือหลักฐานทางประวัติศาสตรทองถิ่น การใชกระบวนการยุติธรรมชุมชน หรือการจัดตั้งองคกรอิสระที่มีความชํานาญในขอพิพาทคดีเกี่ยวกับที่ดินและ ทรัพยากรเพื่อทําหนาที่ดูแลที่ดินและทรัพยากร โดยกระตุนใหกลไกตางๆ ที่ มีอยูโดยเฉพาะอยางยิ่งกระบวนการพิจารณาคดีทํางานอยางมีประสิทธิภาพ บนฐานของความเปนธรรม ใหมีการจัดตั้งศาลเฉพาะเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากร โดยใชระบบไตสวนที่มีกระบวนการพิจารณาที่สะดวก รวดเร็วและเปนธรรม ใหกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมทัง้ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของและภาคีตา งๆ เปนเจาภาพในการแกไขกฎหมายเรือ่ งกระบวนการ ออกเอกสารสิทธิ์ รวมไปถึงยกเลิกและปรับปรุง แกไขประมวลกฎหมายและ มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ ที่ไมเปนธรรม หรือที่เปนอุปสรรคในการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชน เชน กฎหมายปาสงวนแหงชาติ ที่ดินสาธารณะ อุทยานฯ กฎหมายปาไมที่ขัด ตอรัฐธรรมนูญและมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ เพื่อให สอดคลองกับขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น รวมทั้งฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติอยางเปน ธรรม โดยดําเนินการใหสําเร็จเปนรูปธรรมภายใน ๑๘๐ วัน ใหมกี ารสํารวจพืน้ ทีใ่ นสวนทีอ่ ยูอ าศัยและพืน้ ทีท่ าํ มาหากินตามขอเท็จจริงทีจ่ ะ ออกเอกสารสิทธิใ์ ห เพือ่ ใหมคี วามชัดเจนในการครอบครองในการบริหารจัดการ พืน้ ทีร่ ว มกันอยางเหมาะสมตามขอเท็จจริง และแกไข พ.ร.บ. หรือกฎหมายตางๆ เกีย่ วกับทีด่ นิ ทีย่ งั ไมปรับปรุงโดยการใชกระบวนการมีสว นรวมของชุมชนทองถิน่ และหนวยงานที่เกี่ยวของ ดําเนินการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนในกรณีที่ดินที่ไมไดรับ ความเปนธรรมอยางเรงดวน โดยพิจารณาแกปญหาเปนแตละกรณี ตามกลไก และกระบวนการที่กฎหมายกําหนด ดังนี้ ๒.๖.๑ คดีที่ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลว ใหมีการพักโทษ ลดโทษและ คุมประพฤติ นอกจากนี้ใหระงับและทบทวนการคิดคาเสียหายในกรณี คดีโลกรอน ๒.๖.๒ คดีทดี่ นิ ทีอ่ ยูร ะหวางการพิจารณา ใหมกี ารจําหนายคดีชวั่ คราว อนุญาต ใหประชาชนผูตองหาและครอบครัวอยูอาศัยทํากินในที่ดินเดิม โดยใน ระยะเรงดวนขอใหสามารถใชบคุ คลหรือกองทุนยุตธิ รรมในการคํา้ ประกัน

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๓ : การคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนกรณีที่ดินและทรัพยากร

11


ตัวแทนหลักทรัพย อีกทั้งเนนการพิจารณาพฤติกรรมของผูตองหาแทน การใชหลักทรัพยคํ้าประกัน รวมทั้งใหมีการตรวจสอบการออกเอกสาร สิทธิ์ในที่ดินดวย โดยตั้งคณะกรรมการกลางที่มีสวนรวมจากชุมชน ตรวจสอบใหแลวเสร็จภายใน ๙๐ วัน ๒.๖.๓ กรณีปญหาที่ยังไมเขาสูกระบวนการยุติธรรมใหระงับการดําเนินการ ใดๆ ที่เปนการเพิ่มความเดือดรอนและความรุนแรงกับประชาชน โดย ใหระงับการจับกุมประชาชนที่อยูอาศัยและทํากินในพื้นที่ที่มีขอพิพาท ทีม่ ใิ ชการแผวถางหรือบุกเบิกปาใหม รวมถึงระงับการขยายพืน้ ทีท่ กี่ าํ ลัง จะเปนขอพิพาทระหวางชุมชนกับโครงการพัฒนาของภาครัฐหรือเอกชน จนกวาจะมีการแกไขปญหาหรือมีขอพิสูจนเสร็จสิ้น และพื้นที่ที่กําลัง ดําเนินการโฉนดชุมชน ทัง้ นีใ้ หคาํ นึงถึงกฎหมายผังเมืองในสวนของการ วางผังเมืองรวมที่ครอบคลุมทั้งชนบทและเมือง ๒.๗ ขอใหออก พ.ร.บ.นิรโทษกรรมผูที่บุกรุกปากรณีไมมีที่ดินทํากิน ๓. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

12

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๔

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การปฏิรูประบบประกันสังคม เพื่อความเปนธรรม สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการปฏิรูประบบประกันสังคม เพื่อความเปนธรรม๑ ตระหนัก วาแรงงานทุกคนตองไดรับการคุมครองใหมีความมั่นคงในการดํารงชีวิตระดับ พื้นฐาน เพื่อบรรเทาปญหาความเดือดรอนจากการขาดรายได อันเกิดจากการประสบอันตราย เจ็บปวย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต การวางงาน การสงเคราะหบุตรและชราภาพ ตระหนัก วาระบบประกันสังคมเปนระบบสวัสดิการทีด่ แู ลคุม ครองกําลังแรงงานจํานวนมาก และมีกองทุนขนาดใหญ ในอนาคตเมื่อระบบประกันสังคมขยายความครอบคลุมแกแรงงาน ทั้งในและนอกระบบทุกประเภทแลว ขนาดของกองทุนจะขยายใหญยิ่งขึ้น ซึ่งการบริหาร จัดการกองทุนเงินออมขนาดใหญนี้จะมีผลอยางยิ่งตอการบริหารเศรษฐกิจมหภาคของ ประเทศ ทั้งตอตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาดแรงงานและภาคการผลิต ดวยเหตุนี้จึงมีความ จําเปนอยางยิ่งที่ระบบประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมจะตองถูกบริหารจัดการ ภายใตธรรมาภิบาลที่ดี คือ มีอิสระ มีประสิทธิภาพ มีสวนรวมอยางกวางขวางและมีความ โปรงใส ตรวจสอบได เพื่อความเปนธรรมและประโยชนสูงสุดแกผูประกันตน รับทราบ ถึงปญหาของระบบประกันสังคมซึ่งยังไมครอบคลุมแรงงานนอกระบบซึ่งเปน กําลังแรงงานสวนใหญของประเทศและรับทราบถึงปญหาดานธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการ ระบบประกันสังคม โดยระบบในปจจุบันขาดความเปนอิสระจากระบบราชการและการเมือง ขาดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ขาดบุคลากรที่มีความสามารถที่เพียงพอ ขาดการมีสวนรวม ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๔

13


อยางแทจริงจากฝายผูประกันตนในการบริหารจัดการกองทุน การกํากับดูแลและการตรวจสอบ อีกทั้งขาดความโปรงใสดานขอมูลการบริหารกองทุน รับทราบ ถึงปญหามาตรฐานคุณภาพการใหบริการและความไมเปนธรรมของผูป ระกันตน ที่ตองจายเงินสมทบทางตรงอยูเพียงกลุมเดียว เมื่อเทียบกับระบบประกันสุขภาพอื่น เขาใจ วาเพื่อสรางระบบประกันสังคมที่เปนธรรมแกกําลังแรงงานทั้งหมดโดยคํานึงถึง สิทธิความคุมครองพื้นฐานที่แรงงานพึงไดรับ จําเปนตองมีการแกไขพระราชบัญญัติประกันสังคม ซึง่ เปนกฎหมายหลักของระบบประกันสังคม โดยใหครอบคลุมแรงงานทุกประเภทอยางกวางขวาง มากขึน้ ภายใตเงือ่ นไขทีเ่ ปนธรรมเหมาะสม พรอมกับการแกไขใหระบบประกันสังคมมีธรรมาภิบาล ที่ดี มีความเปนอิสระ มีประสิทธิภาพ มีสวนรวมอยางกวางขวางและมีความโปรงใส ชื่นชม การรวมกันผลักดันการแกไขพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยภาค สวนตางๆ ไดแก พรรคการเมืองทั้งฝายรัฐบาล ฝายคาน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง เสริมสุขภาพ (สสส.) ภาคประชาชน ผานคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย และเครือขาย องคกรแรงงานเปนแกนหลัก ใหขยายความครอบคลุมไปยังแรงงานนอกระบบอยางกวางขวาง มากขึ้น และการปฏิรูปธรรมาภิบาลของระบบประกันสังคม ตระหนัก ถึงความจําเปนที่ทุกภาคสวนจะตองรวมกันผลักดันและสนับสนุนการแกไข พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ซึ่งขณะนี้อยูในขั้นตอนการแปรญัตติโดย คณะกรรมาธิการของสภาผูแทนราษฎร จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. ใหรัฐบาล สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภาและพรรคการเมืองตางๆ รวมกัน เรงดําเนินการ แกไขพระราชบัญญัติประกันสังคมใหแลวเสร็จภายใน ๑ ป ในประเด็นตอไปนี้ ๑.๑ ดานความครอบคลุม ใหขยายความครอบคลุมไปถึงแรงงานทุกคนทั้งแรงงาน ในระบบและนอกระบบ รวมทั้งแรงงานขามชาติ ทั้งนี้ความครอบคลุมในเรื่อง สิทธิประโยชนของกลุมแรงงานขามชาติจําเปนตองพิจารณาใหสอดคลองกับ วิถีชีวิตและการทํางานของกลุมนี้ดวย ๑.๒ ดานกลไกการบริหาร ๑.๒.๑ ใหสาํ นักงานประกันสังคมเปนองคกรอิสระภายใตการกํากับของรัฐ โดย มีเลขาธิการที่ไดรับการแตงตั้งโดยตรงจากคณะกรรมการประกันสังคม ๑.๒.๒ ใหมรี ะบบและกลไกการสรรหาคณะกรรมการประกันสังคม ทัง้ ฝายนายจาง ฝายผูแทนผูประกันตน และผูทรงคุณวุฒิ ที่ชัดเจน โปรงใส และมีสวน

14

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


รวมอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิง่ การเลือกตัง้ ผูแ ทนฝายผูป ระกัน ตนจากผูประกันตนโดยตรง ๑.๓ ดานกลไกการลงทุน ใหมีคณะกรรมการลงทุน ที่มีองคประกอบทั้งฝายนายจาง ฝายผูแทนผูประกันตน และผูทรงคุณวุฒิ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม กระบวนการ ไดมา และวาระการดํารงตําแหนงที่ชัดเจน โปรงใส ไมมีผลประโยชนทับซอน เพื่อทําหนาที่บริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชนของกองทุนเพื่อให เปนไปตามนโยบายประกันสังคมและแผนการลงทุนที่คณะกรรมการประกัน สังคมเห็นชอบ ๑.๔ ใหมีการเปดเผยขอมูลการประกันสังคมและการดําเนินการของกองทุนประกัน สังคมตอรัฐสภาปละครั้งและใหประชาชนทั่วไปและผูประกันตนสามารถเขา ถึงขอมูลไดโดยสะดวกและใหมีเวทีรับฟงความคิดเห็นจากผูประกันตนหรือผูมี สวนไดสวนเสียอยางนอยปละ ๑ ครั้ง ๑.๕ กําหนดเพิ่มเติมใน พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ......ใหมีคณะกรรมการตรวจ สอบการดําเนินงานของคณะกรรมการประกันสังคม คณะกรรมการลงทุนและ สํานักงานประกันสังคม ที่มีองคประกอบทั้งฝายนายจาง ฝายผูแทนผูประกัน ตนและผูทรงคุณวุฒิที่มาจากการสรรหา โดยใหผูมีสวนไดสวนเสียมีสิทธิเขาชื่อ เสนอถอดถอนคณะกรรมการตางๆ ได ตามหลักฐานเชิงประจักษอยางเหมาะ สมและเปนธรรมกับทุกฝาย ๒. ใหคณะกรรมการประกันสังคมปรับปรุงและพัฒนาระบบสวัสดิการทางสังคมยกเวน ดานสุขภาพสําหรับประชาชนทุกกลุมทั่วประเทศเพื่อใหเกิดความเปนธรรมและมีประสิทธิภาพ สูงสุด ๓. ใหคณะกรรมการประกันสังคมจัดใหมีการศึกษาและวิจัยเรื่องความเปนธรรมทั้งการ จายเงินสมทบและการไดรับสิทธิประโยชนโดยใหเปนการศึกษาจากนักวิชาการผูไมมีสวนไดสวน เสียใดๆ ทั้งสิ้นและใหคณะกรรมการประกันสังคมมีการนําขอมูลที่ไดไปรับฟงความคิดเห็นของ ผูประกันตน เพื่อใชพัฒนาระบบประกันสังคมใหมีความเปนธรรมมากขึ้น ๔. ใหรัฐบาลและสํานักงานประกันสังคมเรงดําเนินการนําเงินสมทบดานสุขภาพจาก ผูประกันตนไปใชสําหรับสิทธิประโยชนอื่น โดยใหรัฐบาลเปนผูรับผิดชอบคาใชจายเรื่องสุขภาพ สําหรับผูประกันตน ๕. ใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู สนับสนุนใหมกี ารจัดสมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็นเรือ่ ง การบริหารจัดการระบบการจัดบริการสุขภาพสําหรับผูป ระกันตน และการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๔ : การปฏิรูประบบประกันสังคมเพื่อความเปนธรรม

15


คุณภาพและมาตรฐานการรักษา และวิธีการเขาถึงบริการ ใหเทาเทียมกับระบบประกันสุขภาพ อื่นๆ ทั้งนี้ ใหเอื้อตอการเขาถึงบริการอยางมีคุณภาพของผูประกันตน ๖. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

16

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๕

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การสรางระบบหลักประกันในการดํารงชีพ และระบบสังคมทีส่ รางเสริมสุขภาวะ แกผสู งู อายุ สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่อง การสรางระบบหลักประกันในการดํารงชีพและระบบสังคม ที่สรางเสริมสุขภาวะแกผูสูงอายุ๑ ตระหนัก วาการมีปจจัยยังชีพในระดับที่พอเพียงในยามสูงอายุเปนสิทธิที่ทุกคนตอง ไดรับอยางเทาเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ โดยการดําเนินการตองบูรณาการการออมของบุคคล การชวยเหลือเกื้อกูลภายในครอบครัว การสนับสนุนจากชุมชนและรัฐ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ทางสังคมที่จะใหประชาชนสามารถดํารงชีพอยางมีศักดิ์ศรียามสูงอายุ รับทราบ วาประเทศไทยไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุแลว ประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้น แต ระบบบํานาญผูส งู อายุทมี่ อี ยู ยังไมครอบคลุมทัว่ ถึง ขาดความเสมอภาค ขาดการบูรณาการระบบ และมีแนวโนมขาดความยัง่ ยืนทางการเงินในอนาคต นอกจากนีร้ ะบบบํานาญผูส งู อายุไมยดื หยุน พอ สําหรับรองรับกรณีที่ผูประกันตนเปลี่ยนงานสลับไปมาระหวางการทํางาน สงผลใหมีการเปลี่ยน สมาชิกภาพกองทุนบํานาญชราภาพตามสถานะการทํางาน ทําใหผูประกันตนแมทํางานตลอด ชวงวัยทํางานจะไดรับเพียงบําเหน็จ เนื่องจากจํานวนปที่สงเงินสมทบในแตละกองทุนบํานาญ ชราภาพไมยาวนานพอที่จะไดรับบํานาญ ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๕

17


เขาใจ วาการมีปจจัยสําหรับการดํารงชีพยามสูงอายุที่พอเพียงนั้น จําเปนตองใชการ คุม ครองทางสังคมหลายรูปแบบบูรณาการเขาดวยกัน คือ การสรางหลักประกันรายไดยามสูงอายุ ดวยการสงเสริมการออมดวยตนเอง ทั้งในลักษณะการบังคับออมและสงเสริมการออมโดยความ สมัครใจเพือ่ เพิม่ หลักประกันในชีวติ การจัดสวัสดิการสังคมและตาขายนิรภัยทางสังคมในลักษณะ เบี้ยยังชีพเพื่อชวยผูที่ไมสามารถออมเงินไดเพียงพอดวยตนเอง ตระหนัก ถึงบริบททางสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งมีจุดแข็งดาน วัฒนธรรมการชวยเหลือเกื้อกูลภายในครอบครัว แตโครงสรางครอบครัวที่ผันแปรไป และความ เหลื่อมลํ้าดานรายไดในสังคมที่มีการกระจุกตัวของผูที่รํ่ารวยที่มีเพียงจํานวนนอย แตประชากร สวนใหญมรี ายไดนอ ย ไมสามารถออมเงินใหเพียงพอสําหรับเปนหลักประกันความมัน่ คงในรายได ยามสูงอายุได จําเปนที่รัฐตองมีบทบาทในการสรางหลักประกันในการดํารงชีพยามสูงอายุขั้น พื้นฐานอยางถวนหนา จึงมีมติ ดังนี้ ๑. ใหรัฐบาลกําหนดเปนนโยบายและวิสัยทัศนระยะยาววา “สังคมไทย มีหลักประกัน การดํารงชีพในระดับที่พอเพียง และมีระบบสวัสดิการสังคมแกผูสูงอายุ” ๒. ขอใหรัฐบาลมอบหมายใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และ กระทรวงการคลังเปนเจาภาพ รวมกับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง มหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน สํานักงาน หลักประกันสุขภาพแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ องคกรปกครองสวนทองถิ่น สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมธุรกิจประกันภัย ทํางาน รวมกับคณะกรรมการปฏิรูป คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป สภาผูสูงอายุ องคกรภาคประชาชน ที่เกี่ยวของ และผูที่เกี่ยวของอื่นๆ เพื่อดําเนินการ ดังนี้ ๒.๑ พัฒนารูปแบบและระบบการเงินการคลังเพื่อหลักประกันในยามสูงอายุที่ หลากหลายสําหรับทุกคน ครอบคลุมทัง้ ระบบบํานาญพืน้ ฐานทีอ่ า งอิงเสนความ ยากจน การออมในระดับชุมชนและการจัดระบบหลักประกันดานการเงิน โดย กองทุนภาครัฐและสถาบันการเงินเอกชน โดยรัฐใหการสนับสนุนทางการเงิน แกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและองคกรอื่นๆ ในระดับที่เหมาะสม เปนธรรม และมีความยั่งยืนในระยะยาวตอเนื่อง ๒.๒ พัฒนาระบบสวัสดิการสังคมที่สรางเสริมสุขภาวะผูสูงอายุ โดยใหมีรูปแบบที่ หลากหลาย

18

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๒.๓ พิจารณาแนวทางการแกไขกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ วาดวยการเลิกจางงาน ดวยเหตุมอี ายุเกิน โดยไมไดคาํ นึงหรือประเมินความสามารถในการทํางานอยาง เปนธรรม ๒.๔ เรงรัดการพิจารณารางพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. .... ใน รัฐสภา เพื่อใหมีผลบังคับใชโดยเรงดวน ๒.๕ พัฒนาแนวทางการสรางเสริมบทบาทของผูสูงอายุเพื่อธํารงไวเปนทุนที่เกื้อกูล สังคม รวมทั้งการสงเสริมกิจกรรมผูสูงอายุและครอบครัวอยางหลากหลาย ๓. ขอใหหนวยงานหลักในภาครัฐ ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย รวมทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมกันจัดหามาตรการเพื่อ การสรางเสริมสุขภาวะของผูสูงอายุ ๔. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามและดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๕ : การสรางระบบหลักประกันในการดํารงชีพและระบบสังคมที่สรางเสริมสุขภาวะแกผูสูงอายุ

19


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๖

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การสรางสังคมที่คนไทย อยูเย็นเปนสุขรวมกัน สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน๑ ตระหนัก ถึงสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นับตัง้ แตฉบับที่ ๘ เปน ตนมา รวมทั้งทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ที่เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การพัฒนา สังคมและการสรางความมัน่ คงของมนุษยใหแกประชากรไทย เพือ่ นําไปสูก ารมีสงั คมทีม่ ดี ลุ ยภาพ รับทราบ วาการดูแลและพิทักษกลุมประชากรตางๆ ที่มีความเปราะบาง เปนเรื่องของ สิทธิมนุษยชนซึ่งไดรับการยอมรับในระดับสากลและระดับประเทศ ในขณะที่จํานวนประชากร กลุมตางๆ เหลานี้ มีสัดสวนเพิ่มมากขึ้น สวนใหญอาศัยอยูในพื้นที่เขตชนบทและมีรายไดนอย ตระหนัก วายังมีความเหลื่อมลํ้าของโอกาสการเขาถึงประโยชน จากกระบวนการพัฒนา ของประเทศและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรกลุมดังกลาว ทั้งจากการเลือกปฏิบัติโดยไม เปนธรรมตอบุคคล โดยเฉพาะผูท มี่ คี วามเปราะบาง ทีเ่ ปนการปฏิบตั โิ ดยตรงและจากการทีส่ ภาพ แวดลอมทางสังคมไมไดรับการจัดการใหทุกคนสามารถเขาถึงและใชประโยชนรวมกันไดจริง ตระหนัก ถึงกลไกการทํางานภาครัฐที่เปนรูปแบบการสงเคราะหและการแกปญหา เฉพาะหนา ขาดการพัฒนาเชิงนวัตกรรม ทําใหไมสามารถสงผลประโยชนจากการพัฒนาไปถึง ประชากรกลุมเปราะบางตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมสามารถเสริมพลังและลดความ เหลื่อมลํ้าได อีกทั้งรัฐยังจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิต ประชากรกลุมเปราะบาง ในจํานวนที่ไมเพียงพอและไมแนนอน ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๖

20


พิจารณา เห็นวารายไดของกิจการสลากกินแบงรัฐบาลเกิดจากความเชื่อของบุคคลซึ่ง สวนใหญเปนคนจน มิใชเกิดจากการผลิตที่แทจริง จึงไมสมควรจัดเก็บเขารัฐ แตควรสงคืน กลับไปพัฒนาสังคม พัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิต สรางความมั่นคงและเปนธรรมทางสังคม ใหแกผูยากไร ผูดอยโอกาสและกลุมประชากรที่เปราะบางอื่นๆ มีความกังวล ในคุณภาพและประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนทั้ง ๕ กองทุน ไดแก ๑) เด็กเยาวชน ๒) สตรี ๓) ผูสูงอายุ ๔) คนพิการ และ ๕) สวัสดิการสังคมและ ความยั่งยืนของกลไกการคลังเพื่อการพัฒนาสังคม จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. เห็นชอบใหจัดทําวิสัยทัศน ยุทธศาสตร นโยบาย แผนงานและกลไก “สรางสังคมที่ คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน” ซึ่งหมายถึง การทําใหทุกคนไดเขามาอยูในพื้นที่ทางสังคมและ ทํากิจกรรมทางสังคมรวมกันไดอยางมีศักดิ์ศรี ไมมีการเลือกปฏิบัติตอกันและกัน ไดรับโอกาส ที่เทาเทียมกัน ในการเขาถึงสิทธิ ทรัพยากร และการใชประโยชนจากสถานที่ บริการและขอมูล ขาวสารตางๆ ไดอยางเสมอภาค ๒. เห็นชอบและใหความสําคัญกับหลักการ ๔ ประการ ทีจ่ ะ “สรางสังคมทีค่ นไทยอยูเ ย็น เปนสุขรวมกัน” คือ การสรางสภาพแวดลอมทีท่ กุ คนสามารถเขาถึงและใชประโยชนได การสงเสริม ความเสมอภาคและขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล การสรางความมั่นคงทางดาน การคลังเพื่อการพัฒนาสังคมอยางตอเนื่อง และการสรางพลังจิตอาสา โดยการมีสวนรวมอยาง กวางขวางของภาคประชาชนและภาคสวนตางๆ ๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอรัฐบาล รัฐสภาและพรรคการเมืองตางๆ เรงรัดการปรับปรุง หรือออกกฎหมายใหม เพือ่ ขจัดการเลือกปฏิบตั โิ ดยไมเปนธรรมตอบุคคล โดย เฉพาะกลุม ทีม่ คี วามเปราะบางใหแลวเสร็จภายในเวลา ๓ ป พัฒนากลไกปองกันและขจัดการเลือก ปฏิบัติ ที่มีสวนรวมอยางกวางขวางและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริมมาตรการเชิงบวกเพื่อการ ขจัดการเลือกปฏิบัติ ๔. ขอใหรัฐบาล หนวยงานองคกรทุกภาคสวนกําหนดนโยบาย แผนงาน โครงการตาม พันธกิจของตน เพื่อนําไปสูการเรงดําเนินการสรางสภาพแวดลอมที่ทุกคนเขาถึงและใชประโยชน ไดจริง ๕. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรี เพื่อผลักดันใหมีการปฏิรูป ระบบการคลังเพื่อสังคม ดวยมาตรการสําคัญ ดังนี้

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๖ : การสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน

21


๕.๑ ปรับสัดสวนสลากกินแบงรัฐบาลและจัดสรรรายไดเขากองทุนพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชากรกลุมเปราะบางตางๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป โดยจัดสรรใหกอนหลังตามความพรอมในดานการบริหารจัดการกองทุน ๕.๒ การใชเงินรายไดดังกลาวของทุกกองทุนที่ไดรับจัดสรร ใหมุงสงเสริมนวัตกรรม ดานการพัฒนาสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการเสริมพลังอํานาจกลุม ประชากรเฉพาะที่มีความเปราะบาง สงเสริมและสนับสนุนความเขมแข็งของ องคกรดานเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการและผูดอยโอกาส สนับสนุน การสรางนวัตกรรมมาตรการเชิงบวกเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติ สนับสนุน นวัตกรรมการจัดการสภาพแวดลอมทางสังคมทีท่ าํ ใหทกุ คนเขาถึงและใชประโยชน ไดจริง รวมทั้งสนับสนุนการลดหรือจํากัดการเลนการพนัน และอบายมุข ทุก ประเภทและทุกรูปแบบ ๖. ใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป ตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง ที่ประกอบดวย ตัวแทนจากภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ และภาคประชาสังคมทุกกลุมที่เกี่ยวของ เพื่อทําหนาที่ ๖.๑ ศึกษาและใหขอเสนอแนะรูปแบบการบริหารกองทุนที่เหมาะสม และผลักดัน ใหเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารกองทุนทั้ง ๕ ประกอบดวย กองทุนเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ และสวัสดิการสังคม ให แลวเสร็จภายในเวลาไมเกิน ๑ ป เพื่อทําใหการบริหารกองทุนดังกลาวแตละ กองทุน เปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ บรรลุผลตามเจตนารมณ และหากมีความจําเปนตองตรารางกฎหมายใหม ก็ใหยกรางกฎหมายขึ้นมา นําเสนอดวย ๖.๒ ศึกษาและใหขอเสนอแนะกลไกระบบการคลังเพื่อสังคมในรูปแบบตางๆ เพื่อ การหารายไดเขากองทุนอยางยั่งยืน ๖.๓ ดําเนินการศึกษาและผลักดันการแกไข พระราชบัญญัติสํานักงานสลากกินแบง รัฐบาล พ.ศ. ๒๕๑๗ ใหเปนไปตามหลักการในขอ ๕.๑ ขางตนใหแลวเสร็จ ภายในเวลา ๑ ป เพื่อทําใหกลไกดานการคลังที่จะมาสนับสนุนการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย โดยเฉพาะในกลุมประชากรที่มีความเปราะบาง เหลานี้ มีความมั่นคงและยั่งยืน ๗. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

22

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๗

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

การปฏิรปู การกระจายอํานาจเพือ่ เสริมสราง และพัฒนาศักยภาพการจัดการตนเองของ ชุมชนทองถิ่น สรางความเปนธรรมและ ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการปฏิรูประบบการกระจายอํานาจเพื่อเสริมสรางและพัฒนา ศักยภาพการจัดการตนเองของชุมชนทองถิ่น สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้า ในสังคม๑ รับทราบ แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐในเรื่องการสรางการมีสวนรวมของประชาชนใน การกําหนดทิศทาง การพัฒนาและการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและให องคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในการดําเนินกิจการของทองถิ่นไดเองเพื่อ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เศรษฐกิจ และบริการสาธารณะในพื้นที่ไดอยางทั่วถึงและเทาเทียม รับทราบ ขอจํากัดและปญหาการจัดการภายใตโครงสรางและกลไกที่มีอยูในปจจุบันสง ผลใหระบบการกระจายอํานาจ สถานะและบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่นไมมีความเปน อิสระ องคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบมีกฎหมาย อํานาจหนาที่และภารกิจที่แตกตาง กัน ขาดความเปนเอกภาพ ขาดความเชื่อมโยงและขาดความเทาเทียมกันและในทางปฏิบัติ ยังไมมีความตอเนื่องของการดําเนินงาน ขาดการสนับสนุนจากภาคการเมือง ขาดกลไกการ ขับเคลื่อนที่มีความมุงมั่นในการทบทวนบทบาทและภารกิจของราชการสวนกลาง ราชการ ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๗

23


สวนภูมิภาค ที่มีความทับซอนและซํ้าซอนกับภารกิจขององคกรปกครองสวนทองถิ่น การ ถายโอนภารกิจทีเ่ กิดขึน้ ก็ขาดความสมบูรณไมเปนการโอนทัง้ ภารกิจ อัตรากําลัง และงบประมาณ รับทราบ มติสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครัง้ ที่ ๓ วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ ในวาระนโยบาย สนับสนุนพื้นที่จัดการตนเองเพื่อสังคมสุขภาวะ โดยมติเปนไปเพื่อการพัฒนากลไกการจัดการ ตนเอง และพัฒนาศักยภาพชุมชนทองถิ่นใหจัดการตนเองในทุกระดับ รับทราบ มติสมัชชาองคกรปกครองสวนทองถิน่ เพือ่ การปฏิรปู เมือ่ วันที่ ๒-๓ มีนาคม ๒๕๕๔ โดยมีมติในการปฏิรูปโครงสรางและระบบการปกครองสวนทองถิ่นเพื่อสรางความเปนธรรม และลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม โดยมติประกอบดวย ๔ สวน คือสวนที่ ๑ ขอเสนอดาน กฎหมาย ระเบียบและขอบังคับ สวนที่ ๒ ขอเสนอดานการถายโอนภารกิจ สวนที่ ๓ ขอเสนอ ดานการเงินการคลังทองถิ่น สวนที่ ๔ ขอเสนอดานการจัดความสัมพันธระหวางชุมชนกับ ทองถิ่น ตระหนักวา การปฏิรูประบบการปกครองทองถิ่นตองสนับสนุนใหประชาชนทั้งหญิง และชายมีศักยภาพในการปกครองตนเองอยางแทจริงและเอื้อประโยชนสูงสุดตอชุมชนตาม เจตนารมณของรัฐธรรมนูญและจําเปนที่จะตองมีการทบทวน ปรับปรุง และกําหนดโครงสราง กลไกและบทบาทหนาที่ใหม ดวยการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ รวมถึง การตรากฎหมายใหม ตระหนัก วาการจัดสมดุลเชิงอํานาจเปนเรื่องที่ตองเรงดําเนินการ โดยลดอํานาจการ บริหารจัดการของการบริหารราชการสวนกลางลงใหเหลือเพียงภารกิจหลักเทาที่จําเปน การกระจายอํานาจสูทองถิ่น และการจัดกระบวนการบริหารงานพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีสวนรวม ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญอยางแทจริง สิ่งที่สําคัญคือ การที่ประชาชนในชุมชน ทั้ง หญิงและชายสามารถตัดสินใจ กําหนดทิศทางการพัฒนา บริหารจัดการชุมชนของตนเอง รวมกับหนวยงานและภาคีอื่นๆ ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอตอคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหคณะกรรมการ กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันพัฒนาองคกรชุมชนและกรมสงเสริม การปกครองทองถิ่น รวมเปนแกนประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหมด รวมกันดําเนินการให เปนไปตามมติสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๓ และมติสมัชชาองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อ การปฏิรูป เมื่อวันที่ ๒-๓ มีนาคม ๒๕๕๔ ตามเอกสารแนบทายหมายเลข ๑ และ ๒ โดยมีขอ

24

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สังเกตและขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้ ๑.๑ ใหมีการตราพระราชบัญญัติสภาการปกครองทองถิ่นแหงชาติ โดยเนนสัดสวน ของผูแทนภาคประชาชน ผูแทนสภาทองถิ่น ผูแทนผูบริหารทองถิ่น ตัวแทน ขาราชการสวนทองถิ่น ไมนอยกวาสองในสาม และมีสัดสวนหญิงและชายที่ ใกลเคียงกันตามรัฐธรรมนูญฯ ๒๕๕๐ มาตรา ๘๗ วรรคทาย หรือที่เหมาะสม ตามบริบทของพื้นที่ ๑.๒ เสนอใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมุงเนนการแกไขปญหาทรัพยากรและ สิ่งแวดลอมในทองถิ่น การปฏิรูปและการจัดการที่ดิน การพัฒนาสังคม โดย เฉพาะสําหรับเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุและผูพิการและการดูแลคุณภาพชีวิต ของแรงงานในทองถิ่น ๑.๓ ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งพัฒนาระบบการเลือกตั้งทองถิ่นโดยใหมีการนับ คะแนนรวมที่เขตการเลือกตั้งและมีการจัดสรรจํานวนผูแทนตามสาขาอาชีพ และกลุมผลประโยชน และเพิ่มสัดสวนของผูแทนจากสภาองคกรชุมชนและ สภาวิชาชีพอื่นๆ ใหเปนสมาชิกสภาทองถิ่นไมนอยกวา ๒ คน ๑.๔ เห็นชอบใหประชาชนเขารวมคิด รวมทํา รวมตรวจสอบ รวมกํากับ และรับรองผล ของการกําหนดนโยบายในระดับพื้นที่และใหคนทองถิ่นมาเปนบุคลากรภายใต การบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ๑.๕ ใหมีกลไกที่เปนอิสระที่มีภาคประชาชนมากกวาครึ่งหนึ่ง กํากับการอภิบาล ระบบราชการ และการคัดเลือกผูบ ริหารทัง้ ในสวนกลาง สวนภูมภิ าคและทองถิน่ ๒. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปดําเนินการ ดังนี้ ๒.๑ เสนอตอคณะรัฐมนตรีใหแตงตัง้ คณะกรรมการซึง่ ประกอบดวย ผูแ ทนภาคประชาชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ขาราชการทองถิ่น คณะกรรมการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและสวนราชการที่เกี่ยวของ เพื่อพิจารณายก รางกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ๔ ฉบับ ที่เกี่ยวของกับการกระจายอํานาจ ใหแลวเสร็จตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ ๒.๒ รวมกับสมาชิกสมัชชาปฏิรูปผลักดันและติดตามผลการดําเนินการในขอ ๑ โดย ใหสมาคมองคกรปกครองทองถิน่ ทัง้ ๓ สมาคม (ซึง่ ไดแก สมาคมองคการบริหาร สวนจังหวัดแหงประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย สมาคม องคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย) เปนองคกรประสานงาน ๒.๓ ตัง้ คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการตนเองของชุมชนทองถิน่ ตามมติสมัชชา สุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๓ และใหมีองคประกอบในสัดสวนที่เหมาะสม ของ สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๗ : การปฏิรูปการกระจายอํานาจเพื่อเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพการจัดการตนเอง ของชุมชนทองถิ่น สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม

25


ผูแทนจากองคกรชุมชน สภาองคกรชุมชน โรงเรียน ศาสนา กลุมอาชีพ องคกร ปกครองสวนทองถิน่ หนวยงานทีม่ สี ว นเกีย่ วของ องคกรภาคีตา งๆ ผูท รงคุณวุฒิ และคํานึงถึงสัดสวนหญิงชาย โดยมีสดั สวนองคกรชุมชน ไมนอ ยกวารอยละ ๖๐ ใหทาํ หนาทีศ่ กึ ษาและพัฒนาขอเสนอ กลไก และกระบวนการ ทีน่ าํ ไปสูก ารพัฒนา ศักยภาพและบทบาทของชุมชนทองถิ่นใหสามารถจัดการตนเองในทุกระดับ ๒.๔ รวมกับเครือขายสมัชชาปฏิรปู เสนอตอคณะรัฐมนตรีและผูต รวจการแผนดินรัฐสภา ใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญ เพื่อใหจัดระบบการเงินการคลังเพื่อใหประชาชน มีสวนรวมในการจัดสรรงบประมาณแผนดินลงสูพื้นที่โดยมีชุมชนเปนตัวตั้ง อยางแทจริง และมีกลไกระบบงบประมาณทีเ่ ปนอิสระ มีภาคประชาชนมากกวา ครึ่งหนึ่งกํากับในทุกระดับ ตั้งแตระดับชาติจนถึงระดับชุมชน ๓. ใหมคี ณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู ในระดับพืน้ ที่ ทําหนาทีเ่ สนอขอมูลกระบวนการพัฒนา ทองถิ่นและสะทอนปญหาในแตละทองถิ่น ๔. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

26

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๘

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรค และเยียวยาสังคม สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณาเรื่องศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม ตระหนักวา วัฒนธรรมคือวิถีชีวิตและวิถีชีวิตนั้นเองคือเนื้อดินใหกําเนิดเนื้องานอัน นิยาม วา “ศิลปะ” ดวยเหตุนี้ “ศิลปะ” และ “วัฒนธรรม” จึงมิอาจแยกออกจากกัน ในสังคมยุคโลกาภิวัตน ศิลปะยิ่งมีบทบาทตอวัฒนธรรม มีอิทธิพลตอความคิด ทั้งดาน เศรษฐกิจ และสังคม โดยผานกระบวนการผลิตแบบอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม หากสังคมไทย รูไมเทาทัน ขาดภูมิคุมกัน ไมเห็นคุณคาเชิงอัตลักษณทางวัฒนธรรม ขาดกระบวนการวาง รากฐานเชิงระบบ การพัฒนาสังคมไทยไปสูความยั่งยืนก็มิอาจเกิดขึ้นได สังคมไทยกําลังอยูในภาวะวิกฤต ทั้งความเหลื่อมลํ้าในสังคม เกิดความไมเปนธรรม การ ขาดความสามัคคีและขาดความสํานึกในการรวมกันพัฒนาสังคม สงผลใหการพัฒนาประเทศ ไรทิศทางและไมมีประสิทธิภาพ สาเหตุสวนหนึ่งเกิดมาจากพื้นฐานการศึกษาของไทยที่หลีก หนีจากศิลปวัฒนธรรมอันเปนรากฐานดั้งเดิม และทิศทางการพัฒนาประเทศที่ไมไดมุงเนนการ สงเสริมผานศิลปวัฒนธรรม ชื่นชมวา ศิลปะมีพลัง สามารถกลอมเกลาจิตใจของผูคนในสังคมใหออนโยน และพรอม จะเขาใจโลกและชีวิต อันจะนําไปสูสุนทรียสังคม หนาที่ของศิลปนและศิลปะคือ การสรางสรรค สังคมและการใหความบันเทิง อันเปนหนทางหนึ่งในการสรางสุนทรียะและชวยเยียวยา วิกฤตการณสังคมซึ่งเปนบทบาทที่สืบเนื่องมาแตอดีตแลว การพัฒนาทั้งศิลปนผูสรางและ ประชาชนผูเสพไปพรอมกันจึงเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่ง

27


รับทราบวา แมจะมีหนวยราชการ อาทิ กระทรวงวัฒนธรรม เปนองคกรดูแลดานศิลป วัฒนธรรมอยูแลว แตเนื่องจากตองดูแลรับผิดชอบทั้งระบบและลาชาดวยกระบวนการและ ขั้นตอนของทางราชการ ตลอดจนวิธีคิดและวิธีมองปญหาที่แตกตางกันออกไป องคกร หนวยงานหรือศูนยศิลปะใหญนอยทั้งหลาย ที่จัดตั้งขึ้นโดยบริษัทเอกชน หรือชุมชน หรือ ประชาชน ซึ่งมีความเปนอิสระและมีความคลองตัวสูง จึงมักเปนฝายขับเคลื่อนผลักดัน งานศิลปวัฒนธรรมออกไปเอง ตามวาระโอกาสเทาที่จะสามารถทําได แตก็มีกําลังทุนและพื้นที่ ไมเพียงพอที่จะขับเคลื่อนใหเกิดเปนภาพรวมทั้งหมดได เพราะมีทั้งที่รูและไมรู ไมมีสายสัมพันธ ซึ่งกันและกัน รวมทั้งศิลปะแตละแขนงก็ขาดการปฏิสัมพันธกัน ทําใหศิลปนในปจจุบันตางคน ตางสรางตางองคกรตางเดิน ยังไมสามารถทําใหศิลปะในภาพรวมมีพลังตอการสรางสรรคและ เยียวยาสังคมได มีความกังวลวา ปญหาอาจยิ่งทับซอนในแงมุมของการครอบงําทางศิลปะ เพราะองคกร ศิลปวัฒนธรรมอิสระที่มีพลังมากกวา ใหญกวาและที่อยูในสวนกลาง จะขับเคลื่อนและผลักดัน งานศิลปวัฒนธรรมในสายทางและรูปแบบของตนเองออกไปไดมากกวา จนกลายเปนกระแส หลักครอบงําศิลปวัฒนธรรมชุมชน หรือหนวยยอยไดและยังถูกครอบงําโดยวัฒนธรรม ตางชาติ เพราะขาดการรูจริง รูลึกในภูมิปญญาและรากเหงา หรือ “ภูมิบาน ภูมิเมือง” ของ ตนเองตลอดจนขาดไรพื้นที่และเวทีที่จะแสดงออกซึ่งงานศิลปะชุมชน ตระหนักวา ถึงเวลาแลวที่ศิลปนในแตละสาขา แตละพื้นที่ ควรจะมีสวนรวมในการ สรางสรรคสังคม โดยใชศิลปะทุกสาขา (รวมสมัยและพื้นบาน) พัฒนาเยียวยาผูคนและสังคม รวมทั้งจะตองรวมตัวกัน เพื่อความรวมมือระหวางผูสรางงานศิลปะที่มีความแตกตางกัน ทั้ง ตางสาขา ตางที่ ตางทิศทาง ตางรูปแบบ โดยยังสามารถคงความเปนเอกลักษณและความเปน อิสระของตนเองไวไดดวย รวมทั้งใชศิลปะเปนสื่อในการใหการศึกษาและสรางสรรคจิตใจของ ผูคนในสังคม และเลิกการใชศิลปวัฒนธรรมในเชิงลอเลียนกลุมเปราะบาง จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. การใชพลังของศิลปวัฒนธรรม ในการเยียวยาและพัฒนาสังคม ๑.๑ ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรีกําหนดใหกระทรวง และหนวยงานของรัฐทุกแหง กําหนดแผนและดําเนินการตามแผนการใชพลัง ของศิลปวัฒนธรรมทุกสาขา (รวมสมัยและพื้นบาน) วรรณศิลป ทัศนศิลป คีตศิลปและศิลปะการแสดง เพื่อเสริมการทํางานในภารกิจหลักเพื่อสงเสริม เยียวยาและกลอมเกลาจิตใจผูคนในสังคม มอบหมายใหกระทรวงวัฒนธรรม กํากับดูแลงานศิลปวัฒนธรรมทีอ่ อกสือ่ เพือ่ ใหเด็กและเยาวชนเขาใจศิลปวัฒนธรรม

28

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๑.๒

๑.๓

๑.๔ ๑.๕

และประวัติศาสตรไมใหผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริง ขอใหสถาบันการศึกษาทัง้ รัฐและเอกชนทุกแหง ชุมชนและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ใชศลิ ปวัฒนธรรมเปนเครือ่ งมือในการชวยแกไขปญหาสังคมเรงดวน การสงเสริม การเรียนรูเทาทัน การสรางภูมิคุมกัน การบําบัดแกไขพฤติกรรมและอารมณ การสงเสริมทักษะการเรียนรู และใหสถาบันการศึกษาในทองถิน่ พัฒนาหลักสูตร ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น เพื่อเสริมสรางความเขาใจสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ ขอใหสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ที่ทําหนาที่จัดสรรและกํากับดูแลกิจการวิทยุ กระจายเสียง โทรทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ กํากับดูแลสื่อ รวมทั้ง สื่อพื้นบาน ชุมชน ทองถิ่น ใหมีรายการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เพื่อเยียวยา และพัฒนาสังคมอยางนอยรอยละ ๒๕ ของการนําเสนอทัง้ หมดและทําใหคนทุก กลุมสามารถเขาถึงได เชน เพิ่มตัวบรรยายภาพและจอลามภาษามือ เพื่อการ เขาถึงขอมูลขาวสารอยางเปนธรรม ขอใหเลิกการใชศิลปวัฒนธรรมที่ลอเลียนกลุมเปราะบาง ใหหนวยงาน/ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ รวมยกรางยุทธศาสตรชาติในประเด็น ศิลปวัฒนธรรม

๒. การบริหารจัดการใหศิลปวัฒนธรรมดํารงอยูอยางมีพลังและเปนเอกลักษณและเปน อิสระ ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปสนับสนุนการจัดตั้งสมัชชาศิลปวัฒนธรรมภาค ประชาชน หรือกลไกอิสระทีศ่ ลิ ปนเปนเจาของ มีสว นในการบริหารจัดการและไดรบั การสนับสนุน จากภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรอื่นๆ สมัชชาศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน มีภารกิจหลัก ดังนี้ ๒.๑ สนับสนุนใหเกิดองคกร ภาคีเครือขายศิลปวัฒนธรรมของชุมชน ๒.๒ สนับสนุนใหเกิดพื้นที่การวิจารณศิลปวัฒนธรรมทุกแขนงในสื่อสาธารณะและ เวทีชุมชน ๒.๓ สนับสนุนใหมีการจัดทําและดําเนินการแผนพัฒนาผูสรางและผูเสพ ๒.๔ สนับสนุนใหมีการจัดตั้งสมัชชาผูดูหนังแหงชาติ ๒.๕ สนับสนุนใหมีพื้นที่สาธารณะเพื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชน ๒.๖ สงเสริมใหเผยแพรศลิ ปวัฒนธรรมไทยใหสเู วทีโลก เพือ่ ใหตา งชาติรบั รูค วามสวยงาม สติปญญาของคนในชาติและสงเสริมผลในแงเศรษฐกิจและสังคม ๒.๗ ภารกิจอื่นๆ ที่สมัชชาปฏิรูประดับชาติเห็นสมควร สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๘ : ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม

29


๓. การสนับสนุนทุนการดําเนินงานพัฒนาศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน ๓.๑ ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมภาค ประชาชนทุกแขนงอยางทั่วถึงและเทาเทียม ๓.๒ ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอคณะรัฐมนตรี ออกกฎหมายจัดตัง้ “กองทุน สนับสนุนศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน” ซึง่ มีแหลงทุนทีช่ ดั เจน และยัง่ ยืน โดย ใหมีผูแทนจากสมัชชาศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชนทุกภูมิภาคหรือกลไกอิสระ ตามขอ ๒ มีสวนรวมในการบริหารกองทุน ๓.๓ ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เชน กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงวัฒนธรรม เปนเจาภาพรวมในการ ดําเนินการเรงรัดการขับเคลื่อนยุทธศาสตรเชิงรุกดานการเสริมสรางศักยภาพ เด็ก เยาวชนและครอบครัวในกระบวนการเรียนรูเ ทาทันสือ่ รวมถึงการสนับสนุน ดานงบประมาณ และนโยบายที่หนุนเสริมการทํางานอยางมีสวนรวมของภาค ประชาสังคม ๓.๔ ใหรัฐสนับสนุนทุนแกสถาบันการศึกษาที่เปนแหลงผลิตบัณฑิตที่รวมผลิตสื่อ ที่สรางสรรค ๔. ใหหนวยงานภาครัฐที่กํากับดูแลงานศิลปวัฒนธรรม เชน กระทรวงวัฒนธรรม ทํางาน รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น สนับสนุนงานศิลปวัฒนธรรมของภาคประชาชน อยางจริงจัง และเขมแข็ง ๕. ขอใหรัฐบาลมอบหมายหนวยงานที่เกี่ยวของ ดําเนินการดังนี้ ๕.๑ จัดตั้งหนวยงานหรือองคกรใหการรับรองวุฒิการศึกษาใหกับศิลปน ๕.๒ ดูแลดานลิขสิทธิ์และการแสดงดนตรีใหมีความสงบเรียบรอย ๕.๓ สงเสริมงานศิลปวัฒนธรรมใหเปนกลไกในการสรางสังคมพหุวฒ ั นธรรมทีท่ กุ คน สามารถเขาถึงและใชประโยชนไดจริง รวมถึงขจัดการผูกขาดทางวัฒนธรรม ๕.๔ เฝาระวังและปองกันไมใหงานศิลปวัฒนธรรมถูกใชเปนเครื่องมือในการกดขี่ ลวงละเมิด การเอารัดเอาเปรียบทางสังคมและการเลือกปฏิบัติ ๕.๕ สงเสริมใหศิลปวัฒนธรรมสะทอนภาพลักษณที่แทจริงของกลุมคนในสังคม เชน เด็ก เยาวชน สตรี เปนตน ๕.๖ ใหกระทรวงวัฒนธรรมเปนผูประสานงานหลักเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของทั้ง ภาครัฐและภาคประชาสังคมไดพฒ ั นาศิลปนผูส รางงาน ใหมคี วามรับผิดชอบตอ งานที่สรางออกมา โดยใหคํานึงถึงผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นกับสังคมดวย

30

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๖. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๘ : ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม

31


สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๙

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔

ระเบียบวาระในการพิจารณา สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓ สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพจิ ารณาระเบียบวาระที่ ๑-๘ ของสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ ครัง้ ที่ ๑ สนับสนุน เปาหมายเชิงอุดมคติเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ของคนไทยทีก่ าํ หนดโดยคณะกรรมการ ปฏิรูป ๓ ประการ คือ ๑. เปนชีวิตที่มีศักดิ์ศรีและเทาเทียมกันในฐานะความเปนมนุษย มีสวนรวมทางสังคม มีสํานึกตอประโยชนสุขของสวนรวมและมีโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของตน ทั้งทางกาย ใจ ภูมิปญญาและจิตวิญญาณ ๒. เปนชีวิตที่สงบสุขตามวิถีวัฒนธรรมแหงสันติภาพ ปราศจากภัยคุกคามจากผูอื่น หรือการคุกคามซึ่งกันและกัน ตลอดจนอยูในสภาพแวดลอมที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาวะ ๓. เปนชีวติ ทีม่ หี ลักประกันในดานเงือ่ นไขการครองชีพ และมีกลไกการคุม ครองทางสังคม ตระหนัก ถึงความซับซอนและความเชื่อมโยงของปญหาตางๆ ที่สั่งสมอยูในสังคมไทย อันเปนตนเหตุของ “ความเหลื่อมลํ้าและความไมเปนธรรม” ในสังคม การปฏิรูปสังคมไทย เพื่อสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้า จึงตองดําเนินการปฏิรูปในประเด็นตางๆ ที่เปน ปญหารากฐานของปญหาทั้งมวล หากดําเนินการปฏิรูปเฉพาะบางประเด็นในลักษณะแยกสวน ยอมไมสามารถแกปญหาใหไดผลในภาพรวมและอยางยั่งยืนได

32


ไดพิจารณาอยางรอบคอบแลว จึงไดมีมติ ๑. กําหนดประเด็นตางๆ ทีค่ วรพิจารณาในการปฏิรปู ประเทศไทย เพือ่ สรางความเปนธรรม และลดความเหลือ่ มลํา้ ซึง่ จะพิจารณาในสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ หรือสมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็น ดังนี้ ๑.๑ ประเด็นหลัก เรื่อง การปฏิรูประบบภาษีและมาตรการการคลัง ๑) ภาษีมรดก ๒) ภาษีสิ่งแวดลอม ๓) ภาษีทจี่ ดั เก็บจากธุรกรรมการแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ (Tobin Tax) ๔) ภาษีสินคาที่มีผลตอสุขภาพ ๕) ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสราง ๖) ภาษีมูลคาเพิ่ม ๗) คาภาคหลวง / รายไดจากการใหสมั ปทานทรัพยากรธรรมชาติ/ระบบการ จัดเก็บรายไดจากทรัพยากรธรรมชาติ ๘) ทบทวนมาตรการลดหยอนและสิทธิพิเศษทางภาษี ๙) การปองกันการผูกขาดการคาและการแกไขกฎหมายการแขงขันทาง การคา ๑๐) มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดลอม ๑๑) การเก็บภาษีเมื่อทรัพยสินมีมูลคาเพิ่มขึ้น (Capital Gain Tax) ๑๒) การปฏิรูปเพื่อแกไขปญหาการกูหนี้นอกระบบ ๑๓) ภาษีอบายมุข/การพนัน ๑.๒ ประเด็นหลัก เรื่อง การปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม คุณภาพชีวิตแรงงานและ เกษตรกร ๑) การปฏิรูประบบสวัสดิการชุมชนเพื่อบูรณาการชุมชนทองถิ่น ๒) การปฏิรูประบบสังคมเพื่อความเปนธรรม ๓) แกไข (ราง) พระราชบัญญัติประกันสังคม ๔) รางพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ ๕) สนับสนุนการออมในกลุมอาชีพแรงงานนอกระบบ ๖) การสงเสริมดานอาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบ ๗) การปฏิรูประบบแรงงานและสวัสดิการ ๗.๑) การสนับสนุนการรวมตัวและการคุมครอง ๗.๒) การปรับอัตราคาจางขั้นตํ่า สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๙ : ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓

33


๗.๓) ๗.๔) ๗.๕) ๗.๖) ๗.๗) ๗.๘)

การจางงานที่เปนธรรม การจัดระบบสวัสดิการจากการทํางาน (Workfare) กระบวนการยุติธรรมในแรงงาน การใชสิทธิเลือกตั้งของผูใชแรงงานในสถานประกอบการ การจัดตั้งธนาคารแรงงาน การบูรณาการพระราชบัญญัติแรงงาน และพระราชบัญญัติ รัฐวิสาหกิจสัมพันธเขาดวยกัน ๗.๙) การขจัดการกดขี่ดานแรงงาน ๗.๑๐) การพัฒนาศักยภาพของแรงงาน ๗.๑๑) แรงงานขามชาติ ๗.๑๒) แรงงานไทยในตางประเทศ ๘) การจัดสวัสดิการใหกับคนกลุมตางๆ ในสังคม ๘.๑) กลุมผูดอยโอกาสทางสังคม ๘.๒) กลุมชาวนา ๘.๓) กลุมอาสาสมัครหรือเครือขายภาคประชาชน ๙) สหกรณแนวใหม ๑๐) ระบบเกษตรพันธะสัญญา (Contract farming) ๑.๓ การปฏิรูปที่ดินและทรัพยากร ๑) การพัฒนาใหมคี ณะกรรมการระดับชาติในการจัดการทีด่ นิ และทรัพยากร เพื่อดูแลและคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนจากการใชประโยชนและ การจัดการที่ดิน ๑.๑) ธนาคารที่ดิน (Land Bank) ๑.๒) โฉนดชุมชน ๑.๓) การแกกฎหมายการใหเชาที่ดิน ๑.๔) กลไกแรงจูงใจในการพัฒนาทีด่ นิ และเพิม่ ประสิทธิภาพการใชทดี่ นิ ๒) การจัดการนํ้า ลุมนํ้าและการเชื่อมโยงคลองสงนํ้าไปยังระบบแกมลิง ๓) การจัดการเหมืองแร ๔) การจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง ๕) การลดความขัดแยงในการใชทรัพยากรระหวางชุมชนและสัตวปาทั้งใน และนอกเขตปาอนุรักษ / การแกไขปญหาสัตวปาเรรอนในเมือง ๖) การปฏิรูปการจัดการดานพลังงาน

34

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๗) การปฏิรูปเทคนิคการเกษตรแบบธรรมชาติรูปแบบใหม การสงเสริม เศรษฐกิจการเกษตรและเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๔ การกระจายอํานาจสูทองถิ่นเพื่อใหชุมชนทองถิ่นจัดการตนเอง ๑) การปรับบทบาทผูว า ราชการจังหวัด การปรับความสัมพันธเชิงอํานาจหนาที่ ระหวางสวนภูมิภาค และทองถิ่น ๒) การกระจายอํานาจดานงบประมาณสูชุมชนทองถิ่น ๓) องคกรพัฒนาศักยภาพตนเองขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ๔) การพัฒนาจังหวัดใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญและการ ปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษ ๕) การแกไขกฎ/ระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ทีเ่ ปนอุปสรรคตอการกระจาย อํานาจใหแกทองถิ่น ๖) รางพระราชบัญญัตกิ ารมีสว นรวมของประชาชนในการบริหารงานทองถิน่ ๗) สงเสริมความเขมแข็ง “องคกรชุมชน” ๘) สนับสนุนกระบวนการ “ประชาธิปไตยชุมชน” ของสภาองคกรชุมชนและ สภาพัฒนาการเมือง ๙) สถาบันการเงินชุมชน ๑๐) คุณธรรม จริยธรรมของนักการเมืองทุกระดับ ๑๑) การทํางานดานสุขภาวะชุมชนทองถิ่น ๑.๕ ประเด็นหลักดานศิลปวัฒนธรรม ๑) ศิลปะกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม ๒) การกอบกูภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย ๓) การฟนฟูและพัฒนาบทบาทของศาสนาในประเทศไทย ๔) สงเสริมการศึกษาและสรางเครือขายระหวางคนไทยและชนชาติตา งๆ ใน โลก เพื่อการเรียนรูและเขาใจคุณภาพชีวิตของบุคคล ๕) วัฒนธรรมประชาธิปไตย ๑.๖ ประเด็นหลักดานระบบและโครงสราง ๑) การปฏิรปู ระบบและกระบวนการยุตธิ รรม การบังคับใชกฎหมายของประเทศ ไทย และกองทุนยุติธรรม ๒) การปฏิรูปสื่อเพื่อความเปนธรรมในสังคม ๓) การปฏิรูประบบการศึกษาและคุณธรรม จริยธรรมของบุคลากรทางการ ศึกษา สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๙ : ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓

35


๔) การปฏิรูประบบมูลนิธิ ๕) การปฏิรูประบบพิพิธภัณฑ ๖) การปฏิรูปการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการโทรคมนาคม ๗) การปฏิรูประบบการขนสงและการเดินทางในระบบราง ๘) องคกรธรรมาภิบาล ๙) การพัฒนาระบบราชการ คุณธรรมและจริยธรรมของขาราชการ ๑๐) การปฏิรูประบบการเมือง ๑.๗ ประเด็นหลักดานสุขภาวะประชากรกลุมตางๆ ๑) ประชากรกลุมชาติพันธุและคนไรสัญชาติ ๒) การปฏิรูปความเปนธรรมของผูพิการ ๓) การปฏิรูปคุณภาพชีวติ ผูสูงอายุแบบองครวมอยางยั่งยืน ๓.๑) การเตรียมความพรอมผูสูงอายุ ๓.๒) การสงเสริมกิจกรรมผูสูงอายุอยางหลากหลาย ๓.๓) การสงเสริมสวัสดิการผูสูงอายุอยางเหมาะสม ๓.๔) การบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับผูสูงอายุ ๓.๕) พัฒนาองคความรูการวิจัยและประเมินผลผูสูงอายุ ๔) สุขภาวะผูหญิง ๕) การสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน ๑.๘ ประเด็นหลักดานอื่นๆ ๑) ความเปนธรรมในการจัดการภัยพิบัติที่ทุกคนสามารถเขาถึงและใช ประโยชนได รวมถึงประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสภาวะโลกที่มีผลตอ สภาวะของประเทศไทย (ภาวะโลกเย็น-โลกรอน) ๒) ความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต ความมั่นคงตามแนวชายแดนและ ความสงบเรียบรอยในบานเมือง ๓) การพัฒนาพื้นที่พัฒนาพิเศษ เชน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต พื้นที่ ภาคใต พื้นที่เศรษฐกิจ ๒. เนื่องจากสถานการณตางๆ มีพลวัตสูง ดังนั้นประเด็นตางๆ ที่กําหนดไวในขอ ๑. จึง ควรไดรับการพิจารณาดําเนินการอยางยืดหยุน สอดคลองกับพลวัตของสถานการณและโอกาส โดยไมยึดถือในลักษณะตายตัวและขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปและสํานักงานปฏิรูป ทํา การวิเคราะหและปรึกษากับองคกรภาคีเครือขายตางๆ เพื่อปรับปรุงรายการประเด็นในขอ ๑. อยางตอเนื่อง โดยใหนํารายการที่ปรับปรุงแลวมาเสนอตอสมัชชาปฏิรูปเพื่อทราบทุกป

36

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป คณะกรรมการปฏิรูปและสํานักงานปฏิรูป ดําเนิน การอยางตอเนื่องรวมกับองคกรภาคีเครือขายตางๆ จัดทําการวิเคราะหปญหาและสังเคราะห ขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูปในแตละประเด็น พรอมทั้งจัดใหมีเวทีเพื่อสรางการมีสวนรวม จากผูที่มีสวนไดเสียอยางกวางขวาง และนําเสนอตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ หรือสมัชชาปฏิรูป เฉพาะประเด็นในกรณีที่เรงดวนหรือที่เครือขายที่รับผิดชอบประเด็นมีความพรอมและใหมีการ จัดสมัชชาปฏิรูประดับชาติ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึง ๒๕๕๖ ตามระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยการปฏิรปู พ.ศ. ๒๕๕๓ และใหจดั สมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็นเพิม่ เติม ตามความจําเปน โดยการดําเนินการใหเปนอิสระจากการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล

สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๙ : ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓

37


38

มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.