คู่มือ การเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพในการทำงาน (6 ชม )

Page 1

เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือ สาขา

การสร้างเสริมนิสยั อุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพในการทางาน

บริษทั ชิโคกุ (ประเทศไทย) จากัด


คานา ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้ำวไปสู่ของยุคอุตสำหกรรม 4.0 (Industry 4.0) กำรรองรับอุตสำหกรรม ต้ อ งมี ก ำรพั ฒ นำทั้ ง ด้ ำ นเทคโนโลยี นวั ต กรรม ฝี มื อ แรงงำนก็ เ ป็ น ส่ ว นส ำคั ญ ที่ ต้ อ งพั ฒ นำเพื่ อ ให้ ทั น กั บ อุตสำหกรรมที่มีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ เอกสำรกำรฝึกอบรม สำขำ กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน จัดทำ ขึ้นเพื่อใช้ประกอบกำรฝึกอบรมในหลักสูตรกำรฝึกยกระดับฝีมือ สำขำ กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่ม ผลิตภำพในกำรทำงำน โดยมีหัวข้อที่เกี่ยวกับกำรเพิ่มผลิตภำพแรงงำน นิสัยอุตสำหกรรม ควำมปลอดภัยในกำร ทำงำน กิจกรรม 5ส ซึ่งหัวข้อวิชำที่ใช้ในกำรฝึกอบรมจะทำให้ ผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมได้ควำมรู้ ทักษะ และ ทัศนคติที่ดีในกำรทำงำน หำกองค์กร หน่วยงำน หรือสถำนประกอบกำรนำไปใช้จะสำมำรถทำให้เพิ่มผลิตภำพ แรงงำนในกำรทำงำนมีประสิทธิภำพ คุณภำพเพิ่มมำกขึ้น อำคม คุ้มหมู่



สารบัญ บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ

1

บทที่ 2 นิสัยอุตสาหกรรม

6

บทที่ 3 ความปลอดภัยในการทางาน

11

บทที่ 4 กิจกรรม 5ส

15

บทที่ 5 บทสรุป

42

เอกสารอ้างอิง

43


1

บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ การเพิ่มผลิตภาพในการทางาน กำรเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน ต้องมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องหลำยด้ำน ปัจจัยที่ส่งผลให้กำรเพิ่ม ผลิตภำพในกำรทำงำนกระบวนกำร ขั้นตอน วิธีกำรหลำกหลำย ทั้งกำรให้ควำมรู้ (Knowledge) กำรพัฒนำ ทักษะ (Skills) และกำรสร้ำงทั ศนคติ ที่ ดี ในกำรท ำงำน (Attitude) หลักกำรพื้นฐำนกำรปฏิ บั ติง ำนเพื่ อ ให้ หน่วยงำนมีควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอำด ปลอดภัย น่ำอยู่ น่ำทำงำน ซึ่งมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรเพิ่ม ผลผลิต กำรประหยัดทรัพยำกรและเวลำ สร้ำงควำมเชื่อถือของผู้รับบริกำร มีส่วนสนับสนุนให้เกิดกำรทำงำน เป็นทีมและควำมสำมัคคีในหน่วยงำน ผู้ปฏิบตั ิงำนต้องคำนึงถึง  พื้นฐำนของระบบคุณภำพทุกระบบ  กำรสร้ำงวินัยและจิตสำนึกที่ดีในกำรทำงำน  กำรสร้ำงระบบ ระเบียบ กำรจัดเก็บ ควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงำมแก่หน่วยงำน  กำรเสริมประสิทธิภำพกำรทำงำน  กำรก่อให้เกิดควำมเปลี่ยนแปลงเชิงประจักษ์แก่ผู้มำรับบริกำร/สร้ำงควำมเชื่อถือของ ผู้รับบริกำร  กำรทำงำนที่ง่ำย ประหยัด แต่คุ้มค่ำ

ผลิตภาพ (Productivity) หมำยถึง กำรปรับปรุงประสิทธิภำพกำรผลิตเพื่อให้ผลผลิต มีปริมำณ/หรือมูลค่ำเพิ่ม สูงขึ้น โดยคำนึง ถึง กำรใช้ควำมก้ำวหน้ำทำงวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี ใ นกำร ปรับปรุงคุณภำพปัจจัยกำร ผลิต ได้แก่ วัตถุดิบ อุปกรณ์กำรผลิต ตลอดจนบุ คลำกรที่มีส่วนร่วมในกำรผลิ ต กำรเพิ่มผลผลิต มักได้รับกำรกล่ำวถึงในฐำนะที่มีควำมหมำย เฉพำะในเชิงปรัชญำและเชิงเศรษฐศำสตร์ โดย หน่วยงำนองค์กรแรงงำนระหว่ำงประเทศ อำทิ International Labour Organization (ILO) แต่เพื่อให้เป็นที่ เข้ำใจร่วมกัน กำรเพิ่มผลผลิตในที่ นี้หมำยถึง กำรใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรที่มีอยู่ อย่ำงคุ้ มค่ำอันนำไปสู่กำร พัฒนำที่ยั่งยืนหรือกำร ปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่องด้วยจิตสำนึกเป็นแรงผลักดัน และใช้เทคนิคและเครื่องมือในกำร เพิ่มผลผลิต/ ผลิตภำพเป็นตัวช่วยให้ประสบควำมสำเร็จ พจนำนุ ก รมศั พ ท์ เ ศรษฐศำสตร์ แ ห่ ง รำช บั ณ ฑิ ต ยสถำนอธิ บ ำยว่ ำ ผลิ ต ภำพ (Productivity) หมำยถึ ง จ ำนวนของผลผลิ ต สิ น ค้ ำ หรื อ บริ ก ำร ต่ อ ปั จ จั ย กำรผลิ ต ที่ ใ ช้ ใ นกำรผลิ ต ของหน่ ว ย กำรผลิ ต อุตสำหกรรมหรือประเทศ ผลิตภำพ สำมำรถจำแนกตำมประเภทของปัจจัยกำรผลิต เช่น ผลิตภำพแรงงำน (Labour productivity) คือ จำนวนผลผลิตต่อแรงงำน 1 คน หรือ ต่อ 1 ชั่วโมงของกำรทำ งำน ผลิตภำพทุน (Capital productivity) คื อ จ ำนวนผลผลิ ต ต่ อ เงิ น ทุ น 1 หน่ ว ย ผลิ ต ภำพกำรผลิ ต รวม (Total factor กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


2

productivity) คือกำรเพิ่มขึ้นของผลผลิตที่เกิด จำกปัจจัยอื่นนอกเหนือจำกปัจจัยกำรผลิตที่ใช้ เช่น กำรพัฒนำ ทำงเทคโนโลยีกำรปรับปรุงกำร บริหำรและกำรพัฒนำคุณภำพของแรงงำน จึงพอสรุปได้ว่ำ Productivity หรือ ผลิตภำพ คือ อัตรำกำรผลิต หรือ สมรรถนะในกำรผลิต ที่สำมำรถวัดได้จำกอัตรำส่วนระหว่ำง Input (สิ่ง ที่ ป้อนเข้ำ) กับ Output (ผลที่ได้) โดยทั่วไปสำมำรถหำได้จำกสูตร

Productivity = Output / Input Output คือ ผลที่ได้จำกกระบวนกำรผลิต ซึ่งประกอบด้วย ✦ Product หรือ ผลิตภัณฑ์ ✦ Quality หรือ คุณภำพ ✦ Cost หรือ ต้นทุน ✦ Delivery หรือ เวลำที่ใช้ในกำรส่งมอบ สินค้ำ ✦ Safety หรือ ควำมปลอดภัยในกำร ปฏิบัติงำน ✦ Moral หรือ ขวัญและกำ ลังใจของ พนักงำน ✦ Environment หรือ สิ่งแวดล้อม Input คือทรัพยำกรที่ใส่เข้ำไปในกระบวน กำรผลิตซึ่งประกอบด้วย ✦ Man หรือ คน ✦ Machine หรือ เครื่องจักร ✦ Method หรือ วิธีกำร ✦ Material หรือ วัสดุอุปกรณ์ จำกสูตร Productivity ถ้ำนำมำคิดโดย ไม่รวมปัจจัยอื่นๆ ประกอบเรำสำมำรถคำนวณ หำค่ำผลิต ภำพได้อย่ำงง่ำยตำมตัวอย่ำงต่อไปนี้ สมมุติว่ำโรงงำนนำย ก ผลิตสินค้ำ A ได้จำนวน 3,000 ชิ้นต่อวัน โดยใช้แรงงำนจำนวน 300 คน เพรำะฉะนั้น Productivity ในกำรผลิตสินค้ำ A ของโรงงำนนำย ก เท่ำกับ3,000/300 = 10 แต่ในทำงปฏิบัติกำรผลิตสินค้ำโรงงำน ต้องมีทรัพยำกร หรือปัจจัยอื่นๆ อีกมำกมำย ถือเป็นต้นทุน ที่ใช้ในกำรผลิตสินค้ำ เช่น วัตถุดิบ เงินลงทุน แรงงำน พลังงำนที่ใช้ค่ำใช้จ่ำยอื่นๆ ดังนั้น กำรเพิ่มผลผลิตใน องค์กรที่มีกำรแข่งขัน สูง ทั้งที่ประกอบธุรกิจอุตสำหกรรม และ ประกอบธุรกิจอื่นๆ จะต้องอยู่บนพื้นฐำนตำม แนวคิดดังนี้ หลักของการเพิ่มผลผลิตในองค์กรทุกแห่ง จะตั้งอยู่บนพื้นฐำนของแนวคิด 4 ประกำร คือ 1. กำรพัฒนำคุณภำพสินค้ำและบริกำร 2. กำรลดต้นทุนและควำมสูญเสีย 3. ควำมรวดเร็วในกำรส่งมอบสินค้ำและ กำรบริกำร 4. ควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำน 1. ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมำยถึง ควำมสำมำรถที่ทำ ให้เกิดผลในกำรงำนหรือ ลงมือทำ สิ่งต่ำงๆ ได้อย่ำงถูกต้องและเหมำะสม (Doing Things Right) ประสิทธิภำพเป็นกำร เปรียบเทียบส่วน ที่เป็น Input หรือปัจจัยนำ เข้ำกับ Output ผลิตผลที่ไ ด้ กำรวัดค่ำ ประเมินประ- สิทธิภำพ คือ Input ต้อง ใกล้เคียงกับ Output มำกที่สุดและมีควำมสูญเสียน้อยที่สุด กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


3

2. วงจรผลิตภาพ (Productivity Cycle) กำรเพิ่มผลผลิตจะเกิดขึ้นอย่ำงเป็น กระบวน กำรที่ต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นวงจร (Cycle) ซึ่ง ประกอบด้วยกระบวนกำรของวงจรผลิตภำพ เป็น ขั้นตอนดังนี้ 2.1 กำรวัดผลงำน (Measurement) 2.2 กำรประเมินผลงำน (Evaluation) 2.3 กำรวำงแผน (Planning) 2.4 กำรปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) 3. ต้นทุนและความสูญเสีย องค์กรที่จะ ประสบควำมสำเร็จในกำรดำเนินงำนผู้บริหำร มักคำนึงถึงกำไร (Profits) เป็นเป้ำหมำยสูงสุด ซึ่งกำรจะได้กำไรมำกน้อยขึ้นอยู่กับรำคำขำย หรือมูลค่ำสิน ค้ำ ต้องสูงกว่ำต้นทุนกำรผลิต จำกสมกำร กำไร = รำคำขำย - ต้นทุน 3.1 ต้ น ทุ น (Cost) หมำยถึ ง ค่ ำ ใช้ จ่ ำ ยที่ จ่ ำ ยไปส ำหรับ ทรั พยำกรทำงกำรผลิ ตเพื่ อให้เกิด ผลิตผล ต้นทุนกำรผลิตที่เป็นค่ำใช้จ่ำยแบ่งออก เป็น 3 ส่วน คือ 3.1.1 ค่ำวัสดุ (Material Cost) หมำยถึง วัตถุดิบหรือวัสดุที่ใช้ในกำรผลิตสินค้ำ 3.1.2 ค่ำแรงงำน (Labor Cost) หมำยถึง ค่ำจ้ำงที่นำยจ้ำงต้องจ่ำยให้แก่ พนักงำนตำม กฎหมำยแรงงำน 3.1.3 ค่ำโสหุ้ย (Overhead Cost) หมำย ถึง ค่ ำใช้จ่ำยต่ำงๆ เช่น ค่ำพนักงำนทำควำม สะอำด ค่ำยำมรักษำควำมปลอดภัย ค่ำสำธำรณูปโภค ค่ำเสื่อมรำคำเครื่องจักร ค่ำใช้จ่ำย สวัสดิกำร ค่ำขนส่ง เป็นต้น 3.2 ควำมสูญเสีย (Lost) หมำยถึง ค่ำใช้ จ่ำยที่จ่ำยไปแล้วไม่เกิดผลผลิต บำงองค์กรอำจใช้คำ ว่ ำ ควำมสู ญ เปล่ ำ ในควำมเป็ น จริ ง ควำม สู ญ เสี ย หรื อ ควำมสู ญ เปล่ ำ ก็ คื อ ต้ น ทุ น แต่ เ ป็ น ต้ น ทุ น ที่ ไ ม่ ก่ อ ผลประโยชน์ได้แก่ 3.2.1 ควำมสูญเสียในส่วน Man หรือคน หรือ แรงงำนๆ ได้แก่ ✦ ขำดระเบียบวินัย ขำดควำมซื่อสัตย์ ขำดควำมรับผิดชอบ ขำดควำมขยันและ อดทน ขำดกำรฝึกอบรม ไม่มีกำรพัฒนำ อย่ำงต่อเนื่อง ไม่มีมำตรฐำนในกำรทำงำน มีทัศนคติที่ไม่ดีในกำรทำงำน ทำ ให้ผลกำรปฏิบัติงำนไม่ดี 3.2.2 ควำมสู ญ เสี ย ในส่ ว น Machine หรื อ เครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งจั ก รเก่ ำ ช ำ รุ ด ขำดกำร ซ่อมแซมที่ดี สกปรก ขำดกำรดูแลบำรุงรักษำ ประสิทธิภำพในกำรผลิตต่ำ 3.2.3 ควำมสูญเสียในส่วน Method หรือ วิธีกำรทำ งำน หรือ กระบวนกำรผลิต ไม่มีกำร วำงระบบในกระบวนกำรผลิต ที่ดี ไม่มีกำรพัฒนำระบบเทคโนโลยีให้ทัน สมัย ไม่มีกำรพัฒนำระบบควบคุ ม คุณภำพ 3.2.4 ควำมสูญเสียในส่วน Material หรือ วัสดุอุปกรณ์สั่ง ซื้อมำกเกินควำมจำเป็น ท ำให้ หมดเงินลงทุน และต้องเสียค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดเก็บสูญหำย กำรวำงผิดที่ หยิบไปใช้โดยไม่แจ้งผู้รับผิดชอบ จัด วำงไว้ผิดประเภท จัดซื้อไม่ถูกต้อง ตำม Spec เสียค่ำใช้จ่ำยมำก 4. เทคนิคการเพิ่มผลผลิ ต ในองค์ก ร หลัก กำรสำคัญ ของกำรบริหำรเพื่อเพิ่ม ผลผลิตในองค์กร สิ่งสำคัญที่ควรคำนึงถึง คือ 4.1. เวลำในกำรผลิต กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


4

4.2. กำรวำงแผนควบคุมกำรผลิต 4.3. กำรใช้ระบบเพียงระบบเดียวในกำรผลิต 4.4. ไม่มีวิธีที่ดีที่สุดในกำรควบคุมกำรผลิต สรุปได้ว่าการเพิ่ม Productivity ที่ดีที่สุด ผลลัพธ์สุดท้ายที่ผู้ประกอบการต้องการ คือ ได้ผลิตภัณฑ์ที่ ดีมี คุณภาพตามมาตรฐาน มีต้นทุนต่​่า การส่งมอบตรงเวลา มีความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน สร้างขวัญและ ก่าลังใจให้พนักงาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กำรปรับปรุงสภำพสถำนที่ ทำงำนด้วยกิจกรรม 5ส ได้มีบทบำทสำคัญในกำรค้นหำปัญหำซ่อนเร้น เช่น กำรบำรุงรักษำและทำควำมสะอำดเครื่องจักรประจำวันทำให้ผู้ปฏิบัติกำรสำมำรถพบเห็นควำมบกพร่อง ก่อนที่ปัญหำจะเกิดขึ้นอย่ำง กำรรั่วของน้ำมัน กำรแตกร้ำว สกรูหลวม โดยมุ่งให้ผู้ปฏิบัติงำนสำมำรถมองเห็น ปัญหำตั้งแต่เริ่มต้นจวบจนจบสิ้นกระบวนกำรและยังเป็นกิจกรรมจัดระเบียบสถำนที่ทำงำนเพื่อให้กำรทำงำน เกิดผลิตภำพ รวมทั้งเป็นกำรสร้ำงขวัญ และกำลัง ใจกับพนักงำน ซึ่ง เป็นก้ำวแรกในกำรพัฒนำจัดทำระบบ มำตรฐำน ISO9000 กำรเพิ่มผลผลิตที่ดี มีแนวคิดว่ำ “QCD-SMEE” สำมำรถจำแนกรำยละเอียดได้ ดังนี้  Q: Quality คุณภำพ  C: Cost กำรลดต้นทุน  D: Delivery กำรส่งมอบ  S: Safety ควำมปลอดภัย  M: Morale ขวัญและกำลังใจในกำรทำงำน  E: Environment สิ่งแวดล้อม  E:Ethics จรรยำบรรณในกำรดำเนินธุรกิจ

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


5

โดยคุณภำพ,กำรลดต้นทุนและกำรส่งมอบนี้ เป็ นกำรปรับ ปรุง เพื่อตอบสนองควำมพอใจลู กค้ ำ ส่วนควำม ปลอดภัยและขวัญกำลัง ใจในเป็นกำรปรับปรุงเพื่อพนักงำน ส่วนสิ่งแวดล้อมและจรรยำบรรณก็ปรับปรุงเพื่อ สังคม แต่โดยทั่วไปแล้วแนวคิดกำรเพิ่มผลผลิตสำมำรถแบ่งได้เป็น 2 แนวคิด คือ 1. แนวคิดทำงวิทยำศำสตร์ตำมแนวคิดของ International Labor Organization กำรเพิ่มผลผลิต คือ อัตรำส่วนระหว่ำงมูลค่ำของสินค้ำและบริกำรที่ผลิตต่อมูลค่ำของทรัพยำกรที่ใช้ไป กำรเพิ่มผลผลิต=ผลิตผล/ปัจจัยกำรผลิตที่ใช้จริง+ปัจจัยกำรผลิตที่เป็นของเสีย 2. แนวคิดทำงด้ำนสังคมศำสตร์ตำมคำนิยำมของ European Productivity Agency "กำรเพิ่มผลผลิตเป็นควำมสำนึกในจิตใจที่มุ่งแสวงหำทำงปรับปรุงสิ่งต่ำงๆให้ดีขึ้นเป็นควำมพยำยำม อย่ำงต่อเนื่องโดยมี พื้นฐำนที่เชื่อว่ำเรำสำมำรถทำวันนี้ได้ดีกว่ำเมื่อวำนนี้และพรุ่งนี้ต้องดีกว่ำวันนี้เป็นควำม พยำยำมอย่ ำงไม่มีที่สิ้นสุดที่จะปรับ สภำพเศรษฐกิจ สัง คมให้ทันกำรเปลี่ยนแปลงด้ วยกำรใช้ วิธีกำร และ เทคนิคใหม่ ๆ เป็นควำมเชื่อมั่นในควำมก้ำวหน้ำของ มนุษย์"

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


6

บทที่ 2 นิสัยอุตสาหกรรม กำรสร้ำงพฤติกรรมให้กับแรงงำนไทยก้ำวสู่ AEC เพื่อเป็นแบบในกำรปฏิบัติตนที่ดีในกำรทำงำน ซึ่ง สถำนประกอบกิจกำร ต้องตระหนักถึงควำมสำคัญในกำรพัฒนำกำลังแรงงำน ด้วยกำรปลูกฝังคุณลักษณะและ ทัศนคติในกำรทำงำน รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกำรทำงำนของลูกจ้ำง ให้ตรงตำมที่สถำนประกอบกิจกำร ต้องกำร โดยเน้นพฤติกรรม 9 พฤติกรรมได้แก่ 1. พฤติกรรมควำมซื่อสัตย์ 2. พฤติกรรมควำมรับผิดชอบ 3. พฤติกรรมกำรมีระเบียบวินัย 4. พฤติกรรมควำมขยันและอดทน 5. พฤติกรรมทำงำนเป็นทีม 6. พฤติกรรมคิดสร้ำงสรรค์ 7. พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ 8. พฤติกรรมกำรประหยัด 9. พฤติกรรมควำมปลอดภัย พฤติกรรมความซื่อสัตย์ ควรเน้นกำรสร้ำงพฤติกรรมควำมซื่อสัตย์ต่อตนเอง ควำมซื่อสัตย์ต่อบุคคล อื่น ควำมซื่อสัตย์ต่อหน้ำที่กำรงำน และผลของกำรมีควำมซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้ำที่กำรงำน กำรปลูกฝัง ควำม ซื่อสัตย์ โดยต้องยกตัวอย่ำงพฤติกรรมกำรไม่ซื่อสัตย์ เช่น กำรให้ข้อมูลที่บิดเบือนจำกควำมเป็น จริง เป็นเหตุให้ เกิดปัญหำหรือควำมเข้ำใจผิดได้กำรหลีกเลี่ยงกำรตักเตือนหรือแจ้งผู้ที่ทำผิดระเบียบหรือ กฎของสถำนประกอบ กิจกำร กำรปฏิเสธและไม่ยอมรับควำมผิดพลำดที่เกิดขึ้น โดยมักจะอ้ำงถึงผู้อื่น อยู่เสมอ กำรละเมิดระเบียบ หรือกฎของสถำนประกอบกิจกำรอยู่เสมอ และยกตัว อย่ำงพฤติกรรมกำร ซื่อสัตย์ เช่น กำรรับฟังและไม่นำ ข้อมูลของผู้อื่นมำเปิดเผย,กำรดูแลและรักษำทรัพย์สิน และผลงำน/ ผลประโยชน์ของสถำนประกอบกิจกำรอยู่ เสมอ ไม่นำทรัพย์สินของสถำนประกอบกิจกำรมำใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว , ประพฤติตนตำมระเบียบหรือกฎ ของสถำนประกอบกิจกำรอยู่เสมอ พฤติ ก รรมความรั บ ผิ ด ชอบ ควรเน้ น กำรสร้ ำ งพฤติ ก รรมควำมรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ ำ ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมำย พร้อมสร้ำง ควำมเข้ำใจและควำมร่วมมือในกำรปฏิบัติหน้ำที่สู่ควำมสำเร็จ สร้ำงควำมรู้สำนึก ใน หน้ำที่ ให้สำมำรถปฏิบัติงำนได้สำเร็จลุล่วง และยอมรับผลของ กำรปฏิบัติง ำน และลั กษณะพฤติกรรมของ บุคคลที่มีควำมรับผิดชอบที่ดี ต้องแสดงออกถึงพฤติกรรม กำรปฏิบัติงำนตำมขั้นตอนที่วำงไว้ปฏิบัติด้วยควำม ตั้งใจ ด้วยควำมละเอียดรอบคอบ และงำนสำเร็จ ตำมกำหนดที่วำงเป้ำหมำยไว้ พฤติกรรมการมีระเบียบวินัย ควรเน้นกำรสร้ำงพฤติกรรมเกี่ยวกับกำรสร้ำงเสริมและรักษำวินัย และกำรตรงต่อเวลำ เพื่อเป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติเกี่ยวกับวินัยอันจะนำไปสู่ควำมเจริญก้ำวหน้ำของพนักงำน และสถำน ประกอบกิจกำร โดยทำควำมเข้ำใจ ระเบียบปฏิบัติข้อบังคับของสถำนประกอบกิจกำร กำรสร้ำง พฤติกรรมกำรมีระเบียบวินัย จะก่อให้เกิดควำมสงบสุขในกำรทำงำนร่วมกัน ส่งเสริมเรียนรู้ควำมหมำยของกำร กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


7

มีวินัยแห่งตน และพฤติกรรมของผู้มีวินัยในตนเอง มีควำมตั้งใจในกำรทำงำนที่ได้รับมอบหมำยให้เสร็จสิ้น กำรรู้ ถึง สิทธิของตนเองและเคำรพสิทธิ์ของผู้อื่น ตัวอย่ำงกำรฝึกพฤติกรรมกำรมีระเบียบวินัย เช่น กิจกรรม 5 ส 1. สะสำง 2. สะดวก 3. สะอำด 4. สุขลักษณะ 5. สร้ำงนิสัย พฤติกรรมความขยันและอดทน ควรเน้นพฤติกรรมกำรสร้ำงทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับควำมอดทนและ ควำมขยันหมั่นเพียร ในกำรทำงำนเพื่อควำมสำเร็จของงำน เพื่อที่จะสำมำรถนำควำมรู้ไปปฏิบัติงำนในองค์กร ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ กำรสร้ำงพฤติกรรมควำมขยันและอดทน มีควำมสำคัญ และควำมจำเป็นอย่ำงมำก เพรำะควำมขยันหมั่นเพียร เป็นพฤติกรรมของบุคคลที่สำมำรถเอำชนะปัญ หำและอุปสรรคต่ำง ๆ ใน กำร ทำงำนได้ดี และยังสำมำรถนำไปใช้สำหรับกำรดำรงชีวิตในสังคมได้เป็นอย่ำงดี ซึ่งจะแตกต่ำงจำกพฤติกรรม ควำมเกียจคร้ำนเพรำะจะส่งผลเสียทั้งชีวิตกำรทำงำน ชีวิตครอบครัว และสังคมได้ พฤติกรรมการท่างานเป็นทีม ควรเน้นพฤติกรรมกำรทำงำนเป็นทีม เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ ควำมสำคัญของ กำรทำงำนแบบมีส่วนร่วมของบุคลำกรในหน่วยงำน เน้นควำมเข้ำใจในเรื่องกำรสื่อสำรระหว่ำง กัน และให้สำมำรถปฏิบัติตนถูกต้องและปฏิบัติงำนร่วมกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ควำมจำเป็นของกำรทำงำน เป็นทีม เป็นลักษณะที่ดีของหน่วยงำน สมำชิกเมื่ออยู่ในทีมต้องเข้ำใจกับเป้ำหมำยในกำรทำงำนของทีม กำร สื่อสำรในทีมงำน กำรประสำนงำน กำรรับฟัง และเสนอควำมเห็น ควำมเสียสละ กำรตัดสินใจโดยทีม ควำม รับผิดชอบต่อผลของกำรตัดสินใจร่วมกัน ปัญหำ อุปสรรคในกำรทำงำนในทีมและแนวทำงแก้ไข โดยเฉพำะ เข้ำใจองค์ประกอบของ กำรสื่อสำร คุณลักษณะของผู้สื่อสำรที่ดี หลักกำรสื่อสำรที่ดี แนวปฏิบัติสำหรับแรงงำน ในกำร ปฏิบัติงำนตำมคำสั่งที่เป็นลำยลักษณ์อักษรและคำสั่งที่เป็นวำจำ วิธีกำรสื่อสำรในสถำนกำรณ์ที่ แตกต่ำง กัน เครื่องมือช่วยในกำรสื่อสำร กำรเลือกใช้เครื่องมือและวิธีกำรสื่อสำรที่เหมำะสมกับ สถำนกำรณ์ พฤติกรรมคิดสร้างสรรค์ ควรเน้นพฤติกรรมคิดสร้ำงสรรค์ ในด้ำนเทคนิคกำรแก้ไขปัญหำ และกำร ปรั บ ปรุ ง งำน เพรำะกำรพั ฒ นำควำมคิ ด สร้ ำ งสรรค์ มี ค วำมส ำคั ญ ในงำนผลิ ต ทุ ก กระบวนกำรปฏิ บั ติ ง ำน กระบวนกำรในกำรคิ ด ลักษณะต่ ำงๆ ที่เกิดขึ้นในตัว ผู้ ปฏิ บั ติง ำน จะส่ง ผลให้ง ำนประสบควำมส ำเร็ จ ตำม เป้ำหมำย ที่สถำนประกอบกิจกำร หรือหน่วยงำนได้วำงไว้ เช่น ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำควำมคิด สร้ำงสรรค์ โดยกำรสร้ำงเกมส์ที่สอดคล้องกับกำรทำงำนให้ผู้ปฏิบัติงำนลองเล่นหรือปฏิบัติ พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ ควรเน้นพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ ในด้ำนกำรเรียนรู้สู่ควำมเจริญก้ำวหน้ำในอำชีพ ของตน และเพื่อเป็นกำรส่งเสริมให้กำรดำเนินงำนของสถำนประกอบกิจกำรบรรลุถึงวัตถุประสงค์ด้วย กำรใฝ่ เรียนรู้ของพนักงำนจะแสดงออกถึงควำมกระตือรือร้นและสนใจเสำะแสวงหำ ควำมรู้อยู่เสมอ มุ่งมั่นที่จะเพิ่ม ประสิทธิภำพในกำรเรียนรู้และสำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่ำงเหมำะสม โดยจะต้องเรียนรู้ถึงวิธีกำร เรียนรู้ประเภทต่ำง ๆ ทักษะพื้นฐำนที่สำคัญต่อกำรเป็นบุคคลแห่งกำรเรียนรู้ ทั้งทักษะด้ำนกำรฟัง กำรซักถำม กำรอ่ำน กำรคิด กำรเขียน และกำรปฏิบัติ แนวทำงเรียนรู้ให้ประสบควำมสำเร็จ จนถึงกำรพัฒนำตนเองให้ทัน ต่อควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี พัฒนำกำรทำงเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแนวโน้มทำงกำรเมืองที่มีผลกระทบ ต่อวิธีกำรทำงำน กำรมีทักษะที่จำเป็นในกำรปฏิบัติงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ พฤติ ก รรมการประหยั ด ควรเน้ น พฤติ ก รรมกำรใช้ อุ ป กรณ์ ส ำนั กงำน เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ ำ ในกำร ประหยัดพลังงำน เพื่อลดต้นทุนในกำรผลิต เพื่อสร้ำงพฤติกรรมในกำรประหยัดพลังงำนไฟฟ้ำ พลังงำนน้ำและ อุปกรณ์อำนวยควำมสะดวกในที่พักอำศัย สร้ำงกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่กำรประหยัดพลังงำนและกำรใช้ วัสดุอย่ำงประหยัด สร้ำงกำรเรียนรู้กำรประหยัดพลังงำนรูปแบบต่ำงๆ ในสถำนที่ทำงำน สร้ำงพฤติกรรมกำรใช้ วัสดุอย่ำงคุ้มค่ำ ขั้นตอนในกำรทำงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้เครื่องมืออย่ำงเป็นระบบ และแนวทำงในกำรพัฒนำ ทักษะในกำรใช้เครื่องมือ ขั้นตอนในกำรตรวจสอบก่อนกำรใช้งำนและกำร บำรุงรักษำเบื้องต้น

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


8

พฤติกรรมความปลอดภัย ควรกระตุ้นจิตสำนึกในเรื่องควำมปลอดภัยในกำรทำงำน มีแนวทำงใน กำรปฏิบัติ เกี่ยวกับควำมปลอดภัยในกำรทำงำน เพื่อลดควำมสูญเสียของพนักงำนและสถำนประกอบกิจกำร โดยกำรเรียนรู้เกี่ยวกับควำมหมำยควำมปลอดภัยในกำรทำงำน สำเหตุของกำรเกิดอุบัติเหตุที่มัก เกิดขึ้นใน สถำนที่ทำงำน สภำพกำรทำงำนที่ไม่ปลอดภัย กำรกระทำที่ไ ม่ปลอดภัย กำรเสริมสร้ำง ควำมปลอดภัยใน สถำนที่ทำงำน ควำมปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงำน ควำมปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องจักร ควำมปลอดภัยใน กำรยกและถือสิ่งของ ควำมปลอดภัยเกี่ยวกับสถำนที่ ควำมปลอดภัย เกี่ยวกับไฟฟ้ำ ควำมปลอดภัยเกี่ยวกับ สภำพแวดล้อมในกำรทำงำน ควำมปลอดภัยเกี่ยวกับเพลิง ไหม้ กำรเตรียมควำมพร้อมของตนเองก่อนกำร ปฏิบัติงำน กำรใช้เครื่องมือที่ถูกต้องกับลักษณะงำน วิธีใช้ อุ ปกรณ์ป้องกันอันตรำยต่ำง ๆ ในกำรปฏิบัติง ำน สัญ ลักษณ์เกี่ยวกับควำมปลอดภัยในกำรท ำงำน กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น แนวทำงรณรงค์ส่ง เสริมควำม ปลอดภัยในกำรทำงำนของสถำนประกอบกิจกำร กิจกรรม กำรสนทนำควำมปลอดภัยหรือกำรเปิดอภิปรำย ปัญหำควำมปลอดภัย เพื่อแสดงควำมคิดเห็นแง่มุมต่ำง ๆ ของอันตรำยจำกควำมประมำทในกำรทำงำน

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


9

บทที่ 3 ความปลอดภัยในการทางาน กำรส่งเสริมควำมปลอดภัยเป็นกิจกรรมที่มีควำมสำคัญเป็นอย่ ำงมำกถึงแม้ว่ำองค์กรนั้นจะมีกำร ออกแบบด้ ำ นควำมปลอดภั ย เป็ น อย่ ำ งดี หรื อ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง ำนได้ รั บ กำรฝึ ก อบรมอย่ ำ งทั่ ว ถึ ง หรื อ ขั้ น ตอน ปฏิบัติงำน (Task Procedure) จะปลอดภัยและได้บังคับใช้อย่ำงต่อเนื่องก็ตำม กำรส่งเสริมที่มีประสิทธิภำพมี ควำมส ำคั ญ ยิ่ ง เพรำะกำรป้ อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ ขึ้ น อยู่ กั บ กำรจู ง ใจให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง ำนท ำงำนด้ ว ยคว ำม ปลอดภัย ผู้ปฏิบัติงำนต้องอำศัยควำมคิดของตัวเองและต้องรั กษำระเบียบวินัย เพื่อป้องกันตัวผู้ปฏิบั ติง ำน เอง พฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงำนสำมำรถถูกกระตุ้นหรือบัง คั บให้ เกิดได้ ด้วยกำรส่ง เสริ ม ควำมปลอดภั ย ที่ มี ประสิทธิภำพ แรงจูงใจภำยใต้กำรส่งเสริมที่มีประสิทธิภำพ คือแนวคิดที่ว่ำพฤติกรรมสำมำรถและควรจะ เปลี่ยนแปลงได้ กำรส่งเสริมควำมปลอดภัยไม่ควรจะดำเนินกำรแต่เพียงผิวเผินด้วยกำรให้รำงวัลที่ไม่มีที่สิ้นสุด เท่ำนั้น แต่กำรส่งเสริมควำมปลอดภัยควรจะถูกจัดกำรและมุ่งหวังผลกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ต้องกำรให้ ได้ ระบบกำรส่ ง เสริ ม ที่ มั่ น คง เฉพำะเจำะจง เข้ ม ข้ น และที่ ไ ด้ ว ำงแผนเป็ น อย่ ำ งดี คื อ รำกฐำนภำยใต้ ควำมสำคัญที่ว่ำ - จิตสำนึกใดที่ต้องใส่ใจ ต้องพิจำรณำ (What the mind attends to, it considers) - จิตสำนึกใดที่ไม่ต้องใส่ใจ, ให้ยกเลิกไป (What the mind dose not attend to, it dismisses) - จิตสำนึกใดที่ใส่ใจกระทำอยู่เสมอ มัน เป็นควำมเชื่อ (What the mind attends to regularly, it believes) - จิ ต ส ำนึ ก ใดที่ เ ป็ น ควำมเชื่ อ มั น จะแสดงออกที่ ก ำรกระท ำ (What the mind believes, it eventually does) - จิตสำนึกใดที่กระทำอย่ำงสม่ำเสมอ มันจะกลำยเป็นนิสัย (What the mind does regularly becomes habitual) สิ่ง ที่ต้อ งคำนึง ถึง เสมอในกำรปฏิบัติง ำนในโรงงำนคือ ควำมปลอดภัย โดยเฉพำะกำรผลิ ต ใน ภำคอุตสำหกรรมซึ่งมีควำมเสี่ยงที่จะได้รับอันตรำยจำกกำรทำงำนสูง หำกกำรป้องกันไม่รัดกุมเพียงพออำจ ก่อให้เกิดควำมเสียหำยทั้งผู้ปฏิบัติงำน วัตถุดิบและเครื่องจักรในกำรผลิต อุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดขึ้นจำกกำร ใช้เครื่องจักรโดยรู้เท่ำไม่ถึงกำรณ์ และควำมประมำทของผู้ปฏิบัติง ำนเอง นอกจำกนี้แล้วสภำพแวดล้อม ใน กำรทำงำน เช่น กำรวำงผังโรงงำน อำกำศ แสงสว่ำง หรือเสียงก็อำจก่อให้เกิดอันตรำยได้ หำกสิ่งเหล่ ำนั้น มีควำมบกพร่องและผิด จำก มำตรฐำนที่กำหนดไว้ ดัง นั้นควำมปลอดภัยในกำรทำงำนจึง เป็นหัว ใจสำคัญ ของกำรทำงำน เมื่อมีควำมรู้และควำมเข้ำใจที่ถูก ต้องแล้วนั้น โอกำสที่จะประสบอันตรำยในขณะท ำงำน ยอมลดน้อยลง

ความปลอดภัยใน การทางาน คือ สภำพที่ปลอดภัยจำกอุบัติภัยต่ำงๆ

อันจะเกิดแก่ ร่ำ งกำย ชีว ิต หรือ ทรัพ ย์ส ิน ในขณะที ่ป ฏิบ ัต ิง ำน ซึ ่ง ก็ค ือ สภำพกำรท ำงำนที ่ถ ูก ต้อ งโดยปรำศจำก "อุบัติเหตุ" ในกำรทำงำนนั่นเอง

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


10

อุบัติเหตุ คือ เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นอย่ำงไม่คำดหมำยและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผลกระทบ กระเทือนต่อกำรทำงำน ทำให้ทรัพย์สินเสี ยหำยหรือ บุคคลได้รับบำดเจ็บ กำรเกิดอุบัติเหตุนั้นมักจะมี ตัวกำรที่สำคัญอยู่ 3 ประกำร คือ 1. ตัวบุคคล คือ ผู้ประกอบกำรงำนในหน้ำที่ต่ำงๆ และเป็นสำเหตุหลักที่ก่อให้เกิด อุบัติเหตุ 2. สิ่งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือโรงงำนที่บุคคลนั้นทำงำนอยู่ 3. เครื่องมือ เครื่องจักร คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรทำงำน

คน สิ่งแวดล้อม

อุบัติเหตุ

เครื่องมือ เครื่องจักร ภาพองค์ประกอบของอุบัติเหตุ

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 1. สภำพกำรทำงำนที่ไม่ปลอดภัยในกำรทำงำน อันได้แก่ - เครื่องมือ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ในกำรทำงำนที่ชำรุดหรือเสื่อมคุณภำพ - พื้นที่ทำงำนสกปรกหรือเต็มไปด้วยเศษวัสดุ น้ำหรือน้ำมัน - ส่วนที่เป็นอันตรำยหรือส่วนเคลื่อนไหวของเครื่องจักรไม่มีที่กำบังหรือป้องกันอันตรำย - กำรวำงผังไม่ถูกต้อง กำรจัดเก็บสิ่งของไม่เ ป็นระเบียบ - สภำพกำรทำงำนไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อำกำศร้อน มีฝุ่นละออง 2. กำรกระทำที่ไม่ปลอดภัยเป็นสำเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ คิดเป็น 85% ของกำรเกิด อุบัติเหตุทั้งหมด กำรกระทำที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ - กำรกระทำที่ขำดควำมรู้ ไม่ถูกวิธีหรือไม่ถูก ขั้นตอน - ควำมประมำท พลั้งเผลอ เหม่อลอย - กำรมีนิสัยชอบเสี่ยง หรือเจตนำหลีกเลี่ยงเพื่อควำมสะดวกสบำย - กำรไม่ปฏิบัติตำมกฎระเบียบควำมปลอดภัยในกำรทำงำน - กำรทำงำนโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยส่วนบุคคล - ใช้เครื่องมือไม่เหมำะสมหรือผิดประเภท กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


11

- กำรทำงำนโดยสภำพร่ำงกำยหรือจิตใจไม่ปกติ - ควำมรีบร้อนเพรำะงำนต้องกำรควำมรวดเร็ว

การป้องกันอุบัติเหตุ มีหลักกำรหรือวิธีโดยแบ่งออกเป็น 3 สถำนกำรณ์ คือ 1. กำรป้องกันก่อนกำรเกิดอุบัติเหตุ คือ กำรป้องกันหรือมีกำรเตรียมกำรล่วงหน้ำ เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ โดยมีหลักกำรต่ำงๆ เช่น 1.1 หลักกำร 5 ส. สู่กำรป้องกันอุบัติเหตุ เช่น 1.1.1 สะสำง หมำยถึง กำรแยกแยะงำนดี-งำนเสีย ใช้ -ไม่ใช้ 1.1.2 สะดวก หมำยถึง กำรจัดกำร จัดเก็บให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ 1.1.3 สะอำด หมำยถึง กำรทำควำมสะอำดเครื่องมือ เครื่องจักรอุปกรณ์ สถำนที่ก่อนและหลังกำร ใช้ง ำน 1.1.4 สุขลักษณะ หมำยถึง ผู้ปฎิบัติง ำนต้องรักษำสุขอนำมัยของตัวเอง เครื่องมือ และสถำนที่ 1.1.5 สร้ำงนิสัย หมำยถึง กำรสร้ำงนิสัยที่ดี 1.2 กฎ 5 รู้ 1.2.1 รู้ งำนที่ปฏิบัติว่ำมีอันตรำยอย่ำงไร มีขั้นตอนกำรทำงำนอย่ำงไร 1.2.2 รู้ กำรเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ 1.2.3 รู้ วิธีกำรใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ 1.2.4 รู้ ข้อจำกัดกำรใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุ ปกรณ์ 1.2.5 รู้ วิธีกำรบำรุงรักษำเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ 1.3 ปฏิบัติตำมกฎระเบียบข้อบังคับ 2. กำรป้องกันขณะเกิดอุบัติเหตุ หมำยถึง กำรเตรียมตัวล่วงหน้ำ เป็นกำรลดอันตรำยให้น้อยลงหรือไม่เ กิด อันตรำยเลย มีหลักกำรดังนี้ 2.1 กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำยส่วนบุคคลเพื่อป้องกันอวัยวะของร่ำงกำย ดังนี้ 2.1.1 หมวกนิรภัย 2.1.2 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้ำ ดวงตำ 2.1.3 อุปกรณ์ลดเสียง ป้องกันหู 2.1.4 อุปกรณ์ป้องกันระบบหำยใจ 2.1.5 อุปกรณ์ป้องกันร่ำงกำย แขนขำ 2.1.6 อุปกรณ์ป้องกันมือ 2.1.7 อุปกรณ์ป้องกันเท้ำ 2.2 กำรปฏิบัติงำนโดยใช้กำร์ดเครื่องจักร 2.2.1 กำร์ดเครื่องกลึง 2.2.2 กำร์ดเครื่องเจียระไน 2.2.3 กำร์ดปิดส่วนที่หมุนของเครื่องจักร เช่น ฟันเฟือง 3. กำรป้องกันหลังกำรเกิดอุบัติเหตุ คือกำรป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุซ้ำซ้อนขึ้น หรือมีกำรลดอันตรำยที่ เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง 3.1 กำรอพยพ กำรขนย้ำย หลังกำรเกิดอุบัติ เหตุขึ้นจะมีกำรตกใจ ตื่นกลัว ดังนั้นควรมีกำรวำงแผนกำร อพยพ หรือกำรขนย้ำยผู้ป่วยอย่ำงถูกวิธี กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


12

3.2 กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น เพื่อลดอันตรำยให้น้อยลง เช่น กำรห้ำมเลือด กำรผำยปอด 3.3 กำรสำรวจควำมเสียหำยหลังกำรเกิดอุบัติเหตุ เช่น ผู้บำดเจ็บ สถำนที่

หลัก 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ กำรป้องกันอุบัติเหตุ เพื่อลดควำมสูญเสียต่ำงๆที่อำจเกิดขึ้น และเป็นกำรเสริมสร้ำงควำม ปลอดภัยในโรงงำนอุตสำหกรรมอย่ำงมีประสิทธิภำพนั้น ต้องยึดหลักกำร 3E ได้แก่ Engineering คือ กำรใช้ควำมรู้ทำงวิชำกำร ด้ำนวิศวกรรมศำสตร์ในวณ และออกแบบ เครื่องจักร เครื่องมือ ที่มีสภำพกำรใช้งำนที่ปลอดภัยที่สุด กำรติดตั้งเครื่องป้องกัน อันตรำยให้แกส่วนที่ เคลื่อนไหว หรืออันตรำยของเครื่องจักร กำรวำงผังโรงงำนระบบไฟฟ้ำ แสงสว่ำง เสียง กำรระบำยอำกำศ เป็นต้น Education คือ กำรให้กำรศึกษำ หรือกำรฝึกอบรม และแนะนำคนงำน หัวหน้ำงำน ตลอดจน ผู้ที่เกี่ยวข้องในกำรทำงำน ให้มีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรป้องกันอุบัติเหตุ และกำรเสริมสร้ำงควำม ปลอดภัยในโรงงำน ให้รู้ว่ำอุบัติเหตุจะเกิดขึ้น และป้องกันได้อย่ำงไร และจะทำงำนวิธีใดจะปลอดภัยที่สุด เป็นต้น Enforcement คือ กำรกำหนดวิธีกำรทำงำนอย่ำงปลอดภัย และมำตรกำรควบคุมบังคับให้ คนงำนปฏิบัติตำมเป็นระเบียนปฏิบัติที่ต้องประกำศให้ทรำบทั่วกันหำกผู้ใดฝ่ำฝืน หรือไม่ปฏิบัติตำมจะต้อง ถูกลงโทษ เมื่อให้เกิดสำนึก และหลีกเลี่ยง กำรกระทำที่ไม่ถูกต้อง หรือเป็นอันตรำย ทั้งนี้ หลัก 3E จะต้องดำเนินไปพร้อมๆกัน จึงจะทำให้กำรป้องกันอุบัติเหตุและกำรเสริมสร้ำง ควำมปลอดภัยในโรงงำนมีประสิทธิ ภำพสูงสุด

ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการรักษาความปลอดภัยในการทางาน ประกอบด้วย 1. เครื่องแต่งกำย และแบบฟอร์มที่เหมำะสมของผู้ปฏิบัติง ำน อำทิ ชนิดและแบบของเสื้อผ้ำ ทรงผม ถุงมือ รองเท้ำ แว่นตำนิรภัย กำรสวมเครื่องประดับและอื่นๆมีควำมถูกต้องเหมำะสมเพียงใด 2. อำคำรโรงงำน พิจำรณำในด้ำนวัสดุที่ใช้ก่อสร้ำงอำคำรมีควำมทนไฟเพียงใด ทนต่อกำรผุกร่อนและ มีอำยุง ำนเท่ำใด กำรออกแบบและกำรติดตั้งไฟฟ้ำ ระบบท่อลมอัด ท่อน้ำ ท่อไอน้ำหรือท่ออื่นๆมีควำม ปลอดภัยเพียงใด สภำพพื้นโรงงำนมีควำมคงทน และสะอำดเรียบร้อยเพียงใด 3. เครื่องมือเครื่องจักรกล มีกำรป้องกันอันตรำยไว้ เพียงใด และมีกำรจัดวำงไว้ที่ตำแหน่งที่เหมำะสม เพียงใด 4. ทำควำมสะอำดเรียบร้อย ตรวจสอบสภำพควำมพร้อม และวินัย ของพนักงำนทำควำมสะอำดประจำ โรงงำน 5. แสงสว่ำงภำยในโรงงำน พิจำรณำในด้ำนตำแหน่งที่ตั้ง ที่เหมำะสมของระบบโครมไฟฟ้ำ เพื่อให้ควำม เข้มส่องสว่ำงบนโต๊ะทำงำนที่เพียงพอและไม่เกิดเงำหรือแสงสะท้อน รวมทั้งกำรเลือกชนิดของหลอดไฟที่ เหมำะสมกับสภำพกำรทำงำน 6. กำรระบำยอำกำศ พิจำรณำของกำรไหลเวียนอำกำศเข้ำออกจำกบริเวณทำงำน รวมทั้ง คุณภำพของ อำกำศด้วย อำทิ ควำมชื้นสัมพัทธ์อุณหภูมิอำกำศ ปริมำณฝุ่นละออง กลิ่นควันพิษที่มีอยู่ในอำกำศนั้น 7. ระบบกำรจัดเก็บและกำรดูแลควบคุมวัสดุ มีกำรแยกประเภทของวัสดุออกตำมประเภทหรือไม่ อำทิ เป็นประเภทโลหะ สำรไวไฟ สำรพิษ สำรเคมีพิเศษต่ำงๆ รวมทั้งกำรกำจัดเศษวัสดุที่เลิกใช้แล้วอย่ำงใดบ้ำง กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


13

8. ระบบฉุกเฉิน อำทิ กำรปฐมพยำบำล กำรดับเพลิง ทำงหนีไฟ ทำงออกฉุกเฉิน เครื่องช่วยชีวิต เครื่องขยำยเสียง ระบบสัญญำณเตือนภัย ระบบสื่อสำรภำยในและภำยนอก กำรช่วยเหลือและกำรปฐม พยำบำลเบื้องต้น กรณีหยุดหายใจ 1. ยกคำงขึ้นแล้วกดศีรษะให้หงำยไปข้ำงหลัง จำกนั้นเอำสิ่งของที่อยู่ในปำกของผู้ป่วยออกให้หมด 2. บีบจมูกและอ้ำปำกของผู้ป่วย ประกบปำกลงบนปำกของผู้ป่วย แล้วค่อยๆเป่ำลมจนเต็มปอด 2 ครั้ง 3. ประกบมือทั้งสองข้ำงบริเวณกลำงหน้ำอกของผู้ป่วย และกดลงไป 30 ครั้ง * กระทำซ้ำหลำยๆครั้งจนกว่ำผู้ป่วยสำมำรถหำยใจได้เอง

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


14

การห้ามเลือด 1. ใช้ผ้ำพันรอบแขนหรือขำสองรอบแล้วผูกเงื่อน 1ปม 2. ใช้ท่อนไม้วำงบนเงื่อนแล้วผูกอีกเงื่อนหนึ่ง 3. หมุนไม้เป็นวงกลมให้แน่นขึ้นจนกระทั่งเลือดหยุดไหล 4. ผูกตรึงผูกตรึงปลำยไม้ไว้ให้อยู่กับที่กันหมุนกลับ

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


15

บทที่ 4 กิจกรรม 5ส แนวคิดการดาเนินกิจกรรม 5ส หลักกำรและแนวคิด 5ส เป็นแนวคิดเรื่องกำรจัดระเบียบเรียบร้อยในสถำนที่ทำงำนโดยมุ่งเน้นกำรมีส่วนร่วมของคน ในองค์กำร และกำรทำกิจกรรม 5ส ถือได้ว่ำเป็นแนวคิดพื้นฐำนในกำรทำงำนเพื่อให้ได้งำนที่มีคุณภำพดีเช่นกันโดย 3ส แรกจะ ส่งผลแก่วัสดุอุปกรณ์และสถำนที่ ส่วน 2 ส หลังจะส่งผลโดยตรงกับคนหรือบุคลำกรในหน่วยงำน

ความหมายและความสาคัญของ 5 ส 5 ส หมำยถึง เทคนิคหรือวิธีกำรจัดหรือปรับปรุง สถำนที่ทำงำน หรือสภำพทำงำนให้เกิด ควำม สะดวก ควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอำด หรือเอื้ออำนวยให้เกิดประสิทธิภำพในกำรทำงำน ควำมปลอดภัย และคุณภำพของงำน อันเป็นพื้นฐำนในกำรเพิ่มผลผลิต สะสาง = SEIRI (เซรี) = ORGANIZAION กำรจัดแยกระหว่ำงสิ่งที่จำเป็นต้องใช้ในกำรปฏิบัติงำนกับสิ่งของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ในกำร ปฏิบัติงำนให้ออกจำกกันอย่ำงชัดเจน สะดวก = SEITON (เซตง) = NEATNESS กำรจัดสิ่งของที่จำเป็นต้องใช้ในกำรปฏิบัติงำนให้ถูกที่ถูกทำงเพื่อให้เกิดควำมสะดวกในกำรหยิบ ใช้งำนมำกที่สุด

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


16

สะอาด = SIESO (เซโซ) = CLEANING กำรกำจัดสิ่งสกปรก ฝุ่นละออง และสิ่งไม่พึงประสงค์ให้หมดไป สุขลักษณะ = SEIKISO (เซเคทซี)= STANDARDIZATION กำรรักษำและปรับปรุงกำรปฏิบัติ 3 ส แรก โดยกำหนดเป็นมำตรฐำนและปฏิบัติให้ดีขึ้นและ รักษำให้ดีตลอดไป สร้างนิสัย = SHITSKE (ซิทซีเคะ) = DICIPLINE กำรมีควำมสำมำรถที่จะปฏิบัติในวิธีกำรต่ำง ๆ ที่สนับสนุนเพื่อสร้ำงให้สภำพภำยในสถำนที่ ทำงำนเกิดอุปนิสัยที่ดี และมีระเบียบวินัย

ความสาคัญของ 5 ส 5 ส เป็นหลักเบื้องต้น / พื้นฐำนเพื่อทำให้หน่วยงำนมีควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอำดปลอดภัย น่ำอยู่ น่ำทำงำน  มีควำมเกี่ยวข้องอย่ำงลึกซึ้งกับกำรเพิ่มผลผลิต  มีควำมเกี่ยวข้องกับกำรประหยัดทรัพยำกรและเวลำ  มีควำมเกี่ยวข้องกับควำมเชื่อถือของผู้รับบริกำร  มีควำมเกี่ยวข้องกับปัญหำมลภำวะ  มีส่วนสนับสนุนให้เกิดกำรทำงำนเป็นทีมและควำมสำมัคคีในหน่วยงำน

ประโยชน์การดาเนินกิจกรรม 5ส กำรทำกิจกกรม 5ส กิจกรรม 5ส มีประโยชน์อย่ำงยิ่งในอุตสำหกรรมทั้งภำคกำรผลิตและกำรบริกำร เนื่องจำก 5ส ส่งเสริมให้พนักงำนมีส่วนร่วมในกำรปฏิบัติงำนจนเป็นนิสัย เมื่อปฏิบัติจนเป็นนิสัย แล้วสำมำรถ กำหนดเป็นมำตรฐำนในกำรปฏิบัติงำนได้ ทำให้ส่งผลดีต่อกำรเพิ่มผลผลิตทำงด้ำน ต่ำงๆ ไม่ว่ำจะเป็นคุณภำพ, ต้นทุน, กำรส่งมอบ, ควำมปลอดภัย, กำรสร้ำงขวัญและกำลังใจ ตลอดจนสิ่งแวดล้อม ประโยชน์มี่เกิดขึ้นกับ องค์กร มี 5 ส่วน คือ 1. ประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน  สำมำรถทำงำนได้อย่ำงสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น  บรรยำกำศกำรทำงำนและสถำนที่ทำงำนดีขึ้น  มีสภำพจิตใจแจ่มใส อำรมณ์ดี และขวัญกำลังใจดี  มีควำมปลอดภัยในกำรทำงำน  มีส่วนร่วมในกำรปรับปรุงงำนและสถำนที่ทำงำน  เพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำน  สำมำรถเรียนรู้และพัฒนำตนเอง  มีสถำนที่ทำงำนที่เป็นระเบียบเรียบร้อย 2. ประโยชน์ของหน่วยงาน  เพิ่มประสิทธิภำพในกำรผลิตและสร้ำงผลงำน กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


17

   

ลดกำรสูญเสียและควำมสิ้นเปลือง มีพื้นที่และเนื้อที่ใช้งำนมำกขึ้น ผู้รับบริกำรให้ควำมเชื่อถือและเชื่อมั่นมำกยิ่งขึ้น เปิดโอกำสให้สำมำรถนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมำช่วยในกำรปฏิบัติงำนได้ง่ำยขึ้น

ประโยชน์ที่เกิดขึ้นในขั้นตอนกำรทำงำน ในกำรดำเนินกิจกรรม 5ส สำมำรถเห็นประโยชน์ได้ดังนี้ สะสาง 1. ใช้พื้นที่ในสถำนประกอบได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น 2. ลดกำรใช้วัสดุและอุปกรณ์ 3. เกิดควำมผิดพลำดในกำรท ำงำนลดลง 4. มีกำรใช้ประโยชน์จำกตู้เก็บเอกสำรและชั้นวำงมำกยิ่งขึ้น 5. ลดจำนวนของสินค้ำหรือวัสดุในสต๊อกลง สะดวก 1. ลดเวลำในกำรค้นหำลง 2. ช่วยให้ค้นหำสิ่งของได้รวดเร็วขึ้น 3. ช่วยตรวจหำสิ่งของได้อย่ำงรวดเร็ว 4. เพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำนดียิ่งขึ้น 5. ลดกำรสูญหำยของสิ่งของและอุปกรณ์เครื่องใช้ต่ำง ๆ 6. มีควำมปลอดภัยในกำรท ำงำนมำกยิ่งขึ้น สะอาด 1. ทำให้สถำนประกอบกำรและพื้นที่กำรทำงำนมีสภำพแวดล้อมที่ดีและสะอำด 2. สภำพแวดล้อมในกำรท ำงำนน่ำทำงำน และมีควำมปลอดภัย 3. เครื่องจักร, อุปกรณ์ มีประสิทธิภำพทั้งทำงด้ำนอำยุกำรใช้งำน, ควำมถูกต้อง แม่นยำ และ ควำมเที่ยงตรง 4. มีควำมน่ำเชื่อถือต่อลูกค้ำ เนื่องมำจำกมีผลิตภัณฑ์เสื่อมคุณภำพลดลง 5. ลดอัตรำกำรเกิดของเสีย และลดต้นทุนในกำรผลิตลง สุขลักษณะ 1. สถำนที่ทำงำนมีบรรยำกำศในกำรทำงำนร่มรื่น, สะอำด, เรียบร้อย น่ำทำงำนยิ่งขึ้น 2. พนักงำนมีควำมปลอดภัย มีสุขภำพดีทำงร่ำงกำยและจิตใจ 3. สภำพแวดล้อมในกำรทำงำนปรำศจำกมลพิษและมลภำวะที่ไม่ดี สร้างนิสัย 1. ลูกค้ำมีควำมเชื่อถือและไว้วำงใจมำกยิ่งขึ้น 2. ผลิตภัณฑ์ และหำรบริกำร มีควำมตอบสนองต่อควำมต้องกำรของลูกค้ำมำกยิ่งขึ้น 3. สถำนประกอบกำรหรือหน่วยงำนมีกำรยกระดับมำตรฐำนทำงธุรกิจที่สูงขึ้น 4. พนักงำนมีควำมภำคภูมิใจ และมีกำรให้ควำมร่วมมือในหน่วยงำนของ ตนเองมำกยิ่งขึ้น

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


18

หลักการทา 5ส

การทา ส 1 สะสาง “แยกให้ชัดเจน ขจัดให้ออก” ท่าไมต้องสะสาง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ที่ทำงำนคับแคบลง (ทุกวัน) รวมทั้งมีของที่วำงเกะกะมำกขึ้น ไม่มีที่จะเก็บของ หรือตู้เก็บของไม่พอ หำเอกสำรหรือของใช้ที่จำเป็นไม่พบ เสียเวลำค้นหำเอกสำรหรือของใช้ (ครั้งละหลำยนำทีหรือมำกกว่ำ เครื่องมือเครื่องใช้ หรือวัสดุอุปกรณ์เกิดควำมสูญเสีย หรือเสียหำยบ่อยหรือเสื่อมสภำพ ตรวจสอบเอกสำรหรือวัสดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ ยำก ของหำยบ่อย ของที่ควรจะอยู่ในที่หนึ่งกลับไปอยู่ที่หนึ่ง ฯลฯ กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


19

ท่าไมต้องเสียเวลาค้นหา 1. มีของที่ไม่ต้องกำรใช้ปะปนอยู่เป็นจำนวนมำก 2. มีกำรวำงสิ่งของไม่เป็นที่แน่นอน 3. ไม่มีป้ำยแสดงบอกตำแหน่งของสิ่งของไว้ 4. ไม่เก็บของเข้ำที่เดิม (เมื่อนำไปใช้แล้ว) หลักการสะสาง “แยกของที่ไม่ต้องการ/ไม่จาเป็นต้องใช้ ออกจากสิ่งที่ต้องการ/จาเป็นต้องใช้” การเริ่มต้นสะสาง 1. กำรกำหนดเกณฑ์ว่ำสิ่งของอะไรบ้ำงที่จำเป็นต้องทำกำรสะสำง และแจ้งรำยละเอียด ให้ทุกคนทรำบ 2. แยกของที่ “จำเป็น” และสิ่งของที่ “ไม่จำเป็น” ออกจำกกัน 3. ขจัดสิ่งที่ของที่ “จำเป็น” หรือของที่มีมำกเกินควำมจำเป็นออกแล้วทิ้งหรือทำลำย จุดที่ควรสะสาง 1. บนโต๊ะทำงำนและลิ้นชักโต๊ะทำงำนของแต่ละคน 2. ตู้เก็บเอกสำร/ ตู้เก็บของ/ชั้นวำงของ 3. บริเวณรอบโต๊ะทำงำน 4. ห้องเก็บของ 5. มุมอับต่ำง ๆ ทั้งภำยในและภำยนอกที่ทำงำน 6. พื้นของสถำนที่ทำงำนรวมทั้งเพดำน 7. บอร์ด ประกำศ คำสั่ง ระเบียบ ประโยชน์ที่ได้รับจากสะสาง 1. ขจัดควำมสิ้นเปลืองของกำรใช้พื้นที่ กล่ำวคือ มีพื้นที่ว่ำงจำกกำรขจัดสิ่งของที่ไม่จำเป็นหรือ วำงไว้เกะกะออกไป 2. ขจัดควำมสิ้นเปลืองทรัพยำกร วัสดุ อุปกรณ์เครื่องใช้ 3. ลดปริมำณกำรเก็บ/สำรองวัสดุสิ่งของ 4. ลดกำรเก็บเอกสำรซ้ำซ้อน 5. เหลือเนื้อที่ของห้องทำงำน ตู้ หรือชั้นเก็บเอกสำรไว้ใช้ประโยชน์มำกขึ้น 6. ลดเวลำกำรค้นหำเอกสำร 7. สถำนที่ทำงำนดูกว้ำงขวำง โปร่ง / สะอำดตำยิ่งขึ้น 8. ลดข้อผิดพลำดจำกกำรทำงำน

ข้อควรระวัง

ของดีติดไปกับของไม่ดี = สูญเปล่า ของไม่ดีตดิ ไปกับของดี = เสียชื่อ กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


20

ผังแสดงวิธีการสะสาง Flow Chart

ขั้นตอนปฏิบัติการยุทธการป้ายแดง • เริ่มดำเนินโครงกำรติดป้ำยแดง ประกอบด้วยสมำชิกจำกหลำยฝ่ำยงำน เช่น ฝ่ำยผลิต ฝ่ำยจัดซื้อ ฝ่ำยควบคุมพัสดุ เป็นต้น โดยกำหนดระยะเวลำดำเนินโครงกำรที่ชัดเจนและต้องแจ้งต่อผู้ปฏิบัติงำนในพื้นที่ ไม่ให้ปกปิดหรือซ่อนเร้นสิ่งของที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ • จำแนกประเภทรำยกำรแต่ละพื้นที่ โดยกำหนดกลุ่มเป้ำหมำยเพื่อติดป้ำยแดง อย่ำงเช่น - คลังสินค้ำ : วัตถุดิบ ชิ้นส่วน งำนระหว่ำงผลิต(WIP) และผลิตภัณฑ์ - บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงำน : เครื่องจักร อุปกรณ์สนับสนุน แม่พิมพ์ - พื้นที่ว่ำง : พื้นที่ทำงเดิน ชั้นวำงของ • กำหนดเกณฑ์ติดป้ำยแดง เพื่อจำแนกรำยกำรที่ใช้งำนกับไม่ได้ใช้ออกจำกกันด้วยกำรตั้งคำถำมง่ำย ๆ เช่น สิ่งนี้มีควำมจำเป็นหรือไม่ ปริมำณเท่ำใด สถำนที่ควรใช้จัดเก็บ • จัดทำป้ำยแดง ด้วยกำรใช้กระดำษขนำด A4 เพื่อให้มองเห็นได้ชัดเจน สำหรับของในคลังสินค้ำให้ กรอกข้อมูลรำยละเอียด เช่น ชื่อรุ่น จำนวน ระยะเวลำที่ค้ำงสต็อก

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


21

ตัวอย่างป้ายแดง

• ดำเนินกำรติดป้ำยแดง • กำรประเมินและตัดสินรำยกำรที่ติดป้ำยแดง ดังเช่น - รำยกำรที่ค้ำงในสต็อกให้ทำกำรแยกรำยกำรป้ำยแดงออกเป็น Dead Stock กับรำยกำรสินค้ำค้ำง สต็อก - สำหรับเครื่องจักร ให้ดำเนินกำรเคลื่อนย้ำยหรือขจัดเครื่องจักรที่ไม่ได้ใช้งำนภำยหลังจำกกำรยื่นขอ กำรขจัดทิ้งตำมกฎเกณฑ์ที่ระบุไว้ • จัดทำเอกสำรรำยงำนผลลัพธ์จำกกำรติดป้ำยแดง โดยผลลัพธ์กำรดำเนินกำร 5ส ควรระบุตัวเลข ประกอบด้วย จำนวนควำมบกพร่องย่อยที่ถูกตรวจพบ ปริมำณของที่ไม่จำเป็นหรือเศษซำกวัสดุที่ค้ำงในสต็อก กำรลดปริมำณกำรใช้น้ำมันหล่อลื่น ระดับคะแนนเฉลี่ยของกิจกรรม 5ส จำนวนข้อเสนอแนะกำรปรับปรุง จำนวนจุดตรวจสอบและควำมบกพร่องที่ถูกตรวจพบ

การทา ส 2 สะดวก “หยิบง่าย หายก็รู้ ดูก็งามตา” หลักการสะดวก 1. 2. 3. 4.

วำงของที่ใช้งำนให้เป็นที่ทำง/มีป้ำยบอก นำของไปใช้งำนแล้วนำมำเก็บไว้ที่เดิม วำงของที่ใช้งำนบ่อยไว้ใกล้ตัว จัดของที่ใช้งำนให้เป็นหมวดหมู่

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


22

ขั้นตอนวิธีการด่าเนินกิจกรรมสะดวก

รายละเอียดการด่าเนินการในแต่ละขั้นตอน มีดังนี้ 1. กำรกำหนดที่วำงของในสำนักงำน ตู้เก็บเอกสำร ชั้นวำงของ โต๊ะทำงำน เครื่องถ่ำยเอกสำร โต๊ะวำง คอมพิวเตอร์ โต๊ะพิมพ์ดีด ควรจัดทำผังห้องทำงำนและตำแหน่งของอุปกรณ์ต่ำง ๆ ดังกล่ำวไว้เพื่อให้ ทรำบทั่วไป (หลังจำกมีกำรปรึกษำหำรือร่วมกันแล้ว) ต่อจำกนั้นควรศึกษำเทคนิคในกำรวำงของและ เลือกใช้ให้เหมำะสม เช่น  กำรจัดแยกของใช้ตำมหน้ำที่ในกำรใช้งำนและนำวำงไว้ในที่กำหนดไว้ (ตำมผัง)  ควรวำงสิ่งของที่จำเป็นต้องใช้บ่อย ๆ ไว้ให้ใกล้มือ ส่วนของที่ไม่ใช้บ่อย หรือนำน ๆใช้ให้วำงแยกไว้ ต่ำงหำก  กำรวำงของที่มีรูปทรงสูงให้วำงไว้ด้ำนใน (ของตู้ / ชั้นเก็บของ) ส่วนของที่มีรูปทรงต่ำกว่ำให้วำงไว้ ด้ำนนอก  กำรวำงของหนัก ควรวำงไว้ข้ำงล่ำง (ของตู้/ชั้นเก็บของ) ส่วนของที่เบำให้วำงไว้ข้ำงใน  สำหรับของที่ใช้บ่อยครั้งวำงไว้ในระดับควำมสูงเท่ำกับช่วงตัว ประโยชน์ที่ได้รับจากสะดวก 1. ลดเวลำกำรหยิบของมำใช้งำน โดยไม่ต้องเสียเวลำค้นหำ 2. ลดเวลำกำรทำงำนในภำพรวม ทั้งนี้ หำกงำนดังกล่ำวสะดวกเป็นงำนเกี่ยวกับกำรใช้บริกำร ประชำชนก็จะทำให้ประชำชนได้รับบริกำร ที่รวดเร็วขึ้น 3. ตรวจสอบสิ่งของต่ำง ๆ ง่ำยขึ้น ดูงำมตำ 4. เพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำน ถ้ำหำกทำงำนในแต่ละเรื่อง / แต่ละชิ้น เสร็จเร็วขึ้น ก็จะมี เวลำทำงำนอื่น ๆ ได้เพิ่มมำกขึ้น กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


23

5. เพิ่มคุณภำพของผลผลิต/ผลงำน ทั้งนี้จำกกำรที่ผู้ปฏิบัติงำนมีเวลำตรวจสอบคุณภำพ ของ งำนที่จะส่งมอบให้ประชำชนผู้รับบริกำร ให้มีควำมถูกต้องสมบูรณ์ครบถ้วนมำกยิ่งขึ้น ซึ่งจะ ทำให้เกิดภำพลักษณ์ ที่ดีต่อหน่วยงำนด้วย 6. ขจัดอุบัติเหตุทำให้ผู้ปฏิบัติงำนได้รับควำมปลอดภัยในกำรทำงำนยิ่งขึ้น 7. เป็นกำรสร้ำงสภำพแวดล้อมที่ดีในกำรทำงำน ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภำพกำย และใจทั้งของ ผู้ปฏิบัติงำนและประชำชนผู้รับบริกำร

การทา ส 3 สะอาด “เสียเวลาเก็บของเข้าที่ 1 นาที ดีกว่าค้นหา 45 นาที” ท่าไมต้องท่ากิจกรรมสะอาด 1. สภำพแวดล้อมหรือบรรยำกำศในกำรทำงำนไม่สดชื่น แจ่มใส 2. เครื่องมือ/เครือ่ งใช้หรือวัสดุอุปกรณ์ในกำรทำงำนเสื่อมสภำพ หรือเสียบ่อยใช้งำนไม่สะดวก 3. ค้นหำสำเหตุท่อี ำจก่อให้เกิดควำมสกปรกเลอะเทอะ หรือเกิดเศษขยะต่ำงๆ เพื่อหำทำงขจัด สำเหตุของปัญหำ และวำงแผนดำเนินกำรแก้ไข 4. ปัด กวำด เช็ดถู ให้ทั่วถึงไม่เว้นแม้กระทั่งจุดเล็ก ขอบหรือมุมอับต่ำง ๆ 5. ทำร่วมกันทั้งหน่วยงำน “BIG CLEANING DAY” อย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง หลักส่าคัญในการท่าความสะอาด 1. ต้องมีกำรมอบหมำยควำมรับผิดชอบ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่ำงๆ เพื่อให้ผู้ทำควำมสะอำด ประจำ 2. อุปกรณ์ เครื่องใช้ ถ้ำใช้งำนร่วมกัน เมื่อใช้งำนเสร็จแล้วให้ทำควำมสะอำดทันที หำกเป็น ของที่ใช้เพียงผู้เดียวให้ทำควำมสะอำดก่อนเริ่มทำงำนและหลังเลิกทำงำน 3. ควรมีกำรกำหนดช่วงเวลำกำรทำควำมสะอำดอุปกรณ์เครื่องใช้เป็นประจำทุกวัน เช่น 5 นำทีและมีกำรกำหนดวันทำควำมสะอำดเป็นประจำในแต่ละสัปดำห์ แต่ละเดือน และ กำหนดวันควำมสะอำดครั้งใหญ่ โดยทุกคนทุกพื้นที่ทำ พร้อมกันอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง (BIG CLEANIANG DAY) 4. เมื่อทำได้ในช่วงระยะเวลำหนึ่ง อำจจะเป็น 1-3 เดือนแล้วควรมีกำรกำหนดแนวทำงวิธีกำร หรือขั้นตอนกำรทำควำมสะอำดทั่วทั้งสำนักงำน จุดที่ควรท่าความสะอาด 1. ตำมพื้น ฝำผนัง บริเวณมุมอับต่ำง ๆ 2. บนและใต้โต๊ะทำงำน ชั้นวำงของ ตู้เอกสำร (ทั้งภำยในและภำยนอกตู้) 3. บริเวณเครื่องมือ/อุปกรณ์ และที่ตัวเครื่องมือ/อุปกรณ์ เช่น เครื่องถ่ำยเอกสำร เครื่องพิมพ์ เครื่องทำสำเนำ ฯลฯ 4. เพดำนห้อง และมุมเพดำน 5. หลอดไฟ และฝำครอบหลอดไฟ กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


24

ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมสะอาด 1. สภำพ/บรรยำกำศกำรทำงำนสดชื่น น่ำทำงำน/น่ำอยู่ 2. ช่วยเพิ่มประสิทธิภำพกำรทำงำนของเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ 3. ช่วยยืดอำยุกำรใช้งำนของเครื่องมือ เครื่องใช้วัสดุอุปกรณ์ให้ยำวนำนยิ่งขึ้นลดอัตรำของเสีย (ที่เกิดจำกกำรเสื่อมสภำพของอุปกรณ์ อำทิ กระดำษ กรณีเครื่องถ่ำยเอกสำรถ่ำยได้ไม่ชัด)

ทั้งนี้สิ่งส่าคัญในการรณรงค์ให้ทุกคนรักษาความสะอาดก็ คือ หัวหน้าต้องลงมือท่าเอง

การทา ส 4 สุขลักษณะ “ท่า 3 ส เป็นนิจ สุขภาพจิตสดใส” ปฏิบัติ 3 ส คือ สะสาง สะดวก สะอาด อย่างต่อเนื่องและปรับปรุงให้ดีขึ้น ขั้นตอนการท่าสุขลักษณะ 1. กำหนดให้มีกำรปฏิบัติกิจกรรมโดยเฉพำะ สะสำง สะดวก สะอำด อย่ำงต่อเนื่อง เช่น สัปดำห์ละ 1 ครั้ง ตำมควำมเหมำะสมของหน่วยงำน 2. กำหนดมำตรฐำน หรือ แนวทำงในกำรปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ 3 ส แรก อย่ำงชัดเจน และเป็น ที่ยอมรับของสมำชิกในพื้นที่กำรกำหนดมำตรฐำนของพื้นที่โดยทั่วไปมักให้กลุ่มสมำชิกใน พื้นที่เป็นผู้กำหนดในช่วงเริ่มต้นทำกิจกรรม เพื่อให้สำมำรถปฏิบัติได้ง่ำย และได้รับควำม ร่วมมือจำกสมำชิกในพื้นที่ 3. แต่งตั้งคณะกรรมกำรติดตำมผลกำรดำเนินกิจกรรม 5 ส เพื่อให้เกิดกำรรักษำมำตรฐำน ต่อเนื่อง หลักเกณฑ์ 1. จะต้องรักษำสิ่งที่ทำดีมำแล้วทั้ง 3 ส ให้ดีตลอดไป 2. แก้ไขปรับปรุงสถำนที่ทำงำนให้สดชื่นน่ำทำงำน 3. กำหนดเป็นมำตรฐำนของ ส แต่ละ ส โดยลำดับวิธีปฏิบัติไว้อย่ำงชัดเจน ประโยชน์ที่ได้รับจากการท่าสุขลักษณะ 1. สถำนที่ทำงำนเป็นระเบียบเรียบร้อย สดชื่น น่ำทำงำน 2. ผู้ปฏิบัติงำนมีสุขภำพร่ำงกำยและจิตใจที่สมบูรณ์ 3. ผู้ปฏิบัติงำนเกิดควำมภำคภูมิใจในหน่วยงำน 4. ผู้ปฏิบัติงำนเข้ำใจวิธีกำรปฏิบัติ (สุขลักษณะ) อย่ำงมีมำตรฐำน 5. ประสิทธิภำพในกำรทำงำนเพิ่มขึ้น

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


25

การทา ส 5 สร้างนิสัย “ปฏิบัติตามกฎระเบียบ วินัย เป็นนิสัยที่ดี” สร้ำงนิสัย เป็นกิจกรรมที่สำคัญที่สุดของกิจกรรม 5 ส เนื่องจำกกิจกรรม 5 ส ในภำพรวมจะประสบควำมสำเร็จ หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับคนที่เป็นผู้นำกิจกรรมนี้มำดำเนินกำรโดยทำ 4 ส อย่ำงต่อเนื่องเป็นปกติจนกลำยเป็นนิสัย หลักการสร้างนิสัย 1. ปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ที่กล่ำวมำแล้วทั้ง 4 ส ให้ดีตลอดไป 2. ให้ควำมรู้เพิ่มเติมในด้ำนต่ำง ๆ 3. กระตุ้นให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติตำมมำตรฐำนและระเบียบของหน่วยงำน ในเรื่องรำวต่ำง ๆ อย่ำงเคร่งครัด 4. กำหนดวันทำกิจกรรม 5 ส เป็นประจำทุกวัน อำทิ 5 นาที กับ 5 ส”หรือเป็นประจำทุก สัปดำห์เช่น วันทำควำมสะอำดประจำสัปดำห์ 5. ผู้บริหำรต้องคอยกระตุ้นและติดตำมกำรปฏิบัติเสมอ โดยถือว่ำกำรทำกิจกรรม 5 ส เป็น ส่วนหนึ่งของกำรปฏิบัติงำนปกติประจำ 6. จัดกิจกรรมส่งเสริม เช่น กำรประกวดพื้นที่และมอบรำงวัล เพื่อสร้ำงขวัญและกำลังใจต่อ ผู้เข้ำร่วมกิจกรรม

“วันนี้ต้องดีกว่าเมื่อวาน และ พรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี”้ แนวทางการปฏิบตั ิในการด่าเนินงาน มีกำรประกำศเป็นนโยบำยอย่ำงชัดเจน ถึงกำรนำกิจกรรม 5ส ประยุกต์ใช้ในหน่วยงำน เพื่อก่อให้เกิด ควำมสะดวกในกำรปฏิบัติงำน และผู้รับบริกำรเกิดควำมพึงพอใจสูงสุด มีกำรประชุมชี้แจงแก่เจ้ำหน้ำที่ทุกคน ให้รับทรำบนโยบำยครั้งนี้ แนวปฏิบัติกิจกรรม 5ส มีดังนี้ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลำกรขององค์กร มีควำมเข้ำใจและนำหลักกำรทำกิจกรรม 5ส ไปปฏิบัติ อย่ำงจริงจัง และต่อเนื่องเสมือนเป็นภำรกิจประจำ 2. ให้ผู้บังคับบัญชำทุกระดับให้กำรสนับสนุน ส่งเสริม และเป็นแกนนำในกำรดำเนินกิจกรรม 5ส และ กำกับติดตำมดูแล ตลอดจนให้คำแนะนำ และร่วมแก้ไขปัญหำ โดยให้ถือเป็นภำรกิจที่สำคัญ 3. จัดให้มีกำรทำกิจกรรม 5ส เป็นพื้นฐำนเพื่อพัฒนำ ปรับปรุงคุณภำพอย่ำงต่อเนื่อง 4. จัดให้มีกำรตรวจ ติดตำม ประเมินผลกำรดำเนินกิจกรรม 5ส เป็นระยะอย่ำงต่อเนื่อง 5. จัดให้มีกำรประชุมเพื่อนำเสนอผลกำรดำเนินกิจกรรมประสิทธิภำพกำรทำงำน 5ส เพื่อแลกเปลี่ยน ควำมรู้ ประสบกำรณ์ และพิจำรณำให้รำงวัลในควำมร่วมมือกำรทำกิจกรรม 5ส ทุกพื้นที่

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


26

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


27

แผนปฏิบตั ิในการดาเนินงานกิจกรรม 5ส ควำมสำเร็จเบื้องต้นของกำรนำกิจกรรม 5ส มำพัฒนำบุคลำกรจะเกิดขึ้นได้ เมื่อมีกำรวำงแผนโครงกำร 5ส ไว้อย่ำงชัดเจน และได้รับอนุมัติเห็นชอบให้นำแผนโครงกำรออกปฏิบัติอย่ำงจริงจัง ส่วนมำกจะวำงแผนตำม วงจรเดมมิ่ง (PDCA) กล่ำวคือ วำงแผน (Plan) ลงมือ (Do)ตรวจสอบประเมินผล (Check) และปฏิบัติ (Act) กำรจำแนกกิจกรรมที่เ ป็น ลำดั บงำน ซึ่ง ต้องทำแผน จะมีส่วนแตกต่ำงในรำยละเอี ยดบ้ ำงแต่ ส่วนใหญ่ ก็ มี หลักกำรเดียวกัน คือ 1. ประชุมเจ้ำหน้ำที่ระดับบริหำร ชี้แจงโครงกำรและทำควำมเข้ำใจอย่ำงชัดเจนถึงนโยบำย 2. ถ่ำยรูปทุกๆ จุดในสถำนประกอบกำร 3. ประกำศนโยบำย 5ส เป็นทำงกำร 4. จัดกำรฝึกอบรม ให้ควำมรู้เรื่องกิจกรรม 5ส แก่เจ้ำหน้ำที่ระดับบริหำร และหัวหน้ำงำน 5. ประกำศแต่งตั้งคณะกรรมกำร 5ส 6. ประชุมพนักงำนระดับหัวหน้ำงำน ชี้แจงแผนงำนโครงกำร 5ส และดำเนินกำรแบ่งเขตควำม รับผิดชอบ 7. จัดกำรฝึกอบรม ให้ควำมรู้เรื่อง “กิจกรรม 5ส” แก่พนักงำนทุกคนในสำนักงำนและสถำน ประกอบกำร 8. จัดเยี่ยมชมหน่วยงำนที่เป็นตัวอย่ำงในกำรทำ 5ส อย่ำงได้ผลดี 9. จัดทำแผนงำน ดำเนินกิจกรรม 5ส 10. หัวหน้ำงำนประชุมชี้แจงพนักงำนภำยในหน่วยงำนและแจ้งกำหนดกำรปฏิบัติ 5ส 11. ติดโปสเตอร์สโลแกน 5ส ภำยในสถำนประกอบกำร/สำนักงำน 12. ดำเนินกำรประชำสัมพันธ์ โครงกำร 5ส อย่ำงต่อเนื่อง 13. รณรงค์ทำควำมสะอำดครั้งใหญ่ (Big Cleaning Day) ทุกหน่วยงำน 14. คณะกรรมกำร 5ส เดินตรวจสภำพควำมเรียบร้อยทุกพื้นที่ 15. จัดประชุมระดับหัวหน้ำงำน เพื่อประเมินผลกำรรณรงค์ 16. จัดนิทรรศกำร 5ส เพื่อกระตุ้นบรรยำกำศของควำมร่วมมือร่วมใจ 17. คณะกรรมกำรทำกำรตรวจให้คะแนนและให้คำแนะนำ 18. ประกำศผลกำรแข่งขันทำกิจกรรม 5ส และมอบรำงวัลพื้นที่ชนะเลิศ 19. จัดประชุมวำงแผนระยะยำวในกำรทำกิจกรรม 5ส 20. จัดสัปดำห์รณรงค์ “สัปดำห์ 5ส” 21. คณะกรรมกำร 5ส ตรวจประเมินผลให้คะแนนมอบรำงวัลพื้นที่ชนะเลิศ 22. ประชุมจัดวำงระบบกำรทำงำนและตั้งมำตรฐำนของ ส 1 2 3 เพื่อให้เกิด ส 4 และ ส 5

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


28

ตัวอย่างแผนปฏิบัติกิจกรรม 5ส

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


29

ขั้นตอนการด่าเนินการกิจกรรม 5ส เพื่อให้กำรทำ 5ส เป็นระบบจึงควรทำอย่ำงเป็นกระบวนกำรโดยมีขั้นตอนสำคัญ 5 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 : กำรเตรียมกำร ขั้นตอนที่ 2 : ผู้บริหำรระดับสูงประกำศนโยบำยกำรทำ 5ส อย่ำงเป็นทำงกำร ขั้นตอนที่ 3 : จัดให้มีกำรทำควำมสะอำดครั้งใหญ่ (Big Cleaning Day) ขั้นตอนที่ 4 : ดำเนินกำรทำ สะสำง สะดวก สะอำด และทำอย่ำงต่อเนื่องเป็นประจำทุกวัน ขั้นตอนที่ 5 : ตรวจประเมินผล 5ส เป็นระยะ ขั้นตอนที่ 1 : การเตรียมการ ผู้บริหำรระดับสูงทำควำมเข้ำใจแนวคิด ควำมหมำย ควำมสำคัญและประโยชน์ของกำรทำ 5ส อย่ำง ถ่องแท้ ➫ นำคณะผู้บริหำรเยี่ยมชมหน่วยงำน ที่ทำ 5ส ได้ประสบผลสำเร็จ ➫ ผู้บริหำรต้องมีข้อตกลงใจร่วมกันที่จะนำ 5ส มำพัฒนำคนและพัฒนำองค์กร ➫ จัดตั้งคณะกรรมกำร 5ส ➫ แต่งตั้งผู้ประสำนงำน 5ส ➫ ฝึกอบรมคณะกรรมกำรและผู้ประสำนงำน ➫ ฝึกอบรมผู้บริหำรทุกระดับให้เข้ำใจกิจกรรม 5ส และอธิบำยวัตถุประสงค์โครงกำรให้เข้ำใจและ เห็นพ้องต้องกัน ขั้นตอนที่ 2 : ผู้บริหารระดับสูงประกาศนโยบายการท่า 5ส อย่างเป็นทางการ ➫ ผู้บริหำรประกำศนโยบำยกำรนำ 5ส มำใช้ในองค์กร โดยผู้บริหำรต้องอธิบำยหลักกำร ซึ่งจะใช้เป็น กรอบหรือแนวทำงปฏิบัติให้ชัดเจน ➫ ประกำศผังกำรบริหำรองค์กร 5ส ➫ กำหนดกำรส่งเสริมกิจกรรม 5ส ➫ จัดทำแผนผังพื้นที่รับผิดชอบ ➫ จัดทำป้ำยนิเทศ 5ส

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


30

ขั้นตอนที่ 3 : จัดให้มีการท่าความสะอาดครั้งใหญ่ (Big Cleaning Day) ➫ แบ่งพื้นที่ในกำรทำ 5ส ให้ทุกคนรับผิดชอบ ➫ ถ่ำยภำพของพื้นที่แต่ละจุด ก่อนเริ่มกำรทำ 5ส ➫ จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ทำควำมสะอำดให้พร้อม ➫ ทุกคนร่วมกันทำควำมสะอำดทุกพื้นที่ รวมทั้งพื้นที่ส่วนกลำง ➫ ผู้บริหำรทุกคนเข้ำร่วมกำรทำควำมสะอำดพื้นที่ของตนด้วย ➫ ทุกคนต้องร่วมกันสะสำงแยกสิ่งของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ออกและจัดเก็บสิ่งของที่ต้องใช้จัดวำงให้ สะดวกแก่กำรหยิบใช้และทำควำมสะอำดพื้นที่ซึ่งเป็นที่ทำงำนของตน

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


31

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


32

ขั้นตอนที่ 4 : ด่าเนินการท่า สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย ➫ สำรวจพื้นที่ในหน่วยงำน เพื่อเก็บข้อมูลหัวข้อที่ต้องปรับปรุง ➫ นำหัวข้อที่ต้องกำรปรับปรุงมำทำเป็นแผนกำรดำเนินงำน โดยมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ➫ รวบรวมข้อมูลกำรสะสำง หรือผลที่ได้จำกกำรปรับปรุง ➫ เมื่อปฏิบัติตำมแผนงำนจนเป็นกิจวัตรแล้ว ให้กำหนดเป็นมำตรฐำน 5ส ➫ ถ่ำยภำพ หรือ Slide แต่ละจุดที่ได้มีกำรปรับปรุงและกำหนดเป็นมำตรฐำนแล้ว

ขั้นตอนที่ 5 : การตรวจประเมินผลการด่าเนินกิจกรรม 5ส ➫ เป็นขั้นตอนกำรประเมินผล ➫ มิใช่กำรจับผิดหรือชี้ข้อบกพร่อง ➫ ต้องมีกรรมกำรกำรตรวจที่รู้บทบำทหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


33

➫ กำรใช้แบบพิมพ์กำรตรวจ ต้องออกแบบให้เหมำะสม ➫ กำรให้คะแนนควรมีหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องเหมำะสม ➫ กำรตรวจต้องมีมำรยำท

การจัดตั้งมาตรฐานเพื่อการทางานในพื้นที่ มาตรฐาน คือ สิ่งที่ถือเป็นหลักสำหรับเทียบกำหนด มำตรฐำน 5ส จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่ำงยิ่ง เพรำะ กำรตรวจ 5ส กำรให้คะแนน 5ส ก็จะต้องยึดมำตรฐำน 5ส เป็นหลักที่จะนำผลของกำรทำ 5ส มำเทียบ ประกำร สำคัญของผู้ทำ 5ส ก็จะต้องรักษำมำตรฐำน 5ส ไว้ให้ได้ และพยำยำมยกระดับมำตรฐำน 5ส ให้สูงขึ้นไปเรื่อยๆ อย่ำงต่อเนื่อง หลักในการก่าหนดมาตรฐาน 5ส 1. เข้ำใจง่ำย 2. เป็นตำรำงหรือแผนภำพประกอบคำบรรยำย 3. ทุกคนสำมำรถปฏิบัติตำมได้ 4. มีกำรเปลี่ยนแปลงแก้ไขมำตรฐำนได้ตำมควำมเหมำะสมเป็นระยะ ๆ แต่ละพื้นที่หรือหน่วยงำนไม่ จำเป็นต้องมีมำตรฐำนเหมือนกัน แนวทางในการก่าหนดมาตรฐาน 5ส 1. กำหนดมำตรฐำน 5ส โดยใช้หลักกำรของ 3ส แรก (สะสำง สะดวก สะอำด) เป็นหลัก 2. สะสำง : กำหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติในกำรสะสำงให้ชัดเจน 3. สะดวก : กำหนดตำแหน่งกำรวำงของป้ำยแสดงที่ตั้งสิ่งของ หรือเอกสำรต่ำงๆ ให้เป็นระบบ สำมำรถหยิบใช้งำนได้ง่ำยโดยไม่ต้องถำมว่ำของนั้นอยู่ที่ไหนหรือใครเอำไป 4. สะอำด : กำหนดขั้นตอนกำรทำควำมสะอำดในบริเวณต่ำงๆ มีกำรแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ กำหนด หน้ำที่ กำรดูแลรักษำอุปกรณ์ของแต่ละคนให้ชัดเจน

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


34

ตัวอย่างการก่าหนดมาตรฐาน 5ส ประกาศกรมอนามัย เรื่อง หลักเกณฑ์ 5ส กรมอนามัย โดยที่เป็นกำรสมควรในกำรกำหนดหลักเกณฑ์แนวทำงปฏิบัติในกิจกรรม 5ส สำหรับหน่วยงำนภำยในสังกัดกรม อนำมัย เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกำรปรับปรุง พัฒนำ และสร้ำงเสริมสุขภำพในสถำนที่ทำงำนให้มีควำมสะอำด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี และมีชีวิตชีวำอันจะส่งผลดีต่อประสิทธิภำพกำรทำงำน รวมทั้งมีกำรดำเนินงำนอย่ำง ต่อเนื่อง จนเกิดเป็นแบบอย่ำงที่ดีและเป็นวัฒนธรรมองค์กรกรมอนำมัยต่อไป โดยมีรำยละเอียด ดังนี้ 1. โต๊ะท่างาน - จัดวำง โทรศัพท์ ปฏิทินตั้งโต๊ะ ตะแกรง แผ่นรองเขียน เครื่องคิดเลขและกล่องใส่เอกสำร ไม่เกิน 2 กล่อง ให้เหมำะสม สวยงำม บนโต๊ะ - ในเวลำทำกำรให้มีเอกสำรและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรทำงำนเท่ำนั้น และจัดวำงอย่ำงเป็นระเบียบ - นอกเวลำทำกำรให้เก็บเอกสำร อุปกรณ์ และของใช้ต่ำงๆ ทั้งที่เกี่ยวกับงำนและของส่วนตัวให้เป็น ระเบียบ เรียบร้อย ใต้โต๊ะ - รองเท้ำสำรอง 1 คู่ จัดวำงให้เรียบร้อย ลิ้นชัก / ตู้ - ลิ้นชัก / ตู้จัดให้เป็นระเบียบและสะอำด ใต้กระจกโต๊ะ - ไม่มีวัสดุใดอยู่ใต้กระจก 2. เก้าอี้ - ให้เก็บเก้ำอี้และสิ่งของทุกชนิดให้เข้ำที่และเรียบร้อย ทุกครั้งที่ไม่ใช้งำน 3. ตู้เก็บเอกสาร - ต้องติดสำรบัญแฟ้มเอกสำรและหน่วยงำนรับผิดชอบไว้หน้ำตู้และลิ้นชัก - เก็บเอกสำรหันสันปกออกด้ำนนอก โดยคำนึงถึงควำมสวยงำมควำมสะดวกในกำรหยิบใช้ - ไม่ควรวำงสิ่งของบนหลังตู้ ยกเว้น สิ่งที่จำเป็นและจัดวำงอย่ำงเป็นระเบียบ 4. แฟ้ม - ให้มีป้ำยบอกหมำยเลข ชื่อเรื่องทุกสันแฟ้ม รูปแบบสันแฟ้มให้แต่ละหน่วยงำนเป็นผู้กำหนด

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


35

5. สถานที่ถ่ายเอกสาร / อัดส่าเนา - จัดสถำนที่ให้เหมำะสม มีกำรระบำยอำกำศดี - จัดเก็บกระดำษถ่ำยเอกสำรที่ใช้แล้วและยังไม่ได้ใช้อย่ำงเป็นระเบียบ - จัดเก็บอุปกรณ์จัดทำเอกสำรวำงเป็นหมวดหมู่อย่ำงเป็นระเบียบ - ปิดไฟฟ้ำ พัดลม และถอดปลั๊กไฟออกให้เรียบร้อยหลังเลิกใช้งำนทุกวัน 6. มุมกาแฟ - จัดให้เป็นระเบียบและดูแลควำมสะอำดอย่ำงสม่ำเสมอ 7. เครื่องพิมพ์ดีด / เครื่องคอมพิวเตอร์ / ปริ้นเตอร์ - อุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องคอมพิวเตอร์ และปริ้นเตอร์ต้องจัดเก็บให้เรียบร้อย - ปิดเครื่องและถอดปลั๊กไฟออกหลังเลิกใช้งำนทุกวัน - ทำควำมสะอำดเครื่องเป็นประจำ 8. บานหน้าต่าง - ห้ำมติดสิ่งของทุกชนิดโดยเด็ดขำด กระจกต้องใสสะอำดอยู่เสมอ 9. บานประตู - ติดป้ำยแสดงสัญลักษณ์ของห้อง เช่น ห้องประชุม ห้องผู้อำนวยกำร ห้องสุขำ - ประตูกระจกใสต้องติดเครื่องหมำยที่เห็นได้อย่ำงชัดเจน เพื่อป้องกันกำรชน 10. ผนังในห้องสุขา - ป้ำยห้ำมสูบบุหรี่ - ติดป้ำยให้ควำมรู้เรื่องกำรใช้ห้องสุขำหรือควำมรู้ทั่วไป 11. บอร์ด / บอร์ดติดประกาศ - ติดตั้งในตำแหน่งที่เหมำะสม มองเห็นได้อย่ำงทั่วถึง - ประกำศที่นำมำติด ต้องเป็นเรื่องที่ทันสมัย - กำรติดประกำศ ควรติดให้อยู่ในแนวเดียวกันอย่ำงเป็นระเบียบ

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


36

12. ถังขยะ - ถังขยะต้องถูกสุขลักษณะ (ไม่รั่วซึม มีฝำปิดมิดชิด) - ตั้งอยู่ในที่สะดวกในกำรใช้งำน และมีจำนวนเหมำะสม - นำขยะเททิ้งทุกวันหลังเลิกงำน 13. อื่น ๆ - ดูแลและรักษำควำมสะอำดเรียบร้อย อุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงำนในบริเวณโต๊ะทำงำนและบริเวณ ใกล้เคียง - เมื่อพบว่ำอุปกรณ์ และเครื่องใช้สำนักงำนชำรุดหรือเสียหำยให้แจ้งผู้รับผิดชอบ ซ่อมแซม หรือเปลี่ยน ใหม่ ตำมสมควร - ห้องพัสดุให้ติดชื่อหน่วยงำน / เบอร์โทรศัพท์ ประกำศ ณ วันที่......เดือน...................พ.ศ. ........... (.............................................) กรรมกำรผู้จัดกำร

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


37

การพัฒนามาตรฐาน 5ส 1. รักษำมำตรฐำน 3ส แรกไว้เป็นพื้นฐำนก่อน 2. ส่งเสริมให้สมำชิกพื้นที่ร่วมกันคิดยกระดับมำตรฐำน 3. จัดให้สมำชิกพื้นที่ได้มีโอกำสไปเยี่ยมชมพื้นที่ตัวอย่ำงของหน่วยงำนอื่นๆ 4. เผยแพร่มำตรฐำนกำรจัดทำกิจกรรมที่สำมำรถรักษำสภำพเดิมให้แก่พื้นที่อื่นๆ 5. ประชุมทบทวนควำมเปลี่ยนแปลงที่เจริญรุดหน้ำขึ้น 6. ประมวลมำตรฐำน 5ส จำกหน่วยงำนต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอกเป็นฐำนข้อมูล 7. กระตุ้นให้สมำชิกพื้นที่ทุกแห่งเสนอมำตรฐำนที่สูงขึ้น และเกิดกำรยอมรับร่วมกัน

ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็จในการทากิจกรรม 5 ส กำรทำกิจกรรม 5 ส จะประสบควำมสำเร็จมำกน้อยเพียงไร ขึ้นอยู่กับปัจจัยสำคัญ 2 ด้ำน คือด้ำน บุคคลและด้ำนกำรดำเนินงำน

ด้านบุคคล ผู้บริหำรระดับสูง 1. ต้องให้ควำมสำคัญและสนับสนุนอย่ำงจริงจัง โดยถือว่ำกำรทำกิจกรรม 5 ส เป็นส่วนหนึ่งของกำร ทำงำนปกติ 2. ต้องเอำใจใส่เข้ำไม่มีส่วนร่วม อำทิ เป็นประธำนกรรมกำร 5 ส ของหน่วยงำน และคอยติดตำมผลอยู่ ตลอดเวลำ 3. ต้องทำหน้ำที่ ดังนี้  ทำตนให้เป็นตัวอย่ำงที่ดีในกำรทำ 5 ส เช่น ลงมือสะสำง และทำควำมสะอำดร่วมกับ เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำน  ตรวจสอบกำรดำเนินงำน 5 ส ของผู้ใต้บังคับบัญชำอยู่เสมอ  ชมเชยหน่วยงำนที่ทำ 5 ส ได้ผลดี ผู้ปฏิบัติงำน 1. ทุกคนต้องมีควำมเข้ำใจหลักกำรขั้นตอน วิธีกำรทำกิจกรรม 5 ส 2. ทุกคนต้องมีส่วนร่วมเป็นผู้จัดทำกิจกรรม 5 ส (ไม่มีผู้สังเกตกำรณ์)

ด้านการด่าเนินงาน 1. ต้องมีกำรให้กำรศึกษำอบรมเพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจกำรทำกิจกรรม 5 ส ให้ทุกคนในหน่วยงำนทรำบ รวมทั้งจัดให้มีกำรศึกษำดูงำนที่สำมำรถเป็นตัวอย่ำงได้ รวมทั้งขจัดข้อสงสัยทั้งปวง ต่อคำถำมที่ว่ำ ทำไมต้องทำ 5 ส 2. มีกำรกำหนดมำตรฐำน และปรับระดับมำตรฐำนให้สูงขึ้น 3. มีกำรติดตำมประเมินผลอย่ำงต่อเนื่อง รวมทั้งมีระบบรำยงำนผลควำมคืบหน้ำของกิจกรรม 5 ส ให้ ทรำบทั่วกัน 4. จัดให้มีกิจกรรมเพื่อกระตุ้นส่งเสริมกำรทำกิจกรรม 5 ส เป็นประจำ เช่น  จัดทำป้ำย คำขวัญ โปสเตอร์ กระดำนข่ำว กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


38

 จัดทำคู่มือ แผ่นพับ และเอกสำรเผยแพร่  กำรตรวจพื้นที่เป็นระยะโดยผู้บริหำร เช่น กำรจัดให้มีกิจกรรม Morning Rally โดยไม่ บอก ล่วงหน้ำ เมื่อผู้บริหำรตรวจพื้นที่ใดแล้ว อำจให้ข้อสังเกต/ตักเตือน ในรูปสัญลักษณ์ เช่น ติดโบร์ แดงที่โต๊ะที่รกรุงรังเพื่อให้เจ้ำของโต๊ะปรับปรุงให้ดีขึ้น 5 ทำกิจกรรม 5 ส ควบคู่ไปกับกิจกรรมอื่น อำทิ กิจกรรมปรับปรุง หรือระบบข้อเสนอแนะสำคัญที่สุด ก็ คือ ควำมพยำยำมอย่ำงต่อเนื่องเพื่อทำ วันนี้ให้ดีกว่าเมื่อวานนี้ และท่าพรุ่งนี้ให้ดีกว่าวันนี้

การจัดบอร์ด 5 ส องค์ประกอบของการจัดบอร์ด 5 ส : 1. แผนผังโดยรวมของพื้นที่ 5 ส (Lay out) : ติดรูปแสดงสมำชิกที่รับผิดชอบแต่ละพื้นที่ย่อย กำรแสดง แผนผังโดยรวมเพื่อดูว่ำ มีพื้นที่รับผิดชอบเท่ำใด ใครเป็นผู้รับผิดชอบบ้ำง เพื่อประโยชน์ในกำรติดตำม ผล ผู้รับผิดชอบพื้นที่ควรมีกำรหมุนเวียนเปลี่ยนกัน เพื่อประเมินผลควำมก้ำวหน้ำของกิจกรรมเป็น ระยะ ๆ 2. เป้ำหมำยของกำรทำกิจกรรม 5 ส : สอดคล้องกับกำรที่ได้ทำกำรสำรวจพื้นที่ก่อนทำกิจกรรมว่ำมีควำม เป็นไปได้มำกน้อยเพียงใด ในกำรที่จะบรรลุเป้ำหมำยในช่วงระยะเวลำที่ เรำกำหนดขึ้น 3. มำตรฐำน 5 ส : กลุ่มจะต้องเป็นผู้กำหนดมำตรฐำนของแต่ละ ส โดยสมำชิกในกลุ่มจะต้องสำรวจและ พิจำรณำว่ำในพื้นที่นั้น ๆ มีปัญหำอะไรและควรมีอุปกรณ์ที่จำเป็นอะไรบ้ำง โดยกำหนดแยกเป็น รำยละเอียดของ ส สะสำง จำกนั้นก็กระจำยไปยัง ส2, ส3, ส4 กำหนดเป็นมำตรฐำนของพื้นที่ขึ้นแล้ว นำมำลองปฏิบัติและพัฒนำมำตรฐำนของงำนให้ดีขึ้นไปเรื่อยๆ 4. ถ่ำยภำพแสดงสภำพพื้นที่ก่อนทำ 5 ส และหลังทำเป็นระยะ ๆ วัน เดือน ปี ที่ถ่ำยภำพแสดงให้เห็นถึง ควำมเปลี่ยนแปลงในกำรทำ 5 ส ในมุมเดียวกัน หรือเป็นภำพแสดงกำรทำกิจกรรมของสมำชิกในพื้นที่ 5. ปฏิทินกิจกรรมกำรดำเนินงำน 5 ส เพื่อเป็นแนวปฏิบัติให้บุคลำกรรับทรำบ 6. ผลกำรประเมินเพื่อเป็นกำรประเมินผลกำรดำเนินกำร 5 ส ของพื้นรับผิดชอบของตนเอง และผลกำร ประเมินภำยนอกจำกคณะกรรมกำรติดตำมและประเมินผลกำรดำเนินงำน 5 ส

กลยุทธ์การชักจูงเพื่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5ส 1. สร้ำงกำรมีส่วนร่วม ประกวดค่าขวัญ “ก่าหนดเกณฑ์ในการตรวจ” มีส่วนในการก่าหนดแผนงาน “ข้อเสนอแนะ” 2. กำรพำไปศึกษำดูงำน / คำแนะนำจำกคนภำยนอก 3. กำรกำหนดกลยุทธ์ต่ำง ๆ เช่น 5 นำที 5ส วันพุธยุทธกำร 5ส 5 สิงหำ 5ส 4. กำรตรวจของผู้บริหำร 5ส และกำรทำเป็นตัวอย่ำง 5. จัดประกวดพื้นที่ 6. กำรใช้สื่อต่ำง ๆ เช่น โปสเตอร์ เข็มกลัด เสียงตำมสำย ฯลฯ 7. แต่ละโซน 5ส ต้องมีแผนรณรงค์ในกำรปฏิบัติกิจกรรม

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


39

แนวทางการท่า 5ส ให้ได้ผลดี 1. สะสำงให้ได้ (Eliminate) 2. ใช้ร่วมกัน (Combine) 3. โยกย้ำย (Rearrange) 4. ทำให้ง่ำย (Simplify) 5. ทำงำนเป็นทีม (Group Oriented)

ตัดสินใจมอบให้คนอื่น มีในสิ่งที่ควรมี ไม่โดดเดี่ยว เอกเทศ ประหยัด ลดต้นทุน ไม่ซ้ำซำก น่ำเบื่อ ทันสมัย มีระเบียบ ไม่ซับซ้อน เพิ่มประสิทธิภำพ เพิ่มผลงำน มีระเบียบวินัย

ข้อแนะน่า กิจกรรม 5ส ทีบ่ รรลุได้ 1. ผู้บริหำรระดับสูงมีควำมมุ่งมั่นอย่ำงแรงกล้ำในกำรเป็นผู้นำและสนับสนุนอย่ำงเต็มที่ 2. ทุกหน่วยงำนต้องมีส่วนร่วม และให้ควำมร่วมมือด้วยดี(Participation by all, Supported by all) 3. ผู้บริหำรหัดเดินดูโดยรอบสม่ำเสมอเป็นนิจ 4. ต้องดำเนินกิจกรรม 5ส ควบคู่ไปกับกิจกรรม KAIZEN เพื่อยกระดับ ดังที่แนะนำไว้แล้วแต่ต้น 5. รณรงค์กระตุ้นส่งเสริมบรรยำกำศกำรปฏิบัติกิจกรรม 5ส บำรุงขวัญกำลังใจพนักงำนทุกระดับ ตำแหน่งงำน ประชำสัมพันธ์ภำยในให้เกิดควำมคึกคัก มีชีวิตชีวำ 6. ทำเป็นแบบอย่ำงที่ดีโดย “นำย” ทุกระดับ และหมั่นทำให้พร้อมเพรียงกันและจริงจังตลอดเวลำ

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


40

ตัวอย่างแบบตรวจประเมิน 5ส

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


41

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


42

บทที่ 5 สรุป กำรสร้ำงนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน ต้องพัฒนำอย่ำงมีระบบเริ่มจำกผู้บริหำร องค์กรเป็นแบบอย่ำงที่ดี หัวหน้ำงำนเป็นแบบอย่ำงที่ดี แสดงถึงควำมตั้งใจในกำรทำงำนให้อยู่ในกฎระเบียบกำร ปฏิบัติงำนของบริษัท จัดให้มีกำรฝึกอบรมให้ควำมรู้ ฝึกทักษะในกำรทำงำน สร้ำงควำมมีส่วนร่วม ให้พนักงำน ทุกส่วนมีส่วนร่วมในกำรเสนอควำมคิดเห็น แนวปฏิบัติ ร่วมลงมือทำร่วมกัน ประเมินกำรปฏิบัติงำนร่วมกัน กำรเพิ่มผลิตภำพจะเกิดขึ้นได้โดยกำรวำงแผนกำรดำเนินงำนด้วยกำรพัฒนำทุกส่วนในกระบวนกำร ผลิต ทั้งเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และพนักงำนทุกแผนก ทุกส่วนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกำรทำงำนให้มีทิศทำง ในกำรปฏิบัติงำนไปในทำงเดียวกัน โดยมีวิสัยทัศน์ ค่ำนิยม นโยบำยขององค์กรเพื่อเป็นตัวเป้ำหมำยร่วม ใน กำรปฏิบัติงำนให้มีประสิทธิภำพ มุ่งไปสู่ผลิตภำพ ผลผลิตที่มีคุณภำพที่ดีขึ้นต่อไป

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


43

เอกสารอ้างอิง http://thaipurchasing.com/article/ทั่วไป/สำระน่ำรู้/ควำมรู้เกี่ยวกับควำมปลอดภัยในกำรทำงำน http://www.temcathai.com/magazine/documents/volume_19_issue_1/temca_magazine_19_1 _47.pdf http://www.thaisafetywork.com/5-ส-สู่ควำมปลอดภัย/ http://home.dsd.go.th/uttaradit/images/pdf/nine.pdf

กำรสร้ำงเสริมนิสัยอุตสำหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภำพในกำรทำงำน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.