/TNE-53-v1

Page 42

สมดุลและหลากหลาย

42

Thailand's Nature and Environment Journal

ชั้นคุณภาพลุมน้ำและมาตรการการใชที่ดินในแตละชั้นคุณภาพ ลุม น้ำ ถูกใชเปนเครือ่ งมือสำหรับบริหารจัดการลุม น้ำ ในการควบคุม โครงการพัฒนาของหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่อาจมีผลกระทบ ตอพื้นที่ลุมน้ำ ใชเปนกรอบในการจัดทำแผนบริหารจัดการหรือแผน ปฏิบัติการในพื้นที่ลุมน้ำ ตลอดจนแผนควบคุมมลพิษสิ่งแวดลอม ซึง่ ทีผ่ า นมาสามารถรักษาคุณภาพสิง่ แวดลอมไวไดในระดับหนึง่ แต เนื่องจากการดำเนินการจัดทำขอมูลเพื่อกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ ในระยะแรกเปนการจัดทำในระดับลุมน้ำหลัก ดังนั้นเมื่อนำผลการ ดำเนิ น งานไปใช ใ นระดั บ พื้ น ที่ จึ ง ยั ง มี ป ญ หาในการนำไปปฏิ บั ติ ประกอบกับสถานการณในปจจุบนั ไดใหความสำคัญกับการมีสว นรวม ของภาคประชาชนตามที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม มาตรา 85 ที่กำหนดหลักเกณฑการใชที่ดินใหครอบคลุม ทั่วประเทศ โดยใหคำนึงถึงความสอดคลองกับสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ำ วิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่นและการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และกำหนดมาตรฐาน การใชท่ดี ินอยางยั่งยืนโดยตองใหประชาชนในพื้นที่ท่ไี ดรับผลกระทบ จากหลักเกณฑการใชทด่ี นิ นัน้ มีสว นรวมในการตัดสินใจดวย ตลอดจน เทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบันมีความสามารถในการเก็บและ วิเคราะหขอมูลเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นควรดำเนินการในการกำหนด ชั้นคุณภาพลุมน้ำในระยะตอไป ดังนี้ 1. เตรียมความพรอมของกลุม /องคกร ซึง่ ประกอบดวยทุกกลุม ที่ เกี่ยวของกับการใชที่ดินในพื้นที่ลุมน้ำยอย เพื่อใหเกิดความรู ความ เขาใจในแนวความคิดการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ รวมทั้งวิธีการ ใชเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ในฐานะหนวยงานประสานการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ ควรจัดทำ แผนที่การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำโดยใชหลักวิชาการในภาพรวม ของลุมน้ำหลัก พรอมกำหนดกรอบมาตรการการใชที่ดินในแตละ ชั้นคุณภาพลุมน้ำ เพื่อใหกลุม/องคกรที่จัดตั้งขึ้นตามขอ 1 นำไป ดำเนินการจัดทำแผนที่การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำและมาตรการ การใชที่ดินในระดับลุมน้ำยอย 3. กลุม/องคกรที่จัดตั้งขึ้นควรทำการปรับปรุงแผนที่ โดยสำรวจ รายละเอียดขอเท็จจริงในพืน้ ทีก่ บั แผนทีก่ ารกำหนดชัน้ คุณภาพลุม น้ำ ที่จัดทำขึ้น และกำหนดรายละเอียดของมาตรการการใชที่ดินในพื้นที่ รวมกับนำภูมิปญญาทองถิ่นในการอนุรักษดินและน้ำในแตละพื้นที่ มาประกอบ โดยใชมาตรการการใชที่ดินในแตละชั้นคุณภาพลุมน้ำ เปนกรอบในการจัดทำรายละเอียดในระดับลุมน้ำยอย 4. ประกาศใช แ ผนที่ ก ารกำหนดชั้ น คุ ณ ภาพลุ ม น้ ำ และราย ละเอี ย ดมาตรการการใช ที่ ดิ นในแต ล ะพื้ น ที่ ร ะดั บ ลุ ม น้ ำ ย อ ย ทั้งนี้ กลุม/องคกรที่จัดตั้งขึ้นจะตองประสาน กำกับ ติดตามใหมี ดำเนินงานตามมาตรการการใชที่ดินในพื้นที่ที่กำหนดขึ้น รวมทั้งมี การประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับลุมน้ำยอย 5. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ประสานติดตามและประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับลุมน้ำหลัก หลังจากกลุม/องคกรนำแผนที่การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำและ มาตรการการใชที่ดินในพื้นที่ระดับลุมน้ำยอยไปใชเปนเครื่องมือ ประกอบการบริหารจัดการลุมน้ำ

BALANCE AND DIVERSE

Watershed class and land use measure in each watershed classes are being used as watershed management instruments for controlling development projects of both public and private sectors that may affect watershed areas. They are being used as a framework for the preparation of management plan or action plan in the watershed areas, including the plan to control environmental pollution. It could be said that the implementation of watershed class is capable to maintain environmental quality at certain level. However, since data preparation for determining watershed class was completed only at the initial stage, and it focused on the main watershed area. Practical problems still occurred when it was implemented in micro watershed. Furthermore, the current situation places emphasis on people’s participation as stipulated in the Constitution of the Kingdom of Thailand 2007. The policy regarding land, natural resources and the environment in article 85 has extended land use all over the country by considering the environmental compatibility of land, water, community lifestyles and effective natural preservation, including sustainable land use with the participation of local people who had been affected by land use criteria. Moreover, modern information technology is capable of storing and analyzing more data. Consequently, further operations should follow these steps: 1. Preparation for group/organization readiness, for all groups related to land use in the watershed area, in order to create knowledge and understanding of how to determine watershed classification, including the application of modern instruments and technology. 2. The Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning, which is the responsible organization for determining watershed classification, should prepare a watershed class map based on academic principles as well assetting up measure for land use for each watershed class. A group/ organization must be set up as specified in 1 above to improve the watershed class map and the suitability measures for land use in micro-watersheds. 3. The established group/organization should modify the watershed class map by comparing actual details of the areas concerned with the finished map, using details of land use in the area together with indigenous knowledge in land and water conservation


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.