แผนยุทธศาสตร์ ทส. 59-64

Page 1

สํานักนโยบายและยุ บายและยุทธศาสตร ธศศาสสตรร สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ยา และสิ่งแวดลอม


คำนำ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕64 ฉบับ นี้ จัด ทาขึ้น เพื่ อ ให้เ ป็น ทิศ ทางของการดาเนิ นงานด้า นการบริ หารจั ดการทรั พยากรธรรมชาติ และ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง กรอบแนวคิ ด ได้ น้ อ มน าพระราชด ารั ส พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระบรมราชิ นีนาถมาเป็น แนวทางในการพั ฒนา และยึด ถือแผนและนโยบายของชาติ ในทุ กระดับ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความ สงบแห่ ง ชาติ นโยบายรั ฐ บาล (พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา) นโยบายรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ) ฯลฯ รวมทั้ง ปริบทการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศและของโลก มาเป็นกรอบการกาหนดทิศทางการ ดาเนินงาน กระบวนการจัดทาแผนฯ ได้ จัดทาขึ้นตามกระบวนการวิเคราะห์ปั จจัยทางยุทธศาสตร์ วิเ คราะห์ ปั จ จั ย ภายในและภายนอก วิ เ คราะห์ จุ ดแข็ ง (Strength) จุ ด อ่อ น (Weakness) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค/ภัยคุกคาม (Threat) แล้วมากาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) เพื่อนาไปสู่การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่เป็นภารกิจที่ต้องมุ่งเน้น /ให้ความสาคัญ และเป้าประสงค์(Goals) ตัวชี้วัดและกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) เป็นเครื่องมือ กาหนดทิศทางการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ ให้เห็นความเชื่อมโยงไปถึงเป้าหมายที่เป็นองค์รวม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนยุทธศาสตร์กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕64 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการแปลงไปสู่การปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ เกิดการบูร ณาการการท างานที่มีประสิทธิ ภาพ เพื่อสร้ างความมั่น คงด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้ประเทศชาติ เพื่อให้มีความมั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป

คณะผู้จัดทา สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


สำรบัญ หน้ำที่ บทสรุปสำหรับผู้บริหำร

1

ส่วนที่ 1 กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564 1. การน้อมนาพระราชดารัสมาเป็นแนวทางในการพัฒนา 2. นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) 3. ยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) 5. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2558 - 2564) 6. แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 - 2561) 7. แผนแม่บทแก้ไขปัญหาการทาลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐ และ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 8. Road map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 9. แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้า โดยคณะกรรมการกาหนด นโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 10. นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ)

8 8 9 12 14 17 20 23 26 26 28

ส่วนที่ 2 กำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์และสภำพแวดล้อม

33

ส่วนที่ 3 แผนยุทธศำสตร์กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม พศ. 2559-2564  วิสัยทัศน์  พันธกิจ  ประเด็นยุทธศาสตร์  เป้าประสงค์  กลยุทธ์

36 36 36 36 36 37

แผนที่ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Strategy Map)

41

ผังความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2559-2564

42

ตารางความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2559-2564

43


สำรบัญ (ต่อ) หน้ำที่ สรุปงบประมาณของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จาแนกรายยุทธศาสตร์

49

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 1 : สงวน อนุรักษ์ ฟืน้ ฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่าง บูรณาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม

51

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 2 : บริ หารจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการและ มีประสิทธิภาพ

65

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 3 : รักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม

67

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 4 : การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

73

ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 5 : การเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการองค์กร และการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภำคผนวก ภำคผนวก ก อักษรย่อชื่อหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ภำคผนวก ข คณะทางานจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2561

77

-----------------------------------------

116 117 118


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร ความเป็นมา บริบทการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมมีนัยสาคัญต่อแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเงื่อนไขการพัฒนาประเทศในอนาคต ประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ที่สาคัญ ทั้งที่เป็นโอกาสและอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ จึงต้องมีการเตรียมความพร้อ มของคนและระบบ ให้ สามารถปรั บตั วพร้อ มรั บกั บการเปลี่ย นแปลงในอนาคต โดยเฉพาะการเปลี่ ยนแปลงด้า นทรัพ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโลกที่มีแนวโน้มปัญ หาโลกร้อน ภาวะภัยธรรมชาติ และความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากขึ้น จะเป็นภัยคุกคามให้ต้องปรับทิ ศทางการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้สามารถสร้างความมั่นคงทางฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบ นิเวศเพื่อพร้อมรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 เพื่อให้การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของประเทศเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ให้เกิดการบูรณาการทั้งกิจกรรมและงบประมาณ แนวคิดหลักในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวคิ ด หลั ก ในการจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 ได้น้อมนาพระราชดารัสพระบาทสมเดจจพระเจ้าอยู่หัว และสมเดจจพระบรมราชินีนาถ มาเป็นแนวทางในการพัฒนา และยึดถือแผนและนโยบายของชาติ ในทุกระดับ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ยุ ท ธศาสตร์ ข องคณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ ม (พลเอก ดาว์ พ งษ์ รั ต นสุ ว รรณ) ฯลฯ รวมทั้ ง ปริ บ ทการเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ ทางด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศและของโลก มาเป็นกรอบการกาหนดทิศทางการดาเนินงาน เพื่อให้การขับเคลื่อนบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกมิติ และทุกระดับ โดยยึดคนเป็นศูนย์กลางของ การพัฒนา และให้ความสาคัญ อย่างยิ่ง กับการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในทุกมิติอย่าง บูรณาการและเป็นองค์รวม กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 การจัดทายุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 มี เป้าหมายการดาเนินงาน 3 ประการ คือ ๑. เพื่อขับเคลื่อนการดาเนินงานตามวิสัยทัศน์และพันธกิจ ให้บรรลุเป้าหมายและเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-1-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

๒. ให้บุคลากรในองค์กรมีส่วนร่วมในการจัดทา และเข้าใจภาพรวมของยุทธศาสตร์ในทิศทาง เดียวกัน ๓. เพื่อให้การทางานในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสอดคล้องกัน  นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวง และกรม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน  การเสนอของบประมาณ เพื่อดาเนินการตามแผนงาน/โครงการ ต้องตรงกัน  การประเมินผลทั้งในระดับกระทรวง และระดับกรม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้ กาหนดให้มีการประชุม 4 ครั้ง ดังนี้ 1) การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) จานวน 1 ครั้ง ในวันที่ 28-30 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมหลุยส์ แทเวิร์น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ ด้านจุดแขจง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และภัยคุกคาม (Threat) โดยยึดกรอบนโยบายของ รัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ และยุทธศาสตร์ระดับชาติที่ เกี่ยวข้อง แล้วมากาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) เพื่อนาไปสู่การกาหนดประเดจนยุทธศาสตร์ ที่เป็นภารกิจที่ต้องมุ่งเน้น/ให้ความสาคัญ และเป้าประสงค์(Goals) ตัวชี้วัดและกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุ เป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) เป็นเครื่องมือกาหนดทิศทางการถ่ายทอดไปสู่ การปฏิบัติ ให้เหจนความเชื่อมโยงไปถึงเป้าหมายที่เป็นองค์รวม 2) การประชุมกลุ่มย่อย จานวน 1 ครั้ง เพื่อศึกษาประเดจนเชิงลึกในแต่ละประเดจนยุทธศาสตร์ ในวันที่ 7 ธันวาคม 2557 ณ ห้องประชุมกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช 3) การประชุมให้ข้อคิดเห็นต่อร่างยุทธศาสตร์กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 จานวน 2 ครั้ง ดังนี้ - ครั้ ง ที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 17 ธั น วาคม 2557 ณ ห้ อ งประชุ ม ส านั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2558 ณ ห้องประชุมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕64 ได้กาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเดจนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ ไว้ดังนี้  วิสัยทัศน์ : องค์กรหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี  พันธกิจ : 1) ผลักดันยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และควบคุมการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการสร้างคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน 2) บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วม กับภาคีทุกภาคส่วนในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งในประเทศ ประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-2-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

3) เสริมสร้างขีดความสามารถเชิงรุกขององค์กร ระบบ กลไกและข้อมูลในการบริหาร จัดการ รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ  ประเด็นยุทธศาสตร์ : ประกอบด้วย 5 ประเดจน ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างบูรณาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 บริหารจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการและมี ประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 รักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการองค์กรและการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  เป้าประสงค์ และ กลยุทธ์ : แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 ประกอบด้วย 25 เป้าประสงค์ 64 กลยุทธ์ ดังนี้ เป้าประสงค์ที่ 1 : พัฒนาระบบงานบริหารราชการ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน (2) การพัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็น มืออาชีพ (3) การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ (4) การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหาร ราชการแผ่นดิน เป้าประสงค์ที่ 2 : พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและระบบการบริหารงานบุคคล ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของบุคลากรทุกด้าน (2) พัฒนาอัตรากาลัง และเส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากร เป้าประสงค์ที่ 3 : จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอย่างเพียงพอและมี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวก (2) ปรับปรุง ซ่อมแซม และพัฒนาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกให้มี สภาพพร้อมใช้งาน เป้าประสงค์ที่ 4 : ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบให้ทนั สมัย ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ (1) ปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย (2) การบังคับใช้กฎหมาย แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-3-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ที่ 5 : พัฒนาองค์ความรู้และการจัดการจากการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) ส่งเสริมงานวิจัยด้านทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2 )พั ฒ น าและ ถ่ า ยทอ ดอ ง ค์ ค ว ามรู้ จาก ง าน วิ จั ย ด้ า น ทรั พ ยาก ร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์ที่ 6 : พัฒนาเครือข่าย การสื่อสาร และระบบฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) จัดหาอุปกรณ์ โครงข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระบบฐานข้อมูล ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ์เตือนภัย เป้าประสงค์ที่ 7 : พัฒนาระบบการติดตามสถานการณ์และการประเมินผลให้มี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) พั ฒ นาระบบ กลไก และเครื่ อ งมื อ การติ ด ตามสถานการณ์ ด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการติดตามประเมินผล และการรายงาน การปฏิบัติงาน เป้าประสงค์ที่ 8 : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) เสริมสร้างองค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2) พัฒนาระบบเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก (3) พัฒนา จัดทา และขับเคลื่อน นโยบาย แผน และมาตรการ ในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เป้าประสงค์ที่ 9 : บูรณาการความร่วมมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ (1) จัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในกรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ (2) เสริมสร้างความร่วมมือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน กลุ่มประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ (3) พัฒนากลไกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่าง ประเทศ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-4-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ที่ 10 : เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่และระดับจังหวัด ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด ในสังกัด (2) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานในระดับพื้นที่และระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง เป้าประสงค์ที่ 11 : ประชาชนและภาคีเครือข่ายได้รับประโยชน์จากการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) กาหนดนโยบาย และมาตรการการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ และที่ดินป่าไม้ อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (2) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านการอนุญาต การบริการ แก่ประชาชน เป้าประสงค์ที่ 12 : ประชาชน หน่วยงาน องค์กร และผู้ประกอบการต่างๆ สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) กาหนด นโยบายและมาตรการ การผลิต การบริการและการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (2) ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต การบริการ และการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม (3) สร้างวินัย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 13 : ประชาชนสามารถปรับตัวรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศอย่างมีประสิทธิภาพและได้รับการเตือนภัยอย่างทันเวลา ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) บริหารจัดการเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2) เตรียมความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิบัติ ภัยทางธรรมชาติ (3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเตือนภัย เป้าประสงค์ที่ 14 : ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการจัดการอย่างสมดุลและยั่งยืน ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) บริ ห ารจั ด การป่า ไม้ สั ตว์ ป่ า ทรัพ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ที่ ดิ น ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและยั่งยืน (2) บริหารจัดการข้อขัดแย้ง เรื่องสิทธิในที่ดินของรัฐและการใช้ประโยชน์ใน ที่ดินป่าไม้อย่างเป็นธรรม (3) บริหารจัดการป่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (4) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป้าประสงค์ที่ 15 : ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่าและทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรธรณีและ ความหลากหลายทางชีวภาพได้รับการอนุรักษ์และคุ้มครอง ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี้ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-5-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(1) เร่งรัดการจัดทาแนวเขตป่าไม้ และจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติให้ชัดเจน (2) พั ฒ นาศั ก ยภาพการป้ อ งกั น และปราบปรามการบุ ก รุ ก พื้ น ที่ ป่ า ไม้ การล่าสัตว์ป่าและการตัดไม้พะยูงและไม้มีค่าอื่น ๆ และการป้องกันไฟป่า (3) อนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี (4) ส่งเสริมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ เป้าประสงค์ที่ 16 : เพิ่มพื้นทีป่ ่าไม้ ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) ส่งเสริมการปลูกป่าโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (2) ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจของภาคประชาชนและเอกชน (3) พัฒนาประสิทธิภาพการปลูกป่าต้นน้า เป้าประสงค์ที่ 17 : มีน้าอุปโภคและบริโภคอย่างเพียงพอ ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) พัฒนา ปรับปรุง ฟื้นฟูแหล่งน้าธรรมชาติสนับสนุนระบบประปาชุมชน (2) สารวจและพัฒนาระบบประปาบาดาล (3) ป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหาวิกฤตน้า เป้าประสงค์ที่ 18 : อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าผิวดิน ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งน้าผิวดินและเชื่อมโยงเครือข่ายน้า (2) บริหารจัดการน้า เพื่อใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 19 : ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพน้า ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) ป้องกันและควบคุมมลพิษทางน้าในพื้นที่ลุ่มน้าวิกฤตและลุ่มน้าสาคัญ (2) สนับสนุนและผลักดันระบบการบริหารจัดการมลพิษด้านน้าที่เหมาะสมใน ระดับพื้นที่ เป้าประสงค์ที่ 20 : อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าใต้ดิน ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) ศึกษา และสารวจประเมินศักยภาพทาแผนที่ และเพิ่มมาตรฐานการ อนุรักษ์เฝ้าระวังและฟื้นฟูแหล่งน้าบาดาล (2) พัฒนาน้าบาดาลเพื่อเพิ่มน้าต้นทุนให้แก่พื้นที่ภัยแล้ง เป้าประสงค์ที่ 21 : สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) ใช้ กลไกบริหารจั ดการภาครัฐ ทุกรูปแบบเพื่อ การส่ง เสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ (2) บูร ณาการการดาเนินงานจั ดการคุ ณภาพสิ่ง แวดล้อ มและมลพิษ และ เสริมสร้างความเข้มแขจงอย่างต่อเนื่องให้กับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องที่ มีอานาจหน้าที่ในการจัดการสิ่ง แวดล้อม ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับท้องถิ่น (3) ติด ตามและประเมิ นคุ ณ ภาพแหล่ ง น้ าผิ ว ดิน คุ ณภาพน้ าทะเลชายฝั่ ง คุณภาพอากาศและเสียง รวมถึงการปนเปื้อนกากของเสียและสารอันตราย แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-6-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ที่ 22 : ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพอากาศ ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์ (1) ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่วิกฤต เป้าประสงค์ที่ 23 : เพิ่มขีดความสามารถในการกาจัดขยะ ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์ (1) จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่เป้าหมายอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ท่ี 24 : ลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจากภัยพิบัติธรรมชาติ และเพิ่ม ขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ (1) ผลั ก ดั น และบู ร ณาการการด าเนิ น งานด้ า นการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศอย่างเป็นรูปธรรมในทุกภาคส่วน (2) พัฒนาขีดความสามารถในการรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในทุกระดับ เป้าประสงค์ที่ 25 : ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ (1) จัด ท านโยบาย แผน มาตรการและแนวทางลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ น กระจก (2) พัฒนากลไกกากับและติดตามประเมินผลการดาเนินงานลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (3) สร้างศักยภาพในความร่วมมือในการอนุรักษ์ป่าไม้ และดาเนินกิจกรรม/ โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วน (4) พัฒนาและส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศ  งบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564 จาแนกรายยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างบูรณาการที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยัง่ ยืนและเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 บริหารจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการและ มีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 รักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิง่ แวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือ ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการองค์กรและการบริหารจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมงบประมาณ

ปี 2559 16,765.25

วงเงินงบประมาณ (ล้านบาท) ปี 2560-2564 รวมงบประมาณ 96,956.28 113,721.53

18,494.57

81,357.52

99,852.09

2,017.94

6,713.09

8,731.03

1,654.88

7,868.24

9,523.12

14,473.86

69,492.25

83,966.11

53,406.50

262,387.38

315,793.88

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-7-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ส่วนที่ 1 กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 กรอบแนวคิ ด ในการจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม พ.ศ. 2๕๕9 – ๒๕64 ได้น้อมนาพระราชดารัสพระบาทสมเดจจพระเจ้าอยู่หัว และสมเดจจพระบรมราชินีนาถ มาเป็นแนวทางในการพัฒนา และยึดถือแผนและนโยบายของชาติในทุกระดับ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ยุทธศาสตร์และคาสั่งของคณะรักษาความ สงบแห่ ง ชาติ นโยบายรั ฐ บาล (พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา) นโยบายรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ) แผนแม่บทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ของกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง ปริ บ ทการเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ ทางด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศและของโลก มาเป็นกรอบการพิจารณาจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) การน้อมนาพระราชดารัสมาเป็นแนวทางในการพัฒนา พระราชดารัสพระบาทสมเดจจพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.2519 ปลูกไม้ในใจคน คือ การปลูกป่า ลงบนแผ่นดิน “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็พากันปลูกต้นไม้ลง บนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง” พระราชด ารั ส พระบาทสมเดจ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯพระราชทานแก่ ค ณะบุ ค คลที่ เ ข้ า เฝ้ า ฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธั นวาคม 2539 “เราจะทาให้ประเทศไทยกลับมีความอุดมสมบูรณ์ มีความชุ่มชื้นได้ ขออย่าไปรังแกป่าเท่านั้นเอง” วัน พุ ธที่ 20 พฤศจิก ายน 2539 พระราชทานเพื่อ เชิญ ลงพิ ม พ์ใ นหนั ง สือ ที่ ระลึ กในพิ ธี รับมอบ เรื อขจั ดน้ามัน ซึ่ งรัฐ บาลเดนมาร์ก น้อมเกล้ าฯ ถวาย “ปั ญหาต่างๆ เกี่ย วกับ สภาวะแวดล้อ ม อันเนื่องมาจากมลพิษ หรือความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในที่หนึ่งที่ใดก็ตาม ย่อ มส่ ง ผลกระทบต่ อ เนื่ อ งไปถึ ง ที่อื่ น ๆ ด้ ว ยเหตุ นี้ ทุ ก คนทุ ก ประเทศในโลกจึ ง ย่ อ มมี ส่ ว นรั บ ผิ ด ชอบ อยู่ด้วยกัน ทั้งในการแก้ไข ลดปัญหา และปรับปรุงสร้างเสริมสภาวะแวดล้อ ม ให้กลับคืนมาสู่ส ภาพอัน จะเอื้อต่อการมีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขของตนเองและเพื่อนมนุษย์” พระราชดารัส สมเดจจพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 20 ธันวาคม 2525 “พระเจ้า อยู่หัวเป็นน้า ฉันจะเป็นป่า ป่าที่ถวายความจงรักภักดีต่อน้า พระเจ้าอยู่หัวสร้างอ่างเก็บน้า ฉันจะ สร้างป่า” และวันที่ 11 สิงหาคม 2534 “ป่าไม้ช่วยซึมซับน้าฝนไว้ใต้ดิน เรียกว่า น้าใต้ดิน ค่อยๆ ระบาย ลงมาเป็นธารน้า เป็นลาคลอง เป็นแม่น้าให้เราได้ใช้กันตลอดมา เราจึงควรถนอมรักษาป่าไว้ให้คงอยู่เป็น ต้นน้าลาธาร เพื่อว่าลูกหลานเราจะได้ไม่ลาบาก” แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-8-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

2) นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) คาแถลงนโยบายของคณะรัฐ มนตรี พลเอก ประยุ ทธ์ จั นทร์โ อชา นายกรั ฐมนตรีแ ถลง ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557 โดยนโยบายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ (1) การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุ ลระหว่างการอนุรักษ์ กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในปัจจุบันมีการบุกรุกที่ดินของรัฐและตัดไม้ทาลายป่ามากขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชี วภาพที่ เคยอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า พันธุ์พืช และแร่ธาตุ ถูกทาลาย หรื อ นาไปใช้ประโยชน์ทางพาณิชย์ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายเป็นอันมาก ทั้งปัญหาภาวะมลพิษ โดยเฉพาะขยะ ประเภทต่าง ๆ กจรุนแรงยิ่งขึ้น รัฐบาลจึงมีนโยบายจะรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ โดยสร้าง สมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนดังนี้ 1.๑ ในระยะเฉพาะหน้า เร่งปกป้องและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า โดยให้ ความส าคัญ ในการแก้ ไขปั ญหาการบุ ก รุก ที่ ดิน ของรั ฐ จั ดท าแนวเขตที่ ดิ นของรั ฐ ให้ ชั ดเจน เร่ง รั ด กระบวนการพิสูจน์สิทธิการถือครองที่ดินในเขตที่ดินของรัฐโดยนาระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัยและสร้างบรรทัดฐานในการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าต้นน้าและพื้นที่อนุรักษ์ที่มีความสาคัญเชิงนิเวศ กาหนดพื้นที่แนวกันชนและที่ราบเชิงเขา ให้เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์การปลูกป่าเพื่อป้องกันภัยพิบัติและป้องกันการบุกรุกป่ า ขยายป่าชุมชน และส่งเสริม การปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในพื้นที่เอกชนเพื่อลดแรงกดดันในการตัดไม้จากป่าธรรมชาติ รวมทั้งผลักดันแนว ทางการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบนิเวศและการสร้างรายได้จากการอนุรักษ์ เช่น โครงการปลูก ป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศ โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เป็นต้น 1.2 ส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน คานึงถึงขีดจากัดและศักยภาพในการฟื้นตัว สร้างโอกาสในการเข้าถึง และแบ่ง ปัน ผลประโยชน์อันเกิดขึ้นจากการใช้ทรัพยากรพันธุ กรรมอย่างยุติธรรมและเท่าเทียม เพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดี ของประชาชน ความมั่นคงทางด้านอาหาร สุขอนามัยสนับสนุนวิถีชีวิตของชุมชน และการพัฒนาเพื่อสร้าง มูลค่าทางเศรษฐกิจ รวมทั้งให้การคุ้มครองเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ 1.3 ในระยะต่ อ ไป พั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น และแก้ ไ ขการบุ ก รุ ก ที่ ดิ น ของรัฐ โดยยึดแนวพระราชดาริที่ให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ เช่น กาหนดเขตป่าชุมชนให้ชัดเจน พื้นที่ใดที่สงวนหรือกัน ไว้เป็นพื้น ที่ป่าสมบูร ณ์กจใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเคร่ง ครัดพื้นที่ใ ดสมควรให้ ประชาชนใช้ประโยชน์ได้กจจะผ่อนผันให้ตามความจาเป็นโดยใช้มาตรการทางการบริหารจัดการมาตรการทาง สังคมจิตวิทยา และการปลูกป่าทดแทนเข้าดาเนินการ ทั้งจะให้เชื่อมโยงกับการส่งเสริมการมีอาชีพและรายได้ อื่นอันเป็นบ่อเกิดของเศรษฐกิจชุมชนที่ต่อเนื่องเพื่อให้คนเหล่านั้นสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิ จ พอเพียง โดยที่ดินยังเป็นของรัฐจะจัดทาฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ จัดทาทะเบียนผู้ถือครองที่ดินในที่ดิน ของรัฐ ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการที่ดินของรัฐและเอกชนให้มีเอกภาพเพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบายด้าน ที่ดินในภาพรวม และปรับปรุงกลไกภาษีเพื่อกระจายการถือครองที่ดิน เร่งรัดการจัดสรรที่ดินให้แก่ผู้ยากไร้โดย ไม่ต้องเป็นกรรมสิทธิ์แต่รับรองสิทธิร่วมในการจัดการที่ดินของชุมชน กาหนดรูปแบบที่เหมาะสมของธนาคาร ที่ดินเพื่อให้เป็นกลไกในการนาทรัพยากรที่ดินมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

-9-


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

1.4 บริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้เป็นเอกภาพในทุกมิติทั้ง เชิงปริมาณและ คุณภาพ จัด ให้ มีแผนบริห ารจั ดการทรัพ ยากรน้ าของประเทศและมี กระบวนการบู รณาการแผนงานและ งบประมาณร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัดทาแผนงาน ๑๗ โครงการ ไม่เกิดความซ้าซ้อน มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ และสอดคล้ องกับทิศทางและนโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรน้า โดยจัดตั้ง หรือกาหนดกลไกในการบริหารจัดการน้า พร้อมทั้ง มีการน้าเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง มาใช้ ในระบบของการบริหารจัดการน้าและการเตือนภัย 1.5 เร่งรัดการควบคุมมลพิษทั้ง ทางอากาศ ขยะ และน้าเสีย ที่เกิดจากการผลิตและ บริโภค เพื่อสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่ประชาชน โดยให้ความสาคัญ ในการเร่ง รัดแก้ไ ขปัญ หาการ จัดการขยะเป็นลาดับแรก ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ให้มากที่สุด เร่งกาจัดขยะ มูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กาจัดขยะในพื้นที่วิก ฤติ ซึ่ง จะใช้ที่ดินของรัฐเป็นหลัก ในพื้นที่ใดที่สามารถ จัดการขยะมูลฝอยโดยการแปรรูปเป็นพลังงานกจจะสนับสนุนให้ดาเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมนั้น จะวาง ระเบียบมาตรการการบริหารจัดการเป็นพิเศษ โดกาหนดให้ทิ้งในบ่อขยะอุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นอย่างถูกต้อง ตามมาตรฐานและให้แยกเป็นสัดส่วนจากบ่อขยะชุมชน สาหรับขยะของเสียอันตราย ขยะอิเลจกทรอนิกส์ และ ขยะติดเชื้อจะพัฒนาระบบกากับติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังไม่ให้มีการลักลอบทิ้ง รวมทั้งจัดการสารเคมี โดยลดความเสี่ยงและอันตรายที่เกิดจากการรั่วไหล และการเกิดอุบัติเหตุ ให้ความสาคัญในการจัดการอย่าง ครบวงจร และใช้มาตรการทางกฎหมายและการบัง คับใช้กฎหมายอย่างเดจดขาดในระดับพื้นที่ จะเร่ง แก้ไ ข ปัญหาในพื้นที่มาบตาพุด ซึ่งเป็นฐานอุตสาหกรรมหลักของประเทศอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งการลด และขจั ด มลพิ ษ การฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม การดู แ ลคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากอุตสาหกรรม รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถโครงสร้างพื้นฐาน และการพัฒนา สู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (๒) การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ ในระยะเร่งด่วน รัฐบาลให้ความสาคัญต่อการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนในกิจการ ๕ ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคงทางทะเล การแก้ไ ขปัญหาอาชญากรรมข้า มชาติ การสร้ างความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้า น และการเสริมสร้า ง ศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหารร่วมกันของอาเซียน (3) การลดความเหลื่อมล้าของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ แก้ปัญหาการไร้ที่ดินทากินของเกษตรกร และการรุกล้าเขตป่าสงวน โดยการกระจาย สิทธิการถือครองให้แก่ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่ไม่ได้รุกล้า และออกมาตรการป้องกันการเปลี่ยนมือไปอยู่ในครอบครอง ของผู้ที่มิใช่เกษตรกร ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมสารวจและวิธีการแผนที่ที่ทันสมัย แก้ไขปัญหาเขตที่ดินทับซ้อน และแนวเขตพื้นที่ป่าที่ไม่ชัดเจน อันก่อให้เกิดข้อขัดแย้งระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่รัฐ (4) การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ แก้ปัญหาน้าท่วมในฤดูฝน ทั้งที่ท่วมเป็นบริเวณกว้าง และท่วมเฉพาะพื้นที่และปัญหา ขาดแคลนน้าในบางพื้นที่ และบางฤดูกาล ซึ่ ง นาความเสีย หายและทุกข์ร้ อนมาให้ แก่เ กษตรกร โดยระดม ความคิดเพื่ อหาทางป้อ งกัน ไม่ให้ เกิด น้ าท่วมรุนแรง ดั ง เช่น เหตุก ารณ์ น้ าท่วมในปี ๒๕๕๔ และหาวิ ธีที่จ ะ แก้ปัญหาน้าท่วมเฉพาะพื้นที่ให้ลดลงโดยเรจว ไม่ กระทบต่อพืชผล ส่วนภาวะภัยแล้ง จนเกิดการขาดแคลนน้า แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 10 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เพื่อการเกษตรนั้น รัฐบาลจะเร่ง ดาเนินการจัดสร้างแหล่งน้าขนาดเลจกให้กระจายครอบคลุมทั่วพื้นที่เพาะปลูก ให้มากที่สุด ซึ่งจะสามารถทาได้ในเวลาประมาณ ๑ ปี (5) การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนซึ่ง จะมีผลใช้บัง คับอย่างเตจมที่ ณ สิ้นปี 2558 จะเกิดประโยชน์แก่ประเทศไทยเป็นอย่างมาก หากประเทศไทยเตรียมการในเรื่องต่างๆ ให้พร้อม การ เร่งดาเนินการเตรียมความพร้อมทั้งในเรื่องความเชื่อมโยงด้านระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ ด้านกฎระเบียบ การอ านวยความสะดวกทางการค้ า การพั ฒ นาด่ า นชายแดนและการเตรี ย มการด้ า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จะส่ ง เสริ มบทบาทและการใช้ โอกาสของประเทศไทยในประชาคมอาเซี ยนให้ เกิ ดประโยชน์ สูง สุด ในการ ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนชาวไทยร่วมกับประชาชนอาเซียน (6) การพัฒ นาและส่ งเสริ มการใช้ ประโยชน์จ ากวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจั ย และพัฒนาและนวัตกรรม รัฐบาลให้ความสาคัญ ต่อการวิจั ย การพัฒนาต่อยอด และการสร้างนวัตกรรมเพื่ อ นาไปสู่การผลิตและบริการที่ทันสมัย สนับสนุนการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการวิจัย และพัฒนาของประเทศเพื่อมุ่งไปสู่ เป้าหมายให้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 14 ของรายได้ประชาชาติและมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30 : 70 ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั้งนี้ เพื่อให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันและมีความก้าวหน้าทัดเทียม กับประเทศอื่นที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกัน และจัดระบบบริหารงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจั ย และ นวัตกรรมให้มีเอกภาพและประสิทธิภาพ โดยให้มีความเชื่อมโยงกับภาคเอกชน (7) การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการป้องกัน ปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ยกระดับสมรรถนะของหน่วยงานของรัฐให้มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการเชิงรุกทั้ ง ในรูปแบบการเพิ่มศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชนในต่างจังหวัด โดยไม่ต้องเดินทางเข้ามายังส่วนกลาง ศูนย์บริก ารสาธารณะแบบครบวงจรที่ ครอบคลุมการให้บริก ารหลากหลาย ซึ่ง จะจัดตั้ง ตามที่ชุม ชนต่างๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถเดินทางไปติดต่อขอรับบริการได้โดยสะดวก การให้บริการถึง ตัวบุคคลผ่านระบบ ศูนย์บริการร่วม ณ จุดเดียว (One Stop Service) และระบบรัฐบาลอิเลจกทรอนิกส์ที่สมบูรณ์แบบ พัฒนา หน่วยงานของรัฐให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มีการสร้างนวัตกรรมในการทางานอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพ และมีระบบบูรณาการ (8) การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งปรับปรุงประมวลกฎหมายหลักของประเทศและกฎหมายอื่น ๆ ที่ล้าสมัย ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน การประกอบธุรกิจหรือไม่เอื้อต่อศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ โดยจะใช้กลไกของหน่วยงานเดิมที่มี อยู่และระดมผู้ทรงคุณวุฒิมาเป็นคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นเฉพาะกิจเป็นผู้เร่งดาเนินการ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 11 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

3) ยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะรักษาความสงบแห่ง ชาติไ ด้น้อมนาแนวคิดของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใช้เป็นหลักหรือแนวทางในการปฏิรูปและพัฒนาประเทศให้เป็นไปในทิศทาง ที่เหมาะสมและเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัตของสภาพแวดล้อมโลก และภายในประเทศ โดยเฉพาะภาวะผันผวนด้านเศรษฐกิจพลัง งาน และภูมิอากาศ ที่เป็นไปอย่างรวดเรจว และส่งผลกระทบอย่างชัดเจนต่อประเทศไทยทั้งเชิงบวกและลบ การก าหนดยุ ท ธศาสตร์ คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ ให้ ค วามส าคั ญ กั บ การสร้ า ง ภูมิคุ้มกันในมิติต่างๆ เพื่อให้การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืนโดยนาทุนของประเทศที่มีศักยภาพมาใช้ ประโยชน์อย่างบูรณาการและเกื้อกูลกัน พร้อมทั้งเสริมสร้างให้แขจงแกร่งเพื่อเป็นรากฐานการพัฒนาประเทศที่ สาคัญได้แก่ การเสริมสร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม) ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคน และสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชน สามารถจัดการความ เสี่ยง และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจ และสัง คมอย่างเป็นธรรม สาหรับการเสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนทางกายภาพ ทุนทางการเงิน )มุ่ง พัฒนา เศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแขจง โดยใช้ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ ให้ความสาคัญกับการปรับโครงสร้าง การค้าและการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ การผลิตที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีการเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่างๆ บนพื้นฐานการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในส่วน การเสริมสร้างทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ความสาคัญกับการสร้างความเข้มแขจงทางการเกษตร ความมั่นคงด้านอาหาร การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตร มุ่งสู่การเป็นเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ รวมทั้งการสร้างภูมิคุ้มกันด้า นการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับ การเพิ่มบทบาทไทย ในเวที ประชาคมโลกขณะเดี ยวกั น จาเป็ นต้องมี การบริ หารจั ดการประเทศเพื่ อสร้ างความเป็นธรรมในสั ง คม ให้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบราชการและข้าราชการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพิ่มประสิทธิภาพการ กระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาระบบและกลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบอย่างมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียมและ สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร ควบคู่ไปกับปลูกจิตสานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล แก่ประชาชนทุกกลุ่ม ยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม กลยุทธ์ที่ ๒ การลดความเหลื่อมล้าและการคุ้มครองสิทธิทางสังคม ตั ว ชี วั ด ที่ 3 ความส าเร็ จ ของการจั ด ที่ ดิ น ให้ ผู้ ไ ร้ ที่ ท ากิ น ช่ วยเหลื อเกษตรกรและองค์ กร เกษตรกร โดยใช้พื้นที่ป่าเสื่อมสภาพ หรือที่ดินสาธารณะประโยชน์อื่น มาจัดสรรให้ใช้ประโยชน์ ให้ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๒๐ ของเป้าหมายในแผนงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน มีกลยุทธ์ และตัวชี้วัดดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้าอย่างบูรณาการ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 12 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ตัวชี้วัดความสาเรจจของเป้าหมายระยะสั้น ดังนี้ ๑) พัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแหล่งน้าธรรมชาติ ทั้งแหล่ งน้าผิวดิน น้าบาดาล และระบบชลประทาน เพื่อการเกษตร ให้ได้ร้อยละ ๙๐ ของแผนงานประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๒) พัฒนาระบบประปาชนบทหรือประปาหมู่บ้าน และระบบประปาเมือง ตลอดจน การพัฒนาแหล่งน้าเพื่อสนับสนุนน้าอุปโภคและบริโภคให้กับโรงเรียนและชุมชน ให้ได้ร้อยละ ๙๐ ของแผนงาน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๓) ปรับปรุงระบบการอนุรักษ์ดินและระบบเตือนภัย เพื่อป้องกันการสูญเสียหน้าดิน และพื้นดินถล่ม ให้ได้ร้อยละ ๘๐ ของแผนงานประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๔) มีการนาระบบดาวเทียม มาใช้ในการจัดสรรการใช้ทรัพยากรน้าอย่างเป็นระบบ โดยให้พร้อมภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ตัวชี้วัดความสาเรจจของเป้าหมายระยะยาวสู่ความยั่งยืน ดังนี้ ๑) พัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพแหล่งน้าธรรมชาติ ทั้งแหล่งน้าผิวดิน น้าบาดาล และระบบชลประทาน เพื่อการเกษตร ให้ได้ร้อยละ ๑๐๐ ของพื้นที่เป้าหมายทั้งหมดในแผนงาน ๒) พัฒนาระบบประปาชนบทหรือประปาหมู่บ้าน และระบบประปาเมือง ตลอดจน การพัฒนาแหล่งน้าเพื่อสนับสนุนน้าอุปโภคและบริโภคให้กับโรงเรียนและชุมชน ให้ได้ร้อยละ ๑๐๐ ของพื้นที่ เป้าหมายทั้งหมดในแผนงาน ๓) ปรับปรุงระบบการอนุรักษ์ดินและระบบเตือนภัย เพื่อการป้องกันการสูญเสียหน้า ดินและพื้นดินถล่ม ให้ได้ร้อยละ ๑๐๐ ของพื้นที่เป้าหมายทั้งหมดในแผนงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีกลยุทธ์ และตัวชี้วัดดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑ จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟูและป้องกันการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดความสาเรจจของเป้าหมายระยะสั้น ดังนี้ ๑) ดาเนินการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ทั้งป่าต้นน้าลาธาร และป่าชุมชน ให้ได้ ร้อยละ ๑๐๐ ของแผนงานประจาปี ๒๕๕๘ ๒) ดาเนินการป้องกัน ปราบปรามและควบคุมการตัดไม้ทาลายป่าและลักลอบการค้า ทรัพยากรป่าไม้ที่ควบคุม รวมทั้งสัตว์ป่าสงวน ให้ได้ร้อยละ ๑๐๐ ของแผนงานประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๓) มีการขั บเคลื่อ นแผนปฏิบัติ การงาช้างแห่ ง ชาติ , การป้อ งกั นการบุ กรุก และ ครอบครองพื้นที่ป่าไม้และลักลอบตัดไม้ ในพื้นที่วิกฤตรุนแรง ๑๒ จังหวัด โดยให้พร้อมภายใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๔) ดาเนินการพัฒนาให้มีระบบฐานข้อมูลดิจิตอล เพื่อการบริหารจัดการและการ จัดทาแนวเขตทรัพยากรป่าไม้ทุกประเภทให้เป็นแนวเดียวกัน ด้วยแผนที่แนวเขต มาตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ ให้ แล้วเสรจจภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๕) หน่วยราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีระบบการจัดการขยะมูลฝอย และของเสีย อัน ตราย ตลอดจนออกข้ อบั ญ ญั ติท้ องถิ่นที่ เกี่ ยวข้อ งกั บการจัด การขยะมู ลฝอยและของเสี ย อันตราย ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ ของแผนงานประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๘ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 13 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

๖) มี ก ารด าเนิ น การจั ด ท าพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ห ารจั ด การขยะมู ล ฝอยแห่ ง ชาติ และพระราชบัญ ญั ติ ก ารจั ด การซากผลิ ต ภั ณ ฑ์เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และอิ เ ลจ ก ทรอนิ ก ส์ และซากผลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น โดยให้เข้าสู่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และผ่านการพิจารณาได้ภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ตัวชี้วัดความสาเรจจของเป้าหมายระยะยาวสู่ความยั่งยืน ดังนี้ ๑) มีการจัดทาแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ใน ๒ ระยะ คือ พ.ศ.๒๕๕๘ ถึง ๒๕๕๙ และ พ.ศ.๒๕๖๐ ถึง ๒๕๖๔ ๒) มีประกาศ ข้อบังคับ เพื่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย รวมทั้งมีการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ตลอดจนการนาผลจากการ กาจัดขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ ให้แล้วเสรจจตามแผนงาน ภายในปี ๒๕๖๐ ๓) มีการฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้าที่เสื่อมโทรม การเพิ่มพื้นที่ป่าชุมชน ป่าเศรษฐกิจชุมชน ให้ได้ร้อยละ ๑๐๐ ของพื้นที่เป้าหมายทั้งหมดในแผนงาน ๔) พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๒๐ จากที่มีอยู่ หรือประมาณ ๑๐ ล้านไร่ กลยุทธ์ที่ ๒ การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ตัวชี้วัดความสาเรจจของเป้าหมายระยะสั้น ดังนี้ ๑) มี ก ารด าเนิ น งานในการลงทะเบี ย นอาสาสมั ค รประชาชนรั ก ษาป่ า ในชุ ม ชน โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๕๐ ของประชากรในชุมชนรอบพื้นที่ เขตป่าสงวนแห่งชาติ ๒) มีการดาเนินการอบรมให้ความรู้แก่คนในชุมชนในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐ ของประชากรในชุมชน ภายในปี ๒๕๕๘ ๓) มีจานวนคดีความที่เกี่ยวข้องกับการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลดลงกว่าเมื่อเทียบกันกับห้วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา 4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ ๑. การเปลี่ยนแปลงสาคัญระดับโลก การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ช่วง ๓๐ ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิโลกสูงขึ้นโดยเฉลี่ย ๐.๒ องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่ง ผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิด ภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง อาทิแผ่นดินไหว ดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง ไฟป่า ระบบนิเวศในหลายพื้นที่ของโลกอ่อนแอ สูญเสียพันธุ์พืชและสัตว์ พื้นผิวโลกเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพ โดยเฉพาะการสูญเสียพื้นที่ชายฝั่งเนื่องจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น นาไปสู่การย้ายถิ่นของประชากรที่ อยู่อาศัยบริเวณชายฝั่งทะเล รวมทั้งสร้างความเสียหายต่อโครงสร้างพื้นฐาน เขตท่องเที่ยว เขตอุตสาหกรรมที่ มีการลงทุนสูงบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง โรคระบาดเพิ่มขึ้นก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชากรรวมทั้งการระบาด ของโรคและแมลงศัตรูพืชจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง สร้างความเสียหายแก่ผลผลิตทางการเกษตรและ ธัญญาหารของโลก รวมทั้งกระทบต่อภาคสังคม อาทิความยากจน การอพยพย้ายถิ่น และการแย่งชิงทรัพยากร

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 14 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

2. การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ 2.1. ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า ว ะ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ทุนทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลซ้าเติมให้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรุนแรง กระทบต่อผลผลิตภาคเกษตรและความยากจน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ขณะที่ มีความขัดแย้งทางนโยบายในการบูรณาการการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างไรกจตามประเทศไทยยังมีความมั่นคงด้านอาหาร แม้จะต้องเผชิญกับ ความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและความต้องการพืชพลังงาน 2.2. ฐานทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสภาพแวดล้ อมของประเทศมีแ นวโน้ม เสื่ อมโทรม รุนแรง จากการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่ง ผลให้ สถานการณ์และแนวโน้มความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะ น้าท่วม ภัยแล้ง การใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ไม่คุ้มค่า และปริ มาณของเสียที่เพิ่มขึ้น นาไปสู่ความเสี่ยง ต่อ การสู ญ เสี ย ความหลากหลายทางชี ว ภาพ รวมไปถึ ง การกั ดเซาะชายฝั่ ง อย่า งต่อ เนื่ อง ขณะที่ ภัย พิ บั ติ จะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง กระทบต่อฐานการผลิตภาคเกษตร ความมั่นคงด้านอาหาร พลังงาน สุขภาวะและคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1.๑. การอนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู แ ละสร้ า งความมั่ น คงของฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มุ่งรักษาและฟื้นฟูพื้นที่ป่าและเขตอนุรักษ์พัฒนาระบบฐานข้อมูลและการจัดการองค์ความรู้ ให้เป็นเครื่อ งมือในการวางแผนและบริหารจัด การ ปรับปรุง ระบบการบริหารจัด การที่ดินและการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เร่งรัดการบริหารจัดการน้าแบบบูรณาการ ปรับปรุงและฟื้นฟูแหล่ง น้าเพื่อเพิ่ม ปริมาณน้าต้นทุนส่งเสริมให้เกิดการใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ จัดทาแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากร น้าเพื่อการอุปโภคบริโภค อย่างเป็นระบบ รวมทั้งส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ 1.2. การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพร้อมไปสู่ การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยปรับโครงสร้างการผลิตของประเทศ และพฤติ ก รรมการบริ โ ภคเพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มไปสู่ เ ศรษฐกิ จ คาร์ บ อน ต่ าและเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคคมนาคมและขนส่ง เพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก พัฒนาเมื องที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม เน้นการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม ระบบนิเวศเข้าด้วยกัน 1.3. การยกระดับขีดความสามารถในการรองรับและปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ เพื่อให้สังคมมีภูมิคุ้มกัน มุ่งพัฒนาองค์ความรู้และเครื่องมือในการบริหารจัดการเพื่อรองรับ กั บ ความท้ า ทายจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ รวมถึ ง พั ฒ นาศั ก ยภาพชุ ม ชนให้ พ ร้ อ มกั บ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1.4. การเตรียมความพร้อ มรองรับกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ด้วยการจัดทาแผนที่ และจั ด ล าดั บ พื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย ทั้ ง ในระดั บ ประเทศ ภู มิ ภ าคและจั ง หวั ด ยกระดั บ การจั ด การภั ย พิ บั ติ ให้ มีป ระสิ ท ธิภ าพพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มูล การสื่ อ สารโทรคมนาคม ส่ ง เสริม การพั ฒนาวิ ท ยาศาสตร์แ ละ เทคโนโลยีด้านการจัดการภัยพิบัติพัฒนาระบบงานอาสาสมัครของประเทศอย่างจริงจัง และให้มีมาตรฐานตาม แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 15 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

หลักสากล สนับสนุนภาคเอกชน สถานประกอบการ โรงเรียน และท้องถิ่นให้มีการเตรียมความพร้อม และ จัดทาแผนปฏิบัติการรองรับภัยพิบัติ 1.5. การสร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มุ่งติดตามและเฝ้าระวังมาตรการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อ การค้าและการลงทุน เตรียมมาตรการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากมาตรการทางการค้าและข้อตกลง ระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ศึกษาผลกระทบและกาหนดแผน กลยุทธ์รายสินค้า รวมทั้งมาตรการเยียวยาในสินค้าและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมให้ผู้ส่งออกทาคาร์บอนฟุตพริ้นต์ และสร้างแรงจูงใจให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ๆ เพื่อการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1.6. การเพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ ยวข้อ งกับ กรอบความ ตกลงและพันธกรณีด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ เป็นการศึกษารายละเอียดและสร้างความเข้า ใจใน พันธกรณีติดตามสถานการณ์การเจรจาและท่าทีของประเทศต่างๆ พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อเสริมสร้างทักษะ การเจรจาพัฒนาความร่วมมือในกลุ่มอาเซียนและประเทศคู่ค้าสาคัญ สนับสนุนการดาเนินงานตามพันธกรณี และข้อตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.7. การควบคุมและลดมลพิษ มุ่งลดปริมาณมลพิษทางอากาศ เพิ่มประสิทธิภาพการ จัดการขยะและน้าเสียชุมชน พัฒนาระบบการจัดการของเสียอันตราย ขยะอิเลจกทรอนิกส์และขยะติดเชื้อ ลดความเสี่ยงอันตราย การรั่วไหล การเกิดอุบัติภัยจากสารเคมีและพัฒนาระบบเตือนภัย แจ้งเหตุฉุกเฉิ น และ ระบบการจัดการเมื่อเกิดอุบัติภัยด้านมลพิษ 1.8. การพัฒนาระบบการบริห ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ มให้ มี ประสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็นธรรมอย่างบูรณาการ มุ่งส่งเสริมสิทธิและพัฒนาศักยภาพชุมชนในการเข้าถึง และใช้ประโยชน์ทรัพ ยากรธรรมชาติ ปรับ ปรุง กฎหมายเพื่ อแก้ปั ญ หาความเหลื่ อมล้าในการเข้ าถึง และใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน ปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐให้เอื้อต่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูผลักดัน ให้มีการจัดเกจบภาษีสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างแรงจูงใจในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและลดการ ก่อมลพิษ สร้างรายได้จากความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผล รวมทั้งส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ 2. ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ให้ความสาคัญกับ 2.1. การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน มุ่งรักษา ป้องกัน และคุ้มครองพื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตร สนับสนุนให้เกษตรกรรายย่อยมีที่ดินเป็นของ ตนเองหรือมีสิทธิทากินในที่ดิน ใช้มาตรการทางภาษีเพื่อบังคับหรือจูงใจให้บุคคลผู้ถือครองที่ดิน ทาประโยชน์ ในพื้นที่ดังกล่าวมากขึ้น สนับสนุนการกระจายการถือครองที่ดินอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรมเร่งรัดการจัดให้มี องค์กรและระบบบริหารจัดการที่ดินให้เป็นรูปธรรมโดยเรจว พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาค การเกษตร ฟื้นฟูและส่งเสริมค่านิยม วัฒนธรรมที่ดีและวิถีชีวิตทางการเกษตรที่ให้ความสาคัญกบการพัฒนา ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน 2.2. การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาพลังงานชีวภาพในระดับครัวเรือ น และชุ ม ชน โดยส่ ง เสริ ม ให้ เ กษตรกรปลู ก ต้ น ไม้ แ ละปลู ก ป่ า โดยชุ ม ชนและเพื่ อ ชุ ม ชนเพิ่ ม ขึ้ น ส่ ง เสริ ม แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 16 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ให้เกษตรกรทาการเกษตรด้วยระบบเกษตรยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนให้มีการ จั ด การและเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ แ ละการพั ฒ นาด้ า นอาหารศึ ก ษาทุ ก รู ป แบบอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและทั่ ว ถึ ง รวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมของบุคคลและชุมชน สนับสนุนการสร้างเครือ ข่ายการผลิตและ การบริโภคที่เกื้อกูลกันในระดับชุมชนที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกัน ส่งเสริมการนาวัตถุดิบทางการเกษตรที่ผลิตได้ใน ชุมชนและที่เหลือใช้จากการเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานในพื้นที่ให้เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแขจงด้านอาหารให้กับเกษตรกรและชุมชนอย่างเป็นระบบ 3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และสังคม ให้ความสาคัญกับ 3.1. การมีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการสร้างสังคมนานาชาติที่มีคุณภาพชีวิต ป้องกัน ภั ย จากการก่ อ การร้ า ยและอาชญากรรม ยาเสพติ ด ภั ย พิ บั ติ แ ละการแพร่ ร ะบาดของโรคภั ย มุ่ง พั ฒ นาศั ก ยภาพและความพร้ อ มในการป้ องกั น และแก้ ปั ญ หาข้ า มชาติ ด้ านการก่อ การร้า ย ยาเสพติ ด และการหลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือภายในภูมิภาคเพื่อเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและเหตุฉุกเฉิน และร่วมมือในการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่และ โรคระบาดซ้า 3.2. การเสริมสร้างความร่วมมือที่ดีระหว่างประเทศในการสนับสนุนการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเปิดรับความร่วมมือกั บองค์กร ระหว่างประเทศที่ไม่แสวงหากาไร เป็นการดาเนินการภายใต้กรอบความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมในระดับอนุ ภูมิภาค เสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการที่นาสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ส่งเสริมและ อานวยความสะดวกองค์กรระหว่างประเทศที่ไม่แสวงหากาไรให้มีบทบาทเพิ่มขึ้นในการให้ไทยเป็นฐานการ ดาเนินความร่วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศในภูมิภาค 5) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2558 - 2564) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเป็นนโยบายระดับชาติกาหนดขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการดาเนินการ ด้านความมั่นคงของภาครัฐในระยะ 5 ปี โดยได้ประเมินสภาวะแวดล้อมทางภูมิรัฐศาสตร์สถานการณ์แ ละ ความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงนาไปสู่การกาหนดทิศทางหลักในการดาเนินการเพื่อรักษาผลประโยชน์ และความมั่นคงของประเทศ ทั้งนี้ นโยบายความมั่นคงแห่ง ชาติฉบับใหม่ไ ด้กาหนดลาดับความสาคัญ โดย พิจารณาความเสี่ยงและผลกระทบต่อความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ ซึ่งส่งผลต่อความอยู่รอดปลอดภัยของ ชาติและส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในด้านต่างๆและภูมิคุ้มกันของชาติในภาพรวมเป็น “เกณฑ์สาคัญ” โดยกาหนดความสาคัญเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่ 1 นโยบายเสริมสร้างความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ และส่วนที่ 2 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป ซึ่งการจัดสรรทรัพยากรจะให้น้าหนักต่อนโยบายเสริมสร้าง ความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ แต่ทั้งนี้นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั้งสองส่วนต้องได้รับการขับเคลื่อนไป พร้อมๆกัน เพื่อให้เกิด ภาพแห่งความสาเรจจโดยรวมและสามารถรักษาผลประโยชน์แห่งชาติได้อย่างครบถ้วนทั้ง เสถียรภาพ ความเป็นปึกแผ่นของประเทศ และการมีจุดยืนที่ชัดเจน เหมาะสม ซึ่งจะทาให้ประเทศมีเกียรติและ ศักดิ์ศรี ในประชาคมโลก กรอบความคิดหลักในการกาหนดนโยบาย ได้คานึงถึงค่านิยมหลักของชาติ ซึ่งเป็นสิ่งที่ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 17 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

คนในชาติจะต้องยึดถือและพึงรักษาไว้ร่วมกัน และผลประโยชน์แห่งชาติ ซึ่งเป็นความมุ่งประสงค์ของชาติ ที่จะทาให้ค่านิยมหลักของชาติดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง ต่อเนื่อง นโยบายความมั่ น คงแห่ ง ชาติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ภารกิ จ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 1. นโยบายรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.1. พัฒนาระบบการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืนระหว่างการอนุรักษ์ และการพั ฒ นา โดยยึ ด หลั ก การสร้ า งสมดุ ล ในการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ห้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสม และสอดคล้องกับความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศและการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและ การผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิน่ กับเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนควบคู่กับการพัฒนาท้องถิ่น 1.2. เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และท้องถิ่นในการบริหาร จัด การ การตรวจสอบ และการเฝ้า ระวัง การแสวงประโยชน์ จากทรัพ ยากรธรรมชาติโ ดยมิช อบ รวมถึ ง เสริ ม สร้ า งให้ ทุ ก ภาคส่ ว นมี จิ ต ส านึ ก และตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ใ นการมี ส่ ว นร่ ว มบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมั่นคงและยั่งยืน และสนับสนุนให้มีชุมชนต้นแบบ การจัดตั้งกลุ่ม อาสาสมั ค ร การสร้ างเครื อข่ า ยความร่ว มมื อ กับ ภาคประชาชนในการบริ ห ารจัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ และการควบคุมตรวจสอบกิจกรรมที่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.3. เสริ ม สร้ า งประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม ในการส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารใช้ กระบวนการยุติธรรมทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นกลไกพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ปกป้องสิทธิ ชุม ชน และแก้ ปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ งที่ เ กิ ด ขึ้ น กับ ประชาชน และสนับ สนุ น ให้ มีก ารใช้ ม าตรการทางกฎหมาย มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ และมาตรการทางสังคม เพื่อลดการทาลายและสร้างแรงจูงใจในการร่วมดูแลรักษา ทรั พยากรธรรมชาติแ ละสิ่ งแวดล้ อม รวมถึ ง เพิ่ม ประสิท ธิภ าพกลไกตรวจสอบและเฝ้า ระวั ง ภั ยคุ กคาม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภายนอกประเทศ โดยเฉพาะปัญหาขยะอิเลจกทรอนิกส์ การลักลอบ นาเข้าวัตถุมีพิษ สารเคมีอันตราย และกากของเสียต่างๆจากโรงงานอุตสาหกรรมของต่างชาติเข้ามาทิ้งใน อาณาเขตของประเทศไทย 1.4. ส่งเสริมการรวมตัวในระดับภูมิภาคอาเซียน เพื่อเป็นภาคีด้านการรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกันอย่างใกล้ชิด 2. นโยบายปกป้องรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล 2.1. พัฒนาศักยภาพความมั่นคงแห่ง ชาติทางทะเล ในการเสริมสร้างและพัฒนากาลัง ทางเรือให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมเพียงพอในการจัดการกับภัยคุกคามด้วยแนวคิดเชิงป้องกันและป้องปราบ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศ และพัฒนาความร่วมมือและความเข้าใจอันดี กับหน่วยงานทางทะเลในทุกระดับ 2.2. คุ้ม ครองการใช้ป ระโยชน์ จากทะเล ในการพัฒ นาขีด ความสามารถเชิ ง ป้ องกั น การรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคง และเสริมสร้างระบบตรวจการณ์และพิสูจน์ทราบเป้าหมายทางทะเล การแลกเปลี่ยนด้านการข่าว รวมทั้งพัฒนาศักยภาพในการเตือนภัย ป้องกัน และจัดการกับปัญหาภัยพิบัติ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 18 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

สาธารณภัย และภัยธรรมชาติ ตลอดจนเสริมสร้างและพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ สนับสนุนประเดจน ความมัน่ คงและความปลอดภัยทางทะเลในเวทีระหว่างประเทศ 2.3. สร้างความสงบเรียบร้อยและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทางทะเล ในการส่งเสริมการ พัฒนาและเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมทางทะเล และสนับสนุนกิจการพาณิชย์นาวี รวมทั้งจัดให้มีมาตรการเชิง ป้องกันและแก้ไขความขัดแย้งจากการแสวงหาประโยชน์ทางทะเลอย่างสันติวิธี ตลอดจนจัดระเบียบการ บริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมทางทะเลให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม สมดุล ละยั่งยืน รวมทั้งให้มีการ กาหนดพื้นที่ปกครองทางทะเลเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2.4. สร้างความสมดุลและยั่งยืนของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางทะเล โดยผลักดัน ประเดจนด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับทะเล สนับสนุนการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชน และสนับสนุนสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของตน และพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการกับมลพิษที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้มีและบัง คับใช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมทางทะเลอย่างเคร่งครัด (แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2555 - 2558) 2.5. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ และความตระหนักรู้ความสาคัญ ของทะเล โดยให้มีองค์กรที่มีหน้าที่ศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับทะเล และเผยแพร่ ให้ความรู้และการศึกษากับ ภาคส่วนต่างๆและเร่งรัดการพัฒนาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการทางทะเล 2.6. พั ฒ นาการบริ ห ารจั ด การผลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเลขององค์ ก รของรั ฐ โดยจัดตั้ ง หน่วยงานที่มี อานาจตามกฎหมายในการสั่ ง การและบู รณาการความร่ว มมือ ระหว่า งหน่วยงาน ในการดูแลและรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล รวมทั้ง มีการพัฒนากฎ ระเบียบ แผน หรือกฎหมาย ภายในอื่ น ๆเพื่ อ ให้ มี ค วามทั นสมั ย ต่อ สถานการณ์ ท างทะเลและสอดคล้ อ งกั บ พั นธกรณีร ะหว่า งประเทศ ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพของเครือข่ายภาคประชาสังคมในการสนับสนุนการดาเนินการของหน่วยงานรัฐ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 เหจนชอบและอนุมัติแผนความมั่นคง แห่งชาติทางทะเล พ.ศ. 2558-2564 เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการนาไปสู่การบูรณาการและการ บริหารจัดการความมั่นคงแห่งชาติทางทะเลต่อไป แผนความมั่ น คงแห่ ง ชาติ ท างทะเล พ.ศ. 2558-2564 ประกอบด้ ว ย 6 ประเดจ น ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพความมั่นคงของชาติทางทะเล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การคุ้มครองการใช้ประโยชน์จากทะเล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความสงบเรียบร้อยและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทางทะเล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความสมดุลและยั่งยืนของทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางทะเล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ และความตระหนักรู้ ความสาคัญของทะเล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการผลประโยชน์ของชาติทางทะเลโดยองค์กรของรัฐ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 19 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้รับมอบหมายให้เป็นเจ้าภาพหลักใน การจัดทาแผนบูรณาการความร่วมมือตามประเดจนยุทธศาสตร์ที่ 3 และที่ 4 3. นโยบายสร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ พั ฒ นาระบบ กลไก และมาตรการที่ เ ข้ ม แข็ ง ในการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา การก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ ในการเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงาน กลไกภาครัฐ โดยเฉพาะ การข่ าวและระบบกฎหมายให้มีความเข้มแขจ ง รวมถึง ส่ ง เสริ มความร่ว มมือและการประสานงานระหว่า ง หน่วยงานภาครัฐให้มีเอกภาพ ทั้งนี้สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติไ ด้ยกร่างยุทธศาสตร์ใ นการป้อ งกันและแก้ไข ปัญ หาอาชญากรรมข้ า มชาติ พ.ศ. 2558-2562 มีร ะยะเวลาการดาเนิ น การเพี ย ง 5 ปี และปั ญ หา อาชญากรรมข้ามชาตินั้นมีหลากหลายสาขาด้วยกัน ดังนั้น เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างตรงจุดและแก้ไข ปัญหาที่มีความรุนแรงเร่งด่วน ยุทธศาสตร์ฯ ฉบับนี้จึงกาหนดสาขาความเร่งด่วนไว้ดังนี้ 1) การก่อการร้าย 2) การลักลอบค้ามนุษย์ 3) อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม (โดยเฉพาะการลักลอบค้าสัตว์ป่า) 4) การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา 5) การลักลอบค้ายาเสพติด ในส่ ว นที่ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มรั บ ผิ ด ชอบคื อ เรื่ อ งการ เสริม สร้ างและพั ฒนาความร่ วมมือ ระหว่ างประเทศทุก ระดับ สาขาความเร่ง ด่ว น คือ เรื่อ งอาชญากรรม สิ่งแวดล้อม (โดยเฉพาะการลักลอบค้าสัตว์ป่า) 6) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 - 2561) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 - 2561) มีเป้าหมายหลัก คือ “เป็นสังคมที่ส่งเสริม สิทธิ และเสรีภาพ ความเท่าเทียมกัน โดยคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เพื่อนาไปสู่ สังคมสันติสุข” โดยกาหนดทิศทางไว้ 11 ด้าน และ 15 กลุ่มเป้าหมาย และในจานวน 11 ด้านนั้น กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้รับมอบหมายให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดทาแผนบูรณาการ แผน สิทธิ มนุษ ยชนด้านทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ งแวดล้ อ ม และเป็น หน่ว ยงานร่ว มดาเนิน การในการจั ดท า แผนบูรณาการแผนสิทธิมนุษยชนด้านความมั่นคงทางสังคม โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ 6.1. แผนสิทธิมนุษยชนด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาความเสื่ อมโทรมและการรุกล้ าทรั พยากรธรรมชาติข องประเทศมาจากการ พัฒนาที่ขาดความสมดุลในอดีต ซึ่งแฝงการเปลี่ยนรูปการพัฒนาจากพื้นฐานทางการเกษตรไปสู่การพัฒนากึ่ง อุตสาหกรรมเป็นเครื่องขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ได้มี ความตื่นตัวเกี่ยวกับปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรอย่างกว้างขวาง ได้มีการผลักดันกฎหมายที่เกี่ ยวข้อง กับสิ่งแวดล้อมหลายฉบับ รวมถึงการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งแวดล้อม อาทิ ศาลฎีกาแผนกคดี สิ่งแวดล้อม ศาลปกครอง และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างไรกจตามในทางปฏิบั ตินั้น ประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิ ทั้งในด้านการบุกรุกที่อยู่อาศัย หรือได้รับผลกระทบจากปัญหาสภาพแวดล้อม และ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 20 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร มีโอกาสน้อยมากที่จะได้รับค่าชดเชยจากความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจากการ ขาดอานาจต่อรอง การขาดความรู้เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรม สภาพปัญหา 1. ประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิและผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสภาพแวดล้อม มักพบ อุปสรรคในการนาปัญหาและข้อพิพาทเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม และจาใจต้องแบกรับความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยแม้จะมีกฎหมายที่คุ้มครองสิทธิดังกล่าว แต่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบกลับไม่สามารถได้รับการชดเชย จากการถูก ละเมิ ดสิทธิ ดังกล่ าวได้ เนื่อ งจากการขาดอ านาจต่อรอง การขาดความรู้เกี่ย วกับกระบวนการ ยุติธรรม การขาดความรู้ทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องในการพิสูจน์ความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อคดีขึ้นสู่การพิจารณาของ ศาล ตลอดจนต้นทุนที่สูงในการดาเนินคดีและความล่าช้าของกระบวนการยุติธรรม 2. สาเหตุของการบุกรุกทรัพยากรป่าไม้มาจากทั้งกลุ่มประชาชนบางกลุ่มที่ไม่มีที่ทา กิน และกลุ่มที่เข้าแสวงหาประโยชน์ โดยปัจจุบันเกษตรกรจานวนมากที่ทากินในพื้นที่ของรัฐโดยไม่ชอบด้วย กฎหมายถูกจับกุมดาเนินคดีในข้อหาบุกรุกที่ดินของรัฐและเอกชนอย่างไม่เป็นธรรม มาตรการและการปฏิบัติ 1. เน้นการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับมาตรการชดเชยผลกระทบที่เกิดขึ้น จากสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ ช่องทางการร้องเรียนตลอดจนสร้างความตระหนักถึงขอบเขตของสิทธิของตนเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เปิดโอกาสให้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบที่เกิด ขึ้นอย่าง แท้จริง โดยควรจัดให้มีกองทุนกลางที่จัดเกจบค่าใช้จ่ายจากเจ้าของกิจการทั้งหมดเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ ประเมินแทนการให้ผู้ประกอบการเป็นฝ่ายจัดจ้างและสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการประเมินเองดังเช่น ในปัจจุบัน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดความเป็นกลางของผู้ประเมิน และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจสอบพื้นที่ชุมชน ที่มีความเสี่ยงจากปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษ 2. ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการใช้สารเคมีปลอดภัยและเหมาะสม และมุ่งจัดระเบียบ พื้นที่ (Zoning) เพาะปลูกให้เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ 3. ส่งเสริมการคัดแยกขยะและบาบัดน้าเสียเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม 4. เร่งรัดการบังคับใช้กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์และจัดสรรทรัพยากร ธรรมชาติ อ ย่ า งจริ ง จั ง เป็ น ธรรมไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ และปรั บ ปรุ ง บทลงโทษให้ เ หมาะสมกั บ สภาพปั จ จุ บั น และออกกฎหมายที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง ตลอดจนเร่งรัดมาตรการช่วยเหลือและชดเชยประชาชน ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอย่างรวดเรจว เหมาะสมและเป็นธรรม และเร่งรัดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นด้านการอนุรักษ์และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ส่ ง เสริ ม บทบาทขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และชุ ม ชน ซึ่ ง คุ้ น เคยกั บ สภาพแวดล้อมตามจริงพื้นที่ในการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นอย่างมีส่วนร่วม และให้มีส่วน ร่วมให้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ ตลอดจนเฝ้าระวัง ตลอดจนดูแลบารุงรักษาสิ่งแวดล้อม โดยรัฐอาจพิจารณาให้การสนับสนุนงบประมาณและความช่วยเหลือทางความรู้ที่จาเป็น 6. ปลูกจิตสานึกของประชาชนให้ตระหนักถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และควบคุมมลพิษทางอากาศ จากการจัดการขยะให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 21 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

7. ใช้มาตรการจูงใจผู้ประกอบการที่ดาเนินกิจการอย่างมีสานึกต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เช่น การลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล การจัดเกจบภาษีสิ่งแวดล้อมจากผู้ก่อมลพิษ โดยเปิด โอกาสให้ผู้ผลิต ภาคอุตสาหกรรม และ/หรือ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนดประเภทกิจกรรมที่ต้อง จัดเกจบภาษี สิ่งแวดล้อม และมาตรการทางกฎหมายที่ส่ง เสริมคุ้ มครองผู้ป กป้อ งและผู้ แจ้ ง เบาะแสปั ญ หา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.2. แผนสิทธิมนุษยชนด้านความมั่นคงทางสังคม กลุ่มคนจน/ผู้ได้รับผลกระทบจากการพัฒนา คนจน หมายถึง บุคคลที่มีรายได้น้อยไม่ สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่จาเป็นขั้นต่า หรือมีรายได้หรือความสามารถในการตอบสนองความ ต้องการในชีวิตที่ต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยของคนในสังคมเดียวกัน และด้อยโอกาสที่ตั้งหลักปักฐาน ในเขตเมือง ใน ลักษณะครอบครัวไม่ว่าเป็นการชั่วคราวหรือถาวรกจตาม สาหรับคนจนเมืองอาจจาแนกตามลักษณะที่อยู่อาศั ย ได้ 5 กลุ่ม คือ คนจนเมืองในชุมชนแออัด คนจนเมืองในชุมชนใต้สะพาน คนจนเมือง ริมคลอง กรรมกร ก่อสร้างนอกระบบ และคนไร้ที่อยู่ การพัฒ นาได้สร้างปั ญ หาความเหลื่อมล้าระหว่า งคนรวยและคนจน ซึ่ง เป็ นปัญ หา เชิงโครงสร้างที่สาคัญของประเทศไทย ในปี 2553 พบว่า สัดส่วนคนจนในบางจังหวัดยังมีค่าสูงจากเป้าหมาย ที่กาหนดไว้ 4% จานวน 45 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิง ห์บุรี ตราด กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ลาพูน แพร่ พะเยา อุทัยธานี กาแพงเพชร พิษณุโลก นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี อานาจเจริญ หนองบัวลาภู สระแก้ว ลาปาง อุตรดิตถ์ น่าน เชียงราย ตาก เพชรบูรณ์ ยโสธร ชัยภูมิ สุโขทัย แม่ฮ่องสอน อุดรธานี บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ขอนแก่น เลย หนองคาย ร้อยเอจด ระนอง นราธิวาส มหาสารคาม สกลนคร มุ ก ดาหาร ปั ต ตานี กาฬสิ น ธุ์ นครพนม โดยที่ จั ง หวั ด ที่ มี สั ด ส่ ว นคนจนสู ง สุ ด ในประเทศ คือ แม่ฮ่องสอน ซึ่งมีจานวนคนจนมากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรจังหวัด (59.77 % ) คนจนในเขตเมืองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในกิจการที่ไม่เป็นทางการ เช่น รับจ้างทั่วไป ค้าขาย หาบเร่แผงลอย รับเหมางาน ทามอเตอร์ไซค์รับจ้างขับรถแทจกซี่ ลูกจ้างโรงงาน คนงานก่อสร้าง และ คนงานแบกหามตลอดจนไม่มีอาชีพทาให้มีรายได้น้อยและไม่แน่นอน สภาพที่อยู่อาศัยไม่มั่นคงถาวร ทรุดโทรม และแออัดไม่ถูกสุขลักษณะมักก่อสร้างใกล้แหล่ง งานโดยการเช่าที่ดิน เช่าบ้าน หรือบุกรุกที่ดินของเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐ นอกจากนี้คนจนเมือง บางส่วนไม่มีที่อยู่อาศัย สภาพการเช่นนี้ทาให้คนจนเมืองขาด โอกาส ในการรับบริการพื้นฐานทางสังคม เช่น การศึกษา สาธารณสุข สาธารณูปโภคและอื่นๆ คนจนถูก ละเมิดสิทธิและเสรีภาพและไม่ได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สภาพปัญหา 1. ปั ญ หาที่ อ ยู่ อ าศั ย คนจนส่ ว นใหญ่ ไ ม่ มี ที่ อ ยู่ อ าศั ย เป็ น ของตนเอง มี ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่แออัด ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่าของคุณภาพชีวิต 2. ปัญหาการบริการพื้นฐานของรัฐ คนจนขาดโอกาสที่จะเข้าถึงบริการทางสังคมของรัฐ เช่น การศึกษา การบริการ ด้านสาธารณสุข การคุ้ม ครองแรงงาน/สวัสดิการ ไม่ไ ด้รับบริก ารพื้นฐานทาง สาธารณูปโภคอย่างทั่วถึง เช่น ประปา ไฟฟ้า คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม ทาให้เกิดปัญหาสังคม และปัญหาสุขภาพอนามัยเช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหา แรงงาน ปัญหายาเสพติด และโรคเอดส์ เป็นต้น 3. ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงความยุติธรรมของคนจน มาตรการและการปฏิบัติ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 22 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

1. เร่ ง แก้ ไ ขปั ญ หาที่ โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานเพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ สิ ท ธิ ใ นการพั ฒ นา อย่างเสมอภาค ได้แก่ การปฏิรูปการกระจายการถือครองที่ดินและการจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม การปฏิรูประบบประกันสังคมให้บุคคลทุกกลุ่มได้รับการดูแลจากรัฐอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 2. ส่งเสริ มศัก ยภาพการมีส่ วนร่ วมในการพัฒ นาและการจัด การตนเองของชุ มชน ท้องถิ่น เช่น การคุ้มครองสิทธิ ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและเอื้อต่อการดารงชีวิต และสิทธิในการดารงรักษา วั ฒ นธรรมหรื อ วิ ถี ชี วิ ต ของประชาชน ในชุ ม ชน การส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนเข้ า มาร่ ว มรู้ แ ละให้ ข้ อ คิ ด เหจ น ต่อโครงการพัฒนาต่างๆ ที่จะมีผลกระทบต่อชีวิตของประชาชน 3. ให้บริการพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการดารงชีพของคนจน เพื่อให้ประชาชนทุกคน มีมาตรฐานการดาเนินชีวิตที่เพียงพอ จัดหาที่อยู่อาศัย 4. ต้องส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมภายในชุมชนของคน จนเมืองให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างเหมาะสมและสามารถช่วยเหลือตนเองได้ โดยน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับใช้ 5. แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างขั้นพื้นฐานของความไม่เท่าเทียมในสังคมและความไม่เท่าเทียม ในการเข้าถึงโอกาสและบริการต่างๆ ของคนยากจนและคนชายขอบ เพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถใช้สิทธิ ของตนเองได้ตามที่ระบุไว้ในแผนและนโยบายการปฏิรูปประเทศ 6. ส่ง เสริ มมาตรการอย่ างต่อ เนื่อ งในการปรั บใช้แ ผนยุ ทธศาสตร์ แ ละแผนพัฒ นา เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ เพื่ อ ลดความยากจน รวมถึ ง มุ่ ง ช่ ว ยเหลื อ คนยากจนและผู้ ด้ อ ยโอกาส เพื่ อ ให้ ป ระชาชนทุ ก คนมี ม าตรฐานการด าเนิ น ชี วิ ต ที่ เ พี ย งพอ และด าเนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ เพิ่ ม และสร้ า งความเข้ ม แขจ ง ให้ กั บ แผนงานด้ า นสั ง คมที่ ป ระสบผลส าเรจ จ นั บ จนถึ ง ปั จ จุ บั น ซึ่ ง มี ค วามจ าเป็ น ในการต่อสู้กับความยากจนและการกีดกันทางสัง คมบนพื้นฐานของการกระจายความมั่งคั่งอย่างเป็นธรรม อันจะนาไปสู่การบรรลุสวัสดิการที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้สาหรับประชาชน 7) แผนแม่บทแก้ไขปัญหาการทาลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐ และการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน (หัวหน้า คสช.อนุมัติ วันที่ 1 สิงหาคม 2557) จากสถานการณ์การบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้อย่างต่อเนื่อง ทาให้พื้นที่ป่าไม้ ของประเทศ ไทยมีจานวนลดลงเป็นปริมาณมาก ก่อให้เกิดผลกระทบและความขัดแย้งเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ที่รุนแรงคณะ รั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ (คสช.) จึ ง มอบให้ กองอ านวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายในราชอาณาจั ก ร กับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมวางยุทธศาสตร์ในการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชาติและ จัด ทาแผนแม่บ ทกาหนดเป้ า หมายที่ จ ะต้ อ งด าเนิ นการให้ บรรลุผ ลสั ม ฤทธิ์ ตามห้ว งเวลาที่ กาหนดและให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปเป็นแนวทางในการวางแผนปฏิบัติการในส่วนของตนเองให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และเป้าหมายที่กาหนดคือ การพิทักษ์รักษาพื้นที่ป่าไม้ให้มีสภาพป่าที่สมบูรณ์ให้ได้พื้นที่ป่าไม้อย่าง น้อย ๔๐% ของพื้นที่ประเทศภายใน ๑๐ ปี และกาหนดวัตถุประสงค์ไว้ ดังนี้ ๑. เพื่อ หยุ ดยั้ ง การตั ดไม้ท าลายป่ าและทวงคืน ผืน ป่า จากผู้บุ กรุ กครอบครองให้ ไ ด้ ตามที่ เป้าหมายกาหนดไว้ภายใน ๑ ปี ๒. เพื่อให้มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยั่งยืน ภายใน ๒ ปี แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 23 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

๓. เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าในพื้นที่ป่าเป้าหมายทั่วทั้งประเทศให้มีสภาพที่สมบูรณ์ภายใน ๒ - ๑๐ ปี แผนแม่บท ฯ ได้กาหนดแผนในระดับยุทธศาสตร์ของการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชาติและ กลยุทธ์ในการปฏิบัติเพื่อให้หน่วยปฏิบัติใช้เป็นแนวทางในการวางแผนปฏิบัติการ และการประสานงานของ หน่วยงานที่รับผิดชอบให้สอดคล้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกั น โดย “ยุทธศาสตร์การพิทักษ์ทรัพยากรป่า ไม้” แบ่งออกเป็น ๔ ประเดจนยุทธศาสตร์และกาหนดกลยุทธ์ในแต่ละประเดจนยุทธศาสตร์ รวม ๑๗ กลยุทธ์ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 ผนึกกาลังป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทาลาย ทรัพยากรป่าไม้ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 หยุดยั้งการบุกรุกทาลายทรัพยากรธรรมชาติ กลยุทธ์ที่ 2 จัดตั้งหน่วยเฉพาะกิจป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่า กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทาลายป่า กลยุทธ์ที่ 4 ยึดคืนพื้นที่ป่า ยับยั้งการบุกรุกป่า และแก้ปัญหาป่าบุกรุกคน โดยใช้ ภาพถ่ายทางอากาศเป็นหลักฐานหลัก ร่วมกับหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 ปลุกจิตสานึกรักผืนป่าของแผ่นดิน ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 กาหนดให้การแก้ไขปัญหาการบุกรุกตัดไม้ทาลายป่าเป็นวาระแห่งชาติ กลยุทธ์ที่ 2 จัดตั้งองค์กรแนวร่วมภาคประชาชนเพื่อปลุกจิตสานึก กลยุทธ์ที่ 3 ปลุกจิตสานึกให้เจ้าหน้าที่มีความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 ปฏิรูประบบการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงระบบการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ กลยุทธ์ที่ 2 พิจารณาจัดตั้งหน่วยงานด้านการบริหารจัดการป่าไม้ทั้งระดับจังหวัดและ อาเภอ กลยุทธ์ที่ 3 จัดทาแนวเขตทรัพยากรป่าไม้ทุกประเภทให้เป็นแนวเดียวที่ชัดเจน กลยุทธ์ที่ 4 จาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ (Zoning) กลยุทธ์ที่ 5 ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เป็นอุปสรรคในการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 ฟื้นฟูและดูแลรักษาป่าอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 จัดระบบการดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วม กับประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 จัดระบบการปลูกไม้เศรษฐกิจของประเทศเพื่อทดแทนความต้องการ และลดการบุกรุกตัดไม้ทาลายป่า กลยุทธ์ที่ 3 ให้คนอยู่กับป่าพึ่งพากันอย่างมีความสุข กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการฟื้นฟูและดูแลป่าอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 24 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ทั้งนี้ ในทางปฏิบัติให้ใช้กรอบแนวคิดตามคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๖๔/๒๕๕๗ เรื่องการปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้ และคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๖๖/๒๕๕๗ เรื่อง เพิ่มเติมหน่วยงานสาหรับการปราบปรามหยุดยั้ง การบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้ และ นโยบายการปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่ง คาสั่งดัง กล่าวออกมาเพื่อให้การบริหาร ราชการในการปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้พื้นที่ต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ สามารถลดผลกระทบที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศโดย กาหนดให้กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กองกาลังรักษาความสงบเรียบร้อย กองกาลังป้องกันชายแดน ของกองทัพบกและกองทัพเรือ กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการปราบปราม และ จับกุมผู้บุกรุกยึดถือครอบครอง ทาลายหรือกระทา ด้วยประการใดๆ อันเป็นการทาให้เสื่อมเสียแก่สภาพ ป่า รวมทั้งสมคบและสนับสนุนช่วยเหลือให้ได้ผลอย่างจริงจังในทุกพื้นที่ รวมทั้งสกัดกั้นการลักลอบตัดไม้มีค่าหรือ ไม้หวงห้าม การนาเข้าและส่งออกไม้ที่ผิดกฎหมายตลอดแนวชายแดน ตลอดจนปราบปรามเครือข่ายขบวนการ ตัดไม้ ทาลายป่ าในทุกหมู่บ้า นและชุม ชนทั่ วประเทศ พร้อมกับกาหนดให้ห น่วยงานที่รับ ผิดชอบควบคุ ม ตรวจสอบกิจการแปรรูปไม้ การตั้งโรงงานแปรรูปไม้ การค้าไม้แปรรูป ตลอดจนการค้าหรือมีไว้ครอบครอง ซึ่งไม้หวงห้าม และสิ่งประดิษฐ์เครื่องใช้หรือสิ่งอื่นที่ทาด้วยไม้หวงห้าม หากพบว่ามีการละเลยหรือมีเจตนาจงใจ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายซึ่งบัญญัติไว้ ให้ดาเนินการลงโทษตามกฎหมายอย่างเดจดขาดกับ เจ้าของหรือ ผู้ประกอบการโดยทันที ให้ติดตามผลคดีป่าไม้และดาเนินการฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุก ทาลายให้คืนสภาพป่าไม้ ที่สมบูรณ์ดังเดิม โดยประสานกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภาคประชาชนและองค์กรชุมชนได้เข้ามา มี ส่ ว นร่ ว มในการด าเนิ น การดั ง กล่ า วอย่ า งจริ ง จั ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ผู้ ใ ดปล่ อ ยและละเลยหรื อ เข้ า ไป มีส่วนเกี่ ยวข้องกับการกระทาผิดตามกรณีดัง กล่าวข้ างต้น จะต้องถูกดาเนินการลงโทษทั้ง ทางวินัยและ ทางอาญาอย่างเดจดขาดโดยทันที และให้ทุกหน่วยที่เกี่ยวข้องยึดถือนโยบายการปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราว ในสภาวการณ์ปัจจุบัน โดยกาหนดรายละเอียดในการปฏิบัติไว้ ดังนี้ (๑) การกระทาใดๆ ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนผู้ยากไร้ ผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่ดินทา กิน ซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่เดิมนั้นๆ ก่อนคาสั่ง คสช. ที่ ๖๖/๒๕๕๗ มีผลบังคับใช้ ยกเว้นผู้บุกรุกใหม่จะต้อง ดาเนินการสอบสวนและพิสูจน์ทราบ เพื่อกาหนดวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมและดาเนินการตามขั้นตอนต่อไป (๒) การดาเนินการเร่งด่วน คือ การป้องกันไม่ให้มีการบุกรุกเพิ่มเติม ด้วยการใช้กฎหมาย อย่างเข้มงวดและเดจดขาด (๓) การดาเนินการแก้ไขปัญหาที่สั่งสมมาแต่เดิม ให้หน่วยที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณากาหนด มาตรการและวิธีการอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ไขต่อไป (๔) กรณีใดๆ ซึ่งอยูร่ ะหว่างการดาเนินการตามกระบวนการยุติธรรมให้ดาเนินการ ต่อไปจนกว่าจะสิ้นสุดกระบวนการที่กาหนด นอกจากนี้ ได้กาหนดเป้าประสงค์ หรือผลลัพธ์สุดท้ายที่แผนแม่บทต้องการ คือ การพิทักษ์ รักษาทรัพยากรป่าไม้ของชาติให้มีสภาพที่สมบูรณ์ตามลักษณะประเภทของป่าตามที่กาหนดไว้ให้ได้อย่างน้อย ๔๐% ของพื้นที่ประเทศภายในระยะเวลาไม่เกิน ๑๐ ปี แต่เนื่องจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีความตั้งใจ อย่างยิ่งที่จะแก้ไขปัญหาให้ได้อย่างรวดเรจว จึงได้กาหนดแนวทางการแก้ปัญหาระยะเร่งด่วนให้มีการรณรงค์ อย่างจริง จัง ด้วยการประสานความร่วมมือของทุกภาคส่วน ดาเนินการต่อทุกพื้นที่ทั้ง ประเทศโดยแบ่ง การ ดาเนินการออกเป็น ๓ ส่วน คือ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 25 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ส่วนที่ ๑ เพื่อหยุดยั้งการตัดไม้ทาลายป่าและทวงคืนผืนป่าจากผู้บุกรุกครอบครองให้ได้ตาม ที่เป้าหมายกาหนดไว้ภายใน ๑ ปี ส่วนที่ ๒ เพื่อให้มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยั่งยืนภายใน ๒ ปี ส่วนที่ ๓ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าในพื้นที่ป่าเป้าหมายทั่วทั้งประเทศให้มีสภาพที่สมบูรณ์ ภายใน ๒ - ๑๐ ปี 8) Road map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย (หัวหน้า คสช.อนุมัติ วันที่ 26 สิงหาคม 2557) คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้เหจนชอบ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสีย อัน ตราย เมื่ อ วั น ที่ 2๖ สิ ง หาคม 2557 และก าหนดให้ เ รื่ อ งการจั ดการขยะมู ล ฝอยเป็ น วาระแห่ ง ชาติ สาระสาคัญของ Roadmap ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) การกาจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่วิกฤติ (ขยะมูลฝอย เก่ า ) ในระยะเร่ ง ด่ ว น 6 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ นครปฐม ปทุ ม ธานี พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สระบุ รี ลพบุ รี และ สมุทรปราการ (2) การสร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) (3) การวางระเบียบมาตรการการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย (4) การสร้างวินัยของคนในชาติ มุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรีโดยความเหจนชอบของคณะรัฐมนตรี ได้วางระเบียบ ไว้ 2 ฉบับ เพื่อวางระเบียบการปฏิบัติราชการเพื่อกาหนดขั้นตอนการดาเนินการในการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย ให้เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ด้วยการบูรณาการแผนและแนวทางในการดาเนินงานของส่วนราชการและ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นศูนย์กลางในการกาหนด แนวทางการทางาน การสั่งการ การแก้ไขปัญ หาให้เป็นไปอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และสามารถ ดาเนินการได้อย่างรวดเรจว ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2557 ดังนี้ (1) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๗ (2) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย ในท้องที่จังหวัดนครปฐม จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และ จังหวัดสระบุรี พ.ศ. ๒๕๕๗ 9) แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้า โดยคณะกรรมการกาหนดนโยบายและการบริหาร จัดการทรัพยากรน้า (ตามคาสั่ง คสช.ที่ 85/2557) คณะรัฐมนตรี ได้ให้ความเหจนชอบแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้า (พ.ศ. 2558-2569) แล้วเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 โดยแผนดังกล่าวจัดทาขึ้นเพื่ อกาหนดกรอบนโยบาย สาหรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรน้าของประเทศในทุกด้าน ได้แก่ ปัญหาการขาดแคลนน้า แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 26 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ปัญหาน้าท่วม และปัญหาคุณภาพน้า อย่างมีเอกภาพและบูรณาการในทุกมิติ โดยแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 3 ระยะ คือ (1) ระยะเร่งด่วน/สั้น (พ.ศ.2558-2559) (2) ระยะกลาง (พ.ศ.2560-2564) (3) ระยะยาว (พ.ศ.2565-2569) แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้า (พ.ศ.2558-2569) ประกอบด้วย 6 ประเดจนยุทธศาสตร์ และ 33 กลยุทธ์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการน้าอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ดังนี้ - กลยุทธ์ที่ 1 จัดหาแหล่งน้าต้นทุนและก่อสร้างระบบประปา - กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบประปาเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ - กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพระบบประปาชนบทและจัดหาแหล่งเกจบน้าฝน - กลยุทธ์ที่ 4 จัดหาน้าดื่มให้โรงเรียนและชุมชน - กลยุทธ์ที่ 5 ใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความมั่นคงของน้าภาคการผลิต ประกอบด้วย 7 กลยุทธ์ ดังนี้ - กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งน้าในพื้นที่เกษตรน้าฝน - กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาแหล่งเกจบกักน้าใหม่และระบบกระจายน้า - กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพโครงการแหล่งน้าและระบบชลประทาน - กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบผันน้าและระบบเชื่อมโยงแหล่งน้าภายในและระหว่างลุ่มน้า/ ต่างประเทศ - กลยุทธ์ที่ 5 บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) - กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งน้าในพื้นที่เกษตรน้าฝน - กลยุทธ์ที่ 7 สนับสนุนโครงการที่แก้ไขทั้งปัญหาการขาดแคลนน้าและน้าท่วม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการน้าท่วมและอุทกภัย ประกอบด้วย 7 กลยุทธ์ ดังนี้ - กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงทางน้าสายหลัก - กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้า ผันน้า และพื้นที่รับน้านอง - กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาและบริหารจัดการแหล่งเกจบกักน้าให้เตจมศักยภาพเพื่อลดปริมาณ น้าหลากให้กับพื้นที่ตอนล่าง - กลยุทธ์ที่ 4 ป้องกันน้าท่วมชุมชนเมือง - กลยุทธ์ที่ 5 กาหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินล่มน้า/จังหวัด และปรับปรุง/จัดทาผังเมือง - กลยุทธ์ที่ 6 ควบคุมการบุกรุกทางน้า - กลยุทธ์ที่ 7 สนับสนุนการปรับตัวและหนีภัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการคุณภาพน้า ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี้ - กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบรวบรวมและระบบบาบัดน้าเสียรวมของชุมชน - กลยุทธ์ที่ 2 ลดน้าเสียจากแหล่งกาเนิด - กลยุทธ์ที่ 3 ผลักดันน้าเคจม - กลยุทธ์ที่ 4 กาจัดวัชพืชและขยะมูลฝอยในแหล่งน้า แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 27 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้าที่ เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ดังนี้ - กลยุทธ์ที่ 1 อนุรักษ์ ฟื้นฟูป่าต้นน้าที่เสื่อมโทรม เพื่อปรับสมดุลของระบบนิเวศพื้นที่ ต้นน้า ชะลอการไหลหลากในช่วงฤดูฝน เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ป่า - กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันและลดการชะล้างพังทลายของดิน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการ ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์ ดังนี้ - กลยุทธ์ที่ 1 จัดทา(ร่าง)พระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. ... - กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยปฏิบัติงาน - กลยุทธ์ที่ 3 สนับสนุนองค์กรชุมชน องค์กรลุ่มน้า และเครือข่ายระหว่างลุ่มน้า - กลยุทธ์ที่ 4 จัดทาแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้าในระดับลุ่มน้าและแผนปฏิบัติการ - กลยุทธ์ที่ 5 ศึกษา วิจัย แนวทางการจัดการทรัพยากรน้า/ลุ่มน้าสาขา - กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ - กลยุทธ์ที่ 7 ติดตามและประเมินผล - กลยุทธ์ที่ 8 ประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม 10) นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ) ให้ไว้เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2557 “ มั่นคงทุกระดับ กระชับวิธีการ ดาเนินงานโปร่งใส ใส่ใจกลยุทธ์ บริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามพระราชปณิธานสูงสุดด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ”

 นโยบาย 5S : (1) Stability (มั่นคงทุกระดับ) คือ สร้างขวัญกาลังใจและความมั่นคงให้แก่บุคลากรผู้ปฎิบัติงาน ทุกระดับชั้น ให้เกียรติคนทางาน สนับสนุนและยกย่องผลงานที่มีคุณภาพ ต้องไม่มีการซื้อขายตาแหน่งในทุก ระดับชั้น (2) Strengthening (กระชับวิธีการ) คือ ปฎิบัติภารกิจด้วยความรวดเรจว กระชับ ตรงประเดจน และมีมาตรฐานทางด้านวิชาการ ทั้งในมิติของการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมโดยเน้นผลสัมฤทธิ์เป็นหลัก (3) Show transparency (ดาเนินงานโปร่งใส) คือ ปฎิบัติงานด้วยความสุจริต โปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน (4) Strategy (ใส่ใจกลยุทธ์) คือ วางแผนกลยุทธ์แบบบูรณาการทั้งภายในและภายนอก หน่วยงานให้สามารถปฎิบัติได้จริง เพื่อนาไปสู่ผลงานที่เป็นรูปธรรมอย่างเป็นขั้นตอนและมีประสิทธิภาพสูงสุด (ทาก่อน ทาจริง ทาทันที มีผลสัมฤทธิ์) (5) Sustainable management (บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามพระราชปณิธานสูงสุดด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน) คือ บริหารจัดการ สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 28 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็นรากฐานของสังคมคุณภาพและการเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ เพื่อ การพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืน  งานที่ทุกกลุ่มภารกิจ (Cluster) ต้องปฎิบัติ (1) งานด้านบุคลากร : ปกครองบุคลากรทุกระดับชั้นด้วยระบบคุณธรรมและจริยธรรม ให้ การดูแลขวัญกาลังใจอย่างเป็นรูปธรรม ให้ยึดมั่นและปฎิบัติตามค่านิยม 12 ประการ ของ คสช. (2) งานด้านฐานข้อมูล : จัดทาฐานข้อมูลภายใน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ให้เป็นหนึ่งเดียว และเชื่อมต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการปฎิบัติงาน/การตัดสินใจที่ ถูกต้อง (3) งานด้านการดูแลรักษา สิ่งอุปกรณ์ : สนับสนุนและมีการควบคุมการใช้เครื่องมือ/ อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ มีผู้รับผิดชอบชัดเจน มีการซ่อมบารุงตามวงรอบและมีการวางแผนจัดหาทดแทนอย่างเป็นระบบ (4) งานด้านการประชาสัมพันธ์ CSR: สร้างเครือข่าย ทุกภาคส่วน โดยใช้การสื่อสารหลาย ช่องทาง สร้างการมีส่วนร่วม และปลูกฝังจิตสานึก (5) งานด้านการปฎิบัติ : - ดาเนินงานตามโครงการพระราชดาริให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด - ลดขั้นตอนและเวลาในการปฎิบัติงาน (มุ่งสู่ One Stop Service) - พร้อมปฎิบัติงาน ฝึกฝนและพัฒนาทักษะตามภารกิจ มีแผน ปฎิบัติงานชัดเจน - ปฎิบัติงานเชิงรุก ประสานความร่วมมือภายใน-ภายนอกหน่วยงาน  กลุ่มภารกิจด้านอานวยการ (1) พัฒนาและปรับปรุงศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็น Data Center ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของกระทรวงฯ และของประเทศ (2) กาหนดแนวทางและพัฒนาบุคลการของสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัด (ทสจ.) ให้สามารถปฎิบัติงานในลักษณะ One stop service ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ (3) ติดตามผลสัมฤทธิ์ และสรุปผลการดาเนินงานตามนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ เพื่อประเมินการปฎิบัติงานของหน่วยงาน (4) เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของกองทุนสิ่งแวดล้อม  กลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า พันธุ์พืช (1) ปรับปรุงกฎหมายให้มีความเหมาะสม ทันเหตุการณ์ มีบทลงโทษการกระทาผิดที่ชัดเจน และสร้างบรรทัดฐานในการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม (2) บูรณาการแผนงานระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกัน ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ลด การปฎิบัติงานซ้าซ้อน (3) กาหนดมาตรการ/เพิ่มประสิทธิภาพการการป้องกัน ฟื้นฟู และอนุรักษ์ ให้มีความชัดเจน นาไปสู่การปฎิบัติได้จริง พื้นที่ที่ยังไม่ถูกบุกรุกให้มุ่งเน้นการป้องกัน (4) ใช้มาตรการปราบปรามโดยการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดต่อผู้กระทาความผิด และลงโทษเจ้าหน้าที่ทุกระดับชั้นที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกระทาผิดอย่างเฉียบขาดและรวดเรจว แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 29 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(5) ลดความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้และที่ดินของรัฐ สร้างการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชนและเอกชนในการปลูกป่า จัดการป่าชุมชน และปลูกป่าเศรษฐกิจ (6) สร้ า งความสมดุ ล ของระบบนิ เ วศโดยจั ด การทรั พ ยากรป่ า ไม้ ดิ น และน้ า ให้ เ อื้ อ ประโยชน์ต่อการดารงชีวิ ตของประชาชน และเพื่อ ความสูญ เสียของชีวิตและทรัพย์สิน จากปัญ หาน้าท่ว ม ภัยแล้ง และหมอกควันไฟป่า 2. ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (1) ป้องกัน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง แหล่งปะการังธรรมชาติ และ สัตว์ทะเลหายาก รวมถึงการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง (2) เร่งจัดทาแผนที่และพิสูจน์สิทธิ์เพื่อป้องกันการลุกล้าพื้นที่อนุรักษ์ทางทะเลและชายฝั่ง (3) เพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนและป้องกันการบุกรุก 3. ทรัพยากรธรณี (1) เร่งพัฒนาแนวทาง/วางแผนการใช้ทรัพยากรธรณีของประเทศไทย (2) กาหนดมาตรการลดผลกระทบจากธรณีภัยพิบัติ เช่น ดินโคลนถล่ม แผ่นดินไหว (3) ดาเนินการตามมาตรการควบคุมมลพิษบริเวณเหมืองแร่สาหรับท้องถิ่นและผู้ได้รับ สัมปทานอย่างมีประสิทธิภาพ  กลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรน้าในแผ่นดิน (1) วางแผนปฏิ บั ติ ง านและด าเนิ น การให้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาและบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรน้าของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาน้าท่วม ภัยแล้ง และคุณภาพน้า รวมทั้งพัฒนาและบริหารจัดการน้า อุปโภคบริโภค น้าเพื่อการเกษตร น้าเพื่อรักษาระบบนิเวศ และน้าเพื่ออุตสาหกรรม (2) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายใน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้าทั้งระบบให้มีความสอดคล้องกัน เช่น การจัดการน้าเสียของกรมควบคุม มลพิษ การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งน้าเพื่อเพิ่มปริมาณน้าต้นทุนของกรมทรัพยากรน้า การเพิ่มพื้นที่ป่าต้นน้า ของกรมป่าไม้ การพัฒนาศักยภาพน้าบาดาลของกรมทรัพยากรน้าบาดาล เป็นต้น (3) เร่งวางแผนและดาเนินการตามหลักการ conjunctive water use ให้ทราบถึง water balance account เพื่อนาไปสู่การจัดสรรทรัพยากรน้าของประเทศ แก้ปัญหาภัยแล้งซ้าซาก  กลุ่มภารกิจด้านสิ่งแวดล้อม 1. ปัญหาขยะมูลฝอย (1) ดาเนินงานตาม Road map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ฉบับผ่าน ความเหจนชอบจาก คสช. เพื่อกาจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กาจัดในพื้นที่วิกฤติ สร้างรูปแบบการ กาจัดขยะและของเสียอันตรายที่เหมาะสม วางระเบียบมาตรการการบริหารจั ดการขยะมูลฝอยและของเสีย อันตราย และสร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน (2) กาหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่ง แวดล้อ มสาหรั บสถานที่ก าจัด ขยะมูล ฝอยและของเสี ย อันตรายและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 30 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(3) ส่งเสริมการสร้างจิตสานึก มุ่ง สู่สัง คมคาร์บอนต่า (Low carbon society) โดยการ สนับสนุนกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น และการคัดแยกขยะเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ทั้งด้านการรี ไซเคิลและการแปรรูปเป็นพลังงาน ตามแนวคิด “ขยะเหลือศูนย์” (Zero waste) 2. ปัญหามลพิษ (1) ควบคุมและติดตามตรวจสอบมลพิษ ณ แหล่งกาเนิดมลพิษ พร้อมประสานทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง (2) วางแผนและกาหนดมาตรการป้องกัน/แก้ไขปัญหาหมอกควัน โดยประสานความร่วมมือ กับกรมป่าไม้และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (3) ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สามารถนาไปสู่ การปฏิบัติได้จริง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และประเทศ  ความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับนานาชาติ (1) ให้รวบรวมอนุสัญญา/ความร่วมมือระหว่างประเทศ รายงานหน้าที่และแผนปฏิบัติงาน ของกรมที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์บทบาทของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และท่าทีของประเทศไทย (2) จัดทาแผนปฏิบัติงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้มีบทบาทและ แนวทางที่ ชั ด เจนตามอนุ สั ญ ญา/ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศ และวิ เ คราะห์ ป ระโยชน์ ที่ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และประเทศไทยจะได้รับ (3) ปรับโครงสร้างของหน่วยงานเพื่อรองรับบทบาทของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และประเทศไทยตามพันธกรณีของอนุสัญญา/ความร่วมมือระหว่างประเทศ  นโยบายเร่งด่วน (1) ดาเนินการในเรื่องสิทธิของบุคลากรทุกระดับ ปรับปรุง สภาพการทางาน และสภาพ ความเป็นอยู่ของบุคลากรชั้นผู้น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ทุรกันดารหรือพื้นที่เสี่ยงภัย (2) ดาเนินงาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริอย่างเตจมสามารถ (3) ป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่า ล่าสัตว์และตัดไม้ สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ทุกภาคส่วนในการรักษาแหล่งต้นน้า ผืนป่า สัตว์ป่า และเร่งฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม (4) ใช้มาตรการปราบปรามโดยการบัง คับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดต่อผู้กระทาความผิด และลงโทษเจ้าหน้าที่ทุกระดับชั้นที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกระทาผิดอย่างเฉียบขาดและรวดเรจว (5) ให้ความสาคัญกับการแก้ปัญ หาการลักลอบตัดไม้พะยูง และสารวจไม้พะยูง ของกลาง เพื่อเตรียมการแปรรูปและส่งมอบให้รัฐบาลเพื่อใช้ประโยชน์ (6) เพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนและป้องกันการบุกรุก (7) สารวจพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้แล้วเสรจจภายใจ 1 เดือน เพื่อดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลต่อไป (8) ปฏิบัติตามแผนการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ากินน้าใช้ทุกครัวเรือนตามยุทธศาสตร์ พัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้สาเรจจตามกาหนดเวลา (9) ปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยงานที่ จั ด ให้ เ ป็ น สถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว (อุ ท ยานแห่ ง ชาติ สวนสั ต ว์ สวนพฤกษศาสตร์ ฯลฯ) ให้เป็นสากล มีการควบคุมการบริหารจัดการที่เป็นระบบ (10) ดาเนินการกาจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่วิกฤติ 26 จังหวัด ให้แล้วเสรจจตามแผนฯ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 31 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(11) ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ CITES ให้สาเรจจตามกาหนดเวลาอย่างเคร่งครัด และ ให้ทุกหน่วยงานให้ความร่วมมืออย่างเตจมความสามารถ (12) ทุกหน่วยงานระดับกรมจัดทาโครงการกิจ กรรมเพื่อสังคม (CSR : Corporate Social Responsibility) ให้ครอบคลุมถึงหน่วยงานระดับพื้นที่ เช่น อุทยานฯ (13) ทุกหน่ว ยงานให้ค วามสาคัญ กับการส่ง เสริมการมีส่ วนร่วมของประชาชนในการดูแ ล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (14) ให้ดาเนินการประชาสัมพันธ์เชิง รุก เพื่อสร้างความตระหนั ก ความเข้าใจ และความ เชื่อถือของประชาชนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะความ จาเป็นในการปฎิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย (15) ให้ ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการแก้ ปั ญ หาการถื อ ครองสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ทั บ ซ้ อ น อันเนื่องมาจากการออกเอกสารสิทธิ์ แผนที่ ข้อกฎหมาย และการทุจริตของเจ้าหน้าที่ ฯลฯ (16) เร่งรัดและผลักดันการนา “โครงการเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกทาลายทรัพยากร ป่าไม้ของประเทศ” มาใช้แก้ไขปัญหาเขตที่ดินทับซ้อนและแนวเขตพื้นที่ป่าที่ไม่ชัดเจน อันก่อให้เกิดข้อขัดแย้ง ระหว่างประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐ (17) ให้บริหารงานงบประมาณอย่างมีผลสาเรจจตามแนวทางที่รัฐบาลกาหนด เร่ง รณรงค์ ส่งเสริมให้บุคลากรมีคุณธรรม และวางแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต ประพฤติมิชอบเพื่อให้ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นกระทรวงที่มีจริยธรรม

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 32 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อม การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อม ในการจัดทายุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 นั้น ได้ดาเนินการตามกระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยทาง ยุทธศาสตร์ (SWOT Analysis) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายใน ประกอบด้วย ด้านจุดแขจง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และภัยคุกคาม (Threat) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมโดยวิธี “SWOT Analysis” มีดังนี้ จุดแข็ง 1. มีหน่วยงานที่มีภารกิจหลักรวมในกระทรวง ที่รับผิดชอบงานด้านทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมตั้งแต่ ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง 2. เป็ น หน่ ว ยง านใน ก าร ปฏิ บั ติ ง านโ ดยตร ง เพื่ อ ก าร บั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. มีส่ วนของหน่วยงานที่สาคัญ สัง กั ดกระทรวง ที่ กระจายในระดับภูมิภ าคมีองค์กรและ เครือข่ายในพื้นที่ ซึ่งเป็นกลไกร่วมในพื้นที่เพื่อการปฏิบัติงาน 4. เป็นหน่วยงานที่มีข้อมูล วิชาการ และมีผลการดาเนินงานที่ผ่านการปฏิบัติง านโดยตรง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากที่สุด 5. มีความสัมพันธ์ และสามารถประสานหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพื่อการบูรณาการ การปฏิบัติงาน รวมถึงงบประมาณและการประเมินผล ในฐานะหน่วยงานหลักด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 6. มีแผนแม่บท และ Road map ในการบริหารจัดการทั้งด้านทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้า และการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จุดอ่อน 1. ขาดการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่มีภารกิจอย่างเดียวกันหรือคล้ายคลึง กัน มี การ ปฏิบัติหน้าที่แยกกันของแต่ละหน่วยงาน จึงมีปัญหาการขาดแคลนงบประมาณ และผลการปฏิบัติงานที่ซ้าซ้อน 2. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ล้าสมัย ไม่ทันต่อสถานการณ์และสภาพการณ์ปัจจุบัน และบางภารกิจยังขาดกฎหมายในการปฏิบัติ รวมถึงปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย 3. ความชัดเจนของเป้าประสงค์ กลยุทธ์ ยังไม่ครอบคลุมตามยุทธศาสตร์ของกระทรวง ทาให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติน้อยและไม่ชัดเจน และยังไม่มีการบูรณาการของแผนงาน/โครงการ ภายใน กระทรวงและนอกกระทรวง 4. ข้อมูลมีการจัดเกจบไว้เฉพาะหน่วยงาน ไม่มีการนามาจัดระบบ บูรณาการหรือเชื่ อมโยง และแชร์การใช้เพื่อการวิเคราะห์ ทาให้การใช้ขาดประสิทธิภาพ 5. ยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนายัง ขาดการการดาเนินงานให้บรรลุผล เช่น การพัฒนา ระบบบริหารราชการ การพัฒนาบุคลากร การสนับสนุนเครื่องมือ เครือข่ายข้อมูลและการสื่อสาร แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 33 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

6. ขาดความต่ อ เนื่ อ งและการครอบคลุ ม ของระบบติ ด ตาม ทั้ ง การติ ด ตามสถานการณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประเมินผลการปฏิบัติงานหรือดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ ให้มีประสิทธิภาพ 7. ขาดยุท ธศาสตร์ และแผนการบูรณาการความร่วมมื อในการบริหารจัดการทรัพ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ 8. ยุทธศาสตร์และแผนการส่ง เสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ย วข้องกับการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยังไม่มีความชัดเจนต่อการปฏิบัติงาน 9. ยังขาดการพัฒนาหรือจัดการองค์ความรู้ (KM) รวมถึงยุทธศาสตร์และแผนการวิจัยและ พัฒนาที่เป็นรูปธรรมเพื่อการใช้ประโยชน์ 10. มีหน่วยงานสังกัดกระทรวงฯ ในระดับภูมิภาคที่ครอบคลุมภารกิจแต่ยังขาดประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่และจังหวัด โอกาส 1. รัฐบาลให้ความสาคัญ และสนับสนุ นต่อการแก้ไ ขปัญ หาด้านทรัพ ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม รวมถึงจัดให้เป็นกลุ่มปัญหาที่ต้องการการปฏิรูป 2. สังคมตื่นตัว สนใจผลกระทบจากปัญ หาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม และ พร้อมให้ความร่วมมือ 3. องค์กรภาคประชาชน เอกชน พร้อมให้ความร่วมมือต่อการแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะที่อาจ มีผลกระทบต่อธุรกิจและบริเวณพื้นที่รอบสถานประกอบการ 4. กระแสความสนใจของเวทีภูมิภาคทั้งประชาคมอาเซียน และระดับโลก ภัยคุกคาม 1. ขาดเสถี ย รภาพของยุ ท ธศาสตร์ เป้ า ประสงค์ กลยุ ท ธ์ และแผนงาน /โครงการ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ผู้กระทาผิดมักจะเป็นผู้ทรงอิทธิพล นายทุน และผู้ประกอบการรายใหญ่และมีการใช้ ประชาชน หรือกลุ่มประชาชนมาเป็นเครื่องมือต่อรองภาครัฐ 3. แรงกดดันจากกลุ่มภาคประชาชน และองค์กรเอกชน (NGO) ที่เสียผลประโยชน์จากการ ป้องกันการบุกรุก คุกคามทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 4. ปั ญ หาด้ า นภั ย พิ บั ติ ภั ย ธรรมชาติ และการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ (Climate Change) ที่ไม่สามารถควบคุมได้ 5. งบประมาณที่อาจไม่สอดคล้องกับภารกิจ หรือสภาพปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ง แวดล้อ มที่อ าจเกิ ดขึ้น เนื่อ งจากยุ ทธศาสตร์ และแผนการด้า นการป้ องกัน มัก จะไม่ไ ด้รั บการสนับ สนุ น (พิจารณาหากเกิดปัญหา) และรวมถึงการใช้ง บประมาณอาจยังไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดระบบตรวจ ติดตามและประเมินผลจากภายนอก เมื่อได้วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายใน ประกอบด้วย ด้านจุดแขจง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และภัยคุกคาม (Threat) แล้ว จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) และ พันธกิจ (Mission) เพื่อนาไปสู่การกาหนดประเดจนยุทธศาสตร์ที่เป็นภารกิจที่ต้องมุ่งเน้น /ให้ความสาคัญ และ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 34 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์(Goals) ตัวชี้วัดและกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) เป็นเครื่ องมือกาหนดทิศทางการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ ให้เหจนความเชื่อมโยงไปถึงเป้าหมายที่เป็น องค์รวม ต่อไป

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 35 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ส่วนที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2559-2564 แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2559-2564 มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเดจนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ ดังนี้ วิสัยทัศน์ : องค์ กรหลั กในการบริ หารจั ดการทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อมอย่ างยั่ ง ยื นโดยการ มีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี พันธกิจ : 1. ผลักดันยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และควบคุมการใช้ ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการสร้างคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน 2. บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วม กับภาคีทุกภาคส่วนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทั้งในประเทศ ประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ 3. เสริมสร้างขีดความสามารถเชิงรุกขององค์กร ระบบ กลไกและข้อมูลในการบริหารจัดการ รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างบูรณาการ ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 บริหารจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการและ มีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 รักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการองค์กร และการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ : (1) พัฒนาระบบงานบริหารราชการ (2) พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและระบบการบริหารงานบุคคล แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 36 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(3) จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ (4) ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบให้ทันสมัย (5) พัฒนาองค์ความรู้และการจัดการจากการวิจัยและพัฒนา (6) พัฒนาเครือข่าย การสื่อสาร และระบบฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (7) พัฒนาระบบการติดตามสถานการณ์และการประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ (8) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (9) บูรณาการความร่วมมื อในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อมทุกภาค ส่วนรวมถึงประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ (10) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด (11) ประชาชนและภาคีเครือข่ายได้รับประโยชน์จากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (12) ประชาชน หน่วยงาน องค์กรต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม (13) ประชาชนสามารถปรับตัวรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิภาพและได้รับการเตือนภัยอย่างทันเวลา (14) ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการจัดการอย่างสมดุลและยั่งยืน (15) ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรธรณีและความหลากหลายทางชีวภาพ ได้รับการอนุรักษ์และคุ้มครอง (16) เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ (17) มีน้าอุปโภคและบริโภคอย่างเพียงพอ (18) อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าผิวดิน (19) ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพน้า (20) อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าใต้ดิน (21) สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น (22) ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพอากาศ (23) เพิ่มขีดความสามารถในการกาจัดขยะ (24) ลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจากภัยพิบัติธรรมชาติ และเพิ่มขีดความสามารถในการ ปรับตัวเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (25) ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กลยุทธ์ : แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕64 ประกอบด้วย 64 กลยุทธ์ ดังนี้ (1) การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน (2) การพัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 37 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(3) การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ (4) การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน (5) พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของบุคลากรทุกด้าน (6) พัฒนาอัตรากาลัง และเส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากร (7) จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวก (8) ปรับปรุง ซ่อมแซม และพัฒนาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกให้มีสภาพพร้อมใช้งาน (9) ปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย (10) การบังคับใช้กฎหมาย (11) ส่งเสริมงานวิจัยด้านทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (12) พัฒ นาและถ่ า ยทอดองค์ค วามรู้จ ากงานวิ จั ย ด้า นทรั พยากรทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง (13) จัดหาอุปกรณ์ โครงข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (14) พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารและระบบฐานข้ อ มู ล ด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (15) เพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ์เตือนภัย (16) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการติดตามสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (17) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการติดตามประเมินผล และการรายงานการปฏิบัติงาน (18) เสริมสร้างองค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (19) พัฒนาระบบเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก (20) พัฒนา จัดทา และขับเคลื่อน นโยบาย แผน และมาตรการ ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (21) จัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในกรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ (22) เสริมสร้างความร่วมมือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกลุ่มประชาคม อาเซียนและระหว่างประเทศ (23) พัฒนากลไกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (24) ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด ในสังกัด (25) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง (26) กาหนดนโยบาย และมาตรการการใช้ ประโยชน์ท รั พยากรธรรมชาติ และที่ ดิ นป่ า ไม้ อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (27) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านการอนุญาต การบริการแก่ประชาชน (28) ก าหนด นโยบายและมาตรการ การผลิ ต การบริ ก ารและการบริ โ ภค ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 38 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(29) (30) (31) (32)

ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต การบริการ และการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สร้างวินัย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เตรียมความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิบัติภัยทาง

ธรรมชาติ (33) เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเตือนภัย (34) บริหารจัดการป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่าง บูรณาการและยั่งยืน (35) บริหารจัดการข้อขัดแย้ง เรื่องสิทธิในที่ดินของรัฐและการใช้ประโยชน์ในที่ดินป่าไม้อย่าง เป็นธรรม (36) บริหารจัดการป่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (37) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (38) เร่งรัดการจัดทาแนวเขตป่าไม้ และจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้และ ทรัพยากรธรรมชาติให้ชัดเจน (39) พัฒ นาศัก ยภาพการป้อ งกั นและปราบปรามการบุ กรุ กพื้ น ที่ป่ าไม้ การล่า สัต ว์ป่ าและ การตัดไม้พะยูงและไม้มีค่าอื่น ๆ และการป้องกันไฟป่า (40) อนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี (41) ส่งเสริมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ (42) ส่งเสริมการปลูกป่าโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (43) ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจของภาคประชาชนและเอกชน (44) พัฒนาประสิทธิภาพการปลูกป่าต้นน้า (45) พัฒนา ปรับปรุง ฟื้นฟูแหล่งน้าธรรมชาติสนับสนุนระบบประปาชุมชน (46) สารวจและพัฒนาระบบประปาบาดาล (47) ป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหาวิกฤตน้า (48) พัฒนา อนุรักษ์ ฟืน้ ฟูแหล่งน้าผิวดินและเชื่อมโยงเครือข่ายน้า (49) บริหารจัดการน้า เพื่อใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (50) ป้องกันและควบคุมมลพิษทางน้าในพื้นที่ลุ่มน้าวิกฤตและลุ่มน้าสาคัญ (51) สนับสนุนและผลักดันระบบการบริหารจัดการมลพิษด้านน้าที่เหมาะสมในระดับพื้นที่ (52) ศึกษา และสารวจประเมินศักยภาพทาแผนที่ และเพิ่มมาตรฐานการอนุรักษ์เฝ้าระวังและ ฟื้นฟูแหล่งน้าบาดาล (53) พัฒนาน้าบาดาลเพื่อเพิ่มน้าต้นทุนให้แก่พื้นที่ภัยแล้ง (54) ใช้กลไกบริหารจัดการภาครัฐ ทุกรูปแบบเพื่อการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพ (55) บูรณาการการดาเนินงานจัด การคุณภาพสิ่ ง แวดล้อมและมลพิษ และเสริมสร้างความ เข้มแขจงอย่างต่อเนื่องให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีอานาจหน้าที่ในการจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 39 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

(56) ติดตามและประเมินคุณภาพแหล่งน้าผิวดิน คุณภาพน้าทะเลชายฝั่ง คุณภาพอากาศและ เสียง รวมถึงการปนเปื้อนกากของเสียและสารอันตราย (57) ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่วิกฤต (58) จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่เป้าหมายอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม (59) ผลักดันและบูรณาการการดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็น รูปธรรมในทุกภาคส่วน (60) พัฒนาขีดความสามารถในการรับมือ ผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในทุกระดับ (61) จัดทานโยบาย แผน มาตรการและแนวทางลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (62) พัฒนากลไกกากับและติดตามประเมินผลการดาเนินงานลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (63) สร้างศักยภาพในความร่วมมือในการอนุรักษ์ป่าไม้ และดาเนินกิจกรรม/โครงการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วน (64) พัฒนาและส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศ ทั้ ง นี้ ส าหรั บ แผนที่ ยุ ท ธศาสตร์ ผั ง ความเชื่ อ มโยงยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวง ทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดล้ อม และรายละเอีย ดแผนงาน/โครงการ ของแผนยุทธศาสตร์ก ระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564 มีดังนี้

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 40 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- หน้านี้ไว้แทรกแผนที่ยุทธศาสตร์ -

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 41 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- หน้านี้ไว้แทรกผังความเชื่อมโยงฯ -

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 42 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ตารางความเชือ่ มโยงของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2559 – 2564 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 3.1 การพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็นฐานการผลิตภาค เกษตรให้เข้มแขจงและ ยั่งยืน

นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา 9.4 การบริหารจัดการ ทรัพยากรน้าของประเทศ

ยุทธศาสตร์ ทส.

เป้าประสงค์ ทส.

2. บริหารจัดการน้า ผิวดินและน้าใต้ดิน อย่างบูรณาการและ มีประสิทธิภาพ

17 มีน้าอุปโภคและ บริโภคอย่างเพียงพอ

18 อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าผิวดิน 20 อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าใต้ดิน

4.2 การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม

8.1 สนับสนุนการเพิ่ม ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและ พัฒนาของประเทศเพื่อมุ่งสู่ เป้าหมายให้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 1 ของ GDP และมีสัดส่วน รัฐต่อเอกชน 30:70

5.3 การสร้างความ พร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

7.1 เร่งส่งเสริมความ เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ การค้าการลงทุนในภูมิภาค อาเซียนและขยายความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน

กลยุทธ์ ทส. (1) พัฒนา ปรับปรุง ฟื้นฟู แหล่ง น้าธรรมชาติสนับสนุน ระบบ ประปาชุมชน (2) สารวจและพัฒนาระบบ ประปาบาดาล (3) ป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหา วิกฤตน้า (1) พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งน้า ผิวดินและเชื่อมโยงเครือข่ายน้า (2) บริหารจัดการน้าเพื่อใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน (1) ศึกษาและสารวจประเมิน ศักยภาพทาแผนที่ และเพิ่ม มาตรฐานการอนุรักษ์เฝ้าระวัง และฟื้นฟูแหล่งน้าบาดาล (2) พัฒนาน้าบาดาลเพื่อเพิ่มน้า ต้นทุนให้แก่พื้นที่ภัยแล้ง

5. การเพิ่มประสิทธิภาพ 5 พัฒนาองค์ความรู้ การจัดการองค์กร และการจัดการจากการ และการบริหาร วิจัยและพัฒนา จัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

(1) ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ จากงานวิจัยด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 5. การเพิ่มประสิทธิภาพ 9 บูรณาการความร่วมมือ (1) จัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์ และ การจัดการองค์กร ในการบริหารจัดการ แผนความร่วมมือด้านทรัพยากร และการบริหาร ทรัพยากรธรรมชาติและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกรอบ จัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อมในประชาคม ความร่วมมือของประชาคมอาเซียน ธรรมชาติและ อาเซียนและระหว่าง และระหว่างประเทศ สิ่งแวดล้อม ประเทศ (2) เสริมสร้างความร่วมมือการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน กลุ่มประชาคมอาเซียนและระหว่าง ประเทศ (3) พัฒนากลไกความร่วมมือด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระหว่างประเทศ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 43 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 5.9 การส่งเสริมให้ ประเทศเป็นฐานการ ลงทุนและการประกอบ ธุรกิจในเอเชีย รวมทั้ง เป็นฐานความร่วมมือใน การพัฒนาภูมภิ าค 6.1 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคง ของฐานทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา 7.6 พัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษโดยเริ่มจากการพัฒนา ด่านชายแดนและโครงข่าย การคมนาคมขนส่งบริเวณ ประตูการค้าหลักของ ประเทศ 9.1 ในระยะเฉพาะหน้า เร่งปกป้องและฟื้นฟู พื้นที่ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่า 9.2 อนุรักษ์และใช้ ประโยชน์จากทรัพยากร ชีวภาพและความ หลากหลายทางชีวภาพ

ยุทธศาสตร์ ทส.

เป้าประสงค์ ทส.

กลยุทธ์ ทส.

1. สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างบูรณาการ ที่ตอบสนองต่อการ พัฒนาและใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน และเป็นธรรม 1. สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการ ทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างบูรณาการ ที่ตอบสนองต่อการ พัฒนาและใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน และเป็นธรรม

14 ทรัพยากรธรรมชาติ ได้รับการจัดการอย่าง สมดุลและยั่งยืน

(1) บริหารจัดการป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและยั่งยืน

14 ทรัพยากรธรรมชาติ ได้รับการจัดการอย่าง สมดุลและยั่งยืน

(1) บริหารจัดการป่าไม้ สัตว์ปา่ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและ ยั่งยืน (2) บริหารจัดการข้อขัดแย้งเรื่อง สิทธิในที่ดินของรัฐและการใช้ ประโยชน์ในที่ดินป่าไม้อย่างเป็นธรรม (3) บริหารจัดการป่าเศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (4) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (1) เร่งรัดการจัดทาแนวเขตป่าไม้ และจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติให้ ชัดเจน (2) พัฒนาศักยภาพการป้องกันและ ปราบปรามการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ การ ล่าสัตว์ป่าและการตัดไม้พะยูงและไม้ มีค่าอื่น ๆ และการป้องกันไฟป่า (3) อนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งและทรัพยากรธรณี (4) ส่งเสริมการอนุรักษ์และการใช้ ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ (1) ส่ งเสริ มการปลู กป่ าโดยการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (2) ส่ งเสริ มการปลู กไม้ เศรษฐกิ จ ของภาคประชาชนและเอกชน (3) พัฒนาประสิทธิภาพการปลูกป่า ต้นน้า (1) กาหนดนโยบาย และมาตรการ การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ และที่ดินป่าไม้ อย่างทั่วถึงและ เป็นธรรม (2)พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงาน ด้านการอนุญาต การบริการ แก่ ประชาชน

9.3 พัฒนาระบบบริหาร จัดการที่ดินและแก้ไขปัญหา การบุกรุกที่ดินของรัฐ

15 ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่าและทรัพยากร ทางทะเล ทรัพยากร ธรณีและความ หลากหลายทางชีวภาพ ได้รับการอนุรักษ์และ คุ้มครอง

16 เพิ่มพื้นที่ป่าไม้

11 : ประชาชนและภาคี เครือข่ายได้รับประโยชน์ จากการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 44 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

ยุทธศาสตร์ ทส.

6.6 ชักจูงให้นักท่องเที่ยว ต่างชาติเข้ามาในประเทศไทย 6.3 การยกระดับขีด 9.5 ควบคุมมลพิษทั้งทาง ความสามารถในการ อากาศ ขยะ และน้าเสีย รองรับและปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศเพื่อให้สังคมมี ภูมิคุ้มกัน

3. รักษาและฟื้นฟู คุณภาพสิ่งแวดล้อม อย่างมีส่วนร่วม

4. การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัว เพื่อรับมือภัยพิบัติทาง ธรรมชาติและการ เปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

6.4 การเตรียมความ พร้อมรองรับภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ

6.8 แก้ปัญหาน้าท่วม ในฤดูฝนทั้งที่ท่วมเป็น บริเวณกว้างและท่วม เฉพาะที่และแก้ปัญหาขาด แคลนน้าในบางพื้นที่และ บางฤดูกาล

เป้าประสงค์ ทส.

กลยุทธ์ ทส.

14 ทรัพยากรธรรมชาติ ได้รับการจัดการอย่าง สมดุลและยั่งยืน 12 : ประชาชน หน่วยงาน องค์กร และผู้ประกอบการ ต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม

(4) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

24 ลดความสูญเสียในชีวิต และทรั พย์สินจากภัยพิบั ติ ธรรมชาติ และเพิ่ มขี ด ความสามารถในการ ปรั บตั วเพื่ อรั บมื อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

(1) กาหนด นโยบายและมาตรการ การผลิต การบริการและการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (2) ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต การบริการ และการบริโภค ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม (3) สร้างวินัย และปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (1)ผลักดันและบูรณาการการดาเนินงาน ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่าง เป็นรูปธรรมในทุกภาคส่วน (2) พัฒนาขีดความสามารถในการรับมือ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในทุกระดับ

25 ลดปริ มาณการปล่ อย (1) จัดทานโยบาย แผน มาตรการและ ก๊าซเรือนกระจก แนวทางลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2) พัฒนากลไกกากับและติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (3) สร้างศักยภาพในความร่วมมือในการ อนุรักษ์ป่าไม้ และดาเนินกิจกรรม/ โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในทุกภาคส่วน (4) พัฒนาและส่งเสริมการลดก๊าซเรือน กระจกในประเทศ 4. การป้องกัน 13 ประชาชนสามารถ (1)บริหารจัดการเพื่อลด การลดผลกระทบ ปรับตัวรับมือกับภัย ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง และการปรับตัว พิบัติทางธรรมชาติและ สภาพภูมิอากาศ เพื่อรับมือภัยพิบัติทาง การเปลี่ยนแปลงสภาพ (2) เตรียมความพร้อมในการ ธรรมชาติและการ ภูมิอากาศอย่างมี รับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพ เปลี่ยนแปลง ประสิทธิภาพและได้รับ ภูมิอากาศ และพิบัติภัยทาง สภาพภูมิอากาศ การเตือนภัยอย่างทันเวลา ธรรมชาติ (3)เพิ่มประสิทธิภาพระบบการ เตือนภัย

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 45 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 6.7 การควบคุมและ ลดมลพิษ

นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา 9.5 ควบคุมมลพิษทั้งทาง อากาศ ขยะ และน้าเสีย

ยุทธศาสตร์ ทส. 3. รักษาและฟื้นฟู คุณภาพสิ่งแวดล้อม อย่างมีส่วนร่วม

เป้าประสงค์ ทส.

กลยุทธ์ ทส.

12 ประชาชน หน่วยงาน องค์กร และผู้ประกอบการ ต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยน พฤติ ก รรมให้ เ ป็ น มิ ต ร กับสิ่งแวดล้อม

(1) กาหนด นโยบายและมาตรการ การผลิต การบริการและการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (2) ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต การบริการ และการบริโภค ที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม (3) สร้างวินัย และปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม

19 ปรั บ ปรุ งและฟื้ น ฟู (1) ป้องกันและควบคุมมลพิษ คุณภาพน้า ทางน้าในพื้นที่ลุ่มน้าวิกฤตและ ลุ่มน้าสาคัญ (2) สนับสนุนและผลักดันระบบการ บริหารจัดการมลพิษด้านน้าที่ เหมาะสมในระดับพื้นที่ 21 สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ ดีขึ้น

(1) ใช้กลไกบริหารจัดการภาครัฐ ทุก รูปแบบเพื่อการส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมี ประสิทธิภาพ (2) บูรณาการการดาเนินงานจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมและมลพิษ และ เสริมสร้าง ความเข้มแขจงอย่างต่อเนื่อง ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีอานาจ หน้าที่ในการจัดการ สิ่งแวดล้อมทั้งใน ระดับภูมิภาคและระดับท้องถิ่น (3) ติดตามและประเมินคุณภาพแหล่ง น้าผิวดิน คุณภาพน้าทะเลชายฝั่ง คุณภาพอากาศและเสียง รวมถึงการ ปนเปื้อนกากของเสียและสารอันตราย

22 ปรับปรุงและฟื้นฟู คุณภาพอากาศ

(1) ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ ทางอากาศในพื้นที่วิกฤต

23 เพิ่มขีดความสามารถ ในการกาจัดขยะ

(1) จัดการขยะมูลฝอยและของเสีย อันตรายในพื้นที่เป้าหมายอย่าง ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพไม่ส่งผล กระทบต่อประชาชนและ สิ่งแวดล้อม

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 46 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ นโยบายรัฐบาล และสังคมแห่งชาติ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ฉบับที่ 11 6.8 การพัฒนาระบบ 9.5 ควบคุมมลพิษทั้งทาง บริหารจัดการทรัพยากร อากาศ ขยะ และน้าเสีย ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้มีประสิทธิภาพโปร่งใส และเป็นธรรมอย่าง บูรณาการ

ยุทธศาสตร์ ทส. 5. การเพิ่ม ประสิทธิภาพ การจัดการองค์กร และการบริหาร จัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

เป้าประสงค์ ทส.

กลยุทธ์ ทส.

1 พัฒนาระบบงานบริหาร ราชการ

(1) การสร้างความเป็นเลิศในการ ให้บริการประชาชน (2) การพัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะ สูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็น มืออาชีพ (3) การวางระบบการบริหารงานราชการ แบบบูรณาการ (4) การยกระดับความโปร่งใสและสร้าง ความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหาร ราชการแผ่นดิน 2 พัฒนาขีดความสามารถ (1) พัฒนาศักยภาพ และ บุคลากรและระบบการ ขีดความสามารถของบุคลากรทุกด้าน บริหารงานบุคคล (2) พัฒนาอัตรากาลัง และเส้นทาง ความก้าวหน้าของบุคลากร 3 จัดหาเครื่องมือและ (1) จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวย สิ่งอานวยความสะดวกที่ ความสะดวก จาเป็นอย่างเพียงพอและ (2) ปรับปรุง ซ่อมแซม และพัฒนา มีประสิทธิภาพ เครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวก ให้มีสภาพพร้อมใช้งาน 4 ปรับปรุงกฎหมายและ (1)ปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบให้ทันสมัย (2) การบังคับใช้กฎหมาย 6 พัฒนาเครือข่าย (1) จัดหาอุปกรณ์ โครงข่ายด้าน การสื่อสาร และระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฐานข้อมูลทรัพยากร (2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการสื่อสารและระบบฐานข้อมูล ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ์ เตือนภัย 7 พัฒนาระบบการติดตาม (1) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือ สถานการณ์และการ การติดตามสถานการณ์ด้าน ประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือ การติดตามประเมินผล และการรายงาน การปฏิบัติงาน 8 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ (1) เสริมสร้างองค์ความรู้ จิตสานึก ทุกภาคส่วนในการบริหาร และการมีส่วนร่วมในการจัดการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่าง ยั่งยืน รวมทั้งการรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 47 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

ยุทธศาสตร์ ทส.

เป้าประสงค์ ทส.

10 เพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด

กลยุทธ์ ทส. (2) พัฒนาระบบเครือข่ายความร่วมมือ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ก๊าซเรือนกระจก (3) พัฒนา จัดทา และขับเคลื่อน นโยบาย แผน และมาตรการ ในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (1) ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงาน ในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด ในสังกัด (2) พัฒนาประสิทธิภาพการ ดาเนินงานในระดับพื้นที่ และระดับ จังหวัดอย่างต่อเนื่อง

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 48 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

สรุปงบประมาณ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จาแนกรายยุทธศาสตร์ งบประมาณ (ลบ.)

ยุทธศาสตร์/ เป้าประสงค์/ กลยุทธ์

ปี 2559

รวมทั้งสิ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างบูรณาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม  ประชาชนและภาคีเครือข่ายได้รับประโยชน์จากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (1) กาหนดนโยบาย และมาตรการการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ และที่ดนิ ป่าไม้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม (2) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านการอนุญาต การบริการ แก่ประชาชน  ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการจัดการอย่างสมดุลและยั่งยืน (1) บริหารจัดการป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและยั่งยืน (2) บริหารจัดการข้อขัดแย้งเรื่องสิทธิในที่ดินของรัฐและการใช้ประโยชน์ในทีด่ ินป่าไม้ อย่างเป็นธรรม (3) บริหารจัดการป่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (4) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์  ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่าและทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรธรณีและความหลากหลายทางชีวภาพได้รับการอนุรักษ์และคุ้มครอง (1) เร่งรัดการจัดทาแนวเขตป่าไม้ และจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติให้ชัดเจน (2) พัฒนาศักยภาพการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้/ล่าสัตว์ป่าและการตัดไม้พะยูงและไม้มคี ่าอื่นๆ และการป้องกันไฟป่า (3) อนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี (4) ส่งเสริมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ  เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ (1) ส่งเสริมการปลูกป่าโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (2) ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจของภาคประชาชนและเอกชน (3) พัฒนาประสิทธิภาพการปลูกป่าต้นน้า ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริหารจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ  มีน้าอุปโภคและบริโภคอย่างเพียงพอ (1) พัฒนา ปรับปรุง ฟื้นฟูแหล่งน้าธรรมชาติสนับสนุนระบบประปาชุมชน (2) สารวจและพัฒนาระบบประปาบาดาล (3) ป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหาวิกฤตน้า  อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าผิวดิน (1) พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งน้าผิวดินและเชื่อมโยงเครือข่ายน้า (2) บริหารจัดการน้า เพื่อใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน  อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าใต้ดิน (1) ศึกษา และสารวจประเมินศักยภาพทาแผนที่ และเพิ่มมาตรฐานการอนุรักษ์เฝ้าระวังและฟื้นฟูแหล่งน้าบาดาล (2) พัฒนาน้าบาดาลเพื่อเพิ่มน้าต้นทุนให้แก่พื้นที่ภัยแล้ง ยุทธศาสตร์ที่ 3 รักษาและฟื้นฟูคณ ุ ภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม  ประชาชน หน่วยงาน องค์กร และผูป้ ระกอบการต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (1) กาหนด นโยบายและมาตรการ การผลิต การบริการและการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (2) ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต การบริการ และการบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (3) สร้างวินัย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพน้า (1) ป้องกันและควบคุมมลพิษทางน้าในพื้นที่ลุ่มน้าวิกฤตและลุ่มน้าสาคัญ (2) สนับสนุนและผลักดันระบบการบริหารจัดการมลพิษด้านน้าที่เหมาะสมในระดับพื้นที่  สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น (1) ใช้กลไกบริหารจัดการภาครัฐ ทุกรูปแบบเพื่อการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ (2) บูรณาการการดาเนินงานจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมและมลพิษ และเสริมสร้างความเข้มแขจงอย่างต่อเนื่องให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มีอานาจหน้าที่ในการจัดการสิ่งแวดล้อมทัง้ ในระดับภูมิภาคและระดับท้องถิ่น (3) ติดตามและประเมินคุณภาพแหล่งน้าผิวดิน/คุณภาพน้าทะเลชายฝั่ง/คุณภาพอากาศและเสียง/การปนเปื้อนกากของเสียและสารอันตราย  ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพอากาศ (1) ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่วิกฤต  เพิ่มขีดความสามารถในการกาจัดขยะ (1) จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายในพื้นที่เป้าหมายอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและ สิ่งแวดล้อม

ปี 2560-2564

งปม.รวม

53,406.50 6,765.25

262,387.38 96,956.28

315,793.88 113,721.53

937.23 908.92 28.31 4,298.58 2,280.65 143.45 7.83 1,866.65 9,586.21 265.76 6,252.42 445.17 2,622.86 1,943.23 1,102.90 563.87 276.46 18,494.57 3,786.93 23.63 3,742.30 21.00 11,225.94 10,950.87 275.07 3,481.70 2,931.30 550.40 2,017.94 293.14 12.00 92.50 188.64 972.86 952.86 20.00 344.49 119.50 62.00

1,017.43 908.92 108.51 31,599.77 16,830.03 512.44 89.15 14,168.15 109,564.11 1,172.47 84,886.19 1,726.66 21,778.79 54,945.59 18,982.12 33,582.47 2,381.00 81,357.52 5,674.76 118.00 5,451.76 105.00 57,645.37 56,270.37 1,375.00 18,037.39 13,723.59 4,313.80 6,713.09 1,721.73 100.00 483.90 1,137.83 1,663.48 1,538.48 125.00 1,600.90 665.90 35.00

1,954.66 1,817.84 136.82 35,898.35 19,110.68 655.89 96.98 16,034.80 119,150.32 1,438.23 91,138.61 2,171.83 24,401.65 56,888.82 20,085.02 34,146.34 2,657.46 99,852.09 9,461.69 141.63 9194.06 126.00 68,871.31 67221.24 1650.07 21,519.09 16654.89 4864.20 8,731.03 2,014.87 112.00 576.40 1,326.47 2,636.34 2,491.34 145.00 1,945.39 785.40 97.00

162.99 200.31 200.31 207.14

900.00 711.30 711.30 1,015.68

1,062.99 911.61 911.61 1,222.82

207.14

1,015.68

1,222.82

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 49 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564 งบประมาณ (ลบ.)

ยุทธศาสตร์/ เป้าประสงค์/ กลยุทธ์

ปี 2559

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ  ประชาชนสามารถปรับตัวรับมือกับภัยพิบัตทิ างธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิภาพและได้รับการ เตือนภัยอย่างทันเวลา (1) บริหารจัดการเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2) เตรียมความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิบัติภัยทางธรรมชาติ (3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเตือนภัย  ลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจากภัยพิบัติธรรมชาติและเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (1) ผลักดันและบูรณาการการดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นรูปธรรมในทุกภาคส่วน (2) พัฒนาขีดความสามารถในการรับมือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในทุกระดับ  ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (1) จัดทานโยบาย แผน มาตรการและแนวทางลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2) พัฒนากลไกกากับและติดตามประเมินผลการดาเนินงานลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (3) สร้างศักยภาพในความร่วมมือในการอนุรักษ์ป่าไม้ และดาเนินกิจกรรม/โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วน (4) พัฒนาและส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการองค์กรและการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  พัฒนาระบบงานบริหารราชการ (1) การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน (2) การพัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ (3) การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ (4) การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน  พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและระบบการบริหารงานบุคคล (1) พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของบุคลากรทุกด้าน (2) พัฒนาอัตรากาลัง และเส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากร  จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ (1) จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวก (2) ปรับปรุง ซ่อมแซม และพัฒนาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกให้มีสภาพพร้อมใช้งาน  ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบให้ทนั สมัย (1) ปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย (2) การบังคับใช้กฎหมาย  พัฒนาองค์ความรู้และการจัดการจากการวิจัยและพัฒนา (1) ส่งเสริมงานวิจัยด้านทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2)พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยด้านทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง  พัฒนาเครือข่าย การสื่อสาร และระบบฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (1) จัดหาอุปกรณ์ โครงข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ์เตือนภัย  พัฒนาระบบการติดตามสถานการณ์และการประเมินผลให้มปี ระสิทธิภาพ (1) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการติดตามสถานการณ์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการติดตามประเมินผล และการรายงานการปฏิบัติงาน  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (1) เสริมสร้างองค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2) พัฒนาระบบเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก (3) พัฒนา จัดทา และขับเคลื่อน นโยบาย แผน และมาตรการ ในการบริหารจัดการ ทส.โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน  บูรณาการความร่วมมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ (1) จัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนความร่วมมือด้าน ทส.ในกรอบความร่วมมือของประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ (2) เสริมสร้างความร่วมมือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกลุ่มประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ (3) พัฒนากลไกความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมระหว่างประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพืน้ ที่และระดับจังหวัด (1) ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด ในสังกัด (2) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

ปี 2560-2564

งปม.รวม

1,654.88

7,868.24

9,523.12

1302.84

5814.25

7117.09

665.91 415.87 221.06

3073.25 1564.00 1177.00

3739.16 1979.87 1398.06

76.40

779.50

855.90

0.00 76.40 275.64 0.00 5.50 159.14 111.00 14,473.86 3,077.77 139.70 2,931.11 1.20 5.76 244.02 239.53 4.49 1,737.99 1,644.01 93.98 74.12 23.60 50.52 1,239.48 460.80

15.00 764.50 1274.49 22.00 2.50 639.99 610.00 69,492.25 10,360.25 612.54 9,725.91 2.40 19.40 823.76 816.16 7.60 6,963.23 6,557.72 405.51 295.40 56.00 239.40 6196.78 2,222.81

15.00 840.90 1550.13 22.00 8.00 799.13 721.00 83,966.11 13,438.02 752.24 12,657.02 3.60 25.16 1,067.78 1,055.69 12.09 8,701.22 8,201.73 499.49 369.52 79.60 289.92 7,436.26 2,683.61

778.68

3973.97

4752.65

1,052.01 266.05 784.21 1.75 152.90 37.00 115.90 3,801.07

6,068.10 3,087.18 2970.92 10.00 686.40 150.00 536.40 19,953.75

7,120.11 3,353.23 3,755.13 11.75 839.30 187.00 652.30 23,754.82

3,179.06

16,374.72

19,553.78

438.01 184.00 640.06 51.70 402.85 185.51 2,454.44 157.79 2,296.65

2,659.03 920.00 4,491.88 188.50 3,216.78 1,086.60 13,652.70 660.20 1,2992.50

3,097.04 1,104.00 5,131.94 240.20 3,619.63 1,272.11 16,107.14 817.99 15,289.15

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 50 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 : สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างบูรณาการ ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน เป้าประสงค์ ทส./ ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กลยุทธ์ ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ เป้าประสงค์ : ประชาชนและภาคีเครือข่ายได้รับประโยชน์จากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กลยุทธ์ที่ 1 : กาหนด -จานวนเครื่องมือ /กลไกในการ -โครงการบูรณาการการบริหาร 667.68 3,737.53 สผ. นโยบาย และมาตรการ บริหารจัดการที่ดินและทรัพยากร จัดการที่ดินและทรัพยากรดิน การใช้ประโยชน์ ดินของประเทศ (เรื่อง) ของประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ -ระดับความสาเรจจในการจัดทา (แผนบูรณาการการรักษาความ และที่ดินป่าไม้ เครื่องมือ / กลไกในการบริหาร มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) อย่างทั่วถึงและ จัดการที่ดินและทรัพยากรดินของ เป็นธรรม ประเทศ - จานวนราษฎรที่อยู่ในพื้นที่ป่า - โครงการสารวจและตรวจสอบ 8.20 61.50 ปม. สงวนแห่งชาติได้รับการจัดที่ดิน ข้อมูลแปลงที่ดินของราษฎร ทากิน ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (ราย) ที่จะดาเนินการจัดที่ดินทากิน ให้ชุมชน - จานวนราษฎรที่ได้รับการ - กิจกรรมจัดที่ดินป่าไม้ 100.00 277.00 ตรวจสอบรับรองสิทธิทากิน ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ - จานวนราษฎรที่ได้รับหนังสือ อนุญาต (ราย) - ร้อยละของความพึงพอใจของ - โครงการประชาคมเศรษฐกิจ 7.85 477.48 อส. ประชาชนในชุมชน/หมู่บ้าน พอเพียงในพื้นที่ป่าไม้ ต่อการดาเนินงานของโครงการ - จานวนราษฎรได้รับการตรวจ - โครงการแก้ไขปัญหาที่ดิน 106.18 635.35 พิสูจน์การครอบครองและแก้ไข ในพื้นที่อนุรักษ์ ปัญหาการถือครองที่ดินในพื้นที่ป่า อนุรักษ์ (ราย) (แปลง) -จานวนพื้นที่ป่าชายเลนเสื่อมโทรม -โครงการจัดที่ดินทากิน 19.01 19.93 ทช. ที่จัดให้ชุมชนเข้าทาประโยชน์ (ไร่) ให้ชุมชนในพื้นที่ป่าชายเลน กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา - ร้อยละของความสาเรจจ - กิจกรรมการบริการประชาชน 2.54 5.49 ปม. ประสิทธิภาพการ ในการดาเนินการเกี่ยวกับ ดาเนินงานด้านการอนุญาต เรื่องร้องเรียนให้ได้ข้อยุติ การบริการ แก่ประชาชน - จานวนการให้บริการ ด้านข้อมูลข่าวสาร (เรื่อง) - ร้อยละของผู้มาขอรับบริการ - กิจกรรมบริการด้านการ 10.38 34.31 ด้านการอนุญาตอุตสาหกรรมไม้ อนุญาต ไม้และของป่า และการใช้ ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ ได้รับการ ดาเนินการตามที่กฎหมายกาหนด แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 51 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ประสิทธิภาพการ ดาเนินงานด้านการอนุญาต การบริการ แก่ประชาชน (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- ร้อยละของผู้มาขออนุญาตได้รับ - กิจกรรมดาเนินการตาม ใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ เลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 ตามที่กฎหมายกาหนด - ร้อยละของผู้มารับบริการด้านการ - กิจกรรมตรวจสอบ ควบคุม ควบคุมการนาไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ และบริการนาไม้และของป่า ตามพระราชบัญญัตปิ ่าไม้พุทธศักราช เคลื่อนที่ 2484 ของด่านป่าไม้ - ร้อยละของผู้มาขอรับบริการได้รับ - กิจกรรมตรวจสอบรับรอง ใบรับรองชนิดและคุณภาพไม้ คุณภาพผลิตภัณฑ์ป่าไม้และตรวจ ที่ถูกต้องตามระเบียบและหลักเกณฑ์ พิสูจน์ไม้ ที่กรมป่าไม้กาหนด - จานวนโครงการที่ส่งเสริม - การส่งเสริมการพัฒนา การพัฒนาเพื่อสังคม (โครงการ) โครงการเพื่อสังคม เป้าประสงค์ : ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการจัดการอย่างสมดุลและยั่งยืน กลยุทธ์ที่ 1 : บริหาร - จานวนศูนย์จัดการกลุ่มป่าสงวน -โครงการจัดการป่าสงวน จัดการป่าไม้ สัตว์ป่า แห่งชาติในการบริหารจัดการ แห่งชาติ ทรัพยากรทางทะเล ป่าสงวนแห่งชาติแบบมีส่วนร่วม และชายฝั่ง ที่ดิน และการอานวยการประสานงาน (ศูนย์) ทรัพยากรธรณี - จัดทาแนวกันไฟ (กิโลเมตร) และ -กิจกรรมดูแลรักษาสวนป่า อย่างบูรณาการและ พนักงานดูแลพื้นที่สวนป่าและ ที่พ้นการบารุง ยั่งยืน สานักงาน (คน) - จานวนการจัดตั้งสวนป่าเพื่อการ -กิจกรรมสวนป่าเพื่อการเรียนรู้ เรียนรู้และนันทนาการ (แห่ง) และนันทนาการ - ร้อยละของพื้นที่ป่าที่รับผิดชอบ -โครงการเพิ่มศักยภาพในการ ได้รับการลาดตระเวนสภาพป่า ป้องกัน คุ้มครอง ดูแลรักษา และสามารถป้องกันรักษาการบุก ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่จังหวัด รุกพื้นที่ป่า ชายแดนใต้ -กิจกรรมจัดตั้งหน่วยป้องกันรักษาป่า - จานวนราษฎรที่ได้รับการสารวจ - กิจกรรมโครงการสารวจถือ รังวัดการถือครองที่ดินในพื้นที่ป่า ครองและพิสจู น์สิทธิที่ดิน สงวนแห่งชาติ (ราย) ของราษฎร - จานวนระวางแผนที่มาตราส่วน - โครงการสารวจการถือครอง 1:4,000 ที่ได้รับการจัดทา และพิสูจน์สิทธิ์ที่ดินของราษฎร ตามมาตรฐานของกรมป่าไม้ บริเวณป่าสงวนแห่งชาติ แล้วเสรจจครบถ้วน ภายในวงเงิน ป่าเทือกเขารือเสาะป่ายี่งอ และระยะเวลาที่กาหนด (ระวาง) ป่าบอเจาะ ป่าบูเก๊ะตาเว แปลงที่ 1 และป่าบูเก๊ะตาเว แปลงที่ 2 และป่าบองอท้องที่ จ.นราธิวาส

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 2.46 12.00 ปม.

5.00

20.50

5.43

23.71

๒.๕0

๑๒.๕0

อสส.

1,083.67

7,792.96

ปม.

40.91

141.01

12.66

116.80

1.55

-

5.95

17.85

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 52 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : บริหาร จัดการป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและ ยั่งยืน (ต่อ)

ตัวชี้วัด - ร้อยละของพื้นที่ป่าที่รับผิดชอบ ได้รับในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ - จานวนผู้มารับบริการ ด้านการ ควบคุมการนาไม้และของป่าเคลื่อนที่ ตาม พรบ. ป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ของด่านป่าไม้ประเภท (ราย) - ร้อยละของอัตราการรอดตาย ของจานวนพื้นที่ป่าปลูกในพื้นที่ ป่าเสื่อมโทรม - พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหาร จัดการโดยการประชาสัมพันธ์และ เผยแพร่ (ครั้ง) - ร้อยละต้นไม้ในเขตพระราชฐาน ได้รับการดูแลบารุงรักษาอย่าง ต่อเนื่อง - จานวนด่านตรวจสัตว์ป่าได้รับ การบริหารจัดการ (ด่าน) - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ บริหารจัดการ (ล้านไร่)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - โครงการจัดระบบดูแล ทรัพยากรธรรมชาติในเขต เศรษฐกิจพิเศษ

- กิจกรรมงานบารุงป่า

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 76.99 13.50 ปม.

367.59

4,589.35

- กิจกรรมงานสารสนเทศป่าไม้

13.84

282.04

- กิจกรรมงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ในเขตพระราชฐาน - กิจกรรมงานคุ้มครองพันธุ์สัตว์ ป่าตามอนุสัญญา (CITES) - กิจกรรมงานบริหาร ส่วนภูมิภาค - กิจกรรมงานสงวนและ คุ้มครองพันธุ์พืช - กิจกรรมงานเครือข่าย การป้องกันและปราบปราม การค้าสัตว์ป่าที่ผิดกฎหมาย ในภูมิภาคอาเซียน - กิจกรรมงานคุ้มครองพื้นที่ ป่าอนุรักษ์ -จานวนด่านตรวจสัตว์ป่าได้รับ - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ (ด่าน) ด่านตรวจสัตว์ป่าในเขต เศรษฐกิจพิเศษ - ร้อยละของความพึงพอใจของ ผู้นาเข้า/ส่งออก ต่อการให้บริการ (แผนบูรณาการพัฒนา ของหน่วยงานภายใต้กองคุ้มครอง เขตเศรษฐกิจพิเศษ) พันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าตาม อนุสัญญา - จานวนพื้นที่แนวปะการัง -โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟู หญ้าทะเลที่ได้รับการอนุรักษ์ ปะการัง และหญ้าทะเล และฟื้นฟู (พื้นที่) - จานวนพื้นที่ที่ได้รับการอนุรักษ์ -โครงการอนุรักษ์และจัดการ และจัดการแหล่งทรัพยากรธรณี แหล่งทรัพยากรธรณีเพื่อการ โดยการมีส่วนร่วม (แห่ง) พัฒนาอย่างยั่งยืน

30.00

150.00

50.97

253.67

118.57

208.88

8.59

58.43

4.06

27.65

171.94

997.59

20.31

69.10

53.07

313.88

ทช.

24.07

111.00

ทธ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 53 -

อส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : บริหาร จัดการป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและ ยั่งยืน (ต่อ)

ตัวชี้วัด

- จานวนแหล่งเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์ซาก ดึกดาบรรพ์ธรณีวิทยาและ ธรรมชาติวิทยา ได้รับการพัฒนา/ จัดตั้ง (แห่ง) - จานวนสวนสัตว์ที่มีการดูแล สวัสดิภาพสัตว์ตามมาตรฐาน สากล (แห่ง) - จานวนสายพันธุ์สัตว์ป่าที่ส่งคืน สู่ป่าธรรมชาติหรือป่าชุมชน (สายพันธุ์) กลยุทธ์ที่ 2 : บริหาร -ร้อยละของการแก้ไขปัญหา จัดการข้อขัดแย้ง ข้อขัดแย้งเกี่ยวกับที่ดินของรัฐ เรื่องสิทธิในที่ดินของรัฐ จนได้ข้อยุติหรือมีแนวทาง และการใช้ประโยชน์ แก้ไขปัญหาตามมาตรการ กบร. ในที่ดินป่าไม้อย่างเป็น ธรรม - จานวนฝายที่สร้างในพื้นที่ โครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน (ฝาย) - จานวนฝายที่สร้างในพื้นที่ โครงการจัดการทรัพยากรที่ดินและ ป่าไม้ เพื่อสนับสนุนโครงการขยาย ผลโครงการหลวง (ฝาย) - จานวนราษฎรที่อยู่ในพื้นที่ป่าไม้ ถาวรได้รับการตรวจสอบรังวัด แปลงที่ดิน (ราย) - จานวนราษฎรที่อยู่ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติได้รับการจัดทา ระบบวนเกษตรในครัวเรือน - จานวนคาขออนุญาตที่ได้รับการ อนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ - จานวนราษฎรที่ได้รับการ อนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - โครงการจัดตั้ง และพัฒนา แหล่งเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์ ซากดึกดาบรรพ์ ธรณีวิทยาและ ธรรมชาติวิทยา - การเสริมสร้างสวัสดิภาพชีวิต ที่ดีของสัตว์ป่าในสวนสัตว์

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 86.76 1140.53 ทธ.

๑๐๙.๑๕

๕๔๕.๗๙

อสส.

-ประสานและดาเนินการแก้ไข ปัญหาข้อขัดแย้งเกี่ยวกับที่ดิน ของรัฐ

7.59

41.52

สป.ทส. (สบร.)

- กิจกรรมขยายผลโครงการ หลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูก ฝิ่นอย่างยั่งยืน - กิจกรรมการจัดการทรัพยากร ที่ดินและป่าไม้เพื่อสนับสนุน โครงการขยายผลโครงการ หลวง - โครงการสารวจการถือครอง เพื่อการจัดการที่ดินในพื้นที่ป่า ไม้ถาวร - โครงการสร้างป่าสร้างรายได้

1.75

-

1.75

-

85.00

255.00

28.89

86.67

12.32

61.60

6.15

67.65

- การอนุรักษ์สัตว์ป่าเพื่อส่งคืน สู่ป่าธรรมชาติหรือป่าชุมชน

- โครงการบริการด้านการ อนุญาตและตรวจสอบการ ปฏิบัติตามเงื่อนไข - กิจกรรมตรวจสอบและออก หลักฐานการอนุญาตให้เข้าทา ประโยชน์ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ - กิจกรรมตรวจสอบการปฏิบัติ ตามเงื่อนไขการอนุญาตและ ตรวจสอบติดตามการใช้ ประโยชน์ที่ดินของราษฎรที่ ได้รับอนุญาต

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 54 -

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3 : บริหาร จัดการป่าเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน โดยการ มีส่วนร่วมของประชาชน

ตัวชี้วัด

-จานวนพื้นที่สาธิตสวนป่าเศรษฐกิจ ได้รับการบารุงดูแลรักษา (ไร่) -จานวนเยาวชนได้เข้ารับการ อบรมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา สวนป่าเศรษฐกิจ (ราย) -จานวนศูนย์การเรียนรู้ไม้ยางนา ราชาแห่งไพรได้รับการพัฒนา (แห่ง) กลยุทธ์ที่ 4 : ส่งเสริม - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ให้บริการ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ด้านท่องเที่ยว (แห่ง) -ระดับความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยวชมโลมาและวาฬ - ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจานวน ผู้มาใช้บริการองค์ความรู้ ด้านทรัพยากรพันธุ์พืช

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - จัดทาแปลงสาธิตการปลูก บารุงไม้เศรษฐกิจ - จัดอบรมเยาวชนเพื่อการ อนุรักษ์และพัฒนาป่าเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน - พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ไม้ยางนา ราชาแห่งไพร - กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 0.80 85.00 อ.อ.ป. 2.10

2.05

4.93

2.10

1,326.86

9,462.34

อส.

-โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว 1.50 5.05 ทช. ชมโลมาและวาฬเชิงอนุรักษ์ -กิจกรรมการอนุรักษ์และ 286.67 2,205.11 อสพ. ให้บริการความรู้ทางด้าน พฤกษศาสตร์และความหลากหลาย ทางชีวภาพ - จานวนพื้นที่ที่ได้รับการบริหาร -โครงการ เพิ่มศักยภาพแหล่ง 137.57 1,944.45 จัดการเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว ท่องเที่ยวด้านพฤกษศาสตร์ อย่างยั่งยืน (แห่ง) -จานวนแหล่งท่องเที่ยวสวนป่า -โครงการส่งเสริมและพัฒนา อ.อ.ป. ได้รับการพัฒนา (แห่ง) การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ -กิจกรรม พัฒนาพื้นที่สวนป่า 19.05 76.20 ที่มีศักยภาพให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - ร้อยละของความสาเรจจในการ - การดาเนินการตามแผนพัฒนา ๙๕.๐0 ๔๗๕.๐0 อสส. ดาเนินงานตามแผนพัฒนา สวนสัตว์เชิงอนุรักษ์ส่งเสริมการ สวนสัตว์เชิงอนุรักษ์ส่งเสริม ท่องเที่ยว การท่องเที่ยว เป้าประสงค์ที่ : ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่าและทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรธรณีและความหลากหลายทางชีวภาพได้รับการอนุรักษ์และ คุ้มครอง กลยุทธ์ที่ 1 : เร่งรัดการ -ระยะแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติที่ - กิจกรรมจัดการแนวเขตป่า 49.74 365.77 ปม. จัดทาแนวเขตป่าไม้ ได้รับการจัดทาเครื่องหมายใน สงวนแห่งชาติ และจาแนกเขตการ ภูมิประเทศจริง (กิโลเมตร) ใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ -จานวนป่าสงวนแห่งชาติที่ได้รับ - กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูล 4.30 8.39 และทรัพยากรธรรมชาติ การจัดทาฐานข้อมูลในระบบ ป่าสงวนแห่งชาติในระบบ ให้ชัดเจน สารสนเทศภูมศิ าสตร์(ป่า) สารสนเทศภูมศิ าสตร์ -จานวนจังหวัดที่ได้รับการสารวจ - กิจกรรมสารวจและวิเคราะห์ 5.72 17.17 และวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้โดย ทรัพยากรป่าไม้ การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม (จังหวัด)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 55 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : เร่งรัดการ -ระยะแนวเขตพื้นที่ป่าไม้ที่ได้รับ จัดทาแนวเขตป่าไม้ การสารวจรังวัด เพื่อกาหนดเป็น และจาแนกเขตการ ป่าสงวนแห่งชาติ (กิโลเมตร) ใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติ ให้ชัดเจน (ต่อ) - จานวนแนวบริหารจัดการแนว เชื่อมต่อผืนป่าในประเทศ (แนว) - ร้อยละของความพึงพอใจของ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนา ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ -จานวนพื้นที่ป่าชายเลน ในพื้นที่วิกฤติ 13 จังหวัดได้รับ การอนุรักษ์และคุ้มครอง (ล้านไร่)

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ศักยภาพการป้องกันและ ปราบปรามการบุกรุก พื้นที่ป่าไม้ การล่าสัตว์ป่า และการตัดไม้พะยูงและ ไม้มีค่าอื่น ๆ และการ ป้องกันไฟป่า

- ร้อยละของแนวเขตป่าชายเลน ที่ได้มีการปรับปรุง - จานวนพื้นที่เป้าหมายที่มี ข้อเสนอเพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรณี (แห่ง) -จานวนพื้นที่ป่าที่ได้รับการบิน คุ้มครองและป้องกัน (ล้านไร่/ปี)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - กิจกรรมสารวจ รังวัด พื้นที่ป่า ไม้ถาวรเพื่อกาหนดเป็นป่า สงวนแห่งชาติ

- กิจกรรมงานจัดการแนว เชื่อมต่อผืนป่า

-โครงการป้องกันรักษาป่า ชายเลนแบบบูรณาการ (แผนบูรณาการฯรักษาความ มั่นคงฐานทรัพยากร) -โครงการปรับปรุงแนวเขต ป่าชายเลน - โครงการเร่งจัดทาแนวเขตการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี 1. แผนการใช้อากาศยาน เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจาปี 2. โครงการป้องกันและ ปราบปรามการบุกรุกทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม โดยบูรณาการ อากาศยานกับภาคพื้นดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 พื้นที่ 23,578,417 ไร่ จานวนชั่วโมงบิน 1,245 ชั่วโมง

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 27.50 147.75 ปม.

6.68

69.36

อส.

66.71

189.12

ทช.

18.00

90.00

87.11

284.91

ทธ.

7.69

38.48

สป.ทส. (สกบ.)

20.56

102.82

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 56 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ศักยภาพการป้องกัน และปราบปรามการบุก รุกพื้นที่ป่าไม้ การล่า สัตว์ป่า และการตัดไม้ พะยูงและไม้มีค่าอื่น ๆ และการป้องกันไฟป่า (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

3. โครงการป้องกันการบุกรุก ทาลายทรัพยากรป่าไม้ โดย บูรณาการอากาศยานกับ ภาคพื้นดิน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2559 พื้นที่ 57,218,951 ไร่ จานวนชั่วโมงบิน 2,300 ชั่วโมง (แผนบูรณาการฯรักษาความ มั่นคงฐานทรัพยากร) 4. โครงการปลูกป่าในใจคน กับการบินอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (แผนบูรณาการฯรักษาความ มั่นคงฐานทรัพยากร) - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ - กิจกรรมงานสงวนและ คุ้มครองป้องกันเพื่อเป็นแหล่งที่ คุ้มครองสัตว์ป่า อยู่อาศัยของสัตว์ป่า(ล้านไร่) - จานวนสัตว์ป่าของกลางที่อยู่ - กิจกรรมโครงการดูแลสัตว์ป่า ระหว่างการดาเนินคดีได้รับการ ของกลาง ดูแล (ชนิด /ตัว) - จานวนตัวอย่างการค้นหา - กิจกรรมงานป้องกันและ ตรวจสอบโรคโดยการเกจบตัวอย่าง ควบคุมโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ และเฝ้าระวังการแพร่กระจายของ ธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ (ตัวอย่าง) - จานวนพื้นที่อนุรักษ์สัตว์ป่า - กิจกรรมโครงการแก้ไขปัญหา ที่ได้มีการติดตามแก้ไขปัญหาช้าง ช้างป่าและสัตว์ป่าที่สร้าง ป่าและสัตว์ป่าที่สร้างผลกระทบ ผลกระทบต่อราษฎรนอกพื้นที่ ต่อราษฎรนอกพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อนุรักษ์สัตว์ป่า (แห่ง) - จานวนด่านตรวจสัตว์ป่าได้รับ - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ (ด่าน) - ร้อยละ การปฏิบัติงานตามอนุสัญญา ของความพึงพอใจของผู้นาเข้า/ ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ส่งออก ต่อการให้บริการของ ซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่า หน่วยงานภายใต้กองคุ้มครองพันธุ์ ที่ใกล้สูญพันธ์ (CITES) สัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญา

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 46.75 233.79 สป.ทส. (สกบ.)

1.80

9.00

794.62

26,127.17

79.15

342.22

33.21

4,500.00

144.46

1,120.14

29.21

146.05

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 57 -

อส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ศักยภาพการป้องกันและ ปราบปรามการบุกรุก พื้นที่ป่าไม้ การล่าสัตว์ ป่า และการตัดไม้พะยูง และไม้มีค่าอื่น ๆ และ การป้องกันไฟป่า (ต่อ)

ตัวชี้วัด - จานวนหน่วยงานที่ดาเนินการ ตามแผนปฏิบัติการงาช้าง แห่งประเทศไทยได้รับการบริหาร จัดการ (ศูนย์) - ร้อยละของ ความพึงพอใจ ของผู้ที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการตาม แผนปฏิบัติการงาช้าง แห่งประเทศไทย -จานวนหน่วยงานที่คุ้มครองพื้นที่ ป่าอนุรักษ์ที่ล่อแหลมต่อการถูก บุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่า (แห่ง) -ร้อยละของความพึงพอใจ ของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้ - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่มี ไม้พะยูงและไม้มีค่าได้รับการ คุ้มครอง (พื้นที)่ - ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ที่ เกี่ยวข้องต่อการป้องกันไม้พะยูง และไม้มีค่า - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ ควบคุมไฟป่า (ไร่) - ร้อยละของชุมชนที่มีส่วนร่วม ในการป้องกันไฟป่า - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับ การควบคุมไฟป่า (ไร่) - ร้อยละของชุมชนมีส่วนร่วม ในการป้องกันไฟป่า - จานวนไม้ของกลางคดีป่า สาละวินได้รับการจัดเกจบและ ดูแลรักษา (ท่อน/แผ่น/เหลี่ยม) - ร้อยละของพื้นที่ป่าที่รับผิดชอบ ได้รับการลาดตระเวนตรวจสภาพ ป่าและสามารถป้องกันรักษาการ บุกรุกพื้นที่ป่า

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -โครงการการควบคุมการค้า งาช้าง

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 15.00 231.45 อส.

-โครงการรักษาความมั่นคง ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ -กิจกรรมป้องกันรักษาป่า แบบบูรณาการ

1,040.00

11,003.44

- โครงการรักษาความมั่นคง ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ

383.88

1,795.48

445.88

31,000.38

37.39

574.76

2.28

31.75

1,012.84

3,197.01

-กิจกรรมป้องกันไม้พะยูงและ ไม้มีค่า - กิจกรรมงานควบคุมไฟป่า

- โครงการรักษาความมั่นคง ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ (กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ การแก้ไขปัญหาไฟป่า) (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) - กิจกรรมดูแลรักษาและจัดเกจบ ไม้ของกลางป่าสาละวิน - กิจกรรมป้องกันและ ปราบปรามการบุกรุกทาลาย ทรัพยากรป่าไม้

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 58 -

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา - จานวนเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ ศักยภาพการป้องกันและ ภาพถ่ายทางอากาศ ปราบปรามการบุกรุก พื้นที่ป่าไม้ การล่าสัตว์ ป่า และการตัดไม้พะยูง และไม้มีค่าอื่น ๆ และ การป้องกันไฟป่า (ต่อ) - ร้อยละของพื้นที่ป่าที่รับผิดชอบ ได้รับการลาดตระเวนตรวจสภาพ ป่าและสามารถป้องกันรักษาการ บุกรุกพื้นที่ป่า - จานวนพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (พื้นที่เป้าหมาย AO1 - AO4) ในความรับผิดชอบของกรมป่าไม้ ได้รับการปกป้องดูแลรักษา (ล้านไร่) - จานวนเครือข่ายที่เข้าร่วม กิจกรรมป้องกันและควบคุมไฟป่า ในพื้นที่ทเี่ สี่ยงภัยต่อการเกิดไฟป่า (จังหวัด) - ร้อยละของความสาเรจจ ในการดาเนินการเกี่ยวกับของ กลางและหลักฐานในคดีป่าไม้ - จานวนกล้าไม้ (กล้า)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - กิจกรรมวิเคราะห์ภาพถ่าย ทางอากาศสนับสนุนการ ป้องกันและปราบปรามการบุก รุกทาลายทรัพยากรป่าไม้

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 6.48 ปม.

- กิจกรรมจัดตั้งหน่วยป้องกัน รักษาป่า

692.99

-

- ดาเนินการตามแผนปฏิบัติ การพื้นที่เป้าหมายป้องกันและ ปราบปราม

512.00

1,673.40

- กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ การป้องกันไฟป่า

130.98

523.92

795.82

2,143.58

19.43

91.35

36.52

198.19

95.35

128.76

- กิจกรรมดาเนินการเกี่ยวกับ ไม้ของกลางและหลักฐานในคดี ป่าไม้ - โครงการเพาะชากล้าไม้พะยูง เพื่อการอนุรักษ์ กลยุทธ์ที่ 3 : อนุรักษ์ - จานวนแหล่งทรัพยากรแนว -โครงการ อนุรักษ์และฟื้นฟู และคุ้มครองทรัพยากร ปะการังในอุทยานแห่งชาติ ทรัพยากรอุทยานแห่งชาติ ทางทะเลและชายฝั่ง ทางทะเลได้รับการคุ้มครอง (แห่ง) ทางทะเล และทรัพยากรธรณี - ร้อยละของแนวปะการัง - กิจกรรมการจัดการแนว ถูกทาลายลดลง ปะการังและชายหาด - จานวนแหล่งแนวปะการัง -โครงการ ป้องกันและฟื้นฟู ในอุทยานแห่งชาติทางทะเลได้รับ ปะการัง การป้องกันและรักษา (แห่ง) - ร้อยละของแนวปะการังฟื้นตัว - กิจกรรม ป้องกันและฟื้นฟู ปะการังในอุทยานแห่งชาติ ทางทะเล (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 59 -

อส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3 : อนุรักษ์ และคุ้มครองทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-จานวนพื้นที่ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งที่ได้รับการอนุรักษ์ คุ้มครอง (จังหวัด/ไร่) -จานวนพื้นที่ที่ได้รับการจัดการ -จานวนเครื่องมือกลไกในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ที่ถูกนาไปใช้ประโยชน์ -จานวนแหล่งซากดึกดาบรรพ์ ที่ได้ขึ้นทะเบียน (แห่ง) -จานวนซากดึกดาบรรพ์ ที่ได้ขึ้นทะเบียน (ตัวอย่าง) -จานวนผู้รับบริการด้านธรณีวิทยา และทรัพยากรธรณี (ราย)

-โครงการอนุรักษ์และคุ้มครอง ป่าชายเลน

-จานวนชุดข้อมูลธรณีสัณฐาน ชายฝั่งทะเล (ชุด) -จานวนชุดข้อมูลธรณีสัณฐาน ชายฝั่งทะเลถูกต้องตามหลักวิชาการ กลยุทธ์ที่ 4 : ส่งเสริม -ร้อยละขององค์กรในกลุ่ม การอนุรักษ์และการใช้ เป้าหมายที่เข้ามามีส่วนร่วม ประโยชน์จากความ ในการจัดทา หรือปรับปรุง หลากหลายทางชีวภาพ นโยบายและแผนฯ

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 24.90 119.50 ทช.

-โครงการบูรณาการจัดการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัด เซาะชายฝั่งทะเล 23 จังหวัด

224.00

1116.21

- โครงการคุ้มครองแหล่งและ ซากดึกดาบรรพ์

๑๖.๐๐

๑๒๐.๐๐

- โครงการจัดนิทรรศการ มหัศจรรย์ไดโนเสาร์ และประชุม วิชาการไดโนเสาร์แห่งเอเซีย -โครงการสารวจ ศึกษาธรณี สัณฐาน และการเปลี่ยนแปลง ชายฝั่งทะเล

๒๐.๐๐

-

28.40

44.00

1. แผนงานการขับเคลื่อน ระเบียบคณะกรรรมการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ความหลากหลาย ทางชีวภาพแห่งชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าถึง และการได้รับผลประโยชน์ตอบ แทนจากทรัพยากรชีวภาพ พ.ศ. 2554 ไปสู่การปฏิบัติ 2. เสริมสร้างสมรรถนะการ อนุวัตการตามพิธีสาร คาร์ตาเฮนาฯ และ พ.ร.บ. ว่าด้วยความปลอดภัยทาง ชีวภาพ และพิธีสารเสริม นาโงยา-กัวลาลัมเปอร์ว่าด้วย การรับผิดและชดใช้ตามพิธีสาร คาร์ตาเฮนาว่าด้วยความ ปลอดภัยทางชีวภาพ และ ระเบียบ กอช. ว่าด้วยการรับ ผิดและชดใช้ตามตามว่าด้วย การรับผิดและชดใช้ตามพิธีสาร คาร์ตาเฮนาว่าด้วยความ ปลอดภัยทางชีวภาพ

0.20

1.00

1.00

5.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 60 -

ทธ.

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 4 : ส่งเสริม การอนุรักษ์และการใช้ ประโยชน์จากความ หลากหลายทางชีวภาพ (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

3. จัดทาแผนปฏิบัติการ ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 4. ขับเคลื่อนแผนแม่บท บูรณาการจัดการความหลาก ลายทางชีวภาพ พ.ศ. 25582564 และแผนปฏิบัติการ ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ พื้นที่ชุ่มน้า 6. โครงการศึกษาเพื่อจัดทา แนวทางด้านความหลากหลายทาง ชีวภาพกับการท่องเที่ยว 7. จัดทามาตรการแนวทาง อนุรักษ์ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น และถิ่นที่อยู่อาศัย 8. จัดทานโยบายและกลยุทธ์ การระดมทรัพยากรด้านความ หลากหลายทางชีวภาพ 9. จัดทาและผลักดันการ ดาเนินการตามแนวทางการ ประยุกต์ใช้เครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์ในการบริหาร จัดการความหลากหลายทาง ชีวภาพ -จานวนการเพาะพันธุ์และปล่อย - กิจกรรมเพาะพันธุ์และปล่อย สัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ(ชนิด/ตัว) สัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ - กิจกรรมการบริหารจัดการ บริหารจัดการอุทยานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ (แห่ง /ล้านไร่) - ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ที่ เกี่ยวข้องต่อความสมบูรณ์ของ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ -จานวนช้างสาคัญและช้างต้น -กิจกรรมดูแลช้างสาคัญจาก ได้รับการอนุรักษ์และคุ้มครอง สานักพระราชวัง (ช้าง) -จานวนช้างเลี้ยงได้รับการอนุรักษ์ -กิจกรรมคุ้มครองและอนุรักษ์ และคุ้มครอง (เชือก) ช้างไทย - จานวนชนิดพันธุ์สัตว์ป่าหายากที่ - การบารุงรักษาสัตว์และ มีการขยายพันธุ์ (ชนิด) พัฒนาคุณภาพชีวิตสัตว์

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 0.60 สผ. 0.30

1.50

4.00

20.00

1.70

15.00

0.20

1.00

6.00

20.00

5.00

4.00

125.21

6,500.00

2,004.34

13,026.18

13.35

89.71

223.13

754.23

๑๕.๒๓

๗๖.๑๗

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 61 -

อส.

อ.อ.ป.

อสส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 4 : ส่งเสริม การอนุรักษ์และการใช้ ประโยชน์จากความ หลากหลายทางชีวภาพ (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- ระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับ ทรัพยากรพันธุกรรมที่ทรงคุณค่าใน การใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ พร้อม สาหรับการเผยแพร่แลกเปลี่ยน (ระบบ)

-โครงการแม่บทจัดทาระบบ บัญชีรายการทรัพยากร พันธุกรรมที่ทรงคุณค่า สาหรับ การแข่งขันด้านพัฒนา เศรษฐกิจในภูมภิ าคอาเซียน

- จานวนข้อมูลที่เกี่ยวกับทรัพยากร พันธุกรรมที่ทรงคุณค่าในการใช้ ประโยชน์(ชนิด (พืช สัตว์ ลินทรีย์) - จานวนผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับ แผนงาน : สร้างความเข้มแขจง การพัฒนาเป็นนวัตกรรม และ ชุมชน พัฒนาต่อยอด (รายการ) -กิจกรรมพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ในการอนุรักษ์และใช้ปะโยชน์ ทรัพยากรชีวภาพ - จานวนหน่วยงานสนับสนุนการ -กิจกรรมศูนย์พัฒนาการอนุรักษ์ ดาเนินงานศูนย์พัฒนาฯ (ศูนย์) และใช้ประโยชน์ - จานวนประเภทพัฒนาธุรกิจ แผนงาน : ส่งเสริมธุรกิจจาก จากฐานชีวภาพ(ประเภท) ฐานชีวภาพ -กิจกรรมพัฒนาและส่งเสริม ธุรกิจจากฐานชีวภาพ - จานวนช่องทางเพิ่มพื้นที่ -กิจกรรมส่งเสริมการตลาด จาหน่ายผลิตภัณฑ์ (ช่องทาง) - จานวนการรวบรวมองค์ความรู้ แผนงาน : จัดการองค์ความรู้ (เรื่อง) และพัฒนาระบบฐานข้อมูล - พัฒนาศูนย์เรียนรู้การใช้ -กิจกรรมรวบรวมและเผยแพร่ ประโยชน์และอนุรักษ์ความ องค์ความรู้ หลากหลายทางชีวภาพและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น (แห่ง) - จานวนเครื่องมือ/กลไกที่ใช้ แผนงาน : ขับเคลื่อนนโยบาย ในการพัฒนา (เครื่องมือ) กิจกรรมขับเคลื่อนเชิงกลยุทธ์ เป้าประสงค์ : เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริม -จานวนพื้นที่ที่บารุงรักษาสวนป่า -กิจกรรมบารุงรักษาสวนป่าเดิม การปลูกป่าโดยการ เดิม 2 - 10 ปี (ไร่) มีส่วนร่วมของทุกภาค -จานวนระยะการจัดทาแนวกันไฟ ส่วน (กิโลเมตร) -จานวนพื้นที่ที่บารุงรักษาสวนป่า -กิจกรรมโครงการฟื้นฟูสภาพ เดิม อายุ 2-10 ปี (ไร่) ป่าเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน - จานวนกล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่ -กิจกรรมเพาะชากล้าไม้เพื่อ สีเขียว (ล้านกล้า) เพิ่มพื้นที่สีเขียว -จานวนกล้าไม้ (ล้านกล้า) -กิจกรรมปลูกไม้ยืนต้นป้องกัน การแพร่กระจายดินเคจม

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 150.00 900.00 สพภ.

8.00

40.00

5.00

25.00

12.90

75.00

14.00

75.00

26.00

100.00

6.70

50.00

385.82

1,407.59

34.52

105.53

295.16

1,5448.00

20.73

118.75

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 62 -

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริม การปลูกป่าโดยการ มีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วน (ต่อ)

ตัวชี้วัด -จานวนศูนย์ฟื้นฟู/หน่วยฟื้นฟู/ สวนป่า/โครงการที่ได้รับการ ตรวจสอบ (ศูนย์ฟื้นฟู/หน่วยฟื้นฟู/สวนป่า/ โครงการ) -จานวนพื้นที่ปลูกป่าทั่วไป (ไร่)

- จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ บริหารจัดการ (ล้านไร่) - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ บริหารจัดการ (ล้านไร่) - จานวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการ บริหารจัดการ (ล้านไร่) -จานวนพื้นที่ป่าชายเลนที่เพิ่มขึ้น (ไร่) กลยุทธ์ที่ 2 : ส่งเสริม -จานวนจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกป่า การปลูกไม้เศรษฐกิจ ของเอกชนที่ได้รับการส่งเสริมและ ของภาคประชาชนและ พัฒนา (จังหวัด) เอกชน -จานวนรายของเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการ (ราย) -จานวนของสหกรณ์สวนป่า ภาคเอกชนที่มีการพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการ (แห่ง) -จานวนพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ (ไร่) -จานวนที่ดินของเอกชนที่เข้าร่วม โครงการ (ไร่) -จานวนพื้นที่เกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการ (ไร่) -จานวนพื้นที่ป่าเศรษฐกิจได้รับ การส่งเสริมปลูกป่าและบารุงดูแล รักษาสวนป่าเพื่อพลังงานชีวมวล (ไร่)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -กิจกรรมตรวจสอบและติดตาม โครงการปลูกป่า

-โครงการปลูกป่าเพื่อฟื้นฟู ระบบนิเวศ - กิจกรรมโครงการฟื้นฟูระบบ นิเวศในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ - กิจกรรมอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา ป่าไม้ - กิจกรรมปลูกป่าถาวรเฉลิม พระเกียรติฯ -กิจกรรมโครงการฟื้นฟูพื้นที่ต้น น้าทะเลสาบสงขลา -โครงการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ (แผนบูรณาการบริหารจัดการน้า) -กิจกรรมพัฒนาและจัดการ ผลผลิตสวนป่า -กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ด้านป่าไม้ -กิจกรรมเสริมสร้างความ เข้มแขจงของสหกรณ์สวนป่า ภาคเอกชน -โครงการส่งเสริมการปลูกต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ -กิจกรรมส่งเสริมปลูกไม้ เศรษฐกิจในพื้นที่เอกชน (นอก เขตพื้นที่ป่าไม้) -กิจกรรมโครงการส่งเสริมการ ปลูกต้นไม้เพื่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม -โครงการส่งเสริมการปลูกป่าไม้ เศรษฐกิจเพื่อพลังงานชีวมวล (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ)

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 1.02 3.06 ปม.

78.54

861.30

121.30

667.15

100.81

-

26.66

179.04

38.34

191.70

ทช.

6.19

22.55

ปม.

18.16

73.74

6.55

28.61

98.00

2,145.00

277.00

30,628.65

142.97

598.92

15.00

85.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 63 -

อส.

อ.อ.ป.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3 : พัฒนา ประสิทธิภาพการปลูก ป่าต้นน้า

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ร้อยละของความสมบูรณ์ของพื้นที่ - กิจกรรมโครงการหลวง ป่าอนุรักษ์ - กิจกรรมพัฒนาและรณรงค์ การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ - กิจกรรมโครงการขยายผล โครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหา พื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน -จานวนพื้นที่ต้นน้าในลุ่มน้าขนาด -โครงการรักษาความมั่นคงของ เลจกที่วิกฤติได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ฐานทรัพยากรธรรมชาติ และจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ - กิจกรรม จัดการพื้นที่ต้นน้าใน (ลุ่มน้า) พื้นที่ลุ่มน้าวิกฤติ (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) -จานวนพื้นที่ป่าต้นน้าลาธารขนาด -กิจกรรม ปลูกสร้างสวนป่าและ และพื้นที่เสื่อมโทรมได้รับการ อนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้า อนุรักษ์และฟื้นฟู (ไร่) ลาธาร (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ)

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 31.90 28.55 อส. 25.23

132.17

14.83

95.15

171.57

2,003.27

32.93

121.86

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 64 -

อ.อ.ป.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 : บริหารจัดการน้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ ทส./ ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กลยุทธ์ เป้าประสงค์ : มีน้าอุปโภคและบริโภคอย่างเพียงพอ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนา -จานวนแหล่งน้าที่ได้รับการ -พัฒนาและสนับสนุนระบบงาน ปรับปรุง ฟื้นฟูแหล่งน้า พัฒนา ปรับปรุง อนุรักษ์และ โครงสร้างพื้นฐานด้านน้าอุปโภค ธรรมชาติสนับสนุน ฟื้นฟู เพื่อเพิ่มปริมาณน้าต้นทุน บริโภคของประเทศ ระบบประปาชุมชน สาหรับประปาหมู่บ้าน (หมู่บ้าน)

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559 ปี 2560 - 2564 23.63

118.00

ทน.

กลยุทธ์ที่ 2 : สารวจและ -ร้อยละของหมู่บ้านเป้าหมาย พัฒนาระบบประปาบาดาล มีนาเพื ้ ่อการอุปโภคบริโภค ครบถ้วน -จานวนโรงเรียนที่จัดทาน้าดื่ม สะอาดครบตามเป้าหมาย (แห่ง) กลยุทธ์ที่ 3 : ป้องกัน -จานวนแหล่งน้าที่ได้รับการ บรรเทา และแก้ไข พัฒนา ปรับปรุง อนุรักษ์และ ปัญหาวิกฤตน้า ฟื้นฟู เพื่อเพิ่มปริมาณน้าต้นทุน สาหรับประปาหมู่บ้าน (หมู่บ้าน) เป้าประสงค์ : อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าผิวดิน กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนา -จานวนแหล่งน้าที่ได้รับการ อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งน้า พัฒนา ปรับปรุง อนุรักษ์และ ผิวดินและเชื่อมโยง ฟื้นฟู เพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง เครือข่ายน้า อุทกภัย (แห่ง) -จานวนพื้นที่ต้นน้าได้รับการ อนุรักษ์ฟื้นฟูและจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ(ลุ่มน้า) กลยุทธ์ที่ 2 : บริหาร -จานวนแหล่งน้าที่ได้รับการ จัดการน้า เพื่อใช้ เพิ่มปริมาณน้าต้นทุน (แห่ง) ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ : อนุรกั ษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าใต้ดิน กลยุทธ์ที่ 1 : ศึกษา และ -ระดับความสาเรจจตามเป้าหมาย สารวจประเมินศักยภาพทา ในการประเมินศักยภาพอนุรักษ์ แผนที่และเพิ่มมาตรฐานการ ฟื้นฟูพัฒนาแหล่งน้าบาดาล อนุรักษ์เฝ้าระวัง และฟื้นฟู (จานวนแห่ง/แอ่ง) แหล่งน้าบาดาล

1,468.80

1,835.76

ทบ.

2,273.50

3,616.00

21.00

105.00

ทน.

10,254.96

51,275.00

ทน.

- กิจกรรมงานจัดการลุ่มน้า (แผนบูรณาการการบริหาร จัดการทรัพยากรน้า) -จัดหาน้าต้นทุน พัฒนาแหล่งน้า และบริหารจัดการน้า

695.91

4,995.37

อส.

275.07

1,375.00

ทน.

1. การวางเครือข่าย สังเกตการณ์น้าบาดาล

460.20

4,681.98

ทบ.

2. การสารวจและจัดทาแผนที่ น้าบาดาลชั้นรายละเอียด (ระวาง) 3. การสารวจศักยภาพน้า บาดาลเพื่อการบริหารจัดการทั่ว ประเทศ

272.80

720.09

40.00

249.80

- โครงการพัฒนาแหล่งน้า บาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภค - โครงการการพัฒนาแหล่งน้า บาดาลเพื่อสนับสนุนน้าดื่มให้กับ โรงเรียนทั่วประเทศ -การบริหารจัดการเพื่อรองรับ สภาวะวิกฤตน้า

-อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา แหล่งน้า

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 65 -

หน่วยงาน รับผิดชอบ


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ศึกษา และ สารวจประเมินศักยภาพทา แผนที่และเพิ่มมาตรฐานการ อนุรักษ์เฝ้าระวัง และฟื้นฟู แหล่งน้าบาดาล (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

4. การส่งเสริมบูรณาการเพื่อใช้ ประโยชน์ทรัพยากรน้าบาดาล รวมกับน้าผิวดินพื้นที่เกษตร นาฝนรายจังหวัด 5. การบรรเทาและแก้ไขปัญหา การลดลงของระดับน้าบาดาล โดยการเติมน้าลงสู่ชั้นน้าบาดาล 6. จัดหาแหล่งน้าบาดาลที่มี คุณภาพเพื่อใช้ในการบรรเทา และแก้ไขปัญหาความขาดแคลน น้าของประชาชนในพื้นที่แล้ง ซ้าซาก 7. การสารวจและศึกษาค่า พื้นฐานโลหะหนักในน้าบาดาล กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาน้า -ระดับความสาเรจจในการพัฒนา - โครงการพัฒนาน้าบาดาล บาดาลเพื่อเพิ่มน้าต้นทุน น้าบาดาล เพื่อการเกษตร เพื่อการเกษตรในพื้นที่ ให้แก่พื้นที่ภัยแล้ง ตามเป้าหมาย (จานวนแห่ง) ประสบภัยแล้ง

งบประมาณ (ลบ.) หน่วยงาน ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ 704.60 4,720.82 ทบ.

330.00

1,650.00

700.00

1,000.00

423.70

700.90

550.40

4,313.80

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 66 -

ทบ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 : รักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม หน่วยงาน เป้าประสงค์ ทส./ งบประมาณ (ลบ.) ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ กลยุทธ์ เป้าประสงค์ : ประชาชน หน่วยงาน องค์กร และผู้ประกอบการต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1 : กาหนด -ร้อยละของการจัดซื้อจัดจ้าง -โครงการพัฒนากลไกและ 12.00 100.00 คพ. นโยบายและมาตรการ สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับ ขับเคลื่อนการบริโภค การผลิต การผลิต การบริโภค สิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ที่เป็นมิตรอย่างยั่งยืน อุปโภค และการบริการ ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 2 : ส่งเสริม -จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ -กิจกรรมส่งเสริมการผลิต 88.50 469.40 สส. และสนับสนุนการผลิต ความรู้ มีส่วนร่วมในการบริหาร การบริการ และการบริโภค การบริการ และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บริโภค ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม (คน) สิ่งแวดล้อม -จานวนการจัดกิจกรรมส่งเสริม -โครงการศูนย์การเรียนรู้ 4.00 14.50 อจน. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการ องค์การจัดการน้าเสีย จัดการระบบบาบัดน้าเสีย ที่มีประสิทธิภาพ (ครั้ง) กลยุทธ์ 3 : สร้างวินัย -ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย -กิจกรรมสร้างวินัยของคน 178.64 1,068.83 สส. และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการปรับพฤติกรรมในการผลิต ในชาติมุ่งสู่การจัดการขยะและ ให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การบริการและการบริโภค สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย -การประชาสัมพันธ์องค์กร 10.00 69.00 อจน. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การจัดการน้าเสีย - ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย มีความตระหนักในการแก้ไข ปัญหาน้าเสีย - ร้อยละของ อปท. ที่ดาเนินการ ร่วมกับ อจน. มีความพึงพอใจ ต่อการดาเนินงานของ อจน. เป้าประสงค์ : ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพน้า กลยุทธ์ที่ 1 : ป้องกัน -ร้อยละของคุณภาพน้าที่อยู่ใน -โครงการแก้ไขปัญหามลพิษ 399.28 848.60 คพ. และควบคุมมลพิษทางน้า เกณฑ์ตั้งแต่ระดับพอใช้ ทางน้า ในพื้นที่ลุ่มน้าวิกฤตและ ขึ้นไป ลุ่มน้าสาคัญ -จานวนจังหวัดที่จัดทาบ่อ -จัดทาบ่อสังเกตการณ์น้าบาดาล 457.84 ทบ. สังเกตการณ์น้าบาดาล ในพื้นที่ทิ้งขยะเพื่อติดตาม ในพื้นที่ทงิ้ ขยะ (จังหวัด) เฝ้าระวังการปนเปื้อนในแหล่ง น้าบาดาล (แผนบรูณาการ ขยะฯ) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 67 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ป้องกัน และควบคุมมลพิษทางน้า ในพื้นทีล่ ุ่มน้าวิกฤตและ ลุ่มน้าสาคัญ (ต่อ)

ตัวชี้วัด - จานวนพื้นที่ดาเนินการฟื้นฟู และบริหารจัดการระบบบาบัด น้าเสีย (แห่ง) -จานวนสิ่งก่อสร้างและบริหาร จัดการระบบบาบัดน้าเสีย (แห่ง) -- จานวนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่ดาเนินการบริหาร จัดการระบบบาบัด น้าเสีย (พื้นที่)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

-โครงการบริหารจัดการและ บารุงรักษาระบบบาบัดน้าเสีย

(1) โครงการก่อสร้างและบริหาร จัดการระบบบาบัดน้าเสีย (2) โครงการบริหารจัดการ ระบบบาบัดน้าเสียองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (กรณีบริหารจัดการและ บารุงรักษาระบบบาบัดน้าเสีย) -จานวนพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ (3) โครงการก่อสร้างและบริหาร บริหารจัดการระบบบาบัดน้าเสีย จัดการระบบบาบัดน้าเสียชุมชน (พื้นที)่ ขนาดเลจกในพื้นที่อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ กลยุทธ์ที่ 2 : สนับสนุน -จานวนพื้นที่ทมี่ ีการฟื้นฟูและ - โครงการระบบรวบรวมและ และผลักดันระบบการ บริหารจัดการระบบบาบัด บาบัดน้าเสีย เขตควบคุมมลพิษ บริหารจัดการมลพิษ น้าเสีย ( แห่ง) จังหวัดสมุทรปราการ ด้านน้าที่เหมาะสม -ปริมาณการนาน้าเสียที่ผ่านการ (1) โครงการจ้างดูแลรักษา ในระดับพื้นที่ บาบัดแล้วกลับมาใช้ประโยชน์ ทรัพย์สินโครงการระบบรวบรวม (ล้านลูกบาศก์เมตร) และบาบัดน้าเสีย เขตควบคุม มลพิษ จังหวัดสมุทรปราการ -ร้อยละของน้าเสียในปี 2560 (2) โครงการประเมินการ ได้รับการบาบัดผ่านเกณฑ์ ยอมรับของประชาชนต่อ มาตรฐานที่กระทรวงทรัพยากร โครงการระบบรวบรวมและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกาหนด บาบัดน้าเสียเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดสมุทรปราการ เป้าประสงค์ : สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น กลยุทธ์ที่ 1 : ใช้กลไก -ร้อยละของพื้นที่เป้าหมาย - โครงการกาหนดนโยบายและ การบริหารจัดการ มีระบบการบริหารจัดการมลพิษ มาตรการบริหารจัดการมลพิษ ภาครัฐทุกรูปแบบเพื่อ ตามเกณฑ์ที่กาหนด การส่งเสริม และรักษา คุณภาพ สิ่งแวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพ -ร้อยละของนโยบาย แผน มาตรการ 1. การเตรียมรับมือและป้องกัน ที่ดาเนินการแล้วเสรจจของ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง หน่วยงานได้รับการผลักดันไปสู่ สภาพภูมิอากาศที่อาจมีผลต่อ การปฏิบัติถ่ายทอดไปสู่เป้าหมาย ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม แหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทถ้า

อจน. 3.94

33.60

85.21

608.15

6.59

48.13

อจน. 10.00

75.00

10.00

50.00

77.00

450.00

คพ.

6.00

-

สผ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 68 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ใช้กลไก การบริหารจัดการ ภาครัฐทุกรูปแบบเพื่อ การส่งเสริม และรักษา คุณภาพ สิ่งแวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพ (ต่อ)

ตัวชี้วัด

-จานวนแนวทางในการจัดการ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม เพื่อลดผลกระทบด้านภูมิทัศน์ (แนวทาง)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 2. โครงการนาร่องพื้นที่ดาเนินการ ตัวอย่างในการเตรียมรับมือและ ป้องกันผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่อาจมีผลต่อระบบนิเวศและ สิ่งแวดล้อมแหล่งธรรมชาติ อันควรอนุรักษ์ ประเภทถ้า 3. การจัดทาแนวทางการจัดการ สิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์แหล่ง ธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของ ท้องถิ่น 10 ประเภท (น้าตก ถ้า เกาะ แก่ง ธรณีสัณฐานและ ภูมิลักษณวรรณา โป่งพุร้อน ซากดึกดาบรรพ์ แหล่งน้า ชายหาด และภูเขา) 4. การประเมินคุณค่า สิ่งแวดล้อมแหล่งธรรมชาติ อันควรอนุรักษ์ประเภทชายหาด เกาะ แก่ง แหล่งน้า และซาก ดึกดาบรรพ์ (ต่อเนื่อง) 5. การนาเกณฑ์การประเมิน คุณค่าสิง่ แวดล้อมธรรมชาติ อันควรอนุรักษ์ไปสู่การปฏิบัติ ชายหาด เกาะ แก่ง แหล่งน้า และซากดึกดาบรรพ์(ต่อเนื่อง) 6. ทบทวนแผนแม่บทเพื่อการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๒- ๒๕๕๖) ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๒ 7. โครงการอนุรักษ์และพัฒนา เมืองเก่า -โครงการศึกษาจัดทาแนว ทางการจัดการสิง่ แวดล้อม ศิลปกรรมเพื่อลดผลกระทบด้าน ภูมิทัศน์

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

-

4.00

-

10.00

-

12.00

-

4.00

1.00

6.00

13.00

95.50

6.00

-

หน่วยงาน รับผิดชอบ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 69 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ใช้กลไก การบริหารจัดการ ภาครัฐทุกรูปแบบ เพื่อการส่งเสริม และ รักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมอย่างมี ประสิทธิภาพ (ต่อ)

ตัวชี้วัด -จานวนพื้นที่มีแนวทางในการ จัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม เพื่อลดผลกระทบด้านภูมิทัศน์ (จานวนพื้นที)่ - จานวนมาตรการ เครื่องมือ กลไก ในการดาเนินการอนุรักษ์ อย่างเป็นระบบ (มาตรการ/เครื่องมือ/กลไก) - จานวนพื้นที่นาร่องในการจัดการ สิ่งแวดล้อมชุมชนและการจัดการ สิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ในชุมชนเมือง (พื้นที)่ - จานวนเรื่องขององค์ความรู้ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน และสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ในพื้นที่ นาร่อง (เรื่อง/ด้าน) - จานวนพื้นที่ที่มีการจัดการ สิ่งแวดล้อมชุมชนและการ จัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ เพิ่มขึ้นทุกปี ( พื้นที่) -จานวนพื้นที่ที่มีแผนการใช้ที่ดิน ของหน่วยงานของรัฐในพื้นที่นาร่อง ในปี 2559 (จังหวัด) -จานวนพื้นที่ทมี่ ีแผนการใช้ที่ดิน ของหน่วยงานของรัฐภายใน ปี 2564 (จังหวัด) -จานวนแนวทางการจัดระบบ ศูนย์ราชการที่มีการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น ระบบ และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม (Green Growth) (แนวทาง) -จานวนมาตรการ กลไก และ เครื่องมือในการสนับสนุน ส่งเสริมการจัดการสิง่ แวดล้อม ชุมชนในเมืองอุตสาหกรรม ที่ได้รับการผลักดันให้เกิดการ ปฏิบัติ (มาตรการ กลไก และ เครื่องมือ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -โครงการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม อย่างบูรณาการ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

-

24.00

-โครงการจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนและสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ อย่างบูรณาการ

4.00

20.00

-โครงการจัดระบบศูนย์ราชการ อย่างบูรณาการ

9.00

25.00

-โครงการชุมชนอยู่ คู่อุตสาหกรรม

3.00

15.00

หน่วยงาน รับผิดชอบ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 70 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ใช้กลไก การบริหารจัดการ ภาครัฐทุกรูปแบบ เพื่อการส่งเสริม และ รักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมอย่างมี ประสิทธิภาพ (ต่อ) กลยุทธ์ที่ 2 : บูรณาการ การดาเนินงานจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมและ มลพิษ และเสริมสร้าง ความเข้มแขจงอย่าง ต่อเนื่องให้กับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องที่มีอานาจ หน้าที่ในการจัดการ สิ่งแวดล้อมทั้งในระดับ ภูมิภาคและระดับท้องถิ่น

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

-จานวนขนาดของแบบ มาตรฐานของระบบบาบัดน้า เสียขนาดเลจก (ขนาด)

-จัดทาแบบมาตรฐานของ ระบบบาบัดน้าเสียขนาดเลจก

0.50

0.40

อจน.

-จานวนเมืองและชุมชน ทีไ่ ด้รับการสนับสนุนหรือ เสริมสร้างศักยภาพสู่การพัฒนา ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (เมือง/ชุมชน) - ประชาชนในพื้นที่ดาเนินโครงการฯ ได้รับทราบข้อมูลโครงการ โดยมีความรู้ ความเข้าใจในโครงการ และให้ความร่วมมือ

-โครงการพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่า

7.00

35.00

สผ.

-โครงการจัดทาแผนการบริหาร จัดการน้าเสีย จังหวัดภูเกจต

15.00

-

อจน.

-โครงการจัดทาแผนบริหาร จัดการน้าเสียปริมณฑล -โครงการติดตามและประเมิน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม

40.00

-

162.99

900.00

กลยุทธ์ที่ 3 : ติดตามและ -ร้อยละของพื้นที่เป้าหมายมีการ ประเมินคุณภาพแหล่งน้า ติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อมตาม ผิวดิน คุณภาพน้าทะเล แผนงานทีก่ าหนด ชายฝั่ง คุณภาพอากาศและ เสียง รวมถึงการปนเปื้อน กากของเสียและสาร อันตราย

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 71 -

คพ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ เป้าประสงค์ : ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพอากาศ กลยุทธ์ที่ 1 : ป้องกัน -ร้อยละของมลพิษทางอากาศ และแก้ไขปัญหามลพิษ ในพื้นที่วิกฤตลดลง ทางอากาศในพื้นที่วิกฤต เป้าประสงค์ : เพิ่มขีดความสามารถในการกาจัดขยะ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดการ -จานวนเรื่องขยะทะเลที่ได้รับ ขยะมูลฝอยและของเสีย การบริหารจัดการ (เรื่อง) อันตรายในพื้นที่ เป้าหมายอย่างถูกต้อง -ร้อยละของขยะมูลฝอยและของ และมีประสิทธิภาพ เสียอันตรายในพื้นที่เป้าหมาย ไม่ส่งผลกระทบ ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง ต่อประชาชนและ เพิ่มมากขึ้น สิ่งแวดล้อม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการแก้ไขปัญหามลพิษ ทางอากาศ -โครงการบริหารจัดการ ขยะทะเล (แผนบูรณาการฯขยะ) โครงการจัดการขยะมูลฝอยและ ของเสียอันตราย - การแก้ไขปัญหาการลักลอบทิ้ง กากของเสียอุตสาหกรรม และอุบัติภัยสารเคมี - การแก้ไขปัญหาพื้นที่วิกฤต ด้านมลพิษ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

200.31

711.30

คพ.

18.39

55.68

ทช.

188.75

960.00

คพ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 72 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 : การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน่วยงาน เป้าประสงค์ ทส./ งบประมาณ (ลบ.) ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ปี 2559 ปี 2560 - 2564 รับผิดชอบ กลยุทธ์ เป้าประสงค์ : ประชาชนสามารถปรับตัวรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิภาพและ ได้รับการเตือนภัยอย่างทันเวลา กลยุทธ์ที่ 1 : -โครงการบริหารจัดการทรัพยากร ปม. บริหารจัดการเพื่อลด ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ ผลกระทบจากการ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ภูมิอากาศ - จานวนเครือข่ายที่เข้าร่วม - กิจกรรมป้องกันไฟป่าและ 623.28 2,894.82 กิจกรรมป้องกันและควบคุม ควบคุมหมอกควัน ไฟป่า - จานวนเรื่องขององค์ความรู้ - กิจกรรมวิจัยการเปลี่ยนแปลง 29.91 121.43 งานวิจัยด้านป่าไม้ (เรื่อง) สภาพภูมิอากาศภาคป่าไม้ - จานวนของศูนย์ฟื้นฟู/ - โครงการลดการปล่อยและเพิ่มการ 4.72 57.00 หน่วยงาน/สวนป่า/โครงการ กักเกจบก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ ที่ได้รับการตรวจสอบ (ศูนย์) ป่าไม้ -จานวนแนวทางปรับตัวรองรับ - จัดทาแผนการปรับตัวรองรับ 8.00 สผ. การเปลี่ยนแปลงสภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศในระดับชาติ (เรื่อง) ระดับชาติ กลยุทธ์ที่ 2 : - จานวนชุมชนต้นแบบ - โครงการบริหารจัดการทรัพยากร 107.00 - สป.ทส. เตรียมความพร้อมในการ ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รับมือการเปลี่ยนแปลง ในการบริหารจัดการทรัพยากร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทาง พิบัติภัยทางธรรมชาติ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ธรรมชาติ สภาวะภูมิอากาศ (ชุมชน) (แผนบรูณาการ ขยะฯ) -ร้อยละของชุมชนมีแผน / -โครงการจัดทาแผนที่เสี่ยงภัย 32.00 180.00 ทธ. แนวทางในการลดผลกระทบ ดินถล่มระดับชุมชน และปัจจัยเสี่ยงจากธรณีวิทยา สิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัติภัย มีคุณภาพตามหลักวิชาการ - จานวนข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ดินถล่มระดับชุมชน (ตาบล) -จานวนหมู่บ้านที่ได้รับการ -พัฒนาเครื่องมือและกลไกระบบ 276.87 1,384.00 ทน. ติดตั้ง พัฒนา ระบบเตือนภัย พยากรณ์และเตือนภัยด้านน้า ด้านน้าที่ให้บริการแก่ประชาชน (หมู่บ้าน)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 73 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3 : เพิ่มประสิทธิภาพระบบ การเตือนภัย

ตัวชี้วัด - จานวนระบบแจ้งเตือนภัย หรือการเปลี่ยนแปลง อันก่อให้เกิดภัยพิบัติ ในพื้นที่อนุรักษ์ (ระบบ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - โครงการศูนย์ข้อมูลติดตาม การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าและ เตือนภัยพิบัติในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ -กิจกรรมศูนย์ข้อมูลเตือนภัยพิบัติ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ -เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการการพยากรณ์และเตือนภัย ด้านน้า

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

55.60

ปี 2560 - 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

350.00

อส.

-จานวนหมู่บ้านที่ได้รับการติดตั้ง 157.06 785.00 ทน. พัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพ และ ซ่อมแซม ปรับปรุงระบบเตือนภัย ด้านน้าที่ให้บริการแก่ประชาชน (หมู่บ้าน) - จานวนแผน /แนวทาง ในการลด -โครงการจัดทาระบบป้องกันและ 8.40 42.00 ทธ. ผลกระทบและปัจจัยเสี่ยงจาก เตือนภัยธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณี และธรณีพิบัติภัย พิบัติภัย (เรื่อง) เป้าประสงค์ : ลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจากภัยพิบัติธรรมชาติ และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ กลยุทธ์ที่ 1 : ผลักดัน -ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย -โครงการแปลงแผนแม่บทฯ 15.00 สผ. และบูรณาการการ มีแผนปฏิบัติการรับมือการ ไปสู่การปฏิบัติ ดาเนินงานด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงสภาพ อย่างเป็นรูปธรรม ภูมิอากาศอย่างเป็น รูปธรรมในทุกภาคส่วน กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาขีด -จานวนแนวทางปรับตัวต่อการ -จัดทาแผนการปรับตัวรองรับการ 8.00 สผ. ความสามารถในการ เปลี่ยนแปลงสภาพ-ภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รับมือผลกระทบจากการ ที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ระดับชาติ และระดับพื้นที่นาร่อง เปลี่ยนแปลงสภาพ สาหรับภาคประชาชน ในพื้นที่ ภูมิอากาศในทุกระดับ นาร่อง (เรื่อง) - จานวนแผน / แนวทางในการ -โครงการลดผลกระทบ ๖๘.๔๐ ๓๖๔.๕๐ ทธ. ลดผลกระทบและปัจจัยเสี่ยง ด้านธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและ จากธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและ ธรณีพิบัติภัย ธรณีพิบัติภัย (เรื่อง) - จานวนพื้นที่เสี่ยงธรณีพิบัติภัย ที่ได้รับการประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐานทางธรณีวิทยา สิ่งแวดล้อม (แห่ง) - จานวนอาสาสมัครเครือข่าย เฝ้าระวังแจ้งเตือนธรณีพิบัติภัย ที่เพิ่มขึ้น (คน)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 74 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ เป้าประสงค์ : ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กลยุท ธ์ ที่ 1 : จั ดท า -จ านวนเรื่ อ งที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ นโยบาย แผน มาตรการ นโยบายการลดก๊าซเรือนกระจก และแนวทางลดการ ในระดับพื้นที(่ เรื่อง) ปล่อยก๊าซเรือนกระจก -จานวนมาตรการลดก๊าซเรือน กระจกภาคบังคับและภาคสร้าง แรงจูงใจ(เรื่อง) กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา -จานวนโครงการ/มาตรการ กลไกกากับและติดตาม ที่อยู่ใน NAMA Roadmap และ ประเมินผลการดาเนินงาน โครงการที่ได้รับการสนับสนุน ลดการปล่อยก๊าซ ระหว่างประเทศ (จานวน เรือนกระจก มาตรการ/โครงการ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-โครงการศึกษาเพื่อวางนโยบาย การลดก๊าซเรือนกระจกในระดับ พื้นที่ -โครงการพัฒนามาตรการลด ก๊าซเรือนกระจกภาคบังคับและ ภาคสร้างแรงจูงใจ -โครงการประสานและติดตาม ผลการดาเนินงานตาม NAMA Roadmap ภายในปี ค.ศ. 2020 และโครงการที่ได้รับการสนับสนุน จากกองทุนระหว่างประเทศ -โครงการจัดทา Roadmap และแนวทางการติดตาม ประเมินผลมาตรการลดก๊าซ เรือนกระจกหลังปี ค.ศ. 2020 กลยุทธ์ที่ 3 : สร้างศักยภาพ - จานวนพื้นที่สีเขียวในเมือง -โครงการส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่ ในความร่วมมือในการ ที่ได้รับการส่งเสริมและจัดการ สีเขียวในเมืองโดยชุมชน อนุรักษ์ป่าไม้ และดาเนิน โดยชุมชนมีส่วนร่วม(แห่ง) มีส่วนร่วม กิจกรรม/ โครงการลดการ - จานวนชุมชนต้นแบบนาร่องใน - โครงการลดการปล่อยก๊าซ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก การปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาค เรือนกระจกภาคป่าไม้โดยสร้าง ในทุกภาคส่วน ป่าไม้ (ชุมชน) แรงจูงใจและกระบวนการมีส่วนร่วม - ร้อยละของชุมชนในและ รอบพื้นที่แนวเขตอุทยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและ เจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐได้รับ ความรู้ความเข้าใจในกิจกรรม ของกลไกเรดด์พลัส กลยุทธ์ที่ 4 : พัฒนา -จานวนมาตรการลดก๊าซเรือน - โครงการพัฒนา ส่งเสริม และส่งเสริมการลดก๊าซ กระจกภาคสมัครใจของทุกภาค และสร้างแรงจูงใจในการดาเนิน เรือนกระจกในประเทศ ส่วนและภาคส่วนหลัก(มาตรการ) มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก ภาคสมัครใจของทุกภาคส่วน - โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของ มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกภาค บังคับในภาคส่วนหลัก -ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ - โครงการขยายผลการพัฒนา จากการดาเนินงานของภาคีต่าง ๆ โครงการลดก๊าซเรือนกระจก ที่ได้มีการประเมินผล ภาคสมัครใจ (ปริมาณก๊าซเรือนกระจก/ล้านตัน)

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

-

10.00

-

12.00

0.50

2.50

5.00

-

123.23

339.99

ปม.

35.91

300.00

อส.

-

6.00

สผ.

-

7.00

22.00

117.50

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 75 -

สผ.

สผ.

อบก.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 4 : พัฒนา และส่งเสริมการลดก๊าซ เรือนกระจกในประเทศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - โครงการพัฒนา กลไกและ ระบบรับรองกิจกรรมลดก๊าซ เรือนกระจก (Low Emission Supporting Scheme: LESS) - โครงการประเมินปริมาณก๊าซเรือน กระจกที่ลดได้จากการดาเนินงาน ของภาคีภาครัฐ และเอกชน - โครงการพัฒนาตลาดคาร์บอน ของประเทศไทย - โครงการจัดทาข้อมูลปริมาณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ เมือง และปรับปรุงข้อมูลบัญชี ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย - โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ สาหรับการบริหารจัดการก๊าซ เรือนกระจก และศูนย์ข้อมูล สถานการณ์ก๊าซเรือนกระจก - โครงการประเมินและติดตาม ความเข้มข้นของก๊าซเรือน กระจกในบรรยากาศด้วย เทคโนโลยีการสารวจระยะไกล (Remote Sensing) - โครงการส่งเสริมการสื่อสาร แบบมีส่วนร่วมเพื่อเตรียมความ พร้อมสู่สังคมคาร์บอนต่า

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 - 2564

3.00

22.50

10.00

40.00

41.00

235.00

13.00

65.00

5.00

25.00

5.00

-

12.00

105.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 76 -

อบก.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 : การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการองค์กร และการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

เป้าประสงค์ : พัฒนาระบบงานบริหารราชการ กลยุทธ์ที่ 1 : การสร้าง -จานวนหน่วยงานที่ได้รับการ ความเป็นเลิศในการ พัฒนาระบบราชการ ให้บริการประชาชน (จานวน ส่วนราชการ) -โครงสร้างระบบงานที่คล่องตัว และตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลง (กระบวนการ/แนวทาง) -จานวนระบบบริหารจัดการ ที่ได้คุณภาพมาตรฐานระดับ สากล และยึดหลักธรรมาภิบาล (ระบบ) -จานวนเรื่องในการบริหาร จัดการภาครัฐและติดตาม ประเมินผล (เรื่อง) -ร้อยละของหน่วยงานได้รับการ พัฒนาด้านการปฏิบัติงาน ราชการตามแผนงานและ ระยะเวลาที่กาหนด - จานวนการประชาสัมพันธ์และ เผยแพร่ (ครั้ง) -ระดับความสาเรจจในการ บูรณาการเพื่อการสร้างความ เป็นเลิศในการให้บริการ ประชาชนโดยรวมของกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช -ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้รับบริการจาก อบก.

-จานวนสวนสัตว์ที่รักษา มาตรฐานระบบคุณภาพบริการ และระบบบริหารจัดการ (แห่ง)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

-โครงการพัฒนาระบบราชการ ทส.

-

-

สป.ทส. (กพร.ทส.)

-โครงการปรับปรุงกระบวนการ และการกาหนดมาตรฐานการ ปฏิบัติงาน

1.50

-

สผ.

-กิจกรรมบริหารจัดการภาครัฐ และการติดตามประเมินผล

114.54

508.44

สส.

-กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการ ปฏิบัติราชการ -กิจกรรมปรับกระบวนทัศน์ค่านิยม วัฒนธรรมในกรมป่าไม้ -กิจกรรมอานวยการ ด้านประชาสัมพันธ์ - โครงการบูรณาการเพื่อการ สร้างความเป็นเลิศในการ ให้บริการประชาชนโดยรวม ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

5.00

25.00

ปม.

13.20

49.46

1.36

9.14

อส.

0.50

2.50

อบก.

0.60

3.00

๓.๐0

๑๕.๐0

-โครงการสารวจความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 -โครงการจัดทารายงานประจาปี พ.ศ.2558 - การพัฒนาประสิทธิภาพ การดาเนินงานคุณภาพบริการ และระบบบริหารจัดการ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 77 -

อสส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : การพัฒนา องค์กรให้มีขีดสมรรถนะ สูงและทันสมัย บุคลากร มีความเป็นมืออาชีพ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-ระดับความสาเรจจในการพัฒนา ระบบคุณธรรมในการแต่งตั้ง ข้าราชการกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -ร้อยละของคะแนนการประเมิน ระดับพัฒนาการ ตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) -จานวนกระบวนการที่ได้รับการ ปรับปรุงและกาหนดมาตรฐาน การปฏิบัติงาน ( กระบวนการ) -ระดับความสาเรจจของการ จัดการองค์ความรู้ให้แก่บุคลากร กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช -ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของ ระดับความสาเรจจในการ ปรับปรุงคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐขั้นพื้นฐาน (FL) -ระดับความสาเรจจของการ ดาเนินการปรับปรุงโครงสร้าง องค์การและอัตรากาลังกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช -ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับ การพัฒนาด้านการปฏิบัติงาน ราชการตามแผนและภายใน ระยะเวลาที่กาหนด - ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับ การสนับสนุนการดาเนินงานของ หน่วยงาน กรมป่าไม้ - ร้อยละของหน่วยงานจัดทา รายงานผลการปฏิบัติงานและ ผลการใช้จ่ายรายเดือนและ รายไตรมาสตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่สานักงบประมาณ กาหนด -จานวนแนวทางการบริหาร ราชการที่ได้รับการพัฒนา (ด้าน)

-โครงการพัฒนาระบบคุณธรรม ในการแต่งตั้งข้าราชการ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -โครงการพัฒนาองค์การ สู่ความเป็นเลิศ

1.00

-

0.80

7.50

-โครงการปรับปรุงกระบวนการ และการกาหนดมาตรฐานการ ปฏิบัติงาน

1.50

7.50

- โครงการจัดการองค์ความรู้ ให้แก่บุคลากรของกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

0.60

3.00

- โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมรับการตรวจคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐขั้นพื้นฐาน (FL) - โครงการวิเคราะห์ปรับปรุง โครงสร้างองค์การและอัตรากาลัง ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

0.20

0.20

1.90

3.00

-กิจกรรมพัฒนาคุณภาพการ ปฏิบัติงานราชการ

5.00

15.00

2,636.39

8,647.15

201.24

623.14

2.05

10.72

-กิจกรรมอานวยการงานบริหาร กลาง -กิจกรรมอานวยการงาน แผนงานและสารสนเทศ

-โครงการพัฒนาระบบบริหาร ทช.

ปี 2559

ปี 2560 2564

สป.ทส. (สบก.)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 78 -

สผ.

อส.

ปม.

ทช.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 2 : การพัฒนา -จานวนระบบงานที่ได้รับการ องค์กรให้มีขีดสมรรถนะ พัฒนาปรับปรุงให้มีคุณภาพการ สูงและทันสมัย บุคลากร บริหารจัดการภาครัฐ (ระบบงาน) มีความเป็นมืออาชีพ (ต่อ) -จานวนกิจกรรมการเผยแพร่/ รณรงค์นโยบายด้านความ โปร่งใส (กิจกรรม)

-ร้อยละความสาเรจจของการ พัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น

กลยุทธ์ที่ 3 : การวางระบบการ บริหารงานราชการ แบบบูรณาการ

กลยุทธ์ที่ 4 : การยกระดับความโปร่งใส และสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาในการบริหาร ราชการแผ่นดิน

-ระดับความสาเรจจของผลการ ประเมินด้านการบริหารจัดการ องค์กร -ระดับความสาเรจจของการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์การ ลงสูร่ ะดับหน่วยงานและ ระดับบุคคล

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

-โครงการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ กรม ทรัพยากรธรณี

๐.๗๕

๔.๐๐

ทธ.

การสร้างธรรมาภิบาลภาย ในองค์กร - การฝึกอบรมให้ความรูค้ วาม เข้าใจเรื่องการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ -การทบทวนยุทธศาสตร์และ การประเมินผลการดาเนินงาน องค์การตามมาตรา 39 -การทดสอบความแขจงแกร่งของ ระบบเพื่อประเมินมาตรการ รักษาความปลอดภัยด้าน สารสนเทศ (IT Audit) -กิจกรรมสนับสนุนการบริหาร องค์กร โครงการพัฒนาสมรรถนะการ บริหาร

๑.๓0

๖.๕0

อสส.

2.20

3.00

อบก.

5.00

-

67.15

368.14

4.03

27.06

อสพ.

0.60

1.80

อส.

0.60

0.60

อส.

1.20

7.78

ทช.

- โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการถ่ายทอดตัวชี้วัด และค่า เป้าหมายจากระดับองค์การสู่ ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล (สาหรับหน่วยงานปฏิบัติในพื้นที่) ปีละ 800 คน 4 ปี -ระดับความสาเรจจของการจัดทา - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ คารับรองการปฏิบัติราชการ การจัดทาคารับรองการปฏิบัติ ของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า ราชการและเพิ่มประสิทธิภาพ และพันธุ์พืช การจัดทาคารับรองให้แก่หน่วยงาน และบุคคลากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 -ร้อยละของเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ -กิจกรรมรณรงค์ด้านจริยธรรม ความเข้าใจเรื่องคุณธรรม ธรรมาภิบาล เพื่อป้องกันการ จริยธรรม ทุจริต ประพฤติมิชอบในภาครัฐ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 79 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 4 : การยกระดับความโปร่งใส และสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาในการบริหาร ราชการแผ่นดิน (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-ร้อยละความสาเรจจของการ ดาเนินโครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับการป้องกันการทุจริต และประพฤติมิชอบ

-โครงการทบทวนและปรับปรุง แผนป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ และส่งเสริมคุ้มครองจริยธรรม 4 ปี (พ.ศ.2557–2560) และ ประจาปี พ.ศ. 2559 -โครงการเสริมสร้างความรู้ การป้องกันและปราบปราม การทุจริตและการดาเนินชีวิต ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง -ระดับความสาเรจจในการ - โครงการเสริมสร้างจิตสานึก เสริมสร้างคุณธรรมและความ การดาเนินงานด้วยระบบ โปร่งใสในการดาเนินงาน คุณธรรมเพื่อขวัญกาลังใจของ บุคลากรและความเชื่อมั่น ศรัทธาของประชาชน -ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกรม -กิจกรรมป้องกันปราบปรามการ ป่าไม้ มีความรู้ความเข้าใจในการ ทุจริตและประพฤติผิดมิชอบ ดาเนินการด้านการป้องกัน ในภาครัฐ ปราบปรามการทุจริต และ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ - ร้อยละของหน่วยงานได้รับการ - กิจกรรมอานวยการงาน ตรวจสอบตามแผนการ ตรวจสอบภายใน ตรวจสอบภายในประจาปีและ เป็นไปตามมาตรฐานที่ กรมบัญชีกลางกาหนด -ร้อยละความสาเรจจของการ - แผนปฏิบัติการป้องกันและ ดาเนินการตามแผนป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและ ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ และส่งเสริม ประพฤติมิชอบ และส่งเสริม คุ้มครองจริยธรรม ประจาปี คุ้มครองจริยธรรมของกรม งบประมาณ ทรัพยากรธรณี -ระดับความสาเรจจดาเนินงาน - โครงการการมีส่วนร่วมของ ด้านคุณธรรมและความโปร่งใส ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน การของหน่วยงาน การเป็นคณะกรรมการ ตรวจการจ้างโครงการสาคัญ - โครงการฝึกอบรมบุคลากร ด้านความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ตามหลักธรรมาภิบาล

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

0.25

1.00

0.20

0.80

-

-

อส.

1.30

4.30

ปม.

0.35

1.10

๐.๔๐

๒.๐๐

ทธ.

0.05

0.05

ทบ.

0.02

0.02

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 80 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 4 : การยกระดับความโปร่งใส และสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาในการบริหาร ราชการแผ่นดิน (ต่อ)

ตัวชี้วัด -จานวนบุคลากรในหน่วยงาน ได้รับความรู้ การปลูกจิตสานึก และตระหนักในการต่อต้านและ ปราบปรามการทุจริตในองค์กร ( ราย) -จานวนบุคลากรในหน่วยงานได้ เข้ารับการอบรม (ราย)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

-กิจกรรมอบรมบุคลากรเพื่อ เสริมสร้างองค์ความรู้ในการ ต่อต้านทุจริต

1.50

-

อ.อ.ป.

-กิจกรรมอบรมบุคลากร เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ปลุกจิตสานึกในการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตให้กับ เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการ ทุจริต - แผนปฏิบัติการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบและส่งเสริม คุ้มครองจริยธรรม

0.10

-

สพภ.

0.20

1.00

อจน.

0.19

1.35

-

-

1.00

5.00

1.00

5.00

-จานวนแผนปฏิบัติการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ และส่งเสริม คุ้มครองจริยธรรมทีส่ ามารถ นามาใช้ใน อจน. (แผน) - การดาเนินงานเรื่องการส่งเสริม - แผนปฏิบัติการส่งเสริม ธรรมาภิบาลทีเ่ ป็นรูปธรรม ธรรมาภิบาล สอดคล้องกับการเนินงานหลักการ บริหารจัดการที่ดี (เรื่อง) -ร้อยละของบุคลากรที่เข้ารับ -จัดทาและดาเนินงานตาม การอบรม/ศึกษางานการ แผนปฏิบัติการป้องกันและ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ปราบปรามการทุจริตและ และการดาเนินงานตามหลัก ประพฤติมิชอบและส่งเสริม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คุ้มครองจริยธรรม เป้าประสงค์ : พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและระบบการบริหารงานบุคคล กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนา -ร้อยละของบุคลากรทีผ่ ่านการ - โครงการฝึกอบรมหลักสูตร ศักยภาพ และขีดความ ฝึกอบรม(คน/ปี) ข้าราชการที่ดี สามารถของบุคลากร - โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนัก ทุกด้าน บริหารทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - โครงการฝึกอบรมสัมมนา ร่วมกับหลักสูตรภาษาอังกฤษ เพื่อการค้นคว้า และการสื่อสาร สาหรับใช้ปฏิบัติงาน - โครงการอบรมหลักสูตรการ จัดการเร่งด่วนด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงสาหรับ ทสจ.

อบก.

สป.ทส. (สพบ.)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 81 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนา ศักยภาพ และขีดความ สามารถของบุคลากรทุก ด้าน (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- โครงการอบรมหลักสูตรการเรียนรู้ ตามรอยพระยุคลบาท: เศรษฐกิจ พอเพียงวิชาครองงาน สาหรับ ข้าราชการในสังกัดกระทรวงฯ ที่มีอายุงานไม่เกิน 10 ปี - โครงการฝึกอบรมสัมมนา ร่วมกันเพื่อการเข้าสู่อาเซียน อย่างมีประสิทธิภาพของ ทสจ. -จานวนของเจ้าหน้าที่สานักการ -โครงการฝึกบินทบทวนตาม บินฯ ที่เข้ารับการฝึกอบรม มาตรฐานของเฮลิคอปเตอร์และ (คน/ปี) เครื่องบินปีกตรึง ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2559 -โครงการฝึกบินด้วยเครื่องวัด ประกอบการบิน -โครงการเพิ่มศักยภาพนักบิน เป็นครูการบิน -โครงการสร้างนักบินของ สานักการบินฯ -โครงการตรวจประเมินการซ่อม พัสดุอากาศยาน -ร้อยละของจานวนข้าราชการ - พัฒนาข้าราชการตามแผน ได้รับการพัฒนามีสมรรถนะที่ ยุทธศาสตร์การบริหารกาลังคน สอดคล้องตามบทบาทภารกิจงาน และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล -ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการ -โครงการพัฒนาทรัพยากร พัฒนา บุคคล - ร้อยละของบุคลากรกรมป่าไม้ -โครงการพัฒนาศักยภาพ ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ บุคลากรกรมป่าไม้ ของแผนการฝึกอบรมประจาปี กรมป่าไม้ - ร้อยละความพึงพอใจของ บุคลากรที่มีต่อการพัฒนา บุคลากรภายในภาพรวม ของกรมป่าไม้ - พัฒนาขีดความสามารถของ -โครงการเพิ่มศักยภาพ บุคลากรเพื่อเพิ่มศักยภาพงาน งานเพาะชากล้าไม้ เพาะชากล้าไม้ในระดับพื้นที่ (คน/แห่ง) -ร้อยละของกิจกรรมทีร่ ับจัดสรร -โครงการเพิ่มศักยภาพ งบประมาณเพื่อเพิ่มศักยภาพ การจัดการงานป่าไม้ การจัดการงานป่าไม้

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

1.50

10.00

2.91

14.55

0.60

3.00

0.50

2.50

4.30

21.50

0.78

3.91

3.00

18.00

สผ.

3.05

15.30

คพ.

9.71

39.56

ปม.

61.79

-

53.19

-

สป.ทส. (สกบ.)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 82 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนา ศักยภาพ และขีดความ สามารถของบุคลากร ทุกด้าน (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-จานวนบุคลากรที่ได้รับการ - กิจกรรมงานพัฒนาบุคลากร พัฒนาความรู้ความสามารถ และจริยธรรมตามแผน (รุ่น/คน) -ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการ -กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ พัฒนา บุคลากรเพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง -ร้อยละของทรัพยากรบุคคล - โครงการฝึกอบรมด้านการ ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะ พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่ - โครงการฝึกอบรมสมรรถนะ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ - โครงการฝึกอบรม ด้านวิชาการ - โครงการฝึกอบรมด้านพัฒนา สมรรถนะและการบริหาร ทรัพยากรบุคคล - โครงการฝึกอบรมด้านการ พัฒนาทักษะและการสร้าง ความพร้อม - โครงการฝึกอบรมด้านการ พัฒนาภาวะผู้นาและการบริหาร - โครงการฝึกอบรมด้านการ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม - โครงการฝึกอบรมด้านการ พัฒนากระบวนทัศน์และ คุณลักษณะข้าราชการ - โครงการฝึกอบรมด้านการ เสริมสร้างและการพัฒนา คุณภาพชีวิต -จานวนบุคลากร ได้รับการ - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร พัฒนาด้านการบริหารจัดการ และพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ทรัพยากรน้า (คน) ด้านน้า - ร้อยละของบุคคลที่ได้ผ่านการ -โครงการพัฒนาบุคลากรและ พัฒนาตามเกณฑ์ที่กาหนด ระบบงาน - ร้อยละความพึงพอใจของ บุคลากรที่มีต่อแผนการ สร้างความก้าวหน้าของสายงาน - ร้อยละของบุคลากรทีผ่ ่าน ระดับของขีดสมรรถนะที่ ส่วนราชการกาหนด

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

52.66

447.11

อส.

12.57

65.00

ทช.

๐.๔๕

๒.๕๐

ทธ.

๐.๗๒

๔.๐๐

๑.๑๓

๔.๐๐

๐.๓๘

๒.๐๐

๐.๕๖

๓.๐๐

๐.๙๒

๕.๐๐

๐.๓๑

๑.๖๐

๐.๒๒

๑.๕๐

๐.๕๓

๓.๐๐

4.34

22.00

ทน.

2.89

10.00

ทบ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 83 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนา ศักยภาพ และขีดความ สามารถของบุคลากร ทุกด้าน (ต่อ)

ตัวชี้วัด - ร้อยละของการจัดทาแผน อัตรากาลังครบทุกตาแหน่งงาน -ร้อยละของความสาเรจจการ จัดทา KPI และ Competency -จานวนการฝึกอบรมเรื่องการ บริหารจัดการแบบมี ธรรมาภิบาล (ครัง้ ) - ร้อยละของจานวนบุคลากรที่ เข้ารับการฝึกอบรมตาม หลักสูตรที่กาหนด -ระดับความสาเรจจของการ ดาเนินงานตามแผนบริหาร จัดการทรัพยากรบุคคล -ระดับความสาเรจจของโครงการ ที่มีการจัดการฝึกอบรมตาม เส้นทางฝึกอบรม -ระดับความสาเรจจของการประเมิน ด้านการบริหารจัดการองค์กร -ร้อยละของบุคลากรทีผ่ ่านการ ฝึกอบรม (คน/ปี) -ร้อยละของจานวนบุคลากรที่ ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนา ทรัพยากรบุคคล

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา อัตรากาลัง และเส้นทาง ความก้าวหน้าของ บุคลากร

-จานวนแผนกาลังคนและ ดาเนินการตามแผน

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

- โครงการเสริมสร้างและพัฒนา สมรรถนะบุคลากรขององค์กร

7.00

46.92

อจน.

- การพัฒนาบุคลากร

๖.๖๖

๓๓.๓0

อสส.

-โครงการจัดการฝึกอบรมตาม เส้นทางฝึกอบรม (Training Roadmap ประจาปี 2559) -โครงการพัฒนาทรัพยากร บุคคล -การพัฒนาขีดความสามารถของ บุคลากร และระบบบริหารงาน บุคคล อบก. -กิจกรรมพัฒนาบุคลากรตาม แผนที่กาหนด -กิจกรรมอบรมพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษ - จัดทาแผนยุทธศาสตร์การ บริหารกาลังคนและการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล - ดาเนินการตามแผนแผน ยุทธศาสตร์การบริหารกาลังคน และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล - จัดทาเส้นทางความก้าวหน้า

1.50

7.50

อ.อ.ป.

1.50

10.07

อสพ.

0.86

4.34

อบก.

0.70

5.00

สพภ.

0.30

-

0.10

0.50

สผ.

0.40

1.20

ปม.

-จานวนแนวทางเส้นทาง ความก้าวหน้า (แผน) -ระดับความสาเรจจของการจัดทา - การจัดทาและทบทวนแผน แผนกลยุทธ์การบริหาร กลยุทธ์การบริหารทรัพยากร ทรัพยากรบุคคล บุคคล -ระดับความสาเรจจของการ ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ บริหารทรัพยากรบุคคล

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 84 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา -ระดับความสาเรจจการปรับปรุง อัตรากาลัง และเส้นทาง คาบรรยายลักษณะงานครบทุก ความก้าวหน้าของ ตาแหน่งงานของกรมป่าไม้ บุคลากร (ต่อ) -จานวนสายงานที่จัดทาเส้นทาง ความก้าวหน้าในอาชีพของ ข้าราชการกรมป่าไม้ (สายงาน) -ระดับความสาเรจจของการ พัฒนาและทบทวนสมรรถนะ ของบุคลากรกรมป่าไม้ -ระดับความสาเรจจในการพัฒนา และจัดทาแผนอัตรากาลัง

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

- โครงการทบทวนคาบรรยาย ลักษณะงาน (Job Description : JD)

0.50

2.00

- โครงการจัดทาเส้นทาง ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) - โครงการพัฒนาและทบทวน Competency

0.40

0.80

0.30

0.60

- จัดทาแผนอัตรากาลังของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - โครงการจัดทาเส้นทาง ความก้าวหน้าในสายงาน

0.90

-

0.34

-

1.00

-

0.55

2.50

ทช.

-

-

ทธ.

28.79

143.98

42.43

212.16

0.50

2.54

170.00

850.00

41.84

209.20

-ระดับความสาเรจจในการกาหนด เส้นทางความก้าวหน้าใน สายอาชีพ -ระดับความสาเรจจในการส่งเสริม - โครงการพัฒนาส่งเสริม คุณภาพชีวิตของบุคลากร คุณภาพชีวิต -ระดับความสาเรจจของการ -โครงการปรับปรุงแผนกลยุทธ์ ปรับปรุงแผนกลยุทธ์การบริหาร การบริหารทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรบุคคล -ระดับความสาเรจจของการ - โครงการพัฒนาอัตรากาลัง พัฒนาอัตรากาลัง และเส้นทาง และเส้นทางความก้าวหน้า ความก้าวหน้าของบุคลากรกรม ของบุคลากรกรมทรัพยากรธรณี ทรัพยากรธรณี เป้าประสงค์ : จัดหาเครื่องมือและสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดหา -ระดับความสาเรจจของโครงการ 1. โครงการจัดหาวัสดุอากาศ เครื่องมือและสิง่ อานวย ตามเป้าหมายที่กาหนด ยานประจาปี (6 รายการ/ปี) ความสะดวก 2. โครงการจัดหาวัสดุน้ามัน เชื้อเพลิงอากาศยานประจาปี (13 ลา/ปี) 3. โครงการจัดหาเครื่องมือ พิเศษซ่อมบารุงอากาศยาน (9 รายการ/ปี) 4. โครงการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ 1 เครื่องยนต์ พร้อมกล้องถ่ายภาพ ทางอากาศ (จานวน 1 ลา/ปี) 5. โครงการจัดจ้างค่าซ่อมใหญ่ อากาศยาน (15 รายการ/ปี)

ปม.

อส.

สป.ทส. (สกบ.)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 85 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดหา เครื่องมือและสิง่ อานวย ความสะดวก (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 6. โครงการจัดซื้ออุปกรณ์หลัก อากาศยาน (8 รายการ/ปี)

7. โครงการก่อสร้างโรงเกจบและ ลานจอดอากาศยาน พร้อมปรับ พื้นที่และเทคอนกรีต บริเวณอาคารโรงจอดเครื่องบิน และถนนเข้าอาคาร(1 แห่ง/ปี) -จานวนครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง -โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ ที่จัดหา (รายการ) บริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเล -จานวนเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ -จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ สิง่ ได้รับการจัดหาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ อานวยความสะดวก ในการปฏิบัติงาน (รายการ) -ระดับความสาเรจจของร้อยละ -โครงการจัดซื้อชุดเจาะสารวจ เฉลี่ยถ่วงน้าหนักในการจัดหา และพัฒนาแหล่งน้าบาดาล เครื่องมือและสิง่ อานวยความ ระดับลึกพร้อมอุปกรณ์ สะดวกที่จาเป็นอย่างเพียงพอ -จานวนครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง -การจัดทามาตรฐาน และ เพิ่มประสิทธิภาพในการ คลังข้อมูลด้านธรณีวิทยาและ ปฏิบัติงาน (รายการ) ทรัพยากรธรณี -การจัดทานโยบาย แผน มาตรการ แนวทางและข้อเสนอการบริหาร จัดการทรัพยากรธรณี - การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ ซากดึกดาบรรพ์ ธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา - การให้บริการด้านธรณีวิทยา และทรัพยากรธรณี -จานวนเครื่องมือและสิ่งอานวย - การจัดหาเครื่องมือและ ความสะดวกที่จัดหาเพื่อเพิ่ม สิ่งอานวยความสะดวกเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (รายการ) -ร้อยละของการใช้จ่าย -แผนจัดซื้อทรัพย์สิน เครื่องจักร งบประมาณในการจัดซื้อ อุปกรณ์ ตามงบประมาณ เครื่องมือ และสิง่ อานวย ความสะดวก -จานวนการจัดหาครุภัณฑ์และ -การจัดหาครุภัณฑ์และปรับปรุง การปรับปรุงพื้นที่ (รายการ) พื้นที่

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

6.79

33.99

สป.ทส. (สกบ.)

32.50

162.50

368.16

1840.50

ทช.

378.62

1,893.00

ทน.

342.00

342.00

ทบ.

๐.๖๓

๒.๙๘

ทธ.

๐.๙๓

-

๐.๙๓

๕๑.๘๖

๒๖.๙๑

-

๒๕.๒๕

๑๒๖.๒๙

อสส.

59.86

80.21

อ.อ.ป.

2.07

-

อบก.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 86 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดหา เครื่องมือและสิง่ อานวย ความสะดวก (ต่อ)

ตัวชี้วัด -จานวนครุภัณฑ์ที่จัดหา (รายการ)

-จานวนแบบมาตรฐาน ขนาดเลจก ของระบบบาบัดน้า เสียที่มีการพัฒนา(ขนาด)

กลยุทธ์ที่ 2 : ปรับปรุง -ร้อยละความสาเรจจในการ ซ่อมแซมและพัฒนา ดาเนินการโครงการก่อสร้าง เครื่องมือและสิง่ อานวย สานักงานใหม่ สผ. ความสะดวก ให้มีสภาพ พร้อมใช้งาน - จานวนแบบแปลนอาคารศูนย์ จัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ (แปลน) -ร้อยละของเครื่องจักรกล ก่อสร้างและยานพาหนะที่ใช้ งานได้ตามปกติ -จานวนครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ที่ปรับปรุงซ่อมแซม (รายการ) -จานวนครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง ที่ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ มีสภาพพร้อมใช้งาน(รายการ) -จานวนแบบมาตรฐานขนาดเลจก ของระบบบาบัดน้าเสียที่มีการ พัฒนา (ขนาด) -จานวนสิ่งอานวยความสะดวกที่ ได้รับการปรับปรุง ซ่อมแซมและ พัฒนา (รายการ) เป้าประสงค์ : ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบให้ทันสมัย กลยุทธ์ที่ 1 : ปรับปรุง -ร้อยละของการดาเนินงานตาม และพัฒนากฎหมาย โครงการ ภายในระยะเวลา ที่กาหนด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -กิจกรรมจัดหาครุภัณฑ์ สานักงานและครุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ ให้เพียงพอกับ อัตรากาลังและดาเนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - โครงการจัดหาอุปกรณ์ระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ องค์กร - โครงการจัดหาที่ดินเพื่อเป็น ที่ทาการถาวร - การดาเนินงานทั่วไป -โครงการก่อสร้างอาคาร สานักงานใหม่ สผ.

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

1.38

5.00

สพภ.

2.50

8.00

อจน.

10.92

-

101.00 -

593.51 430.00

สผ.

-โครงการก่อสร้างศูนย์จัดการ ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้

6.00

-

ปม.

- กิจกรรมงานบริการวิศวกรรม ป่าไม้

3.10

20.81

อส.

-โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเล -โครงการสนับสนุนอานวยการ ด้านการบริหารจัดการองค์กร

27.66

138.50

ทช.

8.32

4.70

คพ.

- โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศขององค์กรเพื่อการ บริหารจัดการน้าเสีย - การพัฒนาสิ่งอานวยความ สะดวกเพื่อการบริการ

2.20

8.00

อจน.

๔๖.๗0

๒๓๓.๕0

อสส.

7.00

-

ปม.

-โครงการจัดทาประมวล กฎหมายว่าด้วยการป่าไม้

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 87 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-จานวนกฎหมายว่าด้วยความ ปลอดภัยทางชีวภาพที่ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา (ฉบับ)

- ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วย ความปลอดภัยทางชีวภาพ ของเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ พ.ศ. .... -จานวนกฎระเบียบที่พัฒนาและ -โครงการพัฒนาและปรับปรุง ปรับปรุงแล้วเสรจจและได้รับ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ ความเหจนชอบจากคณะกรรมการ ความหลากหลายทางชีวภาพ ที่เกี่ยวข้องและนาเสนอเข้าสู่การ และความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณาของคณะรัฐมนตรี และการเข้าถึงและแบ่งปัน (เรื่อง) ผลประโยชน์ -จานวนกฎหมายที่ได้พิจารณา - ยกร่างพระราชกฤษฎีกา ยกร่างแล้วเสรจจ (ฉบับ) กฎกระทรวงประกาศ ระเบียบฯลฯ ที่ออกตามร่างพระราชบัญญัติ อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. .... และ ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการ อนุรักษ์สัตว์ป่า พ.ศ. ... -จานวนกฎหมายที่ได้พิจารณารับ - ประชุมพิจารณารับฟังความ ฟังความคิดเหจนแล้วเสรจจ (ฉบับ) คิดเหจนต่อร่างพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงประกาศ ระเบียบ ฯลฯ -จานวนอนุบัญญัติ และ -กาหนดอนุบัญญัติ และ มาตรการที่กาหนดและ มาตรการรองรับ พ.ร.บ. ทช. ประกาศใช้ (อนุบัญญัติ/มาตรการ) -ระดับความสาเรจจของการ - โครงการปรับปรุงกฎหมายว่า ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการ ด้วยการคุ้มครองซากดึกดาบรรพ์ คุ้มครองซากดึกดาบรรพ์ -จานวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ -การศึกษาและยกร่างอนุบัญญัติ ทีผ่ ่านการพิจารณาและนาไปสู่ ที่ออกตามร่างพระราชบัญญัติ การปฏิบัติ (เรื่อง) ทรัพยากรน้า พ.ศ. .... -จานวนระเบียบข้อบังคับที่ได้รับ - การปรับปรุงระเบียบข้อบังคับ การปรับปรุงให้ทันสมัย (เรื่อง) ให้ทันสมัย สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน -พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ -กิจกรรมการปรับปรุง อุตสาหกรรมป่าไม้ พ.ศ. 2499 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การ ได้รับการแก้ไขตามวัตถุประสงค์ อุตสาหกรรมป่าไม้ ขอปรับปรุงแก้ไข (ฉบับ) -จานวนกฎระเบียบ ข้อบังคับ -การปรับปรุงกฎ ระเบียบ ขององค์การทีไ่ ด้รับการปรับปรุง ข้อบังคับ ขององค์การให้ทันสมัย (เรื่อง )

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

-

-

1.00

5.00

5.00

-

-

1.00

3.00

15.00

ทช.

-

-

ทธ.

6.00

30.00

ทน.

-

-

อสส.

-

-

อ.อ.ป.

-

-

อบก.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 88 -

สผ.

อส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- จานวนพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง องค์การจัดการน้าเสียที่มีการ แก้ไข (ฉับบ/เรื่อง) - จานวนการออกข้อบังคับ หลักเกณฑ์การจ่ายเงินโบนัส (เรื่อง)

1. การแก้ไขพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งองค์การจัดการน้าเสีย พ.ศ. 2538 มาตรา 26 วรรค 2 เพื่อให้ผู้รักษาการแทน ผู้อานวยการองค์การจัดการน้า เสียมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับ ผู้อานวยการองค์การจัดการ น้าเสีย รวมทั้งในฐานะกรรมการ 2. การออกข้อบังคับ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายเงินโบนัส เพื่อให้สอดคล้องกับมติ คณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 3. ปรับโครงสร้างอัตราค่าจ้าง รัฐวิสาหกิจให้สอดคล้องกับมติ คณะรัฐมนตรี วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 -กิจกรรมจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญาและแก้ไขข้อขัดข้องด้าน กฎหมาย (ส่งเสริม สนับสนุนและดาเนินการ พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ / ป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ละเมิดสิทธิประโยชน์ในทาง การค้า) -กิจกรรมบริหารจัดการ งานนิติกร

-จานวนเครื่องมือ กลไก และ กฎระเบียบที่มีการพัฒนาหรือ ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ (เรื่อง)

กลยุทธ์ที่ 2 : การบังคับ ใช้กฎหมาย

-ร้อยละของการดาเนินงาน เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ ภาครัฐต่างๆ ที่เกี่ยวข้องใน กิจการของกรมป่าไม้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด -ร้อยละของผู้เกี่ยวข้องกับ พระราชบัญญัติส่งเสริมการ บริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. .... ได้รับการสร้างความรู้ ความเข้าใจ -ร้อยละของแหล่งกาเนิด เป้าหมายปฏิบัติตามกฎหมาย

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

-

-

อจน.

1.60

5.00

สพภ.

10.00

37.70

ปม.

-กิจกรรมการดาเนินงานตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมและ บริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง

20.70

102.50

ทช.

-โครงการตรวจสอบและบังคับ การตามกฎหมายกับ แหล่งกาเนิดมลพิษ

19.82

99.20

คพ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 89 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าประสงค์ : พัฒนาองค์ความรู้และการจัดการจากการวิจัยและพัฒนา กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริม -จานวนงานวิจัยทรัพยากรทาง -โครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา งานวิจัยด้านทรัพยากร ทะเลและชายฝั่งที่ดาเนินการ องค์ความรู้ในการจัดการ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (เรื่อง) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง -จานวนผลงานวิจัย องค์ความรู้ -กิจกรรมวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม ประโยชน์ได้ (เรื่อง) -จานวนโครงการวิจัยที่ได้ -แผนวิจัยและพัฒนาสวนป่า ดาเนินการ (โครงการ) เศรษฐกิจ -ระดับความสาเรจจของการ - แผนงาน/โครงการวิจัยของ ดาเนินงานวิจัยด้านทรัพยากร ทุกหน่วยงานในสังกัด ทส. ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจาปี พ.ศ. 2558 - จานวนองค์ความรู้งานวิจัย - กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ด้านป่าไม้ (เรื่อง) งานวิจัยด้านป่าไม้ - จานวนองค์ความรู้งานวิจัย - กิจกรรมวนวัฒนวิจัย ด้านป่าไม้ (เรื่อง) - จานวนองค์ความรู้งานวิจัย - กิจกรรมวิจัยเศรษฐกิจป่าไม้ ด้านป่าไม้ (เรื่อง) - กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการใช้ ประโยชน์ไม้สวนป่าเชิงพาณิชย์ และอุตสาหกรรม - กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการใช้ ประโยชน์ไม้ และผลิตผลป่าไม้ - กิจกรรมพัฒนาการใช้วัสดุ ทดแทนไม้ -จานวนงานวิจัยด้านการอนุรักษ์ป่า -กิจกรรมการวิจัยด้านการป่าไม้ ไม้และสัตว์ป่า (โครงการ) และสัตว์ป่า -จานวนผลงานวิจัยด้าน - โครงการพัฒนาองค์ความรู้และ ทรัพยากรน้า (เรื่อง) เทคโนโลยี -จานวนงานวิจัยด้านเทคโนโลยี - งานวิจัยด้านเทคโนโลยีการ การจัดการน้าเสีย (โครงการ) จัดการน้าเสีย -จานวนโครงการเสริมสร้าง - การวิจัยเพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟู ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและ ประชากรสัตว์ป่า พัฒนา (โครงการ) - ร้อยละของของพรรณไม้ที่มี -การศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ การกระจายพันธุ์ในประเทศไทย ความรู้ทางด้านพืชและความ - จานวนผลงานทางวิชาการ หลากหลายทางชีวภาพ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสาร สากล (เรื่อง)

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

78.23

364.75

ทช.

75.75

453.15

สส.

1.40

8.10

อ.อ.ป.

-

-

สป.ทส. (สนย.)

52.88

182.70

32.16

123.57

4.88

21.31

27.48

120.02

39.69

133.22

30.98

121.43

36.08

242.36

อส.

42.08

210.00

ทน.

2.00

8.00

อจน.

๒๔.๙๔

๑๒๔.๗๓

อสส.

12.25

109.47

อสพ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 90 -

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ จากงานวิจัยด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลง

ตัวชี้วัด -จานวนชุมชนเครือข่าย องค์กร เอกชนและภาครัฐที่ได้รับการ ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี งานวิจัยด้านป่าไม้ (ภาค) -จานวนการให้บริการและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน พฤกษศาสตร์ป่าไม้ (ครั้ง) - จานวนการให้บริการและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการ อนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า (ครั้ง) - ร้อยละของความพึงพอใจของ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนา ถ่ายทอดและใช้ประโยชน์องค์ ความรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้ และสัตว์ป่า -ร้อยละของจานวนงานวิจัย ที่มีการเผยแพร่ ได้รับการพัฒนา และนาไปประยุกต์ใช้ -จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ การถ่ายทอดองค์ความรู้และ นวัตกรรมจากงานวิจัย (คน) -ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมาย ที่มีความพึงพอใจในการนาองค์ ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ - ร้อยละขององค์กรใน กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ข้อมูลสถานการณ์สิ่งแวดล้อม ของประเทศ - ระดับความพึงพอใจต่อข้อมูล ความรู้ของผู้ใช้ข้อมูลสถานการณ์ฯ -ร้อยละของจานวนผู้มาใช้ บริการองค์ความรู้ ด้านอนุกรมวิธาน - ร้อยละของระบบการจัดการองค์ ความรู้และสารสนเทศด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ทันสมัย เอื้อต่อการเข้าถึงและ การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ บริหารจัดการตามประเดจน ยุทธศาสตร์ของสานักงานฯ

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

- กิจกรรมพัฒนาและถ่ายทอด เทคโนโลยี

25.34

104.74

ปม.

- กิจกรรมพฤกษศาสตร์ป่าไม้

107.46

961.27

อส.

99.42

563.66

1.50

6.00

ทช.

134.97

728.80

สส.

10.00

50.00

สผ.

-

-

0.70

3.50

- กิจกรรมบริหารจัดการวิชาการ ด้านป่าไม้และสัตว์ป่า

-โครงการเผยแพร่องค์ความรู้ งานวิจัยทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง -กิจกรรมบริหารจัดการและ เผยแพร่งานวิจัย

- โครงการจัดทาระบบจาแนก สถานภาพลุ่มน้าของประเทศ ไทย (Watershed Condition Classification) (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) - ทบทวนทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังในประเทศไทย - โครงการจัดทาแผนแม่บทการ จัดการความรู้ และทบทวน ปรับปรุงแผน - กิจกรรมการจัดการความรู้ และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 91 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ จากงานวิจัยด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ -จานวนผลงานวิจัยและองค์ และสิ่งแวดล้อมให้ทัน ความรู้ที่สามารถนาไปใช้ ต่อการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) ประโยชน์ได้ (เรื่อง) - จานวนงานวิชาการและ งานวิจัยที่เผยแพร่ผ่านช่องทาง ต่างๆ (ฉบับ) -ร้อยละของผู้ของผู้เข้ารับ การอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจ เพิ่มขึ้นในเรื่องการจัดการก๊าซ เรือนกระจก - จานวนองค์ความรู้ที่สามารถ ใช้ประโยชน์ในการเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจ (เรื่อง)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

- กิจกรรมการพัฒนา สร้าง รวบรวม รักษาองค์ความรู้ - โครงการพัฒนาเวจบไซต์ เผยแพร่องค์ความรู้ด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - โครงการประสานงานและ บูรณาการเพื่อบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม - โครงการศึกษาการระบาย สารมลพิษจากแหล่งกาเนิด - สร้างความเป็นเลิศในการวิจัย เพื่อการพัฒนาสวนสัตว์

0.50

4.00

0.50

2.50

2.60

13.00

1.00

-

๑.๘0

๙.๐๐

อสส.

โครงการเสริมสร้างศักยภาพ หน่วยงานภาครัฐ ในการ ดาเนินงานตามแผนการลดก๊าซ เรือนกระจกที่เหมาะสมของ ประเทศ -โครงการส่งเสริมและสนับสนุน การใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยจาก ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อ การพัฒนาเศรษฐกิจ

4.00

27.50

อบก.

388.89

1,500.00

สพภ.

100.00

สป.ทส. (ศทส.)

- จานวนเครือข่ายในการใช้องค์ ความรู้พัฒนาผลิตภัณฑ์และ บริการจากฐานชีวภาพ (เครือข่าย) เป้าประสงค์ : พัฒนาเครือข่าย การสื่อสาร และระบบฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 1 : จัดหา - ระดับความสาเรจจของร้อยละ - โครงการจัดหาครุภัณฑ์ 48.61 อุปกรณ์ โครงข่ายด้าน เฉลี่ยถ่วงน้าหนักในการจัดหา คอมพิวเตอร์เพื่อทดแทนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ โครงข่าย สานักงานปลัดกระทรวง และการสื่อสาร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและ และการสื่อสาร สิ่งแวดล้อม ประจาปี งบประมาณ 2559 (แผนบูรณาการการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร)

สผ.

คพ.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 92 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 1 : จัดหา อุปกรณ์ โครงข่ายด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ต่อ)

- จานวนหน่วยงานที่มีการใช้ ระบบเครือข่ายคอมฯ และ ระบบงานบนเครือข่ายตลอดจน ใช้ระบบอินเตอร์เนจตในการ ค้นหาข้อมูลของหน่วยงาน ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค (หน่วยงาน/ด่าน/ศูนย์) -ระดับความสาเรจจของร้อยละ ของจานวนอุปกรณ์โครงข่าย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร -จานวนเครือข่ายระบบ คอมพิวเตอร์และระบบความ ปลอดภัยด้านสารสนเทศและ บุคลากรได้รับการอบรมความรู้ ด้านสารสนเทศ(ระบบ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - โครงการปรับปรุงโครงข่าย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (แผนบูรณาการการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร) - โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการข้อมูลและ บริการอิเลจกทรอนิกส์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับจังหวัด (แผนบูรณาการการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร) - โครงการจัดหาบริการสื่อสาร โทรคมนาคมและวัสดุ คอมพิวเตอร์ของ สป.ทส. - โครงการสนับสนุนการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

-กิจกรรมพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร -แผนพัฒนาระบบและบุคลากร ด้านเครือข่ายระบบคอมพิวเตอร์ และระบบความปลอดภัย ด้านสารสนเทศ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

7.00

35.00

สป.ทส. (ศทส.)

68.60

500.00

24.10

120.50

14.75

73.76

34.58

2,244.42

อส.

0.91

5.50

ทช.

65.00

-

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 93 -

อ.อ.ป.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดหา อุปกรณ์ โครงข่ายด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ต่อ)

ตัวชี้วัด

-ร้อยละของระบบสารสนเทศ ด้านอุปกรณ์ Hardware ที่เสื่อมสภาพมีจานวนลดน้อยลง -ร้อยละของค่าใช้จ่ายในการดูแล รักษาอุปกรณ์ทางด้าน Hardware ลดลง กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา -ร้อยละของความสาเรจจในการ ระบบเทคโนโลยี พัฒนาฐานข้อมูลทรัพยากร สารสนเทศและการสื่อสาร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ และระบบฐานข้อมูล ระบบบูรณาการติดตามและ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ประเมินผล และสิ่งแวดล้อม

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

-โครงการจัดหาอุปกรณ์ระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการองค์กร

-โครงการพัฒนาฐานข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และระบบบูรณา การติดตามและประเมินผล (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) - โครงการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศแบบ บูรณาการของหน่วยงานภายใน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม -ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย 1. กลไกการเผยแพร่ข้อมูล ได้รับความรู้ข้อมูลสถานการณ์ ข่าวสารความหลากหลายทาง ชีวภาพระดับชาติ (Thailand Biodiversity Clearing-house Mechanism: CHM) 2. การเสริมสร้างสมรรถนะและ เชื่อมโยงเครือข่ายกลไกการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความหลากหลายทางชีวภาพ 3. เชื่อมโยงข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพทาง ชีวภาพกับศูนย์ข้อมูล ทส. -จานวนฐานข้อมูลความหลากหลาย -ประเมินสถานภาพความ ทางชีวภาพในพื้นที่วิกฤติทาง หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ ความหลากหลายทางชีวภาพ วิกฤติทางความหลากหลาย (จานวนฐานข้อมูล) ทางชีวภาพ -ร้อยละของความสาเรจจในการ 1. โครงการพัฒนาและปรับปรุง จัดให้มีระบบเทคโนโลยี ประสิทธิภาพระบบเครือข่าย สารสนเทศและการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามมาตรฐานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวง 2. โครงการจัดหาครุภัณฑ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม และทดแทน สื่อสาร อุปกรณ์เดิมที่ชารุดและล้าสมัย

ปี 2560 2564

2.50

8.00

109.00

174.00

-

หน่วยงาน รับผิดชอบ

อจน.

สป.ทส. (ศทส.)

100.00

1.00

5.00

0.50

2.50

0.10

0.50

5.00

25.00

1.75

41.50

9.00

10.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 94 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และระบบฐานข้อมูล ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

ร้อยละของความสาเรจจในการ พัฒนาฐานข้อมูลทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม (คน)

- จานวนระวางแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 ที่ได้รับการถ่ายทอด และรับรองแนวเขตป่าสงวน แห่งชาติ (ระวาง)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3. โครงการบารุงรักษารักษา ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. โครงการซ่อมแซมและ บารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย 5. โครงการพัฒนาการใช้ มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูล ตามกรอบแนวทางการเชื่อมโยง รัฐบาลอิเลจกทรอนิกส์แห่งชาติ (Thailand e-Government Interoperability Framework -TH e-GIF) 6. โครงการพัฒนาศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร และ War Room ของสานักงานฯ 1. โครงการพัฒนาศูนย์ ปฏิบัติการระดับกรม (Department Operation Center : DOC) 2. โครงการพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลและ Moblie Application มรดกโลกของ ประเทศไทย 3. โครงการพัฒนาระบบงาน (Application) เพื่อยกระดับการ ให้บริการประชาชนด้านการ เผยแพร่ข้อมูลทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -กิจกรรม พัฒนาข้อมูลระบบ สารสนเทศและการให้บริการ -กิจกรรม พัฒนาขีด ความสามารถด้านเทค โนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม -โครงการถ่ายทอดและรับรอง แนวเขตป่าสงวนแห่งชาติลงใน ระวางแผนที่มาตราส่วน 1:4,000

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

2.00

12.50

0.50

3.00

-

3.00

-

10.00

4.50

25.00

4.00

5.00

-

25.00

102.67

614.25

26.24

134.30

145.00

-

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 95 -

สผ.

สส.

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และระบบฐานข้อมูล ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- จานวนระบบข้อมูลสารสนเทศ ป่าไม้ได้รับการปรับปรุง (ระบบ) -ร้อยละของระบบสารสนเทศป่า ไม้ได้รับการพัฒนาตามเป้าหมาย ที่กาหนด

-กิจกรรมปรับปรุงข้อมูล สารสนเทศภูมศิ าสตร์ป่าไม้ - กิจกรรมพัฒนาระบบสารสนเทศ ป่าไม้

-จานวนพื้นที่ที่กรมป่าไม้ รับผิดชอบได้รับการปรับปรุง ข้อมูลการบุกรุกทาลายป่า (ล้านไร่) - ร้อยละของการใช้ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ติดต่อ สื่อสารข้อมูลการใช้ระบบงาน/ ระบบข้อมูลบนเครือข่ายคอมฯ ตลอดจนการใช้ระบบอินเตอร์เนจต ในการค้นหาข้อมูล - จานวนครั้งที่มีการเรียกใช้ ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ครั้ง) - ร้อยละของผู้ใช้บริการมีความ พึงพอใจในการใช้บริการข้อมูล -จานวนชั้นข้อมูลที่สามารถ นาไปใช้เพื่อการบริหารจัดการ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (ระบบภูมิสารสนเทศ) - จานวนชนิดพรรณพืชได้รับ การบันทึกในฐานข้อมูล (ชนิด) - จานวนข้อมูลที่บันทึกลงใน ฐานข้อมูลความหลากหลายทาง ชีวภาพในพื้นทีอ่ นุรักษ์ (รายการ) - ร้อยละของความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการฐานข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพ -จานวนระบบและฐานข้อมูลที่มี การพัฒนา (ระบบ) -จานวนระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการจัดการด้าน ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ได้รับการพัฒนา (ระบบ)

- กิจกรรมเฝ้าระวังการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

5.41

22.16

64.30

196.20

3.81

20.65

- กิจกรรมพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

20.52

102.62

- กิจกรรมจัดทาฐานข้อมูล

48.12

255.44

- กิจกรรมพัฒนาภูมิสารสนเทศ

7.85

140.97

- กิจกรรมพรรณพฤกษชาติ ประเทศไทย - กิจกรรมบริหารจัดการ ความหลากหลายทางชีวภาพ

4.49

30.20

39.39

264.53

29.14

39.50

ทช.

๑๒.๘๐

๑๑๑.๕๑

ทธ.

กิจกรรมพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร - โครงการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการจัดการด้าน ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 96 -

ปม.

อส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และระบบฐานข้อมูล ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

กลยุทธ์ที่ 3 : เพิ่มประสิทธิภาพระบบ พยากรณ์เตือนภัย

ตัวชี้วัด -จานวนระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายสารสนเทศ ขององค์กร ได้รับการบารุงรักษา (ระบบ) -จานวนระบบ เครือข่าย การสื่อสาร และระบบ ฐานข้อมูล ได้รับการพัฒนาและเพิ่ม ประสิทธิภาพ (ระบบ) -จานวนระบบฐานข้อมูลที่ได้รับ การพัฒนาตามมาตรฐานและ เป้าหมายของกระทรวงและกรม (ระบบ) -ร้อยละความสาเรจจในการ พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร -จานวนระบบ/ฐานข้อมูลที่ได้รับ การจัดทาและพัฒนารองรับการ บริหารจัดการองค์กร (ระบบ/ฐานข้อมูล) -จานวนฐานข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ สวนป่า (แห่ง) -จานวนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์, วัสดุคอมพิวเตอร์ และการ บริการสื่อสาร (รายการ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

- งานบริหารระบบสารสนเทศ ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

๙.๔๗

๔๗.๓๘

ทธ.

- เพิ่มประสิทธิภาพระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารที่เหมาะสมในการบริหาร จัดการทรัพยากรน้า -โครงการการพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลขององค์กร

78.00

390.00

ทน.

15.00

34.75

ทบ.

-โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร - การพัฒนาระบบสารสนเทศ

10.75

53.78

คพ.

๖.๖0

๓๓.๐0

อสส.

- จัดทาฐานข้อมูลความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่สวนป่า

4.84

9.68

อ.อ.ป.

0.76

-

อบก.

5.00

-

4.50

20.00

สพภ.

2.20

8.00

อจน.

1.75

10.00

ทบ.

-โครงการพัฒนาขีดความสามารถ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ประจาปี พ.ศ. 2559 (แผนบูรณาการ ICT) -จานวนระบบสารสนเทศการ -โครงการจัดทาระบบสารสนเทศ บริหารองค์กร (ระบบ) เพื่อสนับสนุนการบริหารองค์กร -จานวนระบบ เครือข่าย การ -กิจกรรมพัฒนาระบบ สื่อสาร และระบบ ฐานข้อมูล สารสนเทศเพื่อการให้บริการ ได้รับการพัฒนาและเพิ่ม ข้อมูลและองค์ความรู้ทั้งในและ ประสิทธิภาพ (ระบบ) ต่างประเทศ -ร้อยละของระบบสารสนเทศ -โครงการพัฒนาระบบ ด้านอุปกรณ์ Hardware สารสนเทศขององค์กรเพื่อการ ที่เสื่อมสภาพมีจานวนลดน้อยลง บริหารจัดการน้าเสีย -ระดับความสาเรจจของการ -การปรับปรุงเวจบไซต์ บูรณาการเพื่อสนับสนุนการ ปฏิบัติราชการอย่างมี ประสิทธิภาพ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 97 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าประสงค์ : พัฒนาระบบการติดตามสถานการณ์และการประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนาระบบ -จานวนระบบติดตาม -โครงการจัดทาระบบประเมิน กลไก และเครื่องมือการ ประเมินผลสถานการณ์ ติดตามและคาดการณ์การ ติดตามสถานการณ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เปลี่ยนแปลงทรัพยากรทางทะเล ด้านทรัพยากรธรรมชาติ (ระบบ) และชายฝั่ง และสิ่งแวดล้อม -ร้อยละขององค์กรในกลุ่ม -โครงการพัฒนาฐานข้อมูลแผน เป้าหมาย นาระบบกลไกล ที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าตามมติ และเครื่องมือไปใช้ประกอบการ รัฐมนตรี เรื่องการกาหนดชั้น ดาเนินงาน คุณภาพลุ่มน้าที่สาคัญของ ประเทศให้มีประสิทธิภาพและ เป็นมาตรฐาน -โครงการจัดทารายงาน สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอ่าวปัตตานีและ ข้อเสนอแนะ -จานวนระบบจัดเกจบและ -พัฒนาระบบจัดเกจบและ รวบรวมข้อมูลบัญชีก๊าซเรือน รวบรวมข้อมูลบัญชีก๊าซเรือน กระจก (ระบบ) กระจกของประเทศไทย 1. วิเคราะห์โครงสร้างองค์กรเพื่อ รองรับระบบจัดเกจบและรวบรวม ข้อมูลบัญชีก๊าซเรือนกระจก 2. พัฒนาระบบและวิธีการ ตรวจวัด รายงาน ทวนสอบ (MRV) การจัดทาข้อมูลบัญชี ก๊าซเรือนกระจก 3. พัฒนาระบบสารสนเทศการ รายงานและรวบรวมข้อมูลการ ทาบัญชีก๊าซเรือนกระจกจาก หน่วยงานส่วนกลางของแต่ละ ภาคส่วนสู่ศูนย์รวมระดับประเทศ 4. พัฒนาระบบสารสนเทศการ รายงานและรวบรวมข้อมูลการทา บัญชีก๊าซเรือนกระจกจาก หน่วยงานระดับภูมิภาคสู่หน่วยงาน ที่เป็นส่วนกลางของ แต่ละภาคส่วน 5. ฝึกอบรมและเผยแพร่วิธีการ รายงานผ่านระบบสารสนเทศ ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

หน่วยงาน รับผิดชอบ

30.00

110.00

ทช.

-

5.00

สผ.

-

10.00

6.00

20.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 98 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการ ติดตามสถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ต่อ)

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือการ ติดตาม ประเมินผล และการรายงานการ ปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-ร้อยละความสาเรจจของ การพัฒนากลไกการติดตาม สถานการณ์สิ่งแวดล้อม

-โครงการติดตามตรวจสอบ

-ร้อยละของระบบข้อมูลเกี่ยวกับ พื้นที่จัดการน้าเสียเพิ่มขึ้น เพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน ในการบริหารจัดการน้าเสียและ การบริการประชาชนที่มี ประสิทธิภาพ -ระดับความสาเรจจของการ ประเมินความคุ้มค่าโครงการ ของกลุ่มภารกิจตามยุทธศาสตร์ กระทรวง

-โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศทางด้านภูมิศาสตร์ GIS

-ร้อยละขององค์กร ในกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ข้อมูลสถานการณ์

-ร้อยละขององค์กรในกลุ่ม เป้าหมายได้รับความรู้ ข้อมูล สถานการณ์ ระดับความพึงพอใจต่อข้อมูล ความรู้ของผู้ใช้ข้อมูล สถานการณ์ฯ จานวนกลไกการกากับติดตาม ประเมินผลนโยบาย แผน มาตรการ รวมทั้งการประเมิน สถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่แม่นตรง ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ (กลไก)

-โครงการประเมินความคุ้มค่า โครงการของกลุ่มภารกิจตาม ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (จ้างที่ปรึกษา ) -การเสริมสร้างศักยภาพให้กับ บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติอัน ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ประเภท น้าตก ถ้า ชายหาด เกาะ แก่ง (ต่อเนื่อง) -พัฒนาระบบการเชื่อมโยง ฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปกรรม -โครงการติดตามประเมินผลและ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟู ระบบนิเวศอ่าวปัตตานี -โครงการติดตามและ ประเมินผลการดาเนินงาน แผนการปรับตัวรองรับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ -โครงการติดตามการดาเนินงาน ตามนโยบายด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

1.00

5.00

คพ.

-

-

อจน.

30.00

60.00

สป.ทส. (สตป.)

0.20

0.80

สผ.

-

1.10

-

15.00

-

16.00

-

6.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 99 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ระบบ กลไก และ เครื่องมือการติดตาม ประเมินผล และการ รายงานการปฏิบัติงาน (ต่อ)

งบประมาณ (ลบ.)

หน่วยงาน รับผิดชอบ

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-จานวนเครื่องมือ หรือกลไก ที่ใช้ในการติดตามประเมินผล การดาเนินการตามนโยบายและ แผนพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง (เครื่องมือ) -จานวนเครื่องมือกลไกและ ข้อเสนอแนะสาหรับการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษชายแดน ให้มีสภาพ สิ่งแวดล้อมภายในพื้นที่มีความ เหมาะสม เอื้อต่อการประกอบ ธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมและสังคม ในบริเวณโดยรอบ (เครื่องมือ) -จานวนกลไกการกากับติดตาม ประเมินผล นโยบาย แผน มาตรการ รวมทั้งการประเมิน สถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่แม่น ตรง ทันสมัย และมี ประสิทธิภาพ (กลไก) -จานวนระบบรายงานการ ปฏิบัติงานของกรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง (ระบบ)

-โครงการการติดตามประเมินผล การดาเนินการตามนโยบายและ แผนพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง

5.00

3.00

-โครงการติดตามประเมินผลการ บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน

3.00

15.00

-ติดตามประเมินผลแผนแม่บท บูรณาการจัดการความ หลากหลายทางชีวภาพ

1.00

3.00

-โครงการจัดทาระบบประเมิน ติดตามและคาดการณ์การ เปลี่ยนแปลงทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง - งานบริหารทั่วไปด้าน ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

2.80

7.00

ทช.

๖๗.๕๐

๓๗๐.๐๐

ทธ.

๒.๒0

๑๑.๐0

อสส.

3.70

26.00

อบก.

-ร้อยละของความสาเรจจของ งานบริหารทั่วไปด้านธรณีวิทยา และทรัพยากรธรณี ได้รับการ ดาเนินงานตามที่กาหนด -จานวนระบบ กลไก เครื่องมือ ที่ได้รับพัฒนา (ระบบ) -ร้อยละของการติดตาม ประเมินผลโครงการ CDM

- การพัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลและการรายงาน การปฏิบัติงาน - โครงการติดตามประเมินผล โครงการกลไกการพัฒนาที่ สะอาด (CDM)

ปี 2559

ปี 2560 2564

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 100 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา -จานวนระบบ/กลไก การกากับ - กิจกรรมการติดตามและ 0.50 ระบบ กลไก และ ติดตาม ประเมินผลยุทธศาสตร์ ประเมินผล เครื่องมือการติดตาม แผนงาน/กิจกรรม/ โครงการ ประเมินผล และการ ประจาปีที่ทันสมัยและ รายงานการปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพ (ระบบ) (ต่อ) เป้าประสงค์ : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง - จานวนชุมชนที่ราษฎรได้รับ 1. กิจกรรมส่งเสริมการจัดการ 445.21 องค์ความรู้ จิตสานึก การส่งเสริมให้มีส่วนร่วมจัดการ ป่าชุมชน และการมีส่วนร่วม ป่าชุมชน (หมู่บ้าน) ในการจัดการทรัพยากร - จานวนองค์กรและเครือข่ายใน 2. กิจกรรมพัฒนาป่าไม้ร่วมกับ 51.48 ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พื้นที่เป้าหมายทั่วประเทศ (แห่ง) องค์กรและเครือข่าย และความหลากหลาย แบบบูรณาการ ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน - จานวนที่พักสงฆ์ได้รับการ 3. กิจกรรมพัฒนาป่าไม้ร่วมกับ 15.52 รวมทั้งการรับมือ อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ (แห่ง) สถาบันศาสนา ต่อการเปลี่ยนแปลง - จานวนพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนา 4. กิจกรรมพัฒนาวนศาสตร์ 49.85 ภูมิอากาศ ในรูปแบบป่าพื้นบ้าน ชุมชน อาหารชุมชน (แห่ง) - ร้อยละความพึงพอใจของ 5. โครงการศูนย์การเรียนรู้ 14.28 ผู้รับบริการศูนย์การเรียนรู้ด้าน ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด และสิ่งแวดล้อมจังหวัดพิษณุโลก พิษณุโลก - จานวนหน่วยงาน/องค์กรที่เข้า 6. กิจกรรมพัฒนาป่าชุมชนเมือง 53.82 มามีส่วนร่วมสนับสนุนการ เพื่อลดสภาวะโลกร้อน ดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาป่า ชุมชนเมืองเพื่อลดสภาวะโลก ร้อน(แห่ง) - ร้อยละความพึงพอใจของ 7. โครงการศูนย์การเรียนรู้วน 10.12 ผู้ใช้บริการศูนย์การเรียนรู้วน ศาสตร์ชุมชน กรมป่าไม้ ศาสตร์ชุมชนกรมป่าไม้ - จานวนพันธุ์พืชป่าที่มีศักยภาพ 8. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา 2.90 และได้รับการพัฒนาและส่งเสริม พันธุ์ไม้ป่าดิบชื้นเป็นพืช (ชนิด) เศรษฐกิจ จ.ยะลา - จานวนหมู่บ้านที่ได้รับการ 9. กิจกรรมโครงการหมู่บ้าน 15.57 ฟื้นฟูและพัฒนา(หมู่บ้าน) รักษ์ป่าลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา (หมู่บ้านสีเขียว) - จานวนพื้นที่ป่าไม้ได้รับการ 10. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม 70.51 อนุรักษ์และพัฒนา (งาน) พืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเดจจพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

2.50

สพภ.

630.41

ปม.

312.13 36.51 192.77 27.04

175.72

27.90 12.11 53.62 302.73

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 101 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง องค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมใน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด - จานวนราษฎรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ ไม้ขนาดเลจกและของป่าครบถ้วน ตามแผนปฏิบัติงานและแผนการ ใช้จ่ายเงินประจาปีในแต่ละ งบประมาณ (ราย) - จานวนพื้นที่ป่าได้รับการฟื้นฟู และพัฒนา (แห่ง) - จานวนการจัดตั้งโครงการเพื่อ ขยายผลการดาเนินงานตามแนว พระราชดาริ (แห่ง) - จานวนโครงการพระราชดาริ ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการ ดาเนินงานสนองพระราชดาริ ของแต่ละพระองค์ (จานวนงาน) - จานวนศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ ตามแนวพระราชดาริ สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาการเรียนรู้ตาม แนวพระราชดาริ ให้แก่ราษฎร กลุ่มเป้าหมาย (รุ่นต่อแห่ง) - จานวนพื้นที่ป่าได้รับการฟื้นฟู โดยการส่งเสริมปลูกพืชอาหาร ชุมชนในระบบวนเกษตรตาม แนวพระราชดาริสมเดจจพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (แห่ง) - จานวนพื้นที่ป่าได้รับการฟื้นฟู และพัฒนาอย่างยั่งยืนราษฎร โดยรอบโครงการได้รับการพัฒนา คุณภาพชีวิต (แห่ง) (ไร่) - การสนับสนุนการจัดตั้ง วิสาหกิจชุมชน เพื่อใช้ประโยชน์ และแปรรูปผลผลิตจากป่าอย่าง ยั่งยืน(แห่ง) - จานวนหมู่บ้านได้รับการ ส่งเสริมการดาเนินงานด้านป่าไม้ ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (หมู่บ้าน)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

11. กิจกรรมโครงการส่งเสริม และพัฒนาการใช้ประโยชน์ไม้ ขนาดเลจกและของป่า

31.18

101.30

12. กิจกรรมโครงการพัฒนาป่า ไม้อันเนื่องมาจากพระราชดาริ 13. กิจกรรมขยายผลการ ดาเนินงานตามแนวพระราชดาริ

244.75

1,187.58

171.20

720.00

14. กิจกรรมเพิ่มศักยภาพ โครงการพัฒนาป่าไม้อัน เนื่องมาจากพระราชดาริ

39.49

115.81

15. กิจกรรมสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาการเรียนรู้ตามแนว พระราชดาริ ของศูนย์ พัฒนาการเรียนรู้ตามแนว พระราชดาริ 16. กิจกรรมโครงการส่งเสริม ปลูกพืชอาหารชุมชนในระบบวน เกษตรตามแนวพระราชดาริ สมเดจจพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

15.00

45.00

63.00

252.00

17. กิจกรรมโครงการสร้างป่า สร้างรายได้

36.22

108.67

18. กิจกรรมสนับสนุนการ จัดตั้งวิสาหกิจชุมชนเพื่อใช้ ประโยชน์และแปรรูปผลผลิต จากป่าอย่างยั่งยืน 19. โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาริ

22.70

68.10

5.54

16.57

หน่วยงาน รับผิดชอบ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 102 -

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง องค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมใน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- จานวนพื้นที่ป่าไม้ที่มี ฐานข้อมูลความหลากหลายทาง ชีวภาพในพื้นที่ป่าไม้(แห่ง) - จานวนการจัดตั้งองค์กร ราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า (รสทป.) (องค์กร) - ระดับความสาเรจจของการมี เครือข่ายความร่วมมือในการ ดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้จาก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง - จานวนการจัดตั้งเครือข่าย/ ชมรมเยาวชนรักษ์ป่า(เครือข่าย) - ระดับความสาเรจจของการมี องค์กรแนวร่วมเพื่อการป้องกัน และปราบปรามการทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติเป็น เครือข่ายในพื้นที่ - ร้อยละของ เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและ แนวทางในการปฏิบัติ สาหรับ การทาหน้าที่เป็นวิทยากร ในการฝึกอบรมราษฎร อาสาสมัครพิทักษ์ป่า (รสทป.) และได้เป็นวิทยากร รสทป. - จานวนเครือข่ายประชาสัมพันธ์ (เครือข่าย)

20. กิจกรรมอนุรักษ์และพัฒนา ด้านความหลากหลายทาง ชีวภาพ 21. กิจกรรมราษฎรอาสาสมัคร พิทักษ์ป่า (รสทป.)

- จานวนชุมชนมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ (หมู่บ้าน) - ร้อยละของความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องต่อการมีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จานวนเครือข่ายที่ได้รับการ เผยแพร่ความรู้(เครือข่าย)

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

7.50

16.50

12.42

66.45

11.67

37.71

23. โครงการ 1 โรงเรียน 1 หน่วยป้องกัน 24. โครงการสร้างเครือข่าย และพันธมิตรในการป้องกัน รักษาป่า

7.32

29.43

2.67

15.49

25. โครงการฝึกอบรมวิทยากร ราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า (รสทป.)

3.50

15.99

22. โครงการส่งเสริมความ ร่วมมือในการบริหารจัดการป่า อย่างมีบูรณาการทุกภาคส่วน

- กิจกรรม ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่า โครงการ อนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วน - กิจกรรม จัดการพื้นที่อนุรักษ์ อย่างมีส่วนร่วม (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) -กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ สร้าง จิตสานึกการอนุรักษ์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งให้แก่ เครือข่าย

หน่วยงาน รับผิดชอบ

268.00

30.00

309.14

7.20

36.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 103 -

ปม.

อส.

ทช.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง องค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมใน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด จานวนครั้งในการจัดกิจกรรม รณรงค์ประเดจนสาคัญการอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งใน โอกาสสาคัญ (ครัง้ ) ร้อยละของความพึงพอใจของ ผู้รับบริการศูนย์เรียนรู้การ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน จานวนชุมชนที่ได้รับองค์ความรู้ ด้านทรัพยากรธรณี และ ธรณีวิทยา (แห่ง) จานวนบุคลากร ประชาชน องค์กรลุ่มน้า ผู้แทนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และ เครือข่ายได้รับการพัฒนา ด้านการบริหาร (คน) ร้อยละของกิจกรรมการมี ส่วนร่วมดาเนินการสาเรจจ ตามเป้าหมาย

ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการ สนับสนุนและส่งเสริม มีการ ดาเนินกิจกรรมด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับภาคีร่วมพัฒนา จานวนเครือข่ายความร่วมมือ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพิ่มขึ้น (เครือข่าย)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -กิจกรรมวันทะเลโลก

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

2.00

10.00

10.00

50.00

๒๓.๗๒

๑๐๐.๖๕

ทธ.

202.46

1,012.00

ทน.

-โครงการสนับสนุนกลุ่มผู้ใช้น้า และเครือข่ายน้าบาดาลเพื่อ การเกษตรให้ความเข้มแขจง - โครงการรับฟังความคิดเหจน และส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการบริหาร จัดการทรัพยากรน้าบาดาล -กิจกรรมถ่ายทอดและส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจในการจัดการ น้าบาดาลให้กับเครือข่ายน้า เกษตรและน้าโรงเรียน

4.00

25.00

ทบ.

4.40

30.00

0.50

5.00

1. การเสริมสร้างศักยภาพใน การอนุรักษ์แหล่งธรรมชาติอัน ควรอนุรักษ์พื้นที่นาร่องเขา ขนาบน้า จังหวัดกระบี่ 2. การขยายภาคีเครือข่าย ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรม (ภายใต้โครงการตามแผนพัฒนา การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม) 3. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแหล่งที่มี คุณค่าความโดดเด่นในระดับ สากลอย่างยั่งยืน

0.30

0.60

15.00

75.00

5.00

-

-โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่า ชายเลน - โครงการพัฒนาองค์ความรู้ ด้านธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณี และธรณีพิบัติภัย -พัฒนาและส่งเสริมการมีส่วน ร่วมขององค์กรทุกระดับในการ บริหารจัดการทรัพยากรน้าทุก ลุ่มน้า

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 104 -

ทช.

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง องค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมใน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือ ร้อยละขององค์กรในกลุ่ม ต่อการเปลี่ยนแปลง เป้าหมายได้รับความรู้ข้อมูล ภูมิอากาศ (ต่อ) สถานการณ์

4. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแหล่ง ที่มีคุณค่าโดดเด่นเป็นสากล และบริเวณโดยรอบ 5. การเสริมสร้างองค์ความรู้ เพื่อการบริหารจัดการ : การ ติดตามแหล่งมรดกโลกทาง วัฒนธรรมและทางธรรมชาติ -เสริมสร้างสมรรถนะการ ดาเนินงานด้านการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมแก่หน่วย อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรมท้องถิ่น 76 จังหวัด (ภายใต้โครงการตามแผนพัฒนา การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม) -จานวนเครือข่ายความร่วมมือ แผนงานสร้างและเชื่อมโยง โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาค เครือข่ายความร่วมมือ ส่วนในการจัดการทรัพยากร ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม เพิ่มขึ้น(เครือข่าย) 1. โครงการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับภาคธุรกิจเอกชน 2. โครงการบริหารงานกองทุน สิ่งแวดล้อมและพัฒนาองค์กร 3. โครงการส่งเสริมและ สนับสนุนการป้องกันและดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม -ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย -โครงการพัฒนาและเพิ่ม มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพกระบวนการการ กระบวนการ EIA/EHIA เพิ่มขึ้น ประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม จากเดิม และการประเมินสิ่งแวดล้อม ระดับยุทธศาสตร์ -จานวนการเผยแพร่องค์ความรู้/ -โครงการรวมพลังลดมลพิษเพื่อ สื่อประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะ(ครั้ง) คุณภาพชีวิตที่ดี -จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ -กิจกรรมสร้างจิตสานึกและ ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ (คน) บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

-

18.00

-

12.00

0.70

3.50

-

-

18.00

106.00

1,100.00

7,000.00

16.00

115.00

11.25

56.30

คพ.

224.25

2,068.39

สส.

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 105 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง องค์ความรู้ จิตสานึก และการมีส่วนร่วมใน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งการรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

- จานวนผู้มาใช้บริการองค์ความรู้ - การพัฒนาเป็นแหล่งการ ด้านสัตว์ป่าและธรรมชาติ (คน) เรียนรู้ด้านสัตว์ป่าและ สิ่งแวดล้อมศึกษา (Environmental Education) - จานวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามา - การให้บริการองค์ความรู้ เที่ยวชมสวนสัตว์ (คน) เกี่ยวกับสัตว์ป่าและธรรมชาติ - จานวนกิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชนมาเยี่ยมชม สวนสัตว์ (กิจกรรม) - จานวนโครงการการจัด กิจกรรม Zoo School (โครงการ) ร้อยละของความสาเรจจของสวน -โครงการประชาคมหมู่บ้านเพื่อ ป่าที่มีกิจกรรมพัฒนาสวนป่า การพัฒนาสวนป่าปลูกใหม่โดย ปลูกใหม่ จัดทาประชาคมหมู่บ้าน ราษฎร - จานวนการรักษาสถานะและ แผนงาน : ส่งเสริมการมีส่วน ยกระดับพื้นที่เป้าหมาย (แห่ง) ร่วมในการอนุรักษ์และฟื้นฟู ความหลากหลายทางชีวภาพ -กิจกรรมการตอบแทนคุณระบบ นิเวศตามหลักการ PES - จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการ -กิจกรรมอนุรักษ์ความหลากหลาย พัฒนา (แหล่ง) ทางชีวภาพและการเกษตรพื้นถิ่น คุ้งบางกระเจ้า - จานวนการขยายเครือข่ายป่า -กิจกรรมป่าครอบครัวเพื่อการ ครอบครัวเพื่อการพึ่งพาตนเอง พึ่งพาตนเองและความมั่นคงทาง (เครือข่าย) ชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น -จานวนพื้นที่ที่ดาเนินการ -กิจกรรมสร้างความร่วมมือ บารุงรักษา อนุรักษ์และฟื้นฟู ในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างยั่งยืน (พื้นที)่ - จานวนช่องทางเครือข่าย -กิจกรรมประชาสัมพันธ์และ ประชาสัมพันธ์ (ช่องทาง) สื่อสารองค์กร - ร้อยละของการขยาย -กิจกรรมบูรณาการเครือข่าย กลุ่มเป้าหมายและเพิ่มการรับรู้ สื่อสารข้อมูลความหลากหลาย ของกลุ่มเป้าหมาย ทางชีวภาพและภูมิปัญญา - จานวนหน่วยงานที่ร่วมเป็น ท้องถิ่น (Bio Gang) พันธมิตรร่วมในการสนับสนุน กิจกรรม (หน่วยงาน) - ร้อยละของประชาชนเข้า -กิจกรรมมหกรรมทรัพยากร ร่วมงาน/มีความพึงพอใจ ชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

๖๕.๒๔

๓๒๖.๒๐

อสส.

0.20

0.40

อ.อ.ป.

3.42

15.00

สพภ.

3.00

15.00

2.00

10.00

1.00

10.00

6.00

30.00

10.00

50.00

10.00

50.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 106 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ระบบเครือข่าย ความร่วมมือด้านการ บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และก๊าซเรือนกระจก

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

-จานวนเครือข่ายป่าไม้ในการ ป้องกันการเกิดไฟป่าเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงสภาวะ ภูมิอากาศ (เครือข่าย)

-โครงการสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือในการควบคุมไฟป่าและ ประสานความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติงานป้องกันและ ควบคุมไฟป่า -จานวนเครือข่ายป่าไม้ได้รับการ -กิจกรรมเสริมสร้างความ พัฒนาให้เข้มแขจงในรูปแบบ เข้มแขจงเครือข่ายป่าไม้ ต่างๆ (เครือข่าย) -ร้อยละขององค์กร -โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ในกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามา การบริหารจัดการทรัพยากร มีส่วนร่วมในการจัดทา หรือ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดย ปรับปรุงนโยบายและแผนฯ การมีส่วนร่วมของหน่วยงาน ภาครัฐ -ร้อยละของจานวนภาคี -กิจกรรมพัฒนาเครือข่าย เครือข่ายในพื้นที่ชายฝั่ง 24 อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล จังหวัด มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และชายฝั่ง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง -จานวนเกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ -กิจกรรม พัฒนาศักยภาพ ความรู้ มีส่วนร่วมในการบริหาร พลเมืองไทยเพื่อเตรียมความ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ พร้อมในการปรับตัวต่อ สิ่งแวดล้อม (คน) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ -จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ -กิจกรรม พัฒนาเครือข่าย ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม อาสาสมัครเฝ้าระวังและฟื้นฟู (คน) ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม -ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีการ -กิจกรรม พัฒนาศักยภาพ ปรับพฤติกรรมในการผลิต การ และขีดความสามารถของ บริการและการบริโภคที่เป็นมิตร เครือข่ายและภาคีเพื่อการ กับสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม -กิจกรรม การประสานงานการ ให้ความเหจนขององค์การอิสระ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

165.16

825.80

9.93

196.20

0.70

3.80

สผ.

10.00

50.00

ทช.

9.40

15.00

สส.

72.00

360.00

127.63

733.87

43.19

474.36

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 107 -

ปม.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 3 : พัฒนา จัดทา และขับเคลื่อน นโยบาย แผน และ มาตรการ ในการบริหาร จัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกระบวนการมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วน

ตัวชี้วัด -จานวนรายงานผลการศึกษา ประกอบการจัดทานโยบาย แผน ในเชิงยุทธศาสตร์ (เรื่องต่อปี) -ร้อยละความพึงพอใจต่อ นโยบาย แผน และมาตรการ

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 1.การจัดทาแผนจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อมของประเทศ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

5.00

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

5.00

สผ.

2. การศึกษาเครื่องมือ กลไก 16.00 และประเดจนสาคัญเพื่อพัฒนา นโยบายและแผนการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 3. การจัดทามาตรการด้าน 3.00 12.00 ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และวิเคราะห์ ผลกระทบจากมาตรการด้าน การค้าเพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4. การขับเคลื่อนนโยบายและ 7.00 แผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม จานวนเครื่องมือและกลไกในการ -จัดทาข้อเสนอแนะ นโยบาย 176.00 880.00 ทน. บริหารจัดการทรัพยากรน้า ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผน แบบบูรณาการทุกระดับ มาตรการ และติดตาม โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาค ประเมินผลการบริหารจัดการ ส่วน (เรื่อง) ทรัพยากรน้า เป้าประสงค์ : บูรณาการความร่วมมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดทา -ร้อยละของจานวนความร่วมมือ -โครงการเครือข่ายงาน 1.00 - สป.ทส. นโยบาย ยุทธศาสตร์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากร ต่างประเทศของกระทรวง (สรป.) และแผนความร่วมมือ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ระหว่างประเทศเชิงยุทธศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมในกรอบ -จานวนนโยบาย แผน แนวทาง 1. จัดทารายงานแห่งชาติว่าด้วย 1.00 5.00 สผ. ความร่วมมือของอาเซียน ข้อเสนอท่าทีของประเทศไทย ความหลากหลายทางชีวภาพ และระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน 2. เตรียมการและหารือ ความร่วมมือระหว่างประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ ให้สัตาบันเพื่อเข้าเป็นภาคีพิธี สิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน (เรื่อง) สารนาโงยาว่าด้วยการเข้าถึง และแบ่งปันผลประโยชน์จาก ทรัพยากรพันธุกรรม

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 108 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : จัดทา นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนความร่วมมือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในกรอบ ความร่วมมือของอาเซียน และระหว่างประเทศ (ต่อ)

กลยุทธ์ที่ 2 : เสริมสร้าง ความร่วมมือการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนและ ระหว่างประเทศ

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

3. การเข้าเป็นภาคีพิธีสารเสริม นาโงยา-กัวลาลัมเปอร์ ว่าด้วยการรับผิดและชดใช้ ภายใต้พิธีสารคาร์ตาเฮนา ว่าด้วยความปลอดภัยทาง ชีวภาพ 4. การเตรียมความพร้อม ประกอบด้วยความเหจน/ท่าที ของประเทศไทยและการเข้าร่วม ประชุมเจรจาต่อรองในการ ประชุมอนุสัญญาว่าด้วยความ หลากหลายทางชีวภาพ พื้นที่ชุ่ม น้า และความตกลงระหว่าง ประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง -ร้อยละขององค์กร -โครงการขับเคลื่อนและ ในกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามา เสริมสร้างศักยภาพภายหลัง มีส่วนร่วมในการจัดทา หรือ ข้อตกลงใหม่ของการ ปรับปรุงนโยบายและแผนฯ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ -จานวนข้อตกลงความร่วมมือที่ -โครงการความร่วมมือด้านทะเล ได้มีการลงนาม (เรื่อง) ไทย-จีน -ร้อยละของความสาเรจจของการ - การจัดตั้งและบริหารสถาบัน จัดตั้งและบริหารสถาบันอนุรักษ์ อนุรักษ์และวิจัยสัตว์ป่า และวิจัยสัตว์ป่า -จานวนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ -โครงการศูนย์วิชาการนานาชาติ ความเข้าใจในเรื่องการ ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศ (คน) (แผนบูรณาการฯอาเซียน) -ร้อยละของการประชุมต่างประเทศ 1. กิจกรรมส่งเสริมงานด้าน มีการเดินทางเข้าร่วมประชุม ต่างประเทศ ตามแผนที่กาหนดไว้ -จานวนพื้นที่การปลูกป่าทั่วไป 2. โครงการฟื้นฟูป่าไม้อาเซียน (ไร่) เพื่อบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ไทยกับประเทศ เพื่อนบ้าน -จานวนผู้รับบริการ (ราย) 3. กิจกรรมการตรวจสอบและ ออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ ไม้ และถ่านไม้เพื่อส่งออกไป นอกราชอาณาจักร

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

-

-

1.00

5.00

6.00

30.00

3.00

15.00

ทช.

๑๑.๗0

๕๘.๕0

อสส.

28.00

75.00

อบก.

17.09

69.58

ปม.

0.92

3.04

9.77

46.32

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 109 -

สผ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : เสริมสร้าง ความร่วมมือการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนและ ระหว่างประเทศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด -จานวนกล้าไม้ (ล้านกล้า)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4. กิจกรรมเพาะชากล้าไม้เพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือเครือข่าย ภาครัฐ 5. โครงการภาคีเครือข่ายในการ อนุรักษ์ป่าไม้อาเซียนอย่าง มีส่วนร่วม 6. โครงการแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควันข้ามแดนในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ

-จานวนเครือข่ายป่าชุมชนตาม แนวชายแดนได้รับการพัฒนา ศักยภาพ (จานวนจังหวัด) -จานวนเครือข่ายที่เข้าร่วม กิจกรรมป้องกันและควบคุมไฟ ป่า เพิ่มประสิทธิภาพในการ แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอก ควันข้ามแดนในพื้นที่ป่าสงวน แห่งชาติในจังหวัดที่มีพื้นที่ตาม แนวชายแดน (จานวนจังหวัด) - จานวนหมู่บ้าน/เครือข่ายการ - โครงการ เสริมสร้างความ แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาไฟป่า (หมู่บ้าน) และหมอกควันข้ามแดนบริเวณ พื้นที่อนุรักษ์ - ร้อยละของความพึงพอใจของ - กิจกรรมเสริมสร้างความ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการแก้ไขปัญหา ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาไฟป่า ไฟป่าและหมอกควัน และหมอกควันข้ามแดนบริเวณ พื้นที่อนุรักษ์ (แผนบูรณาการฯอาเซียน) - จานวนแนวการบริหารจัดการ - โครงการจัดการพื้นที่คุ้มครอง และดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็นมรดกโลกมรดกแห่ง แนวเชื่อมต่อระหว่างประเทศ อาเซียนและพื้นที่คุ้มครอง (แนว) ข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน - ร้อยละของความพึงพอใจของ -กิจกรรมจัดการพื้นที่คุ้มครอง ผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการบริหาร เชื่อมต่อระหว่างประเทศ พื้นที่ จัดการและดูแลทรัพยากร มรดกโลกและมรดกแห่งอาเซียน ธรรมชาติแนวเชื่อมต่อระหว่าง (แผนบูรณาการฯอาเซียน) ประเทศ -จานวนเรื่องในการดาเนินการ - งานความร่วมมือระหว่าง ประสาน พัฒนาและสร้าง ประเทศ เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง ประเทศและองค์กรระหว่าง ประเทศ (เรื่อง)

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

17.45

182.85

42.56

127.68

25.11

630.91

142.76

1,196.27

25.22

374.01

๑๘.๘๕

๘๘.๔๓

หน่วยงาน รับผิดชอบ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 110 -

ปม.

อส.

ทธ.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : เสริมสร้าง ความร่วมมือการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนและ ระหว่างประเทศ (ต่อ)

ตัวชี้วัด -จานวนกลุ่มเป้าหมายได้รับ ความรู้ ความเข้าใจด้านการ บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนด้าน สิ่งแวดล้อมในระดับประเทศ (คน) -จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ ข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม (คน) -จานวนแหล่งเรียนรู้ด้านการ บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท้องถิ่นสู่เมืองต้นแบบ (แห่ง) -ร้อยละกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการ พัฒนาศักยภาพนาองค์ความรู้/ ฐานข้อมูลไปประยุกต์ใช้/เผยแพร่ และถ่ายทอด -จานวนพื้นที่สวนป่าเศรษฐกิจของ รัฐและเอกชน ได้รับการพัฒนา และผ่านการรับรองมาตรฐานการ บริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน และผ่านการตรวจประเมินและ รักษาสภาพการรับรองระบบ (แห่ง) -จานวนโรงงานผลิตภัณฑ์ไม้ ได้รับการพัฒนาและรักษาสภาพ การรับรองระบบมาตรฐานตาม ระบบควบคุมการเคลื่อนย้าย ของสินค้าไม้ (แห่ง ) -จานวนนักศึกษา แรงงานใหม่ ประชาชนทั่วไป ช่างฝีมือ บุคลากรของรัฐและผู้ประกอบการ ได้รับการพัฒนาความรู้และ ทักษะด้านอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์ไม้ (ราย)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -กิจกรรมสร้างจิตสานึกและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้าน สิ่งแวดล้อมมุ่งสู่ประชาคม อาเซียน

-โครงการการจัดการป่าไม้อย่าง ยั่งยืนเพื่อเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน กิจกรรม เสริมสร้างมาตรฐาน การปลูกสวนป่าเศรษฐกิจเพื่อ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (FSM) -กิจกรรมจัดทาระบบควบคุม การเคลื่อนย้ายของสินค้าไม้ (CoC) -โครงการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีปรับปรุงมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ไม้สักให้มีคุณภาพ ระดับสากลและรองรับ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน -กิจกรรมพัฒนาศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีปรับปรุงมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ไม้สัก

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2559

ปี 2560 2564

30.50

251.13

5.98

2.30

1.00

-

21.24

11.31

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 111 -

สส.

อ.อ.ป.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 2 : เสริมสร้าง ความร่วมมือการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนและ ระหว่างประเทศ (ต่อ)

กลยุทธ์ที่ 3 : พัฒนา กลไกความร่วมมือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ระหว่างประเทศ

ตัวชี้วัด -จานวนการเข้าร่วมประชุมทาง วิชาการหรือจัดฝึกอบรมด้าน การจัดการน้าเสียในระดับ อาเซียน (ครั้ง)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม -โครงการสร้างความร่วมมือ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน

-จานวนความร่วมมือระหว่าง ประเทศที่เพิ่มขึ้น (เรื่อง) -ร้อยละของการพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ แนวทางการดาเนินงานภายใน ประเทศให้ทันต่อสถานการณ์ -จานวนสวนสัตว์ที่สามารถรักษา ระบบคุณภาพมาตรฐาน WAZA (World Association Zoos and Aquariums) (แห่ง) -จานวนหน่วยงานที่เข้าร่วมเป็น เครือข่าย (หน่วยงาน)

ปี 2559

ปี 2560 2564

หน่วยงาน รับผิดชอบ

3.55

17.75

6.21

41.70

๑๐.๕0

๕๒.๕0

อสส.

9.00

45.00

สพภ.

15.14

76.00

ทน.

-โครงการความร่วมมือการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน (แผนบูรณาการฯอาเซียน) -โครงการความร่วมมือการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ -โครงการพัฒนาศักยภาพการ จัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม ข้ามแดน

52.99

344.10

ทช.

18.00

90.00

63.69

350.00

คพ.

- การดาเนินการรักษาระบบ คุณภาพมาตรฐาน WAZA

๓๖.๕0

๑๘๒.๕0

อสส.

-โครงการจัดตั้งเครือข่ายการ วิจัยและบริหารจัดการ ทรัพยากรพันธุ์พืชในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

14.33

120.00

อสพ.

-โครงการค่าใช้จ่ายเดินทาง ไปปฏิบัติงานต่างประเทศ (ชั่วคราว) -จานวนความร่วมมือทาง - การดาเนินงานและความ วิชาการในกลุ่มประชาคม ร่วมมือทางวิชาการทั้งในกลุ่ม อาเซียนและระหว่างประเทศ ประเทศอาเซียนและระหว่าง (เรื่อง) ประเทศ -จานวนความร่วมมือระหว่าง -กิจกรรมสร้างพันธมิตรและ ประเทศที่เพิ่มขึ้น (เรื่อง/องค์กร) ประสานความร่วมมือทั้งในและ ต่างประเทศ -จานวนการประชุมตามข้อตกลง -การเดินทางไปประชุม ระหว่างประเทศในด้านการ ต่างประเทศ บริหารจัดการทรัพยากรน้า (เรื่อง) -ระดับความสาเรจจของการจัดตั้ง เครือข่ายการอบรมด้าน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ของประชาคมอาเซียน

งบประมาณ (ลบ.)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 112 -

อจน.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

เป้าประสงค์ : เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่และระดับจังหวัด กลยุทธ์ที่ 1 : ปรับปรุง -ระดับความสาเรจจของการ - แผนการขอปรับปรุงโครงสร้าง โครงสร้างของหน่วยงาน ปรับปรุงโครงสร้างของ ทสจ. ของ สป.ทส. ในระดับพื้นที่ และระดับ จังหวัด ในสังกัด -ระดับความสาเรจจในการเพิ่ม ประสิทธิภาพ ทสจ. ด้าน ทรัพยากรป่าไม้และการจัดตั้ง ศูนย์บัญชาการระดับจังหวัด 76 จังหวัด -ระดับความสาเรจจของการ ดาเนินการจัดตั้งป่าไม้จังหวัด แล้วเสรจจภายในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 -ระดับความสาเรจจของการจัดตั้ง หน่วยงานในส่วนภูมิภาค

- สป.ทส. (สนย./ สบก.) กพร.ทส. ทสจ. 76 จังหวัด 652.20 สป.ทส. (ศทส. )

-โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน ทรัพยากรป่าไม้และการจัดตั้ง ศูนย์บัญชาการระดับจังหวัด (แผนบูรณาการการรักษาความ มั่นคงของฐานทรัพยากรฯ) -โครงการจัดตั้งหน่วยงานบริหาร ราชการส่วนภูมิภาค (สานักงาน ป่าไม้จังหวัด)

155.79

0.50

0.50

ปม.

-โครงการจัดตั้งหน่วยงานบริหาร ราชการส่วนภูมิภาค (สานัก บริหารจัดการทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง ที่ 1-6) -ระดับความสาเรจจของการปรับปรุง -แผนการปรับปรุงโครงสร้าง โครงสร้างองค์กร องค์กรในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา -ระดับความสาเรจจของการ 1 โครงการบริหารจัดการ ประสิทธิภาพการ ประสานความร่วมมือในการ ทรัพยากรธรรมชาติและ ดาเนินงานในระดับพื้นที่ กากับติดตามการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมตามแนวพระราชดาริ และระดับจังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติและ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ อย่างต่อเนื่อง สิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ และสิ่งแวดล้อม 2 โครงการป้องกันและปราบปราม การตัดไม้ทาลายป่าระดับจังหวัด 3 โครงการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมชุมชนตาม แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ ประยุกต์ตามแนวพระราชดาริ (โครงการปิดทองหลังพระ) 4 โครงการประสานความร่วมมือ ในการกากับติดตามการ ดาเนินงานตามแผนจัดการขยะ มูลฝอยและของเสียอันตรายใน พื้นที่จังหวัด

1.50

7.50

ทช.

-

-

ทธ.

1.50

10.00 ทสจ. 76 จังวัด สป.ทส. (สนย.)

20.25

125.00

8.50

50.00

4.94

30.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 113 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ประสิทธิภาพการ ดาเนินงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัดอย่าง ต่อเนื่อง (ต่อ) -เพิ่มประสิทธิภาพการ ดาเนินงานระดับพื้นที่ -ร้อยละความสาเรจจของการ จัดการสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ - ร้อยละของนโยบาย แผน มาตรการที่ดาเนินการแล้วเสรจจ ของหน่วยงานได้รับการผลักดัน ไปสู่การปฏิบัติ ถ่ายทอดสู่ กลุ่มเป้าหมาย - ระดับความพึงพอใจต่อ นโยบาย แผน มาตรการ

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ปี 2560 2564

ปี 2559

5 โครงการแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน

6.50

-โครงการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบ สงขลา -โครงการติดตามตรวจสอบ มลพิษจากการจัดการขยะและ การลักลอบทิ้ง 1. โครงการบริหารจัดการระบบ นิเวศแหล่งน้าวิกฤตของประเทศ

4.50

2. โครงการแปลงแผนแม่บท พรุควนเครจง เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย และทะเลสาบสงขลา 3. โครงการประเมินสิ่งแวดล้อม ระดับยุทธศาสตร์การจัดการ ระบบนิเวศชายฝั่งทะเลของ ประเทศไทย 4. โครงการจัดทาแผน ยุทธศาสตร์การจัดการระบบ นิเวศปากแม่น้าพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5. โครงการจัดทาแผนการปรับตัว รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศเพื่อขับเคลื่อนการบริหาร จัดการชั้นคุณภาพลุ่มน้า 6. โครงการจัดทาแผนการ คุ้มครองระบบนิเวศเกษตร กรรมที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น ของประเทศ 7. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการพื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ ๑ 8. โครงการขับเคลื่อนแผนการ ปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.)

50.00 ทสจ. 76 จังวัด สป.ทส. (สนย.) 20.00 ทช.

33.12

50.00

คพ.

-

14.00

สผ.

5.00

-

5.00

10.00

-

20.00

10.00

25.00

5.00

21.00

5.00

5.00

1.00

4.00

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 114 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

เป้าประสงค์ ทส./ กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนา ประสิทธิภาพการ ดาเนินงานในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัดอย่าง ต่อเนื่อง (ต่อ)

-ระดับความสาเรจจในการ เพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงาน ด้านการบริหารจัดการที่ดิน

-จานวนแผนปฏิบัติการเพื่อการ จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมใน ระดับจังหวัดที่เสนอขอ งบประมาณ -จานวนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดการ ขยะมูลฝอยและน้าเสียที่ถูก หลักสุขาภิบาล (แห่ง) -ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน รับผิดชอบ

งบประมาณ (ลบ.) ปี 2560 2564

ปี 2559

9. การดาเนินงานเพื่อกาหนดเขต พื้นที่ต้นน้าลาธารเป็นพื้นที่ คุ้มครองสิ่งแวดล้อม (อาเภอ กัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่) 10. การขับเคลื่อนกลไกการ บริหารจัดการและติดตามคุณภาพ สิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่คุ้มครอง สิ่งแวดล้อมพื้นที่ต้นน้าลาธาร -โครงการเพิ่มศักยภาพนโยบาย ที่ดินเพื่อการจัดการเชิงพื้นที่

0.50

-

-

4.50

1. โครงการติดตามผลการดาเนินงาน ตามนโยบายคณะกรรมการนโยบาย ที่ดินแห่งชาติ 2. การติดตามผลการดาเนินงานตาม นโยบายการบริหารจัดการที่ดิน (ระยะ ที่ 2) 3. การติดตามผลการดาเนินงานตาม นโยบายการบริหารจัดการที่ดิน (ระยะ ที่ 3) 4. การวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ด้านนโยบายการบริหารจัดการที่ดิน 5. การทบทวนนโยบายและ แผนการบริหารจัดการที่ดินและ ทรัพยากรดินของประเทศ 6. การจัดทาแผนปฏิบัติการการ บริหารจัดการที่ดินและทรัพยากร ดินของประเทศ -โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับ จังหวัด -โครงการถ่ายโอนการสนับสนุน แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับ จังหวัด - การพัฒนาศักยภาพของการ ดาเนินงานภายในพื้นที่สวนสัตว์ทั้ง ๗ แห่ง

5.00

-

-

1.00

-

1.00

-

1.00

-

3.00

-

3.00

7.60

45.00

1,415.90

12,500.00

๗๕๗.๓๔

-

-จานวนกิจกรรมเพื่อพัฒนา การให้บริการ (ครั้ง)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 115 -

สผ.

อสส.


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ภาคผนวก

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 116 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ภาคผนวก ก อักษรย่อ ชื่อหน่วยงานสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 117 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

อักษรย่อชื่อหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) สป.ทส. สผ. คพ. สส. ปม. อส. ทช. ทธ. ทน. ทบ. อจน. อ.อ.ป. อสส. อสพ. อบก สพภ.

สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล องค์การจัดการน้าเสีย) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ องค์การสวนสัตว์ฯ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 118 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

ภาคผนวก ข คณะทางาน จัดทายุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 119 - 118 -


แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

คณะทางานจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2559 - 2564 ที่ปรึกษา 1. พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ 2. นายเกษมสันต์ จิณณวาโส 3. นายวิจารย์ สิมาฉายา 4. นายสุพจน์ โตวิจักษ์ชัยกุล 5. นายเสรี โสภณดิเรกรัตน์ 6. นางสาวสุทธิลักษณ์ ระวิวรรณ 7. พันเอก ณัฐพงศ์ เพราแก้ว 8. นางสาวนงรัตน์ อิสโร

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะทางานของ รมว.ทส. คณะทางานของ รมว.ทส.

คณะผู้จัดทา 1. นายอานาจ ทองเบจญญ์ ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ 2. นางสาววนิดา แย้มสรวล ผู้อานวยการส่วนนโยบายและแผน 3. นายกานตพันธุ์ พิศาลสุขสกุล ผู้อานวยการส่วนประสานและกิจการพิเศษ 4. นางรัชนิกร ดารกมาศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ 5. นางสาวสมหญิง พงษ์สมุทร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ 6. นางสาวจุฑามาศ แสนคา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ 7. นางสาวทัศนีย์ เนตรบารุงรัตน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ 8. นายโชคชัย สมนึก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ 9. นางสาวสุดารัตน์ นพขุนทด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ 10. นายเผ่าพันธ์ ปรีชานนท์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 11. นายณรงค์ชัย ประโยค เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 12. นางสาวสุชาดา จินดารักษ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 13. นางสาวอนัญญา คงแสนคา เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 14. นางสาวธมกร วงศาสัก เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 15. นางสาวทฤฒมน รอดเพียร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 16. นางสาวดวงกมล ศรีวงศ์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 17. นางสาวสุกัญญา พวงสว่าง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 18. นางสาวอรนุช แนบเนียน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 19. นายชาลี ธิมาทา เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เรียบเรียงและจัดพิมพ์โดย ส่วนนโยบายและแผน สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โทรศัพท์ : 0 2265 6110, 0 2278 8649, 0 2278 8644, 0 2265 6907 โทรสาร : 0 2265 6110, 0 2278 8644 http://oops.mnre.go.th แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2564

- 120 -


ผังความเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ประจาปี พ.ศ. 2559-2564 วิสัยทัศน์ : องค์กรหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี

ยุทธศาสตร์ คสช.

เป้าประสงค์ ทส.

ยุทธศาสตร์ ทส.

นโยบายรัฐบาล

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11

พันธกิจ : 1. ผลักดันยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการสร้างคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน 2. บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีทุกภาคส่วนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งในประเทศ ประชาคมอาเซียน และระหว่า งประเทศ 3. เสริมสร้างขีดความสามารถเชิงรุกขององค์กร ระบบ กลไกและข้อมูลในการบริหารจัดการ รวมทั้ง การบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ (3) ความเข้มแข็งภาคเกษตรกร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน

(5.3) การสร้าง ความพร้อมในการ เข้าสู่ประชาคม อาเซียน

(3.1) การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐาน การผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน

(4.2) การพัฒนาวิทยาศาตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม

9. การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และ สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน

8. การพัฒนาและส่งเสริม การใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาและ นวัตกรรม

9.4 บริหารจัดการทรัพยากรน้​้าของประเทศ

8.1 สนับสนุนการเพิ่มค่าใช้จ่ายใน การวิจัยและพัฒนาของประเทศเพื่อมุ่ง สู่เป้าหมายให้ไม่ต่้ากว่าร้อยละ 1 ของ GDP และมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30 : 70

2. บริหารจัดการน้​้าผิวดินและน้​้าใต้ดินอย่าง บูรณาการและมีประสิทธิภาพ

# 17 มีน้าอุปโภคและ บริโภคอย่าง เพียงพอ

# 18 อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้​้า ผิวดิน

# 20 อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้​้า ใต้ดิน

7.1 เร่งส่งเสริมความ เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน ใน ภูมิภาคอาเซียนและ ขยายความร่วมมือ ระหว่างประเทศ

#9 บูรณาการความร่วมมือในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ

(6.1) การอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

7.6 พัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษโดยเริ่มจากการ พัฒนาด่านชายแดนและ โครงข่ายการคมนาคม ขนส่งบริเวณประตูการค้า หลักของประเทศ

6.6 ชักจูงให้ นักท่องเที่ยว ต่างชาติเข้ามา เที่ยวในประเทศ ไทย

# 14 ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการจัดการอย่างสมดุล และยั่งยืน

(2) ส้ารวจและ พัฒนาระบบประปา บาดาล

(2) บริหารจัดการ น้​้าเพือ่ ใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืน

(1) ศึกษาและ ส้ารวจประเมิน ศักยภาพ ท้าแผนที่ และเพิม่ มาตรฐาน การอนุรักษ์เฝ้าระวัง และฟื้นฟูแหล่งน้​้า บาดาล

(1) ส่งเสริมงานวิจัยด้านรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (2) พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้จากงาน วิจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

(2) พัฒนาน้​้า บาดาลเพื่อเพิม่ น้​้า ต้นทุนให้แก่พื้นที่ ภัยแล้ง

(3) ป้องกัน บรรเทา และแก้ไข ปัญหาวิกฤตน้​้า

(1) จัดท้านโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนความร่วมมือด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกรอบ ความร่วมมือของประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ

(1) บริหารจัดการป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง ที่ดนิ ทรัพยากรธรณี อย่าง บูรณาการและยั่งยืน

(1) ส่งเสริม การท่องเที่ยว เชิงอนุรกั ษ์

9.3 พัฒนาระบบ จัดการที่ดินและแก้ไข ปัญหาการบุกรุกที่ดิน ของรัฐ

# 16 เพิ่มพื้นที่ป่าไม้

9.2 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพและ ความหลากหลายทางชีวภาพ

หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง

ทน./อส.

ทบ.

สป.ทส./ทช./สส./อ.อ.ป./ปม./ อส./ทน./อจน./อสส.อสพ./สส./ สผ./คพ./อสส.อบก./สพภ.

สป.ทส../สผ./ทช./อสส./ อบก./ปม./อส./ทธ./สส/ อ. อ.ป./อจน./สพภ./ทน./ทช./ คพ./อสพ.

อส./ทช./อสพ./ อ.อ.ป./อสส.

9.5 ควบคุ ม มลพิ ษ ทั้ ง ทางอากาศ ขยะ และน้​้า เสี ย

4. การป้องกัน การลดผลกระทบ และ การปรับตัวเพื่อรับมือภัยพิบัติทาง ธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ

6. การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

6. การจัดการ ทรัพยากรธรรมชา ติและสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน

3. การสร้างความ เข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน

(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการ ท้าลายทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

(2) การลดความ เหลื่อมล้​้าและการ คุ้มครองสิทธิทางสังคม

(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการ ท้าลายทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการ ท้าลายทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

(2) การสร้างการมี ส่วนร่วมของชุมชนใน การรักษาทรัพยากร ธรรมชาติ

(1) การเพิ่มประสิทธิ

(1) ก้าหนดนโยบาย และ มาตรการการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ และ ที่ดินป่าไม้ อย่างทั่วถึงและ เป็นธรรม

(1) เร่งรัดการจัดท้าแนว เขตป่าไม้ และจ้าแนกเขต การใช้ประโยชน์ที่ดนิ ป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติ ให้ชัดเจน

(2) พัฒนาประสิทธิภาพ การด้าเนินงานด้านการ อนุญาต การบริการ แก่ประชาชน

(2) พัฒนาศักยภาพการ ป้องกันและปราบปรามการ บุกรุกพื้นที่ป่าไม้ การล่าสัตว์ป่า และ การตัดไม้พะยูงและไม้มีค่า อื่น ๆ และการป้องกัน ไฟป่า

ปม./อส./ทช./ อ.อ.ป.

ปม./อส./ทช./อสส.

สป.ทส./ปม./ทธ./ อส./ทช./สผ./ อ.อ.ป./สพภ.

(1) บริหารจัดการป่า ไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ที่ดิน ทรัพยากรธรณี อย่างบูรณาการและ ยั่งยืน

(2) บริหารจัดการ ข้อขัดแย้งเรือ่ งสิทธิ ในที่ดนิ ของรัฐและ การใช้ประโยชน์ใน ที่ดินป่าไม้อย่างเป็น ธรรม

# 24 ลดความสูญเสียในชีวิตและ ทรัพย์สินจากภัยพิบัติ ธรรมชาติ และเพิ่มขีด ความสามารถ ในการปรับตัวเพื่อรับมือการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

# 12 ประชาชน หน่วยงาน องค์กร และ ผู้ประกอบการต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม

# 19 ปรับปรุงและ ฟื้นฟูคุณภาพน้​้า

(1) ผลักดันและบูรณาการ การด้าเนินงานด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ อย่างเป็นรูปธรรมในทุก ภาคส่วน

(1) จัดท้านโยบาย แผน มาตรการ และแนวทางลด การปล่อยก๊าซ เรือนกระจก

(1) ก้าหนด นโยบาย และมาตรการ การ ผลิต การบริการและ การบริโภค ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม

(1) ป้องกันและ ควบคุมมลพิษ ทางน้​้าในพื้นที่ ลุ่มน้​้าวิกฤตและ ลุ่มน้​้าส้าคัญ

(2) พัฒนาขีดความสามารถ ในการรับมือผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในทุกระดับ

(2) พัฒนากลไก ก้ากับและติดตาม ประเมินผลการ ด้าเนินงานลดการ ปล่อยก๊าซเรือน กระจก

(2) ส่งเสริม และ สนับสนุนการผลิต การบริการ และการ บริโภค ทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม

(2) สนับสนุนและ ผลักดันระบบการ บริหารจัดการ มลพิษด้านน้​้า ที่เหมาะสมใน ระดับพื้นที่

(3) สร้างศักยภาพใน ความร่วมมือในการ อนุรักษ์ป่าไม้ และ ด้าเนินกิจกรรม/ โครงการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกใน ทุกภาคส่วน

(3) บริหารจัดการ ป่าเศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน โดยการมีส่วน ร่วมของประชาชน (4) ส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์

สป.ทส./อส./ ทช./ทธ./อสส./ อ.อ.ป./อสพ.

# 25 ลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือน กระจก

5. การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การองค์ ก ร และการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม

3. รักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม

(3) สร้างวินัย และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม

สผ./ปม./อส./ อบก.

(1) ใช้กลไกบริหาร จัดการภาครัฐ ทุกรูปแบบเพื่อการ ส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพ

# 22 ปรับปรุงและฟื้นฟู คุณภาพอากาศ

(1) ป้องกันและ แก้ไขปัญหามลพิษ ทางอากาศในพืน้ ที่ วิกฤต

(2) บูรณาการการ ด้าเนินงานจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และมลพิษ และ เสริมสร้าง ความ เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ให้กับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทีม่ ีอ้านาจ หน้าที่ในการจัดการ สิ่งแวดล้อมทั้งใน ระดับภูมิภาคและ ระดับท้องถิน่

# 23 เพิ่มขีดความ สามารถในการ ก้าจัดขยะ

(1) จัดการขยะ มูลฝอยและของเสีย อันตรายในพื้นที่ เป้าหมายอย่าง ถูกต้อง และมี ประสิทธิภาพ ไม่ส่งผลกระทบต่อ ประชาชนและ สิ่งแวดล้อม

คพ./สส./อจน.

คพ./ทบ./ อจน.

สผ./คพ./อจน.

#1 พัฒนาระบบงาน บริหารราชการ

(1) พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถ ของบุคลากรทุกด้าน

(2) การพัฒนา องค์กรให้มีขีด สมรรถนะสูง และทันสมัย บุคลากรมีความเป็น มืออาชีพ

(2) พัฒนาอัตราก้าลัง และเส้นทาง ความก้าวหน้า ของ บุคลากร

(4) การยกระดับ ความโปร่งใสและ สร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาในการ บริหารราชการ แผ่นดิน

คพ.

ทช./คพ.

#2 พัฒนา ขีดความสามารถ บุคลากรและ ระบบการ บริหารงานบุคคล

(1) การสร้างความ เป็นเลิศในการ ให้บริการประชาชน

(3) การวางระบบ การบริหารงาน ราชการ แบบบูรณาการ

(3) ติดตามและ ประเมินคุณภาพแหล่ง น้​้าผิวดิน คุณภาพน้​้า ทะเลชายฝั่ง คุณภาพ อากาศและเสียง รวมถึงการปนเปือ้ น กากของเสียและสาร อันตราย

(4) พัฒนาและ ส่งเสริมการลดก๊าซ เรือนกระจก ในประเทศ

สผ./ทธ.

# 21 สิ่งแวดล้อมมี คุณภาพดีขึ้น

#3 จัดหาเครื่องมือและ สิ่งอ้านวยความ สะดวกที่จ้าเป็น อย่างเพียงพอและ มีประสิทธิภาพ

#4 ปรับปรุง กฎหมายและ กฎระเบียบให้ ทันสมัย

(1) จัดหาเครื่องมือและสิ่ง อ้านวยความสะดวก

(1)ปรับปรุงและ พัฒนากฎหมาย

(2) ปรับปรุง ซ่อมแซม และ พัฒนาเครื่องมือและสิ่ง อ้านวยความสะดวกให้มี สภาพพร้อมใช้งาน

(2) การบังคับใช้ กฎหมาย

#6 พัฒนาเครือข่าย การสื่อสาร และ ระบบฐานข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

(1) จัดหาอุปกรณ์ โครงข่าย ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสาร (2) พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร และระบบฐานข้อมูล ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (3) เพิ่มประสิทธิภาพ ระบบพยากรณ์ เตือนภัย

#7 พัฒนาระบบการ ติดตาม สถานการณ์และ การประเมินผลให้ มีประสิทธิภาพ

1) พัฒนาระบบ กลไก และ เครื่องมือการ ติดตามสถานการณ์ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

(2) พัฒนาระบบ กลไก และ เครื่องมือการ ติดตามประเมินผล และการรายงาน การปฏิบัติงาน

#8 ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วน ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

(1) เสริมสร้าง องค์ความรู้ จิตส้านึก และการมีสว่ นร่วมใน การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และความ หลากหลายทางชีวภาพ อย่างยั่งยืน รวมทั้งการ รับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ

(2) พัฒนาระบบ เครือข่ายความร่วมมือ ด้านการบริหาร จัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และก๊าซ เรือนกระจก

# 10 เพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมใน ระดับพื้นที่และระดับ จังหวัด

4. การป้องกัน การลดผลกระทบ และการปรับตัว เพื่อรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

6. การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน

(1) ส่งเสริมการปลูก ป่าโดยการมีสว่ นร่วม ของทุกภาคส่วน

# 14 ทรัพยากรธรรมชาติ ได้รับการจัดการ อย่างสมดุลและ ยั่งยืน

6.8 แก้ปญ ั หาน้​้าท่วมใน ฤดูฝนทั้งที่ท่วมเป็น บริเวณกว้างและท่วม เฉพาะที่และปัญหาขาด แคลนน้​้าในบางพื้นที่และ บางฤดูกาล

1. การสร้างความ เป็นธรรมในสังคม

(3) อนุรักษ์และคุ้มครอง ทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง และทรัพยากรธรณี

ปม./อส./ทช./ทธ.

6. การเพิ่มศักยภาพ ทางเศรษฐกิจประเทศ

6. การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน

(4) ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ และการใช้ประโยชน์จาก ความหลากหลายทาง ชีวภาพ

ทน./ทบ.

9.1 เร่งปกป้อง และฟื้นฟู พื้นที่อนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้ และ สัตว์ป่า

(6.4) การเตรียม ความพร้อมรองรับ ภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ

# 15 ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรธรณีและ ความหลากหลายทางชีวภาพ ได้รับการอนุรักษ์ และคุ้มครอง

(3) พัฒนาประสิทธิ ภาพการปลูกป่า ต้นน้​้า

(3) พัฒนากลไกความร่วมมือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ

(6.8) การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสเป็นธรรมอย่างบูรณาการ

# 11 ประชาชนและ ภาคีเครือข่ายได้รับ ประโยชน์จากการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม

(2) ส่งเสริมการปลูก ไม้เศรษฐกิจของภาค ประชาชนและเอกชน

(2) เสริมสร้างความร่วมมือการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในกลุ่มประชาคมอาเซียนและระหว่าง ประเทศ

(6.7) การควบคุ ม และลดมลพิ ษ

9. การรั ก ษาค วามมั่ น คงของฐานทรั พ ยากร และสร้ า งสมดุ ล ระหว่ า งการอนุ รั ก ษ์ กั บ การใช้ ป ระโ ยชน์ อ ย่ า งยั่ ง ยื น

1. สงวน อนุ รั ก ษ์ ฟื้ นฟู และจั ดการทรั พ ยา กรธ รรมชาติ อ ย่ า งบู ร ณา การที่ ตอบสน อง ต่ อกา รพั ฒ นา และใช้ ป ระโ ยชน์ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และเป็ น ธรรม

(1) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้​้า อย่างบูรณาการ

(1) พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งน้​้าผิวดิน และเชือ่ มโยง เครือข่ายน้​้า

(6.3 การยกระดับขีดความสามารถใน การรองรับและปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศเพื่อให้สังคมมีภูมิคุ้มกัน

6. การเพิ่ม ศักยภาพทาง เศรษฐกิจ ประเทศ

7. การส่งเสริมบทบาทและ การใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน

5. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการองค์กร และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

#5 พัฒนาองค์ความรู้และการจัดการ จากการวิจัยและพัฒนา

(5.9) การส่งเสริมให้ประเทศ เป็นฐานการลงทุนและ การประกอบธุรกิจในเอเชีย รวมทั้งเป็นฐานความร่วมมือ ในการพัฒนาภูมิภาค

( 6 ) ก า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น

3. การสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคง ของอาหารและพลังงาน

(1) พัฒนา ปรับปรุง ฟื้นฟู แหล่งน้​้าธรรมชาติ สนับสนุนระบบ ประปาชุมชน

กลยุทธ์ ทส.

(4) การปรับโครงสร้าง (5) การสร้างความเชือ่ มโยงกับประเทศ เศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมี ในภูมิภาคเพื่อความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ คุณภาพและยั่งยืน และสังคม

# 13 ประชาชนสามารถปรับตัว กับภัยพิบัติธรรมชาติและ การเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศอย่างมี ประสิทธิภาพและได้รับการ เตือนภัยทันเวลา

ภาพการบริหารจัดการ น้​้าอย่างบูรณาการ ( ระบบเตือนภัย)

(1) ปรับปรุง โครงสร้างของ หน่วยงานในระดับ พื้นที่ และระดับ จังหวัด ในสังกัด (2) พัฒนา ประสิทธิภาพ การด้าเนินงาน ในระดับพืน้ ที่ และ ระดับจังหวัดอย่าง ต่อเนื่อง

(1)บริหารจัดการเพื่อ ลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (2) เตรียมความพร้อมใน การรับมือการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และพิบัติ ภัยทางธรรมชาติ (3)เพิ่มประสิทธิภาพระบบ การเตือนภัย

(3) พัฒนา จัดท้า และ ขับเคลื่อน นโยบาย แผน และมาตรการ ใน การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดย กระบวนการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน

สป.ทส./สผ. /ปม./อส./ทช./ทธ./ทน./ทบ./สส./คพ./อบก./อสส./อสพ./อ.อ.ป./สภพ.อจน.

สป.ทส./ทช./ทธ./ ปม./สผ./อส./ทน.



แผนที่ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิสัยทัศน์ : องค์กรหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี พันธกิจ : 1. ผลักดันยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการสร้างคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

การพัฒนา องค์กร

ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ

คุณภาพ การบริการ

ประสิทธิผล

2. บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีทุกภาคส่วนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทังในประเทศ ประชาคมอาเซียน และระหว่างประเทศ 3. เสริมสร้างขีดความสามารถเชิงรุกขององค์กร ระบบ กลไก และข้อมูลในการบริหารจัดการ รวมทังการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างบูรณการ ที่ตอบสนองต่อการพัฒนา และใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 บริหารจัดการ น้าผิวดินและน้าใต้ดินอย่างบูรณาการ และมีประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 รักษา และฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม อย่างมีส่วนร่วม

ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการจัดการ อย่างสมดุลและยั่งยืน 14

มีน้าอุปโภคและบริโภคอย่างเพียงพอ 17

สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึน 21

อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าผิวดิน 18

อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา แหล่งน้าใต้ดิน 20

ปรับปรุงและฟื้นฟู คุณภาพน้า 19

ปรับปรุงและฟื้นฟู คุณภาพอากาศ 22

เพิ่มพืนที่ป่าไม้ 16 ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า ทรัพยากรทางทะเล ทรัพยากรธรณีและความหลากหลาย ทางชีวภาพ ได้รับการอนุรักษ์และคุ้มครอง 15 ประชาชนและภาคีเครือข่าย ได้รับประโยชน์จากการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 11

พัฒนาระบบการติดตาม สถานการณ์และการประเมินผล ให้มีประสิทธิภาพ 7

พัฒนา ระบบงาน บริหารราชการ 1

ประชาชน หน่วยงาน องค์กรต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 12

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8

พัฒนาขีดความสามารถ บุคลากรและระบบ การบริหารงานบุคคล 2

จัดหาเครื่องมือและสิ่งอ้านวย ความสะดวกที่จ้าเป็น อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 3

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การป้องกัน การลด ผลกระทบ และการปรับตัวเพื่อรับมือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน จากภัยพิบัติธรรมชาติ และเพิ่มขีด ความสามารถในการปรับตัวเพื่อรับมือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 24 เพิ่มขีดความสามารถในการก้าจัดขยะ 23 ลดปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก 25 ประชาชนสามารถปรับตัวรับมือกับภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการเตือนภัยอย่างทันเวลา 13

บูรณาการความร่วมมือในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกภาคส่วน รวมถึงประชาคมอาเซียนและระหว่างประเทศ 9

ปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบ ให้ทันสมัย 4

- 41 -

พัฒนาองค์ความรู้ และการจัดการ จากการวิจัยและพัฒนา 5

เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในระดับพืนทีแ่ ละระดับจังหวัด 10

พัฒนาเครือข่ายการสื่อสาร และระบบฐานข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6

ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่ม ประสิทธิภาพ การจัดการองค์กร และการบริหาร จัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม





กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เลขที่ ๙๒ ซอยพหลโยธิน ๗ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.