9 fonts for king book : ๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

Page 1

แบบตัวพิมพ์ไทย

เพื่อพ่อ

THE FEDERATION OF THAI PRINTING INDUSTRIES


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

โครงการ ๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ หลักการและเหตุผล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงปกครองแผ่นดินยาวนานกว่า ๗๐ ปี อันเป็นระยะเวลาครองราชย์ยาวนานที่สุดใน ประวัติศาสตร์ชาติไทย และในช่วงเวลาของการครองสิริราชสมบัติทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจต่างๆ ที่ก่อให้เกิด ประโยชน์อันไพศาลต่อประเทศชาติและพสกนิกรชาวไทย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ งานด้าน ศิลปะและการออกแบบซึ่งในอดีตมักเรียกรวมกันว่า “งานช่าง” นั้น นับเป็นพระราชกรณียกิจอีกด้านหนึ่งที่ทรงมี ความสนพระราชหฤทัยยิ่ง ผลงานด้านศิลปะและการออกแบบ ตลอดจนงานช่างฝีพระหัตถ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีหลากหลายรูปแบบและมีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เช่น การถ่ายภาพ ดนตรี งานจิตรกรรม และการประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ประกอบไปด้วยสมาคม และชมรมทางด้านการพิมพ์ ทั้ง ๙ องค์กรที่ เกี่ยวข้องกับการพิมพ์ ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ซึ่งพระองค์ทรง เป็นพระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย และทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทย อีกทั้งเพื่อเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเทิดทูลต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ของเหล่าศิลปิน นักออกแบบตัวพิมพ์ ผู้ประกอบการ ธุรกิจการพิมพ์ และประชาชนชาวไทย จึงได้มีการรวมตัวกันท�ำความดีเพื่อพ่อ ภายใต้โครงการ “๙ แบบตัวพิมพ์ ไทยเพื่อพ่อ” เพื่อเผยแพร่พระราชกรณียกิจทางด้านศิลปะและการออกแบบ รวมถึงเป็นการเทิดพระเกียรติและ ระลึกถึงพระองค์ตลอดเวลา วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีและเทิดทูลต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ๒. เพื่อเป็นประวัติศาสตร์แบบตัวพิมพ์ไทยในรัชกาลที่ ๙ ๓. เพื่อแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ในด้านการออกแบบ และการประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยคอมพิวเตอร์ ๔. เพื่อสร้างสรรค์แบบตัวพิมพ์แจกจ่ายให้ประชาชนชาวไทยได้ใช้ฟรี ๕. เพื่อให้ภาครัฐ และเอกชน น�ำไปใช้เป็นแบบตัวพิมพ์ส�ำหรับจัดงานนิทรรศการต่างๆ รวมถึงใช้เป็นแบบตัวพิมพ์ในสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อประเภทต่างๆ ๖. เพื่อใช้เป็นแบบฟ้อนต์ส�ำหรับจัดท�ำหนังสือ “๙ แบบตัวพิมพ์ไทย” ส�ำหรับจัดพิมพ์ และแจกจ่ายประชาชนฟรีทั่วประเทศ


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

วิธีการด�ำเนินการ ๑. ตั้งคณะท�ำงานโครงการ โดยมีตัวแทนจากสมาคม ชมรม และผู้เชี่ยวชาญ ๒. คณะท�ำงานประชุม และวางแผน ๓. สรรหานักออกแบบ และพัฒนาตัวพิมพ์ไทย ๙ ท่าน ( ๑ ท่านต่อ ๑ แบบตัวพิมพ์) ๔. จัดหาผู้สนับสนุนโครงการ ๕. ก�ำหนดรูปแบบ และวิธีการพัฒนาแบบตัวพิมพ์ ๖. เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์แบบตัวพิมพ์ ระยะเวลาในการด�ำเนินโครงการ ระยะเวลาในการด�ำเนินงาน ๖ เดือน เริ่มจากวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ถึง ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ๑. ประชุมวางแผน และเตรียมงาน ๑ เดือน ๒. ระยะเวลาในออกแบบและพัฒนาตัวพิมพ์ ๓ เดือน ๓. ระยะเวลาในการเขียนบทความประกอบแบบตัวพิมพ์ (๑ บทความต่อ ๑ แบบตัวพิมพ์) และบทความต่างๆ ในหนังสือ “๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ” และหนังสือ “โครงการพระราชด�ำริ แนวคิดและทฤษฏี ร.๙” ระยะเวลา ๑ เดือน ๔. จัดพิมพ์หนังสือ และเผยแพร่แบบตัวพิมพ์ ใช้เวลา ๑ เดือน หน่วยงานที่รับผิดชอบ: สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ผู้รับผิดชอบ: คณะท�ำงานโครงการ ๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน: ๑. สมาคม และชมรมที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์ ๒. มูลนิธิ, สมาคม และชมรมที่เกี่ยวข้องในการใช้แบบตัวพิมพ์ ๓. บริษัทเอกชน, ธนาคารพาณิชย์, รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานราชการ ๔. ผู้แทนจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางด้านการพิมพ์ ๕. ผู้ประกอบการธุรกิจการพิมพ์ ๖. สถาบันการศึกษา รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวโครงการ ๑. เกี่ยวกับแบบตัวพิมพ์ ๑.๑ แบบตัวพิมพ์ หรือฟ้อนท์ จะเป็นแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่ แบบ Open Type มีการเข้ารหัสแบบ Unicode สามารถน�ำไปใช้ได้ทั้งเครื่องที่ท�ำงานบนระบบปฏิบัติการ Windows และ Mac OS


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

๑.๒ แบบตัวพิมพ์แต่ละแบบ มีน�้ำหนักไม่เท่ากัน มีจ�ำนวนตัวอักษรที่ไม่เท่ากัน อาจมีทั้งตัวอักษรภาษา ไทย และอังกฤษ หรือมีเฉพาะภาษาไทยอย่างเดียว ซึ่งขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการน�ำไปใช้งาน และเป็นความ ประสงค์ของนักออกแบบแต่ละท่าน ๑.๓ แบบตัวพิมพ์ ทั้ง ๙ แบบ เจ้าของสิทธิ์ คือ นักออกแบบตัวพิมพ์ โดยมอบหมายให้สหพันธ์อุตสาหกรรม การพิมพ์ เป็นผู้จัดท�ำ และเผยแพร่แบบตัวพิมพ์ สามารถน�ำไปใช้ฟรี ภายใต้เงื่อนไขที่ก�ำหนดโดยนักออกแบบตัว พิมพ์ซึ่งเป็นเจ้าของแบบตัวพิมพ์ และสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ในฐานะผู้ด�ำเนินโครงการ ๑.๔ แบบตัวพิมพ์ทั้ง ๙ แบบ จะน�ำไปบรรจุลงแผ่น DVD เพื่อน�ำแจกให้กับหน่วยงานทั้งภาครัฐ และ เอกชน ผู้สนับสนุนโครงการ และประชาชนทั่วไป จ�ำนวน ๙๙๙ แผ่น ๑.๕ แบบตัวพิมพ์ทั้ง ๙ แบบ จะเปิดให้ดาวน์โหลดฟรี ผ่านเว็บไซต์ของสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ และเว็ บ ไซต์ ใ นเครื อ ข่ า ย ๒. เกี่ยวกับหนังสือ และการเผยแพร่ ๒.๑ ทางสหพันธ์ฯ จะด�ำเนินการจัดท�ำหนังสือ หนังสือ “๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ” และ ๒.๒ หนังสือออกแบบโดยใช้แบบตัวพิมพ์ทั้ง ๙ แบบผสมผสานกัน และมีการจัดพิมพ์ในเบื้องต้นจ�ำนวน หนึ่ง เพื่อแจกจ่ายให้กับภาครัฐ และเอกชน ผู้สนับสนุนโครงการ และประชาชนทั่วไป ๒.๓ นอกจากนั้น ทางสหพันธ์ฯ จะร่วมมือกับโรงพิมพ์ทั่วประเทศ จัดพิมพ์หนังสือเพื่อแจกจ่ายให้ถึงมือ ประชาชนทุกจังหวัด โดยทางสหพันธ์ฯ จะจัดท�ำไฟล์หนังสือ เพื่อส่งมอบให้ทางโรงพิมพ์ที่สนใจจะเข้าร่วมกิจกรรรม ท�ำดีเพื่อพ่อ สามารถน�ำไฟล์ไปสู่ระบบการพิมพ์ออฟเซ็ท หรือดิจิทัล โดยจะมีพื้นที่ส�ำหรับใส่ชื่อโรงพิมพ์ หรือผู้จัด พิมพ์ในหนังสือแต่ละเล่ม ๒.๔ เนื้อหาในหนังสือ “๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ” ประกอบไปด้วย - บทความ เทิดพระเกียรติและระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ - บทความ พระราชกรณียกิจทางด้านศิลปะและการออกแบบ - บทความ การประดิษฐ์ตัวอักษรด้วยคอมพิวเตอร์ - ประวัตินักออกแบบตัวพิมพ์ และประวัติความเป็นมาของแบบตัวพิมพ์ ทั้ง ๙ แบบ - ถ้อยความเถิดพระเกียรติ รัชกาลที่ ๙ จากนักออกแบบตัวพิมพ์แต่ละท่าน - รูปแบบตัวพิมพ์ และลักษณะการใช้แบบตัวพิมพ์ ทั้ง ๙ แบบ - การติดตั้งและใช้งานแบบตัวพิมพ์ รวมถึงเงื่อนไขในการใช้ตัวพิมพ์ - ถ้อยความเถิดพระเกียรติ รัชกาลที่ ๙ จากประธานสหพันธ์ฯ และประธานโครงการ - ถ้วยความเถิดพระเกียรติ รัชกาลที่ ๙ จากบุคคลส�ำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพระราชกรณียกิจ ของพระองค์ท่าน อันเกี่ยวเนื่องกับงานด้านศิลปะและการออกแบบ การประดิษฐ์ตัวอักษร ด้วยคอมพิวเตอร์ และการพิมพ์


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

ซึ่งจะมีเนื้อหาอยู่แล้วส่วนหนึ่ง โดยทางสหพันธ์ฯ จะน�ำเอาเนื้อหามาท�ำการออกแบบใหม่ ภายใต้แนวคิด “เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้” เป็นการออกแบบเพื่อคนทั้งมวล ออกแบบให้กับคนทุกๆ กลุ่ม โดยไม่ว่าจะเป็นผู้สูง อายุ คนปกติ ผู้พิการ ที่เรียกว่า Universal Design ซึ่งจะออกแบบ ๒ เวอร์ชั่น คือ เวอร์ชั่นสิ่งพิมพ์บนกระดาษ และเวอร์ชั่นสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ การออกแบบจะมีการใช้ตัวพิมพ์ทั้ง ๙ แบบเป็นองค์ประกอบหลัก และใช้ภาพถ่าย ภาพวาด รวมถึงภา พอินโฟกราฟิก เพื่อให้อา่ นเข้าใจได้ง่าย ในแล่มเวอร์บนกระดาษ จะใส่โค้ด เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุ สามารถใช้อุปก รณ์สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตสแกนเพื่ออ่านออกเสียงให้ ส�ำหรับเวอร์ชั่นอิเล็กทรอนิกส์ จะจัดท�ำในรูปแบบ EPUB เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุ รวมถึงคนทั่วไป สามารถเปิดอ่านแบบธรรมดาทั่วไป และอ่านออกเสียงผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ๓. การสนับสนุน และการบริจาค ๓.๑ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน สามารถให้การสนับสนุนโครงการนี้ได้ ในหลากหลายรูปแบบเช่น สนับสนุนเงินส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินโครงการ สนับสนุนในการการออกแบบ การจัดพิมพ์ และการสนับ สนุนอื่นๆ เช่น การประชาสัมพันธ์ ๓.๒ การสนับสนุนต่างๆ ทางสหพันธ์ฯ จะได้ใส่โลโก้ หรือชื่อหน่วยงานของผู้สนับสนุน ลงในหนังสือ หมายเหตุ กรณีเป็นผู้สนับสนุนหลัก จะใส่โลโก้ และชื่อ กรณีผู้สนับสนุนรอง หรือการสนับสนุนอื่นๆ จะใส่เฉพาะ ชื่อเท่านั้น (รายละเอียด ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่สหพันธ์ฯ) ๓.๓ การสนับสนุนเพื่อจัดพิมพ์หนังสือทุกโรงพิมพ์ หรือทุกองค์กรสามารถสนับสนุนโดยพิมพ์ฟรี และ แจกจ่ายฟรี โดยทางสหพันธ์ฯ จะมีถ้อยความถวายพระเกียรติ และระลึกถึงในหลวง ร. ๙ พร้อมเว้นพื้นที่ให้ทางโรง พิมพ์ หรือผู้ที่มีความประสงค์จะจัดพิมพ์เพื่อแจกจ่ายฟรีทั่วประเทศ พร้อมทั้งทางสหพันธ์ฯ จะประกาศรายชื่อโรง พิมพ์ หรือหน่วยงานให้ประชาชนได้รับทราบ ๓.๔ เงินสนับสนุนหลังหักค่าใช้จ่าย บริจาคให้กับมูลนิธิชัยพัฒนา รายชื่อนักออกแบบตัวพิมพ์ ทั้ง ๙ ท่าน ๑. ปริญญา โรจน์อารยานนท์ ๓. กฤษดา วงศ์อารยะ ๕. ผศ.อาวิน อินทรังษี ๗. นภนต์ พุทธิพัฒนกุล ๙. ผศ.ประชิด ทิณบุตร

๒. ไพโรจน์ ธีระประภา ๔. ธีรวัฒน์ พจน์วิบูลศิริ ๖. คนัช อุยยามาฐิติ ๘. ขาม จาตุรงคกุล


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

รายชื่อคณะท�ำงาน ๑. คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ๒. คุณปราสาท วีรกุล ๓. อาจารย์บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ ๔. คุณไพโรจน์ มีทวี ๔. คุณชาธิป ตั้งกุลไพศาล ๕. คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช ๖. คุณธนพล บันลือรัตน์ ๗. คุณเมธี ศรีวิริยะเลิศกุล ๘. คุณปัณณธร ไชยบุญเรือง ๙. คุณสุรเชษฐ สายเชื้อ ๑๐. คุณกิตติ ยิ้มละมัย ที่ปรึกษาโครงการ ๑. คุณนภดล ไกรฤกษ์ ๒. คุณระวิ เกษมศานติ์ ๓. คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ ๔. คุณธนพล บันลือรัตน์ ๕. คุณสุวิชาภรณ์ ไทยสวัสดิ์ ๖. คุณจรัญ หอมเทียนทอง ๗. คุณพงษ์เดช สัจจะรัตนะโชติ ๘. ดร.วิชัย พยัคฆโส ๙. คุณเกษม แย้มวาทีทอง

ประธานโครงการ ผู้เชี่ยวชาญ ดูแลทางด้านเทคนิค ผู้เชี่ยวชาญ ดูแลทางด้านการออกแบบ สาขามีเดียอาร์ต ม.พระจอมเกล้าธนบุรี ตัวแทนสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ตัวแทนสมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย ตัวแทนสมาคมการพิมพ์ไทย และกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ตัวแทนสมาคมแยกสีแม่พิมพ์เพื่อ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ตัวแทนชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย ตัวแทนสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือ แห่งประเทศไทย ตัวแทนสมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ตัวแทนสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์ ประธานสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย นายกสมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย นายกสมาคมแยกสีแม่พิมพ์เพื่อ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไท ประธานชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย นายกสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือ แห่งประเทศไทย นายกสมาคมการพิมพ์สกรีนไทย นายกสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์ ประธานมูลนิธิสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

องค์กรในสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ๑. สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ๒. สมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย ๓. กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ๔. สมาคมแยกสีแม่พิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ๕. ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย ๖. นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ๗. สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ๘. สมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ๙. สมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

แนะน�ำนักออกแบบ


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

ไพโรจน์ ธีระประภา จบปริญญาตรีและโทจากภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อจบได้เริ่มงานเป็น Graphic Designer และ Art Director ในบริษัทชั้นน�ำหลายแห่ง เป็นอาจารย์พิเศษช�ำนาญการด้านกราฟิกหลายสถาบัน ได้รับรางวัลศิลปินศิ​ิลปาธร สาขาเรขศิลป์ เมื่อปี ๒๕๕๗ สมรสกับนางสุเพ็ญและมีบุตร ๑ คน ชื่อฟ้าไท มีธิดา ๑ คน ชื่อฟ้าใหม่ ปัจจุบันเปิดร้านขายของที่ระลึกเล็กๆ บนถนนสามเสน ใกล้บางล�ำพู

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาวิน อินทรังษี รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ และอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาออกแบบ นิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และนัก ออกแบบกลุ่มเซียมไท้ และเซียมไล้ รางวัลบางส่วน 2558 รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบดี Design Excellence Award (DEmark) หมวดกราฟิกดีไซน์ จากผลงานออกแบบฟอนต์ Leelas 2558 รางวัล Good Design Awards (G-mark) จากผลงาน ออกแบบฟอนต์ Leelas

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.ศิลปศึกษา) เกีตรตินิยมอันดับ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2524 ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต (คม.ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2524 ผลงานอ้างอิง www.thaifont.info , www.prachid.com , www. wordpressthai.com, www.chandrakasem.infocru-font. blogspot.com typefacesdesign.blogspot.com, etcs.


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

อาจารย์ดร.ขาม จาตุรงคกุล เกิด 12 กรกฎาคม 2517 ต�ำแหน่งงาน อาจารย์ประจ�ำ และ กรรมการหลักสูตรปริญญา โท สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม (การออกแบบกราฟิกและ มัลติมีเดีย) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - รางวัลชนะเลิศ ฟอนต์แห่งชาติ TH KoHo โดยส�ำนักงานส่ง เสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และ กรม ทรัพย์สินทางปัญญา 2550 - รางวัลชนะเลิศ ผลิตภัณฑ์ทุนทางวัฒนธรรม ISAN CUBISM (จานรองแก้วเซรามิคลายขิดอีสาน)

ธีรวัฒน์ พจน์วิบูลศิริ : อักษรสนาน อาจารย์ประจ�ำภาควิชากระบวนจินตภาพคอมพิวเตอร์ คณะนิเทศน์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ นักออกแบบกลุ่มเซียมไท้และเซียมไล้ เกิด ๒๒ สิงหาคม ๒๕๑๗ ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขานิเทศศิลป์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ศิลปกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเรขศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กฤษดา วงศ์อารยะ เกิด ๑๙ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ ปริญญาตรี (ออกแบบตกแต่งภายใน) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปริญญาโท (ออกแบบกราฟิก) California State University, Los Angels(Alumni of Honor) อาจารย์พิเศษ คณะศิลปกรรม ภาคนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่ปรึกษาด้านศิลปะ ทีซีซี กรุ๊ป (tcc group) ร่วมงานและเป็นหน่วยสนับสนุน กลุ่มเซียมไท้ Siam type - เซียมไล้ siam life


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

ปริญญา โรจน์อารยานนท์ ผลงานที่ผ่านมา ๙ หลวง ดีบี ไสยาสน์ ดีบี สันติภาพ ดีบี สาทร

ดีบี สยามินทร์ ดีบี เฮลเวทิกา้ ดีบี โซดา ดีบี ฟองน�้ำ

นภนต์ พุทธิพัฒนกุล เกิดวันที่ ๐๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๔ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบนิเทศน์ศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชานฤมิต ศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นนักออกแบบตัวอักษรที่บริษัท คัดสรร ดีมาก จ�ำกัด

คนัช อุยยามาฐิติ เกิดวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๙ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขา ออกแบบนิเทศน์ศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปัจจุบันเป็นนักออกแบบตัวอักษรที่บริษัท คัดสรร ดีมาก จ�ำกัด ผลงานออกแบบตัวอักษร ได้รับรางวัลระดับนานาชาติ การประกวด การออกแบบตัวอักษรที่ไม่ใช่ตัวละติน หรือ กรานชาน ปีค.ศ. 2016 และผลงานการออกแบบล่าสุดคือแบบตัวอักษรเพื่อใช้ในแคมเปญ ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)


ถ้าท�ำงานด้วยความตั้งใจที่จะให้เกิดผลอันยิ่งใหญ่

คือความเป็นปึกแผ่นของประเทศชาติ ด้วยความสุจริตและด้วยความรู้ความสามารถด้วยจริงใจ

ไม่นึกถึงเงินทองหรือนึกถึงผลประโยชน์ใดๆ ก็เป็นการท�ำหน้าที่โดยตรงและได้ท�ำหน้าที่โดยเต็มที่. พระบรมโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ศึกษาธิการจังหวัดทั่วประเทศ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๑


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดย อาวิน อินทรังษี



๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

9 Beloved King ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาวิน อินทรังษี ฟอนต์ 9 BeloveKingเป็นฟอนต์ที่พัฒนามาจากฟอน ต์ BelovedKing ที่ออกแบบขึ้นด้วยความอาลัยยิ่งเมื่อ วันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ หนึ่งสัปดาห์หลังจากการสวรรคตของในหลวง รัชกาลที่ ๙ และเพื่อเป็นการสร้างสิ่งอันเป็นที่ระลึกถึงพระองค์ และเป็นประโยชน์ แก่บุคคลทั่วไป ข้าพเจ้าจึงประกาศมอบฟอนต์ นี้แก่สาธารณะ โดยมี เงื่อนไขว่าจะมอบฟอนต์นี้แก่บุคคลที่บริจาค เงินให้แก่มูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จ�ำนวน ๑๐๐ บาท โดยการโอนเงินตรงไปที่ บัญชีของมูลนิธิฯ แล้วส่งหลักฐาน การโอนเงินเพื่อขอรับฟอนต์ ซึ่งจะ ถูกจัดส่งให้ทางอีเมลต่อไป ใน ช่วงเวลานั้นมีผู้บริจาคเงินจ�ำนวนมาก ได้ส่งหลักฐานการโอนเงิน บริจาคและขอรับฟอนต์ไปแล้วเรียบร้อย ผู้ได้รับฟอนต์บางท่านได้ น�ำฟอนต์ไปใช้งานที่เกี่ยวกับในหลวงรัชกาลที่ ๙ เช่น การจัดพิมพ์ หนังสือ การจัดนิทรรศการ เป็นต้น

ฟอนต์ BelovedKing ที่ถูกออกแบบครั้งแรกนั้น มีแต่ตัว อักษรไทย ยังไม่มีตัวอักษรละติน แต่หากพิมพ์ตัวอักษรละติน A-Z จะได้ภาพเรียงต่อกันเป็นรูปเรือพระนั่งสุพรรณหงส์ และหากพิมพ์ a-z จะได้ภาพเรียงต่อกันเป็นรูปเรือพระนั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ ต่อมาเมื่อได้รับการติดต่อให้เข้าร่วมโครงการ ๙ แบบ ตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ จึงได้ออกแบบตัวอักษรละตินเพิ่มเติมจนครบ สมบูรณ์ ทดแทนภาพเรือ พระที่นั่งดังกล่าว รวมทั้งแก้ไขตัวอักษร ไทยบางตัว เช่น ฐ ส ฮ ร ว


กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒ ณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤ ลฦวศษสหฬอฮ ABCDEFGHIJKLMNOPQR STUVWXYZ abcdefghijklmnopqrst uvwxyz ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ 9876543210 ิ ี ึ ื ุ ู ฺเแโใไ่ ้ ๊ ๋ ์ ็าำะๆฯ ๏๛ + - ± × ÷ ¬ ^ ≤ < = >≥ ∞∂ { } ( ) / ! " &@˝'*,.:;


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

ฟอนต์ 9 BeloveKing นี้จัดอยู่ในลักษณะ Display font ซึ่งเหมาะกับ การใช้เป็นตัวอักษรพาดหัว หัวข้อ หรือข้อความสั้น ๆ ที่มีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะ ส�ำหรับการใช้เป็นตัวส�ำหรับเนื้อหาที่ต้อง อ่านยาว ๆ รูปแบบตัวอักษรมีส่วนผสมของตัวอักษรไทยที่เขียนด้วย ปากกาหรือ แปรงหัวตัดแบบช่างเขียนตัวอักษรในสมัยก่อน กับตัว อักษรละตินแบบคลาสสิก เส้นของตัวอักษรจึงมีความหนาและบาง ปลายค่อนข้างเรียวไม่ตัดตรง บางแห่งมี การตวัดเส้น ให้ความรู้สึก อ่อนช้อยแบบไทย ข้าพเจ้าขอขอบคุณที่ผู้จัดท�ำโครงการ ๙ แบบตัวพิมพ์ ไทยเพื่อพ่อ ที่ให้ โอกาสข้าพเจ้าได้เข้าร่วมโครงการนี้ นับเป็น เกียรติแก่ข้าพเจ้าเป็นอย่างยิ่ง และ รู้สึกภูมิใจที่ได้ท�ำสิ่งที่ดี สิ่งที่ เป็น

ประโยชน์ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพล อดุลยเดชฯ ที่ทรงสอนให้เรารู้จักการให้ ดังพระบรมราโชวาท ที่ พระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๒๑ ความว่า “คนเราจะเอาแต่ได้ไม่ได้ คนเราจะ ต้องรับและจะต้องให้ หมายความ ว่าต่อไปและเดี๋ยวนี้ด้วยเมื่อรับ สิ่งของใดมา ก็จะต้องพยายามให้ ในการให้นั้น ให้ได้โดยพยายาม ที่จะสร้างความสามัคคีให้หมู่คณะและในชาติ ท�ำให้หมู่คณะและ ชาติประชาชนทั้งหลายมีความไว้ใจซึ่งกันและกันได้ ช่วยที่ไหนได้ก็ ช่วย ด้วยจิตใจ ที่เผื่อแผ่โดยแท้”


"การดนตรีจึงมีความหมายสำ�คัญสำ�หรับ ประเทศชาติส�ำ หรับสังคม ถ้าทำ�ดีๆ ก็ ทำ�ให้คนเขามีก�ำ ลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็

เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง

ทำ�ให้คนที่กำ�ลังท้อใจมีกำ�ลังใจขึ้นมาได้

คือเร้าใจได้ คนกำ�ลังไปทางหนึ่งทาง

ที่ไม่ถูกต้อง ก็อาจจะดึงกลับมาในทาง ที่ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความ สำ�คัญอย่างยิ่ง"

พระราชดำ�รัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงย้ำ�ในเรื่องอานุภาพของ ดนตรี และความสำ�คัญของดนตรีที่มีต่อประเทศชาติและสังคม ดังที่ทรง พระราชทานแก่ คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ฯ เมื่อ วันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดย

นภนต์ พุทธิพัฒนกุล



๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

9 LP นภนต์ พุทธิพัฒนกุล ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา เกิดการสูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน ส่งผลให้เศรษฐกิจชะงักงัน กระทบทุกภาคส่วน แม้แต่ในอุตสาหกรรมเพลงก็ไม่พ้นพิษของสงครามนั้น ส่งผลให้ การบันทึกเสียงหยุดชะงัก เนื่องมาจากโรงงานที่ผลิตแผ่นเสียงที่ เยอรมันถูกท�ำลาย ดังนั้นเกิดภาวะสุญญากาศในการผลิตแผ่นเสียง ไปทั่วโลก ส�ำหรับในประเทศไทยก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน เพื่อให้ ทันต่อความต้องการของตลาด นายเตีย เง๊กชวน จึงเล็งเห็นโอกาส ที่จะผลิตแผ่นเสียงขึ้นเอง โดยใช้ชื่อว่า แผ่นเสียงตรากระต่าย จึงได้กราบบังคลทูลขอพระบรมราชานุญาต พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ น�ำเพลงพระราชนิพนธ์ แสงเทียน สายฝน ยามเย็น ชะตาชีวิต และใกล้รุ่ง มาบันทึกเสียง ออกจัดจ�ำหน่ายและปันผลก�ำไรบางส่วนบ�ำรุงโรงพยาบาลรัฐด้วย เช่นกัน บทเพลงดังกล่าวได้ถูกบันทึกเสียงผลิตเพื่อจ�ำหน่ายซ�้ำอีก หลายต่อหลายครั้ง

นับได้ว่าแผ่นเสียงตรากระต่ายได้ท�ำหน้าที่ขับกล่อมผู้คนหลายช่วง อายุคน แม้วา่ ปัจจุบัน นายเตีย เง๊กชวน จะได้เลิกกิจการไปแล้ว ด้วยการเข้ามาของเทคโนโลยีการฟังเพลงใหม่ๆ ที่เข้ามาแทนที่ แผ่นเสียงก็ตาม แต่แผ่นเสียง “ตรากระต่าย” ของนาย เตีย เง๊กช วน ก็ได้ท�ำหน้าที่เป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ของบทเพลงพระ ราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 ให้แก่ลูกหลานไทย อาทิ เพลงแสงเทียน อันเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ล�ำดับแรกของพระบาทสมเด็จพระปร มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์ค�ำร้องภาษา ไทย และพระราชทานให้น�ำออกบรรเลงครั้งแรก พ.ศ. 2490 ต่อมา ใน พ.ศ. 2496 นางสาวสดใส วานิชวัฒนา ได้ประพันธ์ค�ำร้องเป็น ภาษาอังกฤษถวาย


Basic Characters

กขฃคฅฆงจฉชซฌ ญฎฏฐฑฒณดตถท ธนบปผฝพฟภมยร ฤลฦวศษสหฬฬอฮ ABCDEFGHIJKLM NOPQRSTUVWXYZ abcdefghijklmn opqrstuvwxyz Vowels & Thai Marks

อะ อา อำ อิ อี อึ อื อุ อู อฺ เอ โอ ไอ ใอ อ่ อ้ อ๊ อ๋ อ็ ๆฯ๚๏๛

Symbols

$€£¥¢ƒπ√∫◊∞% ‰#°+±−×÷¬^≤< =≈~≠>≥

Numerals

Accented Characters

๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ 0123456789

ÀÁÂÃÄÄÅÆÇÐ ÈÉÊËÌÍÎÏŁÑÒ ÓÔÕÖØOEÞŠÙ ÚÛÜŸÝŽàáâã ääåæçðèéêë ìíîïłñòóôõöø oeþšùúûüÿýž

Special Characters

()[]{}/|¦\*†‡ ‘“’”‚„‘”_-–—·• . ... , : ; ¡ ! ¿ ? « ‹ › » @#¶§&©®%‰°


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แผ่นเสียงตรากระต่ายจึงเป็นภาพจ�ำและผูกพันเกี่ยวเนื่องกับ บทเพลงพระราชนิพนธ์ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ผมจึงน�ำเอาแบบ ตัวอักษรที่อยุ่บนแผ่นเสียงนี้ มาขยายให้เป็นชุดแบบตัวอักษร โดย รักษาเจตนาของต้นฉบับที่ปรากฏอยู่บนแผ่นเสียงเอาไว้ จากการ พิจารณาหลักฐานขั้นต้นซึ่งก็คือตัวแผ่นเสียง พบว่าแบบตัวอักษร ชุดนี้มีมุมเหลี่ยมที่ไม่ชัดเจน ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นเจตนาของผู้ ออกแบบหรือเป็นผลมาจากกระบวนการผลิตจึงท�ำให้เกิดลักษณะ ดังกล่าว เมื่อศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องในช่วงเวลานั้น พบว่าแบบ ตัวอักษรนี้ไม่ใช่สิ่งที่ถูกคิดขึ้นใหม่หากแต่เป็นแบบตัวอักษรที่ถูก นิยมใช้อย่างแพร่หลายอยู่แล้ว โดยมีชื่อเรียกว่า “ตัวเหลี่ยม” เป็นกลุ่มแบบอักษรที่รับอิทธิพลมาจากแบบอักษรละตินในกลุ่ม เรขาคณิต ซึ่งจะมีเส้นตรงที่ชัดเจนและส่วนโค้งที่อา้ งอิงสัดส่วนจาก รูปทรงเรขาคณิต เมื่อแนวคิดดังกล่าวถูกน�ำมาออกแบบเป็น “ตัว เหลี่ยม” ในบริบทของภาษาไทย จะพบว่าแบบดังกล่าวมักถูก น�ำไปใช้ในการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกับความ เคลื่อนไหวทางการเมืองอยู่บ่อยครั้ง ดังจะเห็นได้จาก

ป้ายหลัก 6 ประการของคณะราษฎร หนังสือพิมพ์รายวันชื่อ “ประชาชาติ” เป็นต้น อีกทั้งถูกน�ำไปจัดท�ำป้ายชื่ออาคารต่างๆ อาทิเช่น ป้ายศาลาเฉลิมกรุง ป้ายสวัสดิโสภา นอกจากนี้ ยังพบ แบบตัวเหลี่ยมใช้เป็นตัวพาดหัวอย่างแพร่หลายในหน้าปกของ หนังสือนิยายสิบสตางค์ จากความชัดเจนของโครงสร้างการเดินเส้น ของแบบอักษรดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของเส้นตั้งที่มี ความหนาทึบเสมือนจะล้อเลียนโครงสร้างของอาคารคอนกรีต จึง อาจเป็นส่วนหนึ่งของที่มาในน�้ำเสียงที่บ่งบอกถึงความจริงจัง หนัก แน่น และมั่นคงได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่าตัวอักษรมีลักษณะ บวมและทึบตันท�ำให้อ่านได้ยาก ผมจึงเริ่มจากการก�ำหนดสัดส่วน ของแบบตัวอักษร และมีการจัดการพื้นที่สีขาวขึ้นใหม่ ท�ำให้แบบ ตัวอักษรชุดนี้มีความสามารถในการอ่านที่ดีขึ้น รวมไปถึงการใช้ร่วม กับตัวละตินที่ถูกออกแบบมาได้เป็นอย่างดี และเพื่อเก็บรักษาภาพ จ�ำของแบบเอาไว้จึงต้องคงมุมเหลี่ยมที่มีปลายตัดโค้งมนเอาไว้ตาม แบบต้นฉบับที่ปรากฏบนแผ่นเสียงตรากระต่าย


๙ฉ๙ “ …ความพอเพียงนี้ ไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอ ผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันมากเกินไป

แต่ในหมู่บ้านหรือในอ�ำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการ ก็ขายได้แต่ ในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก….

มีเงินเดือนเท่าไหร่ จะต้องใช้ภายในเงินเดือน..กู้ เงินนั้น เงินจะต้องให้เกิดประโยชน์ มิใช่กู้สำ� หรับ ไปเล่น ไปท�ำอะไรที่ไม่เกิดประโยชน์….” พระราชด�ำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสด ิ าลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙.


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดย

กฤษดา วงศ์อารยะ






“ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มี ใครที่จะท�ำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การ

ท�ำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึง

หากแต่อยู่ที่ การส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครอง บ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้ มีอ�ำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อน วุ่นวายได้” มิใช่การท�ำให้ทุกคนเป็นคนดี

พระบรมราโชวาทในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ จังหวัดชลบุรี 11 ธันวาคม 2512


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดย ไพโรจน์ ธีระประภา


9 our KING™ –font–

IN

Remembrance OF

His Majesty King Bhumibol Adulyadej


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

9 our KING™ –font–

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา

ภูมิพล

อดลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร กขฃคคคฅฅฆงจจฉชซ ฌฌญฎฏฐฑฑฒณณดดตตตถถ ทททธนนนบบปปผผฝพพฟภมมมม ยยยรรรรลลล ววศศษสสสสหหฬฬอออฮฮ AABCDEEFGHHIJKLMNOPQRSSTTUUVWXYYZ abcdefghijklmnopqrstuvwxyz ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙&£¥¢$฿€0123456789 ¼ ½ ¾ ©@®


9 our KING™ –font–

ฟอนต์พิเศษสุดชีวิต ของนักออกแบบคนหนึ่ง

ด้วยความโศกเศร้า

อาดูรสุดพรรณนา

เพื่อแสดงความรำลึก

ถึงพระองค์ท่าน

ตลอดไป ตราบนิจนิรันดร์


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

9 our

™ KING

–font– โดย

ไพโรจน์ ธีระประภา เกิด ๒๗ มีนาคม ๒๕๐๘ ชาวกรุงเทพฯ จบปริญญาตรีและโทจากภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อจบได้เริ่มงานเป็น Graphic Designer และ Art Director ในบริษัทชั้นนำหลายแห่ง เป็นอาจารย์พิเศษชำนาญการด้านกราฟิกหลายสถาบัน ได้รับรางวัลศิลปินศิ​ิลปาธร สาขาเรขศิลป์ เมื่อปี ๒๕๕๗ สมรสกับนางสุเพ็ญและมีบุตร ๑ คน ชื่อฟ้าไท มีธิดา ๑ คน ชื่อฟ้าใหม่ ปัจจุบันเปิดร้านขายของที่ระลึกเล็กๆ บนถนนสามเสน ใกล้บางลำพู


“การใช้จ่ายอย่างประหยัดนั้น จะ เป็นหลักประกันความสมบูรณ์ พูนสุขของผู้ประหยัดเองและ ครอบครัวช่วยป้องกันความ ขาดแคลนในวันข้างหน้า การ

ประหยัดดังกล่าวนี้จะมีผล ดีไม่เฉพาะแก่ผู้ที่ประหยัด เท่านั้น ยังเป็นประโยชน์แก่ ประเทศชาติด้วย”

พระกระแสพระราชดำ�รัสพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส ขึ้นปีใหม่ 2500


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

9 Pradit แบบอักษรโดย คนัช อุยยามาฐิติ


สวัสดีวันปีใหม่พา ให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์ ฤกษ์ยามดีเปรมปรีดิ์ชื่นชม ต่างสุขสมนิยมยินดี ข้าวิงวอนขอพรจากฟ้า ให้บรรดาปวงท่านสุขศรี โปรดประทานพรโดยปรานี ให้ชาวไทยล้วนมีโชคชัย ให้บรรดาปวงท่านสุขสันต์ ทุกวันทุกคืนชื่นชมให้สมฤทัย ให้รุ่งเรืองในวันปีใหม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี ตลอดปีจงมีสุขใจ ตลอดไปนับแต่บัดนี้ ให้สิ้นทุกข์สุขเกษมเปรมปรีดิ์ สวัสดีวันปีใหม่เทอญ

เพลงพระราชนิพนธ์ พรปีใหม่ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ลำดับที่ ๑๓ ทรงพระราชนิพนธ์ ขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ เมื่อเสด็จ นิวัตพระนครและประทับ ณ พระตำหนัก จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต มีพระราชประสงค์ ที่จะพระราชทานพรปีใหม่ แก่บรรดา พสกนิกรไทย ด้วยเพลงจึงทรงพระราชนิพนธ์ เพลง "พรปีใหม่" และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้อง เป็นคำอวยพรปีใหม่ แล้วพระราชทาน แก่วงดนตรี ๒ วง คือ วงดนตรีนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำออกบรรเลง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวงดนตรีสุนทราภรณ์ นำออกบรรเลง ณ ศาลาเฉลิมไทย ในวันปีใหม่

วันอังคารที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๕


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

9 Pradit คนัช อุยยามาฐิติ ส.ค.ส. (ส่งความสุข) เกิดขึ้นครั้งแรกในยุโรปช่วงคริสต์ ศตวรรษที่ ๑๕ โดยการพิมพ์ภาพลงบนแผ่นไม้เป็นรูปต่างๆ พร้อม ค�ำอวยพรสั้นๆ ต่อมาได้ถูกพัฒนารูปแบบให้เป็นกระดาษที่มีสีสัน สวนงามมากยิ่งขึ้น ส�ำหรับประเทศไทยได้รับเอาวัฒนธรรมการ ส่ง ส.ค.ส. เข้ามาครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๙ ในรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดฯ ให้จัดท�ำขึ้นเพื่อเพื่อ พระราชทานแก่ คณะทูตานุทูต ข้าราชบริพาร และมิตรสหายที่อยู่ ต่างประเทศ โดยมีขนาดเท่ากับนามบัตร และถูกเขียนด้วยลายมือ ต่อมาได้มีขนาดใหญ่ขึ้นจนเท่าขนาดโปสการ์ดและมีการตกแต่ง ด้วยภาพวาดสีน�้ำมัน ส่วนค�ำอวยพรมีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง ซึ่ง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชทานพรปีใหม่ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานี โทรทัศน์ทุกสถานี

นอกจากนี้ ยังทรงปรุแถบโทรพิมพ์ (เทเล็กซ์) พระราชทานพรปี ใหม่แก่เจ้าหน้าที่ผู้ถวายงานอีกด้วย จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ทรงเริ่มต้นประดิษฐ์ ส.ค.ส. พระราชทานด้วยคอมพิวเตอร์ส่วน พระองค์ แต่ด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสมัยนั้นยังมีข้อจ�ำกัดใน การท�ำงานอยู่มาก รวมไปถึงที่เทคโนโลยีสมัยนั้นยังไม่มีภาษาไทย ถูกบรรจุอยู่ในคอมพิวเตอร์ พระองค์จึงทรงริเริ่มประดิษฐ์แบบตัว อักษรไทยขึ้นส�ำหรับคอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรก เพื่อใช้ส�ำหรับเป็น ข้อความใน ส.ค.ส. เพื่ออวยพรปีใหม่แก่พสกนิกรชาวไทย โดยแบบ ตัวอักษรไทยที่ถูกประดิษฐ์ในช่วงแรกเป็นแบบตัวอักษรพิกเซล ที่มี ลักษณะเป็นทรงแคบ ส่วนหัวจะเป็นหัวแฝงเร้น ต่อมาได้เปลี่ยนมา ใช้ตัวอักษรแบบมีหัว แต่ก็ยังคงน�ำเอาแบบตัวอักษรพิกเซลมาใช้ใน การลงท้ายส.ค.ส.ที่เป็นลักษณะเฉพาะของพระองค์ไว้อยู่อีกหลาย ครั้ง ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้แบบตัวอักษรมาตรฐานในล�ำดับต่อไป

๕๕


Basic Characters

กขฃคฅฆงจฉชซฌญ ฎฏฐฑฒณดตถทธน บปผฝพฟภมยรฤลฦ วศษสหฬฬอฮ ABCDEFGHIJKLM NOPQRSTUVWXYZ abcdefghijklm nopqrstuvwxyz Vowels & Thai Marks

Symbols

อะ อา อำ อิ อี อึ อื อุ อู อฺ

+±−×÷¬^≤<=≈~≠>≥∞∂

ๆฯ๚๏๛

Ω฿$€£¥¢ƒ¤

เอ โอ ไอ ใอ อ่ อ้ อ๊ อ๋ อ็

μπ√∫Δ◊ >≥∞∂μπ√∫Δ◊

Numerals

Accented Characters

๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙

ÀÁÂÃÄÄÅÆÇÐ

Special Characters

ÕÖØOEÞŠÙÚÛÜ

0123456789

()[]{}/|¦\*†‡

‘“’”‚„‘”_-–—·• . ... , : ; ¡ ! ¿ ? « ‹ › »

@#¶§&©®%‰°

ÈÉÊËÌÍÎÏŁÑÒÓÔ ŸÝŽàáâãääå

æçðèéêëìíîïłñ òóôõöøoeþš ùúûüÿýž


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

ในปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๐) ความรู้ความเข้าใจในด้านการออกแบบ รวมไปถึงเทคโลยีได้เข้าใกล้กับวิถีชีวิตของผู้คนมากขึ้น ถ้าเรา ใช้ความรู้ความเข้าใจของปัจุบันไปสวมเข้ากับเงื่อนไขของการ ออกแบบในอดีตจะท�ำให้เกิดผลออกมาเป็นอย่างไร จะสามารถ ใช้งานกับยุคปัจุบันได้ดีแค่ไหน หากย้อนกับไปมองแนวคิดการ เกิดขึ้นของแบบตัวอักษรพิกเซล น่าจะเกิดจากความต้องการที่จะ น�ำไปใช้บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ นั่นหมายถึงการอ่านได้ชัดเจน และสามารถจับใจความที่ต้องการสื่อสารได้อย่างครบถ้วน แบบ ตัวอักษรที่จะเกิดขึ้นจึงควรเป็นแบบที่เหมาะส�ำหรับน�ำไปใช้ใน การอ่าน เมื่อพูดถึงการอ่านง่ายความคุ้ยเคยของคนไทยส่วนใหญ่ สะดวกใจที่จะอ่านตัวอักษรแบบมีหัว ในส่วนตัวละตินที่จะถูกน�ำ มาใช้คู่กันนั้นแรกเริ่มถูกคิดในกรอบของสมัยนิยมที่นิยมใช้คู่กับตัว อักษรแบบไร้เชิงฐาน แต่เมื่อน�ำมาใช้ร่วมกัน พบว่าตัวอักษรแบบ ไร้เชิงฐานดูโปร่งกว่าเมื่อใช้คู่กันกับตัวอักษรแบบมีหัว จึงจ�ำเป็น ต้องเปลี่ยนแบบของตัวอักษรแบบไร้เชิงฐานมาเป็นตัวอักษรแบบ มีเชิงฐานซึ่งสามารถเข้ากันได้ดีกับแบบตัวอักษรภาษาไทยชุดนี้ มากกว่า

เหตุที่เป็นเช่นนี้เพื่อต้องการจะรักษาเจตนาของข้อจ�ำกัดในการ ออกแบบตัวอักษรพิกเซลเอาไว้อย่างครบถ้วน ท�ำให้การจัดการ ระยะห่างระหว่างตัวอักษรจึงถูกคิดอยู่ในกรอนนั้นด้วย แต่เมื่อน�ำ มาทดสอบการใช้งานจะพบว่ามีปัญหาเกี่ยวระยะห่างระหว่างตัว อักษรอยู่บ้าง ท�ำให้ต้องย้อนกลับมามองเจตนาที่ว่าเราต้องการให้ แบบตัวอักษรชุดนี้สามารถใช้งานได้ดีในปัจุบัน จึงต้องใช้วิธีการ จัดการของปัจุบัน ท�ำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากข้อจ�ำกัดทางด้านการ จัดการระยะห่างระหว่างตัวอักษรนั้นหมดไป ผลลัพธ์ที่ได้เป็นแบบ ตัวอักษรพิกเซลที่สามารถใช้งานได้ดีในปัจุบันแต่ยังคงกลิ่นอายของ แนวคิดที่เกิดจากข้อจ�ำกัดในการแบบตัวอักษรพิกเซลไว้เป็นอย่างดี เพื่อระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชใน ความคิดริเริ่มที่จะประดิษฐ์แบบตัวอักษรไทย เพื่อให้สอดคล้อง กับเครื่องมือของยุคสมัย จึงเป็นที่มาของชื่อแบบตัวอักษรนี้วา ่ “๙ ประดิษฐ์”


“จิตใจและความประพฤติที่สะอาดและมีระเบียบ เป็น รากฐานส�ำคัญของชีวิตจิตใจทั้งความประพฤติดัง นั้นใช่จะเกิดมีขึ้นเองได้ หากแต่จ�ำเป็นต้องฝึกหัดอบรม และสนับสนุนส่งเสริมกันอย่างจริงจังสม�ำ่ เสมอ นับ ตั้งแต่บุคคลเกิด ดังที่มนุษย์ไม่ว่าชาติใดภาษาใด ได้เฝ้า พยายามกระท�ำสืบต่อกันมาทุกยุคทุกสมัย ทั้งเพื่อให้สามารถ รักษาตัวและมีความสุข ความส�ำเร็จในการครองชีวิต ทั้งให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ด้วยความผาสุกสงบ”

พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่านในพิธีเปิดการสัมมนาของสภา สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย เรื่อง การพัฒนาสังคมในด้านศีลธรรมและจิตใจ 15 ธันวาคม 2516


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดยธีรวัฒน์ พจน์วิบูลศิริ










“การมีเสรีภาพนั้นเป็นของดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อ จะใช้ จ�ำเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและ ความรับผิดชอบมิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของ ผู้อื่น ที่เขามีอยู่เท่าเทียมกันทั้งมิให้กระทบ กระเทือนถึงสวัสดิภาพและความเป็นปกติสุข ของส่วนรวมด้วย

มิฉะนั้น จะท�ำให้มีความยุ่งยากจะท�ำ สังคมและชาติประเทศต้องแตกสลาย จนสิ้นเชิง…..”

พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แถลงการณ์ สภาการวิทยุและโทรทัศน์ แห่งชาติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (สวชพ.) เรื่อง “การใช้เสรีภาพเพื่อความ ปรองดองสมานฉันท์” เนื่องในวันนักข่าว 5 มีนาคม 2520


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดย ประชิด ทิณบุตร


ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน (Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อำเแโใไ?

นักออกแบบตัวพิมพ์ 9 เทอดไทย์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร : www.thaifont.info Type Designer : Assistant Professor Prachid Tinnabutr : www.thaifont.info


9 รeรร รรรร ออกแบบและโปรแกรมโดยยผูชวยศาสตราจารยประชิดดทิณบุตรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร


9 TerdThai

๙ เทอดไทย : แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

Hxpdiก็ไบ่ใณ๋ฏุ๊ฃุ้ปี่ Font UPM Size : 1000

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดถทธนบปผฝพ ฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮๆๅ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ฿๏๏ฤฦ๛อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อำเแโ ใ ไ? บ่บ้บ๊บ๋บ์บับ็ป่ป้ป๊ป๋ป์ปั่ปั้ปั๊ปั๋ปิปีปึปืปิ่ปิ้ปิ๊ปิ๋ปีปี่ปี้ปี๊ปี๋ปื ปื่ปื้ปื๊ปื๋ปิ์ฟิฟีฟึฟืฟัฟ็ฟํฟ่ฟ้ฟ๊ฟ๋ฝัฝํฝ็ฝ่ฝ้ฝ๊ฝ๋ฝ์ฝึฝึ่ฝึ้ฝึ๊ฝึ๋ ขอจงมีความเพียรที่บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์ : พระตำหนักสวนจิตรลดารโหฐาน ๒๕๓๙ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{} []:"<>?;'",./\*-.=;'$¢£¥€§©®µ¶ßΩ℮∂∆∏√∞∫◊ ÁÀÂÃÄÅẠẢẤẦẨẪẬẮẰẲÆÇŒĆČĐÈÉÊẸẺẼËẾỀỂỄ ỆĞÌİĨỈỊÑÒÓÔÕÖỌỎỐỒỔỖỘỚỜỞỠỢŞŠÙÚỤỦỨỪỬỮỰ ÛÜŸỲÝỴỸŽàáâãäåçčć ₫èéêëẽếềểễệğğìíîïñòóô õöỏốồổỗộớờởỡợơş†‡ụủũùúûüưứừửữựýỵỷỹÿž The quick brown fox jumps over the lazy dog. Do bạch kim rất quý, sẽ ể lắp vô xương. Thai Pangram เป็นมนุษย์สุดประเสริฐเลิศคุณค่า จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัดฮึดฮัดด่า ปฏิบัติประพฤติกฎกำหนดใจ

กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน อย่าล้างผลาญฤเข่นฆ่าบีฑาใคร หัดอภัยเหมือนกีฬาอัชฌาสัย พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ

9 Terd Thai ออกแบบและโปรแกรมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร Contact : Prachid Tinnabutr: prachid007@gmail.com : 2017 : www.thaifont.info


Inspiration & Implementation 9 TerdThai Script 2

9 TerdThai

ธ สถิ ถิตใในใจ

แรงบันดาลใจ

9 องศา

Our Beloved

9 TerdThai Script 1

วิธีการใชเลือกใชแบบตัวพิม

9 องศา มี 3 รป ู แบบ (Typefaces) 1. 9 TerdThai 2. 9 TerdThai Script 1 3. 9 TerdThai Script 2

เกย ี รตค ิ ณ ุ ความดี ความงาม ความสข ุ Vector & Raster Applications

Office Applications

Assistant Professor Prachid Tinnabutr

Facebook.com/prachidtin มหาวท ิ ยาลย ั ราชภฏ ั จน ั ทรเกษม ถนนรช ั ดาภเิษก เขตจตจ ุ ก ั ร กทม. 10900 โทร. 0-2942-6900-99

www.thaifont.info , www.prachid.com .www.wordpressthai.com ,www.chandrakasem.info cru-font.blogspot.com , typefacesdesign.blogspot.com ,chainatbrand.blogspot.com ,etcs.


9 TerdThai

๙ เทอดไทย

Font UPM Size : 1000

Others Language Pangram 1.Denish: Quizdeltagerne spiste jordbær med fløde, mens

cirkusklovnen Walther spillede på xylofon. 2.Dutch : Pa’s wijze lynx bezag vroom het fikse aqua 3.Estonian : Põdur Zagrebi tšellomängija-följetonist Ciqo külmetas kehvas garaažis 4.Finnish : Viekas kettu punaturkki laiskan koiran 5.French :Voix ambiguë d’un cœur qui au zéphyr préfère les jattes de kiwi. 6.german : Victor jagt zwölf Boxkämpfer quer über den großen Sylter Deich 7.Indonesian : Saya lihat foto Hamengkubuwono XV 8.Romanian : Agera vulpe maronie sare peste c?inele 9.Italian : Ma la volpe, col suo balzo, ha raggiunto il quieto Fido. 10.Portuguese : Luís argüia à Júlia que «brações, fé, chá, óxido, pôr, zângão» eram palavras do português. 11.Brazilian : A ligeira raposa marrom ataca o c?o pregui?o 12.Spanish : La niña, viéndose atrapada en el áspero baúl índigo y sintiendo asfixia, lloró de vergüenza; mientras que la frustrada madre llamaba a su hija diciendo: “¿Dónde estás Waleska?”. 13.Swedish : Flygande bäckasiner söka hwila på mjuka tuvor. 14.Turkish : Pijamalı hasta yağız şoföre çabucak güvendi. 15.Slovenian : Šerif bo za vajo spet kuhal domače žgance. i finu vatu u džepu nošnje. 17.Tagalog: Ang bawat rehistradong kalahok sa patimpalak ay umaasang magantimpalaan ng ñino 18.English : jevt qwiz ducx from bank glyphs

Thai Pangram

Contact : Prachid Tinnabutr: prachid007@gmail.com : 2017 : www.thaifont.info


9 TerdThai Script 1

๙ เทอดไทย : แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

Hxpdiก็ไบ่ใณ๋ฏุ๊ฃุ้ปี่ Font UPM Size : 1000

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดถทธนบปผฝพ ฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮๆๅ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ฿๏๏ฤฦ๛อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อำเแโ ใ ไ? บ่บ้บ๊บ๋บ์บับ็ป่ป้ป๊ป๋ป์ปั่ปั้ปั๊ปั๋ปิปีปึปืปิ่ปิ้ปิ๊ปิ๋ปีปี่ปี้ปี๊ปี๋ปื ปื่ปื้ปื๊ปื๋ปิ์ฟิฟีฟึฟืฟัฟ็ฟํฟ่ฟ้ฟ๊ฟ๋ฝัฝํฝ็ฝ่ฝ้ฝ๊ฝ๋ฝ์ฝึฝึ่ฝึ้ฝึ๊ฝึ๋ ขอจงมีความเพียรที่บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์ : พระตำหนักสวนจิตรลดารโหฐาน ๒๕๓๙

ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{} []:"<>?;'",./\*-.=;'$¢£¥€§©®µ¶ßΩ℮∂∆∏√∞∫◊ ÁÀÂÃÄÅẠẢẤẦẨẪẬẮẰẲÆÇŒĆČĐÈÉÊẸẺẼËẾỀỂỄ ỆĞÌİĨỈỊÑÒÓÔÕÖỌỎỐỒỔỖỘỚỜỞỠỢŞŠÙÚỤỦỨỪỬỮỰ ÛÜŸỲÝỴỸŽàáâãäåçčć ₫èéêëẽếềểễệğğìíîïñòóô õöỏốồổỗộớờởỡợơş†‡ụủũùúûüưứừửữựýỵỷỹÿž The quick brown fox jumps over the lazy dog. Do bạch kim rất quý, sẽ ể lắp vô xương. Thai Pangram เป็นมนุษย์สุดประเสริฐเลิศคุณค่า จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัดฮึดฮัดด่า ปฏิบัติประพฤติกฎกำหนดใจ

กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน อย่าล้างผลาญฤเข่นฆ่าบีฑาใคร หัดอภัยเหมือนกีฬาอัชฌาสัย พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ

9 Terd Thai ออกแบบและโปรแกรมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร Contact : Prachid Tinnabutr: prachid007@gmail.com : 2017 : www.thaifont.info


9 TerdThai Script 2 ๙ เทอดไทย : แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ

Hxpdiก็ไบ่ใณ๋ฏุ๊ฃุ้ปี่ Font UPM Size : 1000

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดถทธนบปผฝพ ฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮๆๅ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ฿๏๏ฤฦ๛อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อำเแโ ใ ไ? บ่บ้บ๊บ๋บ์บับ็ป่ป้ป๊ป๋ป์ปั่ปั้ปั๊ปั๋ปิปีปึปืปิ่ปิ้ปิ๊ปิ๋ปีปี่ปี้ปี๊ปี๋ปื ปื่ปื้ปื๊ปื๋ปิ์ฟิฟีฟึฟืฟัฟ็ฟํฟ่ฟ้ฟ๊ฟ๋ฝัฝํฝ็ฝ่ฝ้ฝ๊ฝ๋ฝ์ฝึฝึ่ฝึ้ฝึ๊ฝึ๋ ขอจงมีความเพียรที่บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ์ : พระตำหนักสวนจิตรลดารโหฐาน ๒๕๓๙

ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{} []:"<>?;'",./\*-.=;'$¢£¥€§©®µ¶ßΩ℮∂∆∏√∞∫◊ ÁÀÂÃÄÅẠẢẤẦẨẪẬẮẰẲÆÇŒĆČĐÈÉÊẸẺẼËẾỀỂỄ ỆĞÌİĨỈỊÑÒÓÔÕÖỌỎỐỒỔỖỘỚỜỞỠỢŞŠÙÚỤỦỨỪỬỮỰ ÛÜŸỲÝỴỸŽàáâãäåçčć ₫èéêëẽếềểễệğğìíîïñòóô õöỏốồổỗộớờởỡợơş†‡ụủũùúûüưứừửữựýỵỷỹÿž The quick brown fox jumps over the lazy dog. Do bạch kim rÉt quý, sẽ ể lắp vô xương. Thai Pangram เป็นมนุษย์สุดประเสริฐเลิศคุณค่า จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัดฮึดฮัดด่า ปฏิบัติประพฤติกฎกำหนดใจ

กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน อย่าล้างผลาญฤเข่นฆ่าบีฑาใคร หัดอภัยเหมือนกีฬาอัชฌาสัย พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ

9 Terd Thai ออกแบบและโปรแกรมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร Contact : Prachid Tinnabutr: prachid007@gmail.com : 2017 : www.thaifont.info



"...ความซื่อสัตย์ สุจริตเป็นพื้นฐาน ขอความ ดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝน อบรมให้ เกิดมีขึ้นในตนเอง เพื่อจักได้เติบโต ขึ้นเป็นคนดีมี ประโยชน์ และมีชีวิตที่

สะอาดที่เจริญมั่นคง..."

ความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาท พระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ปี ๒๕๓๑


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษรโดย ดร.ขาม

จาตุรงคกุล



๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

9 KhunThongDaeng พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเป็นที่รักของประชาชนชาวไทย ทรงท�ำนุบ�ำรุงบ้าน เมืองในด้านต่างๆ ด้วยพระอัจฉริภาพนานาประการที่สร้างความ สุขให้กับพสกนิกรของพระองค์ จึงเป็นค�ำถามให้กับข้าพเจ้าว่ามี สิ่งใดที่ท�ำให้พระองค์ทรงพระเกษมส�ำราญบ้าง สิ่งนั้นจึงเป็นสิ่งที่ ข้าพเจ้าอยากจะสร้างสรรค์ออกมาเพื่อเป็นการแสดงความกตัญญู ต่อพระองค์ทา่ น คุณทองแดง เป็นสุนัขทรงเลี้ยงตัวที่ 17 และมีอายุถึง 17 ปี (พ.ศ. 2558– 2541) ท่านทรงพระราชทาน ส.ค.ส.เป็นบัตรส่งความสุข ซึ่งทรงประดิษฐ์ขึ้นด้วยพระองค์เองเพื่อพระราชทานแก่พสกนิกร ชาวไทยเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่เป็นประจ�ำทุกปี ในช่วงปี พ.ศ. 2557-2549 ล้วนแต่เป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของท่านที่ทรง ฉายภาพกับคุณทองแดง และลูก ๆ ถึง 9 ปีติดต่อกัน เป็นภาพที่ แสดงความอบอุ่นอ่อนโยนน่าประทับใจเป็นอย่างยิ่ง

แสดงถึงความรักความเมตตาที่ท่านมีต่อคุณทองแดง ด้วยความที่ คุณทองแดงแม้จะมีภูมิหลังที่มาเป็นเพียงลูกสุนัขจรจัด แต่กลับมี ลักษณะนิสัยที่ เรียบร้อย รู้ความ แสนรู้ สง่างาม จงรักภักดี มี กริยามารยาทดีไม่รบกวนขณะที่พระองค์ทรงงาน เป็นที่โปรด ปราณท�ำให้พระองค์ทรงพระเกษมส�ำราญยิ่งนัก เป็นความรัก ธรรมดาสามัญเป็นความรักด้วยหัวใจอันแสนบริสุทธิ์ของสัตว์เลี้ยงที่ มีต่อนาย เป็นความรักเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่



๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

การออกแบบตัวพิมพ์ครั้งนี้ขา้ พเจ้าได้สรุปแนวคิดไว้ว่า โดยในเชิง ความหมายจะเป็นตัวพิมพ์ที่ใช้สื่อถึงความรักที่พสกนิกรได้ระลึกถึง พระองค์ด้วยความจงรักภักดีด้วยความรักอันบริสุทธิ์ใจ โดยการ ถอดอัตลักษณ์ทางกายภาพของคุณทองแดง ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ หางขอด ได้น�ำเสนอออกมาเป็นเป็นหัวอักษรไทย ส่วนรูป ร่างปราดเปรียว สง่างาม ถอดออกมาเป็นโครงของตัวอักษรเช่น เส้นของสะโพก หลัง ส่วนของเท้าจึงได้ น�ำเสนอออกมาเป็นเชิง ที่ขาของอักษรเช่นกัน และ ในส่วนของความรู้สึกนั้น..ได้ถ่ายทอด อุปนิสัยที่ สุภาพเรียบร้อยอ่อนโยนและสง่างาม คุณทองแดงเป็นสุนัขพันทาง ที่มีทั้งความเป็นสุนัขไทยที่คล้ายกับ สุนัขพันธุ์บาเซนจี (Basenji) สายพันธุ์สุนัขล่าเหยื่อ (Hound) ชนิด หนึ่ง มีถิ่นก�ำเนิดดั้งเดิมที่ทวีปแอฟริกา บริเวณประเทศคองโก และ พัฒนาสายพันธุ์สู่ประเทศอังกฤษในเวลาต่อๆมา ตัวพิมพ์คุณทองแดงจึงพยายามจะน�ำเสนอให้เห็นว่า เป็นตัวพิมพ์พันทางมีส่วนผสมของไทยจีนฝรั่งในตัวเดียวกัน จึงได้ ถ่ายทอดเอาลักษณะของตัวอักษรที่มีหัวกลมแบบไทย

ปลายในหัวตวัดอย่างพู่กันจีน เป็นฝรั่งที่โครงสร้างสง่างามและมี เชิง (serif ) ที่ปลายตัวขาของอักษร ผสมกันอยู่ให้ดูคลาสสิกแต่มี ความเป็นไทย มีลักษณะเส้นที่เป็นธรรมชาติแต่ดูเรียบร้อย นักออกแบบเริ่มต้นการออกแบบด้วยวิธีการร่างภาพคุณทองแดง เป็นลายเส้น ตั้งแต่ท่ายืน นั่ง นอน ส่วนสะโพก หาง และ ขา ซ�้ำๆ กัน และค่อยๆ ปรับลดทอนออกมาเป็นโครงสร้างองค์ ประกอบต่างๆ ของตัวพิมพ์ ได้แก่ล�ำตัว หัว และ ขา จากนั้นจึงใช้ โปรแกรมวาดภาพด้วยคอมพิวเตอร์เขียนค�ำแรกขึ้นเป็นค�ำว่า “คุณ ทองแดง” โดยได้เอกลักษณ์จาก ค และ ด ที่มีลักษณะเป็นสะโพก และ มีขาที่หันออกไปคนละทางเพื่อปรับให้อักษรมีความสมดุล กัน ในหนึ่งตัวอักษรจะผสม หางขอดแบบไทยจีน โครงสร้างแบบ ธรรมชาติของสุนัขผสมกับโครงสร้างแบบตัวอักษรโรมันคลาสสิก จากนั้นจึงประดิษฐ์ตัวอักษรต่างๆ เพิ่มเติมให้แต่ละตัวเป็นอิสระต่อ กัน ไม่เคร่งในการใส่รายละเอียดที่เหมือนกัน แต่ให้เห็นภาพรวม ไปในทิศทางเดียวกัน จากนั้นจึงน�ำเข้าโปรแกรม FontLab และมี การปรับให้ความกว้างความสูงดูกลมกลืนกันทั้งหมดอีกครั้ง


“ประเทศหรือสังคมจะอยู่ได้ ต้องมีพวกที่ให้และพวกที่รับ พวกที่ให้ส�ำคัญที่สุดได้แก่ บิดามารดา ต่อมาก็มีครูบาอาจารย์ ผู้ที่ให้นั้นเพราะ ได้รับก่อนจึงให้ได้ ทุกคนเกิดมาได้ก็ เพราะได้รับก�ำเหนิดจากบิดามารดา ได้มา เป็นครูบาอาจารย์ก็เพราะได้รับวิชาความ รู้ตกทอดกันมา"

พระบรมราโชวาท พระราชทานศึกษาธิการจังหวัด และผู้ตรวจการศึกษาทั่วราช อาณาจักร ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน 13 ธันวาคม 2511


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

แบบอักษร โดย ปริญญา โรจน์อารยานนท์


9 LUANG

ABCDEFGHIJKLMNO PQRSTUVWXYZ 0123456789 abcdefghijklmno pqrstuvwxyz 0123456789


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

ธ ทรงเป็น ผู้นำ�ระดับ ส�กล

ฟอนท์ ไทยเสมือนอักษรนำ�

โครงสร้างอักษรไทยของฟอนท์ชุดนี้ อิงตัวอักษรนำาละตินที่นิยมใช้กันทั่วโลก. ขนาดความสูง บ เท่ากับความสูงของ อักษรนำาละติน.

ไม่มีอักษรละตินตัวต�ม

เพราะออกแบบไว้แค่ ชุดอักษรนำ� แล้วนำาไปใส่ในช่องตารางของ ชุดอักษรต�ม ด้วย. ฉะนั้น ไม่ว่าต้นฉบับจะคีย์มาอย่างไร เมื่อใช้ฟอนท์นี้จะได้แต่อักษรนำาล้วน.

ธ ทรงเป็น ตัวอย่�งก�ร ใช้ชีวิตที่ เรียบง่�ย

เส้นที่แค่พอเพียง

ธ ทรงเข้�ถึง คว�ม เป็นไทย

อักษรห�งแหลม

ชุดตัวพิมพ์ ไทยเป็นแบบไม่มีหัว (Sans Loop Type) เดินเส้นกระชับ ด้วยรูปทรงเรขาคณิต.

หลักคิดใหม่

ออกแบบคู่อักษรคล้าย ให้ดูต่างกันมาก เช่น ธ-ร, ภ-ก, ฮ-อ เพื่อแก้ปัญหา คู่สับสน.

ปลายหางอักษรทั้งชุดไทยและละติน ถูกทำาให้เรียวแหลมแบบไทยประเพณี.


ทำไมฟอนท ชอ ื 9 LUANG ?

> หมายถงึ ฟอนทห  ลวง ทค ี วรใชก  บ ั งานหลวง ื เปน ็ การนอ  มราำลก มากกวา งานราษฎร เพอ ึ ถงึ ในหลวงรช ั กาลที ๙. > ชาวตางชาตจิะอานออกเสย ี งวา “ไนน หลวง” ซงึพอ  งเสย ี งกับคำา “ในหลวง” เปน ็ กศ ุ โลบาย ใหค  นตางภาษาไดเรย ี นรค ู าำทค ี นไทยเรา ใชเรย ี กพระมหากษต ั รย ิ น  น ั เอง.


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

ประวตั กิ รอ อ กแบบต วัพ มิ พ ท์ส่ี ำ ค ญ ั

สยามนิทร์ สยามนิทร์ สยามนิทร์ สยามนิทร์

๙ หลวง

ฟ อ นทโ์ค รง ก า ร ๙ แบบต วัพ มิ พ ์ ไทย เพ อ่ื พ อ่ .

ด บี​ี ส ย า มนิทร์

ฟ อ นทท์น่ีาำ โค รง อ กัษรทช่ี า่ ง หล วง เขยี นถ วา ย ใ นง า นต รา ส ญ ั ล กัษณ ง์ า นเฉ ล มิพ ระเก ยี รต ิ เนอ่ื ง ในโอ ก า ส มหา มง ค ล เฉ ล มิพ ระช นมพ รรษา ๘๐ พ รรษา ๕ ธ นัวา ค ม ๒๕๕๐ มา ทาำ ใหค้ รบ ส มบรูณ ์ เพ อ่ื รว่มถ วา ย ค วา มอ า ล ยั ส งู ส ดุ โด ย มอ บใหก้ ระทรวง วฒ ั นธ รรมเพ อ่ื ใช ง้ า น อ นัเก ย่ี วเนอ่ื ง กบัรา ช วง ศ จ์กัรี เมอ่ื ๑๘ พ .ย . ๒๕๕๙.

ด บี​ี ไส ย า ส น์

ฟ อ นท์ ไทย ด สิ เพ ล ย แ์นวด ง่ิ ต วัแรก ขอ ง ไทย (ค ยี ์ ได ต้ วันอ น แล ว้หมนุต ง้ั ขน้ึมา ใช )้

ด บี​ี เฮ ล เวไทย ก า้

(ช อ่ื ใหม่ D B H ea vent) ฟ อ นทด์ สิ เพ ล ย ์ ไทย ทม่ีสี มา ช กิ ค รอ บค รวัส งู ส ดุ ๕๖ ส ไต ล .์

ด บี​ี ส นัต ภิา พ

ฟ อ นทด์ จิทิอ ล ไทย ต วัแรก ทไ่ีด ร้บัรา ง วลั ระด บัส า ก ล Typog ra phi c E xc ellenc e จาก Type Directors Club. USA, 2005

ด บี​ี โซด า

ต วัพ น้ืช ดุ แรก ขอ ง ย คุ ฟ อ นท์ Uni c ode ทม่ีกี า รใช ส้ มรรถ นะ Li g a ture เพ อ่ื ต อ บโจทย เ์ฉ พ า ะต วัขอ ง ง า นอ อ ก แบบ.

ด บี​ี ส า ทร

ต วัด สิ เพ ล ย ์ ไทย เส มอื นล ะต นิ ทแ่ีต กต า่ ง ไปจา ก มา นพ ต กิ า้ ด ว้ย ก า รเด นิเส น้ทเ่ีขา้ ใก ล ต้ วั มหีวัมา ต รฐา นเพ อ่ื ใหอ้ า่ นง า่ ย ขน้ึ.

ด บี​ี ฟ อ ง นำ้

ต วัพ น้ืไทย ทใ่ีช ร้ปูทรง เรขา ค ณ ติ ทง้ั หมด

ผ อู้ อ กแบบ :

ป รญ ิ ญ ­โรจนอ์ ­รย­นนท

DB Saiyart

จดุเดมิ จดุเปลย่ีน

ฟ อ นทย์ คุ Pos tS c ri pt ส ระอ ุ จะอ ย แู่นว เส น้หล งั จ

เมอ่ื จ ทอ่ี อ ก แบบขน้ึใหม่ มแีต เ่ส น้ก ล ง ไมม่เีส น้หล งั ต อ้ ง ใช ้ Li g a ture ช ว่ย เล อ่ื น ต ำ แหนง่ ส ระอ ุ ต วัใหม่ ไปข งหน ใหส้ มัพ นัธ ก์ บั จ โดยเฉพ ะ


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

ผู้สนับสนุนโครงการ

SCG Packaging

บริษัท ส�ำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จ�ำกัด

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

๙๔


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

สมาคมการพิมพ์ไทย

สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย

บริษัท ปภาวิน จ�ำกัด

บริษัท วิชัยเจริญแมชีนเนอรี่ จ�ำกัด


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ


๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพอ

“การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจ�ำเป็น ก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้วคนโดยมาก ไม่ค่อย ชอบปิดทองหลังพระ กันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคน พากันปิดทองแต่ขา้ งหน้า

ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระ จะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.