ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ต่อการดำเนินการ ของวิทยาลัยราชพฤกษ์

Page 1

รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ THE SATISFACTION OF STUDENTS, LECTURERS, AND OFFICERS TOWARD RATCHAPHRUEK COLLEGE’ S OPERATION โดย นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2551


รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ THE SATISFACTION OF STUDENTS, LECTURERS, AND OFFICERS TOWARD RATCHAPHRUEK COLLEGE’ S OPERATION โดย นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย

การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2551 ปที่ทําการวิจัยแลวเสร็จ 2552


ชื่อโครงการวิจัย ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ ชื่อผูวิจัย นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย (ภาษาอังกฤษ) Miss Chompoo Vivatvigai ปที่ทําการวิจัย 2552 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอ การดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ และเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการ ของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามสถานภาพสวนตัว เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถาม จํานวน 3 ฉบับ คือ ฉบับนักศึกษา ฉบับคณาจารย และฉบับเจาหนาที่ โดยแตละฉบับมีคําถาม 3 สวน คือ สถานภาพของ ผูตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ และขอเสนอแนะอื่นๆ มาตราวัดแบบ Likert จํานวน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษา 266 คน คณาจารย 27 คน และ เจาหนาที่ 7 คน ไดมาโดยการสุมอยางงาย และดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ ถึงมีนาคม 255 2 ไดแบบสอบถามคืนรอยละ 100 วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติ คือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความพึงพอใจดวยคา t–test และวิธีวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) ทําการเปรียบเทียบความแตกตางรายคูดวย LSD ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ (α) เทากับ 0.05 ผลการศึกษาพบวา 1) ดานสถานภาพนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง เรียนหลักสูตร 2 ป ตอเนื่อง เปนนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด มีอายุ 20-25 ป และเปนนักศึกษาภาคปกติ สวนดาน ความพึงพอใจ พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยอยูในระดับมาก รองลงมา อยูในระดับปานกลางคือดานหลักสูตร ดานหองเรียนและหองสมุด ดานการจัดบริการสนับสนุนการ เรียนการสอน และดานบริการอื่นๆ ซึ่งในดานบริการอื่นๆ มี 6 รายการที่อยูระดับนอย คือ อาหารที่ จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชได สะดวก มีบริการเงินดวน ( ATM) ที่สะดวก อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี และมีรานอาหารใหเลือก หลากหลาย


2) คณาจารยที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง ดํารงตําแหนงอาจารยประจํา สังกัดสาขาบัญชี โดยภาพรวมคณาจารยพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง โดยดานการจัดการคณาจารยใน การสอน ดานหลักสูตร และดานการวิจัยอยูในระดับมาก สวนดานการบริหารจัดการ ดานหองเรียน และหองสมุด ดานบริการอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง ซึ่งในดานบริการอื่นๆ มี 5 รายการ ที่อยูระดับ นอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก รานสหกรณมีของที่ ตองการเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย และอาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 3) เจาหนาที่ที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง มีความพึงพอใจในดานการ บริหารจัดการอยูในระดับปานกลาง โดยความพึงพอใจมากสุด คือ พึงพอใจตอ มีความพึงพอใจในตัว ผูบังคับบัญชา รองลงมา คือ มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปด วิทยาลัยใหมๆ งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ และมีการประสานงานและการ ทํางานรวมกันของบุคลากรในองคการ สวนบริการอื่นๆ เห็นวา มีรานถายเอกสารที่ดี และมีการรักษา ความปลอดภัยอยางดี ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา สถานภาพสวนตัว ไดแก สาขาวิชาที่เรียน และ ประเภทภาคที่ ศึกษาของนักศึกษาที่แตกตางกัน มีผลตอระดับความพึงพอใจในการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษที่ แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


Project:

The satisfaction of students, lecturers, and officers toward Ratchaphruek College ‘s operation

Researchers: Miss Chompoo Vivatvigai Year:

2009

Abstract

The purposes of this research were to study the satisfaction of students, lecturers, and officers toward Ratchaphruek College’s operation and to compare the satisfaction of students that divided into demographic factors toward Ratchaphruek College’s operation. 3 types, which were the questionnaire for students, lecturers, and officers, were used as the tools that had 3 parts: demographic factor, the satisfaction factor, and suggestion. The population of this research were 266 students, 27 lecturers, and 7 officers. The samples were randomly selected by using simple random sampling from February to March in 2009. The data was analyzed by using frequency, mean, percentage, standard deviation, t-test and One-way analysis of variance, and LSD. The results found that as follows: 1) For demographic factors, most respondents were female that was studying in 2 continuously years program. Most respondents were in Accounting major, Faculty of Accounting, between 20-25 years of age, and study in normal program. For satisfaction level, students had the highest level of satisfaction in term of teaching method of lectures. Moreover, curriculum, classroom and library, and extra curriculum were in medium level of satisfaction. Finally, others services that were food sanitation, public telephone, ATM machine, taste of food in the cafeteria, variety of shops, and Ratchaphruek cooperative store were in low level of satisfaction. 2) Most of lecturers were female in faculty of accounting. Overall satisfaction was in medium level. However, teaching method, curriculum, and research project were in high level of satisfaction. Moreover, management, class room and library, others services were in medium level of


satisfaction. For others services that had 5 sub factors such as food sanitation, ATM machine, Ratchaphruek College cooperative store, variety of shops, and taste of food in the cafeteria, these were in low level of satisfaction. 3) Most of officers were female that had medium level of satisfaction in term of management factor. The highest level of satisfaction was found in the superior. The second highest level of satisfaction was the colleagues, receive the assignment meet the knowledge, operational system was getting better, and having the understanding coordinative and working as a team. The others services had copy machine and good security system. The result of hypothesis test found that the different in demographic factor of students had affected on the level of satisfaction at 95% confidential level.


คํานํา รายงานการวิจัย ฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความกรุณาจาก วิทยาลัยราชพฤกษ อธิการบดี ดร.อณาวุฒิ ชูทรัพย อาจารยสันธยา ดารารัตน ประธานกรรมการการวิจัย และ คณะกรรมการการวิจัยทุกทาน พิจารณามอบทุนอุดหนุนการวิจัยแกขาพเจา พรอมทั้ง รอง ศาสตราจารย ดร.ลัดดาวัลย เพชรโรจน และ รองศาสตราจารย ดร.วิรัช วรรณรัตน ที่ปรึกษา ที่ไดให คําแนะนํา และชวยแกไขขอบกพรองมาตลอด ผูวิจัยขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ ผู วิจัย ขอขอบพระคุณ นักศึกษาทุกทาน ที่ไดสนับสนุนการศึกษา วิจัย ในครั้งนี้ โดย การสละเวลา และตั้งใจในการตอบแบบสอบถาม ทําใหรายงานการวิจัยฉบับมีความสมบูรณ สุดทายจะสําเร็จไมไดหากขาดครอบครัวที่เปนกําลังใจตลอดมา

นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย พฤษภาคม 2552


สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย.............................................................................................. บทคัดยอภาษาอังกฤษ......................................................................................... คํานํา................................................................................................................... สารบัญ................................................................................................................ สารบัญตาราง...................................................................................................... สารบัญภาพ......................................................................................................... บทที่ 1. บทนํา..................................................................................................... - ความเปนมาและความสําคัญของปญหา...................................... - วัตถุประสงคการวิจัย................................................................... - สมมติฐานการวิจัย....................................................................... - ขอบเขตการวิจัย........................................................................... - ประโยชนที่จะไดรับ....................................................................

ก ค จ ฉ ซ ฌ 1 1 2 2 2 4

2. แนวความคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ...................................... - แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสถานศึกษา............................................... - แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ........................................... - ขอมูลเกี่ยวกับวิทยาลัยราชพฤกษ................................................. - งานวิจัยที่เกี่ยวของ........................................................................ - กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย....................................................

5 5 6 14 18 22

3. วิธีดําเนินการศึกษาวิจัย........................................................................... - ประชากรและกลุมตัวอยาง........................................................... - ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัย......................................................... - เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................... - การวิเคราะหขอมูล........................................................................

23 23 24 24 26


สารบัญ (ตอ) บทที่

หนา

4. ผลการศึกษาวิจัย........................................................................................ - ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอ การดําเนินการของวิทยาลัย............................................... - ตอนที่ 2 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอ การดําเนินการของวิทยาลัย................................................ - ตอนที่ 3 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอ การดําเนินการของวิทยาลัย................................................. - ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ ของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินการของวิทยาลัย............................................

27

41

5. สรุปการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ............................................. - สรุปผลการวิจัย................................................................................ - อภิปรายผลการศึกษา........................................................................ - ขอเสนอแนะ.....................................................................................

50 50 53 54

บรรณานุกรม……………………………………………………………… ภาคผนวก ………………………….……….……………………………..

55 57

27

46 48


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

หนา คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนักศึกษา........................... 28 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักศึกษาตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ........................................................................ 29 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามเพศ..................................................................................................... 33 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามหลักสูตรที่ศึกษา................................................................................ 33 การวิเคราะหความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินงานของ วิทยาลัยจําแนกตามสาขาวิชา............................................................................... 34 การเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานหลักสูตรและ การสอนจําแนกตามสาขาวิชา.............................................................................. 35 การเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของ คณาจารยจําแนกตามสาขาวิชา............................................................................. 36 การ8 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานบริการอื่นๆ จําแนกตามสาขาวิชา............................................................................................ 37 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามอายุ..................................................................................................... 38 ความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามประเภทภาคที่ศึกษา........................................................................... 39 การเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของ คณาจารยจําแนกตามประเภทภาคที่ศึกษา............................................................ 40 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามที่เปน คณาจารย.............................................................................................................. 41 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของคณาจารยตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ........................................................................ 42 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพดานเพศของผูตอบแบบสอบถามที่ เปนเจาหนาที่....................................................................................................... 46 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ........................................................................ 46

สารบัญภาพประกอบ


ภาพที่ 1 2 4 5 6 7 8

แสดงลําดับขั้นความตองการตามทฤษฎีของ Maslow ……………… แสดงลําดับขั้นความตองการตามทฤษฎี ERG ……………. แสดงแสดงองคประกอบของบรรยากาศองคการ..............…………... แสดงตัวบงชี้สําคัญของบรรยากาศแบบเปดและแบบปด ……… แสดงแสดงองคการเพื่อบริการแบบตาง ๆ……. แสดงกรอบความคิดในการศึกษาวิจัย..............…………... แสดงสัดสวนการสุมตัวอยางแตละชั้นปการศึกษา …………….

หนา 14 16 20 22 32 44 46


บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ การศึกษาระดับอุดมศึกษาเปนการศึกษาระดับสูง ที่มุงพัฒนาคนเพื่อเขาสูวิชาชีพตางๆ ซึ่งจะเปนพื้นฐานของการพัฒนาประเทศที่สําคัญ รวมทั้งการมุงเนนที่จะพัฒนาองคความรูใหมให เกิดขึ้น อันจะเปนการเพิ่มพูนขีดความสามารถทางวิชาการระดับสูงในสาขาวิชาตางๆ เพื่อเปน เครื่องมือและฐานกําลังอํานาจทางความรู ความคิด และการพัฒนาอยางตอเนื่อง วิทยาลัยราชพฤกษเปนวิทยาลัยเอกชนแหงใหมที่เปดสอนมาตั้งแตปการศึกษา 2549 โดยเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม มีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิตใหเปนคนเกงมีความรู ทักษะ ความชํานาญในแตละสาขาวิชาสรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถอยูในสังคมอยางมี ความสุข โดยบัณฑิตตองเปนบุคคลที่มุงมั่นจะเรียนรู และพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา เพื่อนําความรู ความสามารถเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติดังปรัชญาของวิทยาลัยที่วา “สถาบันแหง การเรียนรูยุคใหม คุณภาพ คุณธรรม นําหนาสูสากล ” นอกจากนี้ความตองการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยใหมีความรูดานวิชาชีพ และมุงมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาเพื่อ ประโยชนแกสังคมและประเทศชาติ (วิทยาลัยราชพฤกษ, 2550) ดังนั้นการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ในดานตางๆ จึงสอดคลองกับปณิธานใหเปนไปดังที่ หวังไว เนื่องจากการดําเนินงานดังกลาวจะมีผลตอการพัฒนาทางวิชาการ บุคลากร ตลอดจน นักศึกษาที่จะจบไปเปนบัณฑิตในแตละป ดังนั้นการใหบริการตางๆ จึงตองมีความสอดคลองตอ ความตองการของบุคคลทุกฝาย เพราะทุกคนมีความตองการอยูเสมอ และไมมีสิ้นสุด ความตองการ ใดที่ไดรับการตอบสนอง ก็จะทําใหบุคคลนั้นเกิดความพึงพอใจ หรือความพึงพอใจจะเกิดขึ้น ตอเมื่อบุคคลไดรับหรือบรรลุจุดมุงหมายในสิ่งที่ตองการระดับหนึ่ง และความรูสึกดังกลาวจะลดลง หรือไมเกิดขึ้น หากความตองการหรือจุดมุงหมายนิ่งที่ตองการไดรับการบําบัดเปนความพอใจ ดังนั้นเพื่อใหทราบความคิดเห็นของผูที่เกี่ยวของทุกฝาย และจะเปนขอมูลในการปรับปรุง การดําเนินงานของวิทยาลัยตอไป งานวิจัยสถาบันจึงไดศึกษาเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินการทางวิทยาลัยราชพฤกษ


2

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษา ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามสถานภาพสวนตัว ไดแก เพศ หลักสูตรที่ศึกษา สาขาวิชา อายุ และประเภทภาคที่ศึกษา สมมติฐานการวิจัย การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยจําแนก สถานภาพสวนตัว ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตดานเนื้อหา ผูศึกษามุงศึกษาตัวแปรในสวนของนักศึกษา ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย - เพศ - หลักสูตรที่ศึกษา - สาขาวิชา - อายุ - ประเภท (รอบ) 2. ตัวแปรตาม คือความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ประกอบดวย - ดานหลักสูตร - ดานการสอนของคณาจารยโดยภาพรวม - ดานการบริการ - ดานหองเรียน และหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ


3

ผูศึกษามุงศึกษาตัวแปรในสวนของคณาจารย ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย - เพศ - ตําแหนง - สาขาวิชาที่สังกัด 2. ตัวแปรตาม คือความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ประกอบดวย - ดานหลักสูตร - ดานการจัดการคณาจารยในการสอน - ดานการบริหารจัดการ - ดานการวิจัย - ดานหองเรียนและหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ ผูศึกษามุงศึกษาตัวแปรในสวนของเจาหนาที่ ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย - เพศ 2. ตัวแปรตาม คือความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ประกอบดวย - ดานการบริหารจัดการ - ดานบริการอื่นๆ 2. ขอบเขตดานประชากร ศึกษาเฉพาะนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ของวิทยาลัยราพฤกษ ที่ศึกษาและ ปฏิบัติงานในปการศึกษา 2550 3. ขอบเขตดานระยะเวลา ระหวางเดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม 2552 รวม 5 เดือน


4

5. ประโยชนที่ไดรับ 1. ผลการสํารวจครั้งนี้ไดทราบขอมูลความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินของวิทยาลัย เพื่อนําไปสูการพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินการของวิทยาลัยใหดี ยิ่งขึ้น 2 . เปนแนวทางในการพัฒนาการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษตอไป


บทที่ 2 แนวความคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา อาจารย และเจาหนาที่ วิทยาลัยราชพฤกษ ผู ศึกษาวิจัยไดรวบรวมแนวคิด ทฤษฏี และขอมูลที่เกี่ยวของ ขอเสนอหัวขอตามลําดับดังนี้ 1. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสถานศึกษา 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 3. ขอมูลเกี่ยวกับวิทยาลัยราชพฤกษ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 5. กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย 1. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545ไดบัญญัติคําตางๆ ที่เกี่ยวของกับสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาไวดังนี้ “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจ หนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา “มาตรฐานการศึกษา ” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึง ประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการ เทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกัน คุณภาพทางการศึกษา “ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาตางๆ “ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและ การสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตางๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน “คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษาระดับอุดมศึษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน “ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาตั้งแตระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป


6

“บุคลากรทางการศึกษา ” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้งผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตางๆ นอกจากนี้ในสวนที่ 3 ของพรบ.การศึกษาแหงชาติ มาตราที่ 43 ยังระบุวาการบริหาร และการจัดการศึกษาของเอกชนใหมีความเปนอิสระ โดยมีการกํากับ ติดตาม การประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑการประเมินคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาเชนเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ มาตรา 44 ใหสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา 18 (2) เปนนิติบุคล และมีคณะกรรมการ บริหารประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองคกร ชุมชน ผูแทนครู ผูแทนศิษยเกา และผูทรงคุณวุฒิ จํานวนคณะกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วารการดํารงตําแหนง และการพนจาก ตําแหนง ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 45 ใหสถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาไดทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษา ตามที่กฎหมายกําหนด โดยรัฐตองกําหนดนโยบายและมาตราการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการมีสวนรวม ของเอกชนในดานการศึกษา การกําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐของเขตพื้นที่การศึกษาหรือของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหคํานึงถึงผลกระทบตอการจัดการศึกษาของเอกชน โดยใหรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นรับฟงความคิดเห็นของ เอกชน และประชาชนประกอบการพิจารณาดวย ใหสถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีดําเนินกิจการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.1 แนวความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ โดยทั่วไปการศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจมักจะศึกษาในภาพสองมิติ คือ มิติความพึง พอใจของผูปฏิบัติ และมิติความพึงพอใจของผูรับบริการ ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาในมิติ แรก ซึ่งมีผูกลาวถึงแนวคิดนี้ไวจํานวนมากพอควร ในลักษณะใกลเคียงและสัมพันธกับเรื่อง ทัศนคติ เชน


7

2.2 ความหมายของความพึงพอใจในงาน ความพึงพอใจในงานเปนปจจัยที่มีความสําคัญ ในการบริหารงานทรัพยากรมนุษยภายใน องคกร ความพึงพอใจอาจมีหลายองคประกอบที่จะทําใหพนักงานในองคการนั้นๆ สามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งมีความรวมมือและเชื่อมั่นที่จะผลักดันให องคการนั้นประสบผลสําเร็จในธุรกิจ Strauss and Sayles (Strauss and Sayles, 1960: 119 อางในวัฒนา เจียรวิจิตร , 2543:5) กลาวถึงความพึงพอใจในงาน หมายถึง ความรูสึกพอใจในงานที่ทํา และเต็มใจที่จะปฏิบัติงานนั้น ใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการ บุคคลจะรูสึกพอใจในงานที่ทํา เมื่องานนั้นใหผลประโยชน ตอบแทนทั้งทางดานวัตถุจิตใจ ซึ่งสามารถสนองตอบความตองการพื้นฐานของบุคคลได คํานิยาม นี้เนนถึงความสัมพันธระหวางความพึงพอใจ กับผลประโยชนตอบแทนในการทํางาน Morse (Morse, 1955:27 อางในนันทา รัตพันธุ , 2541: 9) ใหความหมายของความพึง พอใจในงานที่ทําดานเชิงจิตวิทยาวา หมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถลดความเครียดของผูทํางาน ใหนอยลง ความเครียดจะสงผลตอความพึงพอใจ หรือไมพึงพอใจในงานที่ทํา ถามีความเครียด มากจะทําใหเกิดความไมพอใจในงาน และความเครียดนี้มีผลมาจากความตองการของมนุษย (Human Needs) เมื่อไดรับการตอบสนองความตองการดังกลาวแลว ความเครียดนั้นจะลดลงหรือ หมดไป และเกิดเปนความพึงพอใจขึ้นทดแทน Hulin (Hulin, 1966 อางในณัฐวรรณ ศุภลาภ , 2543: 10) กลาวไววา ความพึงพอใจใน งานตองรวมถึงความรูสึกที่เกิดขึ้นของคนงานตอการตอบสนอง การทํางานกับการพาดพิงถึงงานที่ ทําอยูในปจจุบัน ความรูสึกนี้ยังรวมถึงความคาดหวังของคนที่ไดรับบริการ และการตอบแทนที่ เขาไดรับในการทํางาน Smith and Wakeley (Smith and Wakeley,1972, อางในนันทา รัตพันธุ, 2541 : 9) กลาวไว วา ความพึงพอใจในงานเปนความรูสึกของบุคคลที่มีตองานที่ทํา อันแสดงถึงระดับความ พึงพอใจ ตอการไดรับการสนองตอบทั้งทางรางกาย จิตใจและสภาพแวดลอมของบุคคลนั้นเพียงใด เสถียร เหลืองอราม (2519, อางในณัฐวรรณ ศุภลาภ , 2543: 11) ใหความหมายไววา ความพึงพอใจในงานเปนผลของการจูงใจใหมนุษยทํางาน โดยออกมาในรูปของความพอใจที่ คนทํางานมากไดเงินมาก บรรยากาศในสภาพที่ทํางานดี เปนการเสริมสรางแรงจูงใจ ใหเกิดความ พึงพอใจในงานดวยเงินและรางวัลตอบแทนดวยกันทั้งนั้น ความพึงพอใจในงานจะเกิดขึ้น เมื่อคน มีความรูสึกวา ประสบผลสําเร็จในการทํางานที่ยอมรับสามารถทําดวยตนเอง และมีโอกาส กาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน นอกจากนี้ถาหนวยงานสามารถออกแบบรายงาน ใหผูปฏิบัติ


8

เกิดความพึงพอใจในงานไดแลว หนวยงานก็จะมีทางหาความรวมมือจากพนักงานไดมากขึ้น และ ผูปฏิบัติมีความเต็มใจ และพรอมที่จะทํางานมากขึ้น โสภิณ ทองปาน (2542: 36) ใหความหมายไววา ความพึงพอใจในการทํางานเปนระดับ (Degree) ความรูสึกของแตละคนที่มีความรูสึกในแงบวก หรือลบตองานที่ทํา เปนการสนองตอบ ในความรูสึก หรือในความคิดตองานที่ตนเองทํา ตอสถานที่ทํางาน รวมทั้งลักษณะทางกายภาย (Physical Conditions) เชน หองทํางาน ทางเขา -ออก ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องจักร อุปกรณ หองน้ํา บันได และอื่นๆ และลักษณะทางสังคม (Social Conditions) คือสังคมของผูรวมงานตั้งแต หัวหนางาน เพื่อนรวมงาน มองในอีกแงหนึ่งความพึงพอใจในการทํางานเปนระดับเครื่องชี้วัด ถึง ความแตกตางระหวางความคาดหวังในความรูสึก กับสิ่งที่เปนจริง สกล วรรณพงษ (2526 อางในมานิต คุมภัย, 2541: 7) ใหความหมายความพึงพอใจในงาน วา หมายถึงความรูสึกหรือทัศนคติที่ดีตองานที่ทํา เปนความรูสึกที่เกิดจากการที่ไดรับการ ตอบสนองทั้งรางกายและจิตใจ ทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการทํางาน จากความหมายของความพึงพอใจในงานที่นักวิชาการ และผูศึกษาวิจัยตาง ๆ ไดให ความหมายมาแลวนั้น อาจสรุปไดวา ความพึงพอใจในงานเปนความรูสึกภายในของคน และ ทัศนคติที่มีแนวโนมไปในทางที่ดี ของบุคคลในงานที่ทําอยูนั้น เมื่อบุคคลนั้นไดรับการตอบสนอง ตอความตองการ (Demand Needs) ทั้งรางกายและจิตใจอยางสมเหตุสมผลแลว ยอมสงผลให บุคคลมีความพึงพอใจอันสมควร ในการที่จะปฏิบัติงานอยางทุมเทจิตใจ และรางกายเพื่อให องคการสามารถประสบผลสําเร็จ ตามวัตถุประสงคที่วางไว 2.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ 1. Von Haller B. Gilmer (1971 อางในกิตติพัฒน อินทรเกษตร, 2541 : 10-11) ไดกลาวถึง องคประกอบที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไว 10 ประการ ตามลําดับดังนี้ :1. ความมั่นคงในงาน (Security) ไดแก ความมั่นคงของอาชีพ ความมั่นคงใน ตําแหนงหนาที่การงาน ความมั่นคงขององคการ ความเหมาะสมของอาชีพกับงาน ความอาวุโส การ มีโอกาสไดเรียนรูและฝกหัดทักษะจากงาน ไมมีอิทธิพลของการเมืองเขามาเกี่ยวของกับตํา แหนง หนาที่การงาน 2. โอกาสกาวหนาในการปฏิบัติงาน (Opportunity for Advancement) ไดแก การ ไดรับความกาวหนาโดยยึดหลักคุณธรรม ความอาวุโส สามารถกาวหนาไปตามโครงสรางและ ขนาดขององคการ ชื่อเสียงขององคการและความสัมพันธกับชุมชน มีการวางแผนในการดําเนินงาน


9

3. องคการและการจัดการ (Company and Management) ไดแก นโยบายและการ ดําเนินการ การบริหารงานมีความยุติธรรม ผูรวมงานใหการรวมมือสนับสนุน องคการใหความ สนใจ ผูรวมงาน การฝกอบรม การประชุมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ รักษาสัญญาจริงใจ การเปด โอกาสใหผูรวมงานมีสวนในการตัดสินใจ 4. เงินเดือน (Salary) ไดแก ความเหมาะสมของเงินเดือนที่ไดรับกับภาวะทาง เศรษฐกิจ คาครองชีพ เงินเดือนเปนผลประโยชนตอบแทนที่นาพอใจ มีความยุติธรรม ไดรับการ เลื่อนเงินเดือนสม่ําเสมอ 5. ลักษณะงานที่ทํา (Intrinsic Aspect of the Job) ไดแก ฝกอบรมใหมีความรู ความสามารถอยางเหมาะสม การวางแผนและมีความตั้งใจ ความภาคภูมิใจในความสําเร็จและ ผลงาน งานที่ทํามีชื่อเสียงและมีคุณคา เปนประโยชนตอสังคม มีงานและโครงงานชัดเจน ความ รับผิดชอบ อํานาจบังคับบัญชา ความคิดริเริ่มสรางสรรค ทาทาย มีอิสระในการปฏิบัติงาน นาสนใจ ปริมาณงานเหมาะสม 6. การนิเทศงาน (Supervision) ไดแก ผูบังคับบัญชามีความยุติธรรม สุภาพ เอื้อเฟอ เผื่อแผ รูจักกาลเทศะ การนิเทศงานถูกตอง ผูบังคับบัญชาใหการยกยอง สงเสริมใหกาวหนา ในตําแหนงทางสังคม กระตือรือรน มีคุณธรรม ชี้แจงนโยบาย และการดําเนินงาน 7. ลักษณะทางสังคมของงาน (Social Aspect of the Job) ไดแก สัมพันธภาพ ระหวางผูบังคับบัญชากับผูใตบังคับบัญชา ความสัมพันธของผูรวมงาน การไดรับการยอมรับนับถือ การมีเกียรติยกยอง ความรวมมือในการปฏิบัติงาน การทํางานใชขบวนการกลุม ประชาชนและ สังคมทั่วไปใหการยอมรับ 8. การติดตอสื่อสาร (Communication) ไดแก ขาวสารที่มีความเหมาะสม นาเชื่อถือ ทันสมัย ชัดเจน รวดเร็ว การจัดทําเอกสาร สิ่งพิมพเพื่อเผยแพร ชี้แจงเรื่องตาง ๆ 9. สภาพการทํางาน (Working Condition) ไดแก สภาพแวดลอม บรรยากาศ สภาพที่ทํางาน หองทํางาน แสงสวาง อุณหภูมิ ความปลอดภัย วัสดุอุปกรณเพียงพอ การจัด นันทนาการตางๆ การอํานวยความสะดวกในดานอาหารการกิน การพยาบาล ที่พักผอน สถานที่ตั้ง และชุมชน ชั่วโมงการทํางาน 10.ผลประโยชนเกื้อกูลตางๆ (Benefits) ไดแก คาตอบแทนและเงินอื่น ๆ เชน คา เบี้ยเลี้ยง คาพาหนะเดินทาง คาชวยเหลือบุตร บําเหน็จบํานาญ การจัดสวัสดิการตาง ๆ เชน สหกรณ ที่พัก การรักษาพยาบาล วันหยุด


10

2. ทฤษฎีสองปจจัยในการจูงใจของ Herzberg Frederick Herzberg (มัลลิกา ตนสอน ดร ., พฤติกรรมองคการ 2544: 37-38) ไดกลาวถึง ทฤษฎีสองปจจัยในการจูงใจ (Two-factor Theory of Motivation) จากการเก็บรวบรวมขอมูลที่ เกี่ยวกับความพอใจ และความไมพอใจในงาน (Job Satisfaction and Dissatisfaction) โดย Herzberg จําแนกออกเปน 2 ปจจัย ไดแก (1) ปจจัยธํารงรักษา (Hygiene Factors) เปนสภาพแวดลอมภายนอก (Extrinsic Condition) ที่สงผลตอความไมพอใจใน งานของบุคคลถาเขาไมไดรับการตอบสนองอยางเหมาะสม ประกอบดวยปจจัยตอไปนี้ 1.1) เงินเดือน 1.2) ระเบียบและขั้นตอนตาง ๆ ในองคการ 1.3) ความมั่นคงของงาน 1.4) การควบคุมงาน 1.5) เงื่อนไขในการทํางาน 1.6) ความสัมพันธระหวางบุคคลในองคการ 1.7) สถานะ (2) ปจจัยจูงใจ (Motivators) เปนสภาพแวดลอมภายใน (Intrinsic Condition) ที่สงผลตอความพอใจ และการ จูงใจในการทํางานของบุคคล ซึ่งจะทําใหบุคคลมีผลการทํางานที่ดี ปจจัยจูงใจจะ ประกอบดวยปจจัยตาง ๆ ตอไปนี้ 2.1) ความสําเร็จ 2.2) ความกาวหนา 2.3) การยอมรับ 2.4) เนื้อหาของงาน 2.5) ความรับผิดชอบ 2.6) โอกาสในการเติบโต การศึกษาของ Herzberg ไดรับการวิจารณในเรื่องความเชื่อถือได การประยุกตใชงานและ ความเปนสากล เนื่องจากวิธีการเก็บรวมรวมและวิเคราะหขอมูล ขนาดของกลุมตัวอยาง และการ สรุปผลการศึกษาของ Herzberg อยางไรก็ดี แนวคิดของเขาไดรับการยอมรับและนําไปใชปรับปรุง ระบบคุณภาพของงานในหลายองคการ ตลอดจนเปนแนวความคิดสําคัญในการศึกษาความ ตองการและการจูงใจเชิงประยุกต


11

3. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งจูงใจ Bernard (Bernard, 1968 อางใน วัฒนา เจียรวิจิตร , ความพึงพอใจในการทํางานของ พนักงานฝายพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร บริษัท เมโทรซอฟท จํากัด และบริษัทในเครือ 2543: 10) ไดนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งจูงใจ ที่เปนสิ่งกระตุนใหคนเกิดความพอใจในงานไว 8 ประการ คือ (1) สิ่งจูงใจที่เปนวัตถุ (Material Inducements) ไดแก เงิน สิ่งของอื่น ๆ ที่เปนการ ตอบแทนแกผูปฏิบัติงาน เสมือนเปนรางวัลใหแกผูปฏิบัติงานนั่นเอง (2) สิ่งจูงใจเกี่ยวกับโอกาสของบุคคล (Personal Non-Material Opportunities) หมายถึง สิ่งจูงใจที่ไมไดเปนวัตถุแตเปนเสมือนรางวัลใหแกผูปฏิบัติงานเชนกัน ไดแก โอกาสที่ จะมีชื่อเสียง เกียรติยศ สิทธิพิเศษตาง ๆ หรือการไดรับตําแหนงดีขึ้น (3) สิ่งจูงใจทางกายภาพที่พึงปรารถนา (Desirable Physical Conditions) หมายถึง สิ่งแวดลอมในการทํางานไดแก สภาพแวดลอม สถานที่ทํางาน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช (4) สิ่งจูงใจที่เปนผลประโยชนทางอุดมคติ (Ideal Benefaction) หมายถึง การที่ หนวยงานไดสนองความตองการของบุคคลในดานความภาคภูมิใจ ที่ไดแสดงฝมือในการทํางาน ความรูสึกพอใจที่ไดทํางานอยางเต็มที่ (5) สิ่งจูงใจดานความดึงดูดใจทางสังคม (Association Attractiveness) หมายถึง ความสัมพันธฉันทมิตรในหมูผูรวมงาน (6) สิ่งจูงใจเกี่ยวกับสภาพการทํางาน โดยปรับสภาพการทํางานใหเหมาะสมตรง กับ ทัศนคติ และวิธีการปฏิบัติงานของบุคคล (Adaptation of Conditions Habitual Method and Attitude) หมายถึง การปรับปรุงสภาพการทํางานใหเหมาะสม กับความสามารถของผูปฏิบัติงานที่ มีความสามารถแตกตางกัน (7) สิ่งจูงใจเกี่ยวกับโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํางาน (The Opportunity of Enlarged Participation) หมายถึง การเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงาน มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และมีสวนรวม ทําใหรูสึกวาเปนคนสําคัญคนหนึ่งในหนวยงาน


12

(8) สิ่งจูงใจดานความเปนอยูรวมกันฉันทมิตร (The Condition of Communication) หมายถึง ความพอใจในดานสังคมของบุคลากรที่อยูรวมกันฉันทมิตร มีความ กลมเกลียว และรวมมือกันทํางานในหมูเพื่อนรวมงาน 4. ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมนุษย Abraham H. Maslow (1954 : 370-396) ไดเขียนทฤษฎีจูงใจ (Motivator Theory) หรือ ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจ (Maslow’s General Theory of Human Motivation) โดยมีสมมุติฐาน ไววา มนุษยทุกคนมีความตองการขั้นพื้นฐาน และความตองการนี้จะมีตลอดเวลา และมีอยางไมมี ที่สิ้นสุด ความตองการใดที่ไดรับการตอบสนองแลว ความตองการอื่นจะมาแทนที่ ความตองการ ใดที่ไดรับการตอบสนองแลวจะไมเปนสิ่งจูงใจอีกตอไป สวนความตอง การที่ยังไมไดรับการ ตอบสนองจะยังเปนสิ่งจูงใจอยู กระบวนความตองการของมนุษยจะมีลําดับขั้นจากต่ําไปหาสูง ตามลําดับความสําคัญในสิ่งที่ตองการของมนุษย (Hierarchy of Needs) Maslow ไดแบงลําดับขั้น ของความตองการของมนุษยเปน 5 ขั้นตอน คือ

ภาพที่ 1 ลําดับขั้นความตองการตามทฤษฎีของ Maslow ที่มา : มัลลิกา, 2544 : 33 1. ความตองการทางกายภาพ (Physiological Needs) ความตองการดานกายภาพ เปนความตองการระดับพื้นฐานเบื้องตนของมนุษย เปนความตองการในสิ่งจําเปนเพื่อความอยูรอด เชน ความตองการในเรื่องอาหาร น้ํา ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค เปนตน การ ตอบสนองความตองการทางกายภาพขององคกรทุกแหง จะอยูในรูปของการจายเงินคาจาง ซึ่งถือ เปนปจจัยสําคัญในการตอบสนองความตองการระดับหนึ่ง


13

2. ความตองการความปลอดภัยและความมั่นคง (Safety and Security Needs) ความตองการในระดับที่สูงขึ้น จากความตองการขั้นพื้นฐานที่ไดรับ การตอบสนองพอสมควร แลว มนุษยจะมีความตองการปรารถนาที่จะใหตัวเองไดรับการปองกันพิทักษ ในดานความ ปลอดภัยตอชีวิต และจากอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับรางกายของมนุษย รวมทั้งความมั่นคงทาง เศรษฐกิจที่ตองการความมั่นคง ในการดํารงชีพหรือในหนาที่การงาน 3. ความตองการการมีสวนรวมในสังคม (Social Belonging Needs) เปนความ ตองการความรัก ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง และความตองการความสมหวังของชีวิต บางที ความตองการความรักและการเปนสวนหนึ่งของบุคคล รูสึกรุนแรงมากที่สุดในความสัมพันธกับ บิดามารดา สามีหรือภรรยา หรือลูก นอกจากนี้ความตองการเหลานี้ตอบสนองไดใน สภาพแวดลอมทางสังคม ความตองการความสัมพันธที่อบอุนกับเพื่อน ความรูสึกวาเปนบุคคล หนึ่งในกลุม สภาพแวดลอมของการทํางาน เปนสภาพแวดลอมทางสังคมอยางหนึ่งดวย หาก พนักงานไมรูสึกวาพวกเขาเปนสวนสําคัญขององคกร และเพื่อนรวมงานของพวกเขาตองการพวก เขาในทีมแลว พวกเขาจะรูสึกคับอกคับใจ และจะไมตอบสนองตอสิ่งจูงใจระดับสูง 4. ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) ความตองการเกียรติยศ ชื่อเสียงแบงไดออกเปน 2 แบบ ไดแก แบบแรก คือ ความตองการความสําเร็จ อํานาจ และความสามารถ พวกเขา ตองการความรูสึกวา พวกเขาบรรลุถึงบางสิ่งบางอยางที่สําคัญ เมื่อพวกเขาปฏิบัติงานของพวกเขา แบบที่สอง คือ ความตองการชื่อเสียง สถานภาพ ความสําคัญ และการยกยอง ในฐานะที่เปนผูบริหาร เรามีวิธีหลายอยางในการตอบสนองความตองการทั้งสองแบบเหลานี้ในผู อยูใตบังคับบัญชาของเรา เชน การมอบหมายงานที่ทาทาย การใหสิ่งยอนกลับทางดานผลการ ปฏิบัติงาน การยกยองผลการปฏิบัติงาน และการใหผูอยูใตบังคับบัญชามีสวนรวมกําหนด เปาหมายการตัดสินใจ 5. ความตองการความสําเร็จสูงสุด (Self-actualization Needs) พนักงานจะถูกจูง ใจดวยความตองการความสมหวังของชีวิต พนักงานที่ถูกจูงใจดวยความตองการความสมหวังของ ชีวิต จะพยายามหาความหมายและความเจริญเติบโตสวนบุคคลในการทํางานของพวกเขา และ แสวงหาความรับผิดชอบใหมอยางกระตือรือรน Maslow ย้ําวาความแตกตางของบุคคลมีมากที่สุดที่ ระดับนี้ ในกรณีของบุคคลบางคน การสรางผลงานที่มีคุณภาพสูงอาจจะเปนวิธีการตอบสนอง ความตองการความสมหวังของชีวิต ในกรณีของบุคคลอื่น ๆ การตอบสนองความตองการความ สมหวังของชีวิต อาจจะเปนการพัฒนาความคิดสรางสรรคที่มีประโยชน ดวยการตระหนักถึงความ แตกตางของความตองการความสมหวังของชีวิตของผูอยูใตบังคับบัญชา ผูบริหารสามารถจูงใจผู


14

อยูใตบังคับบัญชาอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น พวกเขาสามารถเลือกวิธีการตาง ๆ ที่ชวยใหผูอยูใต บังคับบัญชาบรรลุถึงเปาหมายสวนบุคคลได 3. ขอมูลเกี่ยวกับวิทยาลัยราชพฤกษ ปรัชญาของวิทยาลัย วิทยาลัยราชพฤกษเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม มีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิตใหเปน คนเกงมีความรู ทักษะ ความชํานาญในแตละสาขาวิชา สรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และ สามารถอยูในสังคมอยางมีความสุข โดยบัณฑิตตองเปนบุคคลที่มุงมั่นจะเรียนรู และพัฒนาตนเอง อยูตลอดเวลา เพื่อนําความรูความสามารถเปนกําลังในการพัฒนาประเทศชาติดังปรัชญาของ วิทยาลัยที่วา “สถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม คุณภาพคุณธรรมนําหนาสูสากล” วิสัยทัศน วิทยาลัยราชพฤกษเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหมมุงผลิตบัณฑิตที่มีความสมดุลดาน ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรับผิดชอบตอสังคม สามารถใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย และใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารไดเปนอยางดี และมุงพัฒนาเปนมหาวิทยาลัยแหงการเรียนรูยุค ใหมในป พ.ศ. 2554 พันธกิจ 1. เปนสถาบันอุดมศึกษาแหงการเรียนรูยุคใหม พรอมผลิตบัณฑิตที่มีความรูในวิชาการ และมีความสามารถในการปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําความรูใหมๆ และเทคโนโลยีที่กาวหนา มาใชในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจของประเทศ 2. พัฒนาคณาจารยและบุคลากรอื่นๆ ของวิทยาลัยใหมีการศึกษาเพิ่มเติมในระดับสูงขึ้น เพื่อเสริมสรางความรู ความสามารถ ทักษะและเจตคติไปพัฒนางานของตนใหดียิ่งขึ้น 3. จัดกิจกรรมการปลูกฝงระเบียบ วินัย คุณธรรม จริยธรรม แกนักศึกษา เพื่อเปนบัณฑิตที่มี คุณภาพ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอหนาที่และสังคม 4. สรางเสริมการคนควาวิจัยในสาขาวิชาตางๆ เพื่อความกาวหนาทางวิชาการและเพื่อ ประโยชนในการนําไปใชในการพัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศชาติ 5. เพื่อเปนศูนยกลางการใหบริการทางวิชาการแกสังคมและเผยแพรความรูดานตางๆ ใหแก ชุมชน ทองถิ่น และประเทศชาติ 6. สงเสริมและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนียมอันดีงาม เพื่อดํารงไวซึ่งความเปนเอกลักษณของชาติไทย


15

เปาหมายพันธกิจ เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุตามพันธกิจดังกลาวขางตน จึงกําหนดเปาหมายพันธกิจ ทั้งใน เชิงเชิงคุณภาพดังตอไปนี้ 1. คุณภาพบัณฑิต – ผูสําเร็จการศึกษาตองมีคุณสมบัติดังนี้ - มีความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิชาที่ศึกษา - สามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานได - สนใจใฝรู และสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต - มุงมั่นจะเรียนรูและพัฒนาตนเองตลอดเวลา - มีคุณธรรม จริยธรรมรับผิดชอบตอสังคม มีระเบียบวินัย มีจรรยาบรรณ วิชาชีพ - สามารถใชเทคโนยีสมัยใหมได - อยูในสังคมอยางมีความสุข 2. การพัฒนาบุคลากร – บุคลากรของวิทยาลัยจะไดรับการพัฒนาดังนี้ - ศึกษาเพิ่มเติมในระดับสูงขึ้น - มีการสงเสริมคณาจารยใหมีตําแหนงทางวิชาการเพิ่มขึ้น - ไดรับการอบรม สัมมนาทั้งในวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัย - มีความสามารถในการแขงขันไดในวิชาชีพของตน - ใหมีเจตคติที่ดีตอเพื่อนรวมงานตอวิทยาลัย - กระตือรือรนและสนใจเรียนรูเรื่องใหม ๆ อยางตอเนื่อง 3. การคนควาวิจัยในสาขาวิชาตางๆ โดยคณาจารย นักศึกษาจะรวมกัน ดังนี้ - วิจัย คนควาเพื่อนําความรูไปพัฒนาวิชาการและเปนประโยชนตอวิทยาลัย สังคม และประเทศชาติ - เนนการวิจัยที่เปนองคความรูใหม - เนนการวิจัยเพื่อพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4. การบริการวิชาการแกสังคม – วิทยาลัยจะเปนหนวยงานที่ใหบริการแกสังคมใน ลักษณะ ดังนี้ - เปนองคกรแหงการเรียนรู และมีประสิทธิภาพ - ทําประโยชนแกสังคมอยางตอเนื่อง - พัฒนาตนเองไปเปนมหาวิทยาลัยที่เปนที่พึ่งของสังคมได


16

5. ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น – วิทยาลัยจะพัฒนาสงเสริมศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่น ดังนี้ - ปลูกฝงคานิยม วัฒนธรรมดานศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นแกนักศึกษา - สืบสานคุณคาและเอกลักษณของทองถิ่น - สนับสนุนกิจกรรมตามประเพณีนิยม กรอบยุทธศาสตร เพื่อใหการดําเนินการของวิทยาลัยสามารถบรรลุตามวิสัยทัศนและพันธกิจไดอยาง ครบถวนและมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยจึงกําหนดกรอบการดําเนินงาน ดังนี้ 1. ใหความสําคัญแกคุณภาพของบัณฑิต - วิทยาลัย ถือวาคุณภาพบัณฑิตมีความสําคัญยิ่ง และตองไดรับการเอาใจใสดูแลใหสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กําหนด และมีความรู ความสามารถตามมาตรฐาน เปนผูที่มีคุณธรรม และมีความสามารถทางเทคโนโลยี 2. ยึดมั่นคุณภาพความเปนสากล วิทยาลัยจะมุงมั่นจัดการศึกษาใหไดมาตรฐาน โดยมีการ ตรวจสอบติดตามตลอดเวลา 3. เปนองคกรแหงการเรียนรู - วิทยาลัยมุงมั่นที่จะพัฒนาตนเองไปเปนมหาวิทยาลัยที่เปน แหลงเรียนรูหลากหลายสาขาวิชา โดยนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกตใชใหเหมาะกับภารกิจ ของวิทยาลัย เนนการบริหารจัดการองคความรู 4. มุงสรางเครือขายทั้งภายในและภายนอก –วิทยาลัยเนนเครือขายของสถาบันในเครือ และ เนนสรางเครือขายกับหนวยงานภายนอก โดยมุงเสริมสรางการประสานงานหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อสรางเครือขายในลักษณะพันธมิตร 5. การใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม - วิทยาลัยจะติดตามพัฒนาการของเทคโนโลยี ทันสมัยตลอดเวลา เพื่อนํามาใชในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การบริหาร และการ บริการ 6. พัฒนาคณาจารยและบุคลากรอื่นๆ - วิทยาลัยจะสงเสริมใหคณาจารยไดพัฒนา ความสามารถเพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการระดับ ผศ. รศ. และ ศ. ประเด็นยุทธศาสตร เพื่อใหเกิดผลตามเจตนารมณของวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายพันธกิจ กรอบยุทธศาสตร ขางตน จึงพัฒนาประเด็นยุทธศาสตรซึ่งวิทยาลัยจะใหความสําคัญในการดําเนินงาน ดังตอไปนี้ 1. ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มุงพิจารณาหลักสูตรให สอดคลองกับภาวะความตองการของสังคมปจจุบัน มีความทันสมัย ปรับปรุงหลักสูตรใหเหมาะสม ตลอดเวลาทุก 5 ป เปดทางเลือกในระบบที่ยืดหยุนมากขึ้น แตยังคงไวซึ่งคุณภาพและมาตรฐาน


17

มุงเนนใหนักศึกษาไดประโยชนสูงสุดจากหลักสูตร ระบบการเรียนการสอนและเนื้อหาสาระที่ได ศึกษา ปรับระบบการสอนใหเหมาะสมกับกลุมผูเรียน เปดคณะและสาขาวิชาที่เปนความตองการ ของตลาดแรงงานและสังคมเพิ่มเติม ไดแก คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะศิลป ศาสตร คณะวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT) และเปดสาขาเพิ่ม คือ สาขา การจัดการ โรงแรมและทองเที่ยว ในคณะบริหารธุรกิจ ขยายการศึกษาไประดับปริญญาโท คือ M.BA., Exec. M.BA., M.A., M.S.(IT, MIS.) 2. ดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยมุงการพัฒนาความรูความสามารถของคณาจารยใหมี การศึกษาระดับสูงขึ้น มีการพัฒนาการเรียนการสอนที่ทันสมัยมุงพัฒนาความรูความสามารถ ทักษะ เจตคติ ที่เหมาะสมกับวิชาชีพ ทั้งดานความรูทั่วไปในวิชาชีพ (General Training) ความรูเฉพาะทาง (Functional Training) และดานอื่นๆ และสงเสริมใหคณาจารยเขาสูตําแหนงทางวิชาการระดับ ผศ. รศ. และ ศ. .ใหมากขึ้น 3. ดานสื่อและเทคโนโลยี มุงเนนการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเอื้อตอการใชงาน ทั้ง Internet, E-learning, CD, Tape, E-book และ Multimedia อื่นๆ รวมทั้งเอกสารประกอบการ สอน เอกสารคําสอน ตํารา หนังสือ 4. ดานพัฒนาคุณภาพบัณฑิต มุงเนนการวางระบบที่สงเสริมความรู ความสามารถทาง วิชาการ โดยเฉพาะการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ( IT) ความสามารถดานภาษาตางประเทศ การเปน ผูนํา การเปนผูมีคุณธรรม การรูจักคิดวิเคราะห รวมทั้งความพรอมดาน EQ และ MQ ควบคูกับ IQ การสรางเสริมประสบการณ การสรางความพรอมใหกับนักศึกษาเพื่อเปนบัณฑิตที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ รวมถึงคุณภาพของผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมดวย 5. ดานการพัฒนาเครือขายความรวมมือ มุงสรางเครือขายความรวมมือกับผูรับบริการ / ชุมชน / หนวยงานที่รับฝกงานแบบสหกิจศึกษา / สมาคมวิชาชีพ / สมาคมวิชาการตางๆ / เครือขาย อุดมศึกษา / ภูมิปญญาทองถิ่น / กลุมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมความเปนไทย / กลุมศิษยเกา และ สถานประกอบการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยเนนการทําความตกลงรวมมือและการเจรจาเพื่อหากลุม เครือขาย พันธมิตร ทั้งในระดับชาติ ระดับนานาชาติ 6. ดานพัฒนาการบริหารจัดการ ดานทรัพยากรบุคคล เทคโนโลยี อาคารสถานที่ การเงิน งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ ยานพาหนะ รวมทั้งดานธุรการ/สารบรรณ สวัสดิการ และการจัดการ สภาพแวดลอม ภูมิทัศนของวิทยาลัย โดยมุงการจัดระบบการบริหารวิทยาลัยใหมีความยุติธรรม ธรรมภิบาล มีประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานและมีความคลองตัวมากยิ่งขึ้น


18

7. ดานพัฒนาคุณภาพการบริการทางวิชาการแกสังคม มุงใหบริการวิชาการแกสังคมอยางมี คุณภาพในสาขาวิชาที่คณะตางๆ เปดสอน ในเชิงการจัดอบรมระยะสั้น ระยะยาว การจัดสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ การเปนที่ปรึกษา การเปนวิทยากร 8. ดานการประชาสัมพันธ มุงเนนการประชาสัมพันธอยางตอเนื่องทั้งกับสถาบันในเครือ สถานศึกษาอื่นและหนวยงานทั้งของรัฐและเอกชน ในเขตจังหวัดนนทบุรี บริเวณรอบวิทยาลัย ทั่วไป และที่อื่นๆ เพื่อเพิ่มจํานวนนักศึกษา และเพิ่มปริมาณผูใชบริการของวิทยาลัยดวยการอบรม การประชุม สัมมนา และอื่นๆ โดยเนนการประชาสัมพันธเชิงรุกทุกตัวบุคคลและหนวยงาน ผาน ทางสื่อตางๆ ทุกรูปแบบ 9. ดานการวิจัยและงานสรางสรรค มุงสงเสริมใหเกิดการวิจัยที่เปนความชํานาญของ คณาจารยและนักวิจัยของวิทยาลัยในสาขา/คณะวิชาที่เปดสอน รวมทั้งการวิจัยที่เปนการสรางองค ความรูใหม และการวิจัยเพื่อการพัฒนา ( R&D) ประเทศ โดยอาจรวมมือกับหนวยงานภายนอก/ ชุมชน ในการวิจัยเพื่อตอบสนองความตองการของหนวยงาน และมุงเนนการแสวงหาทุนจาก ภายนอกในการทําวิจัย 10. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มุงเนนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ ของชุมชน ของสังคม เนนความเปนไทย และการอนุรักษวัฒนธรรมที่เปนภูมิปญญาทองถิ่น โดย อาศัยวิทยากรจากทองถิ่นเปนหลัก 11 . ดานการประกันคุณภาพ มุงเนนการสรางระบบเพื่อการประกันคุณภาพทั้งในระดับ หนวยงานยอย (คณะ/สํานัก/ศูนย) และในระดับวิทยาลัย เพื่อนําไปสูการรับรองมาตรฐานการศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษาตอไป 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ดารุณี สังขบุรินทร (2548) ไดทําการศึกษาเรื่อง ศึกษาความพึงพอใจในหลักเกณฑและ วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อศึกษาระดับ เปรียบเทียบ ความพึงพอใจใจหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ จําแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และสายงาน และเพื่อประมวลปญหาและขอเสนอแนะในการ ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ การวิจัยครั้งนี้ ศึกษาจากกลุมตัวอยาง คือ พนักงานมหาวิทยาลัย จํานวน 101 คน โดยสุมจาก ประชากร คือ พนักงานมหาวิทยาลัยจากจํานวน 212 คน ที่ผานมาการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งหมด จํานวน 136 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามมีลักษณะเปน แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 40 ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอย


19

ละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบสามทาง ( Three–way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน และเมื่อมีนัยสําคัญทางสถิติ ทําการเปรียบเทียบพหูคูณ โดยใช วิธีการแบบ LSD เพื่อหาความแตกตางเปนรายคู ผลการวิจัยพบวา 1. พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ มีความพึงพอใจในหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานโดยภาพรวมและรายดาน อยูในระดับปานกลาง 2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ตามตัวแปรเพศ วุฒิ และสายงาน 2.1 ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานของ พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ พบวา 2.1.1 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจในหลักเกณฑการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมและรายดานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศหญิงมีความพึงพอใจมากกวาเพศชาย 2.1.2 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณที่มีวุฒิการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจใน หลักเกณฑการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมและรายดานไมแตกตางกัน 2.1.3 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีสายงานตางกัน มีความพึงพอใจในหลักเกณฑ การประเมิน โดยภาพรวมและรายดานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . 01 และ .05 ตามลําดับ โดยภาพรวมและรายดาน สายสนับสนุนมีความพึงพอใจมากกวาสายวิชาการ 2.2 ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ พบวา 2.2.1 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีเพศตางกัน และวุฒิการศึกษาตางกัน มีความพึง พอใจไมแตกตางกัน 2.2.2 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีสายงานตางกัน มีความพึงพอใจแตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสายสนับสนุนมีความพึงพอใจมากกวาสายวิชาการ


20

2.3 เพศ วุฒิการศึกษา และสายงาน มีปฏิสัมพันธรวมกัน สงผลตอความพึงพอใจใน หลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ โดยภาพรวมและราย ดานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.4 เพศ วุฒิการศึกษา และสายงาน ไมมีปฏิสัมพันธรวมกันไมสงผลตอความพึงพอใจ ในวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ 3. ผลการประมวลปญหาและขอเสนอแนะในการปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามความคิดเห็นของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ มีดังนี้ 3.1 ปญหาเกี่ยวกับหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามความคิดเห็น ของพนักงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ มีดังนี้ สายวิชาการและสายสนับสนุนมีลักษณะงานตางกัน แตใช หลักเกณฑและวิธีการประเมินแบบเดียวกัน ไมมีเกณฑการประเมินที่ชัดเจนตามตําแหนงงาน ไมมี การประเมินโดยรวบรวมขอมูลรอบดาน เกณฑ ที่ใชในการประเมินไมสอดคลองกับลักษณะการ ปฏิบัติงานจริง สวัสดิการ คาตอบแทน และสถานภาพ ระหวาง ขาราชการและพนักงาน มหาวิทยาลัยตางกันแตใชหลักเกณฑเดียวกัน หลักเกณฑการประเมินไมครอบคลุมมีเพียงดาน ผลงาน และดานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน การประเมินของคณะกรรมการไมครอบคลุมมีเพียงดาน ผลงาน และดานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน การประเมินของคณะกรรมการบริหารพนักงาน มหาวิทยาลัย ไมไดประเมินตามสภาพความเปนจริง เปนการประเมินจากเอกสาร แบบประเมินไม เหมาะสม ไมมีพื้นที่เขียนสรุปการทํางาน อุปสรรคและปญหาที่ทําใหงานไมถึงเปาหมายและแนว ทางแกไข 3.2 ขอเสนอแนะในการปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตาม ความคิดเห็นของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ มีดังนี้ รูปแบบ หลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานระหวางสายสนับสนุนกับสายวิชาการควรแยกออกจากกัน ควรมีเกณฑในการพิจารณา ของแตละคณะ แตละภาควิชา แตละหนวยงาน ควรปรับปรุงการประเมินใหเหมาะสมตามตําแหนง งานและแตละภาระงาน หลักเกณฑควรสอดคลองกับภาระงานจริง และมีลักษณะเฉพาะของ มหาวิทยาลัยทักษิณ ควรใหพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณเขาไปมีบทบาทและมีสวนรวมในการ กําหนดรูปแบบเกณฑและรวมประเมิน ควรปรับรูปแบบการประเมินเปนแบบ 360 องศา ปรับ สัดสวนการประเมินจากหนวยงานที่สังกัด : คณะกรรมการประเมินเปน 60 : 40 ควรเปดโอกาสให พนักงานมหาวิทยาลัยชี้แจงรายละเอียดปญหาและอุปสรรครวมทั้งวิธีแกไขปญหา


21

วัฒนา เจียรวิจิตร (2543 : บทคัดยอ ) ไดทําการศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของ พนักงานฝายพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัท เมโทรซอฟท จํากัด และบริษัท ในเครือ จํานวน 72 คน ผลการศึกษาพบวาพนักงานมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง และเมื่อ พิจารณาความพึงพอใจในการทํางานโดยแยกตามองคประกอบของความพึงพอใจพบวา พนักงานมี ความพึงพอใจมากในดานความสัมพันธกับผูบังคับบัญชา และดานความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน สวนดานเงินเดือน คาตอบแทน และสวัสดิการ ดานความมั่นคงและความกาวหนา ดานความสําคัญ ของงานตอบริษัท มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง สําหรับการศึกษาปจจัยที่มีความสําคัญตอ ความพึงพอใจของพนักงานพบวา ปจจัยที่มีความสําคัญอันดับหนึ่ง คืองานที่ทาทาย มีความสําคัญ และมีโอกาสศึกษาเทคโนโลยี่ใหม อันดับสองคือ เพื่อนรวมงาน อันดับสามคือ เงินเดือนคาจาง และสวัสดิการ อันดับสี่คือ หัวหนางาน และอันดับหาคือ ความมั่นคงและมีโอกาสกาวหนา นันทา รัตพันธุ (2541 : บทคัดยอ ) ไดทําการศึกษาทัศนคติของพนักงานเทคโนโลยี่ สารสนเทศที่มีตอสิ่งจูงใจในการทํางานใน ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ผลการศึกษาสรุป ไดวาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจคิดลาออกที่ธนาคารควรจะตองดําเนินการเพื่อเปนการจูงใจ ใหพนักงานเทคโนโลยี่สารสนเทศมีความพึงพอใจในการทํางานกับธนาคารไทยพาณิชยฯ คือ อัตรา เงินเดือน สวัสดิการ ทุนการศึกษา และความสะวกในการเดินทางมาทํางานโดยรอยละ 44.3, 37.8, 27.0และ 22.7 ของพนักงานเทคโนโลยี่สารสนเทศ ที่ทําหนาที่เกี่ยวของกับ การพัฒนาระบบ คอมพิวเตอรทั้งหมด มีความคิดที่จะลาออกดวยเหตุผลดังกลาวขางตนตามลําดับ ถาพิจารณาในดาน ความพึงพอใจตอปจจัยทั้ง 4 ดังกลาว พนักงานเทคโนโลยี่สารสนเทศ มีความพึงพอใจเฉลี่ย 3.161, 2.735, 2.708 และ 3.581 คือ อยูในระดับความพึงพอใจปานกลางสําหรับอัตราเงินเดือน สวัสดิการ และทุนการศึกษา สําหรับปจจัยเรื่องความสะดวกในการเดินทางมาทํางานมีระดับความพึงพอใจ มาก


22

5. กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย จากการศึกษาแนวความคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูศึกษาจึงกําหนดกรอบแนวคิดดังนี้ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม สถานภาพสวนบุคคล

นักศึกษา - เพศ - หลักสูตรที่ศึกษา - สาขาวิชา - อายุ - ประเภท (รอบ)

ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ - ดานหลักสูตร - ดานการสอนของคณาจารยโดย ภาพรวม - ดานการบริการ - ดานหองเรียน และหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ

คณาจารย - เพศ - ตําแหนง - สาขาที่สังกัด

- ดานหลักสูตร - ดานการจัดการคณาจารยในใน การสอน - ดานการบริหารจัดการ - ดานการวิจัย - ดานหองเรียนและหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ - ดานการบริหารจัดการ - ดานบริการอื่นๆ

เจาหนาที่ - เพศ

ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจัย


บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษาวิจัย ในการสํารวจครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ ( Survery Research) ผูวิจัยไดกําหนดพื้นที่ที่ ทําการศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง คือ วิทยาลัยราชพฤกษ โดยมีนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ของ วิทยาลัย โดยใชวิธีสุมตัวอยางแบบงาย ตัวแปรในการศึกษาวิจัย เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลใชสถิติพรรณนา โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ( Population) นักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ของวิทยาลัยราชพฤกษ มี จํานวนทั้งสิ้น 1,198 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้ นักศึกษาที่กําลังศึกษาในวิทยาลัยราชพฤกษ ทุก ชั้นป ทุกสาขาวิชา ภาคการเรียน 2550 ซึ่งจํานวนนักศึกษาที่มีสถานภาพ (ลงทะเบียน) ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2550 ทั้งสิ้น 1,062 คน คณาจารย จํานวน 107 คน และเจาหนาที่ จํานวน 29 คน (ที่มา : ฐานขอมูลฝายทรัพยากรมนุษย วิทยาลัยราชพฤกษ ณ วันที่ 13 มกราคม 2552) 2. กลุมตัวอยาง (Sample) ผูวิจัยกําหนดกลุมตัวอยาง ซึ่งสามารถระบุจํานวนประชากรได ผูวิจัยจึงกําหนดขนาดกลุมตัวอยางตามสูตรของทาโร ยามาเน ( Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และความคลาดเคลื่อน 5% หมายความวาประชากรตัวอยาง 100 คน จะเกิดความคลาดเคลื่อน ของการสุมตัวอยาง 5 คน ตามสูตรขนาดตัวอยางที่เหมาะสมจํานวน 1,198 คน จะใชแบบสอบถาม จํานวน 300 ชุด n

โดย

=

N 1 + Ne 2

= ขนาดของกลุมตัวอยาง = ขนาดของประชากร N = ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง e (โดยในการศึกษาครั้งนี้กําหนดไว = 0.05) n


24

แทนคา

1,198 1 + [1,198x (0.05)2] = 299.87 n ดังนั้นขนาดของกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเทากับ 300 ราย n

=

และใชวิธีการสุมตัวอยางชนิดอาศัยความนาจะเปน ( Probability Sampling) แบบ Stratified Sampling โดยแบงประชากรที่แตกตางกันในเรื่อง สถานะภาพ ซึ่งสามารถแบง ไดเปน 3 กลุม จากนั้น ใชวิธี Probability มาจัดสัดสวนการสุมตัวอยางแตละชั้นปการศึกษา ดังแสดงในตาราง ตอไปนี้ ตาราง จํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง จํานวนประชากร สัดสวน ลําดับ สถานะภาพ การวิจัยทั้งหมด การสุมตัวอยาง ประชากร 1 อาจารย 107 27 2 เจาหนาที่ 29 7 3

นักศึกษา รวมจํานวนกลุมตัวอยางทั้งสิ้น

1,062

266

1,198

300

ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัย 1. ตัวแปรอิสระ ( Independent Variable) คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ของนักศึกษา ประกอบดวย เพศ หลักสูตรที่ศึกษา สาขาวิชาที่สังกัด อายุ และประเภทภาคที่ศึกษา 2. ตัวแปรตาม ( Dependent Variable) คือ ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการ ของวิทยาลัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จํานวน 3 ฉบับ ไดแก แบบสอบถามสําหรับ นักศึกษา สําหรับคณาจารย และสําหรับเจาหนาที่ โดยแบบสอบถามประกอบไปดวยคําถาม


25

เกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบ และแบบวัดความพึงพอใจโดยมีมาตรวัดแบบ Likert Scale จํานวน 5 ชวง คําถามประกอบดวยความพึงพอใจ 6 ดาน ไดแก 1. ดานหลักสูตร คือ มีหลักสูตรที่ทันสมัย มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่ สอดคลองกับสภาพปจจุบัน เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษา สามารถศึกษาระดับสูงได เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดานภาษาตางประเทศ หลักสูตรเปด โอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริงไดอยางเปนระบบ มีวิชาเลือกหลากหลาย 2. ดานการจัดการคณาจารยในการสอน คือ มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน มีความรูความสามารถในการสอน เอาใจใสดูแลนักศึกษา ชวยเหลือนักศึกษา มีความมั่นคงทาง อารมณ มีประสบการณในการสอน ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ประเมินผลไดเหมาะสม กับวิชา จัดกิจกรรมการเรียนการมสอนไดเหมาะสม มีภาระการสอนพอเหมาะ จัดตารางสอนได เหมาะสม 3. ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน คือ จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม จัดหองพักไดเหมาะสม จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรไดเหมาะสม มีสวัสดิการที่ เหมาะสม มีการประชุมการทํางานรวมกัน มีการชี้แจงระเบียบตางๆ อยางชัดเจน มีการปฐมนิเทศให รูจักวิทยาลัย เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น สรางบรรยากาศความเปนวิชาการในหมูคณาจารย สงเสริมความกาวหนาในการทําตําแหนงทางวิชาการ จัดหาผูทรงคุณวุฒิแตละดานใหเหมาะสม จัดหาผูบริหารทางวิชาการไดเหมาะสม 4. ดานการวิจัย คือ มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน มีการสนับสนุนทุน ดําเนินการวิจัย มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย 5. ดานหองเรียนและหองสมุด คือ มีความสะดวกสบายในหองเรียน มีหนังสือใน หองสมุดเพียงพอ ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก การใชระบบอินเตอรเน็ตมีความสะดวก 6. ดานบริการอื่นๆ คือ หองน้ําสะอาด ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม มีสนามกีฬาที่ดี มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย อาหารที่จําหนายสะอาด ถูก สุขอนามัย รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีบริการเงินดวน ( ATM) ที่สะดวก มีรานถาย เอกสารที่ดี มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี


26

การหาคุณภาพของเครื่องมือ เมื่อผูศึกษาวิจัยไดสรางแบบสอบถามเสร็จ ไดนําแบบสอบถามดังกลาวไปทดสอบกับ นักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ จํานวน 30 ชุด แลวนํามาปรับปรุงแกไข กอนนําไปใช การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการศึกษาวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดวยการใชแบบสอบถาม ซึ่งแบงเปน 3 ชุด โดยชุดแรกนําแบบสอบถามไปสํารวจกับกลุมตัวอยางที่ เปนนักศึกษา ชุดที่สอง นําแบบสอบถามไปสํารวจกับกลุมตัวอยางที่คณาจารย และชุดที่สามนําไป สํารวจกับกลุมตัวอยางที่เปนเจาหนาที่ รวม 300 ชุด การวิเคราะหขอมูล การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยใชขอมูลที่เก็บรวมรวมจากลุมตัวอยาง จํานวน 300 คน มาดําเนินการ วิเคราะหเชิงปริมาณ ( Quantitative) โดยการประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จ โดยคาสถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล คือ คาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test ANOVA (One-way) และทดสอบความแตกตางรายคูดวย LSD สวนผลขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสังเกต ผูวิจัยนํามา วิเคราะหเชิงพรรณนา โดยบรรยายลักษณะของขอมูลเชิงประจักษ


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ ผูศึกษารวบรวมขอมูลจากกลุมประชากรที่เปนนักศึกษา คณาจารยและเจาหนาที่ การวิเคราะหขอมูลจะนําเสนอ 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ตอนที่ 2 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัย ตอนที่ 3 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัย ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ ของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัย โดยมีเกณฑการใหคะแนน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความพึงพอใจ ระดับคะแนน 5 คะแนน มากที่สุด 4 คะแนน มาก 3 คะแนน ปานกลาง 2 คะแนน นอย 1 คะแนน นอยที่สุด และมีเกณฑการแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย การวิเคราะหสถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย โดยคาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test ANOVA (One-way) และทดสอบความ แตกตางรายคูดวย LSD ดังตาราง


28

ตารางที่ 1 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามที่เปน นักศึกษา สถานภาพทั่วไป 1. เพศ ชาย หญิง 2. หลักสูตรที่ศึกษา หลักสูตร 4 ป หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง 3. สาขาวิชาที่ศึกษา คอมพิวเตอรธุรกิจ การตลาด การจัดการ การจัดการทองเที่ยวและการโรงแรม การบัญชี นิติศาสตร นิเทศศาสตร 4. อายุ ต่ํากวา 25 ป 20 - 25 ป 26 - 30 ป 30 ปขึ้นไป 5. ประเภท ภาคปกติ ภาคสมทบ (ค่ํา) ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย)

จํานวน

รอยละ

85 181

31.95 68.05

76 190

28.57 71.43

37 44 50 46 54 21 14

13.91 16.54 18.80 17.29 20.30 7.89 5.26

42 117 66 41

15.79 43.98 24.81 15.41

135 46 85

50.75 17.29 31.95


29

จากตารางที่ 1 พบวา นักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 68.05 เรียนหลักสูตร 2 ปตอเนื่อง รอยละ 71.43 เปนสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด รอยละ 20.30 รองลง ตามลําดับคือ สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว สาขาวิชา การตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชานิติศาสตร และสาขาวิชานิเทศศาสตร มีอายุต่ํา กวา 20 - 25 ป รอยละ 43.98 รองลงมาตามลําดับคือ 26 - 30 ป ต่ํากวา 25 ป และ 30 ปขึ้นไป และ เปนนักศึกษาภาคปกติ รอยละ 50.75 รองลงมาตามลําดับคือ ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) และภาค สมทบ (ค่ํา) ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการ ของวิทยาลัยราชพฤกษ ขอที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ความพึงพอใจ ดานหลักสูตร มีหลักสูตรที่ทันสมัย มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลอง กับสภาพปจจุบัน เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐาน เพื่อ ชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดานภาษา ตางประเทศ หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติไดอยางเปน ระบบ มีวิชาเลือกหลากหลาย รวม

ระดับความพึงพอใจ X S.D แปลความ 3.32 3.38

0.83 0.74

ปานกลาง ปานกลาง

3.49

0.76

ปานกลาง

3.08 3.34

0.87 0.83

ปานกลาง ปานกลาง

3.00

0.90

ปานกลาง

3.27

0.63

ปานกลาง


30

ตารางที่ 2 (ตอ) ขอที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

1. 2. 3. 4. 5. 6.

ขอความ ดานการสอนของคณาจารย มีวุฒิตรงกับวิชาที่สอน มีความรูความสามารถในการถายทอดความรู เปนกันเองกับนักศึกษา เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี มีความมั่นคงทางอารมณ แตงกายสุภาพเรียบรอย มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย มีประสบการณในวิชาที่สอน ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา แนะนําแหลงคนควา/แหลงเรียนรูเพิ่มเติม มีการวัดผล/ประเมินผล ไดครอบคลุมเนื้อหาวิชา แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม มีเอกสารประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา รวม ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน มีความสะดวกในการติดตอกับหนวยงานบริการ เชน งานทะเบียน การเงิน กิจการนักศึกษา ในกิจกรรมการปฐมนิเทศใหความรูที่มีประโยชน การจัดงานกีฬาภายในของวิทยาลัยฯมีความเหมาะสม การศึกษาดูงานนอกสถานที่เหมาะสม การประชาสัมพันธภาพลักษณของวิทยาลัยใหเปนที่ รูจักผานสื่อตางๆ การแตงกายของนักศึกษามีความเปนระเบียบเรียบรอย รวม

ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.79 3.73 4.01 3.75 3.62 4.05 3.59 3.66 3.70 3.49 3.69 3.68 3.52 3.61 3.71

0.77 0.71 0.75 0.81 0.82 0.76 0.78 0.71 0.74 0.77 0.79 0.84 0.77 0.83 0.53

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

3.22

1.00

ปานกลาง

3.21 2.84 2.64 3.04

0.84 1.05 1.14 0.99

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

3.08 3.01

0.91 0.73

ปานกลาง ปานกลาง


31

ตารางที่ 2 (ตอ) ขอที่

ขอความ

ดานหองเรียน และหองสมุด 1. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โฟรเจ็คเตอร 2. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ 3. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย 4. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก 5. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก รวม ดานการบริการอื่นๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 5. มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย 6. อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 7. อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย 8. รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ 9. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก 10. มีรานถายเอกสารที่ดี 11. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก 12. มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี รวม

ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.45

0.95

ปานกลาง

3.11 3.10 3.11 3.09 3.17

0.98 0.93 0.94 1.01 0.80

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

2.97 3.11 3.06 2.87 2.03 2.14 2.41 2.39 2.27 3.11 2.35 2.95 2.64

0.97 0.88 0.96 0.99 1.06 1.10 1.07 1.04 1.18 1.01 1.02 1.06 0.72

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง นอย นอย นอย นอย นอย ปานกลาง นอย ปานกลาง ปานกลาง


32

จากตารางที่ 2 พบวานักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก 1 ดาน คือ ดานการ สอนของคณาจารย และระดับปานกลาง 4 ดาน เรียงลําดับจากมากลงมา คือ ดานหลักสูตร ดาน หองเรียนและหองสมุด ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน และ ดานการบริการอื่นๆ และเมื่อพิจารณารายการยอยแตละดานมีรายละเอียดดังนี้ ดานการสอนของคณาจารย พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับมากทุกรายการและ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ อาจารยแตงกายเรียบรอย รองลงตามลําดับคือ อาจารยเปนกันเองกับนักศึกษา มี คุณวุฒิตรงกับวิชาที่สอน เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี มีความรูความสามารถในการการถายทอด ความรู ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ประเมินผล ไดครอบคลุมเนื้อหาวิชา แนะนํา ชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน มีประสบการณในวิชาที่สอน มีความมั่นคงทางอารมณ มีเอกสาร ประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย มีการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนไดเหมาะสม และแนะนําแหลงคนควา/แหลงเรียนรูเพิ่มเติม ดานหลักสูตร พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับปานกลางและคาเฉลี่ยทุกรายการอยู ในระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยที่ไมต่ํากวา 3.00 โดยคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาในหลักสูตรเนนการ สรางความรูพื้นฐาน รองลงตามลําดับคือ เพื่อชวยให มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลอง และหลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติไดอยางเปนระบบ ดานหองเรียนและหองสมุด พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เมื่อ พิจารณารายขอ พบวา คาเฉลี่ยทุกรายการอยูในระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยที่ไมต่ํากวา 3.00 โดย ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ รองลงตามลําดับคือ มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ และการคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับ ปานกลางและคาเฉลี่ยทุกรายการอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยที่ต่ํากวา 3.00 จํานวน 2 รายการ ไดแก การจัดงานกีฬาภายในของวิทยาลัยฯมีความเหมาะสม และการศึกษาดูงานนอกสถานที่ เหมาะสม ดานบริการอื่นๆ พบวา นักศึกษามีความพึงพอในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายขอ อยูระดับปานกลาง ยกเวน 6 รายการที่อยูระดับนอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย ราน สหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก มีบริการเงินดวน (ATM) ที่ สะดวก อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี และมีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย


33

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยจําแนกตามเพศ ขอที่

รายการ

1. 2. 3. 4. 5.

ดานหลักสูตร ดานการสอนของคณาจารย ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน ดานหองเรียนและหองสมุด ดานบริการอื่นๆ

ชาย X 3.39 3.86 3.21 3.37 2.87

เพศ S.D 0.69 0.47 0.72 0.82 0.79

หญิง S.D X 3.21 0.59 3.63 0.55 2.91 0.72 3.08 0.78 2.53 0.66

t

sig

3.45 1.28 1.05 0.06 3.14

0.06 0.26 0.31 0.80 0.08

จากตารางที่ 3 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาจําแนกตามเพศไมมีความแตกตางกัน ใน ทุกดาน ตารางที่ 4 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยจําแนกตาม หลักสูตรที่ศึกษา ขอ ที่

รายการ

1. 2. 3. 4. 5.

ดานหลักสูตร ดานการสอนของคณาจารย ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน ดานหองเรียนและหองสมุด ดานบริการอื่นๆ

หลักสูตร 4 ป 2 ปตอเนื่อง S.D X S.D X 3.23 0.57 3.28 0.65 3.61 0.49 3.74 0.54 2.98 0.69 3.02 0.75 3.10 0.72 3.20 0.83 2.61 0.70 2.65 0.73

t

Sig

1.09 1.48 1.23 1.24 0.45

0.30 0.22 0.27 0.27 0.50

จากตารางที่ 4 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาจําแนกตามหลักสูตรที่ศึกษาไมมีความ แตกตางกัน ในทุกดาน


34

ตารางที่ 5 การวิเคราะหความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินงานของวิทยาลัย จําแนกตามสาขาวิชา แหลงของความแปรปรวน 1. ดานหลักสูตรและการสอน

2.ดานการสอนของคณาจารย

3. ดานการจัดบริการสนับสนุน การเรียนการสอน 4. ดานหองเรียนและหองสมุด

5. ดานบริการอื่นๆ

ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม

SS

df

MS

6.67 97.05 103.72 6.93 68.08 75.01 5.03 137.98 143.02 7.29 162.96 170.26 11.96 126.58 138.54

6 259 265 6 259 265 6 259 265 6 259 265 6 259 265

1.11 2.97* 0.37

0.01

1.16 4.40* 0.26

0.00

0.84 0.53

1.57

0.15

1.22 0.63

1.93

0.08

1.99 4.08* 0.49

0.00

F

Sig

* ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 5 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาเมื่อจําแนกตามสาขาวิชาที่เรียน มีความ แตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จํานวน 3 ดาน คือ ดานหลักสูตรและการสอน ดานการ สอนของคณาจารย และดานบริการอื่นๆ เมื่อทดสอบความแตกตางรายคูดวย LSD ไดขอแตกตางดัง ตารางที่ 6 - 8


35

ตารางที่ 6 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานหลักสูตรและการสอน จําแนกตามสาขาวิชา การจัดการ สาขา คอมพิวเตอร การ การ การทองเที่ยว การ นิติ นิเทศ ธุรกิจ ตลาด จัดการ และการ บัญชี ศาสตร ศาสตร วิชา โรงแรม 0.12 0.67 0.05 0.78 0.30 0.28 คอมพิวเตอร ธุรกิจ การตลาด 0.03* 0.00* 0.05 0.80 0.96 การจัดการ 0.10 0.86 0.15 0.16 การจัดการ การทองเที่ยว 0.07 0.01* 0.01* และการ โรงแรม การบัญชี 0.18 0.19 นิติศาสตร 0.88 นิเทศศาสตร * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 6 พบวา นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดมีความพึงพอใจ ดานหลักสูตรและการ สอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการ ทองเที่ยว สวนนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวมีความพึงพอใจ ดาน หลักสูตรและการสอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตรและสาขาวิชานิเทศศาสตร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


36

ตารางที่ 7 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของคณาจารย จําแนกตามสาขาวิชา การจัดการ สาขา คอมพิวเตอร การ การ การทองเที่ยว การ นิติ นิเทศ ธุรกิจ ตลาด จัดการ และการ บัญชี ศาสตร ศาสตร วิชา โรงแรม คอมพิวเตอร 0.06 0.56 0.05 0.24 0.71 0.01* ธุรกิจ การตลาด 0.01* 0.00* 0.00* 0.05 0.00* การจัดการ 0.13 0.52 0.93 0.02 การจัดการ การทองเที่ยว 0.37 0.21 0.16 และการ โรงแรม การบัญชี 0.57 0.04* นิติศาสตร 0.03* นิเทศศาสตร * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ตารางที่ 7 พบวา นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารย แตกตางจากนักศึกษาเกือบทุกสาขาวิชายกเวนสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ แตนักศึกษาสาขาวิชา นิเทศศาสตรมีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ การบัญชี และนิติศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


37

ตารางที่ 8 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานบริการอื่นๆ จําแนกตามสาขาวิชา การจัดการ สาขา คอมพิวเตอร การ การ การทองเที่ยว การ นิติ นิเทศ ธุรกิจ ตลาด จัดการ และการ บัญชี ศาสตร ศาสตร วิชา โรงแรม คอมพิวเตอร 0.11 0.41 0.02* 0.20 0.25 0.87 ธุรกิจ การตลาด 0.39 0.00* 0.00* 0.01* 0.32 การจัดการ 0.00 0.02 0.06 0.67 การจัดการ การทองเที่ยว 0.22 0.46 0.06 และการ โรงแรม การบัญชี 0.88 0.28 นิติศาสตร 0.29 นิเทศศาสตร * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ตารางที่ 8 พบวา นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตาง จากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม การบัญชี และนิติศาสตร สวน นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจมีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตางจากนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


38

ตารางที่ 9 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามอายุ แหลงของความแปรปรวน SS MS F Sig df 1. ดานหลักสูตรและการสอน

2.ดานการสอนของคณาจารย

3. ดานการจัดบริการสนับสนุน การเรียนการสอน 4. ดานหองเรียนและหองสมุด

5. ดานบริการอื่นๆ

ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม

1.62 102.10 103.72 1.20 73.81 75.01 1.35 141.66 143.02 1.47 168.79 170.26 2.91 135.63 138.54

3 262 265 3 262 265 3 262 265 3 262 265 3 262 265

0.54 0.39

1.38

0.25

0.40 0.28

1.42

0.24

0.45 0.54

0.83

0.48

0.49 0.64

0.76

0.52

0.97 0.52

1.88

0.13

* ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 9 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินงานของวิทยาลัย เมื่อจําแนก ตามอายุ คือ ต่ํากวา 20 ป 20 - 25 ป 26 - 30 ป และ 31 ปขึ้นไป มีความพึงพอใจไมแตกตางกัน


39

ตารางที่ 10 ความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตาม ประเภทภาคที่ศึกษา แหลงของความแปรปรวน SS df MS F Sig 0.17 0.42 0.66 2 0.33 1. ดานหลักสูตรและการสอน ระหวางกลุม 0.39 103.39 263 ภายในกลุม 103.72 265 รวม 1.23 4.44* 0.01 2 2.45 2.ดานการสอนของคณาจารย ระหวางกลุม 0.28 263 72.56 ภายในกลุม 265 75.01 รวม 1.13 2.10 0.12 2 2.25 3. ดานการจัดบริการสนับสนุน ระหวางกลุม 0.54 140.76 263 ภายในกลุม การเรียนการสอน 143.02 265 รวม 1.89 2.98 0.05 2 3.77 4. ดานหองเรียนและหองสมุด ระหวางกลุม 0.63 166.48 263 ภายในกลุม 170.26 265 รวม 1.18 2.29 0.10 2 2.37 5. ดานบริการอื่นๆ ระหวางกลุม 0.52 136.17 263 ภายในกลุม 138.54 265 รวม * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 10 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาเมื่อจําแนกตาม ประเภทภาคที่ศึกษา มี ความแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จํานวน 1 ดาน คือ ดานการสอนของคณาจารย เมื่อ ทดสอบความแตกตางรายคูดวย LSD ไดขอแตกตางดังตารางที่ 11


40

ตารางที่ 11 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของคณาจารย จําแนกตามประเภทภาคที่ศึกษา ภาคปกติ ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) ภาคสมทบ (ค่ํา) ประเภทภาคที่ศึกษา ภาคปกติ 0.00* 0.11 ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) 0.51 ภาคสมทบ (ค่ํา) * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ตารางที่ 11 พบวา นักศึกษาภาคปกติมีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยแตกตาง จากนักศึกษาภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05


41

ตอนที่ 2 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัย การวิเคราะหสถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของ วิทยาลัย โดยคาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 12 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามที่เปน คณาจารย สถานภาพทั่วไป จํานวน รอยละ 1. เพศ 48.15 13 ชาย 51.85 14 หญิง 2. ตําแหนง 77.78 21 อาจารยประจํา 22.22 6 อาจารยพิเศษ 3. สังกัดหมวด / สาขา 7.41 2 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ 11.11 3 สาขาการตลาด 14.81 4 สาขาการจัดการ 7.41 2 สาขาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม 33.33 9 สาขาบัญชี 18.52 5 สาขานิติศาสตร 7.41 2 สาขานิเทศศาสตร จากตารางที่ 1 2 พบวา คณาจารยที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง ประจํา ตําแหนงอาจารยประจํา และสังกัดสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด รองลงตาม คือ สาขาวิชานิติศาสตร สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการการ ทองเที่ยวและการโรงแรม และสาขาวิชานิเทศศาสตร


42

ตารางที่ 13 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของคณาจารยตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ ระดับความพึงพอใจ ขอที่ ความพึงพอใจ X S.D แปลความ ดานหลักสูตร 1. มีหลักสูตรที่ทันสมัย 3.59 0.57 มาก 2. มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพปจจุบัน 3.74 0.66 มาก 3. เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยให 3.78 0.70 มาก นักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได 4. เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดานภาษาตางประเทศ 3.22 0.75 ปานกลาง 5. หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริงไดอยางเปน 3.59 0.64 มาก ระบบ 6. มีวิชาเลือกหลากหลาย 3.63 0.74 มาก รวม 3.59 0.46 มาก ดานการจัดการคณาจารยในการสอน 1. มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน 3.96 0.52 มาก 2. มีความรูความสามารถในการสอน 4.00 0.28 มาก 3. เอาใจใสดูแลนักศึกษา ชวยเหลือนักศึกษา 4.11 0.42 มาก 4. มีความมั่นคงทางอารมณ 3.93 0.55 มาก 5. มีประสบการณในการสอน 3.67 0.55 มาก 6. ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา 3.93 0.68 มาก 7. มีการวัดผล/ประเมินผลไดเหมาะสมกับวิชา 3.89 0.64 มาก 8. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม 3.85 0.60 มาก 9. มีภาระการสอนพอเหมาะ 3.41 1.05 ปานกลาง 10. จัดตารางสอนไดเหมาะสม 3.26 0.90 ปานกลาง รวม 3.80 0.42 มาก


43

ตารางที่ 13 (ตอ) ขอที่

ขอความ

ดานการบริหารจัดการ 1. จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม 2. จัดหองพักไดเหมาะสม 3. จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรไดเหมาะสม 4. มีสวัสดิการที่เหมาะสม 5. มีการประชุมการทํางานรวมกัน 6. มีการชี้แจงระเบียบตางๆ อยางชัดเจน 7. มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย 8. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น 9. สรางบรรยากาศความเปนวิชาการในหมูคณาจารย 10. สงเสริมความกาวหนาในการทําตําแหนงทางวิชาการ 11. จัดหาผูทรงคุณวุฒิแตละดานไดเหมาะสม 12. จัดหาผูบริหารทางวิชาการไดเหมาะสม รวม ดานการวิจัย 1. มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน 2. มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย 3. มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย 4. จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย รวม ดานหองเรียน และหองสมุด 1. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร 2. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ 3. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย 4. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก 5. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก รวม

ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.41 2.78 3.26 2.81 3.15 3.30 3.81 3.33 3.15 3.41 3.30 3.26 3.25

0.93 0.89 0.71 1.08 0.77 0.78 0.48 0.96 1.10 1.19 0.87 1.10 0.67

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

3.74 3.70 3.63 3.19 3.56

0.94 1.07 0.88 1.24 0.91

มาก มาก มาก ปานกลาง มาก

3.44

0.07

ปานกลาง

2.78 3.19 3.37 3.37 3.23

0.64 0.74 0.63 1.04 0.48

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง


44

ตารางที่ 13 (ตอ) ขอที่

ขอความ

ดานบริการอื่นๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 5. มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย 6. อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 7. อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย 8. รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ 9. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก 10. มีรานถายเอกสารที่ดี 11. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก 12. มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี รวม

ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 2.74 3.22 2.78 2.59 1.96 1.96 2.26 2.30 2.26 2.81 2.52 3.07 2.54

1.02 0.93 0.85 0.97 1.06 0.90 1.13 0.95 0.86 0.83 0.80 0.62 0.69

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง นอย นอย นอย นอย นอย ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

จากตารางที่ 1 3 พบวา คณาจารยมีความพึงพอใจในการจัดการของวิทยาลัย โดยภาพรวม คณาจารยพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง โดยดานการจัดการคณาจารยในการสอน ดานหลักสูตร และดานการวิจัยอยูในระดับมาก สวนดานอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาตามรายการแต ละดานมีดังนี้ ดานการจัดการคณาจารยในการสอน คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับมาก คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เอาใจใสดูแลนักศึกษาชวยเหลือนักศึกษา รองลงมา คือ มีความรูความสามารถในการสอน มีวุฒิ การศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน มีความมั่นคงทางอารมณ ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ ประเมินผลไดเหมาะสมกับวิชา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม และมีประสบการณใน การสอน นอกนั้นระดับปานกลาง ดานหลักสูตร คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับมาก คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาใน หลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได รองลงมา คือ มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพปจจุบัน มีวิชาเลือกหลากหลาย มีหลักสูตรที่


45

ทันสมัย หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรูการปฏิบัติจริงไดอยางเปนระบบ และเนื้อหาหลักสูตรให ความสําคัญดานภาษาตางประเทศ มีเพียงรายการเดียวที่อยูในระดับปานกลาง คือ สามารถศึกษา ระดับสูงได ดานการวิจัย คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับมาก คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีนโยบายสงเสริม การวิจัยชัดเจน รองลงมา คือ มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย มีเพียงรายการเดียวที่อยูในระดับปานกลาง คือ จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย ดานการบริหารจัดการ คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายขอ พบวา มีความพึงพอใจในระดับมาก 1 รายการ คือ มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย นอกนั้นระดับ ปานกลาง มีคาเฉลี่ยที่ต่ํากวา 3.00 จํานวน 2 รายการ ไดแก มีสวัสดิการที่เหมาะสม และจัดหองพักได เหมาะสม ดานหองเรียนและหองสมุด คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาราย ขอ พบวา มีคาเฉลี่ยที่ต่ํากวา 3.00 จํานวน 1 รายการ ไดแก มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ ดานบริการอื่นๆ คณาจารยมีความพึงพอในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายขออยู ระดับปานกลาง ยกเวน 5 รายการที่อยูระดับนอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย มีบริการ เงินดวน (ATM) ที่สะดวก รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย และอาหารที่จําหนายมีรสชาติดี


46

ตอนที่ 3 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัย การวิเคราะหสถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัย โดยคาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 14 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพดานเพศของผูตอบแบบสอบถามที่เปน เจาหนาที่ สถานภาพทั่วไปดานเพศ จํานวน รอยละ ชาย 2 28.00 หญิง 5 72.00 จากตารางที่ 14 พบวา เจาหนาที่ที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 7 2.00 และเปนเพศชาย รอยละ 28.00 ตารางที่ 15 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ ระดับความพึงพอใจ ขอที่ ขอความ S.D แปลความ X ดานการบริหารจัดการ 1. งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ 3.29 0.76 ปานกลาง 2. มีโอกาสความกาวหนาในหนาที่การงาน 3.00 0.82 ปานกลาง 3. มีความเหมาะสมของภาระงานที่ไดรับมอบหมาย 2.86 0.90 ปานกลาง 4. การอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถตอเนื่อง 3.14 1.07 ปานกลาง 5. มีความพรอมของอุปกรณในการปฏิบัติงาน 3.14 0.69 ปานกลาง 6. มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปดวิทยาลัยใหมๆ 3.43 0.79 ปานกลาง 7. มีการประสานงานและการทํางานรวมกันของบุคลากร 3.29 0.76 ปานกลาง ในองคการ นอย 8. มีสวัสดิการที่เหมาะสม 2.43 0.53 9. มีการประชุมทํางานรวมกัน 2.86 0.90 ปานกลาง 10. มีการชี้แจงระเบียบปฏิบัติงานตางๆ อยางชัดเจน 3.00 0.82 ปานกลาง 11. มีการปฐมนิเทศการปฏิบัติงาน 3.00 1.15 ปานกลาง 12. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น 3.00 1.53 ปานกลาง 13. สงเสริมความกาวหนา 3.14 1.21 ปานกลาง


47

ตารางที่ 15 (ตอ) ขอที่

ขอความ

ดานการบริหารจัดการ (ตอ) 14. ความพอใจตอสถานที่ปฏิบัติงาน 15. มีความพึงพอใจในตัวผูบังคับบัญชา 16. มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน รวม ดานการบริการอื่นๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 5. รานสหกรณมีบริการที่เหมาะสม 6. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก 7. มีรานถายเอกสารที่ดี 8. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก 9. มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี รวม

ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.00 4.00 3.86 3.15

0.82 1.15 1.07 0.49

ปานกลาง มาก มาก ปานกลาง

3.00 2.86 2.57 2.57 3.14 2.29 3.86 2.43 3.29 2.89

1.00 1.07 1.13 1.27 1.35 1.38 1.07 1.13 0.76 0.81

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง นอย มาก นอย ปานกลาง ปานกลาง

จากตารางที่ 1 5 พบวา เจาหนาที่มีความพึงพอใจโดยภาพรวมดานการบริหารจัดการ และ ดานการบริการอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ดานการบริหารจัดการ ที่มีความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน 1 รายการ คือ มีสวัสดิการที่เหมาะสม นอกนั้นอยูในระดับ ปานกลาง และมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ความพอใจตอมีความพึงพอใจในตัวผูบังคับบัญชา รองลงมา ตามลําดับคือ มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปดวิทยาลัยใหมๆ งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ และมีการประสานงานและการทํางานรวมกัน ของบุคลากรในองคการ สวนดานบริการอื่นๆ เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีความพึงพอใจใน ระดับมาก จํานวน 1 รายการ คือ มีรานถายเอกสารที่ดี ความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน 2 รายการ คือ มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก และมีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก นอกนั้นอยู ในระดับปานกลาง


48

ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ ของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัย สรุปขอคิดเห็นจากแบบสอบถามปลายเปด โดยมีนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่มีความ คิดเห็น ดังนี้ ความคิดเห็นของนักศึกษา 1. ควรมีรานอาหารมากกวานี้ เพราะมีนอยมากบางครั้งก็เปด บางครั้งก็ปด โรงอาหารมี แมลงวันเยอะมาก เวลาฝนตกก็อยูไมได แมคาควรมีมารยาทและทําอาหารอรอย เพราะ คนนะคะไมใชจรเขที่จะกินไดทุกอยาง แตไมมีอะไรจะกิน จึงจําเปนตองกิน จํานวน 23 คน 2. ขอโรงยิม ฟตเนต สนามเทนนิส ควรมีอุปกรณกีฬาในการใหนักศึกษาออกกําลังกายได อยางสะดวก จํานวน 3 คน 3. หองสมุดควรเปดถึง 19.30 น. เพื่อที่จะใหนักศึกษาภาคค่ําไดเขาไปใชบริการไดบาง เพราะทางวิทยาลัยไดเก็บเงินบํารุงสวนนี้ดวย จํานวน 9 คน 4. หองน้ําสกปรกและเหม็นมาก ชวยใหแมบานทําความสะอาดหองน้ําในชวงเย็น เพราะ รอบค่ําหองน้ําสกปรกมาก จํานวน 3 คน 5. อยากใหทําหลังคาตรงที่จอดรถยนตและมอเตอรไซคดวยครับ และเพิ่มที่จอดรถดวย จํานวน 2 คน 6. ควรเพิ่มตู ATM ภายในวิทยาลัยเพื่อความสะดวก เพราะในบริเวณนี้หาไดยาก จํานวน 9 คน 7. ดานหลักสูตร ไมมีสิทธิเลือกวิชาเรียนเองเลยครับ จํานวน 6 คน 8. อาจารยสอนดีมากครับ และเปนกันเองดูแลเอาใจใสนักศึกษาดีมาก จํานวน 5 คน 9. การเดินทางไมสะดวกวิทยาลัยอยูไกลบานแถมไมมีรถเมลวิ่งผาน ลําบากมากในการ เดินทางไปเรียน จํานวน 15 คน 10. สถานที่คับแคบ อยากใหมีหนังสือมากกวานี้มีทุกประเภท จํานวน 5 คน 11. อยากไดอาจารยที่เปนไกดจริง ๆ มาสอน เพราะวาเคาจะนําความรูความสามารถใชได จริงๆ มาประยุกตใชได เรียนแบบเดิมเมื่ออยูในตํารา นาเบื่อมาก รูสึกวาคาเทอมแพง ความรูที่ไดไมแนนเลย จํานวน 2 คน 12. ควรมีเนื้อหารายวิชาใหมีความสอดคลองกันและสามารถนําไปปฏิบัติไดในการทํางาน จํานวน 3 คน


49

13. อยากใหวิทยาลัยเนนความสําคัญตอกิจกรรมและงานดานตาง ๆ โดยเฉพาะงานดานรับ ปริญญา ควรจัดใหมีซุมตาง ๆ ในการรวมถายรูปใหมากกวาที่เปนอยู เพราะนั่นหมายถึง ความภูมิใจที่ตองเก็บไวเปนที่ระลึกตอไป จํานวน 4 คน 14. งานทะเบียนใหความอํานวยสะดวกลาชา บางทานหนาตาไมอยากใหบริการแกนักศึกษา จํานวน 7 คน ความคิดเห็นของคณาจารย 1. ดานการเรียนการสอน ควรเนนเรื่องคุณภาพ รวมทั้งการเครงครัดและกวดขันดาน ระเบียนวินัย การตรงตอเวลาของนักศึกษา จํานวน 5 คน 2. หลักสูตรแตละสาขาเอก ไมไดใหความสําคัญแกหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเทาที่ควร จํานวน 2 คน 3. การจัดการรานอาหารหรือการประมูลรานคา ควรจะมีการเปดเผยเพื่อความโปรงใส เพราะปจจุบันไมทราบถึงรายละเอียดการประมูล และรานอาหารก็ไมมีการปรับปรุง รสชาติและคุณภาพอการ ถาเปนไปไดควรจะหารานที่ดีและมีคุณภาพมาเปดใหบริการ จํานวน 13 คน ความคิดเห็นของเจาหนาที่ อยากใหปรับความสะอาดของหองทั้งบนอาคารเรียนและโรงอาหาร โดยเฉพาะหองน้ํา หญิงที่โรงอาหารสกปรกมากๆ


บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ และเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามสถานภาพสวนตัว เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถาม จํานวน 3 ฉบับ คือ ฉบับนักศึกษา ฉบับคณาจารย และฉบับเจาหนาที่ โดยแตละฉบับมีคําถาม3 สวน คือ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ และขอเสนอแนะอื่นๆ มาตราวัดแบบ Likert จํานวน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด จํานวนนักศึกษา2 66 คน จากประชากร 1,062 คน คณาจารย 27 คน จากประชากร 107 คน และเจาหนาที่ 7 คน จากประชากร 29 คน ไดมาโดยการสุมอยางงาย และดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธถึง มีนาคม 2552 ไดแบบสอบถามคืนรอยละ100 วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติ คือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความพึงพอใจดวยคา t–test และวิธีวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว (One – Way Analysis of Variance) ทําการเปรียบเทียบความแตกตางรายคูดวย LSD ทีร่ ะดับนัยสําคัญทางสถิติ (α) เทากับ 0.05 สรุปผลการวิจัย 1. ความพึงพอใจของนักศึกษา 1) ดานสถานภาพนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง(68.05%) เรียน หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง (71.43%) เปนนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด(20.30%) มีอายุ 20-25 ป (43.98%) และเปนนักศึกษาภาคปกติ (50.75%) 2) นักศึกษามีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยอยูในระดับมาก( X = 3.7 1) รองลงมา อยูในระดับปานกลางคือดานหลักสูตร( X = 3.27) ดานหองเรียนและหองสมุด ( X = 3.17) ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน( X = 3.0 1) และดานบริการอื่นๆ ( X = 2.64) รายละเอียดดังนี้ 2.1) ดานการสอนของคณาจารย นักศึกษาพึงพอใจอยูในระดับมากทุก รายการโดยมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ แตงกายสุภาพเรียบรอย( X = 4.0 5) รองลงมา อาจารยเปนกันเอง กับนักศึกษา มีคุณวุฒิตรงกับวิชาที่สอน เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี มีความรูความสามารถในการ


51

การถายทอดความรู ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ประเมินผล ไดครอบคลุมเนื้อหาวิชา แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน มีประสบการณในวิชาที่สอน มีความมั่นคงทางอารมณ มี เอกสารประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย มีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม และแนะนําแหลงคนควา/แหลงเรียนรูเพิ่มเติม 2.2) ดานหลักสูตร นักศึกษาพอใจอยูในระดับปานกลางทุกรายการ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถ ศึกษาอยูในระดับสูงได ( X = 3.49) รองลงมา คือ เนื้อหาวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพ ปจจุบัน และหลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติไดอยางเปนระบบ 2.3) ดานหองเรียนและหองสมุดอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โฟรเจ็คเตอร( X = 3.45) รองลงมา คือ มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ และการคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก 2.4) ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอนอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกในการติดตอกับหนวยงานบริการ เชน งานทะเบียน การเงิน กิจการนักศึกษา ( X = 3.22) รองลงมา คือ ในกิจกรรมการปฐมนิเทศใหความรูที่มีประโยชน และ การแตงกายของนักศึกษามีความเปนระเบียบเรียบรอย 2.5) ดานบริการอื่นๆ อยูใน ระดับปานกลาง ยกเวน 6 รายการที่อยูระดับ นอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีโทรศัพท สาธารณะที่ใชไดสะดวก มีบริการเงินดวน( ATM) ที่สะดวก อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี และมี รานอาหารใหเลือกหลากหลาย 3) ผลการเปรียบเทียบรายดาน ตามสถานภาพของนักศึกษา พบวา เพศ และหลักสูตรที่ ศึกษาไมมีความแตกตางกัน สวนดานที่แตกตางกันมีดังนี้ 3.1) ดานหลักสูตรและการสอน นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดมีความพึงพอใจ ดาน หลักสูตรและการสอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาการจัดการการ โรงแรมและการทองเที่ยว สวนนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวมีความ พึงพอใจ ดานหลักสูตรและการสอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตรและสาขาวิชานิเทศ ศาสตร


52

3.2) ดานการสอนของคณาจารย นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดาน การสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษาเกือบทุกสาขาวิชายกเวนสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ แตนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตรมีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษา สาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ การบัญชี และนิติศาสตร สวนนักศึกษาภาคปกติมีความพึงพอใจดาน การสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษาภาคสมทบ(เสาร – อาทิตย) 3.3) ดานบริการอื่นๆ นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม การบัญชี และนิติศาสตร สวนนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจมีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตางจากนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม 2. ความพึงพอใจของคณาจารย คณาจารยที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง(คณาจารยหญิง 1 4 คน จาก 20 คน) สวนใหญดํารงตําแหนงอาจารยประจํา สังกัดสาขาบัญชี โดยภาพรวมคณาจารยพึงพอใจอยูใน ระดับปานกลาง โดยดานการจัดการคณาจารยในการสอน ดานหลักสูตร และดานการวิจัยอยูใน ระดับมาก สวนดานอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.) ดานการจัดคณาจารยในการเรียนการสอนคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เอาใจใสดูแล นักศึกษาชวยเหลือนักศึกษา ( X = 4.11) รองลงมา คือ มีความรูความสามารถในการสอน และมี วุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน 2.) ดานหลักสูตร คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรู พื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได ( X = 3.78) รองลงมา คือ มีเนื้อหาในวิชา หลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพปจจุบัน และมีวิชาเลือกหลากหลาย 3.) ดานการวิจัย คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน( X = 3.74) รองลงมา คือ มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย และมีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย 4.) ดานการบริหารจัดการ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย ( X = 3.81) รองลงมา คือ จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม และสงเสริมความกาวหนาในการทํา ตําแหนงทางวิชาการ 5.) ดานหองเรียนและหองสมุด คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกสบายภายใน หองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร ( X = 3.44) การคนควาหนังสือ ใน หองสมุดมีความสะดวก และการใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก


53

6.) ดานบริการอื่นๆ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ ภูมิทัศนวิทยาลัยสวยงาม( X = 3.22) สวนความพึงพอใจอยูในระดับนอยมี 5 รายการ คืออาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย มีบริการ เงินดวน (ATM) ที่สะดวก รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย และอาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 3. ความพึงพอใจของเจาหนาที่ เจาหนาที่สวนใหญเปนหญิง( 5 คนใน 7 คน) มีความพึงพอใจในดานการบริหาร จัดการอยูในระดับปานกลาง โดยความพึงพอใจมากสุด คือ พึงพอใจตอ มีความพึงพอใจในตัว ผูบังคับบัญชา ( X = 4.00) รองลงมา คือ มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน มีระบบการปฏิบัติดีขึ้น กวาเมื่อเปดวิทยาลัยใหมๆ งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ และ มีการ ประสานงานและการทํางานรวมกันของบุคลากรในองคการ สวนบริการอื่นๆ เห็นวา มีรานถาย เอกสารที่ดี และมีการรักษาความปลอดภัยอยางดี

อภิปรายผล

จากสรุปผลการวิจัย พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยอยูใน ระดับมาก โดยคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การแตงกายสุภาพ เรียบรอย ทั้งนี้เพราะการคัดเลือกคณาจารย วิทยาลัยใหความสําคัญกับบุคลิกภาพ และการแตงกาย เมื่อรับเขาเปนคณาจารยแลวมีการปฐมนิเทศ และมีการตักเตือนหากพบวาแตงกายไมสุภาพเรียบรอย ระดับรองลงมา มีความเปนกันเองกับ นักศึกษา เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี ทั้งนี้เนื่องจากอาจารยสวนใหญ เปนคณาจารยที่มี ประสบการณและมีวัยใกลเคียงกับผูเรียน จึงทําใหมีความเขาใจนักศึกษาเปนอยางดี และเขาใจ ความรูสึกของนักศึกษาไดอยางดี(อายุโดยเฉลี่ยของคณาจารย34 ป) สําหรับดานคณาจารยมีคุณวุฒิ ตรงวิชาที่สอนและมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการ เรียนไดนั้น เนื่องจากวิทยาลัยมีระบบการคัดเลือกคณาจารยเปนอยางดี ซึ่งพิจารณาทั้งคุณวุฒิ ประสบการณ ทั้งนี้วิทยาลัยจึงมีการอบรมดานการเรียนการสอน การใชสื่อ การจัดสอน เทคนิคการ ของการประเมินผลตลอดจนเรื่องตางๆ ใหกับคณาจารย กอนเปดการเรียนการสอน(การปฐมนิเทศ คณาจารยใหม, 2551) สวนที่นักศึกษาพึงพอใจนอย คือ รานอาหารที่จําหนายในวิทยาลัย ในเรื่อง ของความสะอาดถูกสุขอนามัย รสชาติ และความหลากหลายของรานอาหาร ทั้งนี้เพราะระยะ เริ่มแรกนักศึกษามีนอย จึงมีรานคามาประมูลและเปดดําเนินกิจการนอย ประกอบกับการคมนาคม ไมสะดวก จึงเปนอุปสรรคตอการทํากิจกรรมของรานคา เพราะไมคุมทุน ซึ่งทางวิทยาลัยได ตระหนักดีในเรื่องนี้และกําลังดําเนินการปรับปรุงอยู สวนเรื่องของรานสหกรณโทรศัพทสาธารณะ


54

และตูบริการเงินดวน ( ATM) ทางวิทยาลัยไดตระหนักถึงการอํานวยความสะดวกแกนักศึกษา เชนกัน แตในการที่จะขอใหมีบริการโทรศัพทสาธารณะ และตูบริการเงินดวน( ATM) มีเงื่อนไข กําหนดในเรื่องของจํานวนผูใช ซึ่งคาดวาอีกไมนานจํานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะสามารถ ดําเนินการในการขอบริการตางๆ เหลานี้ได สวนคณาจารยมีความพึงพอใจดานการจัดการคณาจารยในการสอนอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายการยอย พบวา มีความพึงพอใจมากในเรื่องการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย ความกาวหนาในตําแหนงทางวิชาการ การจัดหองใหมีการสงเสริมการวิจัย มีการอบรมเสริมทักษะ ดานการวิจัย มีความสะดวกสบายในหองเรียน การคนควาหนังสือในหองสมุด และวิทยาลัยมีภูมิ ทัศนสวยงาม ทั้งนี้เพราะวิทยาลัยไดใหความสําคัญและมีการประชุมอบรม และจัดสัมมนาทําความ เขาใจกับคณาจารยอยูในระดับมาก เพราะทางวิทยาลัยมีการแบงงานบริหารชัดเจน มีการประชุม หารือรวมกันตลอดเวลา เนื่องจากเปดดําเนินการใหม จึงตองปรับวิธีการใหทันการอยูตลอดเวลา สวนเจาหนาที่มีความพึงพอใจโดยภาพรวมดานการบริหารจัดการ และดานการบริการอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน2 รายการ คือ มีสวัสดิการที่เหมาะสม และบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก

ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการประเมินความพึงพอใจซ้ําในปถัดไป เนื่องจากวิทยาลัยไดนําปญหาตางๆ มา ปรับแกบางเรื่องแลว เพื่อจะไดทราบความคิดเห็นของทุกๆ ฝาย 2. ควรมีการประชุมหารื้อทําความเขาใจและชี้แจงประเด็นการดําเนินการตางๆ ใหบุคลากร ทุกฝายไดรับทราบ 3. ควรมีการวิจัยในเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอน และการติดตามผลของนักศึกษา เพื่อ เปนขอมูลในการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยตอไป 4. ควรมีการปรับปรุงการบริหารดานรานอาหารใหมีรสชาติดีขึ้น และมีรานคาหลากหลาย สอดคลองกับความตองการตอไป


บรรณานุกรม

กิตติพัฒน อินทรเกษตร. 2541. ความพึงพอใจในการทํางานของเจาหนาที่โรงพยาบาลเอกชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลแพทยปญญา. กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโท สําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ .ศ.2542. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค. ณัฐวรรณ ศุภลาภ. 2543. ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานสาขาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโทสําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ธนัทพงศ ธนพุทธิวิโรจน. (2532). การศึกษาพฤติกรรมผูนําของผูบริหารโรงเรียนกับความ พึงพอใจในการทํางานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดมุกดาหาร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. นันทา รัตพันธุ. 2541. การศึกษาทัศนคติของพนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอสิ่งจูงใจในการ ทํางานในธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโทสําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. มานิต คุมภัย. 2541. ความพึงพอใจในงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) กรณีศึกษา : ภาคกลาง 4 เขต 3, ภาคนิพนธ คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร. วัฒนา เจียรวิจิตร. 2543. ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานฝายพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร บริษัท เมโทรซอฟท จํากัด และบริษัทในเครือ . กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโทสําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โสภิณ ทองปาน. 2542. คําบรรยายวิชาการวิจัยทางการจัดการ. ภาควิชาเศรษฐศาสตร, คณะ เศรษฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โสภาค วิริโยธิน. (2529). ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมผูนําของผูบริหารกับความพึงพอใจ ในการทํางานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาใน จังหวัด นครศรีธรรมราช. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา.


56

Barnard, Chester I. (1968). The Function of the Executive. Cambridge : Harvard University Press. Clayton, A. P. 1972. Existence, Relatednen, and Growth : Human Needs in Organizational Settings. New York: Free Press. Paula F. Silver, Educational Administration : TheoreticalPerspectives on Practice and Research New York : Harper & Row, 1983, p. 181. Halpin, Andrew W. (1966). Theory and Research in Administration. New York : Macmillan. Herzberg, Frederick and others. (1959). The Motivation to Work. New York : John Wiley and Sons. Herzberg, F. and the others. 1959. The Motivation to Work. New York: McGraw-Hill Book Company. Morse, Nancy C. (1958). Satisfactions in the White Callar Job. Am – Arbor : University of Michigan. Maslow, A. H. 1954. Motivation and Personality. New York: Harper and Row Publishers. Strauss, George and Sayless, Leonard R. (1960). Personnel : The Human Problems of Management. Englewood Cliffs, New York : Prentice – Hall. http://elib.fda.moph.go.th/multim/thesis/section2.html วันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 Wayne K.Hoy and Cecil G.Miskel, Educational Administration :Theory, Research and Practice New York : Random-House, 1978, p. 34.


58

แบบสอบถามเรื่อง

ความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง ดวยงานวิจัยและพัฒนาไดเสนอโครงการทําวิจัยประจําปเรื่อง ความพึงพอใจของของคณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ บัดนี้การดําเนินงานของวิทยาลัยผานไประยะหนึ่งแลว งานวิจัยและพัฒนาจึงใครขอความอนุเคราะหทานไดโปรดใหความเห็นโดยกาเครื่องหมาย  หนาขอความที่ ตรงกับความ ขอมูลนี้จะเปนความลับสําหรับสําหรับการวิจัยและผลสรุปจะเปนประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนา งานของวิทยาลัยใหดีขึ้นตอไป ขอมูลสวนที่ 1 สถานภาพของผูตอบ เพศ  ชาย  หญิง ตําแหนง  อาจารยประจํา  อาจารยพิเศษ สาขาวิชาที่สังกัด  หมวดศึกษาทั่วไป  การจัดการ  การตลาด  คอมพิวเตอรธุรกิจ  การบัญชี  นิติศาสตร  นิเทศศาสตร  การจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม ขอมูลสวนที่ 2 ความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัย ระดับความพึงพอใจ สําหรับ การดําเนินของงานวิทยาลัย มาก มาก ปาน นอย นอย ผูวิจัย ที่สุด กลาง มาก ดานหลักสูตร 1. มีหลักสูตรที่ทันสมัย V1 2. มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับ V2 สภาพปจจุบัน 3. เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อ V3 ชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได 4. เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดาน V4 ภาษาตางประเทศ 5. หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริงได V5 อยางเปนระบบ 6. มีวิชาเลือกหลากหลาย V6 7. อื่นๆ (โปรดระบุ)………………………………………………………………………………………………………


59 การดําเนินของงานวิทยาลัย

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย กลาง

นอย มาก

ดานการจัดการคณาจารยในการสอน 8. มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน 9. มีความรูความสามารถในการสอน 10. เอาใจใสดูแลนักศึกษา ชวยเหลือนักศึกษา 11. มีความมั่นคงทางอารมณ 12. มีประสบการณในการสอน 13. ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา 14. มีการวัดผล/ประเมินผลไดเหมาะสมกับวิชา 15. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม 16. มีภาระการสอนพอเหมาะ 17. จัดตารางสอนไดเหมาะสม 18. อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ดานการบริหารจัดการ 19. จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม 20. จัดหองพักไดเหมาะสม 21. จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรไดเหมาะสม 22. มีสวัสดิการที่เหมาะสม 23. มีการประชุมการทํางานรวมกัน 24. มีการชี้แจงระเบียบตางๆ อยางชัดเจน 25 มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย 26. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น 27. สรางบรรยากาศความเปนวิชาการในหมู คณาจารย 28. สงเสริมความกาวหนาในการทําตําแหนงทาง วิชาการ 29. จัดหาผูทรงคุณวุฒิแตละดานไดเหมาะสม 30. จัดหาผูบริหารทางวิชาการไดเหมาะสม

สําหรับ ผูวิจัย

V7 V8 V9 V10 V11 V12 V13 V14 V15 V16

V17 V18 V19 V20 V21 V22 V23 V24 V25 V26 V27 V28


60 ระดับความพึงพอใจ สําหรับ การดําเนินของงานวิทยาลัย มาก มาก ปาน นอย นอย ผูวิจัย ที่สุด กลาง มาก 31. อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………… ดานการวิจัย 32. มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน V29 33. มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย V30 34. มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย V31 35. จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย V32 36. อื่นๆ (โปรดระบุ)………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ดานหองเรียน และหองสมุด 37. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ V33 เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร 38. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ V34 39. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย V35 40. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก V36 41. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก V37 42. อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………. ดานบริการอื่นๆ 43 V38 หองน้ําสะอาด 44. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม V39 45. มีสนามกีฬาที่ดี V40 46 V41 มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 47 V42 มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย 48 V43 อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 49 V44 อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย 50 V45 รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ 51 V46 มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก


61 ระดับความพึงพอใจ การดําเนินของงานวิทยาลัย ดานบริการอื่นๆ

มาก ที่สุด

มาก

ปาน กลาง

นอย

นอย มาก

สําหรับ ผูวิจัย

52.

มีรานถายเอกสารที่ดี

V47

53.

มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก

V48

54.

มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี

V49

55.

อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………. …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ----------------------------------------------------- ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม------------------------------------------


62

แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง โปรดใหความคิดเห็นโดยกาเครื่องหมาย  หนาขอความที่ตรงกับความพึงพอใจ ของทานในเรื่องตอไปนี้ และหากมีขอคิดเห็นเพิ่มเติมโปรดระบุในขอเสนอแนะตอนทาย ผลสรุปจากการวิจัยครั้งนี้จะเปนประโยชนตอการปรับปรุงและพัฒนางานที่เกี่ยวของของ วิทยาลัยตอไป ขอมูลสวนที่ 1 สถานภาพของผูตอบ เพศ  ชาย  หญิง ขอมูลสวนที่ 2 ความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ ระดับความพึงพอใจ การดําเนินของงานวิทยาลัย มาก มาก ปาน นอย นอย ดานการบริหารจัดการ 1. งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรู ความสามารถ 2. มีโอกาสความกาวหนาในหนาที่การงาน 3. มีความเหมาะสมของภาระงานที่ไดรับ มอบหมาย 4. การอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถตอเนื่อง 5. มีความพรอมของอุปกรณในการปฏิบัติงาน 6. มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปดวิทยาลัย ใหมๆ 7. มีการประสานงานและการทํางานรวมกันของ บุคลากรในองคการ 8. มีสวัสดิการที่เหมาะสม

ที่สุด

กลาง

สําหรับ ผูวิจัย

ที่สุด

V1 V2 V3 V4 V5 V6 V7 V8


63

การดําเนินของงานวิทยาลัย

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ

มาก

ปาน กลาง

นอย

นอย มาก

สําหรับ ผูวิจัย

9. 10.

V9 มีการประชุมทํางานรวมกัน V10 มีการชี้แจงระเบียบปฏิบัติงานตางๆ อยาง ชัดเจน 11. มีการปฐมนิเทศการปฏิบัติงาน V11 12. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น V12 13. สงเสริมความกาวหนา V13 14. ความพอใจตอสถานที่ปฏิบัติงาน V14 15. มีความพึงพอใจในตัวผูบังคับบัญชา V15 16. มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน V16 17. อื่นๆ (โปรดระบุ)....................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ดานการบริการอื่นๆ 18. หองน้ําสะอาด V17 19 ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม V18 20 มีสนามกีฬาที่ดี V19 21 มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ V20 22 รานสหกรณมีบริการที่เหมาะสม V21 23 มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก V22 24 มีรานถายเอกสารที่ดี V23 25 มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก V24 26 มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี V25 ขอเสนอแนะอื่นๆ……………………………………………………….

…………………………………………………………… ……………………………………………………………. ----------------------------------------------------- ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม-------------------------------------------


แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ

64

คําชี้แจง ดวยงานวิจัยและพัฒนาไดเสนอโครงการทําวิจัยประจําปเรื่อง “ความพึงพอใจของนักศึกษา ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ” บัดนี้การดําเนินงานของวิทยาลัยผานไประยะหนึ่งแลว งานวิจัยและ พัฒนาจึงใครขอความอนุเคราะหจากนักศึกษาโปรดใหความเห็นโดยกาเครื่องหมาย  หนาขอความที่ตรง กับความพึงพอใจของนักศึกษา ผลสรุปจากการวิจัยครั้งนี้จะเปนประโยชนตอการปรับปรุงและพัฒนางานที่เกี่ยวของของวิทยาลัย ราชพฤกษใหดีขึ้นตอไป ขอมูลสวนที่ 1 สถานภาพของนักศึกษา 1. เพศ  ชาย

 หญิง

2. หลักสูตรที่ศึกษา

 หลักสูตร 4 ป

 หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง

3. สาขาวิชาที่สังกัด

 คอมพิวเตอรธุรกิจ  การจัดการ  การบัญชี  นิเทศศาสตร

 การตลาด  การจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม  นิติศาสตร

4. อายุ

 ต่ํากวา 20 ป  26 - 30 ป

 20 - 25 ป  31 ปขึ้นไป

5. ประเภท

 ภาคปกติ  ภาคสมทบ (ค่ํา)  ภาคสมทบ (เสาร - อาทิตย) ขอมูลสวนที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยฯ ระดับความพึงพอใจ การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ มาก ปาน มาก นอย ที่สุด กลาง 1) ดานหลักสูตร 1. มีหลักสูตรที่ทันสมัย 2. มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับ สภาพปจจุบัน 3. เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐาน เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได

นอย มาก

สําหรับ ผูวิจัย V1 V2 V3


65 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก นอย กลาง

นอย มาก

สําหรับ ผูวิจัย

V4 4. เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดาน ภาษาตางประเทศ V5 5. หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริง ได อยางเปนระบบ V6 6. มีวิชาเลือกหลากหลาย 7. อื่น ๆ (โปรดระบุ)........................................................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………….. 2) ดานการสอนของคณาจารยโดยภาพรวม V7 1. มีวุฒิตรงกับวิชาที่สอน V8 2. มีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู V9 3. เปนกันเองกับนักศึกษา V10 4. เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี V11 5. มีความมั่นคงทางอารมณ V12 6. แตงกายสุภาพเรียบรอย V13 7. มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย V14 8. มีประสบการณในวิชาที่สอน V15 9. ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา V16 10. แนะนําแหลงคนควา / แหลงเรียนรูเพิ่มเติม V17 11. มีการวัดผล / ประเมินผล ไดครอบคลุม เนื้อหาวิชา V18 12. แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน V19 13. มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม V20 14. มีเอกสารประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา 15. อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................


66 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก นอย กลาง

นอย มาก

สําหรับ ผูวิจัย

3) ดานการบริการ V21 1. มีความสะดวกในการติดตอกับหนวยงานบริการ เชน งานทะเบียน การเงิน กิจการนักศึกษา V22 2. ในกิจกรรมการปฐมนิเทศใหความรูที่มีประโยชน V23 3. การจัดงานกีฬาภายในของวิทยาลัยฯมีความ เหมาะสม V24 4. การศึกษาดูงานนอกสถานที่เหมาะสม V25 5. การประชาสัมพันธภาพลักษณของวิทยาลัยใหเปน ที่รูจักผานสื่อตางๆ V26 6. การแตงกายของนักศึกษามีความเปนระเบียบ เรียบรอย 7. อื่น ๆ (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….. 4) ดานหองเรียน และหองสมุด V27 1. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร V28 2. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ V29 3. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย V30 4. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก V31 5. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก 6. อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………. ........................................................................................................................................................................................ 5) ดานบริการอื่น ๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี

V32 V33 V34


67 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ

มาก ที่สุด

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก นอย กลาง

นอย มาก

สําหรับ ผูวิจัย

V35 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ V36 5. มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย V37 6. อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี V38 7. อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย V39 8. รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ V40 9. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวด V41 10. มีรานถายเอกสารที่ดี V42 11. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก V43 12. มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี 13. อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอเสนอแนะอื่น ๆ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ----------------------------------------------------- ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม-------------------------------------------


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.