คู่มือท่องเที่ยวสุรินทร์

Page 1




4

จังหวัด

สุรินทร์

แผนที่จังหวัดสุรินทร์ 23 อ.ชุมพลบุรี

Chumphon Buri

อ.รัตนบุรี

Rattanaburi

อ.ทาตูม Tha Tum

1

อ.โนน

Non

อ.จอมพระ Chom Phra

7 อ.เขวาสินรินทร

Khwao Sinrin

Sa

4 2 อ.ศีขรภูมิ

Silkhoraphum

6

อางเก็บนํ้าบานตา

Ban Taphom Rese

สุริทร

8

SURIN

19

5

21 15

17

อ.ศรีณ

Si N

24 3

อางเก็บนํ้าอำปล

12

Ampul Reservoir

16

อ.ลำดวน Lamduan

11

Sa

อ.ปราสาท Prasat

13

อางเก็บนํ้าบานกระเทียม Ban Kratiam Reservoir

10 อ.กาบเชิง

Kap Choeng

อ.พนมดงรัก

Phanom Dong Rak

18 9

22

ดานชายแดนถาวรชอจอม

Chong Chom Checkpoint


จังหวัด

สุรินทร์ 5

สถานทีท่ อ ่ งเทีย่ วทีน่ า่ สนใจ และระยะห่างจากตัวเมือง

อ.รัตนบุรี

Rattanaburi

อ.โนนนารายณ Non Narai

อ.สำโรงทาบ

Samrong Thap

อ.ศีขรภูมิ

lkhoraphum

6 อางเก็บนํ้าบานตาพรม Ban Taphom Reservoir

อ.ศรีณรงค Si Narong

6 อ.สังขะ

Sangkha

14 อ.บัวเชด

10

Bua Chet

ดานชายแดนถาวรชอจอม

Chong Chom Checkpoint

20

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24.

หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง 58 กม. (Km.) หมู่บ้านทอผ้าไหมและเครื่องเงิน เขวาสินรินทร์ 18 กม. (Km.) หมู่บ้านทอผ้าไหมบ้านจันรม 10 กม. (Km.) หมู่บ้านทอผ้าไหมบ้านท่าสว่าง 10 กม. (Km.) หมู่บ้านจักสานบ้านบุทม 12 กม. (Km.) ปราสาทศีขรภูมิ 34 กม. (Km.) ปราสาทจอมพระ 27 กม. (Km.) ปราสาทเมืองที 16 กม. (Km.) กลุ่มปราสาทตาเมือน 94 กม. (Km.) ปราสาทภูมิโปน 59 กม. (Km.) ปราสาทบ้านไพล 22 กม. (Km.) ปราสาทตะเปียงเตีย 41 กม. (Km.) ปราสาทบ้านพลวง 35 กม. (Km.) ปราสาทยายเหงา 53 กม. (Km.) ห้วยเสนง 9 กม. (Km.) ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์ไม้สนสองใบ 35 กม. (Km.) วนอุทยานพนมสวาย 20 กม. (Km.) ตลาดการค้าช่องจอม 69 กม. (Km.) ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ 3.5 กม. (Km.) รอยพระพุทธบาทวัดเขาศาลา 52 กม. (Km.) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ 6 กม. (Km.) วัดมงคลคชาราม (วัดช้างหมอบ) 59 กม. (Km.) ทะเลสาบทุ่งกุลา 92 กม. (Km.) อุทยานหลวงปู่ดูลย์ อตุโล วัดป่าโยธาประสิทธิ์


6

จังหวัด

สุรินทร์

แผนที่เขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ 25

ไป จ.กรุงเทพฯ

กลุม  จันโสมา หมูบ  า นทอผาไหมบานทาสวาง Jansoma Group, Ta Sawang Silk village

สถานีรถไฟ

Railway Station

Nong

Doom

Rd.

ร.ร.วาณิชยนุกูล

สุรินทรพลาซา Surin Plaza

16

ถ.สนิทนิ

คมรัฐ

รพ.สุรินทรรวมแพทย

ไป อ.กระสัง, จ.บุรีรัมย

To Krasang, Buri Ram Province

15 2

รุงศ

4

ักเมือ

สนง.เทศบาล เมืองสุรินทร

3

2

5

Wat Klang

City Shrine

Wat Burapa Ram

Rd.

City Hall

tR d.

Rd . Sa

m ล

บา

ทศ

ถ.เ

4

ha

ล2

บา

ทศ

ถ.เ

Ko tC

18

ho nR d. mp

ิริรธ Tessab an

2 Rd.

Krung

om

วัดจุมพล

การกีฬาแหงปร สนง.จ.สุรินทร

kd i

Ch u

วัดประทุมเมฆ

จุมพ

Ph a

คายวีรวัฒนโยธิน

สถานธนานุบาล

W at

รุง

ถ.ก

ํ้าวัด

สระน

10

Sr a

อก

Market

Ch

Phaya Surin Pakdi Monument

ีน ศร

Ph

อนุสาวรียพระยาสุรินทรภักดีฯ

24 สนง.ที่ดิน สนง.ประปา สนง.สาธารณสุข

ตลาดนอ

วัดจำปา

ot

Rd.

มเท

ห .พร

วัดศาลาลอย

ที่วาการอำเภอ เมืองสุรินทร

8

ถ.ธ

Nok

นสาร

Sri

ถ.ป

Sri No k Rd.

Suri

yara

Tha าช ุรินร

ิง

ปร

อย

ng

Wat Phrom Surin

สนง.พ จ.สุริน

อบจ.สุรินทร

สนง.พระพุทธศาสนา จ.สุรินทร

ถ.ส

Kru

วัดพรหมสุรินทร

Police Station

9

am

rin Po yp

22

6

สถานีตำรวจ

ศาลากลางจังหวัด

nas

gR d.

รีนอ

ศบาล

ถ.เท

5

กาชาด จ.สุรินทร

16

รุงศ

ถ.ก

ร.ร.สุรินทรศึกษา

3

1

วัดบูรพาราม

ศาลจังหวัด

ถ.ส

To Buri ram

รพ.ร

Ruam Ph

วัดกลาง

1

ศาลหลักเมือง

Tessaban 3 Rd.

ถนนเลี่ยงเมืองไป บุรีรัมย

12

ถ.จิตรบ

5 17

Wat Nong Bua

12

ำรุง

22

ถ.โพธิ์ราง Pho Ran g Rd.

วัดหนองบัว

ุง

รีใน

13

3

Jitb

Phetchakasem Plaza

ไปรษณีย

ถ.ก

4 Rd.

ถ.หล

Market

สถานีขนสง

รบำร

Rd .

2 Bus Terminal

Tessab an

Ra i

14 เพชรเกษมพลาซา

1

ตลาดใหญ

ถ.จิต

าล 3 ถ.เทศบ

ua

8

ล1

รีใน

iB

6

7

ถ.เทศบา

Krung Sri Nai

7

Sr

20

รุงศ

สนง.อุตอนิยมวิทยา

Weerawat Yothin Army Camp

สนง.ขนสง

ร.ร.วีรวัฒนโยธิน

รพ.คายวีรวัฒนโยธิน

ถ.คชสาร

ักด

ีชุม

พล

Weerawat Yothin Hospital

ไป บุรีรัมย To Buri ram

ถ.ภ

ศูนยหมอนไหม เฉลิมพระเกียรติฯ

Queen Sirikit Sericulture Center

สนง.ประมง จ.สุรินทร

ถ.ก

12

4

Surin Ruam Phat Hospital

.

ุม

amru ng R d

ถ.หนองด

ศูนยวิจัยและพัฒนา ประมงนํ้าจืดสุรินทร

กสน.จ.สุรินทร

สนามแสดงชาง

Elephant Show Ground

20

6

ม.ราชภัฏสุรินทร

Su

Surindra Rajabhat University

ม.เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสุรินทร

7

Rajamangala University of Technology Isan Surin Campus

15

พิพิธภัณฑสถาน แหงชาติสุรินทร

Luang Poo Dul Atulo Park Wat Yothaprasit

8

Surin National Museum

ศูนยศิลปาชีพอีสานใต

Lower Northeastern Folk Art&Craft Center

9

ไป อ.ปราสาท

ถ.บายพาสรอบเมือง

รพ.ชาง

Elephant Hospital

To Prasat District

อางเก็บนํ้าหวยเสนง Huai Saneng Reservoir


จังหวัด

สุรินทร์ 7

ถานีรถไฟ

way Station

ถ.สนิทนิ

คมรัฐ 6

7 .

สถานีขนสง

amru ng R d

8

14

Bus Terminal

Jitb

พลาซา

ไปจ.ศรีสะเกษ

2

Don g ka met Rd.

4

sem Plaza

th ira

. Rd

ถ.จิต

19

รต

23

4

Worn

ถ.จิตรบ

ri Y aK arn

พาราม

Burapa Ram

5

กาชาด จ.สุรินทร

Tess ab

Rd .

an Rd

6

ต

ถ.สุริยกาน

.

ร.ร.สิรินธร สนง.พานณิชย จ.สุรินทร วัดศาลาลอย

ถ.หม

Police Station

อกว

สถานีตำรวจ

ร.ร.อนุบาลสุรินทร

ตลาดนอยรื่นรมย ร

an

Rd.

Ch

เมือ

ว.เทคนิคสุรินทร

ถ.จ

างว

าง

.

ng Rd

Trai Ro

ร.ร.เมืองสุรินทร ลัก

วัดประทุมเมฆ

oran

ร.ร.สุรวิทยาคาร ถ.ห

Srab

4 Rd.

สถานธนานุบาล

1

Tessab an

งค

ศบาล

Tessab an

ถ.ไตรร

10

ถ.เท

2 Rd.

วัดจำปา 10

9

gW an

ิริรธ ถ.ส

รอำเภอ รินทร

8

ว.อาชีวศึกษา

Market

gR d.

สุรินทร

i

Tha

Su 11

kd Pa

ำรุง

รพ.รวมแพทย

Ruam Phat Hospital

ri n

12

กา

Su

ุริย

Rd.

ุง รบำร

1

ดี

ถ.ส

ng

ho

tP

ipa

Ph

ทรภัก

วัดหนองบัว

3

Wat Nong Bua

12

ถ.สุริน

Sir ัฐ

ิริร

ถ.ศ

สะพานดาว . Rd

24

Surin Hospital

m

11

ถ.สระ

Rd .

รพ.จ.สุรินทร

Sa ha Ko tC

10

ณ โบรา

สนง.การทองเที่ยวและกีฬาจ.สุรินทร

Surin Provincial Office of Turism and Sport

ng Rd. Riab Klo

11

ไป อ.ศีขรภูมิ, ไปจ.ศรีสะเกษ

สนามกีฬาศรีณรงค

Suri Narong Stadium

การกีฬาแหงประเทศไทย สนง.จ.สุรินทร สว

สนง.อุตอนิยมวิทยา

าพ

ุขภ

นส ลิม

เฉ

Lu k

14

พร

ng

NGV

Rd .

ติ

ียร

ะเก

13

ถ.เ

ua

ลอ

บค

ลีย

m

21

80

สนามแสดงชาง

พร รษ

Elephant Show Ground

21

สนามบินสุรินทรภักดี Surin Pakdi Airport

17 23

LPG .

ss Rd

By Pa

ไป อ.สังขะ

ถ.บายพาสรอบเมือง

To Sangka District

To Sikhoraphum, To Sisaket


สารบัญ สถานที่น่าสนใจ 10 อำ�เภอเมือง 12 อำ�เภอเขวาสินรินทร์ 20 อำ�เภอปราสาท 21 อำ�เภอพนมดงรัก 23 อำ�เภอกาบเชิง 27 อำ�เภอบัวเชด 29 อำ�เภอสังขะ 30 อำ�เภอลำ�ดวน 31 อำ�เภอศีขรภูม ิ 33


อำ�เภอจอมพระ 35 อำ�เภอท่าตูม 36 อำ�เภอรัตนบุรี 39 เทศกาลงานประเพณี 40 สินค้าพื้นเมืองของที่ระลึก 45 สถานที่พัก 46 ร้านอาหาร 47 การเดินทาง 48 หมายเลขโทรศัพท์ที่สำ�คัญ 49


10

จังหวัด

สุรินทร์

สุรินทร์

จังหวัด

สุรินทร์ เป็นหนึ่งในจังหวัดชายแดนของภาคอีสาน ตอนล่าง หรือ “อีสานใต้” ที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา ยาวนานจังหวัดหนึ่งสันนิษฐานว่าพื้นที่อันเป็นที่ตั้งเมือง สุรินทร์มีชุมชน อาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว จากสภาพภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตต่อเนื่อง กับพื้นที่ ที่เคย เป็นอาณาจักรขอมโบราณ ท�ำให้เมืองสุรนิ ทร์ได้รบั วัฒนธรรม ขอมมาโดยตลอดตั้งแต่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ต่อมาเมื่ออาณาจักรขอมเสื่อมอ�ำนาจลง เมืองดังกล่าวก็ถูก ทิ้งร้าง จนกระทัง่ ราวปี พ.ศ. 2260 ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ชาวพื้นเมืองของเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจ�ำปาศักดิ์ ซึ่งใน ขณะนั้นเป็นดินแดนของไทย ที่เรียกตัวเองว่า “ส่วย” หรือ “กูย” หรือ “กวย” ได้พากันอพยพข้ามล�ำนํ้าโขง มาตั้งชุมชน ที่เมืองต่างๆ ในแถบภูมิภาคนี้ รวมถึงที่บ้านอัจจะปะนึ่ง และบ้านกุดปะไท ในเขตอ�ำเภอสังขะและอ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ คนเหล่านี้มีความสามารถในการจับช้างป่า และน�ำมาฝึกฝนไว้ใช้งานเป็นอย่างมาก จึงเป็นต้นก�ำเนิด ของต�ำนาน “เมืองช้าง” ของจังหวัดสุรินทร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2306 หลวงสุรินทรภักดี (เชียงปุม) หัวหน้าหมู่บ้านเมืองที ได้ย้ายหมู่บ้านมาตั้งอยู่ที่บริเวณ บ้านคูประทาย ซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์ในปัจจุบัน เนื่องจาก เป็นบริเวณทีม่ ชี ยั ภูมเิ หมาะสม มีกำ� แพงค่ายคูลอ้ มรอบ2 ชัน้ และมีแหล่งนํ้าอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การประกอบอาชีพ และอยู่อาศัย ต่อมาพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาศอมรินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะขึ้นเป็น “เมืองประทายสมันต์” และ หลวงสุรนิ ทร์ภกั ดีได้เลือ่ นบรรดาศักดิเ์ ป็นพระยาสุรนิ ทร์ภกั ดี ศรีณรงค์จางวาง เป็นเจ้าเมืองปกครองเมืองประทายสมันต์ ในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก


จังหวัด

สุรินทร์ 11

มหาราช รัชกาลที่ 1 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลีย่ น ชื่อ “เมืองประทายสมันต์” เป็น “เมืองสุรินทร์” ตามสร้อย บรรดาศักดิ์ของเจ้าเมืองในขณะนั้น เมืองสุรินทร์มีเจ้าเมือง ปกครองสืบเชื้อสายกันมารวม 11 คน จนถึงปี พ.ศ. 2451 มีการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารราชการแผ่นดินเป็นแบบ มณฑลเทศาภิบาล “เมืองสุรินทร์” จึงเปลี่ยนเป็น “จังหวัด สุรินทร์” และทางกรุงเทพฯ ได้แต่งตั้งพระกรุงศรีบุรีรักษ์ (สุม สุมานนท์) มาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นข้าหลวงประจ�ำจังหวัด หรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นคนแรก

ศาลหลักเมืองสุรินทร์ เป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งอยู ่ ห ่ า งจาก ศาลากลางจังหวัดไปทางตะวันตกราว 500 เมตร เดิม เป็ น เพี ย งศาลไม่ มี เสาหลั ก เมื อ ง มี ม า นานกว่าร้อยปี เมื่อปี พ.ศ. 2511 กรม ศิ ล ปากร ออกแบบ สร้ า งศาลหลั ก เมื อ ง เ ส า ห ลั ก เ ป ็ น ไ ม ้ ชัยพฤกษ์ ได้จากนาย ประสิทธิ์ มณีกาญจน์ อ�ำเภอไทรโยค จังหวัด กาญจนบุ รี เป็ น เสา ไม้สูง 3 เมตรวัดโดย รอบเสาได้ 1 เมตร ท�ำ พิ ธี ย กเสาหลั ก เมื อ ง และสมโภช เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2517


12

จังหวัด

สุรินทร์

อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดี ศรีณรงค์จางวาง (ปุม)

สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2527 เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานที่ ระลึ ก ถึ ง ผู ้ ส ร้ า งเมื อ งท่ า นแรก ซึ่ ง เป็ น บุ ค คลส� ำ คั ญ ของ ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์เป็นอย่างยิ่ง ตั้งอยู่ที่ กม 0 ถนนสุรินทร์-ปราสาท ซึ่งเป็น ทาง เข้าเมืองทางด้านใต้และเป็นบริเวณที่เคยเป็นก�ำแพงเมือง ชั้นในของตัวเมืองสุรินทร์ อนุสาวรีย์เป็นรูปหล่อทองเหลือง รมด�ำสูง 2.20 ม. มือขวาถือของ้าว อันเป็นการแสดงถึง ความเก่งกล้าสามารถของท่านในการบังคับช้างศึก และเป็น เครื่องแสดงว่าสุรินทร์เป็นเมืองช้างมาแต่ดึกด�ำบรรพ์ รูปปั้น สะพายดาบคู่อยู่บนหลังอันหมายถึงความเป็นนักรบ ความ กล้ า หาญ อั น เป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ต กทอดเป็ น มรดกของคน สุรินทร์ในปัจจุบัน


จังหวัด

วัดบูรพาราม

สุรินทร์ 13

เป็นวัดเก่าแก่แต่ดั้งเดิม สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น ใน สมัยกรุงธนบุรีหรือสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีอายุประมาณ 200 ปี เท่า ๆ กับอายุเมืองสุรินทร์ สร้างโดยพระยาสุรินทร์ ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ปุม) เจ้าเมืองสุรินทร์คนแรก เป็น พระอารามหลวงตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520

วัดบูรพารามเป็นวัดทีป่ ระดิษฐาน “หลวงพ่อชีว”์ หรือ “หลวงพ่อปะจี” พระพุทธรูปส�ำคัญที่ชาวสุรินทร์ เคารพบูชา ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด ของเมืองสุรินทร์ นอกจากนี้วัด บูรพารามยังเป็นวัดทีจ่ ำ� พรรษาตัง้ แต่เริม่ ต้นจนมรณภาพของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เกจิอาจารย์ชื่อดัง ของภาคอีสานด้วย ปัจจุบนั ได้สร้างพิพธิ ภัณฑ์ของหลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล ไว้ในบริเวณ วัดนี้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา


14

จังหวัด

สุรินทร์

วัดป่าโยธาประสิทธิ์

วัดป่าโยธาประสิทธิ์ อุทยานหลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล สร้าง

ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ธรรมประวัติ กิจวัตรของหลวง ปู ่ ดุ ล ย์ อตุ โ ล เป็ น ปู ช นี ย สถานศู น ย์ ร วมจิ ต ใจส� ำ หรั บ พุทธศาสนิกชนที่เลื่อมใสศรัทธาหลวงปู่ดูลย์ ทั้งชาวสุรินทร์ และประชาชนทั่วไปได้เคารพกราบไหว้สักการบูชา และเพื่อ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดสุรินทร์และ ดินแดนแห่งอารยธรรมแห่งอีสานใต้

จุดแลนด์มารค์ใหม่ที่มาเยือนสุรินทร์ไม่ควรพลาด เช็คอิน ณ อุทยานหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดป่า โยธาประสิทธิ์ บริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคล (มทร.) อีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เลขที่ 148 หมู่ที่ 15 บ้านตาเดียว อ.เมือง จ.สุรินทร์ ถนนสุรินทร์ – ปราสาท อ.เมือง จ.สุรินทร์


จังหวัด

สุรินทร์ 15

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์

ตั้งอยู่ที่ ถนนสุรินทร์-ปราสาท หมู่ที่ 13 ต�ำบล

เฉนียง อ�ำเภอเมือง ภายในพิพิธภัณฑ์มีการจัดแสดงเป็น 4 ส่วน คือ อาคาร ที่ 1 เป็นโถงทางเข้าและทางเดิน อาคาร ที่ 2 เป็นส่วนการศึกษา ประกอบด้วยห้องประชุม ห้อง กิจกรรม ห้องรับรอง ห้องสมุด อาคารที่ 3 เป็นอาคาร จัดแสดงและส�ำนักงาน ประกอบด้วยห้องนิทรรศการถาวร ห้องนิทรรศการชั่วคราวห้องท�ำงานเจ้าหน้าที่ อาคารที่ 4 เป็นคลังพิพิธภัณฑ์ ประกอบด้วย ห้องคลังโบราณวัตถุ ห้องปฏิบัติการอนุรักษ์และสงวนรักษา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์เปิดทุกวัน เวลา 09.00 - 16.00 น. เว้นวันจันทร์ - อังคารและวันนักขัตฤกษ์ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 044 153054 และ http://www.finearts.go.th/surinmuseum/ การเดินทาง มาจากเมืองสุรินทร์ ตั้งอยู่กิโลเมตร ที่ 4 บนถนนสุรินทร์ - ปราสาท


16

จังหวัด

สุรินทร์

วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย หรือเขาสวาย (ไหว้ 9 สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ)์ ตั้งอยู่ที่ อยู่ในพื้นที่ 2 ต�ำบลคือ ต�ำบลนาบัว ต�ำบลสวาย อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ อยูใ่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ

ความส�ำคัญ พนมสวายคือ ภูเขาไฟทีด่ บั สนิท แล้ว จึงมีลานหินกระจายทั่วไป เป็นสถานที่แสวงบุญของ ชาวไทยที่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ไหว้สักการะสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์บนเขาสวาย 9 สิ่ง ประกอบด้วย 1.พระพุ ท ธสุ ริ น ทรมงคล เป็ น พระพุ ท ธรู ป

ปางประทานพร พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรง พระราชทานนาม บริ เ วณ พระนาภี ข ององค์ พ ระได้ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ เป็นพระพุทธรูปองค์ส�ำคัญ ของจังหวัดสุรินทร์


จังหวัด

สุรินทร์ 17

2.รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง 3.สถู ป อั ฐิ ห ลวงปู ่ ดู ล ย์ อตุ โ ล พระเถระสาย วิปัสสนากรรมฐาน 4.พระพุทธรูปองค์ด�ำ 5.หลวงปู่สวน สารธมฺโม 6.เจ้าแม่กวนอิม 7. เต่าหินศักดิ์สิทธิ์ 8.ปราสาทหินพนมสวาย และ 9. สระน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เสริมสิริมงคล เคาะระฆัง 1,080 ใบ โดยเชื่อกัน ว่าจะมีชอื่ เสียงโด่งดังไกล เหมือนเสียงระฆังที่ก้อง กังวานไปไกล สิง่ ที่ไม่ควรพลาด

พระพุ ท ธสุ ริ น ทรมงคล หากท่ า นใดได้ สั ก การ บูชา ก็จะเป็นการเสริม บารมีให้กบั ชีวติ จิตใจ ผ่องใส และเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์ ใช้เส้นทาง ถนนสายสุรินทร์-ปราสาท ระยะทาง ประมาณ 14 กม.มีทางแยกขวาเข้าไปอีก 6 กม. อยู่ใน ท้องที่ ต.นาบัว อ.เมือง จังหวัดสุรินทร์


18

จังหวัด

สุรินทร์

อ่างเก็บน�้ำห้วยเสนง เป็นอ่างเก็บนํ้าของโครงการชลประทาน ห้วย เสนงนี้เป็นอ่างเก็บนํ้าที่มีสันเขื่อนสูง บนสันเขื่อนถนน ลาดยาง เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวเมือง สุรินทร์และภายในที่ท�ำ การชลประทานมี พระต�ำหนัก ที่ประทับของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีอีก ด้วย เนื่องจากห้วยเสนงเปรียบเสมือนทะเลสาปนํ้าจืด ขนาดใหญ่ ข อง ชาวเมืองสุรินทร์ จึ ง เป็ น ที่ นิ ย มลง เล่นนํ้าและนั่งรับ ประทานอาหาร การเดินทาง อยู่ ห่างจากตัวเมือง สุ ริ น ทร์ ไปทาง ถนนสายสุรินทร์ปราสาท (ทางหลวงหมายเลข 214) ประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณหลัก กิโลเมตรที่ 5-6 แยกซ้ายมือไป ทางถนนริมคลองชลประทาน ประมาณ 4 กิโลเมตร


จังหวัด

สุรินทร์ 19

ผ้าทอราชส�ำนักโบราณ ผ้าไหมยกทองโบราณ แห่งเดียวในประเทศไทย จากหลักฐานประวัติศาสตร์ที่ปราสาทศีขรภูมิ ปรากฏภาพสลักนางอัปสรา สวมใส่ผา้ ทอทีม่ เี อกลักษณ์ ลวดลายว่าเป็นเครื่องแต่งกายของชนชั้นสูง การใช้ผ้า ไหมเริม่ มีมาจากราชส�ำนัก เขมร ที่เป็นแบบของการ นุ ่ ง โจงกระเบน อั น เป็ น วัฒนธรรมของเขมรโบราณ “ผ้าปูมเขมร” ราชส�ำนักใช้ เป็นผ้าพระราชทานให้ข้า ราชบริ พ ารตามต�ำแหน่ ง และได้ ย กเลิ ก ไปในสมั ย ราชการที่ 5 ชาวจังหวัด สุรินทร์ได้รับการถ่ายทอด ภู มิ ค วามรู ้ วั ฒ นธรรมการทอผ้ า ที่ มี ติ ด ตั ว มาจาก บรรพบุรุษ ท�ำให้เกิดการพัฒนาสร้างสรรค์ ผ้ายกทอง โบราณ มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นไม่เหมือนใคร การเดิ น ทาง จากตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ข้ า มทาง สถานีรถไฟสุรินทร์ เจอไฟแดงเลี้ยวซ้าย ใช้ถนนเกาะ ลอย - เมืองลิง ประมาณ 8 กม. จะพบหมู่บ้านทอ ผ้าไหมยกทองโบราณบ้านท่าสว่าง กลุ่มจันทร์โสมา โทร. 0 4414 0015, 0 4455 8489 - 90


20

จังหวัด

สุรินทร์

เครื่องเงินเขวาสินรินทร์

ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้าน โชค ต.เขวาสินรินทร์ อ.เข วาสินรินทร์ จ.สุรินทร์ มี สินค้า เครื่องเงินที่ขึ้นชื่อ ของจังหวัดสุรินทร์ที่เรียก กันว่า ลูกประเกือมซึ่งก็คือ ลูกปัดกลม ๆ ที่น�ำมาร้อย เป็ น เครื่ อ งประดั บ นั่ น เอง เครื่องเงินของที่นี่มีให้เลือกมากมายหลายรูปแบบ ถ้า อยากสั่งท�ำพิเศษกับช่างท�ำเครื่องเงินก็สามารถขับรถ เข้ า ไปภายในหมู ่ บ ้ า นก็ จ ะพบ ชาวบ้านก�ำลังท�ำเครื่องเงินอยู่ การเดินทาง หมู่บ้านท�ำเครื่อง เงินเขวาสินรินทร์ อยู่ทางเหนือ ของตัวเมืองสุรินทร์ ขับรถตาม ทางหลวงหมายเลข 214 สาย สุรินทร์ – ร้อยเอ็ด ไปประมาณ 14 กิโลเมตร แยกขวามือไปอีก 4 กิโลเมตร จะพบศูนย์สินค้าโอท็อป ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้ า นโชค ต�ำบลเขวาสิ ริ น ทร์ อ�ำเภอเขวาสิ น ริ น ทร์ จังหวัดสุรินทร์


จังหวัด

สุรินทร์ 21

ปราสาทบ้านพลวง ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 บ้านพลวง ต�ำบลกังแอน อ�ำเภอ ปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นปราสาทขอมทีส่ ร้างขึน้ ตาม คติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ รูปแบบปราสาทเป็น ศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ประกอบด้วยปราสาทหลังเดียว ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลง มีภาพสลักตกแต่งงดงาม ด้านทิศตะวันออกมีทับหลัง สลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ อยู่เหนือหน้ากาล หน้าบันสลักภาพพระกฤษณะยกเขาโควรรธนะ ด้าน ทิศเหนือมีทับหลังสลัก ภาพพระกฤษณะปราบนาค กาลียะ หน้าบันสลักภาพเทพประทับนัง่ เหนือหน้ากาล ส่วนด้านทิศ ตะวันตกทับหลังและหน้าบันยังไม่ได้สลัก ภาพภายในปราสาทมี ฐ านประติ ม ากรรมรู ป เคารพ คูนํ้าล้อมรอบ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เว้นทาง ด้านตะวันออกไว้เป็นทางเข้า – ออก มีบาราย แผนผัง เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางด้านทิศ ตะวันออกของปราสาท ห่างออกไปประมาณ 100 เมตร การเดินทาง จากตัวเมืองสุรน ิ ทร์ ใช้เส้นทาง 214 สุรินทร์ – ปราสาท อ�ำเภอปราสาท พอถึง กม.32 ให้ เลี้ยวซ้ายเข้าหมู่บ้านพลวง ขับตรงเข้ามาประมาณ 600 เมตร จะพบปราสาทบ้านพลวง


22

จังหวัด

สุรินทร์

วัดเพชรบุรี (สุสานทุ่งมน) อ.ปราสาท จ.สุรินทร์

หลวงปู่หงส์ พรหมปัญโญ พระเกจิดังเมืองสุรินทร์ ผู้

ถือสันโดษปลีกวิเวกฝึกปฏิบัติธรรมอยู่ในป่าช้า ไม่ยึด ติดกับที่ ธุดงค์ไปเรื่อยจนถึง รอยต่อระหว่างประเทศ กัมพูชาและประเทศเวียตนาม หลวงปู่หงส์ เป็นพระที่ เคร่งครัด มีเมตตายึดหลักธรรม ด้วยพรหมวิหารสี่ มี เมตตาต่อผูท้ เี่ ดือดร้อนทุกข์ยาก โปรดสัตว์ หลวงปูห่ งส์ มรณะ เมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2557 อายุได้ 97 ปี 77 พรรษา

การเดินทาง ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ 34 กม. ใช้

เส้นทางหลวงหมายเลข 214 สุรินทร์ – ปราสาท มุ่ง หน้าไปยังต�ำบลนาบัว อีกประมาณ 18.5 กม. จะพบ วัดเพชรบุรี


จังหวัด

สุรินทร์ 23

ปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนเป็นปราสาทขอมประเภทบ้าน มีไฟหรือธรรมศาลา เป็นศิลปะขอมแบบบายน อายุราว พุทธศตวรรษที่ 18 สร้างด้วยศิลาแลงมีลักษณะเป็น ห้องยาว พบทับหลังรูปพระพุทธรูปปางสมาธิ ประทับ นัง่ อยูใ่ นซุม้ เหนือหน้ากาลทีป่ ระตูทางเข้าด้านทิศตะวัน ออก การเดินทาง จากจังหวัดสุรินทร์ไปทางอ�ำเภอ ปราสาทตามทางหลวงหมายเลข 214 จนมาถึงทางแยก ตัดกั บ ทางหลวงหมายเลข 24 ให้เลี้ย วขวาไปตาม ทางหลวงหมายเลข 24 จนถึงสามแยกบริเวณนิคม ปราสาท ให้เลี้ยวซ้าย ไปตามป้ายบอกทางไปอ�ำเภอ พนมดงรัก ตามทางหลวงหมายเลข 2397 จนมาถึง แยกบริเวณ อบต.แนงมุด ให้เลีย้ วขวา ไปตามทางหลวง หมายเลข 224 จนพบป้ายบอกทางไปกลุม่ ปราสาทตา เมือน ให้เลยป้ายไปอีกเล็กน้อยจนถึงแยกบ้านตาเมียง จะพบทางที่มีป้ายบอกไป ฉก. ทหารพราน 216 เลี้ยว ไปตามถนนเส้นนี้(2407)ตรงมาเรื่อยๆ จนพบห้าแยก เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข2407 ผ่านบ้าน หนองคันนา ใช้ทางตรงมาเรื่อยจนพบทางแยก จะพบ ปราสาทตาเมือน


24

จังหวัด

สุรินทร์

ปราสาทตาเมือนโต๊จ ปราสาทตาเมือนโต๊จ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองคันนา ต�ำบลตาเมียง อ�ำเภอพนมดงรัก (ค�ำว่า “โต๊จ” หรือ “ตูจ๊ ” มาจากภาษาเขมรท้องถิ่นสุรินทร์ แปลว่าเล็ก) ปราสาท ตาเมือนโต๊จเป็นอโรคยศาล หรือศาสนสถานประจ�ำโรง พยาบาลในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน สร้างขึ้นในสมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาทประกอบด้วยปราสาท ประธานตัง้ อยูต่ รงกลาง ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีบรรณาลัย ล้อมรอบด้วยก�ำแพง มีโคปุระอยูท่ าง ด้าน ทิศตะวันออก ซึง่ พบศิลาจารึกอักษรขอมภาษาสันสกฤต อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมัน ที่ 7 ทรงสร้างโรงพยาบาล (อโรคยศาล) เพื่อให้เป็น สถานที่รักษาโรค และทรงบริจาควัสดุอุปกรณ์ พร้อม จัดเจ้าหน้าที่ให้อยู่ประจ�ำโรงพยาบาลแห่งนั้นๆ

การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทตาเมือน


จังหวัด

สุรินทร์ 25

ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนธมเป็นปราสาทขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในกลุ่มโบราณสถานปราสาทตาเมือน (ธม เป็นภาษา เขมรแปลว่า ใหญ่) เป็นปราสาทที่สร้างขึ้นเนื่องใน ศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ตัง้ แต่ราวพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 เป็นต้นมา ต่อเนือ่ งถึงพุทธศตวรรษที่ 15-16 เนือ่ งจากเป็นปราสาททีต่ งั้ อยูบ่ นเส้นทางสัญจรทีส่ �ำคัญ จึงได้รับการก่อสร้างเพิ่มเติมเรื่อยมา และเชื่อว่ายังคง บทบาทส�ำคัญในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ด้วย เนือ่ งจาก ในบริ เ วณใกล้ เ คี ย งกั น ได้ มี ก ารสร้ า งปราสาทขึ้ น อี ก 2แห่งคือ ปราสาทตาเมือนและตาเมือนโต๊จ ความโดด เด่นของปราสาทตาเมือนธม คือ เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ บนเทือกเขาพนมดงรักซึ่งมีพื้นเป็นศิลาทราย จึงมีการ สกัดพืน้ ให้เรียบแล้วสร้างปราสาทบนฐานศิลาทรายนัน้ ปราสาทตาเมือนธมจึงเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดง อิทธิพลวัฒนธรรมขอมที่ปรากฏขึ้นในดินแดนแถบนี้ ตัง้ แต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 พุทธศตวรรษที่ 15-16 มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18

การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับปราสาทตาเมือน


26

จังหวัด

สุรินทร์

ลานหินสีชมพู ยุคจูเรสซิก วัดป่าเขาโต๊ะ

เทือกเขาพนมดงรักเป็นทิวเขารอยต่อชายแดน ไทย – กัมพูชา ทิวเขาลูกนี้มีของดีซ่อนอยู่โดยที่หลาย คนไม่ ทราบ นอกจากปราสาทโบราณแล้ว ยังมีสิ่ง มหัศจรรย์จากธรรมชาติ คือ แหล่งหินที่มีอายุมากนับ ร้อ ยล้ านปี ช่ ว งยุค จูเรสซิกตอนกลางถึงตอนปลาย (ประมาณ 145 -225 ล้านปี) อยู่ที่ในจังหวัดสุรินทร์ บริเวณวัดป่าเขาโต๊ะ หมู่ที่ 13 ต�ำบลบักได อ�ำเภอพนม ดงรัก จังหวัดสุรนิ ทร์ จากการ ตรวจสอบของนักธรณีวิทยา ทราบว่า เป็นหินในหมวดหิน ภูกระดึง มีลักษณะเป็นเพิง หิ น พิ ง กั น รู ป ร่ า งคล้ า ยโต๊ ะ และเพิงหินผาวางเรียงซ้อน ตัวอยู่ในธรรมชาติ

การเดินทาง จากจังหวัดสุรินทร์ ใช้ทางหลวง สุรินทร์ - ปราสาท ถึงแยกอ�ำเภอปราสาทให้เลี้ยวขวา ไปตามทางหลวงหมายเลข 224 พอถึงหลักกม.35 แยกพัฒนานิคม ให้เลี้ยวซ้ายตามทางหลวงหมายเลข 2407 แล้วผ่านบ้านไทยสันติสุข จุดสังเกตให้ตามป้าย บอกทาง ปราสาทตาควาย เลีย้ วตามป้ายเข้ามา 16 กม. จะพบวัดป่าเขาโต๊ะ


จังหวัด

สุรินทร์ 27

ตลาดการค้าช่องจอม ตั้งอยู่ที่บ้านด่านพัฒนา ต�ำบลด่าน อ�ำเภอ กาบเชิง ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ 69 กิโลเมตร ฝั่งตรง ข้ามด้านกัมพูชาเป็น ชุมชนโอร์เสม็ด อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุดรมีชัย ช่องจอมเป็นเส้นทางข้ามแดนที่ใหญ่ และสะดวกที่สุดของจังหวัดสุรินทร์ที่จะไปยังกัมพูชา ท�ำให้มีการติดต่อสัญจรไปมาและซื้อขายแลกเปลี่ยน สินค้าระหว่างชาวไทย และกัมพูชามาเป็นเวลาช้านาน ตลาดแห่งนี้เปิดท�ำการค้าขายและสัญจรไปมาทุกวัน เวลา 08.00-20.00 น. ประเภทสินค้ามีทั้งสินค้าที่ จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน

การเดินทาง ใช้เส้นทางสุรน ิ ทร์-ช่องจอม ห่างจาก ตัวเมืองสุรินทร์ 69 กิโลเมตร และห่างจากตัวอ�ำเภอ กาบเชิง 13 กิโลเมตร


28

จังหวัด

สุรินทร์

วัดมงคลคชาราม หรือ วัดช้างหมอบ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 14 ต.แนงมุ ด อ. กาบเชิง จ.สุรินทร์ การเดินทาง ห่ า งจากตั ว เมื อ ง สุรนิ ทร์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 214 (สุรนิ ทร์ – ปราสาท) แล้วเลี้ยวซ้ายบริเวณแยกพัฒนานิคมสร้างตนเองเข้า ถนนสาย 24 แล้วเบี่ยงขวาออกมายังถนนหมายเลข 2397 ไปต�ำบลแนงมุด ก็จะถึงวัดมงคลคชาราม ความส�ำคัญ ท่านเจ้าคุณพระพิมลพัฒนาทร หรือหลวงพ่อพวน วรมังคโล ได้พ�ำนักปฏิบตั ธิ รรมในถ�ำ้ ใกล้ๆ ท่านมีความรู้สึกว่าสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์มาก ท่านเดินทาง ไปๆ มาๆ ระหว่างวัดมงคล รัตน์ และวัดแห่งนี้ จนถึงปี พ.ศ. 2527 จึงได้พ�ำนัก และด�ำเนิ น การสร้า งเป็นวัด มงคลคชาราม (วัดช้าง หมอบ) จากการที่หลวงพ่อพวนได้ปฏิบัติกัมมัฏฐาน ท�ำให้ ร อยพระพุ ท ธบาทชั ด เจนขึ้ น ซึ่ ง เป็ น รอยพระ พุทธบาทที่อยู่เหนือถ�้ำ ซึ่งเป็นถ�้ำที่หลวงพ่อพวนนั่ง บ�ำเพ็ญเพียรวิปัสนากัมฐานอยู่เป็นประจ�ำ หลวงพ่อพวน วรมังคโล ได้ท�ำการก่อสร้าง พระปรางค์ ป รางค์ กุ ญ ชรมณี ศ รี ไ ตรยอดเพชร เพื่ อ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า และพระสารีรกิ ธาตุของพระอริยสงฆ์ และพระธาตุที่เสด็จมาและเก็บไว้ที่วัดมงคลคชาราม ดินแดนอันศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งนีเ้ พือ่ สืบทอดพระพุทธศาสนา และให้พุทธศาสนิกชนได้เคารพบูชาสักการะได้ตลอด ไป และพั ฒ นาเป็นสถานที่ท ่อ งเที่ย วเชิงวัฒนธรรม ของจังหวัดสุรินทร์อีกแห่งหนึ่ง


จังหวัด

สุรินทร์ 29

พุทธอุทยานแห่งแรกในประเทศไทย วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร พุทธอุทยานวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ตั้งอยู่ ที่บ้านจรัส หมู่ที่ 1 ต�ำบลจรัส อ�ำเภอบัวเชด จังหวัด สุรินทร์ ติดชายแดนกัมพูชา เป็นพุทธอุทยานแห่งแรก ของประเทศไทย หรือจะเรียกว่าแห่งแรกของโลกเลยก็ ว่าได้ ภายในวัดมีพระอุโบสถ เจดีย์ วิหารคต กุฏิพระ สงฆ์ เหนือขึ้นไปอีกจนถึงผาพระ (ผานางคอย) จะเห็น พระนาคปรกองค์ใหญ่ รูปหล่อหลวงปูม่ นั่ รูปหล่อหลวง ปู่ดูลย์ ประดิษฐานไว้บนเชิงเขา ถัดขึ้นไปด้านบน พบ รอยพระพุ ท ธบาทหิ น ทรายขนาดใหญ่ ศิ ล ปะเขมร โบราณ สลักภาพในรอยพระบาท จ�ำนวน 166 ภาพ 23 แถว เป็นรูปสัตว์ในธรรมชาตินานาชนิด มีน�้ำตก ส�ำคัญเป็นต้นนำ�้ หล่อเลีย้ งผืนป่าด้านล่างคือ “นำ�้ ตกไตร คีรี” ท�ำให้ผืนป่าแห่งนี้เขียวชอุ่มตลอดปี เป็นป่าดงดิบ ที่ยังอุดมสมบูรณ์ที่สุดเพียงแห่งเดียวในเขตอีสานใต้ที่ ยังคงหลงเหลืออยู่ เหมาะแก่การพักผ่อนที่เงียบสงบ ในร่มเงาของศาสนาและผืนป่าที่สมบูรณ์ การเดิ น ทาง บนเส้ น ทางหลวงถนนบั ว เชด บ้านจรัส มีทางแยกขวามือเข้าวัด เป็นถนนลาดยาง ประมาณ 2.5 กิโลเมตร ก็จะถึงบริเวณวัด ทางขึ้นเขา ค่อนข้างสูงชัน แต่ไม่อันตราย รถยนต์สามารถขึ้นได้ สะดวก ความสูงจากพื้นราบไม่เกิน 100 เมตร


30

จังหวัด

สุรินทร์

วัดอินทราสุการาม (วัดหนองยาว)

ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลกระเทียม อ�ำเภอสังขะ จังหวัด

สุรินทร์ การเดินทาง ห่างจากตัวเมือง 38 กม. ใช้ ทางหลวงหมายเลข 226 ประมาณ 2 กม.เข้าสูท่ างหลวง หมายเลข 2077 (สุรินทร์ – สังขะ) ประมาณ 24.5 กม.เลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 2288 ( ล�ำดวนหนองยาว) ประมาณ 10 กม. เลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวง หมายเลข 24 (ปราสาท-สังขะ) วัดอยู่ฝั่งขวา หลวงปู่เจียม อติสโย วัด อินทราสุการาม (วัดหนองยาว) ต.กระเทียม อ.สังขะ จ.สุรินทร์ มี ชื่ อ เสี ย ง ในด้ า นวิ ป ั ส สนา กัมมัฏฐานและวิทยาคม พระ เกจิ อ าจารย์ ชื่ อ ดั ง แห่ ง เมื อ ง สุรนิ ทร์ ปัจจุบนั คณะสงฆ์และ คณะศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ไ ด้ น�ำร่ า ง หลวงปูเ่ จียมบรรจุไว้ในโลงแก้ว ตั้งไว้ ณ ศาลาการเปรียญ วัดอินทราสุการามเพื่อให้ ประชาชนกราบไหว้ร�ำลึกถึงคุณงามความดี


จังหวัด

สุรินทร์ 31

ปราสาทภูมิโปน ปราสาทขอมโบราณ ทีม่ อี ายุเก่าแก่มากทีส่ ดุ ในประเทศไทย ปราสาทภูมิโปน เป็นปราสาทแบบศิลปะเขมร ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย สร้างขึ้นในสมัย พุทธศตวรรษที่ 12-13 ทับหลังท�ำด้วยหินทราย เหนือ ทับหลังขึ้นไปมีลายรูปใบไม้ม้วนรูปแบบ เทียบได้กับ ปราสาทขอมสมัยก่อนพระนคร และพบจารึกภาษา สันสกฤต อักษรปัลลวะ ซึ่งเคยใช้ในราวพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 ซึ่งถือเป็นจารึกรุ่นแรก จึงมีความส�ำคัญ เป็นอย่างยิ่ง ในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะมีการ จัดงานสืบสานต�ำนานปราสาทภูมิโปน คุณค่าเหนือ กาลเวลา เมื่อได้มาเยือนปราสาทภูมิโปน

การเดินทาง จากจังหวัดสุรินทร์ ใช้ทางหลวง

หมายเลข 2077 (สายสุรินทร์ - สังขะ) ระยะทาง 49 กิ โ ลเมตร จากแยกอ�ำเภอสั ง ขะเข้ า ทางหลวง หมายเลข 2124 (สังขะ - บัวเชด) ตรงต่อไปจนถึง บ้านภูมิโปนอีก 10 กิโลเมตร จะเห็นปราสาทอยู่ริม ถนนด้านซ้ายมือ


32

จังหวัด

สุรินทร์

วนอุทยานป่าสนหนองคู อยูท่ บี่ า้ นหนองคูต�ำบลโชกเหนือ อ�ำเภอล�ำดวน เป็นเขตอนุรักษ์พันธุ์ไม้สนสองใบ ที่ถือว่าเป็นพันธุ์ที่ดี ที่สุดที่ขึ้นในที่ราบสูง เป็นโครงการร่วมระหว่างไทยเดนมาร์ก มีเนื้อที่ 625 ไร่ มีลักษณะเด่นคือ เป็นสน สองใบที่ ขึ้ น ในที่ ร าบแห่ ง เดียวในประเทศไทย สภาพ ป่าสนนัน้ มีลกั ษณะเฉพาะ ที่ แตกต่างจากป่าสนทั่วไปคือ เป็ น ป่ า สนที่ ขึ้ น ปนกั บ ป่ า เบญจพรรณ ปะปนกั บ ไม้ ยางนา กะบาก เหียง ตาด ฯลฯ ไม้ พื้ น ล่ า งเป็ น พวก หญ้าแพ็ก สาบเสือ และหวาย ตามปกติปา่ สนมักจะอยู่ สูงจากระดับนํ้าทะเล ตั้งแต่ 700 เมตรขึ้นไป ส่วนไม้ สนสองใบขึ้นได้ในระดับตํ่า คือตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป โดยประมาณ และมีอากาศหนาวเย็น แต่ต้นสนสองใบ ของ จ.สุรินทร์ขึ้นอยู่ในพื้นที่ราบ สูงจากระดับนํ้าทะเล ประมาณ 100 กว่าเมตรเท่านั้น เป็นสถานที่พักผ่อน หย่อนใจของชาวสุรินทร์อีกแห่งหนึ่งที่นี้เหมาะที่จะ กลางเต็นท์นอน สนใจติดต่อสอบถามได้ที่ ส�ำนักงาน ป่าไม้จังหวัดสุรินทร์ โทร. 044 -311362

การเดินทาง อยู่ห่างจากจังหวัดสุรินทร์ประมาณ

35 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางถนนสายสุ ริ น ทร์ - สั ง ขะ (ทางหลวงหมายเลข2077) ตรงไปกิโลเมตรที่ 36 – 37 หรือใช้เส้นทางสายโชคชัย – เดชอุดม มาทางอ�ำเภอ สังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ผ่านอ�ำเภอสังขะไปสุรนิ ทร์หา่ งจา กอ�ำเภอสัขะประมาณ 7 กิโลเมตร ก็จะถึงวนอุทยาน ป่าสนหนองคู


จังหวัด

สุรินทร์ 33

ปราสาทศีขรภูมิหรือปราสาทระแงง จังหวัดสุรินทร์

ปราสาทศีขรภูมิ เป็นศาสนาสถานในลัทธิไศว

นิกาย สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 17 และมีการบูรณะ เพิ่มเติมในพุทธศตวรรษที่ 22 เป็นแบบศิลปะล้านช้าง ตรงกลางปราสาท ปรางค์ ป ระธานมี ทั บ หลั ง ที่ มี ความสวยงามและสมบู ร ณ์ ที่ สุ ด ชิ้ น หนึ่ ง ในประเทศ ไทย ที่สลักเป็นภาพศิวะนาฏราชสิบกร ทรงฟ้อนร�ำอยู่ เหนือเกียรติมุข ในท่วงท่าที่ร่ายร�ำอ่อนช้อย ภายใต้ วงโค้งลายท่อนมาลัย และมีเทพอีก 4 องค์ พระคเนศ พระพรหม พระวิษณุ และพระอุมา ร่วมถึงเหล่าเทวดา ฤษี หงส์ และสัตว์อีกหลายชนิด จะเห็นได้ว่าเป็น ทับหลังที่สวยงามมากที่สุดในประเทศไทย ที่ส�ำคัญ ปราสาทศีขรภูมิใช้เป็นตราสัญลักษณ์ประจ�ำจังหวัด สุรินทร์


34

จังหวัด

สุรินทร์

น างอั ป สรา สวยที่ สุ ด แห่งเดียวในประเทศไทย ทีป่ ราสาทศีขรภูมิ หลาย ท่ า นอาจจะคุ ้ น ชิ น กั บ นาง อัปสราในปราสาท นครวัต ประเทศกัมพูชา ที่มียืนเรียงรายอยู่เป็น จ�ำ น ว น ม า ก แ ต ่ ใ น ประเทศไทยนั้ น พบรู ป สลั ก “นางอั ป สราถื อ ดอกบัว” เพียงแห่งเดียว เท่านัน้ ทีป่ ราสาทศีขรภูมิ ไม่พบในปราสาทขอมโบราณ ในแห่งใดอีกเลยในประเทศไทย เป็นอีกหนึง่ ความพิเศษ ที่ไม่ควรพลาดเมื่อมาเยือนสุรินทร์ เพราะนางอัปสรา ทั้งสองได้ยืนหันหน้าทักทายแขกผู้มาเยือนอยู่ทั้งสอง ด้านของเสากรอบประตู ด้วยเครื่องแต่งกายอันวิจิตร งดงาม สักครั้งในชีวิตไม่ควร พลาด ที่จะมาชมความงาม ของนางอั ป สราด้ ว ยตาของ ตนเอง นอกจากนี้ แ ล้ ว ไม่ ค วรพลาดชมการแสดง แสง สี เสียง สืบสานต�ำนาน พันปีปราสาทศีขรภูมิ จัดขึ้น ในช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน ทุกปี การเดิ น ทาง จากจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ใ ช้ ท างหลวง หมายเลข 226 สุรินทร์-ศีขรภูมิ พอถึงหลัก กิโลเมตร ที่ 35 เลี้ยวซ้ายมาประมาณ 500 เมตร จะพบปราสาท ศีขรภูมิ


จังหวัด

สุรินทร์ 35

ปราสาทจอมพระ ตั้งอยู่ที่บ้านศรีดงบัง ต�ำบลจอมพระ อ�ำเภอ จอมพระ จังหวัดสุรนิ ทร์ ปราสาทจอมพระ เป็นปราสาท ขอมประเภท อโรคยาศาล ศิลปะขอมแบบบายน อายุ ราวพุทธศตวรรษที่ 18 ปราสาทประธานก่อด้วยศิลา แลง บรรณาลัย ก่อด้วยศิลาแลง ก�ำแพงและโคปุระ(ซุ้ม ประตู)ก่อด้วยศิลาแลง สระนํ้าหรือบาราย กรุขอบศิลา แลง มีศิลาจารึกเป็นอักษรขอม ภาษาสันสกฤต เนื้อหา เป็นเรื่องเกี่ยวกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงสร้าง อโรค ยศาลหรือศาสนสถานประจ�ำโรงพยาบาล การเดินทาง จากตัวเมืองสุรน ิ ทร์ไปตามทางหลวง หมายเลข 214 ถนนสายสุรินทร์ จอมพระ เป็นระยะ ทาง 26 กิโลเมตร เมื่อถึงตัวอ�ำเภอจอมพระ ให้เลี้ยว ขวาตรงไปอีกประมาณ 500 เมตร จะผ่านสระนํ้าใหญ่ ใกล้ กั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด ป่ า ปราสาทจอมพระและ ปราสาทจอมพระอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัด


36

จังหวัด

สุรินทร์

หมู่บ้านเลี้ยงช้างที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีช้างเยอะที่สุดในประเทศไทย

หมู ่ บ ้ า นช้ า ง

บ้านตากลาง ต�ำบล กระโพ อ�ำเภอท่าตูม จั ง ห วั ด สุ ริ น ท ร ์ บรรพบุ รุ ษ ดั้ ง เดิ ม เป็นชาวกูย มีอาชีพ ในการคล้องช้างป่า แล้ ว น�ำมาฝึ ก ไว้ ใช้งานและเป็น สั ต ว์ เ ลี้ ย งประจ�ำ ครอบครัว ปัจจุบัน ยั ง คงชุ ม ชนเลี้ ย ง ช้างไว้ในบ้าน ก่อเกิดเป็นเอกลักษณ์ชมุ ชนทีโ่ ดดเด่นไม่ เหมือนใคร มีจ�ำนวนช้างมากถึง 200 เชือก เมื่อถึงงาน แสดงช้ า งจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ จ ะมี ก ารร่ ว มกั น มากที่ สุ ด ในประเทศไทย หมู่บ้านแห่งนี้จึงมีจ�ำนวนช้างมากกว่า ที่อื่น ปัจจุบันเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาร่วมเรียนรู้ วิถีชีวิตคนกับช้าง และมีการแสดงช้างแสนรู้ไว้คอย ต้อนรับนักท่องเทีย่ ว ติดต่อสอบถามได้ทศี่ นู ย์คชศึกษา หมู่บ้านช้าง โทร. 0 4414 5050


จังหวัด

สุรินทร์ 37

สุสานช้าง อนุสรณ์สถานหนึ่งเดียวในโลก

สุสานช้าง วัดป่าอาเจียง อนุสรณ์สถานที่มีอยู่ ณ บ้านตากลาง อ�ำเภอท่าตูม จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยการริเริม่ หลวงพ่อพระครูสมุหห์ าญ ปญฺญาธโร เจ้าอาวาส วัดป่า อาเจียง ด้วยเคยมีชวี ติ ผูกพันกับช้างมาตัง้ แต่เด็ก ท�ำให้ รูถ้ งึ ความรูส้ กึ นึกคิดของช้างทีไ่ ม่ตา่ งจากคน เมือ่ ถึงช่วง วาระสุดท้ายของชีวิตจึงอยาก กลับมายังถิน่ เดิมของตนทีเ่ คย อาศัย อยู่ วัดป่าอาเจียงที่นี้มี หลุมฝังมากกว่า 200 หลุม แต่ละหลุมถูกออกแบบเป็นรูป พระมาลา พระมหากษัตริย์ ครอบทับแทนคุณค่าของเหล่า ช้างศึก ถือว่าเป็นอีกแหล่งท่องเที่ยวประเภทวิถีชุมชน ของจังหวัดสุรินทร์ ที่ให้แง่คิดหลากหลายมุมมอง การเดินทาง จากจังหวัดสุรน ิ ทร์ ใช้เส้นทาง 214 สุรินทร์ – ร้อยเอ็ด ผ่านอ�ำเภอจอมพระ ถึง กม.ที่ 36 เลี้ ย วซ้ า ย ถนนทางหลวงชนบท บ้ า นหนองตาด (สร 3027) ผ่าน อบต. กระโพ ตรงไปจะถึงศูนย์ คชศึกษา


38

จังหวัด

สุรินทร์

วัดพระพุทธบาทพนมดิน วัดพระพุทธบาทพนมดิน อ�ำเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ หลวงปู่ธรรมรังษี “ท่านเจ้าคุณสองแผ่นดิน” ด้วยคุณงามความดีและแนวทางการปฏิบัติพระกรรม ฐานของหลวงปู่ธรรมรังสี ประชาชนสามารถเดินทาง มากราบสักการะพระบรมสารีริกธาตุ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ภายในวัดพระพุทธบาทพนมดิน สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ แห่ ง เขาพนมดิ น สั ก การะรอยพระพุ ท ธจ�ำลอง ณ มณฑปวัดพระพุทธบาท เขาพนมดิน หากท่านใดได้ สักการบูชา ก็จะเกิดสิริมงคลแก่ชีวิต แคล้วคลาดจาก เคราะห์ภัยทั้งปวง


จังหวัด

สุรินทร์ 39

พระปรางค์โพธิ์ศีรธาตุ เดิมเป็นปราสาท ขอมสร้ า งด้ ว ยศิ ล าแลง และศิลาทราย ต่อมาทาง วัดได้รอื้ ส่วนเรือนธาตุของ ปราสาทออกจนเหลื อ เพียงฐานศิลาแลง และได้ น�ำวั ส ดุ ที่ ไ ด้ จ ากการรื้ อ ปราสาทมาสร้างเจดีย์รูป ทรงสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ทั บ ซ้อนอยู่บนฐานปราสาท ภายในบริเวณวัดพบแท่น ประตมิากรรมศิลาทราย และฐานศิลาแลง แต่จากหลักฐานปรากฏให้เห็นว่า เคยเป็นปราสาทขอมมาก่อนแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรม ขอมในดินแดนแถบนี้ ก า ร เ ดิ น ท า ง ปรางค์ วั ด โพธิ์ ศ รี ธ าตุ ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 1 ต�ำบล ธาตุ อ�ำเภอรั ต นบุ รี จังหวัดสุรินทร์ จากตัว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ไปตาม ทางหลวงหมายเลข226 ถนนสายสุรินทร์ – ศีขรภูมิ เมื่ อ มาถึ ง ตั ว อ�ำเภอศี ข รภู มิ ให้ เ ลี้ ย วซ้ า ยไปตาม ทาง สร.2079 ทางทีจะไปอ�ำเภอรัตนบุรี ให้เลี้ยว ขวาไปตามทางสร.2076 อีกเป็นระยะทาง 9 กิโลเมตร จะถึ ง บ้ า นธาตุ ทางขวามื อ จะเป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด โพธิ์ ศรี ธ าตุ ซึ่ ง ได้ ส ร้ า งเจดี ย ์ ห ลั ง ใหม่ ตั้ ง อยู ่ บ นฐาน ปราสาท


40

จังหวัด

สุรินทร์

เทศกาลงานประเพณี

งานแต่งงานและจดทะเบียนสมรสบนหลังช้าง จัดขึ้น

ทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ณ ศูนย์คชศึกษา บ้านตากลาง อ�ำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วน จังหวัด สุรินทร์ โทร. 0 4451 4524 งานประเพณีขึ้นเขาสวาย เคาะระฆังพันใบ กราบ ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ 9 แห่ง จัดขึ้นในวันขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 5 ของทุกปี (ปลายเดือนมีนาคม หรือต้นเดือนเมษายน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วน จังหวัดสุรินทร์ โทร. 0 4451 4524

งานสืบสานต�ำนานปราสาทภูมโิ ปน

(ต�ำนานเนียง ด็อฮฺ ทม) ต�ำนาน ปราสาทภู มิ โ ปน (ต�ำนานเนี ย ง ด็อฮฺ ทม) จัดขึ้นวันที่ 11 เมษายน ณ ปราสาทภู มิ โ ปน ต�ำบลดม อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ทีว่ า่ การอ�ำเภอสังขะ โทร. 0 4457 1247 องค์การบริหารส่วนต�ำบล ดม โทร. 0 4414 826

งานเยี่ยมเยือนปราสาทตาเมือนเดือนเมษา จัดขึ้น ทุกวันที่ 12 เมษายนของทุกปี ณ บริเวณกลุ่มปราสาท ตาเมือนธม บ้านหนองคันนา ต�ำบลตาเมียง อ�ำเภอพนม ดงรัก จังหวัด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วน ต�ำบลตาเมียง โทร. 0 4450 8240


จังหวัด

สุรินทร์ 41

ประเพณีบวชนาคช้าง จัดขึน้ ในวันที่ 8-9 พฤษภาคม

2560 ชมขบวนแห่นาคด้วยช้างนับร้อยเชือก ณ บริเวณ วังทะลุ ศูนย์คชศึกษา บ้านตากลาง อ�ำเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วน จังหวัดสุรินทร์ โทร.0 4451 4524 งานมหกรรมแห่เทียนพรรษา และตักบาตรบนหลัง ช้างจังหวัดสุรินทร์ จัดขึ้นในวันที่ 7 - 8 กรกฎาคม 2560 ขบวนแห่เทียนพรรษา ขบวนอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐานบนหลังช้าง 30 กรกฎาคม 2558 (ขึ้น 14 ค�่ำ เดือน 8) พิธที �ำบุญตักบาตรบนหลังช้างทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก ช่วงเช้าวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 (ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8) สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ ฝ่ า ยอ�ำนวยการ ส�ำนักงานสุรินทร์ โทร. 0 4451 2039, 0 4452 1358 งานงัยเบ็ญทม แซนโฎนตา บูชาบรรพบุรษุ จัดขึน้ ใน วันแรม 12 เดือน 10 ปีนี้ตรงกับวันที่ 17 กันยายน 2560 ณ อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง อ�ำเภอ เมือง จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วน จังหวัดสุรินทร์ โทร. 0 4451 4524


42

จังหวัด

สุรินทร์

งานประเพณีแข่งขัน เรือยาวชิงถ้วยพระราชทานฯ จังหวัดสุรินทร์ จัดขึ้นทุกวันเสาร์ อาทิตย์ สัปดาห์แรก หลัง

วันออกพรรษา ปีนี้ตรงกับวันที่ 7-8 ตุลาคม 2560 ณ ล�ำน�้ำมูล บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรม ราชินีนาถ อ�ำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เทศบาลต�ำบลท่าตูม โทร. 0 4459 1166 งานมหัศจรรย์งานช้างสุรินทร์ จัดขึ้นสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายนของทุกปี การแสดงช้างจังหวัดสุรนิ ทร์ กว่า 300 เชือก ทีย่ งิ่ ใหญ่ตระการตา ณ สนามกีฬาศรีณรงค์ และสนามแสดงช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ ฝ่ า ยอ�ำนวยการ ส�ำนักงานจังหวัดสุรินทร์ โทร. 0 4451 2039, 0 4452 1358 งานสืบสานต�ำนานพันปีปราสาทศีขรภูมิ จัดขึ้นใน วันที่ 17 - 18 พฤศจิกายน 2560 ณ ปราสาทศีขรภูมิ อ�ำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ เทศบาล ต�ำบลระแงง โทร. 0 4456 1234 เทศกาลปลาไหล ข้าวใหม่หอมมะลิ และงานกาชาดประจ�ำปี จัดขึ้นทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ สัปดาห์ทสี่ ามของเดือนธันวาคม ตรงกับวันที่ 16 - 17 ธันวาคม 2560 ณ สนามที่ ว่ า การอ�ำเภอชุม พลบุรี อ�ำเภอ ชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ ฝ่ายบริหารงานปกครองที่ ว่าการอ�ำเภอชุมพลบุรี โทร. 0 4459 6088


จังหวัด

สุรินทร์ 43

สินค้าพื้นเมืองของที่ระลึก กาละแมสด

ของฝากขึ้นชื่อของจังหวัดสุรินทร์ มาถึงแล้วไม่ ได้ชิมถือว่าไม่ถึงจริง ด้วยรสชาติท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะ ตัว เหนียว นุ่ม หวานมัน ไร้สารเคมีเจือปน ห่อด้วย ใบตองแห้ง กลิน่ หอมของใบตองธรรมชาติเพิม่ อรรถรส ในการกินได้เป็นอย่างดี เก็บไว้ได้นานแค่ 3 วัน จุดเด่น ใช้กะทิสด การันตีได้ว่ากินชิ้นแรกแล้ว ต้องมีชิ้นที่สองตามมา เผลอ ๆ หยุดไม่ได้เลยทีเดียว สถานที่จ�ำหน่าย ร้ า นขายของที่ ร ะลึ ก ในเมื อ ง สุรินทร์

ผักกาดหวานเมืองสุรินทร์ เป็นสินค้า OTOP ระดับห้าดาว ส่งเสริมให้ เกษตรกรในท้องถิ่น ปลูกโดยไม่ใช้ปุ๋ย หรือยาฆ่าแมลง เป็นผักกาดหวานอินทรีย์ที่อร่อยและปลอดภัย รสชาติ หวาน กรอบไม่เหมือนใคร จนเป็นหนึ่งในค�ำขวัญของ จังหวัดสุรินทร์


จังหวัด

สุรินทร์

จุดเด่น เคล็ดลับของความหอมหวานของผักกาด หวานเมืองสุรินทร์คือ การใช้นํ้าผึ้งเป็นส่วนผสมในการ ดองจนได้รสชาติที่อร่อยลํ้าลงตัว ใครมาสุรินทร์ห้าม พลาดเป็นอันขาด สถานที่จ�ำหน่าย ร้านขายของที่ระลึกในจังหวัด สุรินทร์

ข้าวสารหอมมะลิสุรินทร์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เ ป็ น แหล่ ง ผลิ ต ข้ า วหอมที่ มี คุณภาพ โดยเกษตรกรผลิตข้าวอินทรีย์ปลอดสารพิษ จนเป็นที่ยอมรับและสร้างชื่อเสียง ขจรขจายไปไกล ข้าวหอมมะลิของสุรินทร์มีความพิเศษ คือ มีกลิ่นหอม เมล็ ด ข้ า วเรี ย วยาว สี ข าวนวล เมื่ อ หุ ง เป็ น ข้ า วสุ ก มี ร สชาติ ห วานก�ำลั ง ดี เวลาเคี้ ย วอ่ อ นนุ ่ ม ซึ่ ง เป็ น คุ ณ ลั ก ษณะเด่ น ของข้ า วหอมมะลิ สุ ริ น ทร์ ข องดี ๆ แบบนี้ต้องช่วยกันสนับสนุน สถานที่จ�ำหน่าย สหกรณ์ ก ารเกษตรปราสาท โทร. 044-551718, 044-551227 และร้านจ�ำหน่าย ของฝากในจังหวัดสุรินทร์


จังหวัด

สุรินทร์ 45

สถานที่พัก Accommodation Directory โรงแรม, ที่พัก (Accommodation)

• ทองธารินทร์ Thong Tarin Hotel 0 4451 4281-8 • เพชรเกษมแกรนด์ Phethchkasemgrand Hotel 0 4451 1274, 0 4451 1740 • เกษมการ์เด้น Kaseam Gardent Hotel 0 4471 3485-7 • สุรินทร์มาเจสติก Surin Margestic Hotel 0 4471 3980-3 • มณีโรจน์ Manerote Hotel 0 4453 9477-9 • มาติน่า Matina Hotel 0 4471 3555 • บ้านตะวันฉาย Baan Tawan Shine 044-538881 • สวนป่า SuenPa Resort 0 4452 1022, 08 1390 0144 • เลอเบียง Le bien Resort 08 1732 4615, 08 1760 4087 • กระท่อมพฤกษา Preuksa Home Stay 0 4451 4724 • ดิ ออร์คิด เรสซิเดนซ์ The Orchid Residence 0 4453 0101, 08 1955 6348 • วีว่าเพลส Viva Place 0 4451 4929 ,08 1760 2372 • ต้นคูณ Thon Koonn Resort 0 4453 0077 • กรีนวิว Green View 0 4451 9261 • บ้านนา พฤกษา รีสอร์ท Ban Na Pruksa Resort 044-140817 • สวนปาล์ม Suan Plam Resort 0 4451 9456-7


46

จังหวัด

สุรินทร์

ร้านอาหารจังหวัดสุรินทร์

ร้านกรีนเทอเรส

โทร. 044-511682

ร้านเซเรเบรส

โทร. 044-518900

ร้านอาหารหน้ามอ โทร. 063-163 2455 ร้านชิดรมย์

โทร. 085-766 3322

ร้านโคคา

โทร. 044-512390

ร้านชายน้ำ�

โทร. 044-143044

ร้านบ้านนา

โทร. 044-513789

ร้านครัวบ้านสวน

โทร. 087-249 9499

ร้านสวนป่ารีสอร์ท โทร. 044-521411-2 ร้านระเบียงไม้

โทร. 044-513604

ร้านรัตนาปลาเผา

โทร. 044-725195

ร้านส้มตำ�แม่เพชร

โทร. 085-3030984, 089-8457958

ร้านเสบียง

โทร. 044-515429

ร้านป้าพิมพ์ปลาเผา โทร. 081-977 0096 ห้องอาหารเพชรปราสาท

โทร. 044-551166

ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่ปราสาท

โทร. 044-551022

สวนอาหารพรนภา

โทร. 044-532468


จังหวัด

สุรินทร์ 47

การเดินทางสูจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์ การเดิ น ทาง : สุ ริ น ทร์ อ ยู ่ ห ่ า งจากกรุ ง เทพฯ ประมาณ 457 กิโลเมตร นักท่องเทีย่ วสามารถเดินทาง สู่จังหวัดสุรินทร์ได้หลายวิธี ทั้งทางรถยนต์ส่วนตัวรถ ประจ�ำทาง และรถไฟ โดยรถไฟ : การรถไฟแห่งประเทศไทยมีบริการ รถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวล�ำโพง) ไปยัง จังหวัดสุรินทร์ ทุกวันสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ โทร. 1690 และสถานีรถไฟสุรนิ ทร์ โทร. 0-44511296 www.railway.co.th โดยรถยนต์ : จากกรุงเทพฯ สามารถไปได้ 2 เส้นทาง คือ 1. ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) จนถึง จังหวัดสระบุรี แยกขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ไปจนถึงจังหวัดนครราชสีมา จากนัน้ แยกใช้ ทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านจังหวัดบุรรี มั ย์ ถึงจังหวัด สุรินทร์ รวมระยะทางประมาณ 434 กิโลเมตร 2. ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) จนถึง จั ง หวั ด สระบุ รี แยกขวาเข้ า สู ่ ท างหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ไปจนถึงอ�ำเภอสีคิ้ว แยกเข้าทางหลวง หมายเลข 24 (โชคชัย-เดชอุดม) ผ่านอ�ำเภอโชคชัย อ�ำเภอนางรอง อ�ำเภอประโคนชั ย แล้ ว เลี้ ย วซ้ า ย เข้ า สู ่ เ ส้ น ทางหมายเลข 214 ที่ อ�ำเภอปราสาท ขับต่อไปจนถึงจังหวัดสุรินทร์รวมระยะทางประมาณ 450 กิโลเมตร


48

จังหวัด

สุรินทร์

หมายเลขโทรศัพท์ที่ส�ำคัญ Important Tele ต�ำรวจทางหลวง / Highway Police Surin

(044) 515388

ททท.ส�ำนักงานสุรินทร์ / Tourism Authority of Thailand Surin Office (044) 5144447-8 ศาลากลางจังหวัด / Surin City Hall

(044) 512039

สถานีขนส่งจังหวัด / Surin Bus Station

(044) 511756

สถานีต�ำรวจภูธร อ.เมือง / Provincial Police station (044) 511007, 513555 สถานีรถไฟ / Surin Train

(044) 511295

โรงพยาบาลกาบเชิง / Kabchoeng Hospital

(044) 559002

โรงพยาบาลชุมพลบุรี/ Chumphonburi Hospital

(044) 596320-3

โรงพยาบาลท่าตูม / Thatum Hospital

(044) 591126


จังหวัด

สุรินทร์ 49

tant Telephone Numbers โรงพยาบาลบัวเชด /Buachet Hospital

(044) 579002

โรงพยาบาลประสาท /Prasat Hospital

(044) 551295

โรงพยาบาลรัตนบุรี /Rattanaburi Hospital

(044) 599151

โรงพยาบาลล�ำดวน /Lamduan Hospital

(044) 541090

โรงพยาบาลศีขรภูมิ /Sikorrapom Hospital

(044) 561160

โรงพยาบาลสนม /Sanom Hospital

(044) 589025

โรงพยาบาลสังขะ /Sangkha Hospital

(044) 571028

โรงพยาบาลส�ำโรงทาบ /Samrongtab Hospital

(044) 569080

โรงพยาบาลสุรินทร์ /Surin Hospital

(044) 511757



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.