ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1

1

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประวัตคิ วามเป็ นมาของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ หากย้อนไปเมื่อประมาณ 50 ปี ที่แล้ว คอมพิวเตอร์เครื่ องแรกกำาเนิดขึ้นที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ต่อ มาคอมพิวเตอร์กม็ ีบทบาทสร้างสรรค์สงั คมมนุษย์เข้ามาช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของมนุษย์มากมาย จินตนาการ การสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีมานานแล้ว โดยเฉพาะในนิยายวิทยาศาสตร์ ผูเ้ ขียนนิยายวิทยาศาสตร์ หลาย ท่านได้สร้างจินตนาการให้เห็นระบบสื่ อสารที่ ทรงพลัง โดยมีคอมพิวเตอร์ ช่วยเป็ นสื่ อในการรับส่ งข้อมูล ระหว่างกัน จุดเริ่ มต้นของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เริ่ มขึ้นในเดือนสิ งหาคม ค.ศ. 1962 Licklider แห่ งมหาวิทยาลัย MIT ได้บนั ทึกแนวคิดเกี่ยวกับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ชื่อ Galactic Network โดยแสดงจินตนาการให้เห็น หลักการของเครื อข่ายทางวิชาการ พร้อมทั้งประโยชน์ที่จะใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในการพูดคุย สื่ อสาร อภิปราย ส่ งข่าวระหว่างกัน และเชื่อมโยงกันทัว่ โลก ต่อมา Licklider ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นหัวหน้าทีม งานวิจยั ตามความต้องการของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริ กนั ในโครงการที่ชื่อ DARPA ร่ วมกับ กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์และเครื อข่ายอีกหลายคน

PACKET SWITCHING EMERGED ความคิดในช่วงแรกของการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อาศัยหลักการพื ้นฐาน ทางด้ านการสวิตชิ่งของ ระบบโทรศัพท์ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ให้ เชื่อมต่อกันในวงจรระหว่างจุดไปจุด จึงเรี ยกว่า "การสวิตช์ วงจร" (Circuit Switching) จุดอ่อนของการสวิตช์วงจรที่เชื่อมระหว่างสองจุด ทำาให้ ใช้ ข้อมูล ข่าวสารในเครือข่ายไม่เต็มประสิทธิภาพ และมีข้อยุง่ ยากหากต้ องการสื่อสารกันเป็ นจำานวนมาก Leonard Kleinrock แห่งมหาวิทยาลัย MIT ได้ เสนอแนวคิดในการสร้ างเครื อข่ายให้ มีการรับส่ง ข้ อมูลเป็ นแพ็กเก็ต (Packet) โดยได้ เสนอบทความในวารสารตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ. 1961 ต่อมาได้ พิมพ์เป็ นเล่มในปี ค.ศ. 1964 และเป็ นหลักการที่ได้ รับการยอมรับและนำามาใช้ ในเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ จนถึง ปั จจุบนั การสื่อสารบนเครื อข่ายแบบแพ็กเก็ต (Packet) เป็ นวิธีการที่ให้ ผ้ สู ง่ ข่าวสาร แบ่งแยกข่าวสารเป็ นชิ ้นเล็ก ๆ บรรจุเป็ นกลุม่ ข้ อมูล โดยมีการกำาหนดแอดเดรสปลายทางที่จะส่งข่าวสาร หลังจากนันระบบจะนำ ้ าแพ็กเก็ต นันไปส่ ้ งยังหลายทาง ในปี ค.ศ. 1965 มีการทดลองการเชื่อมโยงเครื อ ข่ายคอมพิวเตอร์ ขึ ้นเป็ นครัง้ แรกระหว่าง มหาวิทยาลัย MIT กับมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย ผ่านทางสาย โทรศัพท์และใช้ หลักการแพ็กเก็ต ความคิดทางด้ านการรับส่งข้ อมูลเป็ นชิ ้นเล็ก ๆ แบบแพ็กเก็ตได้ รับการ ยอมรับ จนในที่สดุ มีการพัฒนาจากแนวความคิดนี ้ไปหลายแนวทาง จนได้ วิธีการรับส่งบนเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ หลากหลายรูปแบบ ซึง่ เป็ นจุดกำาเนิดเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบต่าง ๆ เช่น 25, TCP/IP,


2

Frame Relay etc. เมื่อมีการพัฒนาเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อเชื่อมโยงถึงกัน ก็เกิดแนวคิดในการ สร้ างมาตรฐานที่จะทำาให้ ระบบการเชื่อมโยงมีลกั ษณะเปิ ดมาก ขึ ้น กล่าวคือ การนำาผลิตภัณฑ์หลากหลาย ยี่ห้อมาเชื่อมต่อกันได้ จึงมีวิธีการแบ่งระดับการสื่อสารออกมาเป็ นชัน้ (Layer) แต่ละขันจะมี ้ การวาง มาตรฐานกลางเพื่อให้ การเชื่อมเครือข่ายที่แตกต่างกัน สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ มาก

ความสำ าคัญของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์ เดิมที่เป็ นแบบรวมศูนย์ได้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทวีความ สำาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจ ขนาดเล็กที่ไม่มีกาำ ลังในการลงทุนซื้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องต่อเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่ง เป็ น สถานีบริ การที่ทาำ ให้ใช้งานข้อมูลร่ วมกันได้ เมื่อกิจการเจริ ญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครื อข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเพิ่มจำานวนเครื่ องหรื อขยายความจุขอ้ มูลให้พอเหมาะกับองค์กร ในปั จจุบนั องค์การขนาด ใหญ่กส็ ามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกัน เป็ นเครื อข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ขอ้ มูลสามารถทำาได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ตอ้ งลงทุนจำานวนมาก เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สาำ คัญต่อหน่วยงาน ต่าง ๆ ดังนี้  ทำาให้เกิดการทำางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม และสามารถทำางานพร้อมกัน  ให้สามารถใช้ขอ้ มูลต่าง ๆ ร่ วมกัน ซึ่งทำาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น  ทำาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุม้ ค่า เช่น ใช้เครื่ องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูล ใช้เครื่ องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่ วมกันทำาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุน ให้เหมาะสมกับหน่วยงาน


3

ความหมายของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การนำาเครื่ องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อ เข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่ อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่ วมกัน (Shared Resource) ในเครื อข่ายนั้น

คอมพิวเตอร์ แม่ ข่ายหมายถึง คอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย หมายถึง คอมพิวเตอร์ ที่ทาำ หน้าที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำา หน่วยความจำาสำารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น ในระบบเครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์เป็ นศูนย์กลางของเครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า Host Computer และเรี ยก เครื่ องที่รอรับบริ การว่าลูกข่ายหรื อสถานีงาน

องค์ ประกอบพืน้ ฐานของเครือข่ าย 1. เน็ตเวิร์คการ์ ด เน็ตเวิร์คการ์ดจะเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย ส่ วนใหญ่จะเรี ยกว่า “NIC (Network Interface Card)” หรื อบางทีกเ็ รี ยกว่า “LAN การ์ ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทำาการ แปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณหรื อสื่ อแบบอื่นได้ ปั จจุบนั นี้กไ็ ด้มีการแบ่งการ์ ด ออกเป็ นหลายประเภท ซึ่งจะถูกออกแบบให้สามารถใช้ได้กบั เครื อข่ายประเภทแบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์ เน็ตการ์ ด โทเคนริ งการ์ด เป็ นต้น การ์ดในแต่ละประเภทอาจใช้กบั สายสัญญาณบางชนิดเท่านั้น หรื ออาจ จะใช้ได้กบั สายสัญญาณหลายชนิด


4

เน็ตเวิร์คการ์ ด เน็ตเวิร์คการ์ดจะติดตั้งอยูก่ บั คอมพิวเตอร์ โดยเต้าเสี ยบเข้ากับช่องบนเมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ ส่ วนมากคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในปัจจุบนั จะมีเฉพาะช่อง PCI ซึ่งก็ใช้บสั ที่มีขนาด 32 บิต อย่างไรก็ตาม ยังมี คอมพิวเตอร์ รุ่นเก่าที่ยงั มีช่องแบบ ISA อยู่ ซึ่งมีบสั ขนาด 16 บิต และมีการ์ ดที่เป็ นแบบ ISA จะประมวล ผล ข้อมูลช้ากว่าแบบ PCI 2. สายสั ญญาณ ปั จจุบนั มีสายสัญญาณที่ใช้เป็ นมาตรฐานในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อยู่ 3 ประเภท 2.1 สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกัน ตามมาตรฐาน เพื่อต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่านไปยังสาย เคเบิลเดียวกัน หรื อจากภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี ำ กเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงทำาให้ถูกใช้งานอย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้ มี 2 แล้วน้าหนั ชนิดคือ ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วย ฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นดังรู ป เพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า

สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วย ฉนวนชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีกห็ ุ ม้ อีกชั้นดังรู ป ซึ่งทำาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่กส็ ามารถป้ องกันการ รบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอ้ ยกว่าชนิดแรก


5

2.2 สายโคแอกเชียล

สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน

เป็ นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยูเ่ ป็ นจำานวนมาก ไม่วา่ จะใช้ในระบบเครื อข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่ งข้อมูลระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรื อการ ส่ งข้อมูลสัญญาณวีดีทศั น์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทวั่ ไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิ จิทอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุ ม้ เพื่อป้ องกัน การรบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้ า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็ นส่ วนหนึ่งที่ ทำาให้สายแบบนี้ มีช่วงความถี่ที่สญ ั ญาณไฟฟ้ าสามารถส่ งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่ งข้อมูลด้วย อัตราของการส่งสูงขึ้น

ลักษณะของสายโคแอกเชียล 2.3 เส้ นใยแก้วนำาแสง ( fiber optic ) เป็ นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่ งข้อมูลด้วยเป็ นอัตราความหนาแน่น ของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบนั ถ้าใช้เส้นใยนำาแสงกับระบบอีเธอร์ เน็ตก็ใช้ได้ดว้ ยความเร็ ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กบั FDDI ก็จะใช้ได้ดว้ ยความเร็ วสูงถึง 100 เมกะบิต

3. อุปกรณ์ เครือข่าย

ลักษณะของเส้ นใยนำาแสง

อุปกรณ์ที่นาำ มาใช้ในเครื อข่ายทำาหน้าที่จดั การเกี่ยวกับการรับ – ส่ งข้อมูลในเครื อข่าย หรื อใช้ สำาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่ งในระยะที่ไกลมากขึ้น หรื อใช้สาำ หรับขยายเครื อ ข่ายให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน อุปกรณ์เครื อข่ายที่พบเห็นโดยทัว่ ไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์


6

3.1 ฮับ (Hub) ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่ งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่ งไปยังทุก ๆ พอร์ ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะ แชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูลของเครื อข่าย

ฮับ (HUB) 3.2 สวิตซ์ (Switch) สวิตซ์ (Switch) หรื อ บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ที่มกั จะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลนสองเครื อข่าย (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทำาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่ อยๆ โดยที่ประสิ ทธิ ภาพ รวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่ องที่อยูใ่ นเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่ งผ่าน ไป รบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ที่ทาำ งานอยูใ่ นระดับ Data Link Layer จึงทำาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครื อข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็ นต้น . Bridge บริ ดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครื อข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายใหญ่ เพียงเครื อข่าย เดียว เพื่อให้เครื อข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครื อข่ายย่อยอื่นๆ ได้

สวิตซ์ (Switch) หรือ บริดจ์ (Bridge)


7

3.3 เราท์ เตอร์ ( Routing ) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาำ หน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครื อข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริ ดจ์ แต่ก็ มีส่วนการทำางานจะซับซ้อนมากกว่าบริ ดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ กม็ ีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างแต่ละ เครื อข่ายเก็บไว้เป็ นตารางเส้นทาง เรี ยกว่า Routing Table ทำาให้เราท์เตอร์ สามารถทำาหน้าที่จดั หาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครื อข่ายได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ

เราท์ เตอร์ ( Routing ) 3.4 เซอร์ เวอร์ (Server) เซอร์เวอร์ หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ ข่าย เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลักในเครื อข่ายที่ทาำ หน้าที่จดั เก็บและให้บริ การไฟล์ขอ้ มูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นๆในเครื อข่าย โดยปกติ คอมพิวเตอร์ ที่นาำ มาใช้เป็ นเซอร์เวอร์มกั จะเป็ นเครื่ องที่มีสมรรถนะสูง และมีฮาร์ ดดิกส์ความจำาสูงกว่า คอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่น ๆ ในเครื อข่าย .

เซอร์ เวอร์ (Server)


8

3.5 ไคลเอนต์ (Client) ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่ าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายที่ร้องขอ บริ การและเข้าถึงไฟล์ขอ้ มูลที่จดั เก็บในเซอร์ เวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้ แต่ละคนในระบบเครื อข่ายนัน่ เอง

ไคลเอนต์ (Client) 3.6 เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการ เชื่อมต่อเครื อข่าย ที่เป็ นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็ นต้น

เกตเวย์ (Gateway)

3.7 โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล ( Protocol ) หมายถึง ข้อกำาหนดหรื อข้อตกลงในการสื่ อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีอยูด่ ว้ ยกันมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีขอ้ ดี ข้อเสี ย และใช้ในโอกาสหรื อสถานการณ์แตกต่างกัน ไป คล้ายๆ กับภาษามนุษย์ที่มีท้ งั ภาษาไทย จีน ฝรั่ง หรื อภาษาใบ้ ภาษามือ หรื อจะใช้วิธียกั คิ้วหลิ่วตาเพื่อส่ ง


9

สัญญาณก็จดั เป็ นภาษาได้เหมือนกัน ซึ่งจะสื่ อสารกันรู ้เรื่ องได้จะต้องใช้ภาษาเดียวกัน ในบางกรณี ถา้ คอมพิวเตอร์ 2 เครื่ องสื่ อสารกันคนละภาษากันและต้องการนำามาเชื่อมต่อกัน จะต้องมีตวั กลางในการแปลง โปรโตคอลกลับไปกลับมาซึ่งนิยมเรี ยกว่า Gateway ถ้าเทียบกับภาษามนุษย์กค็ ือ ล่ าม ซึ่งมีอยูท่ ้ งั ที่เป็ น เครื่ องเซิร์ฟเวอร์แยกต่างหากสำาหรับทำาหน้าที่น้ี โดยเฉพาะ หรื อาจะเป็ นโปรแกรมหรื อไดร์ ฟเวอร์ ที่สามารถ ติดตั้งในเครื่ องคอมพิวเตอร์น้ นั ๆ ได้เลย การที่คอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งจะส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ อีกเครื่ องหนึ่งได้น้ ัน จะต้องอาศัยกลไก หลายๆ อย่างร่ วมกันทำางานต่างหน้าที่กนั และเชื่อมต่อเป็ นเครื อข่ายเข้าด้วยกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ การเชื่อม ต่อมีความแตกต่างระหว่างระบบและอุปกรณ์หรื อเป็ นผูผ้ ลิตคนละรายกัน ซึ่งเป็ นสิ่ งที่ทาำ ให้การสร้างเครื อ ข่ายเป็ นเรื่ องยากมาก เนื่องจากขาดมาตรฐานกลางที่จาำ เป็ นในการเชื่อมต่อ จึงได้เกิดหน่วยงานกำาหนดมาตรฐานสากลขึ้นคือ International Standards Organization และทำาการ กำาหนดโครงสร้างทั้งหมดที่จาำ เป็ นต้องใช้ในการสื่ อสารข้อมูลและเป็ นระบบเปิ ด เพื่อให้ผผู ้ ลิตต่างๆ สามารถแยกผลิตในส่วนที่ตวั เองถนัด แต่สามารถนำาไปใช้ร่วมกันได้ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่ จะถูกออกแบบให้มีโครงสร้างทีแน่นอน และเพื่อเป็ นการลดความซับซ้อน ระบบเครื อข่ายส่ วนมากจึงแยก การทำางานออกเป็ นชั้นๆ (layer) โดยกำาหนดหน้าที่ในแต่ละชั้นไว้อย่างชัดเจน แบบจำาลองสำาหรับอ้างอิง แบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) หรื อที่นิยมเรี ยกกันทัว่ ไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เป็ นแบบจำาลองที่ถูกเสนอและพัฒนาโดยองค์กร International Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้างของสถาปั ตยกรรมเครื อข่ายในอุดมคติ ซึ่งระบบเครื อข่ายที่เป็ นไปตาม สถาปั ตยกรรมนี้จะเป็ นระบบเครื อข่ายแบบเปิ ด และอุปกรณ์ทางเครื อข่ายจะสามารถติดต่อกันได้โดยไม่ข้ึน กับว่าเป็ นอุปกรณ์ของผูข้ ายรายใด

ความสำ าคัญของโปรโตคอล ในการติดต่อสื่ อสารข้อมูลผ่านทางเครื อข่ายนั้น จำาเป็ นต้องมีโปรโตคอลที่เป็ นข้อกำาหนดตกลงในการ สื่ อสารขึ้น เพื่อช่วยให้ระบบสองระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่ อสารกันอย่างเข้าใจได้โปรโตคอลเป็ นข้อที่ กำาหนดเกี่ยวกับการสื่ อสารระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต่างๆ ทั้งวิธีการส่ งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อ ผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่ งและรับกันระหว่างเครื่ องสองเครื่ องดังนั้นจะ เห็นได้วา่ โปรโตคอลมีความสำาคัญมากในการสื่ อสารบนเครื อข่ายหากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่ อสารบน เครื อข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในปัจจุบนั การทำางานของเครื อข่ายใช้มาตรฐานโปรโตคอลต่างๆร่ วมกันทำา


10

งานมากมายนอกจากโปรโตคอลระดับประยุกต์แล้ว การดำาเนินการภายในเครื อข่ายยังมีโปรโตคอลย่อยที่ ช่วยทำาให้การทำางานของเครื อข่ายมีประสิ ทธิ ภาพขึ้น โดยที่ผใู ้ ช้ไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรงอีกมาก

การทำางานของโปรโตคอล เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทาำ งานร่ วมกันเป็ นจำานวนมาก ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมีหลาย มาตรฐานหลายยีห่ อ้ แต่กส็ ามารถทำางานร่ วมกันได้อย่างดีการที่เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาำ งานร่ วมกันอย่างเป็ น ระบบ เพราะมีการใช้โปรโตคอลมาตรฐานที่มีขอ้ กำาหนดให้ทาำ งานร่ วมกันได้ผใู ้ ช้อินเตอร์ เน็ตที่ทาำ หน้าที่ เป็ นผูใ้ ช้บริ การหรื อเป็ นไคลเอนต์ (Client) สามารถเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของท่านไปยังเครื่ องให้ บริ การหรื อเซิร์ฟเวอร์ (Server) บนเครื อข่าย การทำางานของพีซีที่เชื่อมต่อร่ วมกับเซิร์ฟเวอร์ กจ็ าำ เป็ นต้องใช้ โปรโตคอลเพื่อประยุกต์ใช้งานรับส่งข้อมูล ซึ่งโปรโตคอลที่ใช้ในการสื่ อสารนี้ กม็ ีมากมายหลายประเภท ด้วยกัน

ภาพการทำางานของโพรโตคอล ตัวอย่างของโปรโตคอลที่มีใช้งานอยูใ่ นปัจจุบนั คือ 1) (Network Basic Input/output System) และ (Network Extended User Interface) เป็ นโปรโตคอลที่เหมาะสำาหรับระบบ เครื อข่ายขนาดเล็ก เนื่องจากโปรโตคอลนี้ ใช้วิธีกระจาย สัญญาณไปทัว่ ทั้งเครื อข่ายไม่สามารถหาเส้นทาง (route) ไปยังคอมพิวเตอร์ ที่ร้องขอข้อมูลได้ ข้อดีของโปรโตคอลนี้ คือ การติดตั้งซอฟต์แวร์ เครื อข่ายไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน


11

ภาพการทำางานของ NetBIOS และ NetBEUI 2) IPX/SPX (Inter-network Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange) โปรโตคอล IPX ทำาหน้าที่ในระดับ network layer ตามาตรฐาน OSI Model มีกลไกการส่ งผ่าน ข้อมูลแบบ connectionless,unrerelible หมายความว่า เมื่อมีการส่ งข้อมูล โดยไม่ตอ้ งทำาการสถาปนาการ เชื่อมต่อกันระหว่าง host กับเครื่ องที่ติดต่อกันอย่างถาวร ( host , เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่ให้บริ การใดๆในเครื อ ข่าย ) และไม่ตอ้ งการรอสัญญาณยืนยันการรับข้อมูลจากปลายทาง โดยตัวโปรโตคอลจะพยายามส่ งข้อมูล นั้นไปยังปลายทางให้ดีที่สุด สำาหรับโปรโตคอล SPX ทำาหน้าที่ในระดับ transport layer ตามมาตรฐาน OSI Model โดยส่ งผ่านข้อมูลตรงข้ามกับโปรโตคอล IPX คือ ต้องมีการทำาการสถาปนาการเชื่อมโยงกันก่อน และมีการส่ งผ่านข้อมูลที่เชื่อถือได้ ด้วยการตรวจสอบสัญญาณยืนยันการรับส่ งข้อมูลจากปลายทาง

OSI Model 3) TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)


12

เป็ นโปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้กนั อยูใ่ นระบบปฏิบตั ิการแบบยูนิกซ์ เพื่อเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายชนิดที่อยูห่ ่างไกลกัน ต่อมาได้พฒั นาเป็ นเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต โปรโตคอลนี้เหมาะสำาหรับเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ ท้ งั ใกล้และไกลเข้าด้วยกัน และมีมาตรฐานรองรับทำาให้ผผู ้ ลิตฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ สามารถ สร้างอุปกรณ์และโปรแกรมที่จะรองรับการทำางานของโปรโตคอลนี้ ทาำ ให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถรับส่ ง ข้อมูลกันได้ไม่วา่ จะเป็ นเครื่ องขนาดเล็กหรื อขนาดใหญ่ หรื อจะใช้ระบบปฏิบตั ิการอะไรก็ตาม TCP/IP เป็ น ชุดโปรโตคอลที่ประกอบด้วยโปรโตคอลต่างๆ หลายโปรโตคอล แต่ละโปรโตคอลมีคุณลักษณะและมี ความสามารถในการทำางานแตกต่างกัน ในที่น้ ีจะได้กล่าวถึงรายละเอียดและคุณสมบัติของโปรโตคอลที่ สำาคัญบางโปรโตคอลเท่านั้น คือ 3.1 FTP (File Transfer Protocol) ใช้ในการรับ-ส่ง แฟ้ มข้อมูลระหว่างเครื่ องลูกข่ายและเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ โดยที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ จะ ต้องมีโปรแกรมให้บริ การ FTP (FTP Server) ติดตั้งและทำางานอยู่ เพื่อให้เครื่ องลูกข่ายที่รันโปรแกรม FTP Client สามารถเข้ามาขอใช้บริ การได้ นอกจากรับส่ งแฟ้ มข้อมูลแล้ว FTP ยังมีคาำ สัง่ ที่ใช้ในการแสดงชื่อแฟ้ ม ข้อมูลบนเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ เปลี่ยนชื่อแฟ้ มหรื อลบแฟ้ มข้อมูล

ภาพการทำางานของ FTP 3.2 HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) ใช้ในการติดต่อรับส่งข้อมูลชนิดไฮเปอร์ เท็กซ์ (Hypertext) ระหว่างเครื่ องลูกข่ายกับ WWW Server (World Wide Web) โดยที่เอกสารนี้จะอยูใ่ นรู ปแบบที่เขียนในภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) เอกสารแต่ละชิ้นจะสามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารชิ้นอื่นได้ ซึ่งเอกสารที่ถูกเชื่อมโยงนี้ อาจจะอยู่ บนเครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องเดียวกันหรื อต่างเครื่ องกันก็ได้


13

ภาพการทำางานของ HTTP

การจำาแนกประเภทของเครือข่ าย เครื อข่ายสามารถจำาแนกออกได้เป็ นหลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ คล้ายกับการจำาแนกของ รถยนต์ ถ้าใช้ขนาดเป็ นเกณฑ์ จะสามารถแบ่งออกได้ โดยทัว่ ไปจำาแนกประเภทของเครื อข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ

1. ประเภทของเครือข่ ายแบ่ งตามขนาดทางภูมิศาสตร์ ถ้าใช้ขนาดทางกายภาพเป็ นเกณฑ์ เครื อข่ายก็ตอ้ งสามารถแบ่งออกได้เป็ นสองประเภทคือ LA N หรื อเครื อข่ายท้องถิ่น และ MAN หรื อเครื อข่ายในบริ เวณกว้าง LAN เป็ นเครื อข่ายที่มีใช้ในขนาดเล็กที่ ครอบคลุมพื้นที่ในบริ เวณจำากัด เช่น ภายในห้อง หรื อภายในอาคาร หรื ออาจครอบคลุมไปถึงหลายอาคารที่ อยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียง เช่น ในวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย ซึ่งบางทีเรี ยกว่า “เครื อข่ายวิทยาเขต(Campus Network ) ” จำานวนของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันใน LAN อาจมีต้ งั แต่สองพันเครื่ องไปจนถึงหลายพัน เครื่ อง แต่ในส่วนของ WAN เป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมบริ เวณกว้าง เช่น ในพื้นที่เมือง หรื ออาจจะ ครอบคลุมทัว่ โลกก็ได้ เช่น เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต 1.1 ระบบเครือข่ายแบบแลน (Local Area Network หรือ LAN) หรื อระบบเครื อข่ายแบบท้องถิ่น จะเป็ นเครื อข่ายซึ่งอุปกรณ์ท้ งั หมดเชื่อมโยงกันอยูใ่ นพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เช่น อยูภ่ ายในแผนกเดียวกัน อยูภ่ ายในสำานักงาน หรื ออยูภ่ ายในตึกเดียวกัน เป็ นต้น โดยส่ วนมากแล้วการ เชื่อมต่อในระบบแลนจะใช้สายเคเบิลแบบต่าง ๆ ในการเชื่อมโยงถึงกัน ระบบเครื อข่ายแบบแลนยังรวมถึง เครื อข่ายบริ เวณมหาวิทยาลัย (Campus network) ซึ่งเป็ นเครื อข่ายที่เชื่อมโยงเครื อข่ายแบบแลนจากตึกต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย (หรื อบริ เวณพื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรม) เข้าด้วยกัน โดยปกติแล้วจะเป็ นการเชื่อมโยงกัน ด้วยความเร็ วสูงผ่านสาย Fiber Optic ระบบเครื อข่ายแลน จะเป็ นระบบเครื อข่ายที่มีการใช้งานในองค์กร ต่าง ๆ มากที่สุด ดังนั้นจะมีการกล่าวถึงแลนอย่างละเอียดในส่ วนต่อไป


14

ระบบเครือข่ ายแบบแลน 1.2 ระบบเครือข่ายแบบแมน (Metropolitan Area Network) หรื อระบบเครื อข่ายบริ เวณเมืองใหญ่ ซึ่งเป็ นเครื อข่ายแบบแวนที่มีระยะห่างไม่มากนัก เช่นเป็ นเครื อ ข่ายที่เชื่อมโยงภายในเขตเมือง หรื อย่านใจกลางธุรกิจ เป็ นต้น การเชื่อมโยง ปกติแล้วจะเป็ นการเชื่อมโยง ระหว่างตึกต่าง ๆ ด้วยการเชื่อมโยงความเร็ วสูงผ่านสายใยแก้วนำาแสง และเป็ นระบบเครื อข่ายสาธารณะที่ สามารถทำาการเช่าใช้งานจากผูใ้ ห้บริ การได้ทนั ที

ระบบเครือข่ ายแบบแมน

1.3 ระบบเครือข่ายแบบแวน (Wide Area Network: WAN)


15

ในระบบเครื อข่าย WAN แบบบริ เวณกว้าง โดยส่ วนใหญ่แล้วก็จะเป็ นเครื อข่ายที่ระยะไกลเป็ น ระบบเครื อข่ายที่เชื่อมโยงเครื อข่ายแบบท้องถิ่นตั้งแต่ 2 เครื อข่ายขึ้นไปเข้าไว้ดว้ ยกันโดยผ่านระยะทางที่ ไกลมาก โดยทัว่ ไปอาศัยสายโทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์ และคลื่นไมโครเวฟ เป็ นตัวกลางในการรับส่ งข้อมูล ระบบนี้เสี ยค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบแรก

ระบบเครือข่ ายแบบแวน 1.4 ระบบเครือข่ายแบบแพน (Personal area network) หรื อระบบเครื อข่ายส่วนบุคคล (Personal area network): PAN) คือ "ระบบการติดต่อสื่ อสารไร้สาย ส่ วนบุคคล" ย่อมาจาก Personal Area Network หรื อเรี ยกว่า Bluetooth Personal Area Network (PAN) คือ เทคโนโลยีการเข้าถึงไร้สายในพื้นที่เฉพาะส่วนบุคคล โดยมีระยะทางไม่เกิน 1 เมตร และมีอตั ราการรับส่ ง ข้อมูลความเร็ วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps) ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้กนั แพร หลาย ก็เช่น• Ultra Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a• Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1• Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4 เทคโนโลยีเหล่านี้ ใช้สาำ หรับการติดต่อสื่ อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ต่อ พ่วง(peripherals) ให้สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้ และยังใช้สาำ หรับการรับส่ งสัญญาณวิดีโอที่มีความ ละเอียดภาพสูง (high-definition video signal) ได้ดว้ ย Personal Area Network (PAN)ช่วยให้เราสามารถ จัดการข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆที่เคลื่อนที่ไปมาได้ อย่างหลากหลายคิดค้นโดยนักวิจยั ของ MIT รวม กับ IBM โดยจะสร้างกระแสไฟฟ้ าแรงต่าำ (ระดับพิโคแอมป) ออกไปตามผิวหนังโดยเครื่ องรับสัญญาณตาม จุดต่างๆ ของร่ างกายสามารถรับสัญญาณได้ เทคโนโลยีน้ ีจะเหมาะกับการใช้งานทางการแพทย์ เพราะ อุปกรณ์ โดยมากจะมีการติดตั้งตามลำาตัวมนุษย์พฒั นาโดย Bluetooth Special Interest Group


16

ภาพประกอบระบบเครือข่ ายแบบแพน (PAN) 1.5 ระบบเครือข่ายแบบแคน (Controller Area Network: can) หรื อระบบเครื อข่ายแบบควบคุม CAN ย่อมาจาก Controller Area Network หมายถึง การควบคุม พื้นที่เครื อข่าย (การนำาคอมพิวเตอร์ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกันเพื่อใช้ขอ้ มูล โปรแกรมหรื อ อุปกรณ์บางอย่างร่ วมกัน) ซึ่ง CAN คือ มาตรฐานการติดต่อสื่ อสารแบบอนุกรม, มันต้องการการส่ งข้อมูล เป็ นรหัสจังหวะทางไฟฟ้ า โดยการใช้สายสัญญาณการติดต่อสื่ อสารเพียง 2 เส้น, ซึ่งได้รับมาตรฐาน ISO 11898.


17

ระบบเครือข่ ายแบบแคน

2. ประเภทของเครือข่ ายแบ่ งตามหน้ าทีข่ องคอมพิวเตอร์ ที่กล่าวมาข้างต้น เป็ นเพียงการจำาแนกประเภทของเครื อข่ายตามขนาดพื้นที่ที่ครอบคลุมถึงเท่านั้น การจำาแนกประเภทของเครื อข่ายยังสามารถจำาแนกได้ โดยใช้ลกั ษณะการแชร์ ขอ้ มูลของคอมพิวเตอร์ หรื อ หน้าที่ของคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื อข่ายเป็ นเกณฑ์ เพื่อเป็ นการแบ่งประเภทของเครื อข่าย ซึ่งเมื่อใช้หลัก การนี้แล้วเราสามารถแบ่งเครื อข่ายออกได้เป็ น 2 ประเภทคือ 2.1 เครือข่ ายแบบเพียร์ ทูเพียร์ (Peer – To - Peer) โดยเป็ นการเชื่อมต่อของเครื่ องทุกเครื่ องที่ใช้ในระบบเครื อข่าย และยังมีสถานะเท่าเทียมกันหมด โดยเป็ นเครื่ องทุกเครื่ องสามารถเป็ นได้ท้ งั เครื่ องผูใ้ ช้บริ การและผูใ้ ห้เครื่ องบริ การในขณะใดขณะหนึ่ง 2.2 เครือข่ ายแบบไคลเอนท์ เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Network) ถ้าระบบเครื อข่ายมีคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก ควรสร้างเครื อข่ายแบบเพียร์ ทูเพียร์ เนื่องจากง่ายและค่า ใช้จ่ายจะถูกกว่า แต่เมื่อเครื อข่ายนั้นมีการขยายใหญ่ข้ ึนจำานวนผูใ้ ช้กม็ ากขึ้นเช่นกัน การดูแลและการ จัดการระบบก็จะซับซ้อนมากยิง่ ขึ้น เครื อข่ายจำาเป็ นที่ตอ้ งมีเซิร์ฟเวอร์ ทาำ หน้าที่จดั การเรื่ องต่างๆ และให้ บริ การอื่นๆ เครื่ องเซิร์ฟเวอร์น้ นั ก็ควรที่จะเป็ นเครื่ องที่มีประสิ ทธิ ภาพที่สูงขึ้น และสามารถบริ การให้ผใู ้ ช้ ได้หลายๆ คนในเวลาเดียวกันได้

ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ ที่ให้ บริการแบบต่ าง ๆ ก. ไฟล์ เซิร์ฟเวอร์ (File Server) เป็ นเซิร์ฟเวอร์ที่ทาำ หน้าที่ในการจัดเก็บไฟล์ จะเสมือนฮาร์ ดดิสก์รวมศูนย์ (Cauterized disk storage) เสมือนว่าผูใ้ ช้งานทุกคนมีที่เก็บข้อมูลอยูท่ ี่เดียว เพราะควบคุม-บริ หารง่าย การสำารองข้อมูลโดย การ Restore ง่าย ข. พรินต์ เซิร์ฟเวอร์ (Print Server)


18

หนึ่งเหตุผลที่จะต้องมี Print Server ก็คือ เพื่อแบ่งให้พริ นเตอร์ ราคาแพงบางรุ่ นที่ออกแบบมาใช้ สำาหรับการทำางานมาก ๆ เช่น HP Laser 5000 พิมพ์ได้ถึง 10 - 24 แผ่นต่อนาที พริ นเตอร์ สาำ หรับประเภทนี้ ความสามารถในการทำางานที่จะสูง

ค. แอพพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ (Application Server) Application Server คือ เซิร์ฟเวอร์ที่รันโปรแกรมประยุกต์ได้โดยการทำางานสอดคล้องกับ ไคลเอ็นต์ เช่น Mail Server ( รัน MS Exchange Server ) , Proxy Server (รัน Proxy Server) หรื อ Web Server (รัน Web Server Program เช่น Xitami , Apache' ) ง. อินเตอร์ เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) ปั จจุบนั อินเตอร์เน็ตนั้น มีผลกระทบกับเครื อข่ายในปั จจุบนั เป็ นอย่างมาก อินเตอร์ เน็ตเป็ นเครื อ ข่ายที่มีขนาดใหญ่มากและมีผใู้ ช้งานมากที่สุดในโลก เทคโนโลยีที่ทาำ ให้อินเตอร์ เน็ตเป็ นที่นิยมก็คือ เว็บ และอีเมลล์ เพราะทั้งสองแอพพลิเคชัน่ ทำาให้ผใู ้ ช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและสื่ อสารกัน ได้ง่ายและมี รวดเร็ ว - เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ ที่ให้บริ การข้อมูลในรู ปแบบ HTML (Hyper text Markup Language) - เมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ ที่ให้บริ การรับ - ส่ ง จัดเก็บ และจัดการเกี่ยวกับอีเมลของผูใ้ ช้

3. ประเภทของเครือข่ ายแบ่ งตามระดับความปลอดภัยของข้ อมูล อีกวิธีหนึ่งในการแบ่งประเภทของเครื อข่ายคือ การใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่งจะแบ่ง ออกได้เป็ น 3 ประเภทด้วยกันก็คือ อินเตอร์เน็ต (Internet) ,อินทราเน็ต (Intranet) ,เอ็กส์ตราเน็ต (Extranet )

3.1 อินเตอร์ เน็ต (Internet)


19

อินเตอร์เน็ต (Internet) นั้นเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่นาำ ก่อตั้งโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริ กา อินเตอร์เน็ตในสมัยยุคแรก ๆ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2512 เป็ นเพียงการนำา คอมพิวเตอร์ จาำ นวนไม่กี่เครื่ องนั้นมาเชื่อมต่อกันเท่านั้น โดยมีเพียงสายส่ งสัญญาณ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทัว่ โลกซึ่ งมี คอมพิวเตอร์ เป็ นล้านๆเครื่ องเชื่ อมต่ อเข้ากับ ระบบและยังขยายตัวขึ้ นเรื่ อย ๆ ทุกปี อินเทอร์ เน็ตมีผใู ้ ช้ทวั่ โลกหลายร้อยล้านคน และผูใ้ ช้เหล่านี้ สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ ระยะทางและเวลาไม่เป็ นอุปสรรค นอกจากนี้ ผูใ้ ช้ยงั สามารถเข้าดูขอ้ มูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตเชื่ อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่วา่ จะเป็ นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรื อแม้กระทัง่ แหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุรกิจ หลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์ เน็ตช่วยในการทำาการค้า เช่น การติดต่อซื้ อขายผ่านอินเทอร์ เน็ตหรื ออีคอมเมิร์ช (E-Commerce)ซึ่งเป็ นอีกช่องทางหนึ่งสำาหรับการทำาธุรกิจที่กาำ ลังเป็ นที่นิยม เนื่องจากมีตน้ ทุนที่ถูกกว่าและ มีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่วนข้อเสี ยของอินเทอร์เน็ตคือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคนสามารถเข้า ถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรี ยกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการสื่ อ สารข้อ มู ลผ่า นเครื อ ข่ า ยซึ่ ง โปรโตคอลนี้ เป็ นผลจาก โครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้ มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ของโครงการนี้ เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ที่อยูห่ ่ างไกลกันและ ภ า ย ห ลั ง จึ ง ไ ด้ กำา ห น ด ใ ห้ เ ป็ น โ ป ร โ ต ค อ ล ม า ต ร ฐ า น ใ น เ ค รื อ ข่ า ย อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ในปั จจุบนั อินเทอร์ เน็ตได้กลายเป็ นเครื อข่ายสาธารณะ ซึ่ งไม่มีผใู ้ ดหรื อองค์กรใดองค์กรหนึ่ งเป็ น เจ้าของอย่างแท้จริ ง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ตต้องเชื่อมต่อผ่านองค์กรที่เรี ยกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซึ่งจะทำาหน้าที่ให้บริ การในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต นัน่ คือ ข้อมูลทุกอย่างที่ส่งผ่านเครื อ ข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสี ยจากจะมีการเข้ารหัสลับซึ่งผูใ้ ช้ตอ้ งทำาเอง 3.2 อินทราเน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) คือ ระบบเครื อข่ายภายในองค์กร เป็ นบริ การ และการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เหมือน กันอินเทอร์ เน็ต แต่จะเปิ ดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ ง หรื อ ระบบเครื อข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทัว่ ประเทศ เป็ นต้น เป็ นการสร้างระบบบริ การข้อมูลข่าวสาร ซึ่ง เปิ ดบริ การคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็ นการจำากัด ขอบเขตการใช้งาน ดังนั้นระบบอินเทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ "อินทราเน็ต" นัน่ เองแต่ในช่วงที่ชื่อนี้ ยงั ไม่ เป็ นที่นิยม ระบบอินทราเน็ตถูกเรี ยกในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็ นต้น


20

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบอินทราเน็ต (Internet)

3.3 เอ็กส์ ตราเน็ต (Extranet) ในยุคที่อินเทอร์เน็ตขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริ ษทั ธุรกิจและองค์กรต่าง ๆ เริ่ มหันมาใช้ประโยชน์จาก อินเทอร์ เน็ต ในการโฆษณา การขายหรื อเลือกซื้ อสิ นค้าและชำาระเงินผ่านทางเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ในขณะที่องค์กรบางแห่งที่ไม่มุ่งเน้นการบริ การข้อมูลอินเทอร์ เน็ต ระหว่างเครื อข่ายภายนอก แต่จดั สร้าง ระบบบริ การข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและเปิ ดให้บริ การในรู ปแบบ เดียวกับที่มีอยูใ่ นโลก ของ อินเทอร์ เน็ตจริ ง ๆ โดยมีเป้ าหมายให้บริ การแก่บุคลากร ในองค์กร จึงก่อให้เกิดระบบอินเทอร์ เน็ตภายใน องค์กร เรี ยกว่า "เครื อข่ายอินทราเน็ต (Intranet)" เครื อข่ายอินทราเน็ตนั้น เริ่ มเป็ นที่รู้จกั กันทัว่ ไปในปี พ.ศ.2539 แต่ แท้ที่จริ งแล้วได้มีผรู้ ิ เริ่ มพูดถึงชื่อนี้ ต้ งั แต่ สี่ ปีก่อนหน้าแล้ว หลังจากนั้นระบบอินทราเน็ตจึง ได้รับความนิยมมากขึ้น ในยุคแรก ๆ ระบบนี้มีชื่อเรี ยกกันหลายชื่อ เช่น แคมปั สเน็ตเวิร์ก (Campus Network) โลคัลอินเทอร์เน็ต (Local Internet) เอนเตอร์ ไพรท์เน็ตเวิร์ก (Enterprise Network) เป็ นต้น แต่ที่ รู ้จกั กันมากที่สุดคือชื่อ อินทราเน็ต ชื่อนี้จึงกลายเป็ นชื่อยอดนิยมและใช้มาจนถึงปั จจุบนั อินทราเน็ตจะช่วยปรับเปลี่ยนรู ปแบบการจัดการเอกสารจากเดิมใช้วิธีทาำ สำาเนาแจก จ่าย ไม่วา่ จะ เป็ นข่าว ประกาศ รายงาน สมุดโทรศัพท์ภายใน ข้อมูลบุคลากรมาจัดทำาให้อยูใ่ นรู ปอิเล็กทรอนิกส์


21

แทน ผูใ้ ช้สามารถเรี ยกค้น ข้อมูลข่าวสารได้เมื่อต้องการ การประยุกต์ใช้อินทราเน็ตในหน่วยงานถือเป็ นการ ปฏิรูปในองค์กรและก่อให้เกิด ผลกระทบต่อกระบวนการและขั้นตอนการทำางานทั้งในปั จจุบนั และใน อนาคต ช่วยให้การดำาเนินงานเป็ น ไปได้อย่างคล่องตัวและลดค่าใช้จ่ายลงได้อย่างมาก หากมีการวางแผน งานและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ก็จะช่วยเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพการดำาเนินงานขององค์กรให้สูงขึ้น เครื อข่าย อินทราเน็ตที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยติดต่อกันผ่านเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ตนั้น เรี ยกว่าเครื อข่าย เอ็กซ์ทรา เน็ต (Extranet) เครื อข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตสามารถมองเป็ นส่ วนหนึ่งของ เครื อข่ายอินทราเน็ตที่สามารถติดต่อ ออกไปหน่วยงานต่าง ๆ นอกองค์กรได้ การที่ใช้เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเพื่อติดต่อกันแทนที่จะติดต่อกัน โดยตรง ระหว่างเครื อข่ายอินทราเน็ตนั้นทำาให้ประหยัด ค่าใช้จ่าย และสามารถใช้ขอ้ ดีของบริ การบน อินเทอร์ เน็ตและอินทราเน็ตได้มีประโยชน์สูงสุ ด

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบอินทราเน็ต (Internet)

ประโยชน์ ของอินทราเน็ต 1. การสื่ อสารเป็ นแบบสากล ผูใ้ ช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่ งข่าวสารในรู ปของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ เป็ น มาตรฐานสากลระหว่างผูร้ ่ วมงานภายในหน่วยงานและผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งอยูภ่ ายนอกหน่วยงานได้ 2. อินทราเน็ตใช้มาตรฐานเครื อข่าย และโปรแกรมประยุกต์ได้เช่นเดียวกับเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ซึ่งมีใช้ อย่างแพร่ หลาย และผ่านการยอมรับให้เป็ นมาตรฐานตามความนิยมไปโดยปริ ยาย โดยมีท้ งั ผลิตภัณฑ์ ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ได้หลากหลาย 3. การลงทุนต่าำ ด้วยความต้องการด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ คล้ายคลึงกับที่ใช้ในเครื อข่ายอิน เทอร์เน็ต

ำ าเมื่อเทียบกับ ค่า ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมายและราคาต่าำ จึงทำาให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครื อข่ายต่ากว่ ใช้จ่ายที่ตอ้ งลงทุนกับระบบอื่น ๆ 4. ความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีที่ใช้น้ นั ได้ผา่ นการทดลองใช้และปรับปรุ ง จนกระทัง่ อยูใ่ นสถานภาพที่มี


22

ความเชื่อถือได้สูง 5. สมรรถนะ สามารถสื่ อสารข้อมูลรองรับการส่ งข้อมูลที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพและเสี ยงได้

โครงสร้ างของระบบเครือข่ าย (Network Topology) แบบ LAN ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็ นระบบเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ (LAN) สามารถออกแบบการเชื่อม ต่อกันของเครื่ องในเครื อข่าย ให้มีโครงสร้างในระดับกายภาพได้ในหลายรู ปแบบ ซึ่งแต่ละรู ปแบบจะมีขอ้ ดี และข้อเสี ยแตกต่างกันไป ดังนี้ 1) โครงสร้ างแบบดาว (Star Topology) เป็ นโครงสร้างที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้ากับคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลาง การรับส่งข้อมูลทั้งหมดจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์ ศนู ย์กลาง เสมอ ข้ อดี คือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่ องใหม่สามารถทำาได้ง่ายและไม่ กระทบกระเทือนกับเครื่ องอื่นในระบบเลย ข้ อเสี ย คือมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ ศนู ย์กลางเสี ย ระบบเครื อข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที

2) โครงสร้ างแบบบัส (Bus Topology) เป็ นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์แต่ละตัวด้วยสายเคเบิลที่ใช้ร่วมกัน ซึ่งสายเคเบิลหรื อบัสนี้ เปรี ยบ เสมือนกับถนนที่ขอ้ มูลจะส่งผ่านไปมาระหว่างแต่ละเครื่ องได้ ตลอดเวลา โดยไม่ตอ้ งผ่านไปที่ศนู ย์กลางก่อนโครงสร้างแบบ นี้มีขอ้ ดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่ องเสี ยก็ไม่มีผลอะไรต่อ ระบบโดยรวม ข้ อดี -ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก -สามารถขยายระบบได้ง่าย - เสี ยค่าใช้จ่ายน้อย ข้ อเสี ย -อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่ บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่ตาำ แหน่ง


23

ใดตำาแหน่งหนึ่ง ก็จะทำาให้เครื่ องอื่นส่วนใหญ่หรื อทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย - การตรวจหาโหมดเสี ย ทำาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์ เพียงเครื่ องเดียวเท่านั้นที่ สามารถส่ งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์ จาำ นวนมากๆ อาจทำาให้เกิดการ คับคัง่ ของเน็ตเวิร์ก ซึ่งจะทำาให้ระบบช้าลงได้ 3) โครงสร้ างแบบแหวน (Ring Topology)

เป็ นโครงสร้างที่เชื่อมคอมพิวเตอร์ท้ งั หมดเข้าเป็ นวงแหวน ข้อมูลจะถูกส่ ง ต่อ ๆ กันไปใน วงแหวนจนกว่าจะถึงเครื่ องผูร้ ับที่ถูกต้อง ข้ อดี คือ ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่ องที่เสี ยออกจากระบบได้ ทำาให้ไม่มีผลต่อระบบเครื อข่าย ข้ อเสี ย คือหากมีเครื่ องที่มีปัญหาอยูใ่ นระบบจะทำาให้เครื อข่ายไม่สามารถทำางานได้เลย และการเชื่อมต่อ เครื่ องเข้าสู่เครื อข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน 4. โครงสร้ างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบเมช (mesh topology) โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบบเมช มีการทำางานโดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องจะมีช่อง สัญญาณจำานวนมาก เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นๆทุกเครื่ อง โครงสร้างเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ น้ ีเครื่ องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่ องจะส่ งข้อมูล ได้อิสระไม่ตอ้ งรอการส่ งข้อมูลระหว่างเครื่ อง คอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นๆ ทำาให้การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ ว แต่ค่าใช้จ่ายสายเคเบิ้ลก็สูงด้วยเช่นกัน


24

5. โครงสร้ างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบผสม (hybrid topology) เป็ นโครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานความสามารถของโครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ แบบรวมกัน ประกอบด้วยเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ยอ่ ยๆ หลายเครื อข่ายที่มีโครงสร้างแตกต่างกันมา เชื่อมต่อกันตามความเหมาะสม ทำาให้เกิดเครื อข่ายที่มีประสิ ทธิ ภาพสูงในการสื่ อสารข้อมูล

ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื อข่ายจะมีการทำางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ที่เรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยง ระหว่างองค์กรผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่ายขนาดใหญ่ข้ ึน การประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นไปอย่างกว้างขวาง และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้ เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่ อสารข้อมูลระหว่างกันได้ ประโยชน์ของระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ มีดงั นี้ 1. การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทาำ ให้ผใู้ ช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบ ข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ เช่นเครื่ องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกน เนอร์ เป็ นต้น ทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตอ้ งซื้ออุปกรณ์ที่มี ราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กบั คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ อง


25

2. การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่ วมกันได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็ นเครื อข่าย ทั้งประเภทเครื อข่าย LAN , MAN และ WAN ทำาให้ คอมพิวเตอร์ สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระยะไกลได้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ทางด้านการติดต่อ สื่ อสาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต มีการให้บริ การต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้าย ไฟล์ขอ้ มูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การสื บค้นข้อมูล (Serach Engine) เป็ นต้น

3. ความประหยัด ตัวอย่างเช่นในสำานักงานแห่งหนึ่งมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ จำานวน 30 เครื่ อง หรื อมากกว่านี้ ถ้าไม่มี การนำาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้เครื่ องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่ อง มาใช้งาน แต่ถา้ มีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์แล้วสามารถใช้เครื่ องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่ องก็เพียงพอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่ องสามารถใช้งานเครื่ องพิมพ์เครื่ องใดก็ได้ที่อยูใ่ นระบบเครื อข่ายเดียวกัน 4. สามารถประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจได้ องค์กรธุรกิจที่มีการเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ กับระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เพื่อประโยชน์ ทางธุรกิจ เช่น เครื อข่ายของธุรกิจธนาคาร ธุรกิจการบิน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจหลัก ทรัพย์ สามารถดำาเนินธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ ว ตอบสนองความพึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในปั จจุบนั เช่นการสัง่ ซื้อ สิ นค้า การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคารเป็ นต้น 5. ความเชื่อถือได้ของระบบงาน นับเป็ นสิ่ งที่สาำ คัญสำาหรับการดำาเนินธุรกิจ ถ้าทำางานได้เร็ วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่า ไม่มี ประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้นเมื่อนำาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้งาน จะทำาให้ระบบงานมีประสิ ทธิ ภาพ มีความ


26

น่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เราสามารถทำาการสำารองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่ องที่ใช้ งานเกิดมีปัญหา ก็สามารถนำาข้อมูลที่มีการสำารองมาใช้ได้ อย่างทันที 6. ทำางานประสานกันเป็ นอย่างดี ก่อนที่เครื อข่ายจะเป็ นที่นิยม องค์กรส่ วนใหญ่จะใช้คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม หรื อมินิ คอมพิวเตอร์ ในการจัดการงาน และข้อมูลทุกอย่างในองค์กร แต่ปัจจุบนั องค์กรสามารถกระจายงานต่าง ๆ ให้กบั หลาย ๆ เครื่ อง แล้วทำางานประสานกัน เช่น การใช้เครื อข่ายในการจัดการระบบงานขาย โดยให้เครื่ อง หนึ่งทำาหน้าที่จดั การการเกี่ยวกับใบสัง่ ซื้อ อีกเครื่ องหนึ่งจัดการกับระบบสิ นค้าคงคลัง เป็ นต้น 7. ติดต่อสื่ อสารสะดวก รวดเร็ ว เครื อข่ายนับว่าเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร ได้เป็ นอย่างดี ผูใ้ ช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล กับเพื่อนร่ วมงานที่อยู่ คนละที่ ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ ว

8. เรี ยกข้อมูลจากบ้านได้ เครื อข่ายในปั จจุบนั มักจะมีการติดตั้งคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่งเป็ น เซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าใช้เครื อข่ายจากระยะไกล เช่น จากที่บา้ น โดยใช้ติดตั้งโมเด็มเพื่อใช้หมุนโทรศัพท์เชื่อมต่อ เข้ากับเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์เครื่ องนั้นก็จะเป็ นส่ วนหนึ่งของเครื อข่าย

ประโยชน์ ของการใช้ โปรแกรมและข้ อมูลร่ วมกันได้ 1) การใช้ Hardware ร่ วมกัน ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้นว่า ระบบ Network จะช่วยให้เราสามารถประหยัด ค่าใช้จ่ายในเรื่ อง Hardware ลงไปได้ ทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถนำา Hardware บางประเภทมาใช้งานร่ วมกัน ได้ ได้แก่


27

Share Disk space เป็ นการใช้งานร่ วมกันของเนื้ อที่ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ซึ่งรวม Hard disk และ CD ROMS (Compac-Disk Read-Only Memory) ซึ่งเราจะใช้ Hard disk หรื อ CD ROMS จาก PC ที่เราเรี ยกว่า "File Server นี้จะเป็ นเครื่ องที่ใช้ในการเก็บข้อมูล (Data) ของ User และ Software ของระบบทั้งหมด รวมทั้ง ควบคุมการทำางานของระบบ Network ด้วย สื บเนื่องจากการใช้ Hard disk หรื อ CD ROMS จาก File Serve ร่ วมกันทุกคน จึงทำาให้ไม่จาำ เป็ นที่จะต้องมี Hard disk ที่เครื่ อง PC แต่ละเครื่ อง รวมทั้งไม่ตอ้ งมี Floppy Disk Drive ใดๆอีกต่อไป เราจะเรี ยกเครื่ อง PC ประเภทนี้วา่ "Diskless Workstation" หรื อ "Dump Terminal Share Printer ในที่น้ ีเราจะขอกล่าวถึง Printer หรื อเครื่ องพิมพ์ก่อน ซึ่งเครื่ องพิมพ์จะเป็ นอุปกรณ์ต่อ พ่วง (Peripherals) ที่ใช้งานมากที่สุด โดยเฉพาะในปั จจุบนั มี Printer ราคาสูงเกิดขึ้นมากมายโดยเฉพาะ Laser Printer และเครื่ องพิมพ์สี (Color Printer) ซึ่งมีราคาแพง และจำาเป็ นต้องนำามาใช้งานร่ วมกันเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด นอกจากนั้นกรณีที่เรานำาเครื่ องพิมพ์มาใช้งานในระบบ Network มาก กว่า 1 เครื่ อง เช่น Dot Matrix, Laser Printer, Color Printer, Ink Jet ฯลฯ เป็ นต้น ในการส่ งงานไปพิมพ์น้ นั เราสามารถเลือกได้วา่ ต้องการใช้งาน เครื่ องพิมพ์ชนิดใดใช้งานได้ดว้ ย ซึ่งการทำางานง่ายและมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น Share Communication Devices หมายถึง การนำาอุปกรณ์สื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ มาใช้งานร่ วม กัน เช่น "Modem" ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนถ่ายข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ดว้ ยกันโดยอาศัยสาย โทรศัพท์ นอกจาก Modem แล้วอุปกรณ์อีกอย่างหนึ่งที่สามารถนำามาใช้งานร่ วมกันได้คือ "FAX" โดยเราสามารถ พิมพ์ขอ้ มูลที่ "Workstation" ของเรา และส่งข้อมูลผ่านระบบ Network ไปที่เครื่ อง FAX ได้ทนั ที โดยไม่ จำาเป็ นต้องพิมพ์ลงกระดาษ แล้วเดินไปส่ง FAX ที่เครื่ อง FAX อีกต่อไป 2) การใช้ Software ร่ วมกัน Software ที่ใช้งานบนระบบ Network แบ่งออกเป็ น Software Packages และ Data ดังนั้นเราสามารถนำา Software ทั้ง 2 แบบ มาใช้งานร่ วมกันได้ Share Software Packages ในปัจจุบนั สิ่ งที่เป็ นปัญหาอยูก่ ค็ ือ เรื่ องของลิขสิ ทธิ์ ทาง Software ถ้าเรา ยังคงมี PC แต่ละเครื่ องใช้งานแยกกันอยู่ เราจำาเป็ นต้องซื้ อ Software ที่ถูกต้องตามกฎหมายมาใช้งาน กล่าว คือ 1 ชุดต่อ 1 เครื่ อง รวมทั้งยังต้องคอยระวังในเรื่ องของการ Copy Software มาใช้งานเองของผูใ้ ช้แต่ละคน ด้วย การนำาระบบ "Network" มาใช้งานจะช่วยลดปั ญหาของการทำาผิดกฎหมายทางด้านลิขสิ ทธิ์ ได้ นอกจากนั้น Software ที่ใช้งานบนระบบ Network จะมีความคล่องตัวกว่า Software บน PC โดย เฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่ องของการซ่อมบำารุ ง ปรับปรุ ง Software ให้ถูกต้อง เช่น รุ่ นที่ Upgrade มาใหม่ เราจะ สามารถติดตั้งและ Upgrade Software ทั้ง 10 เครื่ อง ซึ่งเสี ยเวลามาก นอกจากนั้นในกรณีที่เราใช้ Workstation ประเภท "Diskless Workstation" User จะไม่มีสิทธิ์ ในการ ใช้งานแผ่น Disk เล่ย ทำาให้เราสามารถขจัดปัญหาของ "Virus" ที่กาำ ลังแพร่ ระบาดอยูไ่ ด้ รวมทั้งการตรวจ สอบ Virus ก็ไม่จาำ เป็ นต้องตรวจสอบที่ PC แต่ละเครื่ อง แต่ตรวจสอบที่ Flie Server เพียงเครื่ องเดียว ทำาให้


28

ประหยัดเวลา และเกิดการทำางานที่คล่องแคล่วตัวมากยิง่ ขึ้น สำาหรับเรื่ องของ License หรื อลิขสิ ทธิ์น้ นั Software ที่จะนำามาใช้ในงานบนระบบ Network จะต้องเป็ น Software รุ่ นของเน็ตเวิร์คเท่านั้นซึ่งในปัจจุบนั มี License Software สำาหรับระบบ Network 2 แบบ คือ 1. สำาหรับเรื่ องของ License หรื อลิขสิ ทธิ์ น้ นั Software ที่จะนำามาใช้ในงานบนระบบ Network จะต้อง เป็ น Software รุ่ น Network 2. Per User License หมายถึง Software ที่จะต้องระบุจาำ นวน User ลงไปเลยว่าต้องการใช้เท่าใด แต่การ ทำางานจริ ง ๆ แล้วจะใช้กี่คนพร้อมกันก็ได้ Share Date ปัญหาที่เกิดขึ้นแน่นอน สำาหรับการใช้งาน PC แยกกันคือ ในกรณี ที่เราต้องการข้อมูลของ PC อีกเครื่ องหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าข้อมูลนั้นมีขนาดใหญ่ หรื อต้องการใช้งานข้อมูลร่ วมกันบ่อย ๆ จะ ทำาให้เสี ยเวลาในการ Copy ข้อมูลมาก ถ้าเรานำาระบบ "Network" มาใช้งานข้อมูลของ User แต่ละคนจุถูก เก็บไว้ในที่เดียวกันคือ Hard disk ของ File Server ดังนั้น User แต่ละคนสามารถเรี ยกใช้ขอ้ มูลซึ่งกันและกัน ได้ทนั ที แต่ท้ งั นี้ข้ ึนอยูก่ บั การกำาหนดสิ ทธิในการเรี ยกใช้ขอ้ มูลของแต่ละ User ซึ่งเราสามารถกำาหนดได้วา่ User คนใดสามารถใช้งานข้อมูลใดได้ถึงระดับใดบ้าง เนื้อหาในส่ วนนี้ จะได้กล่าวในลำาดับต่อไป จากประโยชน์ของการใช้ Software ร่ วมกันนี้ ข้อมูลจะถูกเก็บอยูท่ ี่ File Server ข้อมูลจึงถูกต้อง ทันสมัย และรวดเร็ ว (เรี ยกว่า เป็ นการควบคุมข้อมูลที่จุดศูนย์กลาง) โดยแต่ละ Workstation สามารถใช้ขอ้ มูลของ Workstation อื่น ได้ทนั ที (ถ้ามีสิทธิ์ ) โดยไม่ตอ้ งรี รอ จึงทำาให้การทำางานสะดวกขึ้น (Flexible) นอกจากนั้น ยังลดขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน และลดเวลาในการทำางาน คือแทนที่จะต้องเสี ยเวลาในการรอข้อมูลซึ่งกัน และกัน เพื่อที่จะทำางานขั้นต่อไป ก็ทาำ ให้ตอ้ งเสี ยเวลาและลดความผิดพลาดที่เกิดจากข้อมูลไม่ถูกต้องทัน สมัย เช่น เมื่อมีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้าทำาให้ฝ่ายขาย ขานสิ นค้นตามราคาใหม่ได้ทนั ที โดยไม่ ต้องรอการแจ้งเปลี่ยนแปลงราคาจากส่วนควบคุมการตั้งราคา เป็ นต้น 3) การต่อเชื่อมกับระบบอื่น ในระบบงานของ PC เมื่อต้องการนำา PC มาเชื่อมต่อกับระบบอื่น เช่น Mainframe หรื อ Mini Computer จะ ต้องมีอุปกรณ์เชื่อมต่อพิเศษ เพื่อให้ PC นั้นสามารถทำางานร่ วมกับระบบอื่นได้ เราเรี ยกขบวนการนี้ วา่ "Terminal Emulation" ปัญหาก็คือ PC 1 เครื่ องจะต้องมีอุปกรณ์พิเศษต่อเชื่อม 1 ชุด ซึ่งปกติจะมีราคาสูงมาก เมื่อทำางานที่มากขึ้น การต่อเชื่อมกับ PC เพียง 1 ชุด อาจไม่เพียงพอในการใช้งาน อาจจำาเป็ นต้องต่อมากยิง่ ขึ้น ทำาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากตามไปด้วย แต่ถา้ เรามีระบบ "Network" อยูแ่ ล้ว เราสามารถนำา PC และอุปกรณ์ต่อเชื่อมสำาหรับระบบอื่นเพียง 1 ชุดมา ใช้งาน หลัก จาก นั้น Workstation เครื่ องที่ไม่มี อุปกรณ์ต่อเชื่อมนี้ กส็ ามารถเชื่อมต่อกับระบบอื่นได้ดว้ ย เสมือนมีอุปกรณ์เชื่อมต่อติดตั้งที่เครื่ องของตนเอง ลักษณะเช่นนี้เราเรี ยกว่า "Gateway" 4) การใช้ระบบ Multiusers


29

การใช้ระบบ Multiusers หมายถึง ระบบที่ User สามารถใช้โปรแกรมหรื อข้อมูลเดียวกันได้ครั้งละหลาย ๆ คน ซึ่ง "Network" นั้นสามารถใช้งานระบบนี้ ได้เป็ นอย่างดี

สรุปเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบนั ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์นบั ว่ามีความสำาคัญอย่างมาก ในการนำามาใช้ ประโยชน์ในหลายๆด้าน ทั้งทางด้านธุรกิจ องค์กร สำานักงาน หรื อรวมทั้งระบบการศึกษาด้วย เนื่องจากสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้พอเหมาะกับงาน โดยใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็ นเครื อข่ายขององค์กร ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มี กำาลังในการลงทุนซื้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโคร คอมพิวเตอร์หลายเครื่ องต่อเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่ง เป็ นสถานีบริ การที่ทาำ ให้ใช้งานข้อมูลร่ วมกันได้ ซึ่งมีต้ งั แต่ระบบเครื อข่ายแบบท้องถิ่น จนถึง ระบบเครื อข่ายแบบบริ เวณกว้างที่ทาำ ให้สามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่อยูห่ ่างไกลกัน ให้สามารถทำางานร่ วมกันได้ โดยอาศัยอุปกรณ์เครื อข่ายในการเชื่อมต่อ ดังนั้นระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์จึงถือได้วา่ เป็ นเครื่ องมือสำาคัญทางเทคโนโลยีชนิดหนึ่งของสังคมโลกปัจจุบนั


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.