E-book แบบสอบถามรายการข่าว OTT final

Page 1

คูมือ สำหรับผูประเมิน เขารวม การกำหนดระดับคุณภาพสื่อ ในโครงการว�จัยการพัฒนาตอยอดและ การสรางเคร�อขายการมีสวนรวมในระบบการวัด คุณภาพของสื่อที่นำเสนอตอสังคม
3 โครงการวิจัยการพัฒนาต่อยอดและการสร้างเครือข่าย การมีส่วนร่วมในระบบการวัดคุณภาพของสื่อที่นำาเสนอต่อสังคม คืออะไร? ศัพท์ที่น่ารู้ การเลือกรายการเป้าหมาย - รายการข่าว - รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว การประเมิน Quality Rating รายการข่าว พิจารณาจากอะไรบ้าง? การประเมิน Quality Rating รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว พิจารณาจากอะไรบ้าง? ขั้นตอนการตอบแบบประเมิน - รายการข่าว - รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว กิจกรรมระหว่างการประเมิน สรุปกิจกรรมและช่วงเวลาในการเข้าร่วมโครงการฯ 4 5 7 10 11 12 35 37 สารบัญ

ในระบบการวัดคุณภาพของสื่อ ที่นำาเสนอต่อสังคม คืออะไร?

โครงการวิจัยการพัฒนาต่อยอดและการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในระบบ

ในการเรียนรู้ระบบการวัดคุณภาพสื่อและร่วมประเมินคุณภาพของเนื้อหารายการ

4 โครงการวิจัยการพัฒนาต่อยอด และการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม
การวัดคุณภาพของสื่อที่นำ า เสนอต่อสังคม ภายใต้การสนับสนุนของกองทุนพัฒนา สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี มีวัตถุประส งค์สำ า คัญเพื่อ พัฒนาและต่อยอดระบบการวัดคุณภาพสื่อที่นำาเสนอต่อสังคม และสร้างการมีส่วนร่วมกับ ประชาชนที่เป็นผู้รับชมโทรทัศน์ประเภทรายการข่าวและรายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว
ที่รับชม โดยใช้วิธีการสำ า รวจแบบต่อเนื่อง (Panel Survey) กับกลุ่มเป้าหมายร่วม กับการสนทนากลุ่มในกลุ่มผู้ชมรายการข่าว และรายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว ผู้ประเมินในโครงการฯ นี้ คือ ผู้ชมรายการที่มีบทบาทสำ า คัญในการกำ า หนด ระดับ คุณภาพของรายการในขั้นตอนของการสำารวจแบบต่อเนื่อง (Panel Survey) เพื่อส่งเสียง สะท้อนไปยังผู้ผลิตรายการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสังคม ให้ได้ทราบถึงมุมมองและความ คาดหวังของผู้ชมที่มีต่อคุณภาพของเนื้อหารายการข่าว และรายการเพื่ อเด็ก เยาวชน และครอบครัว ภายหลังจากที่ผู้ประเมินได้ร่วมกำาหนดระดับคุณภาพรายการเสร็จสิ้น 2 รอบแล้ว จะมีการสนทนากลุ่มเพื่อถอดบทเรียนจากกลุ่มผู้ชมที่มีส่วนร่วมในการ ประเมินบางส่วน และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง จากนั้น
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในการพัฒนาระบบการวัดคุณภาพสื่อฯ เพื่อส่งเส ริมคุณภาพ เนื้อหาในสื่อ เพื่อเอื้อให้เกิดนิเวศสื่อที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ในวงกว้างต่อไป
โครงการวิจัยฯ จะด า เนินการสังเคราะห์เป็น

ัย เนื้อหาที่ตรง กับความต้องการและความสนใจของเด็กและเยาวชน ตลอดจนเนื้อหาที่ส่งเสริมทักษะของ

รายการและคุณลักษณะของแต่ละองค์ประกอบที่เป็นตัวชี้วัดคุณภาพของรายการที่มีต่อผู้

ด้านเทคนิคการนำาเสนอ

เครื่องมือในการวัดคุณภาพของสื่อ

คุณภาพด้านรูปแบบและเนื้อหารายการ หมายถึง มุมมองของผู้ชมรายการที่มีต่อ คุณลักษณะอันมีคุณภาพของเนื้อหาที่ปรากฏต่อผู้ชม

5 ศัพท์ที่น่ารู้ รายการข่าว หมายถึงรายการโทรทัศน์ที่มีการรายงานเรื่องราวเหตุการณ์ สถานการณ์ อันมี ข้อเท็จจริง หรือความคิดเห็น ที่มีผลกระทบ ความสำาคัญ หรือน่าสนใจ ต่อผู้ชม โดยมีรูปแบบของรายการข่าว ได้แก่ 1) รายการข่าวเหตุการณ์และสถานการณ์ ปัจจุบัน 2) รายการเล่าข่าว 3) รายการสนทนาปัญหาเหตุการณ์ปัจจุบัน /สนทนาเชิงข่าว ทั้งนี้ ไม่รวมรายการข่าวบันเทิง รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว หมายถึง รายการโทรทัศน์ที่มีกลุ่ม เป้าหมายหลักคือ เด็ก เยาวชน และคนในครอบครัว โดยมีเนื้อหามุ่งพัฒนาทักษะพื้นฐานสำาคัญ ที่ต้องมีของเด็กและเยาวชน เนื้อหาที่สอดคล้องกับพัฒนาการตามช่วงว
ผู้ปกครอง ญาติและครู ในการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวและสังคม ตัวชี้วัดคุณภาพของสื่อที่นำ า เสนอต่อสังคม หมายถึง องค์ประกอบของคุณภาพ
ชม สำาหรับรายการข่าว
คุณภาพด้านรูปแบบและเนื้อหารายการ มิติคุณภาพด้านผู้ดำาเนินรายการและมิติคุณภาพ
และรายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว จำาแนกออกได้เป็นมิติ
หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการสำ า รวจ ความคิดเห็นต่อคุณภาพรายการของผู้ชมเป้าหมายของรายการที่เข้าร่วมการประเมิน
ทั้งนี้ ในรายการข่าว ไม่รวมถึงมุมมอง ของผู้ชมต่อเหตุการณ์ สถานการณ์ ปรากฏการณ์ที่เป็นข่าว

และ จำากัดขอบเขตเฉพาะรายการที่มีผู้ผลิตรายการเป็นรูปแบบองค์กรหรือบุคคลที่มีกระบวนการ

6 คุณภาพด้านผู้ดำาเนินรายการ หมายถึง มุมมองของผู้ชมรายการที่มีต่อคุณลักษณะอันมี คุณภาพของผู้ดำาเนินรายการ โดยในรายการข่าวประกอบด้วย ผู้ประกาศข่าว พิธีกรข่าว และ นักข่าวภาคสนาม และรายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว ได้แก่ พิธีกร คุณภาพด้านเทคนิคการนำ า เสนอ หมายถึง มุมมองของผู้ชมรายการที่มีต่อ คุณลักษณะอันมีคุณภาพของเทคนิคที่ใช้ในการนำ า เสนอรายการ ได้แก่ แสง สี เสียง ภาพ แผนผัง ฉาก อุปกรณ์ประกอบฉาก และเทคนิคทันสมัยอื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเล่าเรื่องใน รายการ รายการที่เผยแพร่ทางช่องทาง Over The TOP (OTT) หมายถึง การให้บริการ โทรทัศน์ผ่านโครงข่ายอื่นที่ไม่ใช่โครงข่ายกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ โดยในงานนี้จะหมายถึง รายการข่าวและรายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัวที่ให้บริการผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต ในบริการลักษณะ Video Sharing เช่น ยูทูบ และลักษณะ Social Networking เช่น เฟซบุ๊ก ไม่รวมถึงบริการในลักษณะที่เป็นการต่อยอดจากช่องทางเดิมของผู้ให้บริการดิจิทัลทีวี
สร้างสรรค์เนื้อหา ไม่รวมถึงเนื้อหาที่ผลิตโดยผู้ใช้สื่อทั่วไป

1) คัดเลือกจากรายการข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลประเภทบริการธุรก ิจ พิจารณาจากรายการที่ได้รับความนิยมปานกลางถึงสูง

7 การเลือกรายการเป้าหมาย
รายการข่าวเป้าหมาย จำ า นวน 5 รายการ คัดเลือกจาก
(รายการข่าว)
10 อันดับแรกในช่ วงเวลา ไ ตรมาสแรกของการศึกษา ดูจากนีลสันเรตติ้งประกอบกับยอดรับชมบนช่องทาง ออนไลน์ของรายการ 2) คัดเลือกจากรายการข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลประเภทบริการสาธา รณะ ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุด ในช่วงเวลาไตรมาสแรกของการศึกษา ดูจากนีลสันเรตติ้งประกอบกับ ยอดรับชมบนช่องทางออนไลน์ของรายการ 3) ค ัดเลือกจากรายการข่าวที่เผยแพร่ผ่านช่องทาง Over The TOP (OTT) โดย กำาหนดเกณฑ์ว่าเป็น Online News Publisher ที่มีจำานวนผู้ติดตามติดอันดับ 1 ใน 5 ทั้งนี้ การเลือกรายการข่าวเป้าหมาย จำ า นวน 5 รายการ จะคำ า นึงถึงประเภทรายการข่าวที่ แตกต่างกันด้วย รายการข่าวเป้าหมายในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย

เจ้าหน้าที่บริหารโครงการฝ่ายพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์สำาหรับเด็กและเยาวชน

ผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาจากรายการที่มีผลกระทบสูงต่อพัฒนาการของเด็ก และ เยาวชน โดยเลือกรายการดังนี้

1. รายการ Kids Ranger ช่อง Thai PBS

ต้องการส่งเสริมให้เกิดรายการสำาหรับเด็กในหลายช่วงวัย

การศึกษาในครั้งนี้จะสามารถนำาไปใช้เป็นแนวทางในการผลิตสื่อเพื่อเด็กวัยประถมต้นต่อไป

8 การเลือกรายการเป้าหมาย (รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว) รายการเพื่อเด็ก เยาวชนและครอบครัวที่เป็นเป้าหมายจำ า นวน 3 รายการ คัดเลือก จากสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลประเภทบริการธุรกิจ 1 รายการ และประเภทบริการสาธารณะ 1 รายการและรายการที่เผยแพร่ผ่านช่องทางช่องทาง Over The TOP (OTT) 1 รายการ การคัดเลือกดำาเนินการพิจารณา โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้แก่ 1) แพทย์หญิง ดวงรัตน์ วังเกล็ดแก้ว โรงพยาบาลสมิติเวชศรีนครินทร์ แผนกศูนย์เด็ กพิเศษ 2) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.กันตวรรณ มีสมสาร ผู้ประสานงานเอกปฐมวัยศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 3) คุณดนยา วสุวัต ผู้เชี่ยวชาญ ด้าน เด็กและเยาวชน
และ
เสริมความรู้เรื่อง
21 ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 07.20 น. ผู้ทรงคุณวุฒิได้ให้เหตุผลว่า
จึงคาดหวังว่าผล
ปฏิบัติการเด็กช่างคิด
STEM แนวทางการเรียนรู้ใหม่ล่าสุดสำาหรับเด็กในศตวรรษที่
ที่ผ่านมากองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
ซึ่งเริ่มมีผู้ศึกษาสื่อที่เหมาะกับวัย อนุบาล ในตอนนี้จึงต้องการศึกษาสื่อที่เหมาะกับช่วงวัยประถมต้นเพิ่มขึ้น
9 2. รายการช่อง 9 การ์ตูน จากช่อง 9 MCOT HD โดยผู้ทรงคุณวุฒิได้ให้เหตุผล ว่า เนื่องจากรูปแบบรายการที่นำ า เสนอผ่านตัวการ์ตูน มีองค์ประกอบที่ดึงดูดความสนใจ ของเด็ก อาทิ สีสัน ภาพเคลื่อนไหว แฟนตาซี และเด็กยังสามารถเชื่อมโยงกับรายการการ์ตูน ได้มากกว่ารายการรูปแบบอื่น ดังนั้นจึงมีประเด็นที่น่าสนใจศึกษาเพิ่มคือ การวิเคราะห์เนื้อหา และพิธีกรดำาเนินรายการที่อาจจะให้ความรู้ หรือข้อควรปฏิบัติกับผู้ชมที่เป็นเด็ก ซึ่งผลการ ศึกษาสามารถนำาไปปรับใช้กับรายการการ์ตูนสำาหรับเด็กได้อย่างกว้างขวาง 3. Little Monster Family ทาง Youtube ช่อง Little Monster Family รายการเพื่อ เสริมสร้างทักษะความคิดสร้างสรรค์และภาษาอังกฤษให้กับเด็กเล็ก นอก จากนี้ ช่องฯ ได้ รางวัล Best Influencer on Social Media จาก Thailand Zocial Awards 2018 ใน สาขา Parenting & Kids (สาขาพ่อ แม่และเด็ก) ให้บริการหลักทางช่องทางยูทูบ มี ผู้ติดตาม 1.05 ล้าน (ข้อมูล ณ วันที่ 18 ก.พ. 2566)

• ดานที่ 1 ดานการนำเสนอขาวตามมาตรฐานจร�ยธรรมทางว�ชาช�พ

• ดานที่ 2 ดานการใชภาษา

• ดานที่ 1 ดานการใชเทคนิคเพื่อชวยใหเนื้อหาชัดเจน เขาใจงาย 3 ตัวช�้วัด

• ดานที่ 2 ดานการใชเทคนิคสรางความแปลกใหมและหลากหลาย 2 ตัวช�้วัด

รายการขาว พิจารณาจากอะไรบาง? การประเมิน ดานรูปแบบและเนื้อหารายการ • ดานที่ 1 ดานจรรยาบรรณว�ชาช�พขาว 7 ตัวช�้วัด • ดานที่ 2 ดานการเคารพสิทธ� กฎหมาย 5 ตัวช�้วัด • ดานที่ 3 ดานการสรางประโยชนตอสาธารณะ และสรางการมีสวนรวม 4 ตัวช�้วัด • ดานที่ 4 ดานประเด็นขาวและความคิดสรางสรรค 5 ตัวช�้วัด ดานผูประกาศ พิธ�กร และนักขาวภาคสนาม
และความเช�่ยวชาญในอาช�พ 6 ตัวช�้วัด
3 ตัวช�้วัด
และใหเกียรติบุคคลอื่น 2 ตัวช�้วัด • ดานที่ 4 ดานบุคลิกภาพ และไหวพร�บในการสื่อสาร 2 ตัวช�้วัด ดานเทคนิคการนำเสนอรายการ
• ดานที่ 3 ดานการเคารพ
ผลกระทบหลังรับชมรายการ 10 ตัวช�้วัด 10

• ดานที่ 2 ดานการเสร�มสราง

• ดานที่ 3 ดานการสงเสร�มการเร�ยนรู ศักยภาพและทักษะช�ว�ต 4 ตัวช�้วัด

• ดานที่ 4 ดานการมีสวนรวมและสงเสร�มความเขาใจระหวางเด็ก เยาวชน และสมาช�กในครอบครัว 3 ตัวช�้วัด

• ดานที่ 5 ดานความสอดคลองของเนื้อหากับกลุมเปาหมาย

?พิจารณาจากอะไรบาง
รายการเพื่อเด็ก
ดานรูปแบบและเนื้อหารายการ
ดานที่
6 ตัวช�้วัด
การประเมิน
เยาวชน และครอบครัว
1 มาตรฐานและจร�ยธรรมในการนำเสนอเนื้อหา
ทักษะการคิด และแรงบันดาลใจ
2 ตัวช�้วัด
3 ตัวช�้วัด • ดานที่ 6 ดานคุณสมบัติเฉพาะที่สอดคลองตามวัตถุประสงคของรายการ ดานคุณสมบัติของผูดำเนินรายการ • ดานที่ 1 ดานความเปนมืออาช�พ 5 ตัวช�้วัด • ดานที่ 2 ดานทัศนคติ ความเอาใจใส และมนุษยสัมพันธ 4 ตัวช�้วัด • ดานที่ 3 ดานการสื่อสาร การแสดงออกและบุคลิกภาพ 4 ตัวช�้วัด ผลกระทบหลังรับชมรายการ 12 ตัวช�้วัด ดานเทคนิคการนำเสนอ • ดานที่ 1 ดานเทคนิคภาพ และเสียง 3 ตัวช�้วัด • ดานที่ 2 ดานรูปแบบการผลิตและกิจกรรม 5 ตัวช�้วัด 11
12 ขั้นตอนการตอบแบบประเมิน แบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทรายการข่าว และประเภทรายการ เพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว โดยมีขั้นตอนการประเมินดังนี้ รายการข่าว 1. เข้าสู่เว็บไซต์สำาหรับการประเมิน โดยคลิกลิงก์เว็บไซต์สำาหรับการประเมินที่ทีมงาน ส่งให้ใน Line Group ของแต่ละรายการ เมื่อคลิกแล้วจะปรากฏหน้าจอที่มีชื่อแบบประเมินขึ้นมา ดังตัวอย่าง
13 2. เข้าสู่แบบประเมิน โดยการเลื่อนลงมาด้านล่างสุดของหน้าและคลิกที่ปุ่ม
14 3. เริ่มทำาแบบประเมิน โดยหัวข้อคำาถามต่าง ๆ จะปรากฏหน้าจอแบบประเมิน ตามหัวข้อต่อไปนี้ • คำาถามเบื้องต้น โดยคลิกเลือกหรือพิมพ์ข้อความที่ตรงกับตัวท่าน
15
แบบประเมินคุณภาพรายการ ใหเลือกตอบตามขอที่ตรงกับความคิดเห็นของทานที่สุด โดยแบงคุณสมบัติออกเปน 4 ประกอบดวย ดาน คุณสมบัติของรูปแบบ และเนื้อหารายการ 1 คุณสมบัติของผูประกาศ พิธ�กรและนักขาวภาคสนาม 2 คุณสมบัติของเทคนิคการ นำเสนอรายการ 3 ผลกระทบของรายการขาวตอ ผูตอบแบบสอบถาม ภายหลังการรับชมรายการ 4 16
17 ด้านที่ 1 คุณสมบัติด้านรูปแบบและเนื้อหารายการ ตามเกณฑ์คะแนนดังนี้ 5 – เห็นด้วยมากที่สุด 4 - เห็นด้วยมาก 3 - เห็นด้วยปานกลาง 2 - เห็นด้วยน้อย 1 - เห็นด้วยน้อยที่สุด
18
19 ด้านที่ 2 ด้านผู้ประกาศ พิธีกร และนักข่าวภาคสนาม ตามเกณฑ์คะแนนดังนี้ 5 – เห็นด้วยมากที่สุด 4 - เห็นด้วยมาก 3 - เห็นด้วยปานกลาง 2 - เห็นด้วยน้อย 1 - เห็นด้วยน้อยที่สุด
20

ด้านที่ 3 ด้านเทคนิคการนำาเสนอรายการ ตามเกณฑ์คะแนนดังนี้

5

4 - เห็นด้วยมาก

3 - เห็นด้วยปานกลาง

2 - เห็นด้วยน้อย 1 - เห็นด้วยน้อยที่สุด

21
เห็นด้วยมากที่สุด
22 ด้านที่ 4 ผลกระทบของรายการข่าวต่อผู้ตอบแบบสอบถามภายหลังการรับชม รายการ ตามเกณฑ์คะแนนดังนี้ เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน (5) ไปจนถึง เพิ่มขึ้นเล็กน้อย (1) หรือ ไม่เพิ่มขึ้นเลย (0)
23 หากท่านทำ า แบบประเมินครบทุกข้อแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม ที่ด้านล่างสุดของแบบ ประเมินจะเป็นอันเสร็จสิ้นการทำ า แบบประเมิน
24 2. เข้าสู่แบบประเมิน โดยการเลื่อนลงมาด้านล่างสุดของหน้าและคลิกที่ปุ่ม รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว 1. เข้าสู่เว็บไซต์สำาหรับการประเมิน โดยคลิกลิงก์เว็บไซต์สำาหรับการประเมินที่ทีมงาน ส่งให้ใน
เมื่อคลิกแล้วจะปรากฏหน้าจอที่มีชื่อแบบประเมินขึ้นมา ดังตัวอย่าง
Line Group ของแต่ละรายการ
25 3. เริ่มทำาแบบประเมิน โดยหัวข้อคำาถามต่าง ๆ จะปรากฏหน้าจอแบบประเมิน ตามหัวข้อต่อไปนี้ • คำาถามเบื้องต้น โดยคลิกเลือกหรือพิมพ์ข้อความที่ตรงกับตัวท่าน
26 และเฉพาะรายการ Little Monster จะมีข้อคำาถามเพิ่มเติม
1 ข้อ
27 แบบประเมินคุณภาพรายการ ให้เลือกตอบตามข้อที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านที่สุด โดยแบ่งคุณสมบัติออกเป็น แบบประเมินคุณภาพรายการ ใหเลือกตอบตามขอที่ตรงกับความคิดเห็นของทานที่สุด โดยแบงคุณสมบัติออกเปน 4 ประกอบดวย ดาน คุณสมบัติของรูปแบบ และเนื้อหารายการ 1 คุณสมบัติของ ผูดำเนินรายการ 2 คุณสมบัติของเทคนิคการ นำเสนอรายการ 3 ผลกระทบของรายการตอเด็ก เยาวชนในการดูแลของ ผูตอบแบบสอบถามภายหลังการ รับชมรายการ 4 27
28 ด้านที่ 1 ด้านคุณสมบัติของรูปแบบและเนื้อหารายการ
4
-
5
เห็นด้วยมากที่สุด
- เห็นด้วยมาก 3 - เห็นด้วยปานกลาง 2 - เห็นด้วยน้อย 1
เห็นด้วยน้อยที่สุด
29
30 ด้านที่ 2 ด้านคุณสมบัติของผู้ดำาเนินรายการ 5 – เห็นด้วยมากที่สุด 4 - เห็นด้วยมาก 3 - เห็นด้วยปานกลาง 2 - เห็นด้วยน้อย 1 - เห็นด้วยน้อยที่สุด
31

4 - เห็นด้วยมาก

3 - เห็นด้วยปานกลาง

2 - เห็นด้วยน้อย 1 - เห็นด้วยน้อยที่สุด

32 ด้านที่
ด้านคุณสมบัติของเทคนิคการนำาเสนอ
3
5 – เห็นด้วยมากที่สุด
33 ด้านที่ 4 ผลกระทบของรายการต่อเด็ก เยาวชนในการดูแลของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามเกณฑ์คะแนนดังนี้ การเปลี่ยนแปลงของเด็ก เยาวชนภายหลังการรับชมรายการ เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน (5) - > เพิ่มขึ้นเล็กน้อย (1) หรือ ไม่เพิ่มขึ้นเลย (0)
34 หากท่านทำ า แบบประเมินครบทุกข้อแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม ที่ด้านล่างสุดของแบบ ประเมินจะเป็นอันเสร็จสิ้นการทำาแบบประเมิน

3 มีนาคม 2566 โดยแบ่งเป็นแบบ Online และแบบ Onsite ซึ่งจะมีการทำาแบบทดสอบก่อน การประเมิน

35 1. การประเมินรายการ รอบที่ 1 จะเริ่มดำ�เนินก�ร ระหว่�งวันที่ 6 ถึง 12 มีน�คม 2566 ผู้ประเมิน เข้าระบบเพื่อประเมินรายการที่ตนเป็นผู้ประเมิน ตอบข้อคำาถามในแบบประเมินทุก ข้อ โดยส่งแบบประเมิน เพียง 1 ครั้ง รอบที่ 2 ระหว่�ง วันที่ 7 ถึง 14 เมษ�ยน 2566 ผู้ประเมิน เข้าระบบเพื่อประเมินรายการที่ตนเป็นผู้ประเมิน ตามข้อคำาถามในแบบประเมินทุก ข้อ โดยประเมิน เพียง 1 ครั้ง 2. การอบรมก่อนประเมิน จะมีการจัดอบรมเพื่อทำาความเข้าใจเกี่ยวกับแบบประเมินในช่วง 26 กุมภาพันธ์ ถึง
(Pre-test) ด้วย 3. การเข้าร่วมไลน์กลุ่ม ผู้ประเมินทุกท่านเข้าร่วม Line Group ของแต่ละรายการที่ตนเป็นผู้ประเมิน ดังนี้ (1) รายการข่าว แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กิจกรรมระหว่างการเข้าร่วมโครงการฯ
36 (2) รายการเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว แบ่งออกเป็น 3 รายการ ดังนี้ โดยจะมีกิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมต่าง ๆ ในระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ – เมษายน 2566 เช่น การร่วมตอบคำาถามผ่าน Line Vote ระหว่างการรับชมรายการ, การประเมินแบบ กึ่ง Real-Time, การให้เกร็ดความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับรายการผ่าน Infographic พร้อมร่วมลุ้น ของที่ระลึกสำาหรับผู้ที่มีส่วนร่วมในการทำากิจกรรม กลุมรายการ Kids Ranger กลุมรายการ ชอง 9 การตูน กลุมรายการ Little Monster Family 4. การทดสอบภายหลังการประเมินรายการ (Post Test) เป็นการทดสอบแบบ Online ผ่านทาง QR Code ที่เจ้าหน้าที่จะจัดส่งให้ ในไลน์กลุ่มที่ท่านอยู่ ระหว่างวันที่ 17 – 21 เมษายน 2566 เมื่อท่านส่งแบบทดสอบแล้ว จึงถึงว่าเป็นการสิ้นสุด การเข้าร่วมโครงการ
37 สรุปกิจกรรมและช่วงเวลาในการเข้าร่วมโครงการฯ
38 โครงการวิจัยการพัฒนาต่อยอดและการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในระบบการวัด คุณภาพของสื่อที่นำาเสนอต่อสังคม ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ โดยคณะนักวิจัยจำานวน 3 ท่าน คือ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา ผู้อำานวยการหลักสูตรปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร ยุวโกศล รองผู้อานวยการ ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย์ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3. ดร.เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว ผู้อานวยการคณะทางานจัดการองค์ความรู้และสื่อสารสาธารณะ และอาจารย์ประจาคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
E-book แบบสอบถามรายการข่าว OTT final by gummagorngraphic - Issuu