Isamare july web

Page 1

IS AM ARE

โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่

แจกที่ดินคนละ 5 ไร่

ตีโจทย์เศรษฐกิจพอเพียงให้แตก เพื่อการพัฒนาชีวิตที่ยั่งยืน ดร.ศั ก ดิ์ พ งศ์ หอมหวล

ฉบับที่ 90 กรกฎาคม 2558 www.Baanporpeang.org


เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหารและพนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย 2 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง...จะท� ำ ความเจริ ญ ให้ แ ก่ ป ระเทศได้ แต่ ต้ อ งมี ค วามเพี ย ร แล้ ว ต้ อ งอดทน ต้ อ งไม่ ใ จร้ อ น ต้ อ งไม่ พู ด มาก ต้ อ งไม่ ท ะเลาะกั น ถ้ า ท� ำ โดยเข้ า ใจกั น เชื่ อ ว่ า ทุ ก คน จะมี ค วามพอใจได้ . ..” พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ณ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

3 issue 90 JuLY 2015


EDITORIAL

ทักทายกันในฉบับ เดือน ๗ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๘ เผลอเดี๋ ย วเดี ย ว ผ่านมาแล้ว ๖ เดือน นึกถามตัวเองว่า ท� ำ ไมเวลาเดิ น เร็ ว จริ ง ๆ หรื อ จะเป็ น เพราะว่า เราท�ำงานไม่ทันกับเวลารึเปล่า ครึ่งปีแล้ว เรายังท�ำกิจกรรมค่าย ไปได้ เพียงไม่กี่ค่าย และปี นี้ มี โ อกาสได้ ไ ปขยาย เครื อ ข่ า ยครอบครั ว พอเพี ย งในสถาน ศึ ก ษาระดั บ อาชี ว ศึ ก ษาจ� ำ นวน ๑๕ แห่ ง ๑๕ จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศแต่ สิ่ ง ที่ ป ระสพมานั้ น ท� ำ ให้ เ กิ ด ข้ อ กั ง ขาคื อ ท� ำ ไมสถานศึ ก ษาระดั บ อาชี ว ศึ ก ษา แหล่ ง ผลิ ต บุ ค คลากร ช่ า งฝี มื อ ช่ า ง ก่ อ สร้ า ง ช่ า งไฟฟ้ า ช่ า งยนต์ ช่ า งกล โรงงาน ช่ า งเชื่ อ มและอี ก หลายสาขา ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ ตลาดแรงงานที่ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง ยั ง ขาดผู ้ ใช้ แรงงานอยู ่ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก เรียกง่าย ๆ ว่า เรียนอาชีวะไม่ว่าจะสาขา วิชาไหน เมื่อเรียนจบมาแล้ว คุณมีงานท�ำ ทันที แต่กลับไม่มีผู้เรียน ไม่มีใครสนใจที่ จะเรียนมากนัก และเมื่อมีการสอบถาม กับอาจารย์ ฝ่ายบริหาร ก็ได้รับค�ำตอบว่า สาเหตุที่มีนักเรียนมาเรียนในระดับ ปวช. จ�ำนวนไม่มากก็เพราะ กระทรวงศึกษามีน โยบาย มอบเงินสนับสนุนแก่สถานศึกษา ตามจ�ำนวนนักเรียนเป็นรายหัว เหมือน กันทั้งระดับมัธยม และอาชีวะ แ ล ้ ว ท� ำ ไ ม จึ ง เ ป ็ น ป ั ญ ห า ล่ะ ก็เพราะว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ทั้ ง ระดั บ มั ธ ยม และอาชี ว ะ เกิ ด การ แย่ ง ชิ ง ผู ้ เรี ย นหรื อ นั ก เรี ย น โอกาสที่ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยม จะ ได้ผู้เรียนจ�ำนวนมากกว่า อาชีวะ จะมี สาเหตุ ใหญ่ ๆ อยู่ ๒ ประการ คือ ๑.ค่า นิ ย มในการเรี ย นต่ อ ในมหาวิ ท ยาลั ย

และ ๒.ภาพลั ก ษณ์ ข องเด็ ก ช่ า งหรื อ อาชีวศึกษานั้นดูด้อยกว่า เ พี ย ง แ ค ่ ๒ ป ร ะ ก า ร ข อ ง ความคิ ด ที่ ค รอบครั ว ไทยคิ ด ในเวลานี้ และเป็นแบบนี้มานานแล้ว แรงงานขาดตลาด ช่ า งฝี มื อ ขาดตลาด และสิ่งที่ปรากฏคือ เยาวชน ที่เรียนจบจากมหาวิทยาลัย ในแต่ละปี มีจ�ำนวนถึง ๓ ถึง ๔ แสนคน และสถิติ ปี ๒๕๕๗ ที่ผ่านมามีจ�ำนวนผู้ที่ยังไม่มี งานท�ำอยู่กว่าแสนคน ทีนี้เรามาลองช่วยกันคิด นักเรียน ที่เลือกเรียนอาชีวะใช้เวลาเรียนต่อจาก มั ธ ยมต้ น จ� ำ นวน ๓ ปี เรี ย นจบได้ วุ ฒิ ปวช. สามปีจบหางานท�ำมีรายได้แน่นอน และใช้เวลาอีก ๒ ปี ก็จะเรียนจบ ปวส. และหากสามารถท�ำงานไปเรียนไปได้ก็จะ จบปริญญาตรี ถามว่ า ลั ก ษณะครอบครั ว ไทย ที่มีรายได้สูงนั้นจากสถิติมีอยู่เพียง ๑๔ เปอร์ เซนต์ อี ก ๘๖ เปอร์ เซนต์ เป็ น ครอบครั ว ชนชั้ น กลาง ลงล่ า ง รายได้ ต่ อ ครอบครั ว ไม่ เ กิ น สองถึ ง สามหมื่ น บาทต่อเดือน แต่เปอร์เซนต์ของผู้เรียน กลั บ สวนทางกั บ ลั ก ษณะทางกายภาพ ของสังคมโดยสิ้นเชิง เด็กนักเรียนเลือก ที่จะเรียนต่อมัธยมปลาย ซึ่งใช้เวลา ๓ ปี ต่อจากมัธ ยมต้ น เด็ ก ที่ จ บมั ธ ยมปลาย หรือ ม.๖ จะได้รับเงินเดือนเท่าไร ถ้า สภาพครอบครัวยากจนต้องท�ำงานเพื่อ ช่วยเหลือครอบครัว จบ ม.๖ ท�ำงานได้ อย่างดีก็แค่เด็กเซิฟ เด็กล้างรถ เด็กล้าง จานตามห้องอาหาร ซึ่งเป็นไม่ได้แม้แต่ เด็กขายของหน้าร้านตามร้านสะดวกซื้อ จบ ม.๖ ต้องใช้เวลาเรียนถึง ๔ ปี จึงจะ จบปริญญาตรี หากครอบครัวไม่สามารถ ส่งต่อให้เรียนจนจบได้ วุฒิการศึกษาก็จะ 4 IS AM ARE www.ariyaplus.com

mookkarsa@gmail.com www.baanporpeang.org

ได้เพียง ม.๖ เขี ย นมาถึ ง บรรทั ด สุ ด ท้ า ยด้ ว ย ความหวั ง ที่ ว ่ า ผู ้ ใ หญ่ ห รื อ ผู ้ บ ริ ห าร ทางการศึ ก ษาของบ้ า นเมื อ งในปั จ จุ บั น คุณน่าที่จะแก้ไขหรือปฏิรูปการศึกษาทันที ด้ ว ยวิ ธี ง ่ า ย ๆ คื อ สั่ ง ให้ ผู ้ บ ริ ห ารสถาน ศึ ก ษาที่ สั ง กั ด คณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้ น พื้ น ฐานหยุ ด ท� ำ ร้ า ยเด็ ก และเยาวชน เพี ย งเพราะเห็ น แก่ ค ่ า สนั บ สนุ น สถาน ศึกษาที่ได้รับตามรายหัวของเด็กที่เข้ามา ศึกษาได้แล้ว พร้อมกับแนะน�ำส่งเสริมให้ เด็กและเยาวชนสร้างภูมิคุ้มกัน ภูมิต้าน ให้แก่ตนเองและครอบครัวด้วยการศึกษา ในระดับอาชีวศึกษา หากสภาพครอบครัว มี ฐ านะปานกลาง หรื อ ยากจนและเมื่ อ ครอบครัวมีฐานะดีและมั่นคง จึงค่อยศึกษา ต่อในระดับสูงขึ้น ๆ ไป ก็เท่านั้น.


staff

ประธานกิตติมศักดิ์ :

คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์, วิชัย ศรีขวัญ, ปรีชา วัชราภัย, เบญจวรรณ สร่างนิทร, นนทิกร กาญจนะจิตรา (เลขาธิการ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน)

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ :

พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์, พุธทรัพย์ มณีศรี, ชมนาด พงศ์พรัตน์, ดร.เสรี พงศ์พิศ, เกริกเกียรติ์ เอกพจน์, นงลักษณ์ หอตระกูล, ผศ.ดร.ทิพวัลย์ สีจันทร์, รังสิมา จารุภา, ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์

ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

ที่ปรึกษา :

วริมา โพธิสมบัติ, วัลภา บุรุษพัฒน, ผศ.ดร.ธันวา จิตต์สงวน, ดร.ขนิษฐา สารพิมพา, ฌิชศีล ตันติเวชกุล, จริยา รอดเที่ยง, สุชานี แสงสุวรรณ

Let’s

Start

บรรณาธิการ : ขจรศักดิ์ เชาว์เจริญรัตน์ กรวิก อุนะพ�ำนัก

อภีม คู่พิทักษ์ ศิลปกรรม : เอกรัตน์ คงรอด ส�ำนักงาน : นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอย พหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2939-5995 โทรสาร : 0-2939-5996 เว็ปไซต์ : www.ariyaplus.com www.baanporpeang.org

and Enjoy!

5 issue 90 JuLY 2015


Hot Topic

74

โครงการพัฒนา เกษตรรุ ่นใหม่

30

44

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ประกาศเจตนารมณ์ ต่อต้านการทุจริต สร้างจิตส�ำนึก กฟภ.ไม่โกง

ตีโจทย์เศรษฐกิจพอเพียงให้ แตกเพื่อการพัฒนาชี วิตที่ย่ังยืน ดร.ศักดิ์พงศ์ หอมหวล

Don’t miss

10

18 20 14 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com

48


table of content

ดร.ศั ก ดิ์ พ งศ์ เป็ น อาจารย์ ผู ้ ป ระสิ ท ธิ์ ป ระสาทวิ ช าให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอก ในสาขานวั ต กรรมเพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ผู ้ ป ลดปล่ อ ยนั ก ศึ ก ษาที่ เ คยใส่ สู ท ผู ก ไทด์ ม าเรี ย น ในอาทิ ต ย์ แ รก ก่ อ นจะหั น หลั ง ให้ เ ปลื อ กงามๆ เหล่ า นั้ น ตลอดไปเมื่ อ เรี ย น จบด๊ อ กเตอร์

ดร.ศักดิ์พงศ์ หอมหวล 7 issue 90 july 2015

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แม่คะ...หนูท้อง เด็กก่อนค่าย เด็กหลังค่าย ลูกสาวของแผ่นดิน ตัวไกลหัวใจอยู่ใกล้ นั่งนานอันตราย ออกก�ำลังกายขณะท�ำงาน หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน Dhrama today โรคกรรมหรือโรคกาย ตอนที่ 1 Question of life กว่าจะคืนถิ่น เส้นทางสู่ มศว. Goodlife มาท�ำความรู้จักวัยทองกันเถอะ Cartoon Cover story ตีโจทย์เศรษฐกิจพอเพียงให้แตก เพื่อการพัฒนาชีวิตที่ยั่งยืน นานา...ทัศนะ จบธรรมศาสตร์กลับบ้านท�ำนา Share story คลิกโดยไม่คิด โดนปรับเป็นหมื่น สัมภาษณ์พิเศษ ประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ร่วมลงนามกับคณะผู้บริหาร ประกาศ เจตนารมณ์ ต่อต้านการทุจริต สร้างจิตส�ำนึก กฟภ. ไม่โกง EAT AM ARE ต้มกะทิสายบัวปลาทู IS AM ARE ต�ำบลบางหัวเสือ สมุทรปราการ พลิกวิกฤติ คืนคุณภาพชีวิตที่ดีสู่ชุมชน Wheel of life เรื่องเล่าเยาวชน ความพอเพียงกับชีวิต มูลนิธิชัยพัฒนา ธรรมะของราชา Let’s Talk โครงการพัฒนาเกษตรรุ่นใหม่ ปฎิรูปความรู้ สร้างทัศนคติ แจกที่ดินท�ำกิน สร้างอาชีพเกษตรกรอย่างยั่งยืน ROUNDABOUT

8 10 14 17 18 20 22 26 30 40 42

44 50 50 58 62 66

74 80


“แม่ค่ะ...หนูท้อง”

....ถ้ อ ยค� ำ นี้ ค งเป็ น เรื่ อ งปกติ ส� ำ หรั บ คนเป็ น แม่ ทั่ ว ไป ถ้ า ลู ก สาวคุ ณ เพิ่ ง แต่ ง งานไม่ น าน และอายุ เข้ า สู ่ วั ย อั น ควรแล้ ว ! แต่ ค นพู ด ประโยคข้ า งบนนี้ คื อ ดญ.เจี๊ ย บ ซึ่ ง เพิ่ ง อายุ 14 และยั ง เรี ย นอยู ่ ชั้ น มั ธ ยม ผลที่ ต ามมา คื อ คุ ณ แม่ ข องเธอช็ อ ค โกรธ และสุ ด ท้ า ยคื อ ความ กลั ด กลุ ้ ม สุ ม ทรวงติ ด ตามมา... ...วั ย รุ ่ น เป็ น วั ย ที่ ร ะอุ ไ ปด้ ว ยความร้ อ นแรง เต็ ม ไปด้ ว ยพลั ง ขั บ เคลื่ อ นจากสรี ร ะและฮอร์ โ มน อั น พลุ ่ ง พล่ า นอยู ่ ภ ายใน บ่ อ ยครั้ ง ที่ อ ารมณ์ มี อิ ท ธิ พ ลเหนื อ เหตุ ผ ล เป็ น วั ย ที่ อ ยากรู ้ อ ยากลอง และ บางคนเรี ย กว่ า “วั ย อลวน” สิ่ ง ที่ น ่ า เป็ น ห่ ว งเป็ น อย่ า งมากในขณะนี้ คื อ อั ต ราท้ อ งในวั ย รุ ่ น ของประเทศไทย สู ง เป็ น อั น ดั บ ต้ น ๆ ของโลก ในปี 2555 ตั ว เลขอยู ่ ที่ 53.8 ต่ อ 1,000 ของสตรี วั ย 15-19 ปี

ปัญหาท้องในวัยรุ่น เป็นปัญหา ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั่ ว โลก และพบว่ า ปั ญ หานี้ สัมพันธ์กับความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจ และสั ง คม ผู ก โยงกั บ ปั ญ หายาเสพติ ด อาชญากรรม และโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ในอเมริกาเคยมีอัตราท้องในวัย รุ่นสูงถึง 61.8 ต่อ 1,000 ซึ่งสูงมากกว่า เมืองไทยในขณะนี้ ใช้เวลาถึง 20 กว่าปี ในการลดปัญหาดังกล่าวลงมาเหลือ 29 ต่อพันในขณะนี้

ในอังกฤษก็เคยมีปัญหาในแบบ เดียวกัน คือ 44 ต่อพัน แต่ก็สามารถลด เหลือแค่ 27 ต่อพันในขณะนี้ โดยใช้เวลา กว่า 14-15 ปี ค� ำ ถามคื อ การตั้ ง ครรภ์ ใ น เด็ ก วั ย รุ ่ น มี ข ้ อ เสี ย เท่ า นั้ น หรื อ ข้ อ ดี ไม่ มี บ ้ า งหรื อ เช่ น ไร เราต้ อ งยอมรั บ ความจริ ง ว่ า เด็ ก สมั ย นี้ ไ ม่ เ หมื อ นสมั ย รุ่นพ่อ แม่ โลกเปลี่ยนไป ประเทศไทย ก็เปลี่ยนไป วัยรุ่นสมัยใหม่ชอบใช้ชีวิต ในแบบตนเองที่สามารถเข้าถึงความคิด 8 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ของผูค้ น ชอบความสนุกสนาน ชอบการมี เครือข่ายและมิตรภาพ และแน่นอนเรื่อง เพศเป็นส่วนหนึ่ง เรามั ก ได้ ยิ น คนรุ ่ น เก่ า ๆพู ด กั น บ่ อ ยๆว่ า “ถ้ า สอนให้ เ ด็ ก รู ้ เรื่ อ งเพศ เด็กๆ จะมีเพศสัมพันธ์กันเร็วขึ้น” ซึ่งมี ข้อพิสูจน์แล้วว่าไม่จริง ...แฟนหนุ่มอาจบอกกับแฟนสาว ว่า ถ้าไม่มีเพศสัมพันธ์ด้วย แสดงว่าเธอ ไม่รักเขา....


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

...เด็ ก สาวบางกลุ ่ ม คุ ย กั น เรื่ อ ง เพศสัมพันธ์อย่างโจ้งแจ้ง และมีการแข่ง กันล่าแต้มให้ได้มากที่สุด ...แม่ จะบอกลูกสาวว่า ถ้าหนูมี เพศสัมพันธ์เท่ากับหนูเป็นเด็กไม่ดี แต่ พ่ อ กลั บ บอกลู ก ชายว่ า มี เ พศสั ม พั น ธ์ ได้ ...ครูเป็นต้นตอที่ส�ำคัญของความ สั บ สน ครู บ างคนบอกวั ย รุ ่ น เรื่ อ งการ ป้องกันการตั้งครรภ์ แต่ครูคนอื่นๆ อาจ ไม่ต้องการ แม้แต่ได้ยินค�ำว่า SEX …เจ้าของร้านอาจมองเด็กผู้ชาย ที่มาซื้อถุงยางอนามัยด้วยสายตาต�ำหนิ หรื อ หากแม่ พ บว่ า ลู ก สาวพกถุ ง ยาง อนามัยในกระเป๋า เธออาจถูกแม่ลงโทษ อย่างรุนแรง ตัวอย่างหลายตัวอย่างข้างบนนี้ ท�ำให้วัยรุ่นสับสน เพราะสิ่งที่วัยรุ่นต้อง การจริ ง ๆ คื อ ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ ง ข้ อ มู ล ที่ ดี เ ป็ น ข้ อ มู ล ที่ ต ้ อ งอยู ่ บ นข้ อ เท็ จ จริ ง เรื่ อ งที่ มั ก เหมื อ นๆกั น อย่ า งหนึ่ ง คื อ ผู้ใหญ่ทั้งหลายมักไม่ได้ยึดข้อมูลและข้อ เท็จจริงเสมอไป แต่มักเอาวิธีคิดและอคติ ของตัวเองไปปะปน ตัวเลขที่หลายคนตกใจคือ ข้อมูล ส� ำ รวจเมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ พบว่ า เด็ ก นั ก เรี ย น ม.5 ชายมีเพศสัมพันธ์แล้ว 24.8% หญิง ร้อยละ 20.2 ส่วนเด็กปวช.ปี 2 ผู้ชายมี เพศสัมพันธ์แล้ว 46.1% และผู้หญิงสูงถึง 51.1% “จุดคานงัด” ที่ส�ำคัญของเรื่อง การตั้ ง ครรภ์ ใ นวั ย รุ ่ น มี ห ลายประเด็ น นับตั้งแต่ 1. อย่าตีกรอบความคิดว่า แม่ วัยรุ่น คือ ปัญหาเสมอไป แท้จริงแล้ว แม่ วั ย รุ ่ น ก็ ส ามารถเลี้ ย งลู ก ให้ เ ป็ น เจ้ า

คนนายคน ประสบความส� ำ เร็ จ อั น ยิ่ ง ใหญ่ได้ 2.ถุ ง ยางอนามั ย ให้ ถื อ ว่ า เป็ น เหมื อ นหน้ า กากครอบใบหน้ า (Mask) เมื่อคราจ�ำเป็นก็ต้องใช้ อย่ารังเกียจคน ซื้อและคนพกถุงยางอนามัย 3.คนสมั ย นี้ มี เ พศสั ม พั น ธ์ น อก สมรสมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งขัดกับค�ำสอนและ กฏเกณฑ์ของศาสนา แต่ค�ำสอนและกฏ เกณฑ์เหล่านี้ไม่ใช่เรื่องเชยล้าสมัย เป็น เรื่องที่ต้องกระท�ำต่อไป 4.ให้ความรัก ความเมตตา และ ความเข้าใจกับเด็กทุกคนที่ประสบปัญหา อย่ า ไปกระหน�่ ำ ซ�้ ำ เติ ม เช่ น ครู ไ ม่ มี สิ ท ธิ์ ไ ล่ เ ด็ ก ออกจากโรงเรี ย น เพราะ สาเหตุนี้ พ่อแม่ต้องปฏิบัติต่อเด็กอย่าง มีวิจารณญาน และความเข้าใจ 5.ประเทศไทยจะต้ อ งเปิ ด ทาง เลื อ กอย่ า งมี คุ ณ ภาพ มี คุ ณ ธรรมและ มนุษยธรรมอย่างแท้จริง ต่อแนวทาง 3 แนวทางให้พ่อแม่และเด็กเลือก คือ ก.ให้ตั้งครรภ์ต่อไป และเตรียม ความพร้ อ มการเลี้ ย งดู ลู ก อย่ า งมี คุณภาพ ข.ให้ตั้งครรภ์ต่อไป โดยเตรียมหา พ่อแม่อุปถัมภ์ให้ ค.ให้ บ ริ ก ารยุ ติ ก ารตั้ ง ครรภ์ อย่างปลอดภัย 6.ขณะนี้ เ ด็ ก ทุ ก คนที่ เ กิ ด มามี คุณค่ามากส�ำหรับประเทศ เพราะอัตรา การเกิดน้อย และมีแนวโน้มต�่ำลงเรื่อยๆ คนที่ มี ค วามรู ้ ไ ม่ ย อมแต่ ง งานและมี ลู ก ดั ง นั้ น เราต้ อ งช่ ว ยกั น ดู แ ลเด็ ก ที่ เ กิ ด มา ให้ดี ทัศนคติสังคม บีบให้วัยรุ่นตั้งครรภ์ ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่สามารถ ใช้ ชี วิ ต ปกติ ใ นโรงเรี ย นหรื อ สั ง คมได้ 9 issue 90 JuLY 2015

www.nhso.go.th

สังคมไทยต้องยอมรับการตั้งครรภ์ในวัย รุ่นให้มากขึ้น ที่ ผ ่ า นมา ต้ อ งยอมรั บ ว่ า การ ใช้เพียงการ “ห้าม” และ “การอบรม สั่ ง สอน” นั้ น ไม่ เ พี ย งพอ ส� ำ หรั บ วั ย รุ ่ น ในยุ ค Millennium อย่ า งทุ ก วั น นี้ ซึ่ ง สามารถเรี ย นรู ้ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ทุ ก อย่ า งผ่ า น Internet วั ย รุ ่ น ต้ อ งการ ค�ำแนะน�ำที่มีพื้นฐานอยู่บนข้อเท็จจริง มากกว่ า ศี ล ธรรม ต้ อ งการความเข้า ใจ ความเห็ น ใจและเวลาในการเรี ย นรู ้ สิ่ ง ผิ ด ถู ก เพื่ อ การรอดพ้ น ปากเหยี่ ย ว ปากกา (Resilience) และเติบโตเป็น ผู้ใหญ่ที่มีวุฒิภาวะในที่สุด สั ง คมไทยที่ ผ ่ า นมา บางครั้ ง ผู้ใหญ่เองเป็นตัวท�ำให้ปัญหาซับซ้อนมาก ขึ้นด้วยการ “ปากว่าตาขยิบ” บอกเด็กว่า อย่ามีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย แต่ผู้ใหญ่กลับ ส�ำส่อนเสียเอง บางครั้งผู้ใหญ่เองก็ท�ำตัว “หน้าไหว้ หลังหลอก” ไม่เห็นด้วย หรือ ไม่ยอมให้เด็กท�ำแท้ง แต่ไม่ยอมรับผล และผลกระทบที่ตามมาอีกมากมาย เมื่อ เด็กคลอดลูกแล้ว.... ท้ายที่สุด หากเราใส่ใจกับการให้ มีการเข้าถึง และใช้ถุงยางอนามัยอย่าง แพร่ ห ลายมากขึ้ น ตั ว เลขเด็กวัยรุ่นตั้ง ครรภ์ ก็ จ ะน้ อ ยลงๆ เหมื อ นกั บ ความ ส�ำเร็จที่เกิดขึ้นในอเมริกาและอังกฤษที่ ผ่านมาแล้ว...

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา


ลูกสาวของแผ่นดิน สด ๆ ร้ อ น ๆ กั บ ค่ า ยแสนสนุ ก ไม่ มี ใ ครคาดคิ ด มาก่ อ นเลยว่ า ค่ า ยครั้ ง นี้ จ ะสร้ า งความประทั บ ใจให้ แก่ วิ ท ยากรที่ ม ากด้ ว ยประสบการณ์ แ ละเต็ ม เปี ่ ย มด้ ว ยภู มิ ป ั ญ ญาอย่ า งท่ า น ดร.ศั ก ดิ์ พ งศ์ หอมหวล อาจารย์ ป ระจ� ำ หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขา นวั ต กรรมเพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ มหาสารคาม ถึ ง กั บ ออกปากว่ า “นี่ ถ้ า ผมสามารถตั ด สิ น ใจได้ ด ้ ว ยตั ว เองว่ า จะมอบปริ ญ าเอกให้ กั บ ใคร ผมก็ จ ะมอบปริ ญ ญาเอกให้ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย นทุ ก คนที่ ม าเข้ า ค่ า ยครั้ ง นี้ เ ลยครั บ ” เสี ย งปรบมื อ ที่ ดั ง สนั่ น ในห้ อ ง ประชุ ม ณ ค� ำ แสดรี ส อร์ ท จั ง หวั ด กาญจนบุรี เด็กนักเรียนหญิงล้วน ๑๐๐ ชี วิ ต ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ปี ที่ ๕ จาก โรงเรี ย นดั ง ของกรุ ง เทพมหานครฯ จ�ำนวน ๑๐ โรงเรียน คือ โรงเรียนศึกษา นารี , โรงเรี ย นสตรี วั ด อั ป สรสวรรค์ , โรงเรี ย นราชิ นี ,โรงเรี ย นเซนต์ ฟ รั ง ซิ ส ซาเวียร์ , โรงเรียนเซ็นโยเซฟคอนเวนท์ , โรงเรียนราชินีบน , โรงเรียนพระหฤทัย คอนแวนท์ , โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย , โรงเรียนเบญจมราชาลัยและโรงเรียนสตรี ศรีสุริโยทัย

ความแตกต่ า งจากสถานศึ ก ษา กับเด็กหญิงในวัยเดียวกันคือ ๑๔-๑๕ ปี และที่ส�ำคัญเด็กเหล่านี้เป็นเด็กที่โรงเรียน คั ด สรรมาจากคณะกรรมการโรงเรี ย น เรียกได้ว่าทุกคนล้วนมีความเป็นผู้น�ำอยู่ ในตัวเป็นทุน และการเป็นผู้น�ำนี้ท�ำให้ เธอกล้ า แสดงออก ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งไม่ ย าก แต่สิ่งที่ท้าทายมากขึ้นคือการรวมตัวกัน ใหม่ของเด็กทุกคนทั้ง ๑๐ โรงเรียน ๑๐ กลุ่มเหมือนเดิม แต่ต้องไปอยู่กันคนละ กลุ่ม กลุ่มใหม่ที่ต้องเรียนรู้ร่วมกันเพื่อ มาตอบโจทย์ที่ได้รับ คือการคิดหาเพลง ที่สามารถสะท้อนบทเรียน จากบทพระ 10 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ราชนิพนธ์แปล ของสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เรื่ อ ง ตลอดกาลน่ะ นานแค่ไหน ซึ่งเพลงนั้นจะ เป็นเพลงไทยหรือเพลงสากลก็ท�ำได้ และ การล�ำดับความหมาย ข้อคิดข้อพิจารณา เพื่อน�ำมาวิเคราะห์สู่ขบวนการศึกษาและ ต่ อ ยอดเป็ น พั น ธกิ จ ต่ อ ไปภายในสถาน ศึกษาอย่างยั่งยืน อันนี้เป็นโจทย์ข้อที่ ๑ และโจทย์ข้อที่ ๒ คือการคิดท่าเต้น ประกอบเพลง โตไปไม่โกง บทเพลงที่ เกี่ยวกับความดี ความไม่ดี และการต่อ ต้านการคอร์รัปชัน เพียงแค่โจทย์สอง ข้อนี้ที่ต้องท�ำร่วมกันในการรวมกันของ


เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย

นั ก เรี ย นทั้ ง ๑๐ โรงเรี ย นแยกไปกลุ ่ ม ละคน นี่ ! ถ้ า เป็ น สมั ย ก่ อ น สมั ย ที่ ป ้ า มุ ก ยั ง เป็ น เด็ ก นั ก เรี ย นในระดั บ มั ธ ยม ปลาย คื อ ประมาณเมื่ อ ๓๐ กว่ า ปี ที่ ผ่านมา สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับค่ายแบบนี้คง บอกได้ค�ำเดียวว่า คงไปนั่งหลบมุมแล้ว ร้องไห้ ขอกลับบ้านไปแล้ว เพราะอะไร น่ะรึ ก็เพราะว่าไม่เคยมีประสบการณ์การ เข้าค่ายหรือการที่ต้องไปมีสันทนาการ ร่ ว มกั น กั บ นั ก เรี ย นต่ า งโรงเรี ย น เรี ย ก ว่าไม่เคยได้โอกาสในการพบเพื่อนใหม่ จากต่างโรงเรียนเลย เมื่อสมัยก่อนสิ่งที่ จ�ำได้แม่นเลยคือ กิจกรรมค่าย กิจกรรม การเดินทางไปต่างจังหวัดอะไรท�ำนองนี้ ไม่เคยมีและไม่มีทางเป็นไปได้เลยตามกฏ ของกระทรวงศึกษาธิการ การที่จะน�ำเด็ก นักเรียนไปพักค้าง ยิ่งในระดับมัธยมต้น หรือมัธยมปลาย ต้องท�ำหนังสือตอบรับ ชนิดที่ว่าหาใครเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ นั้น ๆ ล�ำบากมาก คือไม่มีใครกล้าท�ำ กิจกรรมค่ายค้างแรม และที่แน่ ๆ เลยคือ ผู้ปกครอง ไม่อนุญาตแน่นอน แค่คิดก็นึกออกเลย ว่า เสียงของ พ่อ จะตอบว่าอย่างไร และ ยิ่ ง ไปถามกั บ แม่ เรื่ อ งแบบนี้ น ะ แม่ จ ะ หั น หน้ า ไปหาพ่ อ แล้ ว บอกเราว่ า โน่ น ไปคุ ย กั บ พ่ อ เอาเอง เฮ่ อ ! ถึ ง ตอนนี้ ยั ง ซึมซับ แบบไม่มีวันลืมเลยว่า พ่อจะตอบ ว่าอย่างไร แต่นั่นก็ไม่ใช่ว่า จะหาคนผิดหรือ ถูก แต่มันขึ้นอยู่กับความคิดเดิม ๆ ของ คนสมัยก่อนที่ว่า ลูกสาวต้องอยู่กับเย้า เฝ้าแต่เรือน หรือบางบ้านก็เข้าต�ำรา ลูก คือไข่ในหิน แบบประมาณว่าถ้าโชคยังเข้า ข้าง ก็ไม่ต้องถึงกับตายตามพ่อ แม่ไป เมื่อ ท่านต้องจากเราไปในเวลาอันสั้น และนี่ ก็คืออัตลักษณ์ไทยที่ท�ำให้ประเทศไทย

ไม่สามารถทัดเทียมหรือเท่าทัน นานา อารยประเทศได้ เราเดินช้ากว่าประเทศ อื่นมากเพราะเรายังขาดการสร้างความ เชื่อใจ ความวางใจและเรียนรู้ความส�ำคัญ ของตนเอง เรายั ง หาค่ า ของความเป็ น ผู้มีความส�ำคัญไม่พบและไม่คิดที่จะเปิด โอกาสในการศึกษา หาค่าความส�ำคัญ ในตนเอง เรายังให้เกียรติตัวเองไม่เป็น หรือไม่ดีพอ ในอดี ต การเข้ า ค่ า ยมั ก จะมี เ มื่ อ เราศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาไปแล้ ว เท่านั้นและจะเกิดขึ้นกับครอบครัวที่พอ มีอันจะกินหรือผู้ปกครองเป็นผู้ที่เคยได้ รับโอกาสจากการเข้าค่าย หรือการมีส่วน ร่วมกับกิจกรรมพิเศษในโอกาสต่าง ๆ ที่ เคยได้รับจึงถ่ายทอดมายังลูกหลานได้ สมั ย ก่ อ นโอกาสของการเรี ย นรู ้

11 issue 90 JuLY 2015

นอกห้ อ งเรี ย น นึ ก อย่ า งไรก็ นึ ก ไม่ อ อก การไปทัศนะศึกษาแบบไปเช้าและกลับ โรงเรียนช่วงบ่าย ๆ ก็มีบ้างแต่ไม่บ่อยนัก เพียงปีละ ๑ ครั้งและส่วนใหญ่ที่ไปก็จะ เป็นศูนย์เรียนรู้เรื่องธรรมชาติ ที่ท้องฟ้า จ� ำ ลอง เรี ย นรู ้ เรื่ อ งประวั ติ ศ าสตร์ ก็ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ ท้ อ งสนาม หลวง ถ้าเรียนรู้เรื่องสัตว์ ก็ที่เขาดินวนา และถ้าเข้าค่ายแบบค้างคืน ก็คือเข้าค่าย ที่โรงเรียนนั่นเอง และเวลาส�ำหรับการเข้า ค่ายก็จะประมาณแค่ ๒ วัน ๑ คืน เท่านั้น หรือถ้าเป็นเด็กผู้ชาย ก็จะมีค่ายลูกเสือ ซึ่งก็ ๒ วัน ๑ คืน เหมือนกัน ถ้ า นั บ เวลารุ ่ น ป้ า รุ ่ น ลุ ง คื อ พวกครึ่งทศวรรษ นี้ก็จะเป็นคนที่เรียก ว่า กล้า ๆ กลัว ๆ อะไรประมาณนั้น ยกเว้นพวกที่ต้องอยู่โรงเรียนประจ�ำ เช่น


นักเรียนเตรียมทหาร อะไรแบบนั้น เขาก็ จะมีความเข้มแข็ง อดทน ไปอีกแบบ หรือ นั ก เรี ย นประจ� ำ ที่ มี ป ระวั ติ อั น ยาวนาน อย่างโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ถึงวันนี้ก็ นับได้ ๑๐๕ ปี ความเป็นกุลสตรีวังหลัง เป็ น ความภาคภู มิ ใจที่ มี อ ยู ่ จ นถึ ง วั น นี้ และค่านิยมที่ปลูกฝังกันอย่างเข้มแข็งคือ รุ่นพี่ รุ่นน้อง แบบชนิดที่ว่า ถ้ารุ่นน้องมี ความประพฤติผิดหรือเสียมารยาท ก็จะ ถูกรุ่นพี่ต�ำหนิด้วยสายตา ชนิดที่รุ่นน้อง ต้องหยุดยืนขาสั่นกันเลยทีเดียว ซึ่งผล สัมฤทธิ์ของเด็กที่เรียนประจ�ำนั้น จะเห็น ได้ชัดในปัจจุบันที่ได้เป็นผู้บริหารองค์กร หน่วยงานหรือบริษัทขนาดใหญ่จ�ำนวน ไม่น้อยเลยทีเดียว เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย นั บ ว่ า เป็ น ประสบการณ์ ชี วิ ต ที่ ส� ำ คั ญ ความจดจ�ำในสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในค่าย หน้าที่และความรับผิดชอบในตัวเองและ หมู่คณะ การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันกับคนที่ไม่ เคยรู้จัก ในเวลาหนึ่งนั้นจะสามารถสร้าง 12 IS AM ARE www.ariyaplus.com

เป็ น พื้น ฐานของค� ำว่า เพื่ อ นแท้ ไปได้ นานแค่ไหนทุกอย่างขึ้นอยู่กับจิตใต้ส�ำนึก จากจุดเริ่มต้นของจิตใจที่ไม่ได้ถูกบังคับ ในการร่วมกิจกรรม และแล้ว ๓ วัน ๒ คืน ก็ผ่านพ้น ไป เด็กสาว ๑๐๐ ชีวิตที่ได้มีโอกาสมาอยู่ รวมกัน แม้จะใช้ชีวิตร่วมกันไม่นานนักแต่ พลังใจและความสามัคคีที่ร่วมมือกัน และ แรงผลักดันที่คอยกระตุ้นเตือนจากพี่ค่าย ด้วยวัยที่ห่างกันแค่ ๑ ถึง ๒ ปี พี่ค่ายที่ มี หั ว ใจเกิ น ร้ อ ยจากครอบครั ว พอเพี ย ง ทั้งหญิงและชาย แรงส่งจากพี่ค่ายกลุ่ม นี้นับได้ว่ามีพลังมากพอที่สามารถท�ำให้ เด็ ก สาวต่ า งสถาบั น ทั้ ง ๑๐ โรงเรี ย น ๑๐๐ ชีวิตหลอมรวมเป็นหนึ่งได้ และฉาก สุดท้ายการร่วมกันร้องเพลงค่าย เพลง ก่ อ นจากกั น ..ขอสั ญ ญา ทั้ ง น�้ ำ ตาและ แลกเบอร์โทร พร้อมถ่ายภาพเพื่อความ ทรงจ�ำที่ดีตลอดไป และก่อนจบบทความ ป้ามุกขอฝากบทเพลง เพลงนี้ให้ชาวค่าย ทุกคนด้วยค่ะ. ป้ามุก


ก่ อ นจากกั น ...ขอสั ญ ญา ฝากประทั บ ตรึ ง ตรา จนกว่ า จะพบกั น ใหม่ โบกมื อ อ� ำ ลา สั ญ ญาด้ ว ยหั ว ใจ เพราะความรั ก ติ ด ตรึ ง ห่ ว งใย ด้ ว ยใจ ผู ก พั น มั่ น คง... ด้ ว ยความดี นั้ น ฝั ง ตรึ ง จากไปแล้ ว ค� ำ นึ ง ตรึ ง ประทั บ ดวงใจ อย่ า ได้ ลื ม เลื อ น สั ญ ญากั น ไว้ อ ย่ า งไร ขอให้ เ รามั่ น คงจิ ต ใจ ก้ า วไปสรรค์ ส ร้ า งความดี . .. *โอ้ เ พื่ อ นเอ๋ ย เคยร่ ว มสนุ ก กั น มา แต่ เ วลา ต้ อ งพาให้ เ ราจากกั น ไม่ น านหรอกหนา เราคงได้ ม าพบกั น ไม่ มี สิ่ ง ใดขวางกั้ น เพราะเรามั่ น ในสั ญ ญา หากแผ่ น ดิ น ไม่ ฝ ั ง กาย จะสุ ข จะทุ ก ข์ เ พี ย งใด น้ อ มกายยิ้ ม สู ้ ฟ ั น ฝ่ า ร้ อ ยรั ด ดวงใจ มั่ น ในค� ำ สั ญ ญา สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ มวลประชา นี่ คื อ สั ญ ญาของเรา ....

13 issue 90 JuLY 2015


่ นังนานอั นตราย โดย ดร.สไว บุญมา

ออกก�ำลังกายขณะท�ำงาน

ย้ อ นไปในยุ ค ก่ อ น บรรพบุ รุ ษ ของเราส่ ว นใหญ่ ท� ำ ไร่ ท� ำ นาและหา เลี้ ย งชี พ ด้ ว ยแรงกาย ฉะนั้ น วั น ๆ พวกเขาจึ ง ต้ อ งเคลื่ อ นไหวจน แทบไม่ มี เ วลาได้ นั่ ง หลั ง โครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ ได้ เ ปลี่ ย นไปสู ่ ก าร อุ ต สาหกรรม การบริ ก ารและงานทางด้ า นข่ า วสารข้ อ มู ล งานส่ ว น ใหญ่ เ ปลี่ ย นไปอยู ่ ใ นส� ำ นั ก งาน วั น ๆ เราจึ ง มั ก ต้ อ งนั่ ง กั น ครั้ ง ละ นานหลายชั่ ว โมง หลั ง จากนั่ ง นาน ๆ ในที่ ท� ำ งานแล้ ว เรายั ง กลั บ ไป นั่ ง ต่ อ ที่ บ ้ า นเพื่ อ อ่ า นข่ า วสาร รั บ ประทานอาหาร ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ แ ละ ดู โ ทรทั ศ น์ อี ก ด้ ว ย ตอนนี้ มี ผ ลการศึ ก ษาออกมาแล้ ว ว่ า การนั่ ง นาน ๆ ติ ด ต่ อ กั น เป็ น อั น ตรายมาก 14 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ตั ว ไกลหั ว ใจอยู ่ ไ กล้

การนั่งครั้งละนาน ๆ แต่ละวัน เป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคร้ายไม่ ว่าจะเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ความอ้วน มะเร็ง ซึมเศร้า กล้ามเนื้อ หรือข้อต่าง ๆ สาเหตุใหญ่ได้แก่การนั่งนาน ๆ จะท�ำให้ การเผลาผลาญอาหารลดลงอย่ า ง มี นั ย ส� ำ คั ญ นั่ น คื อ หลั ง จากนั่ ง เพี ย ง 30 นาที ระบบการเผาผลาญอาหารจะ ลดอัตราการท�ำงานลงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เอนไซม์ที่พาไขมันจากหลอดเลือดไปยัง กล้ า มเนื้ อ เพื่ อ เผาผลาญก็ ท� ำ งานช้ า ลง ด้วย กล้ามเนื้อส่วนล่างของร่างกายหยุด ท�ำงาน และหลังจากนั่งต่อไปถึง 2 ชั่วโมง โคเลสเตอรอลชนิดที่มีประโยชน์จะลดลง ถึง 20 เปอร์เซนต์ นั ก วิ จั ย บ า ง ค น ถึ ง กั บ ล ง ความเห็นว่า การนั่งนาน ๆ ก่อให้เกิด ปัญหามากกว่าการสูบบุหรี่และเชื้อเฮช ไอวี ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด โรคเอดส์ เ สี ย อี ก ร้ า ย ยิ่งกว่านั้น การออกก�ำลังกายก่อนหรือ หลังการนั่งท�ำงานนาน ๆ จะช่วยทดแทน ได้ไม่มากนัก เมื่ อ ไม่ น านมานี้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ลงความเห็ น กั น ว่ า ในช่ ว งเวลาท� ำ งาน ในส�ำนักงานวันละ 8 ชั่วโมงนั้น เราควร ใช้ เวลายื น เดิ น หรื อ ลุ ก ออกจากที่ นั่ ง อย่างน้อยเป็นเวลารวมกัน 2 ชั่ว และ ถ้าท�ำได้ ท�ำเพิ่มขึ้นไปให้ถึง 4 ชั่วโมง จุดเริ่มต้นอาจเป็นการยืน อาทิเช่น ยืน รับโทรศัพท์ ยืนประชุม สลับด้วยการเดิน ไปมา เดินไปหาเพื่อนร่วมงานแทนการส่ง อีเมล์ เดินขึ้น/ลงบันใด และการออกไป รับประทานอาหารนอกห้องท�ำงาน การ วิจัยพบว่า การท�ำงานด้วยการเคลื่อนไหว แบบนี้นอกจากจะมีผลดีต่อสุขภาพแล้ว

ยั ง มี ผ ลดี ต ่ อ ผลิ ต ภาพที่ อ าจเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 15 เปอร์เซ็นต์อีกด้วย ด้ ว ยเหตุ ดั ง กล่ า วมานี้ หลาย ประเทศจึงมีนโยบายส่งเสริมให้ออกแบบ เครื่ อ งใช้ ใ นส� ำ นั ก งานที่ ช ่ ว ยให้ เ กิ ด การ เคลื่อนไหว อาทิเช่น โต๊ะท�ำงานที่ปรับ ให้ ท� ำ งานได้ ท้ั ง ในท่ า นั่ ง และท่ า ยื น โต๊ ะ ท� ำ งานที่ ป รั บ ให้ ท� ำ งานในท่ า นั่ ง ท่ า ยื น ท� ำ งานบนพื้ น ปกติ แ ละบนลู ่ เ ดิ น ที่ท�ำงานที่มีทั้งเก้าอี้และล้อจักรยานให้ ใช้นั่งท�ำงานพร้อมถีบจักรยานช้า ๆ ไป

ด้วย

ในขณะนี้ มี ร ายงานแล้ ว ว่ า ประเทศในกลุม่ สแกนดิเนเวียอันประกอบ ด้วยสวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ ใช้ส�ำงานที่ปรับได้ในรูป ต่าง ๆ กันแล้วถึงกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ คง เป็นที่ทราบกันดี ประเทศเหล่านี้ก้าวหน้า และประชาชนโดยทั่วไปมีความสุขมากว่า ประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก หาก เราจะเลียบแบบใคร ลองน�ำแนวคิดของ ประเทศเหล่านี้มาใช้น่าจะได้ผลดี

ผู ้ เ ชี่ ย วชาญลงความเห็ น กั น ว่ า ในช่ ว งเวลาท� ำ งานในส� ำ นั ก งานวั น ละ 8 ชั่ ว โมงนั้ น เราควรใช้ เ วลายื น เดิ น หรื อ ลุ ก ออกจากที่ นั่ ง อย่ า งน้ อ ย เป็ น เวลารวมกั น 2 ชั่ ว และถ้ า ท� ำ ได้ ท� ำ เพิ่ ม ขึ้ น ไปให้ ถึ ง 4 ชั่ ว โมง

15 issue 90 JuLY 2015


เวปไซด์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.baanporpeang.org 16 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กว่า 6 ปีที่ผ่านมา IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง ได้น�ำบทความ บท สั ม ภาษณ์ สรรสาระที่ ม ากด้ ว ยความรู ้ และความบันเทิง ความสุขมากมายที่ได้ รับจากการอ่านนิตยสารเพื่อสังคมฉบับ นี้ เพื่อเป็นการตอบแทนท่านผู้อ่านและ สมาชิกที่น่ารักทุกท่าน ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป บก.จะแจกของ สมนาคุณเล็กๆแก่ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกันเข้า ของสมนาคุณที่ว่า คือ ปากกา SHEEFER จ�ำนวน 3 รางวัล พร้อมสลักชื่อ-นามสกุล เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ค� ำ ถามในฉบั บ นี้ คื อ ความรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากบทความ “แม่ค่ะ...หนูท้อง” หน้า 8-9 จากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่ ง ชาติ ในฉบั บ ที่ ป รากฏ แล้วตัดส่งมากันนะค่ะ ในฉบับ หน้ า ของสมนาคุ ณ อาจมี ก าร เปลี่ยนแปลงตามค�ำเรียกร้อง ของคนขี้ เ หงา ซึ่ ง น่ า จะเป็ น Furby เพื่อนช่างคุย ของเรา เอง แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า นะค่ะ

ร่วมตอบค�ำถามชิงปากกา SHEFFER

ส่งมาที่นิตยสารครอบครัวพอเพียง เลขที่ 663 ซอยพหลโยธิน 35 แยก 9 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-939-5995 www.ariyaplus.com, www.baanporpeang.org แบบประเมินความพอใจผู้อ่าน 1. เนื้อหาเรื่อง แม่ค่ะ...หนูท้อง

1

2

3

4

5

-ให้ความรู้และมีสาระตามที่คาดหวัง -บทความมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ -บทความจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ -บทความสร้างความตระหนักในเรื่องคุณธรรม 2.รูปเล่ม -มีการออกแบบที่สวยงาม ทันสมัย -จัดจัดเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย -ภาพประกอบและการน�ำเสนอน่าสนใจ 3.ข้อเสนอแนะ

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1.ไม่เป็นที่พอใจ 2. ควรปรับปรุง 3. พอใช้ 4.ดี/น่าสนใจ 5. ดีมาก/พอใจมาก 17 issue 90 JuLY 2015

1169


โรคกรรมหรือโรคกาย ตอนที่ 1 ขณะนี้หนูป่วยเป็นโรคที่วินิจฉัยชัดเจนไม่ได้ว่าเป็นโรค อะไร เดือนนี้เป็นเดือนที่สิบแล้วค่ะ ช่วงสามเดือนแรกที่เป็น หนูไปโรงพยาบาลอาทิตย์ละ ๒-๓ ครั้ง บางครั้งก็มากกว่า เพื่อตรวจหาอาการ ทั้งทางสูติฯ ทางเดินอาหาร แต่ก็ไม่พบอะไรผิดปกติ จนคุณหมอทางเดิน อาหารแนะน�ำให้ไปพบแพทย์ทางด้าน Pain เพราะหนูปวด บริเวณช่องท้องด้านล่างค่ะ สุดท้ายคุณหมอสรุปว่าเป็นโรค Visceral Hyperalgesia ซึ่งเป็นการปวดเรื้อรังจากปลายประสาท ช่ ว งแรกที่ ป ่ ว ย หนู ไ ม่ ไ ด้ คิ ด อะไรนอกจากเมื่ อ ไรจะ หาย เพราะมันทรมานและรบกวนการใช้ชีวิตประจ�ำวันมากค่ะ สุดท้ายไปดูดวงเขาบอกว่าอาการของหนูจะเป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆ

ไม่ดีขึ้น ไม่แย่ลง หนูเลยกลับมานั่งคิดว่า ที่ตัวเองต้องเป็นแบบ นี้คงเป็นเพราะกรรมที่หนูก่อขึ้นมาเอง หนูเคยท�ำแท้ง ๒ ครั้งค่ะ ครั้งแรกตอนอายุ ๑๗ กับแฟน คนแรก ด้วยความที่ยังเด็กจึงไม่ระวังเท่าที่ควร ตอนนั้นรู้อย่าง เดียวว่า จะให้พ่อแม่รู้ไม่ได้ ส�ำหรับแฟนเองก็ไม่ได้มีความคิด แม้กระทั่งว่าจะแต่งงานกัน ถึงแม้หนูจะแอบหวังว่าเขาจะรับ ผิดชอบ แต่ลึกๆ ก็รู้ว่าเขาไม่ต้องการ สุดท้ายจึงเลิกกัน เพราะ หนูทนอยู่กับความรู้สึกผิดไม่ได้ ส่วนครั้งที่สองตอนหนูอายุประมาณ ๒๒-๒๓ กับแฟน ที่เป็นคนไต้หวัน คราวนี้หนูยอมรับค่ะว่าประมาท เพราะช่วง ที่ยังไม่รู้ว่าท้องก็ทานยาไปเยอะเหมือนกัน บวกกับความรู้สึก 18

IS AM ARE www.ariyaplus.com


dhrama today ว่าเราไม่ได้รักผู้ชายคนนี้และไม่พร้อมจะ สร้างครอบครัวกับเขา แม้ว่าแฟนคนนี้มี ความคิดที่จะแต่งงานกับหนู แต่เขาเองก็ กลัวและไม่กล้าบอกพ่อแม่หนูด้วย ท�ำให้ หนูตัดสินใจเอาเด็กออก หนู ค ่ อ นข้ า งมั่ น ใจว่ า โรคที่ ห นู ประสบอยู ่ เ กิ ด จากกรรมที่ ห นู ไ ด้ ท� ำ ไป ถึงแม้หนูจะเกิดมาในครอบครัวที่สบาย อบอุ่น แต่หนูก็ได้ท�ำในสิ่งที่หนูจะต้อง รู้สึกผิดไปตลอดชีวิต รวมถึงเมื่อหนูได้ ตายจากโลกนี้ไปแล้ว หนูก็คงต้องชดใช้ กรรมต่อในภพภูมิอื่น ตลอดหลายปี ที่ ผ ่ า นมา หนู อธิษฐานแผ่ส่วนบุญ ขออโหสิกรรมให้ กั บ ดวงวิ ญ ญาณที่ เ ป็ น ลู ก ของหนู ทั้ ง

อีกหนึ่งเรื่องที่หนูเป็นกังวล คือ หนู ก� ำ ลั ง จะแต่ ง งานปลายปี นี้ หนู ก ลั ว มากค่ะว่า ถ้าหนูท้อง ลูกของหนูจะไม่ ปกติ เพราะกรรมของหนู หนูไม่อยาก ให้กรรมที่หนูท�ำต้องไปตกกับลูกของหนู และครอบครัวค่ะ หนูกราบขอค�ำแนะน�ำ ด้วยค่ะ ความจริ ง ความเป็ น ไปในชี วิ ต ของคนเราขึ้นอยู่กับกฎธรรมชาติ (ธรรม นิยาย) หลายกฎ แต่กฎที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตของเราโดยตรงมีอยู่สองกฎ นั่นก็คือ จิตนิยาม (กฎการท�ำงานของจิต) และ กรรมนิยาม (กฎแห่งกรรม) แต่ด้วยความ ที่ไม่รู้จักกฎธรรมชาติข้ออื่นๆ ว่ามีส่วน ก� ำ หนดวิ ถี ชี วิ ต ของเราด้ ว ยเหมื อ นกั น

ด้ ว ยความที่ ไ ม่ รู ้ จั ก กฎธรรมชาติ ข ้ อ อื่ น ๆ ว่ า มี ส ่ ว นก� ำ หนดวิ ถี ชี วิ ต ของ เราด้ ว ยเหมื อ นกั น เวลาเกิ ด มี ป ั ญ หาอะไรในชี วิ ต ขึ้ น มาเราจึ ง มั ก สรุ ป เอาอย่ า งง่ า ยๆ ว่ า เป็ น เพราะ “กฎแห่ ง กรรม” เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ทั้ ง ๆ ที่ ใ นความเป็ น จริ ง ความเป็ น ไปในวิ ถี ชี วิ ต ของคนเราอาจเป็ น ผลมาก จากกฎธรรมชาติ ข ้ อ อื่ น ๆ ด้ ว ยก็ ไ ด้ สองดวง ในทุกครั้งที่เข้าวัดท�ำบุญขณะ เดียวกัน หนูก็จะท�ำบุญท�ำทานให้เด็กๆ ในทุกวันเกิด แต่กระนั้นหนูก็ทราบดีว่า อาจจะยั ง ไม่ เ พี ย งพอ หนู เ คยลงไปเข้ า คอร์สนั่งสมาธิสามวันสองคืน ยอมรับค่ะ ว่าหนูไม่ถนัด หรือจะเรียกว่าไม่ชอบเลย ก็ได้ หนูเลยพยายามท�ำบุญด้วยวิธีอื่นๆ ให้ได้มากที่สุดค่ะ หนู อ ่ า น บทความเรื่ อ ง “พุ ท ธ ศาสนากับการุณยฆาต” ของท่าน ว. ใน secret หน้าปกคุณวอลเตอร์ ลี เลยท�ำให้ หนูอยากเรียนขอค�ำแนะน�ำที่จะท�ำให้หนู ได้ชดใช้กรรมที่หนูท�ำ หนูทราบค่ะว่าเป็น บาปมหันต์ แต่หนูขอแค่ให้ได้ชดใช้กรรม ผ่อนหนักเป็นเบา และดีขึ้นจากโรคภัยที่ หนูเป็น

เวลาเกิดมีปัญหาอะไรในชีวิตขึ้นมาเราจึง มักสรุปเอาอย่างง่ายๆ ว่าเป็นเพราะ “กฎ แห่งกรรม” เพียงอย่างเดียว ทั้งๆ ที่ใน ความเป็นจริง ความเป็นไปในวิถีชีวิตของ คนเราอาจเป็นผลมาจากกฎธรรมชาติข้อ อื่นๆ ด้วยก็ได้ ด้วยเหตุนี้ ก่อนที่จะวินิจฉัยกันว่า เรื่องของคุณเป็นผลของกฎแห่งกรรมหรือ เปล่า เราก็ควรจะมารู้จักกฎธรรมชาติข้อ อื่นๆ ด้วย กฎธรรมชาติ ที่ มี ผ ลต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ของคนเรามีอยู่ด้วยกัน ๕ กฎ เรียกว่า “นิยาม” ประกอบด้วย (๑) อุตุนิยาม คือ กฎธรรมชาติ ว่าด้วยสภาพแวดล้อมและสภาพดินฟ้า อากาศ ซึ่งมักส่งอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของ 19 issue 90 july 2015

คนเราในแง่ ใ ดแง่ ห นึ่ ง เช่ น คนอี ส าน มั ก มี นิ สั ย สู ้ ชี วิ ต มากกว่ า คนภาคเหนื อ เพราะอี ส านมี ค วามกั น ดาร ในขณะ ที่ ภ าคเหนื อ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง ทรั พ ยากรมากกว่ า หรื อ คนภาคใต้ มี ความคิ ด ทางการเมื อ งมากกว่ า คนทุ ก ภาค เพราะสภาพแวดล้อมที่ถูกกดขี่หรือ ถูกกระท�ำมีมากกว่าคนภาคอื่น หรือชาว ยุโรปมีนิสัยรักการอ่านมากกว่าคนเอเชีย เพราะยุโรปมีอากาศหนาวที่ยาวนานเขา จึ ง ขลุ ก อยู ่ ใ นบ้ า น และนั่ น เปิ ด โอกาส ให้ได้อ่านมาก เพราะมีเวลาอยู่ในที่ร่ม มากกว่าคนทางเอเชีย ตัวอย่างเหล่านี้คือ ผลของสิ่งแวดล้อม ที่มีส่วนเข้ามาก�ำหนด วิถีชีวิตของเราแต่ละคน (๒) พีชนิยาม คือ กฎธรรมชาติว่า ด้วยการสืบต่อพันธุกรรม คือโครงสร้าง ทางกายภาพที่เราได้รับมาจากพ่อแม่ เช่น ร่างกาย ผิวพรรณ หน้าตา เพศสภาพ (ชายหรื อ หญิ ง ) ระบบการท� ำ งานของ อวัยวะ รวมทั้งโรคบางโรคที่ติดต่อได้ทาง พันธุกรรม ซึ่งสามารถส่งผ่านจากพ่อหรือ แม่สู่ลูกเป็นต้น (๓) จิตนิยาม คือ กฎธรรมชาติว่า ด้วยการท�ำงานของจิต เช่น กระบวนการ คิด การจ�ำ การรับรู้ การตอบสนองต่อโลก และปรากฏการณ์ การเก็บกดปมปัญหา การตื่นรู้ เป็นต้น (๔) กรรมนิยาม คือ กฎธรรมชาติ ว่าด้วยการกระท�ำที่ประกอบด้วยเจตนา และผลของการกระท� ำ นั้ น ๆ ซึ่ ง เป็ น ไปในลั ก ษณะหว่ า นพื ช เช่ น ใดได้ ผ ล เช่นนั้น อ่านต่อฉบับหน้า


กว่า....จะคืนถิ่นเส้นทางสู่...มศว

เสี ย งกริ่ ง โรงเรี ย นมั ธ ยมดั ง ขึ้ น ในห้ อ งแนะแนวของโรงเรี ย นสตรี ศ รี น ่ า นคั บ คั่ ง ไปด้ ว ยนั ก เรี ย นชั้ น ม.6 ที่ ก� ำ ลั ง ผลั ด เปลี่ ย นกั น ดู เ อกสารเตรี ย มตั ว หาที่ เ รี ย นต่ อ “โครงการครู วิ ท ยาศาสตร์ กายภาพ-ชี ว ภาพ” เป็ น โครงการในสมเด็ จ กระเทพรั ต นราชสุ ด าฯสยามบรมราชกุ ม ารี ซึ่ ง ได้ เ ปิ ด รั บ สมั ค รนั ก เรี ย นที่ จ ะจบการ ศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ในปี ก ารศึ ก ษา 2545 และมี ภู มิ ล� ำ เนาอยู ่ ใ นจั ง หวั ด น่ า นเท่ า นั้ น ผู ้ ที่ ส อบได้ จะได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาตลอดการศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี เมื่ อ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจะได้ ก ลั บ มาเป็ น บั ณ ฑิ ต คื น ถิ่ น ของตนเอง การสอบแข่งขันรอบแรกผ่านพ้นไป ต้องสอบแข่งขัน กันในรอบที่ 2 คือวันสัมภาษณ์ประกอบกับ “เซอร์ไพรซ์” ที่ ทุกคนได้รับโดยไม่รู้ตัวมาก่อน ต้องสอบข้อเขียนอีก 1 รอบใน วันนี้ ดินสอ และยาลบได้ถูกตัดแบ่งเป็นหลายๆ ชิ้นเพื่อกระจาย ให้เพื่อนหน้าใหม่ๆ ที่ยังไม่รู้จักกันมาก่อน วันที่ 8 พฤษภาคม 2546 เสียงกลองดังกระหึ่ม “ตุ่มใส่น�้ำ ใส่น�้ำไว้เต็มตุ่ม...”

เสียงร้องท่าเต้นแปลกๆ จากรุ่นพี่แสดงให้เราดู พร้อม กับเพื่อนที่เคยเห็นหน้ากันมาบ้างแล้วจากสนามสอบที่จังหวัด น่านจ�ำนวน 26 คน และที่มาจากการสอบตรงอีก 18 คน ได้ มารวมตัวกัน ณ ที่ มศว.องครักษ์ วิชาเอกที่นิสิตใหม่ทั้ง 44 คนจะต้องเรียนนี้คือ วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป ซึ่งเปลี่ยนชื่อ มาจาก วิชาเอกวิทยาศาสตร์กายภาพ-ชีวภาพ ที่รุ่นพี่ชั้นปีที่ 2 เรียนกันอยู่ 20

IS AM ARE www.ariyaplus.com


question of life

หอพักนิสิตคับคั่งไปด้วยนิสิตใหม่ปีที่ 1 ทุกคณะที่เรียก กันว่า เฟรชชี่ ทุกเย็นหลังเลิกเรียนสะพานข้ามคลองและถนน จะชินตาไปด้วยเฟรชชี่ใส่กางเกงวอร์มขายาวพร้อมเสื้อของ แต่ละคณะ เดินเป็นแถวถือธงที่มีสัญลักษณ์แตกต่างกันไปตาม คณะ ทุกคนมุ่งหน้าไปที่ตึกประจ�ำของตนเอง เสียงกลองดัง เป็นจังหวะ เสียงร้องเพลงพร้อมท่าประกอบที่พอจะเคยเห็น มาบ้างแล้ว ห้องเรียนยังคงว่างเปล่าเพราะเคลื่อนย้ายโต๊ะ เก้าอี้ ออกไป กลายเป็นที่ซ้อมร้องเพลงประจ�ำมหาวิทยาลัย และ เพลงประจ�ำคณะ เสียงตะคอกที่ดังมาจากใคร... ไม่เคยได้เห็น หน้าเลย จะได้ยินจนแสบหูเมื่อเราท�ำผิดระเบียบและกติกา ทั้งหมดนี้ถูกเรียกว่ากิจกรรมรับน้องใหม่ หรือสอนน้องร้องเพลง เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อจะไปแข่งขันกีฬาเฟรชชี่ระหว่าง คณะต่างๆ กิจกรรมเหล่านี้ท�ำให้เรารู้จักกันได้อย่างรวดเร็วโดย ไม่ได้ตั้งตัว เพียงไม่กี่วันทุกคนก็เริ่มสนิทสนมกันทั้งกับรุ่นพี่ และ กับเพื่อนใหม่ การเรี ย นด� ำ เนิ น ต่ อ ไปเรื่ อ ยๆ พร้ อ มกั บ การท� ำ กิจกรรม ยิ่งเรียนชั้นปีที่ 1 ด้วยแล้วการปรับตัวจากนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา เข้าสู่นิสิตในมหาวิทยาลัยได้ก่อเกิดปัญหาเรื่อง การเรียนขึ้นเพราะแบ่งเวลาไม่เหมาะสม แต่ปัญหามีทางออก เมื่อผู้ที่ชี้ทางและให้ค�ำปรึกษาที่ดีที่สุดคือ รุ่นพี่ อาจารย์ และ เพื่อนๆ ที่ต้องคอยช่วยเกลือและดูแลกัน การเรียนรู้ในชั้นเรียนบวกกับการเรียนรู้ที่ได้จากการท�ำ กิจกรรมต่างๆ ตั้งแต่ช้ันปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 อาทิเช่น การศึกษาดู งานนอกสถานที่ จัดค่าย การได้เป็นผู้จัดกิจกรรมและผู้เข้าร่วม กิจกรรมในมหาวิทยาลัย เป็นต้น ท�ำให้ได้มีโอกาสท�ำงานร่วมกับ คนอื่นมากหน้าหลายตา หลากหลายวิสัยทัศน์ ปัญหาก็มีส่วน เกี่ยวข้อง เหล่านี้ก็ได้กลายเป็นก�ำไรชีวิต ท�ำให้ชีวิตแข็งแกร่ง เปรียบเหมือนกับเหล็กกล้าที่ได้ผ่านความร้อนมามากฉันใด ก็ ยิ่งแข็งแกร่งมากฉันนั้น เมื่อส�ำเร็จการศึกษาได้ 8 เดือน สัญญาใจที่เคยได้ให้ไว้ ตลอดช่วงระยะเวลาของการศึกษาเล่าเรียนในระดับปริญญาตรี นี้ก็บังเกิด ด้วยพระเมตตาของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทำ� ให้บัณฑิต ในโครงการครูวิทยาศาสตร์คืน ถิ่นจ�ำนวน 22 คนได้หวนกลับคืนสู่ถิ่นของตนตามที่ฝันไว้ ครูวิทยาศาสตร์ทั้ง 22 คนได้รับค�ำสั่งจาก สพฐ. ให้ บรรจุ เ ป็ น ข้ า ราชการครู ต ามโรงเรี ย นต่ า งๆ ทั่ ว จั ง หวั ด น่ า น

ความก้าวหน้าทางวิทยาการของแต่ละโรงเรียนก็แตกต่างกัน ไปตามสภาพหรือที่ตั้งของโรงเรียนที่ตั้งอยู่บนดอยและพื้นราบ บทเรียนชีวิตที่ได้มาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒตลอด ช่วง 4 ปีที่ผ่านมา ได้แต่งแต้มเป็นประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับ เด็กนักเรียนในโรงเรียนศรัทธาศิลาเพชรรังสรรค์ รสชาติ ข องชี วิ ต ได้ เข้ ม ข้ น ขึ้ น เมื่ อ บั ณ ฑิ ต จากวิ ช าเอก วิ ท ยาศาสตร์ ทั่ ว ไปได้ เข้ า มาเป็ น ครู ส อนคณิ ต ศาสตร์ ป ระจ� ำ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-3 และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 วิ ช า ที่เคยไม่ชอบเป็นที่สุดตอนเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย จุดเปลี่ยน จากครูวิทยาศาสตร์มาเป็นครูคณิตศาสตร์ เส้นทางใหม่ที่น่า กั ง วลใจ แววตาของนั ก เรี ย นที่ ไ ม่ ป ระสี ป ระสาตื่ น เต้ น กั บ ครู คณิตศาสตร์ คนใหม่ โรงเรียนในต่างจังหวัดส่วนใหญ่มักจะเจอ กับสถานการณ์แบบนี้ เพราะมีโอกาสน้อยมากที่จะเลือกครูให้ ตรงกับวิชาเอก งบประมาณของโรงเรียนก็มีจ�ำกัดไม่สามารถ จ้างครูที่ตรงกับสาขาวิชาที่ขาดแคลนได้ ต้องรอจังหวะที่ต้น สังกัดส่งครูมาให้ ความหวังของคนเป็นครูคือ ให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง และเป็นคนดี ฝั่งฝันคือประสบความส�ำเร็จใน ชีวิต ในเมื่อเด็กนักเรียนต้องการบุคลากรทางด้านคณิตศาสตร์ ครูต้องพร้อมเสมอที่จะหยิบยื่นสิ่งที่ขาดหายไปนั้นให้ เพราะ โดยธรรมชาติของครูก็ต้องศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ เพิ่มเติม ตลอดเวลา ความท้อแท้ย่อมเกิดขึ้นเมื่อเราไม่ได้ในสิ่งที่เราคาดหวัง ก่อให้เกิดความเหน็ดเหนื่อย แต่ก็มีแรงบันดาลใจในการท�ำงาน คื อ เห็ น ตั ว อย่ า งจากการท� ำ งานของสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ท�ำงานหนักเพื่อให้ พสกนิกรได้มีความสุข ท�ำให้ก่อเกิดความหวัง ก�ำลังใจต่อสู้กับ ปัญหา ลูกจักตอบแทนในเมตตาของพระองค์ท่าน เรียนรู้ที่จะ ใช้ชีวิตอยู่อย่างอดทน เข้มแข็ง และเอื้ออารีย์ต่อผู้อื่น ก่อนจะ ดับและสลายไปอย่างมีคุณค่า ยังมีผ้าขาวอีกเป็นจ�ำนวนมากที่รอคอยประสบการณ์ จากคนรุ่นใหม่ มาแต่งแต้มสีสันสดใส ให้เป็นลวดลายสวยงาม ของสังคม แล้วจะรู้ว่าความสุขในชีวิตนั้นหาได้ไม่ยาก.... นางสาวรั ช นี สลี อ ่ อ น บั ณ ฑิ ต คื น ถิ่ น ครู วิ ท ยาศาสตร์ คื น ถิ่ น จั ง หวั ด น่ า น 21

issue 90 july 2015


มาท�ำความรู้จักอาการวัยทองกันเถอะ ชายวั ย ทอง คือชายที่มีอัณฑะเสื่อมหน้าที่อย่างค่อยเป็นค่อยไป เริ่ม ตั้งแต่อายุประมาณ 40 ปีเป็นต้นไป ท�ำให้ระดับฮอร์โมนแอน โดรเจนในกระแสเลือดค่อยๆ ลดลงทีละน้อย อาการจึงไม่ค่อย รุนแรง

หญิ ง วั ย ทอง หญิงวัยทองหรือวัยหมดระดู คือหญิงที่มีอายุระหว่าง 45-59 ปี ที่สิ้นสุดของการมีระดูอย่างถาวรเนื่องจากรังไข่หยุด ท�ำงาน การหมดระดูจะค่อยเป็นค่อยไป คือระดูมาไม่ปกติ มาเร็ว ก่อนก�ำหนดแล้วค่อยห่างออกไป อาจหายไประยะหนึ่ง แล้วกลับ มาใหม่อีก บางรายอาจนานถึง 1 ปี จนกระทั่งระดูหายติดต่อกัน นานถึง 12 เดือน ถือว่าหมดระดูอย่างถาวร

22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


good life

อาการที่ พ บบ่ อ ยในหญิ ง วั ย ทอง เกิ ด จากภาวะขาดฮอร์ โ มนเอส โตรเจน จ�ำแนกได้ดังนี้ • ร้อนวูบวาบตามตัวและใบหน้า เหงื่อออกตอนกลางคืน ใจสั่น นอนไม่ หลับ หงุดหงิด โกรธง่าย หลงลืม ผิวหนัง แห้งคัน ผมแห้งร่วงง่าย • ปั ส สาวะบ่ อ ย แสบ กลั้ น ปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเล็ดเวลาไอ จาม เยื่อบุช่องคลอดบาง และแห้งท�ำให้เจ็บ เวลาร่วมเพศ • บางรายอาจเกิดภาวะกระดูก บาง ซึ่งท�ำให้กระดูกหักง่าย อาการที่ พ บในชายวั ย ทอง • เกิ ด อาการร้ อ นวู บ วาบตาม ร่างกาย แต่รุนแรงน้อยกว่าหญิง • โกรธ หงุ ด หงิ ด ง่ า ย หลงลื ม ไม่มีสมาธิ ความจ�ำเสื่อม นอนไม่หลับ อ่ อ นเพลี ย ความต้ อ งการทางเพศลด ลง

กับระยะเวลาที่เริ่มให้และการบริหารยา แต่มีบางการศึกษาพบว่าอาจท�ำให้เกิด โรคเส้นเลือดสมองตีบตัน จะใช้ ฮ อร์ โ มนในรายใดบ้ า ง 1. ในรายที่ ห มดระดู ที่ มี ค วาม เสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกพรุน โดยที่ รักษาวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล 2. หญิงที่มีความผิดปกติของการ ขับถ่ายปัสสาวะและช่องคลอด แม้ว่าจะ มีการฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน หรือใช้ สารหล่อลื่น 3. อาการลมเพลมพั ด (Hot flush) ที่ ใ ช้ ย าลดความกั ง วล และ ยาคลายเครียดแล้ว

ข ้ อ ห ้ า ม ที่ ต ้ อ ง ร ะ วั ง ใ น ก า ร ใ ช ้ ฮอร์ โ มน ใ น ร า ย ที่ มี เ ลื อ ด อ อ ก ท า ง ช่ อ งคลอด โดยไม่ ท ราบสาเหตุ แ น่ ชั ด โรคตับ โรคลิ่มเลือดอุดตัน มะเร็งเยื่อบุ โพรงมดลูก มะเร็งเต้านม แพทย์ จ ะพิ จ ารณาการให้ ฮ อร์ โ มน จากอะไร 1. โอกาสเสี่ ย งของการเกิดโรค หลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 2. ความพร้ อ มในการตรวจ ติ ด ตาม เช่ น การตรวจคั ด กรองมะเร็ง เต้านม การตรวจภายใน และประเมิน ความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด

ผั ก ซึ่ ง มี วิ ต ามิ น และใยอาหารจะช่ ว ยในการขั บ ถ่ า ย ควรกิ น ผั ก หลายๆ ชนิ ด เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ คุ ณ ค่ า ของสารอาหารที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น บ� ำ รุ ง กระดู ก และฟั น ใบยอ ใบชะพลู ยอดแค ลดความดั น โลหิ ต ได้ แ ก่ กระเที ย ม คึ่ น ฉ่ า ย ลดน�้ ำ ตาลในเลื อ ด ได้ แ ก่ มะระขี้ น ก กระเที ย ม ใบชะพลู

ฮอร์ โ มนนั้ น ส� ำ คั ญ อย่ า งไร เนื่ อ งจากผู ้ ห ญิ ง เมื่ อ ถึ ง วั ย หมด ระดู จะท� ำ ให้ ฮ อร์ โ มนเอสโตรเจนลด ลงอย่ า งรวดเร็ ว ท� ำ ให้ เ กิ ด ภาวะการ เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ รวมถึง ภาวะกระดูกพรุน ดังนั้นการให้ฮอร์โมน จึงเป็นประโยชน์เพื่อการป้องกัน รักษา ภาวะกระดู ก พรุ น และอาการลมเพลม พัด (Hot flush) ที่ใช้การรักษาด้วยวิธี อื่นแล้วไม่ได้ผล ปั จ จุ บั น การใช้ ฮ อร์ โ มนอาจ ช่วยป้องกันภาวะไขมันในเลือดสูง และ ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ขึ้นอยู่ 23 issue 90 JuLY 2015


4. ปลา ซึ่งมีโปรตีนที่ย่อยง่าย และมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ถ้าเป็นปลาทะเลจะมีโอเมก้า 3 ซึ่งช่วยลดไตรกลีเซอร์ไรด์ใน เลือด ส่วนเนื้อสัตว์ชนิดอื่นให้เลือกที่ไม่ติดมัน 5. ผัก ซึ่งมีวิตามิน แร่ธาตุและใยอาหารจะช่วยในการขับ ถ่าย ท�ำให้ท้องไม่ผูก ควรกินผักหลายๆ ชนิดเพื่อให้ได้รับคุณค่า ของสารอาหารที่แตกต่างกัน เช่น ผักที่ช่วยบ�ำรุงกระดูกและ ฟัน ซึ่งมีแคลเซียมสูงได้แก่ ใบยอ ใบชะพลู ยอดแค ผักกระเฉด ต�ำลึง มะขามอ่อน ผักที่ช่วยลดความดันโลหิต ได้แก่กระเทียม คึ่นไฉ่ ใบบัวบก กระเจี๊ยบ ผักที่ช่วยลดน�้ำตาลในเลือด ได้แก่ มะระขี้นก กระเทียม ใบชะพลู 6. ใช้น�้ำมันพืชที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น น�้ำมันมะกอก น�้ำมันร�ำข้าว น�้ำมันเมล็ดดอกทานตะวัน จะช่วยป้องกันการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด

3. ความต้องการของผู้ป่วย เมื่อทราบข้อมูลของผลดี และผลเสียของการใช้ฮอร์โมน *การให้ฮอร์โมนมีทั้งคุณและโทษ ผู้ป่วยไม่ควรซื้อยากิน เอง ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา ควรกิ น อย่ า งไรในวั ย ทอง อาหารที่วัยทองควรเลือกรับประทาน ได้แก่ 1. ข้าวฟ่าง ข้าวไม่ขัดสี ถั่วเขียว งาด�ำ ฟักทอง แคร์รอต ข้าวโพด ถั่วเหลืองซึ่งให้พลังงาน วิตามิน แร่ธาตุ ใยอาหาร และมี สารไพโตรเอสโตรเจน ซึ่งช่วยลดอาการลมเพลมพัด (Hot flush) 2. นมสด ปลาเล็กปลาน้อย ปลาซาร์ดีน กุ้งแห้งซึ่งมี แคลเซียมและฟอสฟอรัส 3. ผลไม้ ห ลายชนิ ด สลั บ กั น เพราะมี วิ ต ามิ น ซี และ วิ ต ามิ น ดี ซึ่ ง ช่ ว ยในการดู ด ซึ ม และการลดการสลายตั ว ของ แคลเซี ย มจากกระดู ก ช่ ว ยลดภาวะกระดู ก พรุ น แต่ ค วรงด ผลไม้ที่มีรสหวานจัด เช่น ทุเรียน ล�ำไย ขนุน 24

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ศิลปหัตถกรรมและการกีฬา ตลอดจนวิชาต่างๆ เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ทุกคนจะ ต้องสนใจศึกษา เพื่อประโยชน์ เพื่อความผาสุกในชีวิต พระราชด�ำรัส ในพิธีเปิดงานกรีฑา ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๓๕ และงานแข่งขันฝีมือช่างแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ ประจ�ำปี ๒๕๑๕ ณ สนามกีฬาแห่งชาติ วันศุกร์ที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๑๕

25 issue 90 JuLY 2015


26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


cartoon

27 issue 90 JuLY 2015


28 IS AM ARE www.ariyaplus.com


29 issue 90 JuLY 2015


cover story

เรื่องโดย กรวิก อุนะพ�ำนัก

ตีโจทย์เศรษฐกิจพอเพียงให้แตก ่ น เพื่อการพัฒนาชี วิตที่ยังยื โดย ดร.ศักดิ์พงศ์ หอมหวล 30 IS AM ARE www.ariyaplus.com


31 issue 90 JuLY 2015


“วั น นี้ เ ราด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ ด ้ ว ยชุ ด ความรู ้ ใ ด?” ดร.ศักดิ์พงศ์ หอมหวล อาจารย์ หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขา น วั ต ก ร ร ม เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท ้ อ ง ถิ่ น มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ มหาสารคาม ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา เปิ ด บทสนทนาด้ ว ย ค�ำถามที่ตัวผู้เขียนเองไม่เคยรู้หรือได้ยิน มาก่อน,ผู้เขียนตั้งใจมาขอความรู้ถึงแก่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การพัฒนา ไหนเลยท่านอาจารย์จึงถาม ถึ ง ชุ ด ความรู ้ เ สี ย อย่างนั้น รอยยิ้ม และ แววตามุ่งมั่นยังคงประกายค�ำถามออก มาไม่หยุดหย่อน ดร.ศั ก ดิ์ พ งศ์ เป็ น อาจารย์ ผู ้ ป ระสิ ท ธิ์ ป ระสาทวิช าให้แ ก่นัก ศึก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาเอก ในสาขานวั ต กรรม เพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ภายใต้ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ผู้ปลดปล่อยนักศึกษาที่เคยใส่สูทผูกไทด์ มาเรียนในอาทิตย์แรก ก่อนจะหันหลังให้ เปลือกงามๆ เหล่านั้นตลอดไปเมื่อเรียน จบด๊อกเตอร์ ท่านอธิบายว่า หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมีคุณค่า มีพลังต่อการ ออกแบบการด�ำเนินชีวิตของผู้คน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการน�ำมาใช้ด�ำเนินชีวิต และมัน สามารถเชื่อมโยงกับการพัฒนาท้องถิ่นให้ ยั่งยืนได้ “หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น ตั ว ชี้ น� ำ ให้ ค นได้ ฉุ ก คิ ด เวลาคนเอาเรื่ อ งนี้ ไ ปออกแบบ อย่ า ลื ม ว่ า จริ ง ๆ แล้ ว แบบชี วิ ต ของพวกเรา มั น เคลื่ อ นไปด้ ว ยชุ ด ความรู ้ ถ้ า เราจะ ออกแบบชีวิตเราต้องเริ่มถามว่า ‘วันนี้ เราด�ำรงชีวิตอยู่ด้วยชุดความรู้ชุดใด’ นี่ คือสิ่งส�ำคัญ ฉะนั้นเงื่อนไขหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมี 2 เงื่อนไข คือ ความรู้บวกคุณธรรม ตัวนี้เป็นตัวที่น�ำพา ให้ ค นออกแบบชี วิ ต ได้ ถ้ า เราไม่ ต อบ

ค�ำถามตัวเองว่าเราอยู่ด้วยชุดความรู้ใด มันก็ไปเรื่อยเปื่อย ค�ำว่า ‘หลัก’ ก็คือชุด ความรู้” ชุ ด ความรู ้ ที่ ว ่ า นี้ ก็ คื อ ความรู ้ เฉพาะถิ่ น ซึ่ ง แต่ ล ะที่ แ ต่ ล ะภู มิ ภ าคมี ไม่เหมือนกัน ชุดความรู้ของคนไทยจะ มี คุ ณ ธรรมก� ำ กั บ อยู ่ ใ นรู ป ของค� ำ บอก สอน ค� ำ พั ง เพย ข้ อ ห้ า ม หรื อ แม้ แ ต่ จารีต ประเพณีและวัฒนธรรม อาจารย์ ชี้ว่าคุณธรรมที่บวกเข้ากับความรู้จะเป็น ตั ว น� ำ ให้ ผู ้ ค นใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี แ บบแผน คื อ มี เ หตุ ผ ล มี พ อประมาณ และมี ภูมิคุ้มกัน

“ความรู ้ ถ ้ า มั น ไม่ ถู ก บวกด้ ว ย คุ ณ ธรรมมั น ไม่ เ กิ ด เป็ น ปั ญ ญา หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เวลา เราพู ด เราก็ มุ ่ ง ว่ า ท� ำ ไงจะมี เ หตุ ผ ล ท� ำ ไงจะพอประมาณ ท� ำ ไงจะมี ภู มิ คุ ้ ม กั น กลายเป็นว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพี ย งไปสร้ า งตั ว นั้ น ซึ่ ง มั น เป็ น ตั ว ปลายน�้ ำ แล้ ว ตั ว ต้ น ทางคื อ เราเอาชุ ด ความรู ้ อ ะไรใส่ ล งไปในคน คนถึ ง จะ กลายเป็นคนมีเหตุผล นี่คือการพัฒนา ที่ ป ระเทศไทยเขี ย นไว้ ใ นแผนพั ฒ นา ประเทศและความก้าวหน้าโดยใช้คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา”

ความรู ้ ถ ้ า มั น ไม่ ถู ก บวกด้ ว ยคุ ณ ธรรมมั น ไม่ เ กิ ด เป็ น ปั ญ ญา หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เวลาเราพู ด เราก็ มุ ่ ง ว่ า ท� ำ ไงจะมี เ หตุ ผ ล ท� ำ ไงจะพอประมาณ ท� ำ ไงจะมี ภู มิ คุ ้ ม กั น กลายเป็ น ว่ า หลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปสร้ า งตั ว นั้ น ซึ่ ง มั น เป็ น ตั ว ปลายน�้ ำ แล้ ว

32 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ของชีวิตผู้คน 4 ประการ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค สรุปความว่าการเรียนรู้หรือท�ำความรู้จักกับ ธรรมชาติรอบตัวเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งส�ำคัญ 4 ประการนี้ 3.ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ซึ่ง อธิบายภาพความสัมพันธ์ผ่านระบบความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม สรุปความส�ำคัญเหนือธรรมชาติไม่มีตัวตน ไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้ แต่มีผลทางจิตใจ “3 ตั ว นี้ ร วมกั น ผมเรี ย กว่ า ‘ท้ อ งถิ่ น ’ การพั ฒ นา “ ก า ร พั ฒ น า ท ้ อ ง ถิ่ น ภ า ย ใ ต ้ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จะสามารถพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ให้ ท้ อ งถิ่ น คื อ การพั ฒ นาระบบความสั มพั น ธ์ ข อง 3 สิ่งนี้ให้มัน แนบแน่นและไปด้วยกัน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึง ยั่ ง ยื น ได้ จ ริ ง หรื อ ?” “ค� ำ ว่ า นวั ต กรรมเพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น หรื อ ค� ำ ว่ า บอกว่า เงื่อนไขการพัฒนาจะต้องตั้งอยู่บนเงื่อนไขของความ ท้องถิ่น เรามี 2 มิติ คือมิติของทางราชการ คือการปกครอง รู้และคุณธรรมบวกกัน เป็นพลังพาทุกคนเคลื่อนไปได้อย่างมี ส่วนท้องถิ่น นั่นคือเรื่องของโครงสร้าง แต่อีกมิติคือมิติของ คุณภาพ คือมีเหตุผล มีความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน หลัก การพั ฒ นา ผมนิ ย ามว่ า ท้ อ งถิ่ น มั น เป็ น ระบบความสั ม พั น ธ์ ปรัชญาฯ กับการพัฒนาท้องถิ่นจึงเชื่อมโยงกันด้วยสาระเท่านี้ เ ค ย ไ ด ้ ยิ น ไ ห ม เ ร า ลู ก ลุ ่ ม น�้ ำ เ จ ้ า พ ร ะ ย า การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น มั น จึ ง เป็ น การพั ฒ นาระบบความสั ม พั น ธ์ ลูกตะนาวศรี ลูกที่ราบสูง ฯลฯ นั่นแหละคือการเชื่อมโยงและ ระหว่างคนกับสิ่งรอบตัว” ความสัมพันธ์ที่ว่านี้มีอยู่ 3 ระดับ คือ 1.ความสัมพันธ์ ผูกมัด แล้วก็แสดงความเป็นท้องถิ่นของแต่ละคน เขาถึงมีเจ้า ระหว่างคนกับคน ซึ่งอธิบายภาพความสัมพันธ์ผ่านความเป็น ถิ่นไง การพัฒนาท้องถิ่นมันต้องพัฒนาความสัมพันธ์ 3 สิ่งนี้ไป พร้อมกัน ท�ำไมคนถึงท�ำให้น�้ำเน่า ท�ำไมคนสร้างขยะ ท�ำไมคน บุคคล ความเป็นครอบครัว และความเป็นชุมชน 2.ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งที่เป็นธรรมชาติ ซึ่ง ท�ำลายป่า เพราะเขาตั้งค�ำถามและใช้ชีวิตไม่ถูกว่าเขากับป่านั้น อธิ บ ายภาพความสั ม พั น ธ์ ผ ่ า นปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ การด� ำ รงอยู ่ สัมพันธ์กันอย่างไร” ค�ำว่า “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” กล่าวคือ ความรู ้ ที่ ใ ส่ ล งไปในคน เพื่ อ ให้ เขาพั ฒ นาตนเองต่ อ ไป หลั ก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความหมายว่า ความรู้หรือ ชุดความรู้ใดก็ตามที่ใส่คุณธรรมก�ำกับลงไป ซึ่งจะเป็นพลังให้ คนๆ นั้นเกิดการพัฒนาน�ำไปสู่การเป็นคนที่มีเหตุผล มีความ พอประมาณ และมีภูมิคุ้มกันในที่สุด

33 issue 90 JuLY 2015


34 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“งานพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ที่ ผ ่ า นมา ปั ญ หาที่ แ ก้ ไ ด้ ย ากที่ สุ ด คื อ อะไร?” “ คื อ วิ ธี คิ ด วิ ธี ตั้ ง ค� ำ ถ า ม จริงๆ แล้วชีวิตพวกเราเคลื่อนตัวไปผ่าน การตั้ ง ค� ำ ถาม ทุ ก วิ น าที เราตั้ ง ค� ำ ถาม ให้ ตั ว เองตลอด เมื่ อ ตั้ ง ค� ำ ถามแล้ ว เรา ต้องหาค�ำตอบ เมื่อได้ค�ำตอบแล้วเราถึง จะเอาค�ำตอบที่ได้ไปตั้งค�ำถามใหม่ มัน จะหมุนไปเรื่อย” ดร.ศั ก ดิ์ พ งศ์ อ ธิ บ ายว่ า ความ ยากของการพัฒนาท้องถิ่นคือมิติในการ พัฒนา 2 แบบ ได้แก่ การกระท�ำโดย ภาครัฐ ซึ่งประชาชนรับทราบกันอยู่แล้ว อี ก มิ ติ ห นึ่ ง คื อ การพั ฒ นาที่ ใช้ ท ้ อ งถิ่ น เป็นตัวตั้ง หมายความว่าทุกท้องถิ่นมีชุด ความรู้เฉพาะที่ ควรใช้ชุดความรู้เฉพาะ ถิ่ น นี้ เ ป็ น ตั ว ตั้ ง เพราะมี คุ ณ ธรรมก� ำ กั บ มาแต่เดิมอยู่แล้ว ตรงนี้คือความยากซึ่ง อาจารย์มองว่าหลายคนยังเข้าไม่ถึง “ถ้าอยากให้คนมีสุขภาพดี แล้ว คุณไปพาคนบ้านนอกเต้นแอโรบิก เล่น ฮูลาฮูบ จริงๆ ชุดความรู้ในท้องถิ่นเพื่อ การออกก�ำลังกายให้มีสุขภาพดี โบราณ ก็ เ ก็ บ ผั ก ผ่ า ฟื น หาบน�้ ำ ท� ำ งานสวน งานบ้าน อันนั้นคือของจริงแต่เราไม่ใช้ นี่คือสิ่งที่ยาก มันแกะไม่ออกเลย ถ้ า หน่ ว ยงานรั ฐ ไม่ ม าก็ ท� ำ อะไร ไม่เป็น สุดท้ายเงินอย่างเดียว บ้านละ เท่านั้นเท่านี้ ติดหนี้กันหัวโต ยกตัวอย่าง การปลูกป่าหนึ่งหมื่นต้น วันปลูกมากัน ทุกหัวระแหงเลย ท�ำข่าวใหญ่โต ถามว่า พรุ ่ ง นี้ เ ป็ น ต้ น ไปมี ใ ครคิ ด ถึ ง ต้ น ไม้ ห มื่ น ต้นนั้นบ้าง สุดท้ายเหมือนเดิม ในหลวง จึ ง บอกว่ าง่ายที่สุด อย่าไปท�ำอะไรมัน ปล่อยมันไปเดี๋ยวมันเป็นเอง ป่าอันที่สอง ปลูกป่าในใจคน นั่นแหละมันยากตรงนี้ วิ ท ยานิ พ นธ์ ใ นสาขาผม มั น จึ ง เป็นที่สนใจของคนหลายๆ คน เราท�ำจริง

แล้วกล้าที่จะสู้กับสิ่งเหล่านี้ การพัฒนา คนบางแห่งบางที่ ผู้น�ำในการพัฒนาทั้ง หลายโดยเฉพาะในระดับชุมชนถูกเรียก ว่าเป็นคนดีของสังคม แต่เป็นคนเลวมาก ของครอบครั ว เพราะออกนอกบ้ า นก็ พัฒนา กลับมาบ้านหมดแรงแล้ว บ้านไม่ ท�ำอะไรเลย เช่น ในมิติของสุขภาพ คนที่ เป็นต้นแบบเรื่องสุขภาพของแต่ละชุมชน ตื่นเช้ามาออกไปท�ำงานชุมชนกันหมด แต่ บ้านของคนต้นแบบแทบไม่มีที่เดิน สามี ภรรยาแทบจะไม่ คุ ย กั น ลู ก ไปอี ก แบบ หนึ่ง ห้องครัวของคนต้นแบบยิ่งกว่าห้อง เก็บของ ผมท�ำแล้วมันไม่มีประโยชน์ใน การพัฒนาแบบนั้น ผมจึงเปิดประเด็นไว้แต่ต้นๆ ว่า เป็นความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนแล้ว เชื่อมไปถึงครอบครัว แล้วถึงไปสู่ชุมชน มี รัฐบาลชุดหนึ่งบอกว่า ‘ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง’ แต่เราไม่ท�ำเลย มันถึง แหลกถึงทุกวันนี้ ตัวพ่อบ้านเป็นถึงผู้น�ำ ถ้ า อยากให้ ค นมี สุ ข ภาพดี แล้ ว คุ ณ ไปพาคนบ้ า นนอกเต้ น แอโรบิ ก เล่ น ฮู ล าฮู บ จริ ง ๆ ชุ ด ความรู ้ ใ นท้ อ งถิ่ น เพื่ อ การออกก� ำ ลั ง กายให้ มี สุ ข ภาพดี โบราณก็ เ ก็ บ ผั ก ผ่ า ฟื น หาบน�้ ำ ท� ำ งานสวน งานบ้ า น อั น นั้ น คื อ ของจริ ง แต่ เ ราไม่ ใ ช้ นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ย าก มั น แกะไม่ อ อกเลย ระดั บ ท้ อ งถิ่ น ไปไหนคนเคารพนั บ ถื อ แต่ลูกติดยา ลูกเป็นนักเลงเกเรประจ�ำ ถิ่น ท�ำไมล่ะ ก็เพราะอย่างนี้แหละ เป็น คนดี ข องสั ง คมแต่ เ ป็ น คนเลวมากของ ครอบครั ว คนที่ เ ป็ น คนดี ข องสั ง คมมั น ต้องเริ่มจากตัวเอง แล้วน�ำไปสู่ครอบครัว แล้วค่อยน�ำออกสู่สังคม หลักศาสนาของทุกศาสนาท่าน สอนไว้ จะไปพั ฒ นาใครให้ เ ริ่ ม ที่ ตั ว เอง เวลาไปวั ด ขอพร ขอให้ ข ้ า พเจ้ า มี ความสุขนะ ขอให้ตัวเอง เพราะถ้าเรามี ความสุข คนที่มีความสุขก็เชื่อมโยงไปถึง คนอื่น ถ้าวันนี้ผมกับคุณหงุดหงิด ไอ้พวก 35 issue 90 JuLY 2015


ท�ำให้เกิดเศรษฐกิจในปัจจุบัน เป็นเศรษฐกิจที่ใช้เงินเป็นตัวตั้ง แต่เศรษฐกิจพอเพียงพยายามที่จะอธิบายสิ่งที่ผมว่ามันคนละ มิติกัน เพราะเศรษฐกิจที่มีเงินเป็นตัวตั้ง เวลาพัฒนาเศรษฐกิจ หรื อ แก้ ป ั ญ หาเศรษฐกิ จ ก็ คื อ การอั ด เม็ ด เงิ น เข้ า ไปให้ เ งิ น มั น หมุนเวียน แต่ มิ ติ ข องหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งจะอธิ บ ายต่ า งกั น กฎกติ ก าทางสั ง คมทั้ ง หลายเมื่ อ ก่ อ นเราใช้ ข นบธรรมเนี ย ม วั ฒ นธรรมเป็ น ตั ว สร้ า งให้ ค นได้ ยึ ด ถื อ อยู ่ มาวั น หนึ่ ง สิ่ ง พวก

อยู่เคาน์เตอร์อาจจะโดนอะไรหลายอย่างแล้วนะ(ชี้ไปที่ทีมงาน) ถ้าเรามีความสุขพวกนั้นเขาก็มีความสุขในแบบของเขา มันเชื่อม กันโดยอัตโนมัติ ตัวนี้แหละคือตัวที่มันยาก มันถึงเกิดปัญหาว่า ครูท�ำไมปล่อยให้เด็กอ่านหนังสือไม่ออก ท�ำไมปล่อยให้เด็กคิด เลขไม่เป็น อันเดียวกัน เพราะว่าเขาแบกรับอะไรหลายอย่าง พอมาถึงมิติการพัฒนามันล้าแล้ว” “ดู เ หมื อ นวาทะกรรมที่ ว ่ า สั ง คม เศรษฐกิ จ การเมื อ ง จะสร้ า งความยากในการเข้ า ถึ ง ของคนส่ ว นใหญ่ ใน มุ ม มองของการพั ฒ นาภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาของ เศารษฐกิ จ พอเพี ย งอาจารย์ จ ะอธิ บ ายอย่ า งไร?” “ค�ำว่าสังคมที่เกิดขึ้นมามันก็คือความสัมพันธ์ระหว่าง คนกับคน ปัญหาสังคมคือปัญหาความสัมพันธ์ที่ไม่ดีระหว่าง คนกับคน พัฒนาสังคมก็พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ คน ก็เท่านี้ เศรษฐกิจคือเสื้อผ้า อาหาร บ้านและยา เมื่อก่อนแลก เปลี่ยนกันได้ แบ่งปันกันได้ ไปหาเก็บผัก ผ่าฟืนได้ วันหนึ่ง คนเริ่ ม หาแบบนั้ น เหมื อ นกั น เยอะๆ มี พื้ น ที่ ก ารแลกเปลี่ ย น ปัจจุบันเราเรียกกันว่าตลาด ในตลาดนอกจากมีปัจจัยสี่แล้ว สิ่งที่ท�ำให้เกิดเป็นตลาดคือค�ำว่าเงิน เมื่อเงินบวกปัจจัยสี่มัน 36

IS AM ARE www.ariyaplus.com


นั้นเอาไม่อยู่ เกิดสิ่งที่เรียกว่ากฎหมาย การออกกฎหมายก็ เ อาตั ว แทนไป ออก ตั ว แทนเหล่ า นั้ น ก็ คื อ ระบบที่ มนุ ษ ย์ ป ระดิ ษ ฐ์ ขึ้ น มา ที่ เรี ย กว่ า การ เมือง ฉะนั้นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกับกระแสสองกระแส เวลาเรา เทียบกัน ผมอยากให้เทียบอย่างนี้ จะเห็น ภาพชัด เศรษฐกิจพอเพียงสามารถน�ำมา แก้ปัญหาความสัมพันธ์ท้ังสามได้(สังคม เศรษฐกิจ การเมือง)

“การน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ หลาย คนคิ ด ว่ า มั น คื อ การหวนกลั บ ไป ท� ำ เกษตร ตรงนี้ อ าจารย์ ม อง ยั ง ไง?” “คื อ การน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาฯ มาใช้ ใ นชี วิ ต มั น ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเป็ น ภาค เกษตร เพราะว่าสาระใหญ่ของปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งคื อ การใช้ ค วาม รู ้ บ วกคุ ณ ธรรม แล้ ว ไปขั บ เคลื่ อ น

หลั ก ปรั ช ญาฯ จึ ง บอกว่ า ให้ มั น พอมี พออยู ่ และก็ พ อกิ น นี่ คื อ แนวคิ ด ที่ ผ มใช้ ม าตลอด ผมก็ เ รี ย นรู ้ คุ ย กั บ ท่ า นดร.สุ เ มธ คุ ย กั บ ผู ้ ใ หญ่ หลายท่ า น สรุ ป ผมจึ ง กล้ า นิ ย ามว่ า ความจนคื อ ไม่ พ ออยู ่ ไม่ พ อกิ น มั น จะรวยก็ ร วยแบบมี พ ออยู ่ พ อกิ น มั น ก็ ร วย ถ้ า มั น เยอะก็ ข าย ไม่ ขายก็ แ บ่ ง กั น ไป พวกคุณบอกว่าเราเป็นคนรุ่นใหม่ คนรุ ่ น 50-60 โบราณ แสดงว่ า ความ สั ม พั น ธ์ กั บ สิ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ เ ริ่ ม ไม่ สอดคล้องกันแล้ว กฎกติกาเดิมๆ ที่ท�ำให้ คนอยู่ร่วมกันด้วยความสุขมันเอาไม่อยู่ พอเอากฎหมายมาใส่มันแข็ง ถ้าท�ำผิด กฎหมายก็คือจับ แต่ถ้าเดิมใครก็ตามท�ำ ผิดกฎกติกาสังคม ก็คือการกล่าว การ เกลา การให้อภัย มันคนละมิติ ผมจึง ประทับใจเวลาเราพัฒนาท้องถิ่นแล้วมัน เคลื่อนด้วยมิติแบบนี้”

ชีวิต อย่างน้อย 3 ตัวนี้เกิด มีเหตุมีผล มี ค วามพอประมาณ มี ภู มิ คุ ้ ม กั น นี่ คื อ ประเด็น เวลาเราท�ำอะไรเราก็ใช้ความรู้ ใช้คุณธรรม ใช้ 3 ห่วงเคลื่อนชีวิต (มีเหตุ มีผล มีความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน) กับทุกอาชีพ ไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นภาค เกษตร แต่ ว ่ า ที่ เ อาภาคเกษตรมา อธิ บ ายหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอ เพียง ประหนึ่งว่ามันอธิบายให้เห็นภาพ ง่ า ย เห็ น ผลเป็ น รู ป ธรรม ไปเห็ น ผม 37 issue 90 JuLY 2015

ปลูกผักกินเองที่บ้าน เราก็พูดกันง่ายๆ ว่ า ผมท� ำ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มั น ไม่ ใช่ ผมปลูกผักบุ้งสามแปลง ผมไม่เคยแบ่ง ให้เพื่อนข้างบ้านเลย ผมถามว่าเป็นการ น้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอ เพียงมาใช้ไหม มันก็ไม่เป็นไปตามหลัก ปรัชญาฯ เพราะมันขาดตัวคุณธรรม เวลาหน่วยงานหลาย หน่ ว ยงานเอาไปใช้ ก็ ก ระโดดไปที่ 3 ห่วงเลย ไม่ได้ดูตัวความรู้บวกคุณธรรม ฉะนั้นนักศึกษาผมทุกคน และทุกพื้นที่ ที่ ผ มเข้ า ไปร่ ว มพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ผมจะ เริ่ ม ต้ น แลกเปลี่ ย นประเด็ น ที่ เ งื่ อ นไข ก่ อ น ผมก็ ตั้ ง ค� ำ ถามว่ า คุ ณ ใช้ ชุ ด ความรู้อะไรในการด�ำรงชีวิต เพราะไม่ ตั้งค�ำถามแบบนี้ชาวนาหลายจังหวัดใน ประเทศไทยต้องซื้อพันธุ์ข้าว ทั้งๆ ที่ปลูก อยู่ตลอด ขายข้าว ท�ำนา ได้ข้าวเปลือก แต่ ช าวนาส่ ว นหนึ่ ง และก็ มากขึ้นๆ ซื้อ ข้าวสารกิน แล้วท�ำท�ำไม เงื่อนไขความรู้บวกคุณธรรมคือ จุ ด เริ่ ม ใหญ่ ถ้ า ไม่ เริ่ ม ตรงนี้ ไปเริ่ ม ว่ า คุณจะต้องมีเหตุมีผล คุณจะต้องเป็นคน พอประมาณ ผมถามว่าถ้าคุณจะเป็นคน มี เ หตุ มี ผ ลคุ ณ ใช้ ค วามรู ้ กี่ ชุ ด ลองคิ ด ดู สิ อยู่ดีๆ จะให้เป็นคนมีเหตุมีผลเลยมัน ไม่ได้ เพราะว่าสิ่งที่เราเห็น ภาพแรกเขา เรียกว่าเป็นข้อมูลก่อน เมื่อเราจัดการ ข้อมูลแล้วมันจะกลายเป็นความรู้ เมื่อ เราจัดการความรู้แล้วมันถึงจะกลายเป็น ปัญญา สามห่วงข้างบนนั้นมันเป็นปัญญา ซึ่ ง มั น จะต้ อ งผ่ า นขั้ น ตอนจั ด การความ รู้จากเงื่อนไขข้างล่างนั้นไปก่อน ตรงนี้ มันจะส�ำคัญ บางทีเรากระโดดไป ผมไป เห็นเยอะแยะ ศูนย์นั่น ศูนย์นี่ ไปแล้ว เห็นอะไร 1.น�้ ำ ส้ ม ควั น ไม้ 2.เลี้ ย งปลาใน กระชัง 3.หมูหลุม แล้วบอกว่าน้อมน�ำ หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ถามว่า ผิดไหม ไม่ผิด แต่มันไม่ครบ ล่าสุดนักศึกษาของ


ผม ดร.อาทิตย์ บ�ำรุงเอื้อ เขาท�ำงานเรื่อง ชุมชนฆราวาสธรรมใช้พื้นที่ 14 ไร่ ใน การเปิดศูนย์เรียนรู้ ก็มีปลา มีผัก มีข้าว มีไม้ยืนต้น ทุกอย่างเหมือนกัน แต่คน ที่เข้าไปศูนย์เรียนรู้นี้ไม่ได้ไปเรียนเลี้ยง ปลา ไม่ได้ไปเรียนปลูกผัก แต่ทุกคนจะไป เรียนเรื่องความเป็นชุมชนฆราวาสธรรม ฆราวาสธรรมเป็นหลักพุทธธรรมหนึ่งที่ เรียกว่า คารวตา 6 ฉะนั้น ศูนย์เรียนรู้ ของ ดร.อาทิตย์มีความโดดเด่นเรื่องการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ เรื่ อ งคารวตา 6 ถ้ า เอาคารวตา 6 บวกกับการปลูกมะม่วง นี่ แ หละมั น ถึ ง จะเกิ ด การน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สมเด็ จ พระเทพฯ จึงเสด็จศูนย์ของ ดร.อาทิตย์

เพราะเราน�ำเสนอชัด” “ความจน กั บ ความรวย ใน ค ว า ม ห ม า ย ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งคื อ อะไร อาจารย์ คิ ด ว่ า หลั ก ปรั ช ญาฯ นี้ แก้ ค วามจนได้ ไ หม?” “ผมนิยามความยากจนไม่เหมือน ใคร ที่ ผ มสอน ป.เอกมาผมบอกว่ า ถ้ า เศรษฐกิจกระแสหลักคือเสื้อผ้า อาหาร บ้ า นและยา แล้ ว เอาเงิ น ไปบวก ทุ ก อย่างเงินเป็นตัวตั้ง ซื้อกัน ขายกัน แลก เปลี่ยนกัน แต่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงพูดถึงความรู้คู่คุณธรรม พูดถึงการ แบ่งปัน พูดถึงการมีพออยู่พอกิน พอมี

38 IS AM ARE www.ariyaplus.com

เหลือก็แบ่ง แบ่งเหลือก็ขาย มันคนละ มิติ ความยากจนในความหมายของผม ก็ คื อ ว่ า อั น ที่ 1 ชี วิ ต มั น จะไปได้ ก็ คื อ เสื้อผ้า อาหาร บ้านและยา ถ้า 4 อย่างนี้ มันอัตคัด มันติดขัด หรือมันไม่สะดวกต่อ ชีวิตอย่างนี้ผมเรียกว่ายากจน ถ้ า ใช้ ร ะบบที่ เ ป็ น กระแสหลั ก ที่ เขาอธิ บ ายความยากจนคื อ เส้ น ความ ยากจน ถ้ามีเท่านี้ถือว่าไม่จน ถ้ามีเท่านี้ ถือว่ายากจน แต่ถ้าชีวิตมันติดขัดด้วย 4 อย่างนี้ มันก็ยากจน ทีนี้ผมบอกว่าชีวิต พวกเรามันเดินไปมี 3 อัน อันที่ 1 ถาม ว่าอยู่ได้ไหม ตอบว่าอยู่ได้ แต่ถามว่ารอด ไหมถ้าอยู่แบบนี้ ไม่แน่ ถ้าอยู่ได้ อยู่รอด มันถึงจะอยู่ดี มัน 3 ล�ำดับ


ถ้าบอกว่าให้ไปใช้ชีวิตอยู่ริมฝั่ง แม่ น�้ ำ สั ก ปี เ อาไง ผมอยู ่ ไ ด้ ค รั บ โอเค อยู่ได้ แต่ผมรอดหรือไม่รอดผมยังไม่รู้นะ ถ้ า อย่ า งนี้ ไ ม่ ต ้ อ งถามหาอยู ่ ดี เพราะ ฉะนั้นความยากจนก็คือ การติดขัด แสดง ว่าอยู่ไม่ได้ อยู่ไม่รอด อยู่ไม่ดี การแก้ ปั ญ หาก็ คื อ ท� ำ อย่ า งไรมั น จะไม่ ติ ด ขั ด ซึ่ ง หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง บอกว่ามันก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้เงินทั้งหมด พึ่งตนเอง พึ่งพาพรรคพวก แบ่งปัน ถ้ า บอกว่ า รวยผมก็ ร วยในมิ ติ เดียวกัน ในหลักปรัชญาฯ จึงบอกว่าให้ มันพอมี พออยู่ และพอกิน นี่คือแนวคิด ที่ผมใช้มาตลอด ผมเรียนรู้ คุยกับท่าน ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล คุยกับผู้ใหญ่หลาย ท่าน สรุปผมจึงกล้านิยามว่า ความจนคือ ไม่พออยู่ ไม่พอกิน มันจะรวยก็รวยแบบ มีพออยู่พอกินมันก็รวย ถ้ามันเยอะก็ขาย ไม่ขายก็แบ่งกันไป คือสิ่งที่มันน่าจะเกิด ขึ้นในสังคม แต่เราไปนิยามว่า รวยคือ มีเงินเยอะ ยิ่งเห็นแก่ตัว ไม่มีประโยชน์ ฉะนั้นแวดวงวงธุรกิจพักหลังมาถึงมีเรื่อง

ใกล้ ชิ ด มากกั บ หลั ก ศาสนาทุ ก ศาสนา ถ้าเราเป็นคนที่นับถือศาสนาก็แสดงว่า เราใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มันต้องเริ่มที่ตัวเอง ผมจะไปสอนให้คุณ เป็ น คนพอประมาณผมไม่ รู ้ จ ะไปสอน ยั ง ไงก็ ไ ด้ แ ต่ ตั้ ง ค� ำ ถามว่ า วั น นี้ คุ ณ ด� ำ รง ชีวิตด้วยชุดความรู้อะไร ถ้าคุณจะบริโภค ผักแล้วคุณมีความรู้เรื่องการปลูกผักแล้ว ลงมือท�ำ ก็โอเค แต่ถ้าคุณมีชุดความรู้ อยู่ในหัวว่าผักมันต้องเอาเงินไปแลกมา มันก็ไปคนละมิติ สมั ย ผมเด็ ก ๆ เขาจะท� ำ กั บ ข้ า ว บ้านละไม่เกิน 2 อย่าง ตอนเย็นท�ำเสร็จ ผมก็ ใ ห้ ลู ก ผมเอาน�้ ำ พริ ก ไปให้ บ ้ า นคุ ณ บ้านคุณมีผักคุณก็ให้ผักกลับมา มันเป็น มิติที่เหมือนว่าไม่ต้องใช้เงินอะไร ได้ ห รื อ ไม่ ไ ด้ อั น ที่ 1.อยู ่ ที่ ตั ว เอง 2.อยู ่ ที่ ส ภาวะปั จ จุ บั น ผมว่ า ถ้ า ทุ ก คนฉุ ก คิ ด ตั้ ง ต้ น ให้ มั น ได้ จะรู ้ ว ่ า เราจ� ำ เป็ น ต้ อ งน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาฯ ตรงนี้ ถ้ า ไม่ ร ่ ว มกั น ตรงนี้ จ ริ ง ๆ ผมว่ า ล�ำบาก น�้ำท่วมใหญ่ ท�ำอะไรได้ โวยวาย

เ งื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู ้ บ ว ก คุ ณ ธ ร ร ม คื อ จุ ด เ ริ่ ม ใ ห ญ ่ ถ ้ า ไ ม ่ เ ริ่ ม ต ร ง นี้ ไปเริ่ ม ว่ า คุ ณ จะต้ อ งมี เ หตุ มี ผ ล คุ ณ จะต้ อ งเป็ น คนพอประมาณ ผม ถามว่ า ถ้ า คุ ณ จะเป็ น คนมี เ หตุ มี ผ ลคุ ณ ใช้ ค วามรู ้ กี่ ชุ ด ลองคิ ด ดู สิ อยู ่ ดี ๆ จะให้ เ ป็ น คนมี เ หตุ มี ผ ลเลยมั น ไม่ ไ ด้ CSR เพื่อแสดงสปิริตว่า เฮ้ย กูรวยแต่กู ก็แบ่งให้สังคม” “ ก า ร เ ป ลี่ ย น วิ ธี คิ ด ข อ ง ค น ใ น สั ง คม จากการให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เงิ น อั น ดั บ แรก ให้ หั น มามอง ว่ า เศรษฐกิ จ พอเพี ย งก็ ส ามารถ ช่ ว ยให้ ชี วิ ต มี สุ ข ได้ อาจารย์ ม อง ว่ า เป็ น ไปได้ ไ หม” “ได้ เพราะว่ า ถ้ า เราทุ ก คนตั้ ง ค�ำถามชีวิตดีๆ แล้วเริ่มที่ตัวเองอันนี้ได้ แน่นอน หลักปรัชญาฯ เป็นมิติที่อิงและ

คนบางกลุ่ม บางครอบครัว ถ้าไม่มีไฟฟ้า ทุกอย่างจบ แต่ว่าหลักปรัชญาฯ ให้ไว้ หมดทุกอย่างถ้าชุดความรู้เรามี มันไม่มี ไฟฟ้า ถ้าเรามีชุดความรู้ที่มันท�ำให้ตัวเอง อยู่ได้ มันก็ไปได้” “ แ น ะ น� ำ ค น ไ ท ย เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท้ อ งถิ่ น อย่ า งยั่ ง ยื น ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” “ผมเปรียบชุดความรู้ในท้องถิ่น เป็นรากแก้วของแต่ละท้องที่ ตอนนี้เรา พยายามที่จะไปเบียดเบียน บดบังไม่ให้ 39 issue 90 JuLY 2015

รากแก้ ว ท� ำ หน้ า ที่ ข องมั น ปล่ อ ยให้ สิ่ ง อื่นเข้าไป ต้นไม้มันก็เติบโตอย่างอ่อนแอ ถ้าครอบครัวอ่อนแอเมื่อไหร่ ระบบใหญ่ ชุมชน สังคม ก็ไม่ต้องถามถึง มันไปด้วย กันทั้งหมด มันก็มาจากปัจเจกตัวนี้ ฉะนั้น ผมแนะน� ำ ว่ า ถ้ า จะพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ให้ ยั่งยืน เรามาช่วยกันใช้ความรู้ในท้องถิ่น เป็นตัวตั้ง ขณะเดียวกันชุดความรู้อื่นๆ ก็มีประโยชน์ มีคุณค่า มีพลังในตัวมัน เอามาผสมผสานกันให้ลงตัว หลั ก ปรั ช ญาฯ บอกว่ า เวลาชุ ด ความรู้มาผสมกันแล้วมันจะลงตัวและขับ เคลื่อนชีวิตได้ดี ต้องมีคุณธรรมก�ำกับ ผม อยากเผยแพร่มากเลย เพราะว่าผมสอน นักศึกษา ป.เอก แล้วนักศึกษาผมเปลี่ยน พฤติ ก รรมเยอะมาก เช่ น ดร.อาทิ ต ย์ บ� ำ รุ ง เอื้ อ เขาเป็ น ทนายความ เป็ น ที่ ปรึกษากฎหมายบริษัทอะไรเยอะแยะใน กรุงเทพฯ ไปเรียนกับผมสัปดาห์แรกใส่ สูทผูกเนคไทมาเลย เดีย๋ วนีต้ งั้ แต่แกจบมา หลายปีแล้ว ผมยังไม่เห็นแกใส่สูทเนคไท ผมถามว่าไอ้ที่เดิมมันคืออะไร มันเหมือน กั บ การพั น ธนาการตั ว เอง มั น ก็ คื อ ชุ ด ความรู้ในการดูแลตัวเอง มันมีชุดความ รู้ของมัน ดั ง นั้ น อยากเชิ ญ ชวนคนไทยทั้ ง หลายว่า มาใช้ชุดความรู้ในท้องถิ่นของ ตัวเอง ขณะเดียวกันความรู้ที่มีอยู่ในโลก มันก็เชื่อมกันได้ แต่มันต้องมีคุณธรรม” ดร.ศักดิ์พงศ์ กล่าวทิ้งท้าย


จบธรรมศาสตร์กลับบ้านท�ำนา

จิตชนก ต๊ะวิชัย

ไม่ ง ่ า ยนั ก หรอก ที่ ห นุ ่ ม สาวคนใดจะคิ ด เอาความรู ้ ที่ ไ ด้ ม าจากเมื อ งหลวงกลั บ ไปพั ฒ นาบ้ า นเกิ ด ตั ว เอง ยิ่ ง ไม่ ง ่ า ยอี ก เหมื อ นกั น ที่ ใ ครคนหนึ่ ง จะหั น หลั ง ให้ ค วามศิ วิ ไ ลซ์ ความสะดวกสบายและหน้ า ที่ ก ารงานใน กรุ ง เทพฯ กลั บ ไปดู แ ลบุ พ การี ถอดเปลื อ กทางสั ง คมที่ รุ ง รั ง ออก มุ ่ ง ใช้ ชี วิ ต เยี่ ย งเกษตรกรตามแนวทาง เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ค�ำถามหนึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้รู้จักกับ “หนูดี” หรือนางสาวจิตชนก ต๊ะวิชัย อายุ 25 ปี หญิงสาวดีกรีจากรั้วธรรมศาสตร์ คณะสั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตร์ ว่ า ท� ำ ไม จึงกล้ามาใช้ชีวิตเยี่ยงเกษตรกร ทั้งที่มี ดีกรีความรู้สามารถหางานสบายๆ ท�ำได้ มากมาย ไม่ต้องอยู่กับทุ่งนาป่าเขาห่าง ไกลความเจริญเช่นนี้ สิ่งที่เธอท�ำมันสวน กระแสความคิ ด ของคนรุ ่ น ใหม่ ม ากพอ สมควร เพราะหลายคนทิ้ ง ผื น ดิ น บ้ า น เกิดไว้กับคนแก่เฒ่า และไม่หวนกลับมา ตอบแทนบุญคุณแผ่นดินนั้นอีกเลย ต้ น ทุ น ชี วิ ต หนูดีเป็นลูกสาวคนเดียว พื้นเพ ครอบครัวเป็นคนจังหวัดเลย คุณพ่อเสีย ชี วิ ต ปั จ จุ บั น อาศั ย อยู ่ กั บ คุ ณ แม่ อุ บ ล

ต๊ ะ วิ ชั ย อดี ต ข้ า ราชการครู วั ย 60 ปี ประกอบธุรกิจส่วนตัวคือ “ภูเรือเรือนไม้ รีสอร์ต” ในจังหวัดเลย บนเนื้อที่ 15 ไร่ โดยแบ่ ง พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ ท� ำ นาไว้ ป ระมาณ 8 ไร่ ท�ำการเกษตรประเภทผักสวนครัว โรงสี ข ้ า ว ยุ ้ ง ข้ า ว และยั ง สร้ า งอาคาร ไม้ ดั ด แปลงเป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ เ กษตร พอเพียง สิ่งที่เธอต้องคิดต่อไปก็คือจะ ปล่อยให้พื้นที่เหล่านี้เสื่อมโทรมไปตาม กาลเวลา แล้ ว พาตั ว เองไปโลดแล่ น ใน เมืองหลวงตามสายความรู้ที่เธอเรียนมา หรือจะเอาความรู้เหล่านั้นกลับมาพัฒนา ต่อยอดต่อไป เธอพบว่าสิ่งแรกที่เธอคิดถึง คือครอบครัว และครอบครัวของเธอก็คือ บ้านแห่งนี้ มันคือที่ฝังจิตวิญญาณและ เป้าหมายชีวิตเธอเอง

40 IS AM ARE www.ariyaplus.com

มาให้ บ ้ า นเกิ ด เมื่อเรียนจบเธอก็หวนกลับบ้าน ตามที่ตั้งใจไว้ เธอว่าปริญญานั้นเปรียบ เป็นของขวัญให้แม่ของเธอ แต่ความฝัน ที่แท้จริงคือการกลับมาพัฒนาบ้านเกิด ของตัวเอง เพื่อที่จะได้อยู่กับแม่และท�ำ ตามความฝันของตัวเองภายใต้แนวทาง ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ซึ่ ง เธอ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งน� ำ ทางในการพั ฒ นาบ้ า น เกิ ด โดยเริ่ ม จากการลองท� ำ ลองผิ ด ลองถู ก ตามประสาคนรุ ่ น ใหม่ ที่ ยั ง ไม่ มี ประสบการณ์ ใ นการท� ำ นาแม้ แ ต่ น ้ อ ย จนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับเด็กๆ ในพื้นที่นั้นๆ ได้ โดยใช้พื้นที่ 8 ไร่ที่มี อยู ่ ท� ำ การทดลองเกษตรอิ น ทรี ย ์ ปลู ก ข้าวเจ้า ข้าวไรซ์เบอร์รี่ และข้าวเหนียว จนประสบผลส�ำเร็จ


นานา...ทั ศ นะ “ อ ย า ก ใช ้ ชี วิ ต อ ยู ่ ที่ นี่ เ อ า ความรู้ที่เราได้ร�่ำเรียนมาถ่ายทอดให้กับ เด็ ก รุ ่ น ใหม่ ให้ รั ก ความเป็ น ไทย มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ พ อเพี ย ง ช่ ว ยกั น พั ฒ นาบ้ า นเรา พลิกฟื้นผืนดินมรดกของปู่ย่าตายายให้ เป็ น ประโยชน์ ใช้ชีวิต อยู่กับ ธรรมชาติ แบบพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อประโยชน์ของ ลูกหลานต่อไป” ยิ น ดี ที่ ไ ด ้ อ ยู ่ กั บ บ ้ า น อ ยู ่ กั บ ธรรมชาติ การเรี ย นจบแล้ ว ไปท� ำ งานตาม ที่เรียนมาก็นับว่าเป็นเรื่องดี ยิ่งงานดีๆ เงินเดือนสูงๆ ในกรุงเทพฯ ก็ยังเป็นที่ ใฝ่ ฝั น ส� ำ หรับ หนุ่ม สาวจบใหม่ทั้งหลาย แต่ ส� ำ หรั บ เธอบ้ า นคื อ ตั ว ตนและชี วิ ต จิตใจของเธอเอง กลิ่นทุ่งนา สาบควาย กลายเป็ น ความจริ ง ที่ เ ธอตื่ น มาพบเจอ ทุกวัน เธอว่าการใช้ชีวิตอยู่ในที่ห่างไกล ความวุ่นวายเป็นชีวิตที่มีสุข แม้จะไม่มี ความสะดวกสบาย ไม่หรูหราอะไร แต่ เธอก็ยินดีที่ได้อยู่กับธรรมชาติ ได้อยู่กับ บ้านของตัวเอง “ฉันเชื่อมาตลอดว่าธรรมชาติไม่ เคยท�ำร้ายมนุษย์ เว้นเสียแต่ว่ามนุษย์ เองจะเป็ น ฝ่ า ยลงมื อ ท� ำ ร้ า ยธรรมชาติ

เสี ย ก่ อ น ชนบทสอนให้ เราเรี ย นรู ้ ที่ จ ะ ปรั บ ตั ว พึ่ ง พิ ง ธรรมชาติ ไม่ ใช่ ไ ปปรั บ เอาธรรมชาติมาเอื้อประโยชน์ให้กับเรา ลองหยุ ด คิ ด แล้ ว กลั บ มามองเสี ย ก่ อ น น�้ำท่วมมาจากอะไรถ้าไม่ใช่มือของพวก เรานี่ แ หละ ขอโทษพระแม่ ธ รณี พระ แม่ ค งคา ที่ พ วกเราเองน� ำ สารเคมี ล ง สู ่ แ ผ่ น ดิ น ที่ มี พ ระคุ ณ โลกมั น ไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ยากขึ้น แค่พวกเราเองที่ท�ำให้มันยุ่งยาก ขึ้น ธรรมชาติมันสร้างขึ้นมาใหม่ได้หรือ คะ สร้างมาจากอะไร อีกกี่ร้อยกี่พันปี มัน ถึงจะเป็นเหมือนเดิม” นอกจากการหั น หลั ง ให้ สั ง คม เมื อ งมุ ่ ง สู ่ วิ ธี ชี วิ ต ตามแนวปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ พั ฒ นาบ้ า นเกิ ด ตนเองแล้ว เธอยังมีผลิตผลจากผืนนาที่ เธอลงมือปลูกเองโดยไม่ใช้สารเคมี สร้าง รายได้ ห ล่ อ เลี้ ย งตั ว เองอย่ า งพอเพี ย ง สอดคล้ อ งกั บ การใช้ ชี วิ ต อยู ่ ที่ บ ้ า นเกิ ด ได้ อ ยู ่ ดู แ ลคนที่ รั ก อยู ่ กั บ ธรรมชาติ ที่ สามารถให้ สุ ข ภาพที่ ดี แ ก่ เ ธอได้ นั บ เป็ น การตั ด สิ น ใจที่ ห ลายคนนึ ก อิ จ ฉา เพราะเมื่อเทียบกับสภาพชีวิตในกรุงเทพ แล้ว ต้องบอกว่าเทียบกันไม่ได้ ห นู ดี มี ค ว า ม สุ ข กั บ ก า ร เ ห็ น เด็กๆ ในชุมชนหันมาสนใจเรื่องราวของ

41 issue 90 JuLY 2015

การเกษตรที่เธอพยายามสื่อสารกับชุมชน ของเธอเองและโลกภายนอก ทั้ ง นี้ เ ธอ ยังสร้างเพจเพื่ออนุรักษ์ควายไทยชื่อว่า “Chamchoi” หรือ “แช่มช้อย” ส�ำหรับ ใครที่สนใจสามารถเข้าไปชมได้ “ฉั น พยายามรั ก ษาธรรมชาติ รอบตัวที่ฉันมีให้คงไว้ เพียงหวังว่าวันหนึ่ง ฉันมีลูก เพื่อนๆ มีลูก ลูกฉันจะเติบโตมา ในแบบที่ ฉั น เคยโตมา ไม่ ไ ด้ อ ยากสวน กระแสโลกาภิวัตน์นะ แต่ส่วนไหนที่มัน ข้ามไปสู่ยุคโลกาภิวัตน์แล้วก็ปล่อยมัน ไปตามวัฏจักร อะไรที่เราควรรักษาไว้ก็ ช่วยกันเท่านั้นเอง พ่อหลวงสอนพาลูกๆ ปลูกป่า แล้ววันนี้ถ้าจะมีลูกบางคนคิด จะตัดป่าของพ่อ ภาพนั้นคงจะเป็นภาพ ที่เจ็บปวด” หนูดีกล่าว ขอบคุ ณ ข้ อ มู ล www.facebook/ND.jcn?


“คลิ๊ก” โดย “ไม่คิด” โดนปรับเป็ นหมื่น

มาตรา 7 ในพระราชบั ญ ญั ติ สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ระบุ ว ่ า “ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพของบุ ค คล เป็ น ความลั บ ส่ ว น บุ ค คล ผู ้ ใ ดจะน� ำ ไปเปิ ด เผยในประการที่ น ่ า จะท� ำ ให้ บุ ค คลนั้ น เสี ย หายไม่ ไ ด้ เว้ น แต่ ก ารเปิ ด เผยนั้ น เป็ น ไป ตามความประสงค์ ข องบุ ค คลนั้ น โดยตรง หรื อ มี ก ฎหมายเฉพาะบั ญ ญั ติ ใ ห้ ต ้ อ งเปิ ด เผย...” นอกจากนี้ ใน มาตรา 49 หมวด 6 มี บ ทก� ำ หนดโทษ ระบุ ว ่ า “ผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น มาตรา 7 หรื อ มาตรา 9 ต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น หกเดื อ น หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หนึ่ ง หมื่ น บาท หรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ ความผิ ด ตามมาตรานี้ เ ป็ น ความผิ ด อั น ยอมความได้ ” แน่นอนว่าจ�ำนวนผู้เข้าถึงโซเชียลมีเดียมีมากย่อมต้อง ระมัดระวังความผิดพลาดที่จะตามมาให้ดี เพราะแต่ละโพสต์ ที่เราลงไปอาจไป “ละเมิด” สิทธิผู้อื่นได้โดยไม่รู้ตัว โดยเฉพาะ เรื่องราวในแง่ของสุขภาพที่มีมาตรา 7 ก�ำกับอยู่ โดยมีหลักการ ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับโซเชียลมีเดีย ดังนี้ 1.การโพสต์ ข ้ อ มู ล ของผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งได้ รั บ ความยิ น ยอม จากผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยไม่อยู่ในภาวะที่จะอนุญาตได้ ให้สอบถาม ญาติผู้ป่วย 2.การน�ำข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยมาเผยแพร่ต้องไม่ ท�ำให้ผู้ป่วยเสียหาย ถูกดูถูกเกลียดชัง มิฉะนั้นจะเป็นความผิด ฐานหมิ่นประมาท

มาตราดั ง กล่ า วคงจะเตื อ นสติ ผู ้ ใช้ โซเชี ย ลมี เ ดี ย ได้ พอสมควร ในแง่ของการโพสต์เรื่องราวหรือรูปภาพต่างๆ โดย เฉพาะเรื่องราวของสุขภาพของผู้อื่น ซึ่งหากไม่ได้รับการยินยอม จากผู้ป่วย ก็ถือเป็นความผิดโดยทันที ปัจจุบันประเทศไทยมีคนใช้โทรศัพท์มือถือในไตรมาสที่ 2 ประจ�ำปี 2557 จ�ำนวน 94.3 ล้านคน และยังพบว่ามีผู้ใช้งาน โซเชียลเน็ตเวิร์คจ�ำนวนมาก โดย 4 อันดับที่มีผู้ใช้สูงสุด ได้แก่ Facebook, YouTube, Twitter และ Instagram ตามล�ำดับ โดยในไตรมาสที่ 2 ประจ�ำปี 2557 มียอดผู้ใช้ Facebook อยู่ ที่ 30 ล้านคน

42 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Share Story

3.ถ้าผู้ประกอบวิชาชีพน�ำข้อมูลของผู้ป่วยมาเปิดเผยแล้วเกิด ความเสียหายแก่ผู้ป่วยและญาติจะมีความผิดฐานเปิดเผยความลับที่ตน ได้มาจากการประกอบวิชาชีพ 4.การโพสต์ที่มีลักษณะเป็นการน�ำข้อมูลปลอม เท็จ หรือไม่เหมาะ สม เช่น ลามกอนาจาร รวมทั้งเผยแพร่เนื้อหา การเผยแพร่ภาพจากการ ตัดต่อ ดัดแปลง ท�ำให้ผู้ป่วยหรือครอบครัวเสื่อมเสีย เป็นการกระท�ำผิด 5.ในกรณีที่ผู้ป่วยหรือญาติไม่ต้องการให้เปิดเผยข้อมูล แต่หากว่า การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว เป็นไปเพื่อประโยชน์ของสาธารณะ ก็สามารถ เปิดเผยได้ เช่น กรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคติดต่อร้ายแรง (พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ.2523) โซเชียลมีเดียสร้างความสะดวกสบายในการติดต่อสื่อสารให้มนุษย์ มากมาย ขณะเดียวกันผู้ใช้ควรศึกษากฎระเบียบ หรือข้อมูลกฎหมายต่างๆ ไว้บ้าง เพื่อไม่ให้เกิดโทษกับตัวเอง ดังนั้น การน�ำเสนอข้อมูลแต่ละครั้งใน โลกโซเชียลฯ ควรคิดให้รอบด้านถึงผลกระทบต่อผู้อื่นทุกครั้ง ไม่ใช่คิดว่า นี่คือพื้นที่ส่วนตัว จะโพสต์หรือแชร์ อะไรก็ได้

43 issue 90 july 2015


ประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ร่ ว มลงนามกั บ คณะผู ้ บ ริ ห าร ประกาศเจตนารมณ์ “ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก กฟภ. ไม่ โ กง”

พลเอกวิ โ รจน์ บั ว จรู ญ ประธานกรรมการ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค เป็ น ประธานลงนามนโยบาย ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต และประกาศเจตนารมณ์ “ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก กฟภ. ไม่ โ กง” พร้ อ มด้ ว ยนายสมพร ใช้ บ างยาง ประธานกรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม นายเสริ ม สกุ ล คล้ า ยแก้ ว ผู ้ ว ่ า การการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค PEA และ รองผู ้ ว ่ า การการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค จ� ำ นวน 16 คน ร่ ว มลงนามประกาศเจตนารมณ์ ณ ห้ อ งโถง ชั้ น 1 อาคาร LED ส� ำ นั ก งานใหญ่ กรุ ง เทพฯ ตามที่ รั ฐ บาลมี น โยบายการ แก้ ป ั ญ หาการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ให้ เ ป็ น วาระแห่งชาติ การไม่ยอมรับการทุจริต คอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบและรณรงค์ให้ ประชาชนทั่วไปเห็นว่าการคอร์รัปชั่นเป็น เรื่องที่ยอมรับไม่ได้ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้สนอง นโยบายด�ำเนินงานภายใต้การก�ำกับดูแล กิจการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล มุ่งเน้น

เป็นองค์กรโปร่งใส ปราศจากการทุจริตมี มาตรฐานทางจริยธรรม จรรยาบรรณใน วิชาชีพและรักษาวัฒนธรรมขององค์กร “บริการดี มีคุณธรรม” จึงได้ประกาศ นโยบายต่อต้านการทุจริตให้ปฏิบัติตาม หลักการและแนวทางตามคู่มือการก�ำกับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จริ ย ธรรมและจรรยา บรรณ ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ รวมทั้งระเบียบข้อบังคับและคู่มือปฏิบัติ 44 IS AM ARE www.ariyaplus.com

อย่ า งเคร่ ง ครั ด ไม่ ยิ น ยอมหรื อ ยอมรับ การทุ จ ริ ต ทุ ก รู ป แบบทั้ ง ทางตรงและ ทางอ้อม รวมถึงไม่ละเลยหรือเพิกเฉย เมื่ อ พบเห็ น การกระท� ำ ที่ เข้ า ข่ า ยการ ทุ จ ริ ต มี ก ารตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง าน ตามนโยบายอย่ า งสม�่ ำ เสมอ ส่ ง เสริ ม และยกย่ อ งพนั ก งานที่ ก ระท� ำ ความดี ปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม ซื่อสัตย์สุจริต


การลงนามนโยบายต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต และประกาศ เจตนารมณ์ “ต่อต้านการทุจริต สร้างจิตส�ำนึก กฟภ. ไม่โกง” ในวันนี้ เพื่อเป็นการแสดงถึงความมุ่งมั่นร่วมกันป้องกันและ ปราบปรามการทุ จ ริ ต ให้ สั ม ฤทธิ์ ผ ลได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้งปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง และปลูกจิตส�ำนึกให้บุคลากร ในองค์กรไม่นิ่งเฉยต่อปัญหาการทุจริตรวมทั้งให้ความร่วมมือ ต่อต้านการทุจริตอย่างยั่งยืน

ในโอกาสเดียวกันนี้ ประธานคณะกรรมการ PEA และ คณะได้เยี่ยมศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กฟภ. หรือ ศปท. PEA ซึ่งเป็นศูนย์ที่ให้บริการเปิดรับข้อร้องเรียนเรื่องราวทุจริต เพื่อพัฒนางานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงงานป้องกัน และปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นให้เกิดประสิทธิภาพและ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยและสร้าง เครือข่ายในการขับเคลื่อนนโยบายมาตรการต่างๆ มีรูปแบบการ บริหารงาน 2 กลุ่มงาน คือ กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตและกลุ่มงานส่งเสริมและคุ้มครองจริยธรรม ซึ่ง ศูนย์ ศปท. PEA มีกระบวนการทุจริต ประพฤติมิชอบทั้งจากผู้ปฏิบัติงาน PEA และบุคคลภายนอกไว้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม บันทึก รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นโดยใช้ ร ะบบสารสนเทศ e-one Portal ก�ำหนดระดับชั้นความลับของเรื่อง SMS แจ้งผู้บริหารหน่วย งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและผู ้ ร ้ อ งเรี ย นทราบ จากนั้ น จะด� ำ เนิ น งาน สอบข้อเท็จจริง ซึ่งต้องแจ้งกลับผู้ร้องเรียนภายใน 5 วัน และ ต้องสรุปผลข้อเท็จจริงตอบกลับผู้ร้องเรียนภายใน 15 วัน 45 issue 90 JuLY 2015


นอกจากนี้ยังเยี่ยมศูนย์ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ส�ำนักงานใหญ่ ซึ่งเป็นหนึ่งในการพัฒนาศูนย์ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ทั่วประเทศ หน่วยงานต้นแบบในการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการระดับกระทรวง (หนึ่งกระทรวง หนึ่งหน่วยงานต้นแบบ) ในนามกระทรวงมหาดไทย เพื่อสนองนโยบาย การเป็นองค์กรโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดย ยึดหลักเปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ทั้งนี้ประชาชนสามารถใช้สิทธ์ เพื่อขอข้อมูลเอกสารจาก การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้ที่ ศูนย์ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ส�ำนักงานใหญ่ และส�ำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในส่วนภูมิภาค 12 เขต ทั่วประเทศ และทางเว็บไซต์ www.pea.co.th/peainfo หรือ โทร. 1129 PEA Call Center ตลอด 24 ชั่วโมง

การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค Provincial Electricity Authority Information Service Center : www.pea.co.th/peainfo 1129 PEA Call Center 46 IS AM ARE www.ariyaplus.com


แก้ ว ที่ ค ว�่ ำ อยู ่ ก ลางสายฝน ต่ อ ให้ ฝ นกระหน�่ ำ ทั้ ง คื น ก็ ไ ม่ อ าจเต็ ม ไปด้ ว ยน�้ ำ คนที่ ไ ม่ ย อมเปิ ด ใจเรี ย นรู ้ ต่ อ ให้ ค ลุ ก คลี กั บ นั ก ปราชญ์ ทั้ ง วั น ทั้ ง คื น ก็ ยั ง โง่ เ ท่ า เดิ ม อ่านต่อ: http://www.thaiquip.com

47 issue 90 july 2015


ต้มกะทิสายบัวปลาทู

สายบั ว เป็ น ส่ ว นของก้ า นดอกบั ว ดอกบั ว มี ห ลายสี แต่ ส ายบั ว ที่ นิ ย มน� ำ มารั บ ประทานคื อ สายบัวจากดอกบัวสีขาวอมชมพู เพราะมีก้านที่อ่อนนุ่มรสชาติอร่อยกว่าสีอื่นๆ คนไทยผูกพันกับพืช น�้ำชนิดนี้มาช้านาน และนิยมน�ำสายบัวมาปรุงอาหารหรือท�ำขนมสายบัว นอกจากนี้ส่วนต่างๆ ของ บัวล้วนมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งสิ้น การน�ำสายบัวมารับประทานนั้นไม่ยุ่งยาก เลือกสายบัวที่ไม่อ่อนหรือแก่แข็งจนเกินไป น�ำมา ล้างให้สะอาด ลอกเปลือกบางๆ ออกให้เรียบร้อย เมื่อหั่นเป็นท่อนแล้วน�ำไปแช่ในน�้ำเกลือจะช่วยให้ สายบัวไม่ด�ำเวลาโดนความร้อนในการประกอบอาหาร ควรใช้เกลือในการปรุงรส หลีกเลี่ยงการปรุง ด้วยน�้ำปลา หรือซีอิ๊ว เพื่อสีสันที่น่ารับประทานยิ่งขึ้น

48 IS AM ARE www.ariyaplus.com


eat am are สายบัวมีน�้ำเป็นส่วนประกอบถึงร้อยละ 97.6 และใน สายบัว 100 กรัมจะมีวิตามินซี 15 มิลลิกรัม วิตามินบี 3, 0.4 มิลลิกรัม และเส้นใยอาหาร 0.4 กรัม สายบัวมีสรรพคุณทางยา เช่น ช่วยบ�ำรุงครรภ์ ขับปัสสาวะ และลดความร้อนในร่างกาย ส่วนอื่นๆ ของต้นบัวสายก็ใช้เป็นยาได้เช่นกัน อาทิ ดอกใช้เป็น ยาบ�ำรุงก�ำลัง แก้ไข้ และบ�ำรุงหัวใจ นอกจากนี้ สายบั ว ยั ง น� ำ มาท� ำ อาหารได้ ห ลากหลาย ชนิด ทั้งต้ม ผัด แกง หรือน�ำมาจิ้มน�้ำพริกกินสดๆ ก็ได้รสชาติ ไปอีกแบบ แต่ที่นิยมท�ำกันมาช้านานก็คือเมนู ต้มกะทิสายบัว ปลาทู ท�ำแกงส้มหรือต้มกะปิปลาทูก็อร่อยไม่แพ้กัน ฉบับนี้เรา ขอน�ำเสนอ เมนูบ้านๆ ที่ติดใจกันมายาวนาน แต่ทว่าปัจจุบัน โดยเฉพาะในเมืองหลวงก็ไม่ใช่เมนูที่หากินแบบถูกปากได้ง่ายนัก ใครมีเวลาลองน�ำไปท�ำดู “ต้มกะทิสายบัวปลาทู” ส่ ว นผสม ปลาทูนึ่ง สายบัวลอกเปลือกออก เด็ดเป็นท่อนยาว มะดัน เกลือป่น น�้ำตาลมะพร้าว น�้ำมะขามเปียกคั้นข้นๆ พริกไทยเม็ด หอมแดงซอย กะปิ มะพร้าวขูด

5.เมื่อรสดีแล้วใส่ปลาทูนึ่งหัวกะทิคนพอเข้ากันยกลง ตัดใส่ถ้วยเสริ์ฟ สรรพคุ ณ ของบั ว สาย 1.ช่วยบ�ำรุงร่างกาย (หัว) 2.ช่วยบ�ำรุงก�ำลัง (ดอก,เมล็ด) 3.ช่วยบ�ำรุงธาตุในร่างกาย (หัว,เมล็ด) 4.ช่วยบ�ำรุงหัวใจ ท�ำให้สดชื่น (ดอก,หัว) 5.ในประเทศฟิลิปปินส์มีการใช้รักษาโกโนเลีย แต่ไม่ได้ ระบุส่วนที่ใช้ไว้ ด้วยการน�ำมาถูที่หน้า จะช่วยท�ำให้ง่วงนอน (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 6.ช่วยบ�ำรุงกระดูกและฟันให้แข็งแรง (สายบัว) 7.บัวสาย สรรพคุณของดอกช่วยแก้ไข้ตัวร้อน (ดอก) 8.ช่วยแก้อาการร้อนใน (ดอก) 9.ก้านบัวสายมีรสจืดและเย็น มีสรรพคุณช่วยบรรเทา ความร้อนในร่างกาย (ก้านบัว) 10.สายบัวมีเบต้าแคโรทีน ซึ่งช่วยป้องกันและต้านโรค มะเร็งในล�ำไส้ (สายบัว) 11.ช่วยบ�ำรุงครรภ์ของสตรี (ดอก,หัว,เมล็ด) 12.บั ว ขม จั ด อยู ่ ใ น “ต� ำ รั บ ยาพิ กั ด บั ว พิ เ ศษ” อั น ประกอบไปด้วยบัวขม บัวเผื่อน บัวหลวงขาว บัวหลวงแดง บัวสัตตบงกชขาว และบัวสัตตบงกชแดง ซึ่งเป็นต�ำรับยาที่มี สรรพคุณช่วยแก้ไข้อันเกิดเพื่อธาตุทั้งสี่ แก้ไข้ตัวร้อน แก้เสมหะ แก้อาการร้อนในกระหายน�้ำ แก้ลม และโลหิต ช่วยบ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุงหัวใจ ท�ำให้สดชื่น (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 13.ดอกบัวขมจัดอยู่ใน “ต�ำรับยาหอมเทพจิตร” โดย มีดอกบัวขมและสมุนไพรอื่นๆ อีกหลายชนิดในต�ำรับ ซึ่งเป็น ต�ำรับยาที่มีสรรพคุณช่วยแก้ลม (อาการหน้ามืดตาลาย สวิง สวาย) แก้อาการใจสั่น และช่วยบ�ำรุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น (ช่วย ผ่อนคลายความเครียด ท�ำให้อารมณ์แจ่มใส สบายใจ หรือ สุขใจ) (ดอก) หมายเหตุ : ส� ำ หรั บ วิ ธี ก ารใช้ หั ว ให้ ใช้ หั ว บั ว สาย ประมาณ 30 กรัม ใส่น�้ำ 1 ลิตร ต้มนานประมาณ 15 นาที แล้วน�ำมาดื่มก่อนอาหารครั้งละครึ่งถ้วยกาแฟวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น

3 ตัว 3 สาย 2 นิ้ว 5 ผล 1 ช้อนโต๊ะ 3 ช้อนโต๊ะ 2 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 3 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 500 กรัม

วิ ธี ท� ำ

1.น�ำมะพร้าวมาคั้นกะทิ ให้ได้หัวกะทิ 1/2 ถ้วยตวง หางกะทิ 3 ถ้วยตวง 2.โขลกพริกไทย หอมแดง กะปิให้ละเอียด 3.ละลายเครื่องที่โขลกกับกะทิ 3 ถ้วยตวงให้ละลายน�้ำ ไปตั้งไฟพอเดือดระหว่างที่ตั้งไฟหมั่นคนกะทิจะได้ไม่ไหม้ จึงใส่ สายบัวและมะดัน 4.พอมะดันสุกเอาเม็ดออกตั้งไฟพอสายบัวนิ่มจึงปรุงรส ด้วยน�้ำตาล เกลือ น�้ำมะขามเปียก คนให้ละลายชิมรสเปรี้ยว เค็ม หวาน

49 issue 90 JuLY 2015


50 IS AM ARE www.ariyaplus.com


51 issue 90 JuLY 2015


สภาพแวดล้อม

ความเป็นมา

ต�ำบลบางหัวเสือ เดิมมีชื่อเรียกว่า “บางศรีเสือ” คาดว่า เป็นชุมชนที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายหรือประมาณ 250 ปีมาแล้ว สภาพพื้นที่ของต�ำบลบางหัวเสือเป็นที่ราบลุ่มน�้ำท่วม ถึง โดยที่ราบเกิดจากดินตะกอนที่น�้ำพัดพามาทับถมจนเกิดเป็น แผ่นดินใหม่ มีล�ำคลองเล็กๆ ไหลผ่านพื้นที่ลงสู่แม่น�้ำเจ้าพระยา หลายสาย แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ยังเป็นป่ารกร้างและเป็นสวน ปัจจุบันเป็นต�ำบลบางหัวเสือแบ่งการปกครองออกเป็น 14 ชุมชน มีจ�ำนวนประชากรประมาณ 12,000 คน ลักษณะ ของผู้คนในพื้นที่มีความหมาย ทั้งคนในพื้นที่เดิม และที่อพยพ มาจากทางเหนือ อีสาน ใต้และจังหวัดใกล้เคียงในภาคกลาง ชุ ม ชนมี ลั ก ษณะเป็ น สั ง คมเมื อ ง โดยอาชี พ ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ น ภาคอุตสาหกรรมท�ำให้ชีวิตเป็นไปแบบต่างคนต่างอยู่ เพราะ ชาวบ้ า นส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ รั บ จ้ า งท� ำ งานในโรงงาน อุตสาหกรรม ส่วนอาชีพรอง ได้แก่ ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว รับ ราชการ และรับจ้างทั่วไป

ในอดีตพื้นที่ต�ำบลบางหัวเสือท�ำสวนมะพร้าว พื้นที่อุดม สมบูรณ์ด้วยสัตว์ที่อาศัยตามล�ำคลองทั้งกุ้ง ปู ปลา และมีพืช ตามธรรมชาติข้นหลายชนิด อาทิ จากกล้วย และเหงือกปลา หมอ เป็นต้น ในอดีตคนในต�ำบลบางหัวเสืออยู่กันแบบเรียบง่าย พึ่งพาอาศัย ช่วยเหลือเกื้อกูลแบบเครือญาติ เน้นใช้แรงกายแรง ใจ รู้จักพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อน�ำมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น น�ำใบจากมาเย็บเพื่อมุงหลังคา ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพท�ำสวนมะพร้าวและปลูกพืชสวนครัวไว้กินเอง ต�ำบลบาง หัวเสือมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในต�ำบลมากมาย จนสามารถ แบ่งเป็นยุคต่างๆ ได้ดังนี้

ก่อนปี พ.ศ. 2516

ยุ ค จ า ก สั ง ค ม เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ที่ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง แ ล ะ ธรรมชาติ พื้นที่ยังมีสภาพอากาศดี จ�ำนวนประชากรมีไม่มากส่วน ใหญ่ด�ำรงชีพด้วยการท�ำสวนมะพร้าวและสวนผลไม้อื่นๆ การ คมนาคมยังไม่สะดวกเนื่องจากยังไม่มีถนนหนทางเข้าสู่พื้นที่ นอกจากถนนสุ ข สวั ส ดิ์ ซึ่ ง เป็ น ถนนสายหลั ก เชื่ อ มกั บ ชุ ม ชน 52

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ภายนอก ชุมชนจึงใช้การคมนาคมทาง เรือเป็นหลักส่วนใหญ่สภาพสังคมใช้การ แลกเปลี่ ย นของกัน จึงไม่เน้น การพึ่งพา การใช้เงินมากนัก

พ.ศ. 2517-2540

ยุ ค วิ ก ฤ ติ ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แวดล้ อ ม เมื่ อ ไฟฟ้ า ได้ เ ข้ า มาถึ ง ชุ ม ชน ความเจริญก็เข้ามามีจ�ำนวนคนมากขึ้น มีบ้านจัดสรร ห้องแถว ห้องเช่าและมี โรงงานอุ ต สาหกรรมมาตั้ ง อาชี พ หลั ก ของคนที่ นี่ จึงเปลี่ยนไปเป็น การท�ำงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมแทนการท�ำสวน และชาวบ้านเริ่มมีการขายที่ดิน ต่อมา มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในต� ำ บลอย่ า งมาก เพราะมี โรงงานอุ ต สาหกรรมเข้ า มาตั้ ง เป็ น จ� ำ นวนมาก ผู ้ ค รอบครองที่ ดิ น จึ ง เปลี่ ย นมื อ ไปรวดเร็ ว เกิ ด การแย่ ง ชิ ง กันท�ำมาหากิน ความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติเริ่มหมดไป และสิ่ง แวดล้อมก็เปลี่ยนไปเนื่องจากผลกระทบ จากโรงงานอุตสาหกรรมที่ลักลอบปล่อย น�้ำเสียลงสู่แม่น�้ำล�ำคลอง ความสัมพันธ์ ของผู้คนเริ่มเปลี่ยนไปเป็นต่างคนต่างอยู่ ไม่เอื้ออาทรต่อกัน ในยุคที่ที่ดินมีราคา แพงมาก ค่าครองชีพและค่าแรงก็เพิ่ม สูงตาม ผู้คนมากขึ้น ความเจริญมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาสังคม ทั้งเรื่องเด็กและ เยาวชน รวมถึงปัญหายาเสพติด ต่อมา เกิ ด วิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ในประเทศท� ำ ให้ ธุรกิจการค้าลงทุน โรงงานก็ได้รับผลก ระทบเช่ น กั น จนต้ อ งปิ ด โรงงานและ ท� ำ ให้ ค นว่ า งงานจ� ำ นวนมาก ชุ ม ชนก็ เกิดวิกฤติทางสังคมตามไปด้วยเริ่มเกิด สภาวะหนี้สิน และไม่มีทางเลือกในการ ประกอบอาชีพเพราะที่ดินได้ถูกขายไป หมดแล้วชุมชนจึงหันมาค้าขายเพื่อเลี้ยง ชีพแทน

พ.ศ. 2541 – 2551

ยุ ค คื น กลั บ สู ่ วิ ถี พ อเพี ย งและการ พึ่ ง พาตนเอง จากสภาพการพั ฒ นาที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้ชุมชน เกิดวิกฤตทางสังคมจนมีการตั้งกลุ่มเพื่อ พึ่ ง พาตนเองขึ้ น โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขของชุมชน โดยจัดตั้ง เป็น”เครือข่ายออมทรัพย์ส�ำโรงใต้” ที่ มีเป้าหมายให้ชุมชนเกิดการออม รู้จัก พึ่งพาตนเองทางด้านการเงินแก้ปัญหา หนี้นอกระบบ และช่วยเหลือกันภายใน ชุมชน จนได้รับความไว้วางใจจากชาว บ้านเข้าร่วมกลุ่มเป็นจ�ำนวนมากขึ้น ต่อ มาได้มีการต่อยอดจัดตั้ง “กลุ่มเด็กดีรัก การออม” เพื่อวางรากฐานที่ดีให้กับเด็ก และเยาวชน รวมถึงมีการจัดกิจกรรมเพื่อ สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนในชุมชน อย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน

ทุนต�ำบล

ต� ำ บลบางหั ว เสื อ เป็ น พื้ น ที่ ราบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ เ กิ ด การ

53 issue 90 JuLY 2015

เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและแนวคิดการด�ำรง อยู่ของชาวบ้าน ซึ่งปรับตัวตามกระแส สังคมและค่านิยมในโลกยุคโลกาภิวัตน์ จากสังคมเกษตรกรรมที่พึ่งพาตนเองและ ธรรมชาติ มาสู่การเป็นสังคมเมืองและ ชุ ม ชนอุ ต สาหกรรม การเปลี่ ย นแปลง ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อทั้งตัวบุคคล และครอบครั ว และยั ง ส่ ง ผลกระทบ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มหมุ น เวี ย นเป็ น วั ฏ จั ก ร หรื อ ห่ ว งโซ่ ก ลั บ มาหามนุ ษ ย์ ปั ญ หา ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ช าวบ้ า นกลุ ่ ม เล็ ก ๆ ที่ ตระหนั ก ถึ ก ถึ ง ปั ญ หาชุ ม ชนประกอบ ด้ ว ยคลองเป็ น จ� ำ นวนมากจึ ง เกิ ด เป็ น โครงการคลองสวยน�้ำใสในชุมชน โดยได้ รับการสนับสนุนจากบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เนื่องจากเป็นพื้นที่เขตแนวท่อ ส่งก๊าซอยู่ก่อนแล้ว นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารด� ำ เนิ น งาน ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ แ ละประหยั ด พลั ง งาน การใช้ พ ลั ง งานทดแทน รวมทั้ ง งาน ด้ า นเศรษฐกิ จ ครั ว เรื อ นและสั ง คม เพื่ อ สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ ก ลั บ คื น สู ่ ชุมชน สิ่งเหล่านี้คือทุนต�ำบลที่มีอยู่


นิยามความพอเพียงของต�ำบลบางหัวเสือ

“ครั ว เรื อ นพอเพียงอาสาสามารถลดรายจ่ายเพิ่ มรายได้ ด ้ ว ยการเรี ย นรู ้ จ ากการท� ำ บั ญชี ครัวเรือนและหมั่นเรียนรู้กิจกรรมการพึ่งพาตนเองที่หลากหลายจากความต้องการแก้ไขปัญหาและ ตื่นรู้ตัวตน รู้จักแสวงหาทางเลือกที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเองและรวมกลุ่มส่งเสริมทักษะอาชีพ ควบคู่กับการดูแลสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชนและต�ำบลในเรื่องการจัดการขยะ อีกทั้งวางรากฐาน งานป้องกันและการแก้ไขปัญหาในกลุ่มเด็กและเยาวชน พร้อมสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจด้วย การออม

54 IS AM ARE www.ariyaplus.com


รูปธรรมความส�ำเร็จในพื้นที่

ผลการด�ำเนินงานสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีครัวเรือน ปั ญ หาหนึ่ ง ของต� ำ บลบางหั ว เสื อ คื อ เรื่ อ งของการ ท�ำให้เกิดการเรียนรู้แนวทางการพึ่งพาตนเอง เพิ่มรายได้ ลด บริ ห ารจั ด การด้ า นการเงิ น และปั ญ หาหนี้ สิ น แผนงานครั ว รายจ่าย และต่อยอดไปถึงการพัฒนาอาชีพต่อไป ปั ญ หาขยะเป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ของชุ ม ชนเมื อ ง ต� ำ บล เรือนพอเพียงอาสาเพื่อการพึ่งพาตนเองจึงมุ่งเน้นการให้ความ รู้ความเข้าใจ เพื่อให้สมาชิกเห็นความส�ำคัญของการท�ำบัญชี บางหั ว เสื อ ก็ มี ลั ก ษณะเป็ น ชุ ม ชนเมื อ งที่ มี ก ารอยู ่ อ าศั ย ของ ครัวเรือน ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหาสะสมทาง ผู้คนจ�ำนวนมาก รวมทั้งยังเป็นที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรม มากมาย ท�ำให้เกิดปัญหาเรื่องขยะอันส่งผลกระทบต่อสภาพ ด้านการเงินได้ กิ จ กรรมจะเน้ น ให้ เ กิ ด การพู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นผลลั พ ธ์ แวดล้อมตามมา การท� ำ บั ญ ชี ค รั ว เรื อ นโดยให้ ก ลุ ่ ม ครั ว เรื อ นพอเพี ย งอาสาน� ำ สมุดบัญชีครัวเรือนมาส่ง แล้วเข้ารับการอบรมโดยวิทยากร จากส�ำนักตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ สลับกับ เจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบลที่เป็นครูบัญชีน�ำร่องให้กับต�ำบล ต่อ มายกระดั บ เป็ น ครู บั ญ ชี ร ะดั บ จั ง หวั ด แล้ ว สร้ า งเครื อ ข่ า ยครู บัญชีภายในต�ำบลให้เกิดการช่วยเหลือ เกื้อกูลความรู้ทางบัญชี กันเอง นอกจากนี้ยังปรับเวทีการเรียนให้เป็นลักษณะของการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้ ความคิดเห็น เพื่อไม่ให้การ ท�ำบัญชีครัวเรือนเป็นเรื่องที่น่าเบื่อหน่าย และท�ำให้สมาชิกเปิด รับข้อมูลหรือค�ำแนะน�ำมากขึ้น การท� ำ บั ญ ชี ใ ห้ เ ป็ น การเรี ย นรู ้ ท� ำ ใน 2 ลั ก ษณะคื อ เรียนรู้เพื่อปรับวิธีคิดเปลี่ยนพฤติกรรม และเรียนรู้ในเชิงตรรกะ ทางบั ญ ชี โดยมี ก ารติ ด ตามท� ำ บั ญ ชี ค รั ว เรื อ นที่ ส อดแทรก สถานการณ์การขับเคลื่อนงานโครงการฯ เพื่อกระตุ้นให้เกิด การมีส่วนร่วมอีกด้วย และเป็นการวางรากฐานผู้น�ำชุมชนใน อนาคต 55 issue 90 JuLY 2015


56 IS AM ARE www.ariyaplus.com


คณะกรรมการโครงการฯ จัดท�ำแผนงานเรื่องทรัพยากร การดูแลรักษ์คูคลองส�ำรวจพรรณพืชและสัตว์ โดยต้องการขยาย งานให้ ทั้งในเรื่องคน ความรู้ และงบประมาณ ต่อมาแผนงาน จึ ง ยุ บ รวมเข้ า มาเป็ น แผนพั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ มต� ำ บลโดยระดม ความคิดจนได้ค�ำตอบว่าการจัดการขยะ ต้องเริ่มตั้งแต่บ้าน ชุมชนและระดับต�ำบล เป็นที่มาของแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อม ต�ำบลเรื่องการจัดการขยะ กระบวนการขั บ เคลื่ อ นเริ่ ม จากส่ ง แกนน� ำ จากกลุ ่ ม ครัวเรือนพอเพียงอาสาไปศึกษาดูงานบริษัทวงษ์พาณิชย์ จังหวัด พิษณุโลกและศึกษาดูงานขยะแห้งแลกไข่ที่คลองเคย กรุงเทพฯ จากนั้นกลับมาท�ำเวทีสัญจร เรื่องการคัดแยกขยะในครัวเรือน ต่อมามีการจัดท�ำวัฒนธรรมต�ำบล เรื่อง “การทอดผ้าป่าขยะ สามัคคี ท�ำความดีถวายในหลวง” ปีละ 2 ครั้งใน 2 วัดของ ต�ำบลและประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี จากนั้นต่อยอดแนวคิด ไปเป็นทุนหมุนเวียนให้กลุ่ม โดยตั้งธนาคารขยะชุมชนในต�ำบล ประสานความร่วมมือกับกลุ่มขยะแห้งแลกไข่คลองเตยเข้าเป็น

สมาชิกเครือข่ายได้ไข่ไก่เดือนละ 1,500 ฟอง ถือเป็นกิจกรรม หนุนเสริมให้เกิดการจัดการขยะในครัวเรือน รวมทั้งสร้างกระแส ด้วยการประชาสัมพันธ์ที่มีรูปแบบหลากหลาย ท�ำให้ได้รับความ ร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดีจนได้รับการยกย่องให้เป็นต�ำบล น�ำร่องเรื่องการจัดการขยะชุมชนที่ทางเทศบาลจะน�ำไปขยาย ผลต่อไป

57 issue 90 JuLY 2015


ปี ชวด

การงาน พลังงานในผังดวงชะตาของคุณในเดือนนี้ค่อนข้างรุนแรง ทางที่ดีจึงควรรอบคอบมากขึ้น ระวังทุกย่างก้าว ให้ดีและคอยตรวจดูซ�้ำเพื่อกันความผิดพลาดเพราะความประมาท ในสภาพแวดล้อมในที่ท�ำงานซึ่งมีการแข่งขัน สูง ควรระวังเรื่องการแก่งแย่งชิงดี คุณไม่ควรเล่นตามเกม แต่ควรระวังหลังให้ดี ธุรกิจ เดือนนี้ให้ระวังเป็นพิเศษ ติดตามข่าวสารและการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ต่างๆ เรื่องการตัดสินใจ ควรประวิงเวลาไว้ คุณ จะได้เลือกทางที่เหมาะสม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและค�ำแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญ คุณต้องดูภาพรวมทั้งหมด เวลานี้ไม่ควรเชื่อ แต่ความรู้สึกของคุณอย่างเดียว ความรัก ความเข้าใจผิดเกิดขึ้นได้ง่ายในเดือนนี้ ท�ำให้ความสัมพันธ์ของคุณหม่นหมอง ยิ่งหากเป็นคู่แต่งงานหรือคู่รัก ต้องพยายาม ให้ก�ำลังใจกันมากขึ้น แทนที่จะจ้องจับผิด จงพร้อมที่จะเป็นฝ่ายยอม ส�ำหรับคนโสด ตอนนี้ไม่ใช่เวลาดีส�ำหรับการเริ่มต้นใหม่ การศึกษา อาจพบกับความเครียดบางอย่างในเดือนนี้ หากคุณพบว่าการเรียนด้านใดที่เป็นปัญหา อย่ามัวนิ่งเงียบจนความเครียด สั่งสม คุณต้องคุยกับใครบางคน คุณมีความสามารถที่จะท�ำได้ดี แต่คุณก็ได้รับผลดีจากความช่วยเหลือภายนอก จึงไม่ควรท�ำ ทุกอย่างด้วยตัวคนเดียว

ปี ฉลู

การงาน เดือนนี้เป็นเดือนที่ไม่สงบเลยเลย เมื่อคุณเข้าไปมีเรื่องราวทะเลาะเบาะแว้งกับเพื่อนร่วมงานอยู่บ่อยครั้ง การโต้เถียงเกิดขึ้นได้แม้ไม่ใช่เรื่องที่ส�ำคัญ ทั้งยังสร้างศัตรูที่ร้ายกาจขึ้นมา ควบคุมอารมณ์ของคุณให้ดี หากคุณ บันดาลโทสะออกไป ก็ควรขอโทษอย่างจริงใจ สิ่งต่างๆ จะดีขึ้นในเดือนหน้า ตอนนี้อย่าสร้างศัตรูใหม่ ธุรกิจ โชคของคุณไม่ดีนักในเดือนนี้ ให้ระวังเมื่อท�ำข้อตกลงใหม่ ควรรักษาสภาพที่เป็นอยู่ไปก่อนในตอนนี้ การลงนามในข้อตกลง ใหม่อาจน�ำไปสู่ความระหองระแหงกันในภายหลัง คุณเสี่ยงที่จะมีปัญหาทางกฎหมายเพราะหุ้นส่วนหรือเพื่อนร่วมงาน ต้องควบคุม อารมณ์ มิฉะนั้นคุณอาจสูญเสียมากกว่าที่คิด ความรัก คุณไม่ได้อยู่ในช่วงที่อารมณ์ดีนัก คุณจึงหมดความอดทนกับคนใกล้ชิดได้ ระวังอย่าท�ำอะไรเลยเถิด มิฉะนั้นคนที่คุณโกรธ อาจเดินจากไป คุณต้องเรียนรู้ที่จะเปิดใจคุยกับคนรักของคุณบ้าง คนโสดควรพักเรื่องการตามหาเพื่อใจไว้ก่อน ใช้เวลาหางานอดิเรก ใหม่หรือเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ แทนดีกว่า ความปลอดภัย คุณมีค�ำถามมากมาย แต่คุณจะหาค�ำตอบได้ง่ายมากขึ้นหากคุณใช้เวลารับฟังให้มากพอๆ กับเวลาที่คุณเตรียมโต้ตอบ สมองของคุณตื่นตัวและแหลมคม แต่ควรตัดทัศนะคติด้านลบและแทนที่ด้วยความต้องการที่อยากเรียนรู้อย่างแท้จริง

ปี ขาล

การงาน เป็นเดือนที่ค่อนข้างตึงเครียด เมื่อพบว่าตัวเองมีปากเสียงกับคนที่ร่วมงานด้วยบ่อยๆ ความขัดแย้งเกิดขึ้น ด้วยเรื่องเล็กน้อย แต่การผิดใจกันอาจท�ำให้คุณมีศัตรูที่ร้ายกาจ สิ่งส�ำคัญคือคุณต้องควบคุมอารมณ์ให้ได้ ไม่ควร สร้างความรู้สึกไม่ดีขึ้นมา สิ่งต่างๆ จะดีขึ้นในเดือนหน้าแน่นอน ธุรกิจ เป็นช่วงเวลาแห่งการทดสอบ ดูเหมือนความพากเพียรอย่างหนักกลายเป็นเรื่องสูญเปล่า แต่บางครั้งบางสิ่งต้องพังทลายเพื่อ ให้สิ่งต่างๆ เข้าที่เข้าทาง ควรเลื่อนการลงนามหรือสิ่งใดที่เป็นทางการออกไปก่อน ยังมีแสงสว่างรอคุณอยู่ปลายทางหากคุณมองโลก ในแง่ดีไว้ตลอด ความรัก เป็นเดือนแห่งการทะเลาะเบาะแว้ง เมื่อคุณมีปากเสียงกับคนรักโดยไม่มีสาเหตุ ระวังค�ำพูดอย่าให้การโต้เถียงบานปลาย มิฉะนั้นความสัมพันธ์ของคุณจะย�่ำแย่ลงเรื่อยๆ หากมีเรื่องใดรบกวนใจคุณอยู่ ควรพูดจาดีๆ หากปล่อยให้ความขุ่นเคืองหมักหมมใจ อาจมีเรื่องระเบิดออกมา คนโสดไม่ใช่เวลาที่ดีส�ำหรับการมองหาความรัก

58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


wheel of life

ปี เถาะ

การงาน การงานอาจเครียดในเดือนนี้ เพราะพลังแห่งความเป็นศัตรูที่อยู่รอบตัวคุณ เพื่อนร่วมงานอาจท�ำให้คุณ เสียใจ ไม่ว่าจะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ระวังการรอบกัดลับหลัง และอย่ายอมตกเป็นเหยื่อของการชิงดีชิงเด่นใน องค์กร คุณจ�ำเป็นต้องขยันมากขึ้นเป็นพิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงผู้ที่เข้ามาท้าทายในที่ท�ำงาน ธุรกิจ ให้ก้าวอย่างระวังในเดือนนี้ ยิ่งหากคุณก�ำลังเริ่มต้นท�ำสิ่งใหม่ ทางที่ดีควรท�ำงานกับคนที่รู้จักอยู่แล้ว ควรมั่นใจในการพูดคุย สื่อสารกับผู้ร่วมงานอย่างชัดเจนเพื่อป้องกันปัญหาทางกฎหมาย ควรปล่อยให้ผู้จัดการของคุณตัดสินใจเรื่องยากๆ แทนคุณ คุณไม่ได้ อยู่ในช่วงที่โชคดีที่สุด ควรแน่ใจว่าการตัดสินใจทุกอย่างได้รับการตรวจสอบจากคนที่คุณเชื่อถือมาอย่างดีแล้ว ความรัก ความสัมพันธ์ไม่ค่อยราบรื่นกลมเกลียวกันเหมือนเคย จงพร้อมเผชิญกับทุกอย่างและพยายามอดทนให้มากขึ้น ด้วยสภาพ อารมณ์ของคุณตอนนี้ คุณอาจรู้สึกเจ็บปวดได้ง่าย ผู้ที่เริ่มต้นความสัมพันธ์อาจพบว่ายากที่จะพัฒนาความผูกพันให้ลึกซึ้ง อย่าเดิน เร็วเกินไป อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด การศึกษา จงเลือกเพื่อนที่คุณจะใช้เวลาด้วยอย่างระวัง ตอนนี้เป็นเวลาเสี่ยงต่อการตกอยู่ใต้อิทธพลที่ไม่ดี จงเข้มแข็งไว้และชัดเจน ในสิ่งที่คุณเชื่อ อย่ายอมให้ใครมาชักจูงให้คุณท�ำสิ่งที่คุณเองก็รู้ว่าผิด

ปี มะโรง

การงาน งานของคุณก�ำลังไปได้สวย เดือนนี้คุณก้าวหน้าได้อย่างมากในด้านอาชีพ เส้นทางชัดเจนสามารถมองเห็น อนาคตได้ คุณมีความสามารถที่จะเข้าตาผู้ที่มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ ซึ่งท�ำให้คุณปีนลัดขึ้นไปบนบันไดอาชีพได้อย่าง รวดเร็ว การชิงดีชิงเด่นในที่ท�ำงานเป็นหอกข้างแคร่ คุณควรรอบคอบกับทุกความสัมพันธ์ ธุรกิจ โอกาสใหญ่ในเดือนนี้ คุณจะสามารถเสี่ยงได้ คุณควรจับตาดูไว้ และไม่จ�ำเป็นต้องระวังมากเกินไปหากมีสิ่งที่น่าสนใจเข้ามา งานโครงการจะพบว่าความสัมพันธ์ของคุณได้ผลดี จงตักตวงกระแสแห่งความมั่งคั่งที่พัดผ่านเข้ามา ตอนนี้คือเวลาที่คุณมั่นใจได้ใน การลงทุนและขยายธุรกิจ ความรัก โชคด้านความรักก็ดีเยี่ยมไม่แพ้ด้านอื่นในเดือนนี้ แต่เพราะชีวิตคุณตอนนี้ดูเหมือนจะแน่นขนัด คุณจึงอาจพบว่าตัวเองเป็น ฝ่ายถูกไล่ตามแทนที่จะเป็นฝ่ายไล่ตามเสียเอง คนโสดจะพบคู่ได้ไม่ยาก แต่ไม่จ�ำเป็นต้องบังคับตัวเองให้มีความสัมพันธ์ ท�ำตามเสียง หัวใจของคุณในเรื่องความรัก หากไม่แน่ใจก็ควรรออีกสักพัก

ปี มะเส็ง

การงาน เดือนนี้สุดวิเศษในด้านอาชีพการงาน คุณได้รับโอกาสให้ท�ำในสิ่งที่คุณช�ำนาญ คุณจึงทั้งสนุกกับงาน ทั้ง ความสามารถและพรสวรรค์ของคุณยังเป็นที่ประจักษ์และได้รับรางวัล มีโอกาสที่คุณจะได้เลื่อนต�ำแหน่ง จงทุ่มเท ความพยายามเพื่อให้ได้มา คนปีมะเส็งสามารถเพียรพยายามได้อย่างที่สุด ธุรกิจ โอกาสมากมายผ่านเข้ามา และทั้งหมดก็ดูดีมากเสียด้วย จงใช้เวลาเลือกสิ่งที่เข้ามาเพราะคุณไม่สามารถเลือกได้ทุกอย่าง หากมี ทีมงานที่ดีอยู่แล้ว ควรเริ่มมอบหมายความรับผิดชอบให้ลูกน้องของคุณมากขึ้น ตอนนี้เป็นเวลาที่คุณเสี่ยงได้หากจะทดลองท�ำสิ่งใหม่ ไม่ว่าคุณจะจับอะไรก็เป็นทองไปหมด ควรตักตวงจากช่วงเวลานี้ ความรัก เดือนนี้คนปีมะเส็งจะปฎิบัติต่อความรักด้วยเหตุผลมากขึ้น ประเมินความสัมพันธ์ของคุณอย่างพินิจพิเคราะห์ยิ่งขึ้น โดยคิดถึง อนาคตหากคู่รักของคุณไม่ใช่คนที่รู้สึกว่าร่วมชีวิตกันได้ ตอนนี้เป็นเวลาที่คุณอาจจะบอกเลิกและไปตามทางของตัวเอง หากคุณยังอยู่ กับคู่ของคุณ ควรจะคิดไปถึงการลงหลักปักฐานอย่างเหมาะสม

59 issue 90 july 2015


ปี มะเมีย

การงาน ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะกระชับมิตรภาพให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นกับผู้คนที่คุณร่วมงานด้วย มีโอกาสที่คุณจะได้ ท�ำความรู้จักกันให้ดียิ่งขึ้น ทั้งอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่เป็นพิษภัยเลย เมื่อคุณเป็นเพื่อนกันนอกที่ท�ำงานแล้ว ก็ยากที่ จะท�ำร้ายกันลงในที่ท�ำงาน และนี่ก็จะช่วยลดความอิจฉาและความเป็นศัตรูกันในที่ท�ำงานได้ ธุรกิจ เป็นเวลาที่น่ารื่นรมย์ โอกาสใหม่ๆ ที่น่าตื่นเต้นรอให้คุณไข่วคว้า และมีความเป็นไปได้สูงที่จะส�ำเร็จ คุณมีไพ่ที่เหนือกว่าในการ เจรจาต่อรอง แต่เมื่อต้องท�ำสัญญากัน ต้องแน่ใจว่าทุกฝ่ายมีโอกาสได้รับผลดี การสร้างชื่อเสียงที่ดีส�ำคัญกว่าผลประโยชน์ที่คุณจะได้ รับ ค่อยๆ สร้างตัวเองไปทีละขั้น ไม่ควรคาดหวังในชั่วข้ามคืน ความรัก ความรักร้อนแรงแต่แฝงภัยเร้นอยู่ด้วย คนโสดมีโอกาสมากที่จะพบคู่ แต่อย่าพาตัวเองเข้าไปพัวพันในสถานการณ์ที่คุณรับมือ ไม่ไหว มีความเสี่ยงที่คุณจะตกหลุมรักจนขาดสติ อยู่ให้ห่างจากคนที่แต่งงานแล้ว โดยเฉพาะคนที่แต่งงานกับเพื่อนของคุณ คนที่มีความ สัมพันธ์มั่นคงแล้วก็เสี่ยงกับเรื่องอื้อฉาวในเดือนนี้

ปี มะแม

การงาน เป้าหมายด้านการงานของคุณตรงกับเป้าหมายของผู้อื่น แทนที่จะท�ำงานให้แซงหน้าเพื่อนร่วมงาน คุณจึงอาจ พบว่าตัวเองอยู่ในสถานการณ์ที่พลังทีมคือทุกสิ่ง ซึ่งช่วยก�ำจัดความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ คุณจึงสามารถท�ำงานได้ สุดความสามารถ จงพร้อมที่จะสานสร้างมิตรภาพที่แข็งแกร่งในที่ท�ำงาน มิตรไมตรีคือสิ่งส�ำคัญ ธุรกิจ นักธุรกิจปีมะแมจะได้รับข้อเสนอด้านความช่วยเหลือจากหลายแห่ง มีพลังที่มองไม่เห็นจากเบื้องบนคอยช่วยเหลือคุณ ทุกอย่าง ที่คุณท�ำจึงได้ผลดีอย่างแสนจะง่ายดาย บริหารจัดการลูกน้องและผู้จัดการของคุณ ให้ทั้งค�ำชมและก�ำลังใจ จงพร้อมที่จะเดินหน้าเข้า สู่พื้นที่ใหม่ๆ ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีส�ำหรับท�ำสัญญาและขยายเครือข่ายของคุณ ความรัก ความรักจะปรากฎให้คุณได้พบเจอในชีวิต หากคุณเป็นคนโรแมนติกคุณจะได้พบช่วงเวลาหวานซึ้งให้ดื่มด�่ำ คนโสดจะพบ โอกาสทองหากพยายาม คุณอาจต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญแทนที่จะยอมแลกสิ่งหนึ่งสิ่งใด ควรเรียนรู้ที่จะหาจุดพอดีระหว่างงานและ ชีวิตส่วนตัว คนที่ก�ำลังหาคู่ไม่ควรเมินความพยายามของแม่สื่อที่หวังดี การศึกษา คุณจะได้รับผลดีจากค�ำแนะน�ำจากผู้ที่อาวุโสกว่าในเดือนนี้ อย่าลังเลที่จะขอความช่วยเหลือหากต้องการ คุณอาจถูกมอบ หมายให้รับผิดชอบมากขึ้น นี่คือโอกาสดีที่คุณจะแสดงให้เห็นว่าคุณน่าเชื่อถือ แสดงความเป็นผู้น�ำของคุณออกมา

ปี วอก

การงาน ผลงานที่คุณท�ำเจ้านายจะยกย่องการรับฟังของคุณ ความใส่ใจ ความซื่อสัตย์ของคุณพอๆ กับรายงานและ การน�ำเสนอผลงานที่คุณท�ำได้ คุณอาจพบว่าเวลาส่วนใหญ่ของคุณเล่นเป็นบทคนสนิทและผู้ที่คอยรับฟังเจ้านาย และนี่คือวิธีที่ดีที่สุดที่ช่วยให้คุณได้ใกล้ชินคนที่สามารถเร่งให้คุณได้เลื่อนต�ำแหน่งได้ สิ่งส�ำคัญคือต้องรู้ว่าอะไรคือเรื่องส�ำคัญส�ำหรับคุณ ธุรกิจ ความส�ำเร็จในเดือนนี้ได้มาจากความช่วยเหลือของผู้อื่น แม้ว่าคุณจะอยากท�ำทุกสิ่งให้ส�ำเร็จด้วยตัวเอง แต่ด้วยความฉลาดของ คุณ คุณจะรู้ว่าโลกไม่ได้เป็นอย่างใจต้องการ คุณไม่อยากติดหนี้บุญคุณใคร ดังนั้นแม้ว่าคุณจะรับความช่วยเหลือ แต่คุณก็วางแผนที่ จะตอบแทนสิ่งที่คุณได้รับกลับคืนไป ความรัก คนที่แต่งงานแล้ว คนที่คุณสามารถพูดคุยได้น่าจะเป็นคู่ของคุณ มิฉะนั้น พวกคุณบางคนอาจเริ่มตั้งค�ำถามอย่างจริงจังเกี่ยว กับชีวิตสมรสที่คุณไม่ใส่ใจมาตลอด คุณอาจอดใจไม่ไหวที่จะตอบรับข้อเสนอจากคนนอก บางทีถ่านไฟเก่าอาจกลับเข้ามาในชีวิต จึงไม่ ควรหลงระเริงแก่อ�ำนาจของการนอกใจ การศึกษา เด็กจะได้รับผลดีจากค�ำแนะน�ำของผู้สูงวัยและฉลาดกว่าในเดือนนี้ อย่าลังเลที่จะขอความช่วยเหลือหากจ�ำเป็น คุณอาจได้ รับมอบหมายต�ำแหน่งที่มีความรับผิดชอบ เป็นโอกาสดีที่จะแสดงถึงความน่าเชื่อถือของคุณเอง 60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


wheel of life

ปี ระกา

การงาน ผู้ที่ท�ำงานอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความเครียดอาจพบว่าเดือนนี้เป็นช่วงที่เหน็ดเหนื่อย แม้ว่าโดยนิสัย แล้วคนปีระกาจะเป็นคนขยัน แต่ก็ไม่ควรฝืนตัวเองจนหมดเรี่ยวแรง ทั้งที่ร่างกายของคุณไม่พร้อม ดูแลสุขภาพให้ ดี มิฉะนั้นคุณอาจผิดพลาดจนเกิดปัญหาได้ อย่ารอให้ร่างกายท�ำต่อไม่ไหว แล้วจึงหันมารับผิดชอบร่างกายตัวเอง ธุรกิจ ระวังอย่ารับผิดชอบงานมากเกินไปในเดือนนี้ ยังไม่ใช่เวลาดีส�ำหรับการเริ่มสิ่งใหม่หรือใช้กลยุทธ์ที่ยังไม่ได้รับการทดสอบ พลัง ความคิดของคุณไม่อาจท�ำงานในระดับที่ดีที่สุดได้ ควรยึดกับสิ่งที่คุ้นเคยไปก่อน อาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่นบ้าง ให้พวกเขาได้แบ่ง เบาภาระของคุณ ตอนนี้เป็นเวลาเที่ยวเพื่อให้ร่างกายและจิตใจได้พักผ่อน ความรัก ชีวิตส่วนตัวของคุณจะกลมเกลียวและเป็นสุขในเดือนนี้ คุณจะรู้สึกเป็นมิตรและผ่อนคลายขึ้น ท�ำให้คุณเป็นคนที่น่าอยู่ใกล้ แม้ว่าระดับพลังงานของคุณจะต�่ำ แต่คุณก็ไม่ใช่คนที่อยากนอนจับเจ่าไร้เพื่อนอยู่บ้าน คนก�ำลังมองหารัก ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะฟูมฟัก ความสัมพันธ์ใหม่ สานสัมพันธ์ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

ปี จอ

การงาน หากคุณมีความทะเยอทะยานสูงที่จะก้าวขึ้นไปบนเส้นทางอาชีพ ตอนนี้คือเวลาที่คุณควรไขว่คว้าความฝัน อันสูงส่งของคุณ แต่การไปให้ถึงอาจจ�ำเป็ฯต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองครั้งใหญ่ เช่น เดินทางมากขึ้น รับงานมากขึ้น หรือย้ายที่อยู่ไปเมืองอื่น เตรียมตัวรับสถานการณ์ใหม่ที่มาพร้อมกับการเลื่อนต�ำแหน่ง ควรตัดสินใจอย่างรอบคอบก่อนที่จะตกลงใจ ธุรกิจ คนท�ำธุรกิจสามารถคาดหวังที่จะพบเดือนที่ดีได้ ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะเลื่อนฐานะและสร้างความแตกต่างให้ตัวคุณ คุณมีโชค ด้านผู้น�ำที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงควรใช้ให้เป็นประโยชน์กระตุ้นทีมงานให้ฮึกเหิม พยายามกับเรื่องการจัดการ แล้วคุณจะเห็นผลการ ท�ำงานที่ดีขึ้น ตั้งเป้าหมายให้ชัดเจน อย่าท�ำงานโดยไร้จุดหมาย ความรัก คุณก�ำลังรู้สึกมีชีวิตชีวาและอยากเข้าสังคม ส�ำหรับคนปีจอบางคนตอนนี้อาจเป็นจุดเปลี่ยนของชีวิตคุณ คนโสดอาจได้พบ กับการผจญภัยครั้งใหม่พร้อมกับคนที่มีความคิดคล้ายกัน ความสัมพันธ์ที่ขาดสีสันเกินไปจุดจบก�ำลังใกล้เข้ามา แต่ไม่ใช่การจบแบบ ขมขื่น นี่คือการเริ่มต้นบทใหม่ในชีวิตของคุณ การศึกษา เป็นเดือนที่ดีมาก ท�ำให้ตอนนี้เป็นเวลาที่ดีมาก ผู้ที่ก�ำลังสอบชิงทุน มีสอบ หรือต้องรายงานในชั้นเรียน คุณยังรู้สึก กระชุ่มกระชวยกว่าที่เคย คุณจึงสามารถท�ำอะไรได้มากขึ้น ลองเรียนรู้อะไรใหม่ๆ ลองเล่นเพลงใหม่ เครื่องดนตรีชิ้นใหม่ หรือกีฬาใหม่

ปี กุน

การงาน มีโอกาสสูงบนเส้นทางอาชีพเดือนนี้ บางคนอาจต้องเปลี่ยนวิถีชีวิต เช่น โยกย้าย เปลี่ยนเวลางาน เปลี่ยน เส้นทางไปท�ำงาน หรือต้องเดินทางมากขึ้น แต่ทั้งหมดนี้มาพร้อมกับการเลื่อนขั้นครั้งยิ่งใหญ่หรือโอกาสที่ดีกว่าใน อนาคต ซึ่งยากที่คุณจะปฏิเสธได้ จงคิดให้รอบคอบ การตัดสินใจเกี่ยวพันกับครอบครัวคุณด้วย ธุรกิจ คุณมีโชคแห่งชัยชนะรออยู่ในมือ ดังนั้นคนที่ต้องแข่งขันในวงการธุรกิจจะได้รับผลดี นี่คือเวลาสร้างความแตกต่างในธุรกิจ ทุ่มเท ความพยายามให้กับการจัดการ แล้วคุณจะเห็นผลผลิตเพิ่มขึ้น ตั้งเป้าหมายให้แน่นอนเพื่อให้คุณมุ่งมั่นและมีวินัยมากขึ้น คุณจะประสบ ความส�ำเร็จมากมายในเดือนนี้ กล้าคิดใหญ่เข้าไว้ ความรัก โชคด้านความรักดีมาก หากคุณก�ำลังมองหาความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน มีโอกาสสูงที่จะพบคนที่ใช่ในเดือนนี้ อย่าพอใจกับคนที่ไม่ ถึงมาตรฐานของคุณ หากคุณเพิ่งเป็นอิสระจากความสัมพันธ์เก่า ก็อย่าเพิ่งรีบเข้าสู่ความสัมพันธ์ใหม่ในทันที ใจเย็นไว้ แล้วคนที่เป็นคู่ แท้ของคุณจะปรากฏตัวขึ้น การศึกษา มีแรงจูงใจที่เพิ่งค้นพบใหม่มากขึ้น ตอนนี้คือเวลาที่น่าตื่นเต้น เมื่อคุณมีแรงบันดาลใจและท�ำงานได้มาก คุณจะเกิดความเข้า ใจใหม่ๆ ที่ชัดเจน จงใช้สิ่งนี้ให้เกิดผลดี ด้วยการแบ่งเวลาในแต่ละวันเพื่อหาความรู้ใหม่ๆ และฝึกฝนทักษะของคุณให้ดีย่ิงขึ้น 61 issue 90 july 2015


ความพอเพียงกับชี วิต ฉั น เป็ น แค่ เ ด็ ก ผู ้ ห ญิ ง อายุ 17 ปี ค นหนึ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด มาใน ครอบครั ว ที่ ร วย เป็ น แค่ เ ด็ ก ธรรมดาๆ กิ น ข้ า วข้ า งทางจานละ 30 บาท ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ใส่ ตั ว ละ 100 บาท อยากได้ โ ทรศั พ ท์ ไอโฟนก็ ไ ม่ เ คยได้ อยากได้ ก ระเป๋ า แพงๆก็ ไ ม่ เ คยได้ พ่ อ กั บ แม่ บอกว่ า ไม่ ใ ช่ ว ่ า พ่ อ กั บ แม่ จ ะซื้ อ ให้ ฉั น ไม่ ไ ด้ แต่ พ วกเขาอยาก ให้ ฉั น รู ้ คุ ณ ค่ า ของเงิ น สิ่ ง พวกนี้ มั น เป็ น ของนอกกาย ไม่ ต าย ก็ ห าใหม่ ไ ด้ . ..

62 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เรื่ อ งเล่ า ...เยาวชน

แม่ เ คยเล่ า ให้ ฉั น ฟั ง ว่ า “รู ้ ไ หม ตอนที่ เ ธอยั ง ไม่ เ กิ ด พ่ อ เธอมี เ งิ น เยอะ มากเลยนะ แต่ที่เงินหมดไปก็เพราะการ พนัน พ่อเธอได้เงินจากท�ำงานมาก็เอา ไปเล่นพนัน ไปกินเลี้ยงฉลองกับเพื่อน ให้เพื่อนยืมเงินทีเป็นหมื่นเป็นแสน และ เพื่ อ นก็ ไ ม่ คื น จนทุ ก วั น นี้ พ ่ อ เธอไม่ มี อะไรเหลื อ เพื่ อ นที่ เ คยไปกิ น ไปเที่ ย ว ด้วยกันกลับหายหน้าหายตาไปหมด จน ท�ำให้พ่อเธอต้องเลิกการพนันแล้วหันมา ท�ำงานหามรุ่งหามค�่ำหาเลี้ยงครอบครัว จนเหนื่อยแบบทุกวันนี้” ... ฉันยังจ�ำได้ดี ช่วงที่ครอบครัวของเราเป็นหนี้ เป็นช่วง ที่ฉันและพี่สาวอยู่มัธยมต้น พ่อให้เงินเรา ไปโรงเรียนคนละ 10 บาท ต่อวัน ต้อง เช่าบ้านไม้หลังโรงเรียนที่แสนจะอึดอัด คับแคบและล�ำบากสุดๆ แม่บอกฉันว่า “อดทนไปก่ อ นนะลู ก ” ช่ ว งแรกๆรู ้ สึ ก เสี ย ใจมากที่ พ ่ อ กั บ แม่ ท� ำ แบบนี้ ให้ ม า

วันละ 10 บาท จะอยู่ได้อย่างไร ถ้าเพื่อน ถามจะบอกเพื่อนว่าเราเอาเงินมาวันละ 10 บาท แบบนี้เหรอ อายเขาแย่เลย... แต่ แล้วฉันก็เข้าใจว่า 10 บาทอยู่ได้จริงๆ ฉัน ห่อข้าวไปกินตอนเช้าและกลางวัน การ เดินทางก็แค่เดินกลับไปบ้านเช่าที่อยู่หลัง โรงเรียน ไม่เสียสตางค์สักบาทเลย ส่วน 10 บาทก็ คื อ ค่ า ขนมที่ ฉั น อยากจะกิ น การได้เงินมาเท่านี้มันไม่ได้ท�ำให้ชีวิตของ ฉันอดอยากแต่อย่างใด แต่ 10 บาท มัน สอนให้เรารู้ว่า จริงๆแล้วเราไม่จ�ำเป็น ต้องมีมันก็ได้ ขนมไม่ใช่สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับ ร่างกาย มีแต่ท�ำให้สุขภาพย�่ำแย่ ขนม เป็นแค่ส่ิงบ�ำเรอทางจิตใจ กินไปเพื่อให้ รู้สึกมีความสุขก็เท่านั้น ฉันเริ่มคิดได้ว่าคนที่ล�ำบากที่สุด ไม่ใช่ฉัน ไม่ใช่พี่สาว แต่คือพ่อและแม่ที่ ต้องหาเงินใช้หนี้ให้หมดเพื่อให้ครอบครัว ของเราได้สบายกว่านี้ ฉันจึงไม่เคยคิดจะ

63 issue 90 JuLY 2015

ขอค่าขนมเพิ่ม ฉันพยายามตั้งใจเรียน ใช้ เงิน 10 บาทให้คุ้มค่า บางวันก็เก็บออม เอาไว้ ถึงมันจะแค่ 10 บาท แต่เมื่อครบ เดือนก็ได้ 200 บาท แล้ว เมื่อต้องจ่าย ค่างานกลุ่มหรือค่างานต่างๆฉันก็จะน�ำ เงินส่วนนี้ไปใช้โดยไม่ต้องขอพ่อกับแม่ เลย.... ผ่านมาแล้ว 5 ปี จนปัจจุบันนี้ ครอบครัวของฉันหมดหนี้ มีคอนโดเล็กๆ อยู่เป็นของเราเอง ฉันรู้สึกภูมิใจที่อย่าง น้ อ ยตอนนั้ น ก็ ไ ด้ ช ่ ว ยพ่ อ กั บ แม่ ถึ ง จะ ไม่ได้ช่วยใช้หนี้แต่ก็ยังช่วยประหยัดได้ จนท�ำให้เรามีวันนี้ แม้จะไม่ได้มีเงินล้าน แม้จะไม่ได้อยู่บ้านหรูหรือไม่ได้กินอาหาร ในภั ต ตาคาร แต่ ฉั น ก็ เชื่ อ ว่ า ครอบครั ว ของฉั น มี ค วามสุ ข ที่ สุ ด แค่ ทุ ก คนใน ครอบครัวอยู่ข้าง ๆ กัน เข้าใจกันและกัน แค่นี้ก็เพียงพอแล้ว นางสาวนิลาวัลย์ จันทรา โรงเรียนสตรีนนทบุรี


64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ที่ ม า : คู ่ มื อ ลดพุ ง ลดโรค ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั น สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) http://www.thaihealth.or.th/

65 issue 90 JuLY 2015


66 IS AM ARE www.ariyaplus.com


67 issue 90 JuLY 2015


68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


69 issue 90 july 2015


70 IS AM ARE www.ariyaplus.com


71 issue 90 JuLY 2015


ว่าด้วยเนื้อสัตว์ ๑๐ ชนิด ที่พระสงฆ์ไม่ควรฉัน พระวิ นั ย ปิ ฎ ก มหาวรรค เล่ ม ๕ ภาค ๒ หน้ า ที่ ๙๗

เนื้ อ สั ต ว์ ช นิ ด ต่ า งๆ ดั ง ต่ อ ไปนี้ เ ป็ น ของต้ อ งห้ า มของพระสงฆ์ ต ามพระวิ นั ย ปิ ฎ ก ซึ่ ง จะเห็ น ว่ า เป็ น เนื้ อ ชนิ ด เดี ย วกั น ที่ ค นไทยหรื อ พุ ท ธศาสนิ ก ชนส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ค ่ อ ยนิ ย มรั บ ประทาน บางที อ าจเป็ น เหตุ ผ ลสื บ เนื่ อ งมาจาก สมั ย พุ ท ธกาลซึ่ ง บั ญ ญั ติ โ ดยพระพุ ท ธเจ้ า และนี่ อ าจเป็ น ค� ำ ตอบส่ ว นหนึ่ ง ส� ำ หรั บ คนไทยที่ ส งสั ย ว่ า ท� ำ ไม ชาวพุ ท ธถึ ง ไม่ นิ ย มบริ โ ภคเนื้ อ งู เนื้ อ สุ นั ข เนื้ อ เสื อ เนื้ อ ช้ า ง หรื อ แม้ แ ต่ เ นื้ อ มนุ ษ ย์ เป็ น ต้ น อย่ า งไรก็ ต าม นี่ เ ป็ น สั น นิ ษ ฐานประกอบเท่ า นั้ น ข้ อ เท็ จ จริ ง ยั ง ไม่ มี ผู ้ ใ ดให้ ข ้ อ มู ล ที่ แ น่ น อนเอาไว้ ลองไปดู กั น ว่ า พระวิ นั ย ปิ ฎ กห้ า มพระสงฆ์ ฉั น เนื้ อ สั ต ว์ ช นิ ด ใดกั น บ้ า ง 1.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ มนุ ษ ย์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรดาคนที่มีศรัทธาเลื่อมใสมีอยู่ เขาสละเนื้อของเขาถวายก็ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึง ฉันเนื้อมนุษย์ รูปใดฉันต้องอาบัติถุลลัจจัย อนึ่ง ภิกษุยังมิได้ พิจารณาไม่พึงฉันเนื้อ รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ.

ได้ฉันเนื้อช้างเล่า เพราะช้างเป็นราชพาหนะ ถ้าพระเจ้าอยู่หัว ทรงทราบคงไม่ทรงเลื่อมใสต่อพระสมณะเหล่านั้นเป็นแน่ ภิกษุ ทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ทรงบัญญัติ ห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อช้าง รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ.

2.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ ช้ า ง ก็โดยสมัยนั้นแลช้างหลวงล้มลงหลายเชือก สมัยอัตคัด อาหารประชาชนพากันบริโภคเนื้อช้าง และถวายแก่พวกภิกษุ ผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายฉันเนื้อช้าง ประชาชนจึงเพ่ง โทษ ติเตียน โพนทะนาว่าไฉนพระสมณะเชื้อสายศากยบุตรจึง

3.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ ม้ า สมั ย ต่ อ มาม้ า หลวงตายมาก สมั ย นั้ น อั ต คั ด อาหาร ประชาชนพากั น บริ โ ภคเนื้ อ ม้ า และถวายแก่ ภิ ก ษุ ผู ้ เ ที่ ย ว บิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายฉันเนื้อม้า ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่าไฉนพระสมณะเชื้อสายศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้อม้า 72

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ล�ำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะ เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุ ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้องู รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.

เล่า เพราะม้าเป็นราชพาหนะ ถ้าพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบคง ไม่ทรงเลื่อมใสต่อพระสมณะเหล่านั้นเป็นแน่ ภิกษุทั้งหลาย กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุ ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายภิกษุไม่พึงฉันเนื้อม้า รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.

7.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ เสื อ โคร่ ง สมั ย ต่ อ มา พวกพรานฆ่ า เสื อ โคร่ ง แล้ ว บริ โ ภคเนื้ อ เสือโคร่งและถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุฉัน เนื้อเสือโคร่งแล้วอยู่ในป่า เหล่าเสือโคร่งฆ่าพวกภิกษุเสียเพราะ ได้กลิ่นเนื้อเสือโคร่ง ภิกษุทั้งหลายก็กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้ มีพระภาคเจ้าฯ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุ ทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อเสือโคร่ง รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ.

4.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ สุ นั ข สมัยต่อมาถึงคราวอัตคัดอาหาร ประชาชนพากันบริโภค เนื้อสุนัขและถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลาย ฉันเนื้อสุนัข ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่าไฉน พระสมณะเชื้อสายศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้อสุนัขเล่า เพราะสุนัข เป็นสัตว์น่าเกลียด น่าชัง ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่ พระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่าดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อสุนัข รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ.

8.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ เสื อ เหลื อ ง สมั ย ต่ อ มาพวกพรานฆ่ า เสื อ เหลื อ งแล้ ว บริ โ ภคเนื้ อ เสือเหลืองและถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุ 5.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ ราชสี ห ์ สมัยต่อมาพวกพรานฆ่าราชสีห์แล้วบริโภคเนื้อราชสีห์ ฉั น เนื้ อ เสื อ เหลื อ งแล้ ว อยู ่ ใ นป่ า เหล่ า เสื อ เหลื อ งฆ่ า พวกภิ ก ษุ และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุฉันเนื้อราชสีห์ เสียเพราะได้กลิ่นเนื้อเสือเหลือง ภิกษุท้ังหลายกราบทูลเรื่อง แล้วอยู่ในป่า ฝูงราชสีห์ฆ่าพวกภิกษุเสีย เพราะได้กลิ่นเนื้อ นั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ราชสีห์ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อเสือเหลือง รูปใดฉันต้อง ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายภิกษุไม่พึง อาบัติทุกกฏ. ฉันเนื้อราชสีห์ รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ. 9.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ หมี สมัยต่อมาพวกพรานฆ่าหมีแล้วบริโภคเนื้อหมีและถวาย 6.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ งู สมั ย ต่ อ มาถึ ง คราวอั ต คั ด อาหาร ประชาชนพากั น แก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุฉันเนื้อหมีแล้วอยู่ในป่า บริโภคเนื้องู และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้ง เหล่าหมีฆ่าพวกภิกษุเสียเพราะได้กลิ่นเนื้อหมี ภิกษุทั้งหลาย หลายฉันเนื้องู ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่าไฉน กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุ พระสมณะเชื้อสายศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้องูเล่า เพราะงูเป็น ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายภิกษุไม่พึงฉันเนื้อหมี รูปใดฉัน สัตว์น่าเกลียดน่าชัง แม้พระยานาคชื่อสุปัสสะก็เข้าไปในพุทธ ต้องอาบัติทุกกฏ. ส�ำนัก ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าฯ แล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ ควร ส่วนข้างหนึ่งได้กราบทูลค�ำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า 10.พระพุ ท ธบั ญ ญั ติ ห ้ า มฉั น เนื้ อ เสื อ ดาว สมัยต่อมา พวกพรานฆ่าเสือดาวแล้วบริโภคเนื้อเสือดาว พระพุทธเจ้าข้า บรรดานาคที่ไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใสมีอยู่ มันคง เบียดเบียนพวกภิกษุจ�ำนวนน้อยบ้าง ขอประทานพระวโรกาส และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุฉันเนื้อเสือ พระพุทธเจ้าข้า ขอพระคุณเจ้าทั้งหลายโปรดกรุณาอยู่ฉันเนื้องู ดาวแล้วอยู่ในป่า เหล่าเสือดาวฆ่าพวกภิกษุเสียเพราะได้กลิ่น ล�ำดับนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงชี้แจงให้พระยานาคสุปัสสะ เนื้อเสือดาว ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค เห็นแจ้งสมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา ครั้นพระยา เจ้าฯ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ นาคสุปัสสะอันพระผู้มีพระภาคเจ้าฯ ทรงให้เห็นแจ้งสมาทาน ไม่พึงฉันเนื้อเสือดาว รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ. อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาค เจ้าฯ ท�ำประทักษิณกลับไป. 73 issue 90 JuLY 2015


let's talk

โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่

ปฏิรูปความรู้ สร้างทัศนคติ แจกที่ดินท�ำกิน สร้างอาชีพเกษตรกรอย่างยั่งยืน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กั บ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารร่ ว มมื อ กั น จั ด “โครงการสร้ า งและพั ฒ นาเกษตรกร รุ ่ น ใหม่ ” เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ค นรุ ่ น ใหม่ หั น มาสนใจภาคการเกษตรมากขึ้ น พั ฒ นาและทดแทนเกษตรกรรุ ่ น เก่ า ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี อ ายุ เ ฉลี่ ย ไม่ ต�่ ำ กว่ า 50 ปี ทั้ ง นี้ ยั ง จั ด การเรี ย นการสอนรู ป แบบใหม่ ใ นหน่ ว ยงานและสถาบั น ต่ า งๆ เช่ น ม.จุ ฬ าลงกรณ์ ม.เกษตรศาสตร์ ม.เชี ย งใหม่ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบั ง ม.แม่ โ จ้ ม.นครพนม ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) ส� ำ นั ก งานวิ จั ย และพั ฒ นา เกษตร(สวก.) รวมถึ ง สถาบั น อาชี ว ะต่ า งๆ เป็ น ต้ น เพื่ อ สร้ า งทั ศ นคติ ที่ ดี แ ละมี ค วามมั่ น ใจในอาชี พ เกษตรกร หวั ง ให้ ค นรุ ่ น ใหม่ แ ละผู ้ ที่ ส นใจเป็ น พลั ง ในภาคเกษตรที่ เ ข้ ม แข็ ง มั่ น คงต่ อ ไป นายวินัย เมฆด�ำ ผอ.กลุ่มพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่และ ยุวเกษตรกรส�ำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กล่าวว่า จากการคาดการณ์ของสถาบันประชากรศาสตร์ ใน อนาคตเกษตรกรไทยจะเหลือเพียงร้อยละ 30 ของประชากร ทั้งประเทศ หลังพบอายุเฉลี่ยของเกษตรกรปัจจุบันมากกว่า 50 ปี หมายความว่า เกษตรกรหรือชาวนาไทยส่วนใหญ่กลาย เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ แล้วก็หมดเรี่ยวแรงไปตามวัย ไม่มีแรงงานคน รุ่นใหม่ที่จะเอาความรู้มาพัฒนารับช่วงต่อ หากเป็นเช่นนี้ต่อไป ผลกระทบที่หนีไม่พ้นก็คือ ความล่มสลายของสังคมชนบทและ

สังคมไทยโดยรวม “ในขณะที่ข้อมูลจากสถาบันการศึกษาพบว่า คนรุ่นใหม่ หรือผู้สนใจเรียนด้านการเกษตรและวิชาที่เกี่ยวข้องมีน้อยลง อย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการสูญเปล่าของทรัพยากรบุคคลและ การลงทุนทางการศึกษา ยังไม่นับปัญหาผลผลิตล้นตลาดและ ราคาตกต�่ำ ซึ่งมีผลมาจากเกษตรกรขาดความรู้ในการจัดการ ด้านต่างๆ เช่น การวางแผนการผลิต การหาปัจจัยการผลิต และการจัดการด้านการตลาด เหล่านี้ท�ำให้เกษตรกรประสบ ปัญหาเรื่องรายได้ ซึ่งหลายรายต้องเปลี่ยนอาชีพ ก่อเกิดปัญหา 74

IS AM ARE www.ariyaplus.com


กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อมุ่ง ปรับปรุงกระบวนการเรียนการเกษตรในสถานศึกษาต่างๆ อย่าง ครบวงจรตั้ ง แต่ เริ่ มต้ น จนถึ ง ลงพื้ น ที่ จ ริ ง ในการสร้า งผลผลิต ตลอดจนการขายผลผลิตสู่ท้องตลาด สร้างอาชีพที่ยั่งยืนต่อไป สามารถเรียนออกมาแล้วท�ำจริงได้ ทั้งยังมีที่ดินสนับสนุนจาก ส.ป.ก.ให้คนละไม่เกิน 5 ไร่ ส�ำหรับผู้ที่สนใจและเข้าร่วมตาม เงื่อนไขของโครงการฯ สรุปคือ เมื่อเรียนด้านการเกษตรจบออก มาแล้ว ต้องมีอาชีพรองรับอย่างมั่นใจ โดยมีรายได้ไม่ต่�ำกว่า ปริญญาตรีแน่นอน” ผอ.กลุ่มพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ฯ กล่าว 3 หลั ก สู ต ร สร้ า งและพั ฒ นาเกษตรกรรุ ่ น ใหม่ ปั จ จุ บั น โครงการฯ ได้ พั ฒ นาหลั ก สู ต รการเรี ย นการ สอนและฝึกอบรมขยายไปตามมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วทุกภาค โดยมีครูในวิทยาลัยเกษตรฯ เป็นผู้คอยให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ ร่วมโครงการ ทั้งยังขยายหลักสูตรอบรมเฉพาะ เสาร์-อาทิตย์ เพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจแต่ยังต้องท�ำงานประจ�ำอยู่ และ ผู้ว่างงานหรือต้องการจะเปลี่ยนอาชีพก็สามารถติดต่อเข้าร่วม โครงการได้ทันที โดยมี 3 หลักสูตรดังนี้

ที่ ผ ่ า นมา เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ ท� ำ การเกษตร ด้ ว ยความรู ้ ที่ ถู ก ต้ อ ง แต่ ท� ำ ตามความเชื่ อ ตามกั น มา ท� ำ ต่ อ จากพ่ อ แม่ ในอนาคตสั ง คมการเกษตรจะเป็ น สั ง คมผู ้ สู ง อายุ ห ากไม่ เ ร่ ง เติ ม คนรุ ่ น ใหม่ ล งไป นี่ จึ ง เป็ น เหตุ ผ ลในการร่ ว มมื อ กั น ของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กั บ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ทางสังคมตามมา เช่น เกษตรกรทิ้งที่ดินท�ำกินเพื่อเข้ามาหางาน ในเมือง ครอบครัวต้องแยกกันอยู่ เกิดปัญหาหนี้สินตามมา” นอกจากผู ้ เรี ย นเกี่ ย วกั บ การเกษตรจะน้ อ ยลงทุ ก ที แล้ว ผู้ที่เรียนจบทางด้านการเกษตรกลับไม่สนใจใช้ความรู้ไป พัฒนาที่ดินหรือท้องถิ่นของตนเอง มุ่งสู่ภาคบริษัทเอกชนเสีย ส่วนใหญ่ ด้วยเหตุผลด้านตัวเงินที่สูงกว่า งานวิจัยของส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พบเหตุผลที่คนรุ่นใหม่ไม่สนใจ ภาคการเกษตร 3 ข้อหลักคือ 1.ทัศนคติ กล่าวคือ คนรุ่นใหม่มองว่าอาชีพเกษตรกรไม่ สร้างความร�่ำรวย เป็นอาชีพที่เหนื่อยและไม่มีหน้าตาในสังคม 2.ความรู้ คนรุ่นใหม่ที่เรียนจบทางด้านการเกษตรแล้ว แต่ไม่สามารถเริ่มต้นอาชีพเกษตรกรได้ เพราะขาดความมั่นใจ การเรียนเกี่ยวกับการเกษตรที่ผ่านมาเป็นการเรียนเพื่อไปเรียน ต่อในระดับปริญญาในเชิงนักวิชาการ ไม่ได้เป็นกระบวนการ เรียนเพื่อออกไปท�ำงานในพื้นที่จริง 3.ทรัพยากร หมายถึงปัจจัยเริ่มต้นในการท�ำการเกษตร (ทุน+ที่ดิน) เพราะผู้ที่เรียนเกษตรส่วนใหญ่เป็นลูกหลานชาวนา ที่มีฐานะยากจน เมื่อจบแล้วก็ขาดทุนในการเริ่มต้น “ที่ผ่านมา เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้ท�ำการเกษตรด้วย ความรู้ที่ถูกต้อง แต่ท�ำตามความเชื่อตามกันมา ท�ำต่อจากพ่อ แม่ ในอนาคตสังคมการเกษตรจะเป็นสังคมผู้สูงอายุหากไม่ เร่งเติมคนรุ่นใหม่ลงไป นี่จึงเป็นเหตุผลในการร่วมมือกันของ 75

issue 90 JuLY 2015


ในขณะที่ ข ้ อ มู ล จากสถาบั น การศึ ก ษาพบว่ า คนรุ ่ น ใหม่ ห รื อ ผู ้ ส นใจ เรี ย นด้ า นการเกษตรและวิ ช าที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี น ้ อ ยลงอย่ า งเห็ น ได้ ชั ด จนเกิ ด การสู ญ เปล่ า ของทรั พ ยากรบุ ค คลและการลงทุ น ทางการ ศึ ก ษา ยั ง ไม่ นั บ ปั ญ หาผลผลิ ต ล้ น ตลาดและราคาตกต�่ ำ ซึ่ ง มี ผ ล มาจากเกษตรกรขาดความรู ้ ใ นการจั ด การด้ า นต่ า งๆ

76 IS AM ARE www.ariyaplus.com


1.หลักสูตรการพัฒนาเกษตรมือ อาชีพรุ่นใหม่ (ปวช./ปวส.และปริญญา ตรี) คือรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรที่มีอยู่เดิมในประเภทวิชา เกษตรกรรม และประเภทวิชาประมงหรือ สาขาที่เกี่ยวข้องของสถาบัน เช่น สาขา วิชาพืชศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ สาขาวิชาประมง เป็ น ต้ น โดยปรั บ เปลี่ ย นกระบวนการ เรียนการสอนใหม่เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี เกิดความเชื่อมั่นและมีศักยภาพเพียงพอ ในการเข้ า สู ่ อ าชี พ เกษตรกรรม โดย นักศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสามารถ

ได้รับสิทธิเข้าสู่กระบวนการจัดที่ดินของ ส.ป.ก. ตามโครงการสร้ า งและพั ฒ นา เกษตรกรรุ่นใหม่ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาและบุตรหลานเกษตรกรหรือยุว เกษตรกรที่สมัครเข้าเรียนในสถาบันการ ศึกษาที่ก�ำหนด ปัจจุบันมีผู้สนใจเข้าร่วม จ�ำนวน 1,909 ราย 2.หลั ก สู ต รการพั ฒ นาผู ้ น� ำ เกษตรกรรุ่นใหม่ (ระยะเวลา 6 เดือน) คือรูปแบบการเรียนการสอนภาคเกษตร ที่ เ น้ น พึ่ ง พิ ง ฐานความรู ้ เ พื่ อ สร้ า งความ ได้เปรียบในการผลิตและแข่งขัน พร้อม กั บ การแสวงหาโอกาสทางการตลาด

วั น นี้ เ รามุ ่ ง เน้ น แก้ ป ั ญ หา 3 อย่ า งคื อ ทั ศ นคติ ความรู ้ และทรั พ ยากร (ทุ น ) เพื่ อ ให้ อ าชี พ เกษตรกรเป็ น อาชี พ ที่ ยั่ ง ยื น คนรุ ่ น ใหม่ มี ค วามมั่ น ใจ และมองเห็ น อนาคตในการท� ำ เกษตร

77 issue 90 JuLY 2015

ใหม่ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือผู้ถูกเลิกจ้าง หรือผู้ว่างงาน/นักศึกษาที่จบการศึกษา เกษตรกรรม/บุคลผู้สนใจทั่วไป ปัจจุบัน มีผู้สนใจเข้าร่วมจ�ำนวน 4,353 ราย 3.หลักสูตรการพัฒนาเกษตรกร อย่างยั่งยืน (ระยะเวลา 4-6 เดือน) คือ การยกระดับทักษะปฏิบัติและความรู้ที่ สอดคล้องกับวิถีการผลิตของเกษตร ให้ เกิ ด การเพิ่ ม ผลผลิ ต และใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยการผสม ผสานระหว่ า งองค์ ค วามรู ้ ป ระจ� ำ พื้ น ที่ หรือทักษะข้อค้นพบต่างๆ ที่เกษตรกร มี อ ยู ่ เ ดิ ม หรื อ จากเครื อ ข่ า ยปราชญ์ ท้องถิ่น ร่วมกับวิทยาการสมัยใหม่ที่ผ่าน การปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับการ ถ่ายทอดให้แก่เกษตรกร รวมทั้งผนวก การคิ ด วิ เ คราะห์ ใ นวิ ถี ชี วิ ต เช่ น การ จดบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ครั ว เรื อ น การท�ำบัญ ชี


ประเทศไทยมี พื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมแก่ ก ารท� ำ การเกษตรเป็ น อย่ า งยิ่ ง ท� ำ ราย ได้ ค�้ ำ จุ น ประเทศเรื่ อ ยมา หากวั น นี้ ลู ก หลานไม่ ส นใจการเกษตรเสี ย แล้ ว ผื น นาคงว่ า งเปล่ า ลงเรื่ อ ยๆ เบื้องต้น เพื่อการเรียนรู้ที่จะเอาข้อมูล ของตนเองมาวางแผนการตัดสินใจสร้าง ทางเลื อ กในการผลิ ต และด� ำ รงชี พ ได้ อย่ า งเหมาะสม ตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ เกษตรกรทั่วไป/บุตรหลานเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมพื้นที่ในเขต ปัจจุบันมีผู้เข้าร่วมอยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน กว่า 36,626 ราย “วั น นี้ เรามุ ่ ง เน้ น แก้ ป ั ญ หา 3 อย่างคือ ทัศนคติ ความรู้ และทรัพยากร (ทุน) เพื่อให้อาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพที่ ยั่งยืน คนรุ่นใหม่มีความมั่นใจและมอง เห็ น อนาคตในการท� ำ เกษตร ในอดี ต อาชีวะสามารถสร้างทัศนคติและความรู้

ให้สาขาการเกษตรได้ แต่ยังเน้นวิชาการ มากเกิ น ไป เราจึ ง ตกลงกั น ว่ า ควรใส่ ทักษะทางด้านการเกษตรและความรู้ใน การปฏิ บั ติ จ ริ ง ลงไปมากๆ เพราะหาก เราเน้นวิชาการมากเกินไปมันจะไปแข่ง กับระบบปริญญาตรีทันที เป้าหมายของ เราคือให้ผู้เรียนจบออกไปแล้วท�ำอาชีพ เกษตรกรได้อย่างมั่นคงและมั่นใจ เมื่อ ผู ้ เรี ย นจบออกมาแล้ ว ไม่ มี ทุ น ไม่ มี ที่ ดิ น ท�ำกินก็จบ วันนี้ ส.ป.ก.มีที่ดินให้คนละ ไม่เกิน 5 ไร่ มีเงื่อนไขว่าคุณต้องท�ำการ เกษตรอย่างปราณีต เน้นคุณภาพ” นาย วินัย กล่าว โ ค ร ง ก า ร ส ร ้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า เกษตรกรรุ่นใหม่ จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุน 78 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ความรู ้ ต ่ า งๆ รวมถึ ง ที่ ดิ น ท� ำ กิ น แก่ ผู้ที่สนใจทุกท่าน มิใช่เพียงแต่นักศึกษา ม ห า วิ ท ย า ลั ย ห รื อ อ า ชี ว ะ เ ท ่ า นั้ น ผู ้ ต ้ อ งการเปลี่ ย นอาชี พ หรื อ ผู ้ ว ่ า งงาน ก็ ส ามารถเข้ า ร่ ว มโครงการฯ ได้ ผ่ า น หลักสูตรและกิจกรรมการฝึกอบรมต่างๆ ในพื้นที่หลายจังหวัด ประเทศไทยมี พื้ น ที่ ที่ เ หมาะ สมแก่ ก ารท� ำ การเกษตรเป็ น อย่ า งยิ่ ง ท� ำ รายได้ ค�้ ำ จุ น ประเทศเรื่ อ ยมา หาก วั น นี้ ลู ก หลานไม่ ส นใจการเกษตรเสี ย แล้ว ผืนนาคงว่างเปล่าลงเรื่อยๆ เพราะ บรรพบุรุษที่ท�ำกินกันมาต่างทยอยหมด แรงกันไปตามวันเวลา ผืนดินที่เคยเป็น พื้ น ที่ ก ารเกษตรก็ ถู ก เปลี่ ย นมื อ เป็ น ของผู้อื่นในที่สุด สุดท้ายลูกหลานหรือ ชาวนาต่ า งก็ เข้ า เมื อ งเพื่ อ เข้ า สู ่ ร ะบบ อุตสาหกรรมหาเลี้ยงชีพกันหมด หลงลืม คุณค่าของผืนดินที่มี


ผู ้ ส นใจอยากเปลี่ ย นอาชี พ หั น มาท� ำ การเกษตรตามพื้ น ที่ ที่ ต นเองมี หรื อ ต้ อ งการศึ ก ษาต่ อ ด้ า นการเกษตรสาขา ต่างๆ เพิ่มเติมความรู้ให้กับตัวเองในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมให้ยั่งยืน สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ กลุ่มพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่และยุวเกษตรกร (กพม.) ส�ำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพท.) ชั้น 5 อาคารสุวรรณชฏ ส�ำนักงานการ ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ที่อยู่ 166 ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร.02-278-2541 E-mail : new_farmers@hotmail.com หรือติดตามข่าวสารได้ที่ www.alro-newfarmers.com www.facebook.com/people/เกษตรกรรุ่นใหม่-สปก

79 issue 90 JuLY 2015


ประกาศความพร้อม โครงการพลังงานและเทคโนโลยีท่ีย่ังยืนแห่งเอเชี ย 2559 หรือ SETA 2016 ยกระดับประเทศไทย ศูนย์กลางองค์ความรู ้ด้านพลังงานและเทคโนโลยีในระดับภูมิภาคเอเชี ย กระทรวงพลังงาน และ สมาคมนิวเคลียร์แห่ง ประเทศไทย ร่ ว มด้ ว ย กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี และ กระทรวงคมนาคม แถลงข่ า วการจั ด ประชุ ม วิ ช าการและนิ ท รรศการนานาชาติ “โครงการ พลั ง งานแลเทคโนโลยี ที่ ยั่ ง ยื น แห่ ง เอเชี ย 2559” หรื อ “SETA 2016” ภายใต้ 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ นโยบายและ การวางแผนด้านพลังงาน เทคโนโลยีระบบไฟฟ้า พลังงาน เพื่อการคมนาคมขนส่งและพลังงานทางเลือก และ พลังงานยั่งยืนและเทคโนโลยีสีเขียว เพื่อผลักดัน และยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้าน พลังงานและเทคโนโลยีในระดับภูมิภาคเอเชีย

คอลเกต โททอล จัดวิ่งเพื่อการกุศล บริ ษั ท คอลเกต-ปาล์ ม โอลี ฟ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ผู ้ น� ำ ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ารดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปาก พร้อมด้วย ยาสีฟัน คอลเกต โททอล (Colgate Total) น�ำโดย นางสาวจตุรพร ธนาพรสังสุทธิ์ (ที่ 3 จากขวา) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด กลุ่มผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปาก จัดกิจกรรม “Colgate Total Health Mini Marathon (คอลเกตโททอล เฮลท์ มินิมาราธอน)” เพื่อให้ คนไทยมีสุขภาพร่างกายที่ดี เพียงการเริ่มต้นง่ายๆ จาก การดูแลสุขภาพช่องปาก รายได้จากกิจกรรมทั้งหมด โดยไม่หักค่าใช้จ่ายเป็นเงินทั้งสิ้น 397,900 บาท มอบ ให้ มูลนิธิสร้างรอยยิ้ม (Operation Smile Thailand) เพื่อน�ำไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสที่มีความผิดปกติในช่องปากและใบหน้า ภายใน งานมีศิลปินหนุ่ม เต๋า AF8 - เศรษฐพงศ์ เพียงพอ (คนกลาง) มาร่วมวิ่งในครั้งนี้ด้วย ณ สะพานพระราม วันก่อน

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับสปสช.เปิ ดตัว กิจกรรม “รู้สิทธิ พบสุข เพื่อชุ มชนเข้มแข็ง”

มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับส�ำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เปิดตัวกิจกรรม “รู้สิทธิ พบสุข เพื่อชุมชนเข้ม แข็ง” ซึ่งเป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมค่าย UHC Young Camp โดยกิจกรรมในครั้งนี้ได้ท�ำการลงส�ำรวจและให้ความรู้ เกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกับประชาชนในชุมชนเขต ราชเทวีซอย 7 ท�ำให้น้องๆที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทั้งความรู้และ ประสบการณ์ที่ดีไปพร้อมๆกัน

80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Round about

ซี พี บุ กตลาดหัวเมืองใหญ่ ส่ง “หมู ด�ำ ซี พี-คูโรบู ตะ” น�ำร่องเมืองภูเก็ต บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โดย นางสาวอังคณา ลิขิตจรรยา กุ ล รองกรรมการผู ้ จั ด การ ด้ า นการตลาด (คนที่ 3 จากขวา),นายปกรณ์ ลีนะกิตติ รอง กรรมการผู้จัดการ ด้านการขาย (คนที่ 4 จาก ซ้าย) พร้อมด้วยคณะทีมผู้บริหารจากซีพี ชวน กลุ่มธุรกิจโรงแรม,รีสอร์ท และร้านอาหารใน จ.ภูเก็ต ร่วมงาน “THE SIGNATURE DISH… KING OF PORK By CP - KUROBUTA” ภายในงานมีกลุ่มธุรกิจโรงแรม และร้านอาหาร เข้าร่วมงานและให้ความสนใจเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อการสร้างการรับรู้ในตัวสินค้าหมูด�ำ ซีพี-คู โรบูตะ พร้อมสร้างประสบการณ์การความอร่อยนุ่มและหอมฉ�่ำแบบพรีเมี่ยมในการท�ำเมนูเด็ดมัดใจประจ�ำร้านที่ปรุงจากผลิตภัณฑ์ หมู ด�ำ ซีพี-คูโรบูตะ ซึ่งขึ้นชื่อในเรื่องเนื้อหมูพรี่เมี่ยมไม่ว่าจะเป็นสเต๊กหมูด�ำหมักพริกไทยด�ำและหมูด�ำทงคัตสึ โดยไฮไลท์ของงานได้เชฟคน ดังจาก รายการ เชฟกระทะเหล็กเชฟหนุ่ม - ธนินธร จันทรวรรณ (คนที่ 2 จากซ้าย) มาโชว์ฝีมือการปรุงอาหารโดยใช้วัตถุดิบเป็นหมูด�ำ ซีพี-คูโรบูตะ งานดังกล่าวจัดขึ้น ณ ห้องออร์คิด แกรนด์ บอลรูม โรงแรม ภูเก็ต เกรซแลนด์ รีสอร์ท แอนด์ สปา วันก่อน

เทสโก้ โลตั ส รวมพลั ง น�้ ำใจมอบเงิ น ช่ วย เหลือผู ้ประสบภัยในเนปาล ณ ท�ำเนียบรัฐบาล รณรงค์ให้คนไทยรักผืนป่ า

นางสาวสลิลลา สีหพันธุ์ รองประธานกรรมการ ฝ่าย กิจการบริษัท เทสโก้ โลตัส มอบเงินบริจาคจ�ำนวน 197,600 บาท ที่ ส ่ ว นหนึ่ ง ได้ จ ากการรวมพลั ง น�้ ำ ใจชาวเทสโก้ โลตั ส สู ่ ผู ้ ป ระสบภั ย ในเนปาล ให้ กั บ หม่ อ มหลวงปนั ด ดา ดิ ศ กุ ล รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี แ ละปลั ด ส� ำ นั ก นายก รั ฐ มนตรี เพื่ อ น� ำ ไปช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย จากเหตุ ก ารณ์ แผ่นดินไหวในประเทศเนปาลผ่านโครงการ “หัวใจไทย ส่งไป เนปาล”ของรัฐบาล

กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และพั น ธุ ์ พื ช กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น�ำโดย นายสมหมาย กิตยากุล (ที่ ๒ จากซ้าย) รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จัดงานแถลงข่าวเปิดตัว “โครงการสร้างจิตส�ำนึกรักษา ฟื้นฟูป่าต้นน�้ำ ในโอกาส ๖๐ พรรษามหาจักรีสิรินธร พ.ศ.๒๕๕๘” เพื่อกระตุ้น ให้ประชาชนร่วมกันอนุรักษ์ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม ผ่าน การรับรู้ รณรงค์ สร้างจิตส�ำนึกเรื่องการอนุรักษ์ ฟื้นฟู การปลูกป่า ร่วมด้วยนางเอกสาว แพท - ณปภา ตันตระกูล (ที่ ๑ จาก ขวา) ที่มาร่วมพูดคุย ณ โรงแรมมารวย การ์เด้นท์ วันก่อน 81

issue 90 JuLY 2015


“Education is the most powerful weapon which you can use to change the world.” -Nelson Mandela“การศึ ก ษาเป็ น อาวุ ธ ที่ ท รงพลั ง ที่ สุ ด ที่ เ ราจะน� ำ มาใช้ ใ นการ เปลี่ ย นแปลงโลก.” -เนลสั น แมนเดลา - (อดี ต ประธานาธิ ป ดี ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ข อง แอฟริ ก าใต้ )

82 IS AM ARE www.ariyaplus.com


83 issue 90 JuLY 2015



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.