บทที่ 1 ความรู้ เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Agenda
ทำาความรู้ จกั กับคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะเด่ นของคอมพิวเตอร์ องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่ องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
รูจ้ กั กับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคำำนวณในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ที่ สำมำรถรับข้อมูลและคำำสัง่ ผ่ำนอุปกรณ์รบั ข้อมูล แล้วนำำข้อมูลและ คำำสัง่ นั้นไปประมวลผลด้วยหน่ วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ ต้องกำรและแสดงผลผ่ำนอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสำมำรถบันทึก รำยกำรต่ำงๆไว้เพื่อใช้งำนได้ดว้ ยอุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลสำำรอง
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 4’s Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความจำา (Storage) ความเร็ว (Speed) การปฏิบต ั งิ านอัตโนมัติ (Self Acting) ความน่าเชื่อถือ (Sure)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ควำมจำำ (Storage) เป็ นควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูลจำำนวนมำก และเป็ นระยะ เวลำนำน ซึ่งถือได้วำ่ เป็ น "หัวใจ" ของกำรทำำงำนแบบอัตโนมัติของ เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 ระบบคือ หน่วยความจำาหลัก (Primary Storage) หน่วยความจำารอง (Secondary Storage)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความเร็ว (Speed) เป็ นควำมสำมำรถในกำรประมวลผลข้อมูลภำยในเวลำที่ส้นั ที่สุด โดย ควำมเร็วของกำรประมวลผล พิจำรณำจำกควำมสำมำรถในกำรประมวลผล ซ้ำำ ๆ ในช่วงเวลำหนึ่ งๆ เรียกว่ำ "ควำมถี่ (Frequency)" โดยนับควำมถี่เป็ น "จำำนวนคำำสัง่ " หรือ "จำำนวนครั้ง" หรือ "จำำนวนรอบ" ในหนึ่ งนำที และเรียก หน่ วยนี้ ว่ำ Hz (Hertz = Cycle/Second)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) การปฏิบตั งิ านอัตโนมัติ (Self Acting) เป็ นควำมสำมำรถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในกำรประมวลผลข้อมูล ตำมลำำดับคำำสัง่ ได้อย่ำงถูกต้อง และต่อเนื่ อง โดยอัตโนมัติ ตำมคำำสัง่ และ ขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนุ ษย์) ได้กำำ หนดไว้
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความน่าเชื่อถือ (Sure) เป็ นควำมสำมำรถในกำรประมวลผลที่สง่ ผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถกู ต้อง โดยนับได้วำ่ เป็ นสิ่งสำำคัญที่สุดในกำรทำำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย ควำมสำมำรถนี้ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำำสัง่ และข้อมูล ที่นักคอมพิวเตอร์ได้ กำำหนดให้กบั เครื่องคอมพิวเตอร์
2. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบสำำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
เป็ นลักษณะทำงกำยภำยของเครื่องคอมพิวเตอร์ หมำยถึงตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้ำงที่เกี่ยวข้อง มีสว ่ นประกอบที่สำำ คัญคือ (Input Unit), หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยความจำาหลัก (Main Memory Unit) หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (Secondary Storage Unit) หน่วยรับข้อมูล
ส่วนประกอบที่สำำ คัญของฮำร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ CENTRAL PROCESSING UNIT
INPUT UNIT
OUTPUT UNIT
MEMORY
SECONDARY STORAGE
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.2 ซอฟต์แวร์ (Software) เป็ นชุดคำำสัง่ หรือโปรแกรม ที่สงั ่ ให้ฮำร์ดแวร์ทำำ งำนต่ำงๆ ตำมต้องกำร ชุดคำำสัง่ หรือโปรแกรมนั้ นจะเขียนมำจำกภำษำคอมพิวเตอร์ ภำษำใด ภำษำหนึ่ ง และมีโปรแกรมเมอร์ หรือนักเขียนโปรแกรม เป็ นผูใ้ ช้ภำษำ คอมพิวเตอร์เหล่ำนั้น เป็ นซอฟต์แวร์แบบต่ำงๆ ขึ้ นมำ ซอฟต์แวร์สำมำรถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
(System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวระบบ
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (Peopleware)
บุคลำกรหรือผูใ้ ช้เป็ นองค์ประกอบที่สำำ คัญมำก ต้องมีควำมรูค้ วำม เข้ำใจในกำรใช้งำนเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว จะทำำให้กำรใช้งำน ไม่มีประสิทธิภำพ โดยสำมำรถแบ่งกลุ่มบุคลำกรออกเป็ น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ กลุ่มผูใ้ ช้งำนทัว่ ไป กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชำญ กลุ่มผูบ ้ ริหำร
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (People ware)
กลุ่มผูใ้ ช้งำนทัว่ ไป
ผูใ้ ช้งานคอมพิวเตอร์ (User / End User)
ถือว่ำเป็ นผูใ้ ช้งำนระดับต่ำำสุด ไม่จำำ เป็ นต้องมีควำมเชี่ยวชำญมำกนักก็ สำมำรถใช้งำนได้ โดยศึกษำจำกคู่มือกำรปฏิบตั ิงำน หรือรับกำรอบรม เพิ่มเติมเพื่อให้สำมำรถใช้งำนได้
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (People ware)
กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชำญ
ช่ำงเทคนิ คคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/ Computer
Technician) นักวิเครำะห์ระบบ (System Analyst) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer) ผูด ้ แู ลเน็ ตเวิรก์ (Network Administrator)
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (People ware)
กลุ่มผูบ้ ริหำร ผูบ ้ ริหำรสูงสุดด้ำนสำรสนเทศและคอมพิวเตอร์
(CIO – Chief
Information Officer) หัวหน้ำงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/ Information Manager)
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.4 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information) ข้อมูล หมำยถึง ข้อมูลที่ได้จำกกำรสำำรวจจริง ซึ่งอำจเป็ นข้อเท็จจริง หรือ เหตุกำรณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่ำง ๆ เช่น บุคคล สิ่งของ สถำนที่ ฯลฯ
สารสนเทศ หมำยถึง สิ่งที่ได้จำกกำรนำำข้อมูลไปผ่ำนกระบวนกำรหนึ่ งก่อน จึงได้ สำรสนเทศออกมำ ซึ่งเป็ นข้อมูลที่ผ่ำนกำรเลือกให้เหมำะกับกำรใช้งำน ให้ทนั เวลำ
การซือ้ ของในร้ านซุปเปอร์ มาร์ เก็ต
ข้ อมูล (Data)
การประมวลผลด้ วย เครื่องคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ (Information) ใน รู ปของรายงานสรุ ปและกราฟ สำาหรับผู้บริหาร
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.4 ข้อมูลและสารสนเทศ(Data/Information)
สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ มีค วามสัม พัน ธ์ก ัน (Relevant)
สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจุบัน
มีค วามทัน สมัย (Timely)
ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้เมื่อ ต้องการ
มีค วามถูก ต้อ งแม่น ยำา (Accurate)
เมือ ่ ป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะต้องถูกต้องในทุกๆ ส่วน
มีค วามกระชับ รัด กุม (Concise)
ข้อมูลจะต้องถูกย่อให้มีความกระชับ และความยาว ที่พอเหมาะ
มีค วามสมบูร ณ์ใ นตัว เอง (Complete)
ต้องรวบรวมข้อมูลที่สำาคัญไว้อย่างครบถ้วน
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.5 กระบวนการทำางาน (Procedure) หมำยถึง ขั้นตอนที่ผใู้ ช้จะต้องทำำตำม เพื่อให้ได้งำนเฉพำะบำงอย่ำงจำก คอมพิวเตอร์ ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ทุกคนจะต้องรูก ้ ระบวนกำรทำำงำน พื้ นฐำนของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง เช่น
กำรใช้เครื่อง ฝำก – ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ถ้ำต้องกำร ถอนเงินจะต้องผ่ำนกระบวนกำรต่ำงๆ เช่น
2. องค์ ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 2.5 กระบวนการทำางาน (Procedure) 1. 2. 3. 4. 5. 6.
จอภำพแสดงข้อควำมเตรียมพร้อมที่จะทำำงำน สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใ้ ช้ เลือกรำยกำร ใส่จำำ นวนเงินที่ตอ้ งกำร รับเงิน รับใบบันทึกรำยกำร และบัตรคืน
3. ประเภทของเครื่อ ง คอมพิว เตอร์
จำำแนกตำมขนำดและควำมสำมำรถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้ ประเภท ดังนี้ ซูเ ปอร์ค อมพิว เตอร์ (Super Computer) เมนเฟรมคอมพิว เตอร์ (Mainframe Computer) มิน ิค อมพิว เตอร์ (Minicomputer) ไมโครคอมพิว เตอร์ (Microcomputer) คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
5
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซูเ ปอร์ค อมพิว เตอร์ (Super Computer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่และมีราคา สูง มีความเร็วในการประมวลผลถึง 1,000 ล้านคำาสั่ง ต่อ 1 วินาที ภายในเครื่องมีหน่วยประมวลผลเป็น จำานวนมากทำาให้สามารถประมวลผลคำาสัง่ หลายคำา สัง่ พร้อมกันได้ เหมาะสำาหรับงานที่ต้องคำานวณผล ซับซ้อน และเป็นงานที่มีลักษณะเฉพาะด้าน เช่น
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิว เตอร์ (Mainframe Computer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะการทำางาน โดยมีผใ ู้ ช้หลายๆ คนในเวลาเดียวกันได้ สามารถ ประมวลผล 10 ล้านคำาสั่งต่อ 1 วินาที เหมาะสำาหรับ งานที่มีการเก็บข้อมูลปริมาณมาก เช่น ธนาคาร โรง พยาบาล การใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ต้องคำานึงถึง อุณหภูมิและความชื้นโดยมีระบบควบคุมและผู้
3. ประเภทของเครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ มิน ิค อมพิว เตอร์ (Minicomputer)
มีลักษณะเดียวกันกับเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่มีขนาดเล็กกว่า และมีประสิทธิภาพตำ่ากว่า ทั้งใน ด้านความเร็วในการประมวลผล และความจุของ หน่วยความจำา ปัจจุบันองค์กรขนาดกลางและขนาด เล็ก จะนิยมใช้มินิคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องแม่ข่าย(Server) เพือ ่ ควบคุมระบบเครือข่ายในองค์กร
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิว เตอร์ (Microcomputer)
หรือที่เรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Personal Computer :PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสำาหรับการใช้งาน 1 คนต่อ 1 เครื่อง หรือ ใช้เชื่อมต่อกับเครื่องในเครือข่าย ไมโคร คอมพิวเตอร์มีลักษณะการใช้งานง่าย เคลื่อน ย้ายสะดวก ราคาถูก ตัวอย่างของไมโคร คอมพิวเตอร์ เช่น โน๊ตบุ๊ค เดสก์โน๊ต และ
3. ประเภทของเครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ ประเภทอื่นๆ อีกทั้งยังสำมำรถพกพำไปในที่ต่ำงๆได้งำ่ ย ประโยชน์ กำรใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ อำจนำำไปใช้ในกำรจัดกำรข้อมูลประจำำ วัน กำรสร้ำงปฏิทินนัดหมำย กำรดูหนังฟั งเพลง รวมถึงกำรรับส่ง อีเมล์ บำงรุ่นอำจมีควำมสำมำรถเทียบเคียงได้กบั ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปำล์ม, พ๊อกเก็ตพีซี เป็ นต้น
4. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่
เดสก์ท็อป (Desktop) โน๊ ตบุค๊ (Notebook) เดสก์โน๊ ต (Desknote) แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants) สมำร์ทโฟน (Smart Phone)
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ เดสก์ท็อป (Desktop)
เป็ นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะที่ใช้ในสำานักงานหรือตามบ้านทั ่วไป นิยม ใช้สาำ หรับการประมวลผล ตัวเครือ่ งและจอภาพสามารถจัดวางเพื่อ ทำางานบนโต๊ะได้อย่างสบาย ปั จจุบนั มีการผลิตที่เน้นความสวยงามและ ราคาถูก
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ โน๊ตบุค๊ (Notebook)
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุค๊ มีคณ ุ สมบัตทิ ี่ใกล้เคียงกับพีซี แต่จะมี ขนาดเล็กและบางลง มีนาหนั ้ ำ กเบาสามารถพกพาได้สะดวก มากยิง่ ขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ โน๊ตบุค๊ จะมี แบตเตอรีไ่ ว้สาำ หรับการทำางานด้วย ที่สาำ คัญราคาถูกลงกว่าเมื่อ ก่อนมาก แต่ยงั ถือว่ามีราคาแพงกว่าพีซีธรรมดา
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ เดสก์โน๊ต (Desknote)
เป็ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่งคล้ายๆกับ โน๊ตบุค๊ ต่างกันตรงที่เดสก์โน๊ตไม่มีแบตเตอรีท่ ี่คอยจ่ายไฟ ๊ ให้จงึ ต้องเสียบปลักตลอดเวลาที ่ใช้ อีกทั้งราคาถูกกว่าโน๊ ตบุค๊ เหมาะกับผูท้ ี่มีสาำ นักงานหลายๆที่ และเดินทางไปมา บ่อยๆ
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
เป็ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่ผใู ้ ช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียน บนจอภาพเหมือนกับการเขียนข้อความลงไปในสมุดโน๊ต และเครื่อง สามารถที่จะแปลงข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บไว้ได้ และบางเครื่องยัง สามารถพลิกหน้าจอได้ 2 แบบ คือ เหมือนกับการใช้งานแบบโน๊ตบุค๊ หรือ เหมือนกับกระดานรองเขียนก็ได้
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants) สำมำรถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มคือ
(Palm) พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) ปาล์ม
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ ปาล์ม (Palm)
เป็ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิ ดตลาดมาก่อน แต่เดิมนั้นเน้นเพื่อ การใช้งานสำาหรับเป็ นเครื่องบันทึกช่วยจำาต่างๆ(organizer) เช่น การ นัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปัจจุบนั ได้พฒ ั นาให้มีขีดความ สามารถต่างๆ เพิ่มมากขึ้ น โดยจะใช้ระบบปฏิบตั กิ ารที่เป็ นของตัว เองเรียกว่า Palm OS
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
เป็ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่อาำ นวยความสะดวกในการใช้งาน ได้ดเี ช่นเดียวกับเครือ่ งปาล์ม แต่จะแตกต่างจากเครื่องปาล์มใน เรือ่ งของระบบปฏิบตั กิ ารที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโครซอฟท์เป็ นหลัก ผู ้ ใช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชินกับระบบปฏิบตั กิ ารของไมโครซอฟท์มา ก่อน สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกำาลังของเครื่องมากกว่า เครือ่ งปาล์ม
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่ สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
เป็ นกลุม่ ของโทรศัพท์มือถือที่พฒ ั นาขีดความสามารถให้มี การทำางานได้ใกล้เคียงกับพีดเี อเป็ นอย่างมาก โดยสมาร์ทโฟน สามารถที่จะใช้เป็ นเครื่องโทรศัพท์ได้ในตัว รวมถึงความสามารถ อื่นๆ เช่น กล้องถ่ายรูป การใช้งานอินเตอร์เน็ต เป็ นต้น ซึ่ง คุณสมบัตติ า่ งๆเหล่านี้ขึ้นอยูก่ บั ระบบปฏิบตั กิ ารที่ใช้ดว้ ยเช่น เดียวกัน
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ศำสตร์ทำงด้ำนปั ญญำประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ำมำมี บทบำทในกำรสร้ำงปั ญญำเทียมเลียนแบบกำรคิดหรือสมองของมนุ ษย์ ซึ่งใน งำนหลำยๆด้ำนก็มีกำรประยุกต์เอำคอมพิวเตอร์เข้ำไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจ แก้ปัญหำต่ำงๆ ได้เป็ นอย่ำงดี เช่น ระบบผูเ้ ชี่ยวชำญ (expert system) ระบบหุน ่ ยนต์ (robotics) ภำธรรมชำติ (natural language)
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (expert system) เป็ นศำสตร์แขนงหนึ่ งของปั ญญำประดิษฐ์ที่นำำเอำคอมพิวเตอร์มำ ประยุกต์ใช้งำน เพื่อเก็บรวบรวมควำมรูต้ ่ำงๆ ที่จำำ เป็ นต้องใช้สำำ หรับ งำนใดงำนหนึ่ งให้อยูต่ ลอดไปในหน่ วยงำนโดยไม่ขึ้นกับบุคคล ช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสินใจต่ำงๆ ได้อย่ำง แม่นยำำ เช่น ระบบผูเ้ ชี่ยวชำญในวงกำรแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ระบบหุ่นยนต์ (robotics)
นำำเอำคอมพิวเตอร์มำประยุกต์ใช้เพื่อให้ทำำ งำนร่วมกับเครื่องจักร และอุปกรณ์บงั คับบำงชนิ ด เกิดเป็ น “หุน่ ยนต์” (robot) สำมำรถทำำงำนทดแทนแรงงำนคนได้เป็ นอย่ำงดี โดยเฉพำะอย่ำงยิง ่ กับลักษณะงำนที่มีควำมเสี่ยงต่ออันตรำยมำกๆ อำจพบเห็นกำรออกแบบหุน ่ ยนต์โดยอำศัยกำรทำำงำนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อเลียนแบบพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต และสำมำรถนำำ มำใช้งำนได้จริง เช่น หุน่ ยนต์สุนัข เป็ นต้น
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ภาษาธรรมชาติ (natural language) กำรเข้ำใจภำษำธรรมชำติของมนุ ษย์เป็ นกำรนำำเอำควำมสำมำรถ ของของคอมพิวเตอร์เข้ำมำช่วยในกำรสื่อสำรกับมนุ ษย์ให้สะดวกขึ้ น ตัวอย่ำงที่พบเห็นมำกที่สุด เช่น กำรใช้ระบบรับรูแ ้ ละจำำเสียงพูดของ มนุ ษย์หรือที่เรียกว่ำ speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สำมำรถ แยกแยะเสียงได้ ทำำให้ลดระยะเวลำในกำรทำำงำนของผูใ้ ช้ลงได้มำกทีเดียว