การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ

Page 1

รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตออาจารยผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2550 The study of students’ satisfaction towards lecturers Of Ratchaphruek College in 2007 โดย 1. นางผองใส ถาวรจักร 2. รศ.พิศเพลิน เขียวหวาน 3. นางสาวศิริพร อวมมีเพียร 4. นางณัฐมน พันธุชาตรี 5. นางสาวรัตนาภรณ กิตติทนงวัตร 6. นางสาวลัดดาวรรณ จันทวงษ 7. นางสาวศุภลักษณ ฮวดลิ้ม

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2551


รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตออาจารยผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2550 The study of students’ satisfaction towards lecturers Of Ratchaphruek College in 2007 โดย 1. นางผองใส ถาวรจักร 2. รศ.พิศเพลิน เขียวหวาน 3. นางสาวศิริพร อวมมีเพียร 4. นางณัฐมน พันธุชาตรี 5. นางสาวรัตนาภรณ กิตติทนงวัตร 6. นางสาวลัดดาวรรณ จันทวงษ 7. นางสาวศุภลักษณ ฮวดลิ้ม

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2550 พ.ศ. 2551


ชื่อโครงการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตออาจารยผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2550 ชื่อผูวิจัย

นางผองใส ถาวรจักร และคณะ

ที่ปรึกษางานวิจัย รศ.ดร. ลัดดาวัลย เพชรโรจน หนวยงาน สํานักวิชาการ วิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2551 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตอการจัดเรียนการสอนของอาจารยผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ในดานการสอนของอาจารย ดาน สื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยในแตละ คณะ / สาขา และดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนในรายวิชา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะ นิติศาสตร และหมวดศึกษาทั่วไป การวิจัยครั้งนี้ ในกลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ 3 คณะ ไดแก คณะ บริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร ที่กําลังศึกษาอยูในปการศึกษา 2550 และนักศึกษาที่สําเร็จ การศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1 / 2551 จํานวนรอยละ 80 ของประชากร เครื่องมือที่ใชเปนแบบ ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและคําถามปลายเปด เก็บรวบรวมขอมูลในตอนปลายภาคการ ศึกษาที่ 2 / 2550 หลังจากเรียนจบจากรายวิชาทั้งหมวดศึกษาทั่วไป หมวดวิชาบังคับ วิชาเลือกและ วิชาเลือกเสรี ตอนสิ้นสุดชั่วโมง และกลุมนักศึกษาที่สําร็จการศึกษาแลวในภาคเรียนที่ 1 / 2551 โดย เก็บในชวงระยะเวลาเดียวกัน สถิติที่ใช คือ คาเฉลี่ย และการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยผบวา 1) จากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอนทั้ง 5 ดาน ตามรายคณะ / สาขา พบวา นักศึกษาสวนใหญในคณะ/สาขามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ในภาพรวมทั้ง 5 ดาน อยูในระดับพอใจมาก และนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจสาขาการจัดการการ โรงแรมและการทองเที่ยว มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในดานการใชสื่อการสอนและอุปกรณ การสอนและดานคุณลักษณะของอาจารยผูสอนอยูในระดับพอใจมากที่สุด รวมทั้งนักศึกษาคณะ นิติศาสตรมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในดานคุณลักษณะของอาจารยผูสอนอยูในระดับพอใจ มากที่สุด แตสําหรับนักศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวมี ความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในดานการสอนอยูในระดับพอใจปานกลาง


2) จากการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอนในแตละ ดาน ในทุกคณะ / สาขา พบวา 1. ความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยผูสอนพบวา นักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตอ อาจารยผูสอนคณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขา การตลาด คณะบัญชี และสาขาการจัดการอยูในระดับพอใจมากตามลําดับ และสําหรับนักศึกษาสวน ใหญมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะบริหารธุรกิจสาขาการจัดการการโรงแรมและการ ทองเที่ยวอยูในระดับพอใจปานกลาง 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน พบวา นักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะนิติศาสตร คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดศึกษาทั่วไป สาขาการตลาด สาขาการจัดการ และคณะบัญชี อยูใน ระดับพอใจมาก ตามลําดับ และนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวอยูในระดับพอใจมากที่สุด 3. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในดานการวัดและ ประเมินผลพบวานักศึกษาทุกคณะ / สาขา มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนอยูในระดับพอใจมาก 4. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในดานคุณลักษณะของ อาจารยพบวานักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของหมวดศึกษาทั่วไป คณะ บริหารธุรกิจ สาขาคอมธุรกิจ สาขาการตลาด คณะบัญชี และสาขาการจัดการอยูในระดับพอใจมาก ตามลําดับ และนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการ โรงแรมและการทองเที่ยวและนิติศาสตรอยูในระดับพอใจมากที่สุด 5. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในดานผลสัมฤทธิ์ ที่ นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้น พบวา นักศึกษาทุกคณะ / สาขา มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน อยูในระดับพอใจมาก


ค Project:

The study of students’ satisfaction towards lecturers of Ratchaphruek College in 2007

Researchers:

Mrs. Pongsai Thawornchak and team

Advisor:

Asso. Prof. Dr. Laddawan Petchroj

Deparment:

Academic Department

Academic year:

2008

Abstract The objectives of this research were 1) to study the satisfaction of Ratchaphruek College students towards lecturers’ instruction and teaching technique including classroom management of Ratchaphruek College as following factors; teaching method, instructional media and equipment, measurement and evaluation, character of lecturers in each faculty and major, and the achievement of each subject 2) to compare the level of satisfaction of Ratchaphruek College students towards the lecturers in faculty of business administration, faculty of law, faculty of accounting, and department of general studies. The sampling of this research was 80 percent of students who were still studying in 3 faculties; faculty of business administration, faculty of law, and faculty of accounting academic year 2007, and students who were graduated in the first semester academic year 2008 in Ratchaphruek College. A questionnaire with closed and opened-end questions was used in this research. Data was collected in second semester academic year 2007 after finishing subject in department of general studies, required subject, and elective and free elective subject. Data was analyzed by using mean score and content analysis. The findings of the research were found as following; 1) The satisfaction of students towards the lecturers in 5 factors was found that most of students had highly satisfied level in overall. Moreover, students in faculty of business administration majoring in hotel and tourism management had the highest level of satisfaction in using instructional media and equipment, and character of lecturers. Students in faculty of law had also the highest level of satisfaction in character of lecturers. However, students in faculty of business administration majoring in hotel and tourism management had medium level of satisfaction in teaching method of lecturers. 2) To compare the level of satisfaction in average mean score towards the lecturers was found as following; 1. The satisfaction of students towards lecturers found that most of students had high level of satisfaction towards the lecturers in faculty of law, department of general studies, faculty of business administration majoring in business computer, marketing major, faculty of accounting, and management major respectively. However, lecturers in faculty of business administration majoring in hotel and tourism management were found in medium level of satisfaction.


ง 2. The satisfaction of students in term of instructional media and equipment was found that most of students had high level of satisfaction towards the lecturers in faculty of law, faculty of business administration majoring in business computer, department of general studies, marketing major, management major, and faculty of accounting respectively. Moreover, lecturers in faculty of business administration majoring in hotel and tourism management had the highest level of satisfaction. 3. The satisfaction of students in term of measurement and evaluation had highly satisfied in all faculties and majors. 4. The satisfaction of students in term of character of lecturers were found that most of students had high level of satisfaction towards the lecturers in department of general studies, faculty of business administration majoring in business computer, marketing major, faculty of accounting, and management major respectively. Moreover, lecturers in faculty of business administration majoring in hotel and tourism management and faculty of law were found the highest level of satisfaction. 5. The satisfaction of students in terms of the achievement of each subject was found that students in all faculties and majors had highly satisfied.


กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ตอการจัดการเรียน การสอนของอาจารยผูสอน นับวามีความสําคัญตอวิทยาลัยและคณาจารยของวิทยาลัยราชพฤกษเปน อยางยิ่ง และงานวิจัยครั้งนี้สําเร็จดวยดี ดวยการไดรับคําแนะนํา และตรวจเครื่องมือที่ใชในการวิจัย จาก รศ.ดร.ลัดดาวัลย เพชรโรจน ประธานที่ปรึกษางานวิจัยของวิทยาลัยราชพฤกษ คณะผูวิจัย ขอขอบพระคุณทานไว ณ. โอกาสนี้ ขอขอบคุณ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชีและคณะนิติศาสตร ที่กําลังศึกษาอยูในปการศึกษา 2550 ทุกทานที่ไดสละเวลาตอบแบบ ประเมิน ทําใหคณะผูวิจัยไดขอมูลที่มีคาในการวิเคราะหและสรุปผลการวิจัย เพื่อประโยชนแกการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและคุณลักษณะของผูสอนใหมีประสิทธิ์ภาพดียิ่งขึ้น

คณะผูจัดทํา


บทที่ 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการวิจัย การจัดการศึกษามีเปาหมายสําคัญในการพัฒนามนุษยและในการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา จะมุงเนนและใหความสําคัญตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณภาพ โดยการจัดกระบวนการเรียนการ สอนและกิจกรรมตาง ๆ เพื่อเสริมสรางใหผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม ตลอดจนมีการพัฒนาทางดาน สติปญญาและเปนผูใฝรู โดยศึกษาแสวงหาความรูอยางตอเนื่อง ซึ่งจากนโยบายดานการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาในระยะที่ผานมา กําหนดใหมีการเพิ่มพูนและพัฒนาประสิทธิภาพของสถาบันอุดมศึกษา ในการจัดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อสนองความตองการดานทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพและความ ตองการดานการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยประสานความรวมมือจากหนวยงานและองคกรตาง ๆ ในการจัดการศึกษาเพื่อใหบรรลุตามเปาหมายที่กําหนด สําหรับสถาบันการศึกษาจะมุงเนนในการพัฒนา คุณภาพของผูเรียนในดานกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางเต็มศักยภาพ ตาม ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และความตองการของผูเรียน โดยจัดใหมีความหลากหลายในดาน เทคนิควิธีการสอนและการเรียนรู เพื่อตอบสนองความตองการของการจัดการศึกษาที่มุงพัฒนาทรัพยากร มนุษยใหมีคุณภาพอันจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศใหมีความมั่นคงตอไป ในการจัดการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน มีองคประกอบที่สําคัญคือ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของอาจารย ผูสอน คุณลักษณะของผูสอน เทคนิคการสอนในรูปแบบตาง ๆ สื่อและนวัตกรรม ตลอดจนการวัดผลและ ประเมินผล ซึ่งสอดคลองกับความตองการของผูเรียน โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อใหผูเรียนไดเกิดการ เรียนรูอยางเต็มศักยภาพ และเกิดประสิทธิผลอยางสูงสุด วิทยาลัยราชพฤกษเปนสถาบันอุดมศึกษาที่ไดรับการอนุญาตจัดตั้งจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549 โดยมีปรัชญาของวิทยาลัยวาเปน “สถาบันแหงการเรียนรู ยุคใหม คุณภาพคุณธรรมนําหนาสูสากล ” ประกอบดวยพันธกิจประการแรก ที่มุงมั่นผลิตบัณฑิตใหมี ความรูในดานวิชาการเปนผูมีคุณธรรม และมีทักษะในการปฎิบัติงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําความรู ใหม ๆ และเทคโนโลยีที่กาวหนามาใชในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งการที่จะได บัณฑิตที่มีคุณภาพดังกลาวสิ่งสําคัญอยางยิ่งคือ การจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งในการ จัดการเรียนการสอนนั้น นอกจากจะประกอบดวย เทคนิคการสอนของอาจารย สื่อการสอนและนวัตกรรม การวัดและการประเมินผลตลอดจนคุณลักษณะของผูสอนแลว การไดรับความรูความเขาใจและนําความรู มาประยุกตใชและทัศนคติที่ดีของผูเรียนก็มีสวนสําคัญในการทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน ดวย และเพื่อใหเกิดกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดกับผูเรียน จึงควรมุงศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอผูสอน ในดานการจัดการเรียนการสอน การใชสื่อและ อุปกรณการสอนและคุณลักษณะของผูสอน เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนสอดคลองกับความตองการ


-2-

ของผูเรียน ทําใหผูเรียนไดรับความรู มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสามารถในการปฏิบัติงานตาม วิชาชีพของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ และยังเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ อาจารยใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตอการจัดการเรียนการสอนของ อาจารยผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยในแตละคณะ/สาขา ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษา ไดรับในการเรียนในรายวิชา 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนใน 4 คณะ ไดแก คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร และหมวดศึกษาทั่วไป ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประกอบดวย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ 3 คณะ กลุมตัวอยางที่ใช ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ 3 คณะไดแก คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะ นิติศาสตร ที่กําลังศึกษาอยูในปการศึกษา 2550 และนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1/2551 จํานวนรอยละ 80 ของประชากร 2. กรอบที่ใชในการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดกรอบในการศึกษาเฉพาะในดานการสอนของ อาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษา ไดรับในรายวิชาที่อาจารยนั้นสอน และดานคุณลักษณะของอาจารยผูสอน 3. อาจารยผูสอน คือ ผูสอนในรายวิชาตาง ๆ ที่เปดสอนในภาคที่ 1/2550 ของทั้ง 3 คณะ และ หมวดศึกษาทั่วไป จํานวน 83 คน ดังนี้ คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ จํานวน 16 คน สาขาการตลาด จํานวน 12 คน สาขาการจัดการ จํานวน 11 คน สาขาการจัดการโรงแรมและการทองเที่ยว จํานวน 5 คน คณะบัญชี จํานวน 18 คน คณะนิติศาสตร จํานวน 6 คน หมวดศึกษาทั่วไป จํานวน 16 คน


-3-

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย 1. ไดขอมูลเกี่ยวกับ การจัดการเรียนการสอนของอาจารย คุณลักษณะของอาจารยผูสอนของ วิทยาลัยราชพฤกษในคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป ใน 5 ดานคือ ดานการสอน ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษา ไดรับในรายวิชานั้นและดานคุณลักษณะของอาจารยที่สามารถนําไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและ คุณลักษณะของผูสอนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. สามารถตอบสนองความตองการของนักศึกษาไดอยางถูกตองและทันตอความตองการ ซึ่งจะ ชวยใหนักศึกษามีความรูสึกที่ดีตอผูสอนและตอวิทยาลัยราชพฤกษ และสามารถสําเร็จการศึกษาไดตาม ความตองการของวิทยาลัยราชพฤกษ


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัย เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่มีตออาจารยผูสอนของ วิทยาลัยราชพฤกษ ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2550 คณะผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ไดแก 1. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2. ขอบังคับวิทยาลัยราชพฤกษวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2549 วาดวยระบบ การศึกษา การคิดหนวยกิต ระยะเวลาการศึกษา หลักสูตรการศึกษา โครงสรางหลักสูตร และ อาจารยประจําหลักสูตร และการวัดผลและการประเมินผลการศึกษา 3. บุคลิกลักษณะและบุคลิกภาพของครูที่พึงประสงค 3.1 วัฒนธรรมวิชาชีพสําหรับครูยุคใหม 3.2 มาตรฐานคุณภาพครู 3.3 คุณลักษณะของครูไทยที่พึงประสงค 3.4 เกณฑมาตรฐานคุณลักษณะครูแหงชาติ 3.5 คุณภาพการสอนของครู 4. งานวิจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูดี 1. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจตามพจนานุกรมดานจิตวิทยา ( Chaplin 1979) ใหความหมายไววา หมายถึง ความรูสึกของผูที่มารับบริการตอสถานบริการตามประสบการณที่ไดรับจากการเขาไปติดตอของรับ บริการในสถานบริการนั้น ๆ หลุย จําปาเทศ (2533) กลาวถึง ความพึงพอใจวา หมายถึง ความตองการไดบรรลุเปาหมาย พฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะมีความสุข สังเกตไดจากสายตา คําพูดและการแสดงออก ดังนั้นความพึงพอใจในงานวิจัยนี้ หมายถึง ความรูสึกของนักศึกษาที่มีตอการจัด การเรียนการ สอนของผูสอน คุณลักษณะของผูสอน และผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับ จากการศึกษาในรายวิชานั้น ๆ ความรูสึกพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความตองการของนักศึกษาไดรับการตอบสนอง หรือบรรลุตาม จุดมุงหมายในระดับหนึ่ง ความรูสึก ดังกลาวจะลดลงหรือไมเกิดขึ้นหากความตองการหรือจุดมุงหมายนั้น ไมไดรับการตอบสนอง


-5-

2. ขอบังคับวิทยาลัยราชพฤกษวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2549 วาดวยระบบการศึกษา ระบบ หนวยกิต หลักสูตรและระยะเวลาการศึกษา โครงสรางหลักสูตร การวัดและประเมินผลการศึกษา ระบบการศึกษา วิทยาลัยราชพฤกษจัดการศึกษาในระบบทวิภาค หนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคปกติและฤดู รอน ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห ภาคฤดูรอนมีระยะเวลาเทียบเคียงกับ ภาคปกติและไมเกิน 9 หนวยกิต ระบบหนวยกิต - รายวิชาใดที่ใชเวลาเรียนโดยการบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค - รายวิชาใดใชเวลาปฏิบัติ เวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติใหมี คาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค - การฝกงานหรือฝกภาคสนามที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติใหมีคา เทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค - การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายที่ใชเวลาทําโครงงานหรือ กิจกรรมนั้น ๆ ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค - หนวยกิตของรายวิชาที่เปดสอนในภาคฤดูรอนใชวิธีคํานวณเวลาที่ใชในการเรียนการสอน เทียบเทากับการเรียนการสอนในภาคปกติ หลักสูตรและระยะเวลาการศึกษา - หลักสูตรปริญญาตรี (4 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมไมนอยกวา 120 หนวยกิตใชเวลาศึกษาไม เกิน 8 ปการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 12 ปการศึกษาสําหรับการลงทะเบียน เรียนไมเต็มเวลา - หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ใหมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 72 หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไม เกิน 4 ปการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 6 ปการศึกษาสําหรับการลงทะเบียน เรียนไมเต็มเวลา - หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) จะตองถือเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรปริญญาตรีและจะตอง สะทอนปรัชญาและเนื้อหาสาระของหลักสูตรปริญญาตรีนั้น ๆ โดยครบถวนและใหระบุคําวา “ตอเนื่อง” ในวงเล็บตอทายชื่อหลักสูตร - การนับเวลาศึกษาจากวันที่เปดภาคการศึกษาแรกที่รับเขาศึกษาในหลักสูตรนั้น ๆ


-6-

โครงสรางหลักสูตร ประกอบดวยหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะดาน และหมวดวิชาเลือกเสรี โดยมีสัดสวน จํานวนหนวยกิตของแตละหมวดวิชา ดังนี้ - หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง วิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรูอยางกวางขวางมีโลกทัศนที่ กวางไกล มีความเขาใจธรรมชาติ ตนเอง ผูอื่น และสังคม เปนผูใฝรู สามารถคิดอยางมีเหตุผลสามารถใช ภาษาในการติดตอสื่อสารความหมายไดดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรมทั้งของ ไทย และของประชาคมนานาชาติ สามารถนําความรูไปใชในการดําเนินชีวิตและดํารงตนอยูในสังคมได เปนอยางดี มีจํานวนหนวยกติรวมไมนอยกวา 30 หนวยกิต สําหรับหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) อาจไดรับการยกเวนรายวิชาที่ไดศึกษามาแลวในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือระดับอนุปริญญา ทั้งนี้จํานวนหนวยกิตของรายวิชาที่ไดรับการยกเวน ดังกลาว เมื่อนับรวมรายวิชาที่จะศึกษาเพิ่มเติมในหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ตองไมนอยกวา 30 หนวยกิต - หมวดวิชาเฉพาะดาน หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะดาน วิชาพื้นฐานวิชาชีพ วิชาเอกบังคับและ วิชาเอกเลือก ที่มุงหมายใหผุเรียนมีความรู ความเขาใจ และปฏิบัติงานไดโดยมีจํานวนหนวยกิตรวมดังนี้ 1) หลักสูตรปริญญาตรี ( 4 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตหมวดวิชาเฉพาะดานรวมไมนอย กวา 84 หนวยกิต 2) หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ใหมีจํานวนหนวยกิตหมวดวิชาเฉพาะดานรวมไม นอยกวา 42 หนวยกิต - หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาที่มุงใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ตามที่ตนเองถนัด หรือ สนใจ โดยเปดโอกาสใหผูเรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรีโดยใหมีจํานวน หนวยกิตรวมไมนอยกวา 6 หนวยกิต - อาจารยประจําของสาขาวิชาตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรเปนผูมีคุณวุฒิ ตรง หรือสัมพันธกับสาขาวิชาที่เปดสอนไมนอยกวา 5 คน โดยมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโทหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวาผูชวยศาสตราจารย อยางนอย 2 คน การวัดและการประเมินผลการศึกษา ผลการประเมินในแตละรายวิชาจะปรากฎเปนอักษรที่มีคาเปนระดับคะแนนและอักษรที่มีคาเปน แตมระดับคะแนน ดังตอไปนี้


-7-

การประเมินผลการศึกษาใชระบบสี่แตมระดับแนน ดังนี้ A หมายถึง ดีเยี่ยม ( Excellent) มีคาเทากับ 4.0 B+ หมายถึง ดีมาก ( Very Good) มีคาเทากับ 3.5 B หมายถึง ดี ( Good) มีคาเทากับ 3.0 C+ หมายถึง คอนขางดี ( Fairly Good) มีคาเทากับ 2.5 C หมายถึง พอใช ( Fair) มีคาเทากับ 2.0 D+ หมายถึง คอนขางออน ( Fairly Poor) มีคาเทากับ 1.5 D หมายถึง ออน ( Poor) มีคาเทากับ 1.0 F หมายถึง ตก ( Fail) มีคาเทากับ 0.0 อักษรที่ไมมีคาเปนแตมระดับคะแนนประกอบดวยอักษรที่ใชเปนสัญลักษณดังตอไปนี้ I หมายถึง การประเมินผลยังไมสมบูรณ ( Incomplete) S หมายถึง ผลการเรียนเปนที่พอใจ ( Satisfactory) U หมายถึง ผลการเรียนยังไมพอใจ ( Unsatisfactory) W หมายถึง เพิกถอน ( Withdrawal) Au หมายถึง รวมฟงการบรรยายโดยไมนับหนวยกิต ( Audit) การประเมินผลในแตละวิชามีการวัดผลจากการสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การทํารายงาน การฝกหัดงาน ตลอดจนการประเมินผลในลักษณะอื่น การดําเนินคะแนนเฉลี่ยปลายภาคมีหลักเกณฑดังนี้ 1) นักศึกษาที่มีผลการศึกษาในระดับ D ขึ้นไปหรือได S ถือวาสอบไดในรายวิชานั้น ยกเวนรายวิชาที่กําหนดไวเปนอยางอื่นในหลักสูตร 2) การให F ใหกระทําไดในกรณีดังตอไปนี้ 2.1) นักศึกษาขาดสอบประจําภาคเรียนโดยไมไดรับอนุมัติ 2.2) นักศึกษาที่รวมกิจกรรมการเรียนไมครบตามเกณฑในขอ 19 2.3) นักศึกษาทุจริตในการสอบ 2.4) นักศึกษาที่ไดรับคะแนน I แตมิไดดําเนินการขอประเมินผลเพื่อแกระดับคะแนน I ใหเสร็จสิ้นภายใน 6 สัปดาหแรกของภาคการศึกษาถัดไปที่นักศึกษามีสิทธิ์ ลงทะเบียน 2.5) นักศึกษาเขาสอบและสอบตก 3) การให I ในรายวิชาใดใหกระทําไดในกรณีที่อาจารยผูสอนเห็นสมควรใหรอผล การศึกษาเพราะนักศึกษายังปฏิบัติงานซึ่งเปนสวนประกอบการศึกษารายวิชานั้นยังไมสมบูรณ นักศึกษาที่ ไดรับคะแนน I จะตองดําเนินการขอรับการประเมินผลเพื่อเปลี่ยนระดับ I ใหเสร็จสิ้นภายใน 6 สัปดาห แรกของภาคการศึกษาถัดไปที่นักศึกษามีสิทธิ์ลงทะเบียนเรียนหากพนกําหนดดังกลาวจะเปลี่ยนระดับ คะแนน I เปน F โดยอัตโนมัติ


-8-

4) การใหสัญลักษณ S จะกระทําไดในรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไววาใหประเมินผล เปนระดับคะแนนตัวอักษรโดยไมเปนลําดับขั้น หรือรายวิชานอกจากที่กําหนดไวในหลักสูตร และ นักศึกษาไมขอรับผลการประเมินเปนระดับคะแนนตัวอักษรตามลําดับขั้น และผลการเรียนในรายวิชานั้น เปนที่พอใจของอาจารยผูสอน 5) การใหสัญลักษณ U ในรายวิชาใด กระทําไดตามขอ 4 แตผลการเรียนในรายวิชานั้น ไมเปนที่นาพอใจของอาจารยผูสอน 6) การให AU ในรายวิชาใดใหกระทําไดในกรณีที่นักศึกษาไดอนุมัติใหลงทะเบียนเพื่อ รวมฟงโดยไมนับหนวยกิต และมีเวลาเรียนไมนอยกวา รอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด ถาหากไมเปนไป ตามนั้นจะไมบันทึกรายวิชานั้นลงในใบแสดผลการศึกษา 7) การคํานวนหาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาคกระทําเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาปกติ และการลงทะเบียนเรียนภาคฤดูรอนใหนําผลการศึกษาไปรวมคํานวณในภาคการศึกษาปกติถัดไป การประเมินผลการศึกษา 1) การประเมินผลการศึกษาใหกระทําเมื่อสิ้นสุดการศึกษาในแตละภาค 2) การนับหนวยกิตสะสม เพื่อใหครบตามจํานวนที่กําหนดในหลักสูตร ใหนับเฉพาะหนวย กิตของรายวิชาที่สอบได 3) การนับจํานวนหนวยกิตเพื่อใชในการคํานวณหาคาระดับคะแนน ใหนับจากรายวิชาที่มีการ ประเมินผลการศึกษาที่มีคาระดับคะแนน 4) คาระดับคะแนนเฉลี่ยรายภาคเรียน ใหคํานวณจากผลการเรียนของนักศึกษาในภาคเรียนนั้น โดยเอาผลรวมของผลคูณระหวางจํานวนหนวยกิตกับคาระดับคะแนนของแตละวิชาเปนตัวตั้งหารดวย จํานวนหนวยกิตของภาคเรียนนั้นโดยใชทศนิยม 2 ตําแหนงไมปดเศษ 5) คาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ใหคํานวณจากผลการเรียนของนักศึกษาทุก ๆ สิ้นรายภาค การศึกษา โดยเอาผลรวมของผลคูณระหวางจํานวนหนวยกิต กับระดับคะแนนของแตละวิชาที่เรียน ทั้งหมดจนถึงทุก ๆ สิ้นรายภาคการศึกษาเปนตัวตั้ง หารดวยจํานวนหนวยกิตที่มีคาระดับคะแนนของ รายวิชาที่เรียนทั้งหมดถึงทุก ๆ สิ้นรายภาคการศึกษา โดยใชทศนิยมสองตําแหนงไมปดเศษ 6) การคิดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร คํานวณโดยการนําแตมประจําตัวอักษร ระดับคะแนนที่สอบผานครั้งสุดทายของแตละรายวิชาจากการประเมินผลการสอบของนักศึกษาคูณกับ จํานวนหนวยกิตของลักษณะวิชาที่ทําแตมระดับคะแนนนั้นได แลวนําผลคูณของทุกลักษณะวิชามา รวมกันและนําไปหารดวยผลรวมของจํานวนหนวยกิตของทุกลักษณะวิชาตลอดหลักสูตร


-9-

3. บุคลิกลักษณะ / บุคลิกภาพของครูที่พึงประสงค 3.1 วัฒนธรรมวิชาชีพสําหรับครูยุคใหม (ทองพูล บุญยิ่ง, 2542 หนา 124-126) จากจุดประสงคและการจัดการศึกษา รัฐมุงจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคุณภาพของ ประชากรหรือคุณภาพของผูเรียน ซึ่งคุณภาพของผูเรียนยุคใหม คือ นิสัยใฝเรียนใฝรู สามารถวิเคราะห สังเคราะห มีศักยภาพสูง ทั้งในเชิงสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนและทักษะฝมือในการทํางานในระดับที่แขงขัน กับนานาชาติได รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบสูง เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว หลักสูตรก็ดี สื่อนวัตกรรมการสอนตาง ๆ ก็ดี ฯลฯ จะบังเกิด ผลไดก็ดวยกระบวนการเรียนการสอน การบริหาร การนิเทศและกระบวนการสงเสริมสนับสนุน ดังนั้นครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก จะตองไดรับการพัฒนาเพื่อสรางคุณลักษณะดังกลาวใหกับผูเรียน ดวยการเปลี่ยน ความคิด ความเชื่อ และวิธีการทํางาน ดวยการสรางวัฒธรรมทางวิชาชีพสําหรับครู ผูบริหารและบุคลากร ทางการศึกษา พรอมทั้งความหาวหนาทางวิชาชีพควบคูกันไป แนวทางการเปลี่ยนวิธีการทํางานและสรางวัฒนธรรมทางวิชาชีพ ครู อาจารย ผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษา จะตองเปลี่ยนวิธีการทํางานเสียใหมในลักษณะ 3 ประการ คือ 1. ยึดเด็กเปนศูนยกลาง (Child – Centered) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูจะตองใหผูเรียนเปนผูมีบทบาท เรียนรู คนหา แนวคิด หลักการ หรือสรุปองคความรูเอง ไมเปนกิจกรรมของครู หรือยึดครูเปนศูนยกลางเหมือนเดิม ซึ่ง เปนการสอนมุงเนนเนื้อหาเปนหลัก ซึ่งในปจจุบันมุงใหเด็กเปนผูกระทํา ครูเปนเพียงอํานวยการใหเกิด กิจกรรมการเรียนรู คือ เกงในวิธีการมากกวาเกงในเนื้อหาเหมือนเดิม 2. เด็กทุกคนสามารถเรียนรูได (All Children can Learn) ในการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตองคํานึงถึงศักยภาพของผูเรียน ไมปฏิบัติตอ ทุกคนเหมือนกัน การเรียนการสอนก็ตองรูจักผูเรียนกอน บางคนอาจเกงในเรื่องภาษา บางคนถนัด คณิตศาสตร บางคนมีสมรรถนะทางดานรางกาย บางคนมีพรสวรรคในทางศิลปะ ฯลฯ ตองคํานึงถึงความ แตกตางระหวางบุคคลหรือตามแนวคิดใหมในเรื่อง Multiple – Intelligence และความคิดทางการศึกษา ที่วา เนื้อหาวิชาหรือหลักสูตรใด จะจัดสอนในชั้นใด หรือวัยใดก็ได ถาจัดและนําเสนอใหเหมาะสม 3. เปลี่ยนแบบแผนการปฏิบัติงานใหม การทํางานจะใหเปนแบบคนทํางานแบบปกติ จะตองทําการทํางานในลักษณะ กระบวนการพัฒนา ( Development Process) กลาวคือ เริ่มจากการวิเคราะหสภาพปญหา ความตองการ แสวงหาแนวทางแกไขปญหา หรือพัฒนาสรางสรรคนวัตกรรม สามารถนําไปใชได ติดตามผลได และ รายงานผลเปน กลาวคือ


-10-

1)การวิเคราะหศักยภาพ กอนสอนครูตองรูวาศักยภาพหรือความสามารถที่ปรากฎจริง ของนักเรียนของตนในปจจุบันเปนอยางไร 2) การกําหนดจุดพัฒนา เมื่อรูความสามารถที่ปรากฎจริง ครู ผูบริหารโรงเรียน หรือ ผูบริหารการศึกษาของจังหวัดจะตองทราบความสามารถที่คาดหวัง ( Expected Ability Profile) ที่ อยากใหเกิดกับผูเรียน และดูวาระหวางศักยภาพหรือความสามารถที่เปนจริงกับสิ่งที่หวังดาน ใดบางที่ยังหางไกล เลือกสิ่งที่ยังมีความหางกันอยูมากมากําหนดเปนจุดพัฒนา 2 – 3 ตัวในแตละ ป ทั้งนี้จะตองพิจารณาควบคูกับความตองการของทองถิ่นที่โรงเรียนจะตอบสนองได 3) การแสวงหานวัตกรรม เมื่อกําหนดจุดพัฒนาแลวก็หาวิธีการที่คาดวาจะไดผลดีที่สุด ตอผูเรียน ในการแกปญหาที่เปนจุดพัฒนา แลวเลือกวิธีการที่เหมาะกับสถานการณของตน นําไป ลองทําดูในลักษณะทําไปพัฒนาไป ( Developmental Approach) จนไดผลดีก็จะไดนวัตกรรมที่ ตองการ 4) การนํานวัตกรรมไปใช จะตองมีการวางแผนที่คนอื่นก็มีความมั่นใจวาจะนําไปใชได และสามารถบอกถึงผลที่เกิดขึ้น 5) การรายงาน เปนขั้นตอนสุดทายที่จะรายงานตอผูเกี่ยวของทั้งหนวยบังคับบัญชา ชุมชน และผูปกครอง ใหทราบถึงสาระของการพัฒนาตั้งแตเริ่มวิเคราะหศักยภาพจนกระทั่งลงมือ พัฒนาและเกิดผล ทั้ง 5 ขั้นตอนนี้ เปนวัฒนธรรมการทํางานที่ตองการสรางใหเกิดกับครู ผูบริหาร สถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา 3.2 มาตรฐานคุณภาพของครู กระบวนการสรางวัฒนธรรมในการเรียนรู ผุเรียนจะตองเปนผูมีบทบาท ลงมือ เรียนรู คนหา แนวคิด หลักการ สรุปองคความรูเอง ดังนั้นกระบวนการสอนของครูจะตองเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพ ของครู (National Teacher Qualification : NTQ) 5 ระดับ โดยมีมาตรฐานวิชาชีพครูที่บงบอกฝมือของครู ดังนี้ มาตราฐานคุณภาพของครู (NTQ) ระดับ 1 สอนตรง มุงเนนเนื้อหา สอนไดตามแผนที่กําหนด เกิดผลตอผูเรียนในดานความรูความ จําเปนสวนใหญ ผลงานของผูเรียนเปนแบบเดียวกัน รายงานเปนชั้นเรียน มีอุปกรณการเรียนนอย จาก งานวิจัย การสอนแบบนี้นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรูนอยมากเพียง 0-20% ระดับ 2 สอนอธิบาย ยังเนนในดานเนื้อหา แตเพิ่มเติมในดานความเขาใจ มีตัวอยางมากขึ้น ดัดแปลงแผนและสื่อการสอนใหเหมาะสมกับสภาพจํากัดตาง ๆ ได ผลงานของผูเรียนเปนเรื่องเดียงกันแต มีรายละเอียดแตกตางกัน การสอนแบบนี้นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู 21-40%


-11-

ระดับ 3 สอนคิด เนนกระบวนการคิด ใชคําถามมากขึ้น ถามวิธีการมีแผนการสอนที่พัฒนาขึ้นเอง จัดทําเองไดเหมาะสมกับผูเรียนเปนรายบุคคล บทบาทของผูเรียนหลากหลายยิ่งขึ้น ผูเรียนไดพัฒนารอบ ดานอยางสมดุล การสอนแบบนี้นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู 41-60% ระดับ 4 สอนสราง มุงเนนการลงมือทํา การนําไปใชปฏิบัติไดจริง ผูเรียนรวมวางแผนการเรียน ลงมือพัฒนารวมกัน งานกิจกรรมแตกตางกันในคาบเดียวกัน สื่อหลากหลาย มีวิธีการเรียน กระบวนการ เรียนหลายอยางในขณะเดียวกัน และยังสามารถชวยพัฒนาครูและผูรวมงานไดดวย เปนครูผูนําในกลุมการ สอนแบบนี้นักเรียนมีสวนรวม 61-80% ระดับ 5 สอนคนพบ มุงเนนการคนหา สรางความรูรวมกันกับผูเรียน มีผูเรียนเปนผูวางแผนการ เรียนเกือบทั้งหมด ผูเรียนเปนผูกําหนดหลักสูตร มีสื่อหลายแบบ ผลงานของผูเรียนคนละอยาง คนละเรื่อง ตามความสนใจและความถนัดอยางแทจริง เปนผูสรางผูนําใหผูเรียนและเพื่อนครู เปนผูนํา คิดเอง พัฒนา เองได พัฒนาอยางรอบดาน เปนผูรวมพัฒนาวิชาชีพอยางถาวร มีเกียรติภูมิเปนตัวอยางไดทั้งดานวิชาชีพ และชีวิตสวนบุคคล การสอนแบบนี้นักเรียนมีสวนรวม 81-100% ระดับการพัฒนาการสอนของครูกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สอนตรง เปนการสอนที่เนนการใหความรู ใหนักเรียนจดจําคําศัพท กฎ ทฤษฎี ชื่อคน สถานที่ และ ขอมูลที่เปนขอเท็จจริงตาง ๆ ที่กลาวไวในแบบเรียนอยางตรงไปตรงมา 2. สอนอธิบาย เปนการสอนที่ครูพัฒนาพฤติกรรมของผูเรียนระดับการสรางความเขาใจ ดดยการอธิบาย บทเรียนเพิ่มพิตม พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบหลากหลาย หรือเปนการเปลี่ยนสัญลักษณหนึ่งไปสูอีก สัญลักษณหนึ่ง โดยอาจใชแผนภูมิตารางขอมูล กราฟ หรือภาพประกอบคําอธิบาย 3. สอนคิด เปนการเรียนการสอนที่ครูจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียนใหเกิดทักษะ กระบวนการในการ แสวงหาความรูขั้นพื้นฐาน เชน การสังเกตการจําแนกประเภท การจัดหมวดหมู การแปลความหมาย ขอมูล แผนภูมิ หรือกราฟ การจัดกิจกรรมใหนักเรียนวิเคราะหขอมูล หรือสวนประกอบยอย ๆ พรอมทั้ง บอกหนาที่หรือความสําคัญของสวนประกอบยอยไดซึ่งนักเรียนไดฝกปฏิบัติมากขึ้น 4. สอนสราง เปนการสอนที่ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดปฏิบัติ เนนการพัฒนาดานทักษะกระบวนการใน การแสวงหาความรูในระดับที่สูงขึ้น เชน การระบุปญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบวิธีแกปญหา ดําเนินการแกปญหา เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะห และลงสรุป พรอมทั้งอธิบายประโยชนกิจกรรมหรือ ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นได นักเรียนมีเวลาในการคิด และทํากิจกรรมดวยตนเองมากขึ้น มีผลงานที่ปรากฎชัดเจน สามารถแสดงออก โดยการรายงานหนาชั้นเรียน แสดงผลงานในรูปจุลนิทรรศ


-12-

5. สอนคนพบ เปนการเรียนการสอนที่มีลักษณะเปนการมอบหมายงานใหนักเรียนปฏิบัติหรือกําหนดปญหา ใหนักเรียนแกปญหา ครูมีบทบาทเปนเพียงอาจารยที่ปรึกษาใหคําแนะนําในการแกปญหาเมื่อนักเรียนมีปญหา หรือแนะนําตํารา แหลงขอมูล แนะนํา ดูแลและติดตามผลงานของนักเรียนจนกวางานจะเสร็จสมบูรณ รวมทั้งการตรวจสอบผลงานของนักเรียนจนกวางานจะเสร็จสมบูรณรวมทั้งการตรวจสอบผลงาน นักเรียนเรียนรูดวยตนเองหรือเรียนรูจากกลุมมากขึ้น ( Cooperative Learning) จะตองมี ความคิดเปนของตนเอง ใชความรูและทักษะหลาย ๆ ดานมาใชในการทํางานใหสําเร็จอยางสมบูรณ และมี คุณภาพ 3.3 คุณลักษณะของครูไทยที่พึงประสงค รายงานผลการสํารวจจากการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ จากสถาบันราชภัฎ 8 แหงในสวน ภูมิภาค เกี่ยวกับคุณลักษณะครูไทยที่พึงประสงค สรุปเปน 4 มิติ ดังแสดงในมิติของคนดี คนเกง ครูดี ครู เกง ดังนี้ (สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ, 2542 หนา 7 – 9) 1. มิติของคนดี ครูตองเปนคนดี หมายถึง เปนผูมีสุขภาพกายที่ดี มีคุณธรรม ศีลธรรม มีจริยธรรม มีคุณสมบัติ ผูดี เปนผูธํารงไวซึ่งวัฒนธรรมที่ดี เปนนักจัดการที่ดี เปนนักประชาธิปไตย มีบุคลิกภาพดี มีความยุติธรรม มีเมตตา มีวินัย เสียสละ มีความรับผิดชอบ มีพฤติกรรมที่เหมาะสมกับฐานะ เขากับชุมชนไดเปนอยางดี สมถะ เรียบงาย สามารถที่จะใชชีวิตทั้งในเมืองและชนบทได ไมยึดติดกับวัตถุมากเกินไป 2. มิติของคนเกง ครูตองเปนคนเกง หมายถึง ครูตองพัฒนาตนเองอยูเสมอ ตองเรียนรูชุมชนที่ตนเองเกี่ยวของ มีความรูเชิงวิชาการและทักษะทางวิชาการ มีทักษะในการดํารงชีวิตและทักษะในการอยูรวมกันในสังคม เปนนักประชาธิปไตย เปนนักบริหารและนักจัดการ ตลาดจนการเปนผูนําชุมชน เปนนักประสานที่มีความ ยืดหยุน รูจักบูรณาการภายในสาระและขามสาระ เปนนักปฏิวัติ มีนิสัยใฝรูใฝเรียน คิดวิเคราะหและ สังเคราะหเปน มีลักษณะภูมิรู ภูมิธรรม ภูมิฐาน มีความรูรอบตัว ทันตอเหตุการณ มีความรอบรูจนไดรับ ความศัทธา เปนผูที่ทันสมัยและพัฒนาตนเองเสมอมีทักษะในการจัดการ มีคุณลักษณะนักประชาธิปไตย มี โลกทัศนและวิสัยทัศนกวาง


-13-

3. มิติของครูดี ตองเปนครูดี หมายถึง ครูตองรักในอาชีพครู รักเด็กและเขาใจธรรมชาติของเด็ก เปน กัลยาณมิตรและอุทิศตนเพื่องานครู ตระหนักในบทบาทของครูที่มีตอสังคม เปนแบบอยางที่ดีแกศิษย งด เวนจากอบายมุขทั้งปวง เรียนรูชุมชน ทองถิ่น เขากับชุมชนไดเปนอยางดี มีสวนรวมในการเปนผูนําชุมชน และพัฒนราคุณภาพสิ่งแวดลอม สอนดีและมาตรฐานการทํางาน สอนแบบบูรณาการ มีเทคนิคการสอน มี จิตวิทยา มีความรูพื้นฐานในความเปนครู เปนแบบอยางที่ดีสําหรับเด็ก ยึดผูเรียนเปนสําคัญ รักและศรัทธา ในอาชีพครู สูงาน บุคลิกภาพดี และรักศิษย 4. มิติของครูเกง ตองเปนครูเกง หมายถึง ครูที่มีทักษะการสอน รูจักประยุกตและบูรณาการ มีคุณสมบัติเชิง วิชาการ คือ มีความรู สรางสรรคความรูไดดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน การวิจัย การใชนวัตกรรม และ รูจักประยุกตใชความรูอยางเหมาะสม มีความรูในวิชาเอกและความรูรอบตัวดี มีความามารถในการจัดการ เรียนการสอน มีวุฒิทางการศึกษาสูง มีความรูสาขาที่เกี่ยวของ รูทฤษฎีทางการสอน รูเทคโนโลยี สามารถ สอนคนพิการได สามารถพูดภาษาอังกฤษและใชคอมพิวเตอรได จัดระบบกระบวนการเรียนรูที่ดี 3.4 เกณฑมาตรฐานคุณลักษณะครูแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2544, หนา 14-17) ไดกําหนดเกณฑมาตรฐาน “ครูแหงชาติ” โดยใหคัดสงเอกสารผลงานเขารับการพิจารณาคัดเลือกใหเปนครูแหงชาติ ดังนี้ 1. ดานการจัดการเรียนการสอน เกณฑมาตรฐานคุณลักษณะครูแหงชาติ มีดังนี้ - มีการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ - มีความคิดริเริ่มสรางสรรค หมายถึง คิดคนโครงงานใหม ๆ คิดคนนวัตกรรมทาง การศึกษา สื่อและเทคโนโลยีที่สงเสริมการเรียนรูของผูเรียนที่จะพัฒนาผูเรียนใหเต็มตามศักยภาพ ใชภูมิปญญาทองถิ่นและสรางผลงานวิจัย - มีความสามารถทางวิชาการ หมายถึง มีความรูความเขาใจในเนื้อหาวิชาที่สอน ติดตามความกาวหนาทางวิชาการ จัดกิจกรรมนิเทศ การแสดง การสาธิตและติดตามประเมินผล การเรียนรูอยางสม่ําเสมอ มีผลงานวิจัยที่ดําเนินเพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรูของตนเอง มี ความเขาใจในการปฏิรูปการเรียนรู 2. ดานการครองตนของครู การครองตนของครู หมายถึง การประพฤติเปนแบบอยางที่ดีทั้งดานสวนตัวและครอบครัว มี คุณธรรม จริยธรรม มีมนุษยสัมพันธที่ดี จรรโลง จารีตประเพณี อนุรักษณศิลปะและวัฒนธรรม ของชาติ มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเปนครู เปนที่ยอมรับของผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง และชุมชน


-14-

3. ดานการประสานงานกับชุมชน การประสานงานกับชุมชน หมายถึง การเปนบุคคลที่ไดรับการยอมรับและศรัทธาจากชุมชน ในความสามารถ บุคลิกภาพ และคุณงามความดี เปนผูนําชุมชนทางวิชาการเปนสมาชิและ สนับสนุนองคกรวิชาชีพครู รูจักองคประกอบของชุมชมอันเปนที่ตั้งของโรงเรียนเปนอยางดี ความสัมพันและความรวมมืออันดีระหวางสถานศึกษากับชุมชนในการรวมกันจัดและพัฒนา การศึกษา สามารถนําชุมชนเขามามีสวนรวมในการสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน และสามารถ นําโรงเรียนชวยเหลือชุมชนในการอนุรักษสิ่งแวดลอม เกณฑมาตรฐานดังกลาว หากครูทุกคนประพฤติปฏิบัติไดครบถวนทุกมาตรฐานและผาน เกณฑมาตรฐานในระดับที่ดีมาก ยอมสงผลตอการปฏิรูปการศึกษาของไทยใหบรรลุผลสําเร็จไป ไดในระดับหนึ่ง ในสวนของครูนั้นยอมเปนที่ปรากฎชัดถึงคุณลักษณะของครูดีที่สังคมคาดหวัง และรอคอย สมควรไดรับรางวัลเกียรติยศของความเปนครูตนแบบ และสมควรไดรับการยกยอง ใหเปนปูชนียบุคคลในยุคที่สังคมเปลี่ยนแปลงรวดเร็วบนโลกไรพรมแดน 3.5 คุณภาพการสอนของครู (Quality of Teaching) จากเอกสารประกอบการสอนวิชาภาวะผูนํา ระดับปริญญาเอก ของมหาวิทยาลัยแคนเตอรบูรี นิวซีแลนด 1. มีความรูในเรื่องที่สอน (Subject and pedagogical knowledge of teachers) 2. เปนไปตามมาตรฐานขั้นสูงและความคาดหวัง (High Standards and Expectations) 3. การสอนซึ่งสงเสริมผูเรียนใหมีความเขาใจในการเรียนรู (Meta-cognition strategies) 4. มีวิธีการสอนที่หลากหลาย (Wide range of teaching meted) 5. มีการวางแผนโปรแกรมการเรียนอยางดีและมีประสิทธิภาพ (Effective programme planning) 4. งานวิจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูดี อําไพ สุจริตกุล (2533, หนา 23-26) ไดวิจัยคุณลักษณะของครูดีที่พึงประสงค ควรจะถึงพรองดวย คุณสมบัติที่สําคัญและจําเปน 3 ดานใหญ ๆ คือ 1. มีความรูดี ประกอบดวย รูในวิชาการทั่วไป รูในเนื้อหาวิชาที่จะสอน รูในวิชาครูและรูใน หนาที่และงานครูทุกประการ 2. มีทักษะในการสอนและการปฎิบัติงานครู ประกอบดวย อธิบายเกง สอนสนุก ใชสื่อหรือ อุปกรณเสมอ จัดกิจกรรม สรางบรรยากาศใหนาเรียน ชี้แนะแนวทางในการศึกษา จนนําไปสู การดําเนินชีวิตที่ถูกตอง โดยใชนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. มีคุณธรรมนิยม ประกอบดวย คุณธรรมของครู จริยธรรม คตินิยมในความเปนครู ประกอบดวย ความภาคภูมิใจที่ไดเปนครู มีทัศนคติที่ดีตออาชีพครู รักการสอน ชวยพัฒนา คนและสังคม ตลอดจนมีวิญญาณความเปนครู


-15-

จําเนียร นอยทาชาง (3 มีนาคม 2549) ไดวิจัยเรื่องทัศนะของเด็กที่มีตอครู จําแนกออกเปน คุณลักษณะทั่วไป ดานบุคลิกลักษณะ ดานวิชาการของครู ดานการสอนและการปกครอง ดานความ ประพฤติ และดานมนุษยสัมพันธ สาคร พุทธพล (2545, หนา 54) กลาวไววาครูควรมีคุณสมบัติสวนตัวที่นาชื่นชม มีความรักในตัว ผูเรียน รักและศรัทธาในงานและวิชาชีพของตนเอง คุณสมบัติแบบนี้จะทําใหผูเรียนอยากเรียน อยากเขา ใกล เชื่อถือ และศรัทธา ครูตองสนับสนุนใหกําลังใจ และมีความอดทนในการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน มีความเชื่อวาเด็กทุกคนสามารถพัฒนาได ดังนั้นครูควรชมและใหกําลังใจโดยวิธีการพูด ครูตอง สอดแทรกอารมณขันและกระตุนผูเรียนใหคิด มีความยุติธรรมและใหความเสมอภาคกับผูเรียน ครูควรให ผูเรียนทุกคนมีสวนรวมในการทํากิจกรรม ครูควรมีเทคนิคใหผูเรียนมีสวนรวมและกระตือรือรนในการทํา กิจกรรม ครูตองสบตาผูเรียนเพื่อใหผูเรียนรูสึกวาสนใจ ครูตองมีความรูความสามารถในเชิงวิชาการ มี ความรอบรูและมีความสามารถ รูเนื้อหาดี รูกลวิธีสอน สอดคลองกับวิจัยของ เฉลียว บุรีภักดี (8 มีนาคม 2549) ไดวิจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่ดีโดยการรวบรวมขอมูลจากนักเรียน ผูปกครอง ครูอาจารย ผูบริหาร พระ และผูทรงคุณวุฒิจํานวน 7,762 คน พบวา ลักษณะครูดี เรียงตามลําดับ คือ ความประพฤติ เรียบรอย ความรูดี บุคลิกการแตงกายดี สอนดี ตรงเวลา มีความยุติธรรม หาความรูอยูเสมอ ราเริงแจมใส ซื่อสัตย เสียสละ ประไพ สิทธิเลิศ และคณะ (2548, หนา 155) ไดวิจัยการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูชุดวิชา EDUC101 พื้นฐานทางการศึกษาและการศึกษาแบบเรียนรวม พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจอาจารย ผูสอนอยูในระดับมาก เพราะอาจารยเปนแบบอยางที่ดีในการสอนเปนทีม อาจารยคอยเติมเต็มความรู อาจารยคอยกระตุนความสนใจ อาจารยเปดโอกาสใหนักศึกษาไดศึกษาคนควาและลงมือทํางานอยาง อิสระ อาจารยใหคําปรึกษาอยางใกลชิดและเปนกันเอง ดวงกมล สินเพ็ง (2549, หนา 19-20) ไดสํารวจความคิดเห็นของนิสิตคณะครุศาสตรตอวิชาชีพครู และลักษณะของครูที่นิสิตชอบ พบวา - สอนสนุก ไมเครียด อารมณดี ใจดี มีเมตตา - สอนใหนักเรียนเขาใจ - ครูมีความรู ทันสมัย ทันเหตุการณ - มีสื่อการสอนที่ทันสมัย แปลกใหม จัดบรรยากาศในการเรียนไดดี - ประเมินผลดวยวิธีหลากหลาย มีกิจกรรมเก็บคะแนนเปนชวง ๆ ไมเนนการสอบมากเกินไป - ตรวจการบานและแบบฝกหัดเปนรายบุคคลและใหผลยอนกลับ (feedback) กับนักเรียน


-16-

ทักศนียา เชิดสูงเนิน (2543) ศึกษาความพึงพอใจในการใชบริการฐานขอมูลซีดีรอม พบวา ผูใชบริการจํานวนมากที่สุดเปนนักสึกษาระดับปริญาตรี สังกัดสาขาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มี วัตถุประสงคเพื่อทํารายงานประกอบวิชาเรียนใชฐานขอมูลวิทยานิพนธไทยมาก


บทที่ 3 วิธีการดําเนินการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ที่มีตอผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ใน 3 คณะ คือ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป โดยมีการดําเนินการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่กําลังศึกษาใน ปการศึกษา 2550 ใน คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชีและคณะนิติศาสตร จํานวน 565 คน และนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาแลวในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 180 คน รวมนักศึกษาทั้งหมด จํานวน 745 คน ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จํานวนนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษใน ปการศึกษา 2550 คณะ / สาขา คณะบริหารธุรกิจ - การตลาด - คอมพิวเตอรธุรกิจ - การจัดการ - การโรงแรม ฯ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร รวม

จํานวนนักศึกษา ปกติ ที่สําเร็จการศึกษา 417 114 108 39 158 38 97 37 54 106 66 42 565 180

รวม 531 147 196 134 54 172 42 745

กลุมตัวอยาง ไดแก นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่กําลังศึกษาใน ปการศึกษา 2550 และที่สําเร็จ การศึกษาแลวในภาคการศึกษาที่ 1 / 2551 ทั้งหมวดวิชาบังคับ วิชาเลือก และ วิชาเลือกเสรี และหมวดศึกษา ทั่วไป โดยศึกษากับอาจารยในรายวิชาตาง ๆของคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี และคณะนิติศาสตร หมวด ศึกษาทั่วไป โดยการสุมตัวอยางอยางงายได รอยละ 80 ของประชากร ไดจํานวน 600 คน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัยและการหาคุณภาพของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการทําวิจัยครั้งนี้ เปนแบบประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ที่ กําลังศึกษาใน ปการศึกษา 2550 ที่สําเร็จการศึกษาแลวในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2551 กับอาจารยใน คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร และหมวดศึกษาทั่วไป จํานวน 1 ฉบับ โดยแบงเปน 2 ตอนดังนี้


-18-

ตอนที่ 1 ขอมูลสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปนแบบเติมขอความ ใหสมบูรณ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน คุณลักษณะของอาจารยผูสอนและ ผลสัมฤทธิ์ มีลักษณะเปนแบบมาตรสวนประมาณคา 5 ระดับ คือ คือความพึงพอใจมากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด จํานวน 20 ขอ และขอเสนอแนะซึ่งเปนคําถามปลายเปด การหาคุณภาพของเครื่องมือ 1. คณะผูวิจัยสรางขอคําถามโดยศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของสัมภาษณรองอธิการบดี ฝายวิชาการ และ ผูอํานวยการสํานักวิชาการ แลวนํามาประมวลสรางแบบสอบถาม โดยใหสอดคลองกับ วัตถุประสงคของการวิจัย ซึ่งประกอบดวยเนื้อหาสาระดังนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลสถานภาพสวนตัวของผูตอบ รายชื่อผูสอน และรายวิชา ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน ไดแกดานการสอน ดานสื่อการสอน และอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผลและในดานคุณลักษณะของอาจารยผูสอน และผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2. นําแบบสอบถามที่ไดไปใหผูทรงคุณวุฒิ ทางดานการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย ตรวจสอบความถูกตองดานการใชภาษาและความตรงตามเนื้อหา แลวจะนํามาปรับปรุงแกไขและจัดพิมพเปน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ 3. นําแบบสอบถามไปทดลองใชกับนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่มิใชกลุมตัวอยาง จํานวน 40 คน 4. วิเคราะหคุณภาพของแบบสอบถาม โดยการคํานวนคาความเที่ยงโดยใชสูตรสัมประสิทธิ์ แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ไดคาความเที่ยงเทากับ 0.80 5. สรุปแบบสอบถามที่สมบูรณ พรอมนําไปเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง 3. การเก็บรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยแจกแบบสอบถามใหนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ในคณะตาง ๆ 3 คณะ ในตอนปลาย ปการศึกษา 2550 หลังจากที่เรียนจบรายวิชาตาง ๆ ทุกวิชาทั้งหมวดศึกษาทั่วไป หมวดวิชาบังคับ วิชาเลือก และวิชาเลือกเสรี ตอนสิ้นสุดชั่วโมง และกลุมนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาแลวในภาคเรียนที่ 1/2551 โดยเก็บ ในชวงระยะเวลาเดียวกัน เพื่อใหครอบครุมกลุมตัวอยางทุกประเภท ทั้งกลุมปกติและกลุมพิเศษ ในเดือน กันยายน พ.ศ. 2550 และสงแบบสอบถามคืนทันทีพรอมตรวจสอบความถูกตองสมบูรณ


-19-

4. การวิเคระหขอมูล คณะผูวิจัยนําขอมูลที่เก็บรวบรวมมาไดมาตรวจ จัดทําคูมือการลงรหัสและบันทึกขอมูลลง คอมพิวเตอร วิเคราะหและประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป 1. วิเคระหขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยทั้ง 83 คน ทั้ง 5 ดาน คือ ดานการสอน ดานสื่อและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและผลสัมฤทธิ์ที่ นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้ จําแนกเปนรายคณะและหมวดศึกษาทั่วไป โดยใชคาเฉลี่ย จากนั้นนํา คาเฉลี่ยมาแปลระดับความพึงพอใจตาม เกณฑการประเมิน ดังตอไปนี้ คาเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง พึงพอใจมาก คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง พึงพอใจนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด 2. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับอาจารยผูสอนเปนรายคณะ ทําการวิเคราะหเนื้อหา ( Content Analysis) 3. เปรียบเทียบลําดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอนในทั้ง 3 คณะ/สาขา และ หมวดศึกษาทั่วไป โดยใชคาเฉลี่ย


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 เปนการเสนอผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษในดานการ สอน ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารย และ ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้น ตออาจารยผูสอน (จํานวน 83 คน) และขอเสนอแนะใน คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป ตอนที่ 2 เปนการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตอ อาจารยผูสอน ทั้ง 3 คณะ และหมวดศึกษาทั่วไป ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษในดานการสอน ดานสื่อ การสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและผลสัมฤทธิ์ที่ นักศึกษาไดรับในการเรียนรายวิชานั้น ตออาจารยผูสอนและขอเสนอในคณะตาง ๆ (N = 16 คน)

ดานการสอนของอาจารย

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะอของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

ตารางที่ 1 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ปการศึกษา 2550

คาเฉลี่ย

คณะบริหารธุรกิจ

-

-

-

-

-

-

-

สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

-

-

-

-

-

-

-

คาเฉลี่ย

4.19

4.18

4.14

4.30

4.21

4.20

มาก

ระดับคุณภาพ

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

คณะ / สาขา

ระดับ คุณภาพ

จากตารางที่ 1 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สาขา คอมพิวเตอรธุรกิจ ในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและ ประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้ ใน


-21-

ภาพรวมอยูในระดับพอใจมากทุกดาน มีคาเฉลี่ย 4.20 เมื่อพิจารณารายละเอียดพบวานักศึกษามีความพึง พอใจดานคุณลักษณะของอาจารยมีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.30 รองลงมาคือ ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษา ไดรับ ในการเรียนวิชานี้ และดานการสอนของอาจารย มีคาเฉลี่ย 4.21 และ 4.19 ตามลําดับ นอกจากนั้นพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ ในภาพรวมอยูในระดับพอใจมาก 12 คน คิดเปนรอยละ 75 มีคาเฉลี่ย 3.50 ถึง 4.49 เมื่อ พิจารณารายละเอียดพบวา มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในระดับพอใจมากที่สุด 2 คน คิดเปนรอยละ 12.5 และมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในระดับปานกลาง 2 คน คิดเปนรอยละ 12.5 มีคาเฉลี่ย 3.44 และ 3.24 สรุปผลขอเสนอแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สาขา คอมพิวเตอรธุรกิจ มีดังตอไปนี้ 1. อาจารยสอนดีมาก จํานวน 2 คน 2. อาจารยสอนดี เปนกันเอง สอนใหเขาใจงาย สอนคอนขางละเอียดมากทําใหความรูแนนมากขึ้น จํานวน 13 คน 3. อาจารยใจดีมาก จํานวน 1 คน 4. อาจารยเลือกเนื้อหาที่ใชในการสอนไดเหมาะสมกับชีวิตประจําวัน และนําไปใชไดจริง จํานวน 1 คน 5. สอนไมเขาใจอาจารยไมคอยอธิบายใหฟงตองพัฒนาการสอน และสอนไมรูเรื่องขาดสอนบอยมาก จํานวน 7 คน 6. สอนไมละเอียด เนื้อหาเขาใจยาก โปรแกรมซ้ําซอน จํานวน 1 คน 7. ควรเนนโปรแกรมบนเว็บหรือโปรแกรมอื่น ๆ เชน Photoshop จํานวน 1 คน 8. สอนไมรูเรื่อง ตําราไมมีใชควบคูการสอน และสอนเร็ว จํานวน 3 คน 9. วิชาการเขียนโปรแกรมบนเว็บ อาจารยสอนเร็ว เลยไมคอยรูเรื่อง จํานวน 4 คน 10. ตองการใหมีหนังสือเรียน / ตํารา / เอกสาร ควบคูกับการสอนจําหนาย จํานวน 2 คน 11. อาจารยสอนดี แตหองคอมพิวเตอรไมสามารถ ใชงานในการเรียนการสอนไดดี จํานวน 1 คน 12. ขอใหจัดกิจกรรมใหนักศึกษาเยอะ ๆ ในวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จํานวน 1 คน


-22-

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจและขอเสนอแนะของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ที่มีตอ อาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด จําแนกเปนรายคณะและรายบุคคล (N = 12 คน)

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะอของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

คณะ / สาขา

ดานการสอนของอาจารย

ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ปการศึกษา 2550

4.05 มาก

4.14 มาก

4.01 มาก

4.17 มาก

4.06 มาก

คาเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

4.07

มาก

จากตารางที่ 2 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจสาขาวิชา การตลาด ในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้อยู ในภาพรวมอยูในระดับ พอใจมากทั้ง 5 ดาน มีคาเฉลี่ย 4.07 เมื่อพิจารณารายละเอียดพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในคุณลักษณะ ของอาจารยมีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.17 รองลงมาคือ ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน และ ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้ มีคาเฉลี่ย 4.14 และ 4.06 ตามลําดับ นอกจากนั้น พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกกิจ สาขาวิชา การตลาด ในภาพรวมอยูในระดับพอใจมาก คนคิดเปนรอยละ 90 และมีคาเฉลี่ย 3.74 ถึง 4.34 เมื่อ พิจารณารายละเอียดพบวา มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในระดับความพอใจมากที่สุด คิดเปนรอยละ 10 มีคาเฉลี่ย 4.53 สรุปผลขอเสนอแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาสาขาวิชาการตลาดตออาจารยผูสอนในคณะ บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด มีดังตอไปนี้ (อาจารย 10 คน) 1. อาจารยสอนดีมาก ดีทุกอยาง สอนสนุก จํานวน 18 คน 2. อาจารยสอนดี สอนเขาใจ ใชสื่อการสอนชัดเจน จํานวน 16 คน 3. อาจารยนารัก ใจดี จํานวน 4 คน 4. พูดเร็วไปหนอย แตก็สอนดี จํานวน 7 คน


-23-

5. เอาอารมณของตนเองเปนใหญ สอนเร็ว ไมรูเรื่อง สไลดที่ใชสอนก็เยอะเกินไป จํานวน 3 คน 6. วิชาพฤติกรรมผูบริโภค มอบหมายงานยากไป จํานวน 3 คน 7. ตองการใหจัดกิจกรรมใหนักศึกษาเยอะ ๆ ในวิชาการจัดการตลาด การสื่อสารทางการตลาด แบบบูรณาการและการพยากรณทางการตลาด จํานวน 1 คน ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจและขอเสนอแนะของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่มีตอ อาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สามารถจัดการจําแนกเปนรายคณะและบุคคล ( N = 10 คน )

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

คณะ / สาขา

ดานการสอนของอาจารย

ตารางที่ 3 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ ปการศึกษา 2550

3.99 มาก

3.95 มาก

3.87 มาก

4.10 มาก

3.92 มาก

คาเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

3.97

มาก

จากตารางที่ 3 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดาน คุณภาพลักษณะของอาจารยและผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับ ในการเรียนวิชานี้ ในภาพรวมอยูในระดับ พอใจมากทุกดาน มีคาเฉลี่ย 3.97 เมื่อพิจารณารายละเอียดพบวานักศึกษามีความพึงพอใจในดาน คุณลักษณะของอาจารยมีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.10 รองลงมาคือ ดานการสอนของอาจารยและดานสื่อการ สอนอุปกรณการสอน มีคาเฉลี่ย 3.99 และ 3.95 ตามลําดับ นอกจากนั้น พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน 9 คนในคณะบริหารธุรกิจสาขาวิชา การจัดการ ในภาพรวมอยูในระดับพอใจมาก คิดเปนรอยละ 90 มีคาฉลี่ย 3.50 ถึง 4.37 และมีความพอใจ ตออาจารยผูสอน 1 คนในระดับพอใจปานกลาง คิดเปนรอยละ 10 มีคาเฉลี่ย 3.05


-24-

สรุปผลขอเสนอแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจสาขา การจัดการ มีดังตอไปนี้ 1. อาจารยสอนดีมาก อธิบายเกง เนื้อหาทันสมัย อาจารยสวยที่สุด สอนไดถูกใจมากที่สุด จํานวน 3 คน 2. อาจารยสอนดี เนื้อหาทันสมัย เขาใจงาย ไมนาเชื่อ จํานวน 4 คน 3. อาจารยสอนเร็ว บางครั้งใสอารมณกับนักศึกษามากไป จํานวน 5 คน 4. อาจารยควรสอนใหเขาใจมากขึ้นมีการใชคําศัพทยากเกินไป จํานวน 2 คน 5. ควรปรับปรุงบรรยากาศการสอนใหดีขึ้น จํานวน 3 คน 6. อาจารยใหงานมากไป ไมมีเวลาทํารายงาน จํานวน 3 คน 7. ควรลดปริมาณเสียงและการพูดนอกเรื่อง จํานวน 1 คน 8. อาจารยไมชมนักศึกษาแตกระตุนโดยการตําหนิวา นักศึกษาสูนักศึกษาอื่นไมได จํานวน 1 คน 9. ควรใหมีการจัดประชุมปฎิบัติการ และมีการใชสื่อ เพื่อการปฎิบัติจริง จํานวน 1 คน 10. ตองการใหมีแบบเรียนที่เปนมาตราฐานเดียวกัน เพราะตําราเรียนมีหลากหลาย เกินไปและควรปรับปรุงพื้นฐานของนักศึกษากอน จํานวน 3 คน 11. ตองการใหมีการพานักศึกษาไปดูงานภายนอก เชน บริษัท สํานักงาน รวมทั้งธุรกิจขนาดยอม (SMES) ตาง ๆ จํานวน 3 คน


-25-

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการ ทองเที่ยว คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

คณะ / สาขา

ดานการสอนของอาจารย

ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว ปการศึกษา 2550

คาเฉลี่ย

-

-

-

-

-

-

-

3.38 มาก

4.54 มาก

4.41 มาก

4.62 มาก

4.48 มาก

4.51

มากที่สุด

ระดับ คุณภาพ

จากตารางที่ 4 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว ในภาพรวมอยูในระดับพอใจมากที่สุด มีคาเฉลี่ย 4.51 โดยเมื่อ พิจารณารายละเอียดพบวามีนักศึกษามีความพึงพอใจดานคุณลักษณะของอาจารยและดานสื่อการสอนและ อุปกรณการสอนอยูในระดับพอใจมากที่สุด โดยในดานคุณลักษณะของอาจารยอยูในระดับพอใจมากที่สุด คาเฉลี่ยเทากับ 4.62 และรองลงมาคือ ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน และดานผลสัมฤทธิ์ที่ นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้ มีคาเฉลี่ย 4.54 และ 4.48 ตามลําดับ นอกจากนั้นพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวในภาพรวมอยูในระดับพอใจมาที่สุด 3 คน คิดเปนรอยละ 7.5 มี คาเฉลี่ย 4.52 ถึง 4.57 และมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในระดับมาก 1 คน คิดเปนรอยละ 25 มี คาเฉลี่ยเทากับ 4.39 สรุปผลขอเสนอแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในคณะบริหารธุรกิจสาขาวิชา การจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว ดังตอไปนี้ 1. อาจารยสอนดี เขาใจดีมาก ไดรับความรูและประสบการณจากอาจารย ทําใหไมเบื่อ จํานวน 7 คน 2. อาจารยใหงานเยอะเกินไป จํานวน 1 คน 3. ตองการใหอาจารยเสริมสิ่งที่เปนเนื้อความสําคัญของ การทองเที่ยวใหมากขึ้นอีก จํานวน 1 คน


-26-

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

คณะบัญชี คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

คณะ / สาขา

ดานการสอนของอาจารย

ตารางที่ 5 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ปการศึกษา 2550

4.00 มาก

3.88 มาก

3.89 มาก

4.16 มาก

3.84 มาก

คาเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

3.95

มาก

จากตารางที่ 5 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบัญชี ทั้ง 5 ดาน ใน ภาพรวมอยูในระดับพอใจมาก มีคาเฉลี่ย 3.95 เมื่อพิจารณารายละเอียดพบวา มีนักศึกษามีความพึ่งพอใจ มากในดานคุณลักษณะของอาจารยสูงสุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.16 รองลงมาคือดานการสอนของอาจารยและ ดานการวัดและการประเมินผลมีคาเฉลี่ย 4.00 , 3.89 ตามลําดับ นอกจากนี้พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะบัญชีในภาพรวมอยูในระดับ พอใจมาก 13 คน คิดเปนรอยละ 86.67 มีคาเฉลี่ย 3.42 ถึง 4.45 มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในระดับ พอใจมากที่สุด 1 คน คิดเปนรอยละ 6.67 และมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในระดับปานกลาง 1 คน คิดเปนรอยละ 6.67 สรุปขอเสอนแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในคณะบัญชีดังตอไปนี้( N =15 คน) 1. อาจารยสอนดีมากๆ ดีทุกอยาง สอนเขาใจและใหขอเสนอแตสิ่งที่ดี จํานวน 6 คน 2. อาจารยสอนดี เสียงดังฟงชัด สอนเขาใจ ยกตัวอยางประกอบไดดี จํานวน 6 คน 3. อาจารยสอนเขาใจงาย แตบางครั้งกินเวลาเรียนไปมาก จํานวน 2 คน 4. อาจารยไมเขาใจ ไมนาสนใจ ไมตรงประเด็นของเนื้อหา การเรียนการสอน ควรยกตัวอยางใหมากขึ้น จํานวน 7 คน 5. นักศึกษาไมไดจบทางบริหาร ขาดความรูพื้นฐาน จึงเรียนไมรูเรื่อง จํานวน 1 คน 6. เอกสารตําราที่ใชเรียนบางวิชาอานไมรูเรื่อง จํานวน 1 คน 7. ตองการใหอาจารยดูแลนักศึกษาใหทั่วถึงทุกคน จํานวน 1 คน 8. ตองการใหอาจารยอธิบายเนื้อหาใหชัดเจน ยกตัวอยางใหมากขึ้น และเฉลยแบบฝกหัดใหมากขึ้นจะทําใหทราบขอผิดพลาด จํานวน 7 คน 9. ตองการใหสอนเทาเทียมกันและควรเลนกับนักศึกษาใหนอยลง จํานวน 2 คน


-27-

10. อาจารยใหงานเยอะมาก จํานวน 2 คน 11. อาจารยสอนเร็วเกินไป ควรจัดลําดับขั้นตอนและปรับปรุงการสอน จํานวน 5 คน 12. เรียนไมเขาใจอาจารยสอนตามสไลด ไมอธิบายตัวอยาง ไมเฉลยแบบฝกหัดและไมคอยทบทวนให จํานวน 2 คน 13. สอนดีแตไมเปดโอกาสใหซักถาม จํานวน 1 คน 14. ในการวัดและประเมินผล เวลาใกลสอบกลางภาค ปลายภาค ตองการใหอาจารยบอกลวงหนาดวย จํานวน 1 คน

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

คณะนิติศาสตร คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

คณะ / สาขา

ดานการสอนของอาจารย

ตารางที่ 6 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน คณะนิติศาสตร สาขาวิชานิติศาสตร ปการศึกษา 2550

4.38 มาก

4.38 มาก

4.28 มาก

4.51 มาก

4.32 มาก

คาเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

4.36

มาก

จากตารางที่ 6 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะนิติศาสตรทั้ง 5 ดาน ใน ภาพรวมอยูในระดับพอใจมาก มีคาเฉลี่ย 4.36 เมื่อพิจารณารายละเอียดพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจมาก ที่สุดในดานคุณลักษณะของอาจารยมีคาเฉลี่ย 4.51 รองลงมามีความพึงพอใจมากในดานการสอนของ อาจารยและดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอนมีคาเฉลี่ย 4.38 และ 4.33 นอกจากนั้นพบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในคณะนิติศาสตรในภาพรวมอยูใน ระดับพอใจมาก 4 คน คิดเปนรอยละ 80 มีคาเฉลี่ย 3. 77 ถึง 4.61 และมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนใน ระดับพอใจมากที่สุด 1 คน คิดเปนรอยละ 20 มีคาเฉลี่ย 4.72 สรุปขอสนอแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในคณะนิติศาสตรมีดังตอไปนี้ (N = 6 คน) 1. อาจารยสอนใหเขาใจเนื้อหาดีมาก สอนเกง เกิดประโยชน ในการนําไปใชในชีวิตประจําวันและเขาในนักศึกษา จํานวน 11 คน 2. อาจารยสอนดี ตอบตรงคําถาม จํานวน 6 คน


-28-

3. อาจารยสอนดีแตเร็วไปหนอย จํานวน 2 คน 4. อาจารยควรยกตัวอยางใหเขาใจมากขึ้น ไมควรย้ําแลวย้ําอีกทําใหนักศึกษาสับสน จํานวน 1 คน 5. ตองการใหเนนเทคนิคการเรียน การวางแผนการเรียนวาจะมีกรอบ การเรียนอยางไร ใหไดผลและนักศึกษาไมเกิดความทอแท จํานวน 1 คน 6. อาจารยสอนเร็วไป ฟงไมทัน อธิบายไมชัดเจน จํานวน 4 คน 7. ควรสอนโดยมีการกระตุนความสนใจของนักศึกษาใหมากกวานี้ จํานวน 2 คน 8. ขอมูลที่สอน ไมมีการยกตัวอยางใหชัดเจน สวนใหญสอนตามหนังสือ จํานวน 1 คน

ดานการวัดและประเมินผล

ดานคุณลักษณะของอาจารย

ผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับใน การเรียนวิชานี้

หมวดศึกษาทั่วไป คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน

คณะ / สาขา

ดานการสอนของอาจารย

ตารางที่ 7 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน หมวดศึกษาทั่วไป ปการศึกษา 2550

4.25 มาก

4.17 มาก

4.17 มาก

4.36 มาก

4.28 มาก

คาเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

4.25

มาก

จากตารางที่ 7 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในหมวดศึกษาทั่วไป ทั้ง 5 ดาน ในภาพรวมอยูในระดับพอใจมากมีคาเฉลีย 4.25 เมื่อพิจารณารายละเอียดพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจ มากในดานคุณลักษณะของอาจารยเปนอันดับแรก มีคาเฉลี่ย 4.36 รองลงมาไดแกผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษา ไดรับในการเรียนวิชานั้น ดานการสอนของอาจารยและดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอนมีคาเฉลี่ย 4.28 และ 4.25 นอกจากนั้นพบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในหมวดศึกษาทั่วไป ในภาพรวมอยู ในระดับพอใจมากที่สุด 4 คน คิดเปนรอยละ 25 มีคาเฉลี่ย 4.50 ถึง 4.71 และมีความพึงพอใจตออาจารย ผูสอนในระดับพอใจมาก 11 คน คิดเปนรอยละ 68.75 มีคาเฉลี่ย 3.78 ถึง 4.47 และมีความพอใจตอ อาจารยผูสอนในระดับปานกลาง 1 คน คิดเปนรอยละ 6.25


-29-

สรุปขอสนอแนะโดยภาพรวมของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในหมวดศึกษาทั่วไปมีดังตอไปนี้ (N = 16 คน) 1. อาจารยตั้งใจสอนดีมาก ชอบมาก สมบูรณที่สุด มีวิธีการสอนที่แปลกใหม สอนใหเขาใจงาย และใหนักศึกษามีสวนรวมในการทํากิจกรรมในชั้นเรียน จํานวน 4 คน 2. อาจารยตั้งใจสอนดี อธิบายเรื่องที่เรียนไมเขาใจดีและให ความเปนกันเองกับนักศึกษา จํานวน 7 คน 3. อาจารยน้ําใจดี ใจดี แมจะมีธุรมาก แตรีบมาสอน จํานวน 1 คน 4. อาจารยสอนวิชาภาษาอังกฤษดีมาก สอนเขาใจงาย เพราะอาจารยหัดพูดภาษาไทยใหนักศึกษาเขาใจ จํานวน 7 คน 5. อาจารยสอนไมคอยเขาใจ พูดเบามาก สอนชา ไมสนุก ตรวจงานไมทั่วถึง ตองการใหอาจารยเปลี่ยนวิธีการสอนใหม จํานวน 8 คน 6. นักศึกษาไมทราบจุดประสงคของวิชาที่เรียน จํานวน 2 คน 7. อาจารยสั่งงานตอนใกลสอบปลายภาค ทําใหมีเวลาในการทํางานนอยผลงานออกมาไมดี ขอใหอาจารยแจงใหนักศึกษาทราบหัวขอการทํารายงานตั้งแตตนเทอม จํานวน 4 คน 8. อาจารยเข็มงวดกับการทํารายงานแตคะแนนทดสอบใหนอย ทําใหสิ้นเปลืองคาใชจายในการทํารายงาน จํานวน 4 คน 9. อาจารยชอบผูเลนเกินไป จํานวน 2 คน 10. อาจารยไมคอยฟงความคิดเห็นของนักศึกษา จํานวน 1 คน 11. ตองการใหอาจารยชาวตางประเทศสอนภาษาอังฤกษโดยตรงเพราะอาจารย ชอบพูดภาษาไทย ทําใหฟงไมรูเรื่อง สอนเร็ว ทําใหเบื่อหนายการเรียน จํานวน 5 คน 12. อาจารยมีสไลดมากเกินไป อธิบายชาใหนักศึกษาจดตาม นาจะถายเอกสารใหนักศึกษา จํานวน 1 คน 13. ควรมีบอรดที่ใชเขียนที่สะอาด และมีปากกาไวใหพรอม จํานวน 1 คน ขอเสนอแนะทั่วไปที่นักศึกษามีตอวิทยาลัยราชพฤกษ มีดังนี้ 1. อยากใหมีรานจําหนายหนังสือตําราและเอกสาร จํานวน 3 คน 2. อยากใหมีรถรับ-สง เหมือนเดิมเพราะรอบเชา รอบเสาร-อาทิตยมีรถรับสง แตทําไมรอบค่ําถึงไมมีรถรับสง จํานวน 1 คน 3. อยากใหวิทยาลัยจัดการสอนในวันเสารเริ่ม 18.00 น. เพราะตองทํางานมาเรียนไมทัน เลยไมอยากเขาเรียน จํานวน 1 คน 4. ควรจัดหองที่ใชสําหรับลีลาศโดยเฉพาะและพื้นลื่นจนทําใหลมไดงาย จํานวน 1 คน


-30-

ตอนที่ 2 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารย ผูสอนทั้ง 3 คณะและหมวดศึกษษทั่วไป ในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารย ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้ ตารางที่ 8 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารย ดานการสอนของอาจารย คณะ / สาขาวิชา คณะบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการโรงแรม และการทองเที่ยว คณะบัญชี คณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป

N

คาเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

16 12 11 4

4.19 4.05 3.99 3.38

มาก มาก มาก ปานกลาง

18 6 16

4.00 4.38 4.25

มาก มาก มาก

จากตารางที่ 8 พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ดานการสอนของอาจารย คณะ นิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการตลาด คณะบัญชี สาขา การจัดการ อยูในระดับ พอใจมากตามลําดับสําหรับสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวอยู ในระดับพอใจปานกลาง ตารางที่ 9 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน คณะ / สาขา คณะบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการโรงแรม และการทองเที่ยว คณะบัญชี คณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป

N

คาเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

16 12 11 4

4.18 4.14 3.95 4.54

มาก มาก มาก มากที่สุด

18 6 16

3.88 4.33 4.17

มาก มาก มาก


-31-

จากตารางที่ 9 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอนของคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวอยูในระดับพึงพอใจมากที่สุด สําหรับคณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการ คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป มีความพึงพอใจอยูในระดับพอใจมาก ตารางที่ 10 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารย ดานการวัดแลประเมินผล คณะ / สาขา คณะบริหารธุรกิจ - สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ - สาขาการตลาด - สาขาการจัดการ - สาขาการโรงแรม และการทองเที่ยว คณะบัญชี คณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป

N

คาเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

16 12 11 4

4.14 4.01 3.87 4.41

มาก มาก มาก มาก

18 6 16

3.89 4.28 4.17

มาก มาก มาก

จากตารางที่ 10 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ดานการวัดและประเมินผล ของ คณะบริหารธุรกิจ ทุกสาขา คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป อยูในระดับพอใจมากทุก คณะ / สาขา โดยลําดับแรกคือ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว รองลงมาคือ คณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการตลาด คณะบัญชีและคณะ บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการตามลําดับ ตารางที่ 11 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารย ดานคุณลักษณะของอาจารย คณะ / สาขา คณะบริหารธุรกิจ - สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ - สาขาการตลาด - สาขาการจัดการ - สาขาการโรงแรมฯ

N

คาเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

16 12 11 4

4.30 4.17 4.10 4.62

มาก มาก มาก มากที่สุด

คณะบัญชี คณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป

18 6 16

4.16 4.51 4.36

มาก มากที่สุด มาก


-32-

จากตารางที่ 11 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ดานคุณลักษณะของอาจารย ของ คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวและคณะนิติศาสตร อยูในระดับพึงพอใจ มากที่สุด โดยลําดับแรกคือ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว รองลงมาคือ คณะนิติศาสตร และนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในหมวดศึกษาทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอร ธุรกิจ สาขาการตลาด คณะบัญชีและสาขาการจัดการ อยูในระดับพึงพอใจมากตามลําดับ ตารางที่ 12 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารย ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้น คณะ / สาขา คณะบริหารธุรกิจ - สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ - สาขาการตลาด - สาขาการจัดการ - สาขาการโรงแรม และการทองเที่ยว คณะบัญชี คณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป

N

คาเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

16 12 11 4

4.21 4.06 3.92 4.48

มาก มาก มาก มาก

18 6 16

3.84 4.32 4.28

มาก มาก มาก

จากตารางที่ 12 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับ ในการเรียนวิชานั้น ของคณะบริหารธุรกิจ ทุกสาขา คณะบัญชีและคณะนิติศาสตร และหมวดศึกษาทั่วไป อยูในระดับพึงพอใจมากทุกคณะ / สาขาโดยลําดับแรกคือ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว และ รองลงมาคือ คณะนิติศาสตรและหวมดศึกษาทั่วไปตามลําดับ


บทที่ 5 สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ที่มีวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัย ราชพฤกษตอการจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ ในดานการสอนของ อาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผลดานคุณลักษณะของอาจารย และดานผลสัมฤทธิ์ ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้น และเพื่อเปรียบเที่ยบความพึงพอใจของนักศึกษา วิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในแตละดาน ใน 3 คณะ ไดแกคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะ นิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป ซึ่งมีกระบวนการและผลการวิจัยโดยสรุป ดังตอไปนี้ ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ 3 คณะไดแก คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร และหมวดศึกษาทั่วไป กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ ทั้ง 3 คณะและหมวดศึกษา ทั่วไป ซึ่งกําลังศึกษาอยูใน ปการศึกษา 2550 และนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในภาคที่ 1 ปการศึกษา 2550 ดวย โดยสุมตัวอยาง อยางงาย จํานวน 600 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือวิจัย เปนแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ซึ่งผูวิจัยสรางขึ้น มีจํานวน 1 ฉบับ จํานวน 20 ขอ โดยมีสาระเนื้อหาดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตอการจัดการเรียนการสอนของอาจารย ผูสอน ในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานี้และคําตอบปลายเปด ใหเสนอขอเสนอแนะในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนและคุณลักษณะของอาจารย การเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัย เก็บรวบรวมขอมูลโดยในสัปดาหสุดทายของการเรียน ในปลายปการศึกษา 2550 ไดแจกแบบ ประเมินความพึงพอใจใหนักศึกษาหลังจากการเรียนการสอนในแตละรายวิชาในทุกรายวิชาและเก็บ รวบรวมขอมูลกลับเมื่อนักศึกษาประเมินเสร็จแลว รวมทั้งนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในภาคที่ 1 ป การศึกษา 2551 ดวย


-34-

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 1. วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยผูสอนทั้ง 5 ดานในดานการสอน ของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของ อาจารยและผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้นจําแนกเปนรายคณะ / สาขาและหมวดศึกษา ทั่วไป ทําการวิจัยโดยการใชสถิติบรรยาย ไดแกคาเฉลี่ยจากนั้นนําคาเฉลี่ยมาแปลระดับความพึงพอใจตาม เกณฑการประเมิน 2. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับอาจารยผูสอนทําการวิเคราะหเนื้อหา ( Content Analysis) 3. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอนของคณะ บริหารธุรกิจ คณะบัญชีและคณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป ในแตละดาน ทําการวิเคราะห็โดยการ ใชสถิติบรรยาย ไดแก คาเฉลี่ย จากนั้นนําคาเฉลี่ยมาแปลระดับความพึงพอใจตามเกณฑการประเมิน สรุปการประเมิน ผลที่ไดจากการวิจัยสรุปเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี ตออาจารยผูสอน (จํานวน 83 คน) ในดานการสอน ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและ ประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้นและ ขอเสนอแนะจําแนกเปนรายคณะ / สาขา ในคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษา ทั่วไป ตอนที่ 2 เปนการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจ ของนักศึกษาตออาจารยผูสอนทั้ง 3 คณะ ในแต ละดาน ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอนในทั้ง 5 ดาน ตามราย คณะ / สาขา ผลการวิเคราะหพบวา คณะบริหารธุรกิจสาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ ในภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน (N=16) ในทั้ง 5 ดาน อยูใน ระดับพอใจมาก ทุกดาน ( x = 4.20) และนักศึกษามาความพึงพอใจดาน คุณลักษณะของอาจารยสูงสุด ( x = 4.30) รองลงมาคือดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชา และดานการสอนของอาจารย นอกจากนั้นนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในทุกดานอยูใน ระดับพอใจมาก จํานวน 12 คน (75%) คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด ในภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ( N = 10) ในทั้ง 5 ดาน อยูในระดับพอใจมากทุกดาน ( x = 4.07) และนักศึกษามีความพอใจดานคุณลักษณะของ อาจารยสูงสุด ( x = 4.17) รองลงมาคือ ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษา ไดรับในรายวิชานั้ x น นอกจากนั้นนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในทุกดานอยูใน ระดับพอใจมากที่สุด จํานวน 1 คน (10%) และในระดับพอใจมาก จํานวน 9 คน (90%)


-35-

คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ ในภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ( N = 10) ในทั้ง 5 ดาน อยูในระดับพอใจมากทุกดาน ( x = 3.97) และนักศึกษามีความพึงพอใจดานคุณลักษณะ ของอาจารยสูงสุด ( x = 4.10) รองลงมาคือ ดานการสอนของอาจารยและดานสื่อการสอนอุปกรณการ สอน นอกจากนั้นนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนทุกดานอยูใน ระดับพอใจมาก จํานวน 9 คน (90 %) และในระดับพอใจปานกลาง จํานวน 1 คน (10%) คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว ในภาพรวมนักศึกษามีความพึง พอใจตออาจารยผูสอน (N = 4.51ในทั้ง 5ดานอยูในระดับพอใจมากที่สุด ( x = 4.51)และนักศึกษามีความ พึงพอใจดานคุณลักษณะของอาจารยสูงสุด ( x = 4.62) รองลงมาคือดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน และดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในรายวิชานั้น นอกจากนั้นนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนทุกดานอยูใน ระดับพอใจมากที่สุด จํานวน 3 คน (75%) และในระดับพอใจมากจํานวน 1 คน (25%) คณะบัญชี ในภาพรวมนักศึกษามีความพอใจตออาจารยผูสอน (N = 15) ในทั้ง 5 ดาน อยูใน ระดับ พอใจมากทุกดาน ( x = 3.95) และนักศึกษามีความพึงพอใจดานคุณลักษณะของอาจารยสูงสุด ( x = 4.10) รองลงมาคือดานการสอนของอาจารยและดานการวัดและประเมินผล นอกจากนั้นนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนทุกดานอยูใน ระดับพอใจมาก ที่สุด 1 คน (13.33%) และในระดับพอใจมาก จํานวน 13 คน (86.67%) คณะนิติศาสตร ในภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ( N = 6) ในทั้ง 5 ดานอยู ในระดับพอใจมาก( x = 4.36) และนักศึกษามีความพึงพอใจดานคุณลักษณะของอาจารยใน ระดับพอใจ มากที่สุด( x = 4.51) รองลงมาคือดานการสอนของอาจารยและดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน นอกจากนั้นนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนทุกดานอยูในระดับพอใจมาก 4 คน (80%) และอยูในระดับพอใจมากที่สุด 1 คน (20%) หมวดศึกษาทั่วไป ในภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน( N = 16) ในทั้ง 5 ดาน อยูในระดับพอใจมาก ( = x 4.25) โดยดานคุณลักษณะของอาจารยมีความพึงพอใจอยูใน ระดับพอใจมาก ที่สุด ( x =4.51) และรองลงมาคือดานการสอนของอาจารยและดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน


-36-

ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับอาจารยผูสอน นักศึกษาไดแสดงความคิดเห็นโดยใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนและ คุณลักษณะของอาจารยวิทยาลัยราชพฤกษหลายประเด็น ซึ่งสรุปโดยภาพรวม ดังนี้ 1. ลักษณะของอาจารยที่นักศึกษาพึงพอใจหรือชอบ ไดแก 1.1 สอนดี สอนเกง สอนสนุก ตั้งใจสอน เสียงดังฟงชัด สอนใหนักศึกษาเขาใจ ยกตัวอยางประกอบไดดี 1.2 ใจดีมีน้ําใจ ใหความเปนกันเองกับนักศึกษา 1.3 สอนใหนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได 1.4 มีวิธีการสอนที่แปลกใหม ทันสมัยใหนักศึกษาเขาใจงาย 1.5 มีการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนใหนักศึกษามีสวนรวม 1.6 ใชสื่อการสอนที่ชัดเจน ทําใหเขาใจเนื้อหาไดดี 2. ลักษณะของอาจารยที่นักศึกษาไมพึงพอใจหรือไมชอบ ไดแก 2.1 สอนไมเขาใจ สอนไมละเอียด เนื้อหายาก โปรแกรมซ้ําซอน 2.2 สอนไมรูเรื่อง ตําราไมมีใชประกอบการสอน สอนเร็ว ใชคําศัพทยากเกินไป 2.3 สอนไมนาสนใจ ไมตรงประเด็นของเนื้อหา พูดเบามาก สอนชา ไมสนุก 2.4 สอนไมเขาใจ สอนตามสไลด ไมอธิบายตัวอยาง ไมเฉลยแบบฝกหัดและไมทบทวน 2.5 สอนไมเปนไปตามลําดับขั้นตอน และสอนเร็วเกินไป 2.6 สอนโดยไมมีการยกตัวอยางใหชัดเจน สวนใหญสอนตามหนังสือ 2.7 เอาอารมณของตนเปนใหญ สอนเร็วและสไลดประกอบการสอนมากเกินไป 2.8 เสียงดังเกินไป และบางครั้งพูดนอกเรื่องมากไป 2.9 ไมชมนักศึกษาเลย แตตําหนิวานักศึกษาสูนักศึกษาที่อื่นไมได 2.10 งานที่มอบหมายยากเกินไป และมากเกินไป 2.11 ควรปรับปรุงบรรยากาศการสอนใหดี 2.12 ควรใหมีการประชุมปฏิบัติการและมีการใชสื่อปฏิบัติจริง 2.13 ควรดูแลนักศึกษใหทั่วถึง 2.14 ไมเปดโอกาสใหซักถามและไมคอยฟงความคดเห็นของนักศึกษา 3. ขอเสนอแนะทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ การวัดและประเมินผล 3.1 แบบเรียนควรมีมาตรฐานเดียวกัน เพราะตําราเรียนดีหลากหลายเกินไป 3.2 ควรปรับพื้นฐานของนักศึกษากอนในวิชาที่ยาก 3.3 ควรปรับปรุงบรรยากาศการสอนใหดีขึ้น 3.4 หองคอมพิวเตอรยังไมสามารถใชงานในการเรียนการสอนใหดี


-37-

3.5 ตองการใหมีการพานักศึกษาไปดูงานภายนอกใหมากขึ้น เชน บริษัท สํานักงาน รวมทั้งธุรกิจขนาดยอม (SMES) ของคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ 3.6 ตองการใหจัดกิจกรรมใหนักศึกษามาก ๆ เชน วิชาการจัดการตลาด วิชาระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ เปนตน 3.7 ในบางวิชามอบหมายงานใหนักศึกษายากไป ของคณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด 3.8 อาจารยใหงานเยอะมาก ของคณะบัญชี 3.9 ตองการใหอาจารยชาวตางประเทศสอนโดยใชภาษาอังกฤษโดยตรง เพราะอาจารย ชอบพูดภาษาไทย ทําใหฟงไมรูเรื่อง 3.10 ควรมีบอรดที่สะอาดและมีปากกาไวใหพรอม 3.11 ในการวัดและประเมินผล เมื่อใกลสอบกลางภาคและปลายภาคตองการใหอาจารย บอกลวงหนา ของคณะบัญชี 3.12 การสงงานตอนใกลสอบปลายภาคทําใหเวลาในการทํางานมีนอย ผลงานออกมาไม ดี จึงควรแจงใหนักศึกษาทราบหัวขอการทํารายงานตั้งแตตนเทอม ของหมวดศึกษาทั่วไป 3.13 เขมงวดตอการทํารายงาน แตคะแนนใหนอย สิ้นเปลืองคาใชจายในการทํารายงาน 3.14 ในเรื่องสื่อการสอน ควรเนนโปรแกรมบนเว็บหรือโปรแกรมอื่น ๆ เชน Photoshop 3.15 ตองการใหมีรายจําหนายหนังสือและตําราใหมากกวานี้ 3.16 ตองการใหมีรถรับ – สงในรอบค่ําดวย 3.17 ตองการใหจัดสอนในวันเสารเริ่ม 18.00 น. เพราะตองทํางานมาเรียนไมทัน 3.18 ควรจัดหองที่ใชสําหรับลีลาศโดยเฉพาะและพื้นลื่นจนทําใหลมไดงาย ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตออาจารยผูสอน ผลการวิจัยพบวา 1. ความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยผูสอน พบวา นักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตอ อาจารยผูสอนของคณะนิติศาสตร หมวดศึกษาทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอร ธุรกิจ สาขาการตลาด คณะบัญชี และสาขาการจัดการอยูในระดับพอใจมากตามลําดับ และ สําหรับนักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะบริหารธุรกิจสาขาการ จัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวอยูในระดับพอใจปานกลาง 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน พบวา นักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะนิติศาสตร คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ หมวดศึกษาทั่วไป สาขาการตลาด สาขาการจัดการ และคณะบัญชี อยูในระดับพอใจมาก ตามลําดับ และนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะ บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวอยูในระดับพอใจมากที่สุด


-38-

3. ความพึงพอใจของนักศึกษาตออาจารยผูสอนในดานการวัดและประเมินผลพบวานักศึกษาทุก คณะ/สาขา มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนอยูในระดับพอใจมาก 4. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในดานคุณลักษณะของ อาจารยพบวานักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของหมวดศึกษาทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการตลาด คณะบัญชี และสาขาการจัดการอยู ในระดับพอใจมากตามลําดับ และนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนของคณะ บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวและคณะนิติศาสตรอยุในระดับ พอใจมากที่สุด 5. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนในดานผลสัมฤทธิ์ ที่ นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้น พบวา นักศึกษาทุกคณะ / สาขา มีความพึงพอใจตอ อาจารยผูสอนอยูในระดับพอใจมาก


-39-

อภิปรายผล จากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษตออาจารยผูสอนของวิทยาลัยราช พฤกษทั้งอาจารยประจําและอาจารยพิเศษในดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการ สอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารยและดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการ เรียนวิชานั้น ในทั้งคณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตรและหมวดศึกษาทั่วไป มีประเด็นที่ขอ นํามาอภิปรายผลไดหลายประเด็นดังนี้ ความพึงพอใจ จะเห็นไดวานักศึกษาสวนใหญในทุกคณะ / สาขา มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในภาพรวม ทั้ง 5 ดาน อยูในระดับพอใจมาก และยังพบวานักศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการการโรงแรม และการทองเที่ยว มีความพึงพอใจตออาจารยผูสอนในดานการใชสื่อการสอนและอุปกรณการสอนและ ดานคุณลักษณะของอาจารยผูสอนอยูในระดับพอใจมากที่สุด รวมทั้งนักศึกษาคณะนิติศาสตร ก็มีความพึง พอใจตออาจารยผูสอน ดานคุณลักษณะของอาจารยอยูใน ระดับพอใจมากที่สุด เชนกัน แสดงวาวิทยาลัย ราชพฤกษมีอาจารยสวนใหญที่มีความสามารถในดานการจัดการเรียนการสอน การใชสื่อและอุปกรณการ สอน การวัดและประเมินผลอาจเปนเพราะวิทยาลัยราชพฤกษมีการบริหารการจัดการในเรื่องการคัดเลือก และการแตงตั้งคณาจารยในคณะ / สาขาตาง ๆ อยางรอบคอบและยึดเกณฑมาตราฐานการอุดมศึกษาและ มาตราฐานในการแตงตั้งคณาจารยของสถาบันอุดมศึกษา (2548 : 16) ที่วาดวยจํานวนและคุณวุฒิของ อาจารยวา “ตองมีอาจารยประจําหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น ซึ่งมีคุณวุฒิตรง หรือสัมพันธกับสาขาวิชาที่เปดสอนไมนอยกวา 5 คน และตองเปนผูมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโทหรือ เทียบเทาหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวาผูชวยศาสตราจารยอยางนอย 2 คน ทั้งนี้อาจารย ประจําในแตละหลักสูตรจะเปนอาจารยประจําเกินกวา 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไมได ” และยังมี มาตราการที่เขมงวดในการทดลองงานเปนเวลา 90 วัน หากไมผานการประเมินคณะกรรมการของฝาย วิชาการก็จะถูกคัดออก จึงนับวาไดคณาจารยที่มีความรูความสามาถรตรงตามสาขา / คณะนั้น ๆ และ โดยเฉพาะการเชิญผูทรงคุณวุฒิมารวมเปนอาจารยพิเศษหรือวิทยากร ก็จะเชิญอาจารยจากมหาลัยของรัฐ อาจารยที่เกษียณอายุราชการที่มากดวยประสบการณ หรือจากผูบริหารระดับสูง ( Top man) ของ ภาคเอกชน และนอกจากนั้นงานพัฒนาบุคลากรฝายทรัพยากรมนุษย วิทยาลัยราชพฤกษไดจัดใหมีการ ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรและคณาจารยทุกคนใหมีความรูและประสบการณในการจัดการ เรียนการสอนและในงานที่เกี่ยวของเปนประจําในชวงปดภาคการศึกษา ปละ 2 ครั้ง โดยมีวิทยากรและ ผูทรงคุณวุฒิมาเปนวิทยากร ดังตอไปนี้ การอบรมการแตงตํารา / การเขียนหนังสือ / การทําสื่อการสอน การจัดทํางานวิจัย การใชงาน ทะเบียนออนไลนในสวนของ อาจารยที่ปรึกษา การจัดทํา Web Site สําหรับคณาจารย เทคนิคการสอน การวัดและประเมินผลที่หลากหลาย การสรางขอสอบ เทคนิคการใหคําปรึกษา แนะนําแกนักศึกษาและ สําหรับการอบรมและสัมมนากับหนวยงานภายนอกนั้น วิทยาลัยสงเสริมและสนับสนุนใหคณาจารยเขา


-40-

รับการอบรมและสัมมนาในสาขาวิชาหรืองานที่เกี่ยวของตลอดเวลา ดังเชนในปการศึกษา 2550 มีการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา เกี่ยวกับการพัฒนาองคความรูและหลักสูตรที่นอกเหนือจากงานบริหาร ดังนี้ การสัมมนาเชิงปฏิบัติเพื่อระดมความคิดในการจัดทําหลักสูตรดานการทองเที่ยว การจัดการ ทองเที่ยวชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบาน ศูนยมนุษยวิทยาสิรินธร มาตราฐานหลักสูตร Logistic โครงการสรางเครือขายแรงงาน ประชุมเชิงปฏิบัติ “CIO Forum 2007” การจัดทํา Competency ดานการ ทองเที่ยวตามแนวมาตราฐานสากล การเลือกและการใชซอรฟแวรทางบัญชี การพัฒนาหลักสูตรดานการ บริการนโยบายและแนวทางในการพัฒนาดานหลักสูตรการบริการและการทองเที่ยวมาตรฐานการจัด การศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต นวัตกรรมการศึกษารูปแบบ Hospitality ความรูเกี่ยวกับญี่ปุน และความคิดเห็นเกี่ยวกับการรางรัฐธรรมนูญขององคกรตามรัฐธรรมนูญ สําหรับการวิจัยในสวนนักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารยผูสอน ของคณะบริหารธุรกิจ สาขา การจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว ในดานการสอน อยูในระดับพอใจปานกลาง ในขณะที่ดานการ ใชสื่อการสอนและอุปกรณการสอนและดานคุณลักษณะของอาจารย นักศึกษามีความพึงพอใจตออาจารย ผูสอนในสาขาที่อยูใน ระดับพอใจมากที่สุด ทั้งนี้อาจเปนเพราะอาจารยในคณะบริหารธุรกิจ สาขาการ จัดการการโรมแรมและการทองเที่ยว สวนใหญเปนอาจารยที่เพิ่งจะสําเร็จการศึกษา ประสบการณในการ สอนและการจัดการเรียนรูยังมีไมมากและอยูในระหวางการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะในดาน ตาง ๆ อยางตอเนื่องโดยวิทยาลัยราชพฤกษควรสงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยใหม ๆ ไดพัฒนาทักษะ และเพิ่มพูนความรูเกี่ยวกับเทคนิคในการสอนใหมากขึ้น เพราะการอบรมที่จัดดานนี้ยังมีนอย ซึ่งอาจจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะดานเทคนิคการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ที่เหมาะสม ในระดับอุดมศึกษาใหกับคณาจารยใหม ๆ ใหมากขึ้นหรือสนับสนุนใหไปอบรมหรือสัมมนากับ หนวยงานภายนอกอยางจริงจัง ขอเสนอแนะเกี่ยวกับอาจารยผูสอน ในดานคุณลักษณะของครู นักศึกษาใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับครูที่นักศึกษาพึงพอใจหรือชอบ และที่นักศึกษาไมพึงพอใจหรือไมชอบสอดคลองกับผลการสํารวจความคิดเห็นของนิสิตคณะครุศาสตร ตอวิชาชีพครูและลักษณะของครูที่นิสิตชอบ (ดวงกมล สินเพ็ง 2549 : 19-20) ดังนี้ - สอนสนุก ไมเครียด อารมณดี มั่นคงและเปนกันเอง - สอนใหนักศึกษาเขาใจ มีกิจกรรมเสริมทั้งในและนอกหองเรียน - มีสื่อการสอนที่ทันสมัย แปลกใหม จัดบรรยากาศในการเรียนไดดี - ครูมีความรูทันสมัย ทันเหตุการณ - ใหผูเรียนมีสวนรวม - ครูตองตรงตอเวลา ยุติธรรม เปดโอกาสใหนักศึกษาไดซักถามแลกเปลี่ยนประสบการณ ระหวางผูเรียนและอาจารย


-41-

- สอนใหลูกศิษยคิดเอง ศึกษาดวยตนเอง - อาจารยใจดี มีเมตตา - สอนใหนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันได - จัดกิจกรรมกลุมและดูแลนักศึกษาใหทั่วถึง นอกจากนั้นคุณลักษณะของครูที่ดีที่พึงประสงคไมวาจะเปนอดีต ปจจุบันหรืออนาคตคุณลักษณะ ที่เปนอัมตะ คือ ลักษณะครูดีครูเกง ความหมายของครูที่เปนคนดี หมายถึง เปนผูมีสุขภาพจิต สุขภาพกาย ดี มีคุณธรรม จริยธรรมศิลธรรม เขากับชุมชนไดเปนอยางดี สมถะ เรียบงายไมยึดติดกับวัตถุ ครูเปนคน เกง หมายถึง ครูพัฒนาตนเองใหมีความรูเชิงวิชาการและทักษะทางวิชาการอยูเสมอ มีทักษะในการสอน รูจักประยุกคและบูรณาการมีคุณสมบัติเชิงวิชาการ มีคุณวุฒิการศึกษาสูง สามารถพูดภาษษอังกฤษและใช คอมพิวเตอรมีทักษะเชิมโยง หมายถึง การใชภาษาเพื่อการสื่อสาร ทักษะการเรียนรูการทํางานเปนทีม ในสวนของการจัดการการเรียนการสอนนั้นอาจารยควรจะมีการเตรียมการสอนลวงหนาควรมี เทคนิคการสอนที่หลากหลาย ไมใหนาเบื่อ ควรมีจิตวิทยาในการสอนและมีการวัดและประเมินผลที่ หลากหลาย มีคะแนนเก็บเปนชวง ๆ ไมเนนการสอนมากเกินไป มีการตรวจการบานและแบบฝกหัดเปน รายบุคคลและใหผลยอนหลัง (fedbacln) กลับนักศึกษา เปนตน ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะของการวิจัยในครั้งนี้ ซึ่งจะนําไปใชประโยชน มีดังนี้ 1. เปนแนวทางใหคณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการตลาด สาขาการจัดการ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว คณะบัญชี คฯนิติศาสตร และหมวดศึกษาท ั่วไปนําไป พัฒนางานดานการสอนของอาจารย ดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานคุณลักษณะของอาจารย และดานผลสัมฤทธิ์ที่นักศึกษาไดรับในการเรียนวิชานั้น ที่มีระดับความพึง พอใจต่ํากวาระดับดี 2. ใหมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในชวงปดเทอมในดานเทคนิคการสอนหรือรูปแบบการสอน ในระดับอุดมศึกษาที่เหมาะสมใหกับคณาจารยใหม 3. ในการวิจัยครั้งตอไปควรเพิ่มขอมูล สถานภาพสวนตัวของนักศึกษาหรือผูประเมินความพึง พอใจใหมากขึ้น เชน คณะ / สาขาที่ศึกษา ชั้น / ป อายุ เพศ และรูปแบบของการเรียนของนักศึกษา เพื่อจะ สามารถเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาในระหวางคณะหรือสาขาและทราบรูปแบบของการเรียน ของนักศึกษาดวย 4. จากประเด็นขอเสนอแนะ การนําผลการวิจัยไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนของอาจารย การเพิ่มพูนเทคนิคการสอนและคุณลักษณะของอาจารยที่ดีนั้นควรศึกษาในเชิงลึกที่ จะนําไปสูการปฏิบัติ


-42-

เอกสารอางอิง คูมือนักศึกษาปการศึกษา 2551 ฝายประชาสัมพันธ วิทยาลัยราชพฤกษ นนทบุรี : ม.ป.ท., 2551. ดวงกมล สินเพ็ง. สาธิตจุฬาฯ:แหลงเรียนรูครูมืออาชีพ ศูนยประสบการณวิชาชีพ โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝายมัธยม. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549. ทองพูน บุญยิ่ง . วัฒนธรรมวิชาชีพสําหรับครูยุคใหม ในสูเสนทางวิชาชีพครู .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว , 2543 . รัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน และ ปุณณภา เจริญธรรมวัฒน. รายงานการวิจัย เรื่อง การประเมินความพึง พอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชตอการใหบริการคําปรึกษาและดานการรับ ลงทะเบียน ของสํานักทะเบียนและวัดผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549. สถาบันอุดมศึกษา. มาตรฐานการอุดมศึกษาและเกณฑมาตรฐานที่เกี่ยวของ ม.ป.ท., 2548. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ “เกณฑมาตรฐานครูแหงชาติ” กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ คุรุสภา ลาดพราว, 2544. เอกสารงานพัฒนาบุคคลากร ป พ.ศ.2550-2551 ฝายทรัพยากรมนุษยวิทยาลัยราชพฤกษ เอกสารประกอบการสอน รายวิชาความเปนครูและการบริหารจัดการในหองเรียน ของหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู วิทยาลัยราชพฤกษ, 2551. เอกสารประกอบการสอนวิชา ภาวะผูนําในตางประเทศ ระดับปริญญาเอกของมหาวิทยาลัยแคนเตอรบูรี่ นิวซีแลนด, 2008.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.