Isamare june58 web

Page 41

ระหว่ า งคนกั บ สั ต ว์ ป ่ า พั ฒ นาการของ ต�ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ แบ่งเป็นยุคต่างๆ ที่ ส�ำคัญได้ดังนี้

พัฒนาการต�ำบล

พ.ศ. 2520 – 2530 ยุ ค เริ่ ม ต้ น สร้ า งชุ ม ชน ในพืน้ ทีเ่ ริม่ มีการจัดตัง้ “โครงการ พระราชด�ำริสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ ใหญ่” เนื่องมาจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นเขต ชายแดนติ ด กั บ ประเทศพม่ า เป็ น ถิ่ น ที่ อยู่อาศัยของชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง และกะหร่ าง ประกอบกับสถานการณ์ ทางความมั่ น คงของพื้ น ที่ แ ละสภาพ พื้ น ที่ เ ป็ น ป่ า เขา ทุ ร กั น ดารไม่ มี ถ นน หนทางติ ด ต่ อ สั ญ จร ท� ำ ให้ ต� ำ บลห้ ว ย สั ต ว์ ใ หญ่ เ ป็น พื้น ที่สีแ ดงในเขตอิทธิพล ทางการเมื อ งของพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ แห่งประเทศไทย ต่อมาประชากรขยาย ตั ว จึ ง ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ให้พื้นที่ ของต� ำ บลห้ ว ยสั ต ว์ ใ หญ่ เ ป็ น พื้ น ที่ ต าม โครงการพระราชด�ำริที่ส่งเสริมให้ชุมชน ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมและเลี้ ย ง โคนมจนมีการรวมกลุ่มจัดตั้งในรูปแบบ สหกรณ์การเกษตร และจัดสรรพื้นที่ให้ กั บข้ าราชการและชาวบ้านที่เข้ามาอยู่ อาศัย ต่อมามีการส่งเสริมการประกอบ อาชีพทางการเกษตร โดยการให้กู้ยืมเงิน มาลงทุนในการประกอบอาชีพปลูกพืช เศรษฐกิจเชิงเดี่ยว เช่นข้าวโพดและถั่ว เหลือง ในยุคนั้นที่สภาพพื้นที่ยังคงอุดม สมบูรณ์อยู่มาก แต่ต่อมาราคาข้าวโพด ตกต�่ำ ท�ำให้เกษตรกรขาดทุนเกิดหนี้สิน ต้ อ งหนี อ อกนอกพื้ น ที่ แ ละโอนหนี้ ข าย สิทธิที่ดินของตัวเอง

พ.ศ. 2531-2549 ยุ ค การเข้ า มาของกระแส ความเจริ ญ กลุ่มสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ ใหญ่ได้ปิดตัวลงเพราะขาดทักษะในการ บริ ห ารจั ด การ ท� ำ ให้ เ กษตรกรมี อิ ส ระ ทางการเพาะปลู ก จึ ง มี ก ารปลู ก พื ช หลากหลายขึ้นทั้งมะนาว กล้วย ฝ้ายและ สับปะรด ควบคู่กับการเลี้ยงไหม ปลูก หม่ อ น จึ ง ไม่ ค ่ อ ยมี ป ั ญ หาเรื่ อ งผลผลิ ต แต่ ส่ิ ง เหล่ า นี้ ก็ เ ป็ น การเรี ย นรู ้ จ ากบท เรียนในอดีตที่ถูกบังคับจากสถาบันการ เงิ น ให้ ป ลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย ว โดยในยุ ค นี้ มี ความเจริญต่างๆ เริ่มเข้ามาชุมชนเริ่มมี ไฟฟ้าพลังน�้ำเอาไว้ใช้ ผู้คนจากที่อื่นเริ่ม มาจับจอง มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ดิน กันเป็นการใหญ่ การเติบโตของชุมชน ท�ำให้มีการบุกรุกแผ้วถางป่ามากขึ้น เกิด ความแห้งแล้ง ขาดความอุดมสมบูรณ์ อีก ทั้งการเกษตรเชิ ง เดี่ ย วที่ ต ้ อ งการผลผลิ ตมากๆ และใช้สารเคมีได้ส่งผลร้ายและ ท�ำลายความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่อย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่า เช่น ช้างป่า ออกมาหากินบริเวณไร่ของชาว บ้าน จนเกิดความขัดแย้งระหว่างชาวไร่ กับช้างป่า พ.ศ. 2550 – 2551 ยุ ค พึ่ ง พาตนเอง จากสภาพที่ เ ผชิ ญ อยู ่ ชุ ม ชนจึ ง เริ่มมีการรวมกลุ่ม หันหน้ามาประชุมพูด คุยกัน มองถึงการพัฒนาที่ไม่ต้องรอคอย หรือร้องขอจากใคร เน้นเริ่มที่ตัวเราเอง โดยเริ่ ม ต้ น จากกลุ ่ ม เยาวชน และกลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ช ้ า ง แต่ ห ลั ง จากด� ำ เนิ น การไป ได้สักระยะหนึ่งยังไม่ประสบความส�ำเร็จ มากนัก เพราะผู้คนยังไม่มีประสบการณ์ การท�ำงานกลุ่ม ต่อมาได้รับงบประมาณ การสนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ 41 issue 89 June 2015

(สสส.) แกนน� ำ ชุ ม ชนได้ มี โ อกาสเห็ น การท� ำ งานพั ฒ นาชุ ม ชนจากภายนอก จนสร้ า งแรงบั น ดาลใจ เกิ ด การฉุ ก คิ ด ค้ น ประยุ ก ต์ น� ำ กลั บ มาด� ำ เนิ น การใน พื้นที่ สามารถคิดค้นประยุกต์ น�ำกลับ มาด�ำเนินการในพื้นที่ สามารถชักชวน กลุ่มชาวบ้านมาเข้าร่วมมากขึ้น โดยพลิก ฟื้นกลับมาปลูกต้นไม้หลากหลายให้พอ กิน พออยู่ พอใช้ก่อน เหลือ แลก แจก ค้าขายใกล้บ้าน ค้าขายกันเองในชุมชน แปรรูป รวมกลุ่ม โดยยึดหลักความพอ ประมาณความมี เ หตุ ผ ล ด้ ว ยการปลู ก ต้นไม้ สร้างบ�ำนาญชีวิต การเลี้ยงชีพตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง

ทุนต�ำบล

จากพื้นที่ป่าที่เป็นชายแดนไทย – พม่า มีชาวเขาอาศัยอยู่ได้ปรับเปลี่ยน เป็นพื้นที่ชุมชนคนไทย และได้รับพระ มหากรุ ณ าที่ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ที่ ท รงพระราชทาน โครงการในพระราชด� ำ ริ และแนวคิ ด แนวทางให้ ชุ ม ชนเกิ ด การพึ่ ง พาตนเอง จนเกิดการรวมตัวกลุ่มจัดตั้งเป็นสหกรณ์ การเกษตร และสหกรณ์โคนม พร้อมกับ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว จนมีผู้คนที่ หลั่ ง ไหลเข้ า มาจั บ จองที่ ดิ น ท� ำ กิ น และ ขยายกลุ่มมากมายโดยชุมชน นับเป็นต้น ทุ น ต� ำ บลที่ ส� ำ คั ญ ทั้ ง กลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ ช ้ า ง กลุ่ม อสม. กลุ่มอาชีพ กลุ่มแม่บ้านและ ต่อมาเกิดกลุ่มเครือข่ายชุมชนเป็นสุขป่า ละอูในปี พ.ศ. 2543 ที่มีบทบาทชัดเจน ในการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาคุณภาพ ชีวิตของคนในต�ำบล ตั้งแต่เรื่องปัญหา หนี้สิน เกษตรเชิงเดี่ยว งานพัฒนาการ กลุ่มเด็กเยาวชน การพึ่งพาตนเองด้าน อาหาร การส่งเสริมวนเกษตร และงาน พัฒนาศักยภาพผู้น�ำ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.