/TNE-53-v1

Page 28

สมดุลและหลากหลาย

28

Thailand's Nature and Environment Journal

ในเรื่องนี้ หัวหนาเกรียงศักดิ์กลาววา ทางอุทยานฯ ไดพยายาม สรางความเขาใจเพือ่ แกไขปญหาโดยสรางการมีสว นรวมของชุมชนรอบพืน้ ที่ ดวยการเฟนหาอาชีพที่เหมาะสม เนนการสรางความเขาใจเรื่องการ อนุรักษสิ่งแวดลอม “หากธรรมชาติมีความสมบูรณ นักทองเที่ยวจะมา เยี่ยมชมบานหลังนี้ ชาวบานจะมีรายไดจากการทองเที่ยวและมีชีวิต อยูไดอยางมีความสุข” หัวหนาอุทยานฯ กลาววาไดยึดหลักการตาม กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทีท่ รงเนนการสราง ความเขาใจแกประชาชนและการสรางพื้นที่ปา 3 อยาง ไดประโยชน 4 อยาง แนวคิดนี้เปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรปาไม ขณะเดียวกันก็เปนการสนองความตองการทางดานเศรษฐกิจและสังคม ของประชาชนในพื้นที่ไปในตัวดวย นอกจากนี้ ยังเปนการปองกันไมให ชาวบานบุกรุกเขาทำลายปาไม ปลูกปา 3 อยาง คือ ปาสำหรับเปนไมใชสอย ปาสำหรับเปนไมผล หรือไมกินไดและปาสำหรับเปนเชื้อเพลิงหรือไมฟน ปา 3 อยางนี้ให ประโยชนตามประเภท สวนประโยชนอยางที่ 4 คือ การอนุรักษดินและ น้ำใหคงความชุมชื้น ในสวนของการจัดการขยะในพื้นที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท คุณเกรียงศักดิ์ มีขอแนะนำวา “เราตองจัดการเรื่องเตาเผาขยะที่ได มาตรฐานหรือยานพาหนะสำหรับเก็บขยะที่มีความความเหมาะสมกับ พื้นที่ เนื่องจากพื้นที่อุทยานฯ ของเรามีความลาดชันสูงและมีปริมาณ ขยะมาก” สำหรับเรื่องของการทองเที่ยว คุณเกรียงศักดิ์ กลาวถึง การแกไข ปญหาเรื่องการทองเที่ยวโดยชุมชนไววา “การทองเที่ยวโดยชุมชนเปน กระบวนการสรางทางเลือกในการจัดการพืน้ ทีท่ อ งเทีย่ วโดยคนในชุมชน จะเขามามีสวนรวมในการกำหนดทิศทางและรูปแบบการทองเที่ยว บนฐานความคิดที่ วาชาวบานทุกคนเปนเจาของทรัพยากรและเปนผูมี สวนไดเสียจากการทองเทีย่ ว เราสนับสนุนและนำเอาทรัพยากรทีม่ อี ยู ในทองถิ่น ทั้งทางดานธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตและวิถีการผลิตของชุมชนมาใชเปนตนทุนหรือปจจัยในการจัด การทองเที่ยวอยางเหมาะสม” รวมทั้ง มีการพัฒนาศักยภาพของคนใน ชุมชนใหมีความรู ความสามารถ และแสดงบทบาทในฐานะเจาบาน ทบทวนทุนเดิม คนหาขอมูล วางแผนดำเนินงาน วิเคราะห สรุปบทเรียน พัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่สรางความยั่งยืนสูคนรุนลูกหลานและ เกิดประโยชนตอทองถิ่นและคำนึงถึงขีดความสามารถในการรองรับ กิจกรรมการทองเที่ยวที่สงผลตอธรรมชาติ “การทองเที่ยวโดยชุมชนเปนกระบวนการพัฒนาการทองเที่ยว อยางยั่งยืนในเชิงพื้นที่ที่ตอบสนองตอความตองการของนักทองเที่ยว และชาวบานในทองถิ่น มีการปกปองดูแลรักษา ดานสิ่งแวดลอม สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี และระบบเศรษฐกิจของชุมชนรากหญา เพื่อชนรุนหลัง”

โดยมีองคประกอบหลักที่สำคัญ คือ 1. องคประกอบดานพืน้ ที่ เปนการทองเทีย่ วทีเ่ กีย่ วของกับธรรมชาติ ของพื้นที่ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะถิ่น รวมถึงแหลงวัฒนธรรมและ ประวัตศิ าสตรทเ่ี กีย่ วเนือ่ งกับระบบนิเวศเปนการทองเทีย่ วทีม่ พี น้ื ฐานอยูก บั ธรรมชาติ 2. องคประกอบดานการจัดการ ที่มีความรับผิดชอบโดยไมกอให เกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและสังคม มีการจัดการทีย่ ง่ั ยืน ครอบคลุม ไปถึงการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการสิง่ แวดลอม การปองกัน

BALANCE AND DIVERSE

to build community participation by proposing suitable occupation and emphasizing understanding of environmental conservation. “If the nature is fertile, the tourists will certainly visit this house. Local people would earn their living from tourism income and live happily” Chief Kriengsak has been pursuing royal remark referred to the principles of His Majesty the King in emphasizing on providing understanding to local people and on reforestation of 3 forests with 4 benefits. The royal principles are the approach for pursuing natural resources and forest resources conservation, at the same time, responding socio-economic demand of local people. Furthermore, the ideology is to prevent people intrusion for destructing the forests. The practical way of reforestation of 3 forests are namely, forest for general purpose, forest for fruit or edible fruits tree and forest for wood fuel or firewood. These three kinds of the forest substantially provide the benefits at its own. But the resulting benefit, the 4th benefit, is soil and water preservation for sustaining


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.