Is am are feb 55

Page 1

ครอบครัวพอเพียง

นิตยสารเพื่อคนไทย รูจริง ทำจริง แกจน

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

คุปองสวนล

ด 30 บาท

ก้าวให้ไกล ไปให้ถึง ศูนย์เรียยนรู้ต�ำบล วิธีพอเพียง

คิดอย่างไรกับ... Valentine’s Day โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

49 กุมภาพันธ์ 2555


AD การท่าเรือ


“...ประโยชน์ที่แท้นั้นมีอยู่ ๒ อย่าง คือ ประโยชน์ส่วนตัวที่ทุกคนมีสิทธิ จะแสวงหาและได้รับ แต่ต้องด้วยวิถีทางที่สุจริตและเปนธรรมกับประโยชน์ ส่วนรวม ซึ่งเปนประโยชน์ของชาติที่แต่ละคนมีส่วนร่วมอยู่ การท�างาน ทุกอย่างจะต้องได้ประโยชน์แท้ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ประโยชน์นั้นจึงจะ สมบูรณ์และมั่นคงถาวร เปนผลดีแก่ชาติบ้านเมืองอย่างแท้จริง...” คัดตัดตอนจากพระราชด�ารัสในการเสด็จออกมหาสมาคมในพระราชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๔๐ วันศุกร์ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๐


โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยแม่ประจันต์อันเนื่องมาจาก พระราชด�าริ อ�าเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๒๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระราชด�าริให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการ ก่อสร้างอ่างเก็บน�้าห้วยแม่ประจันต์ฯ ซึ่งกรมชลประทานได้เริ่มด�าเนินการก่อสร้างในปี ๒๕๔๖ แล้วเสร็จในปี ๒๕๔๘ โดยมีกรมการ ทหารช่างสนับสนุนก�าลังพลและเครื่องจักรเครื่องมือในการด�าเนินงาน “...ให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน�้าห้วยแม่ประจันต์ เพื่อจัดหาน�้าให้ราษฎรที่อาศัยอยู่ ตามหมู่บ้านต่าง ๆ ริมห้วยแม่ประจันต์ให้มีน�้าใช้เพาะปลูกและอุปโภค-บริโภคได้ตลอดป นอกจากนั้นยังช่วยระบายน�้าลงมา เสริมให้กับโครงการชลประทานเพชรบุรีในระยะที่ขาดแคลนน�้าและช่วยเก็บกักไว้ใช้ในฤดูน�้านอง เพื่อช่วยบรรเทาอุทกภัยใน เขตโครงการเพชรบุรีให้ได้ผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น”

๑.เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน�้าเพื่อการเกษตรและอุปโภค-บริโภคได้เพียงพอตลอดปี ๒.เพื่อระบายน�้าเสริมและช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการชลประทานเพชรบุรีในช่วงฤดูแล้ง ๓.เพื่อบรรเทาอุทกภัยในบริเวณลุ่มน�้าเพชรบุรีในช่วงฤดูน�้าหลาก

4 : ครอบครัวพอเพียง


โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยแม่ประจันต์ฯ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๕ บ้านจะโปรง ต�าบลหนองหญ้าปล้อง อ�าเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัด เพชรบุรี เป็นโครงการอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง โดยเป็นเขื่อนดินชนิด Zone Type ปิดกั้นล�าห้วยแม่ประจันต์ ความยาวเขื่อนดิน ๒,๑๐๕ เมตร ความกว้างของสันเขื่อน ๘ เมตร ระดับสันเขื่อน +๙๙.๖๐ เมตร (รทก.) ความจุที่ระดับเก็บกัก ๔๒.๒๐ ล้านลูกบาศก์เมตร อาคารประกอบ ๒ แห่งคือ อาคารระบายลงล�าน�้าเดิม (River Outlet) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑.๖๐ เมตร สามารถระบายน�้าได้ สูงสุด ๑๗.๕๐ ลูกบาศก์เมตร/วินาที และอาคารระบายน�้าล้น (Spill way) เป็นบานระบายโค้ง สามารถระบายน�้าได้สูงสุด ๑,๓๖๐ ลูกบาศก์เมตร/วินาที ณ วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๐ มีปริมาณน�้ากักเก็บ ๒๗.๕ ล้านลูกบาศก์เมตร

แผนที่แสดงเส้นทางเดินของน�้า ผลประโยชน์ที่ได้รับ สามารถบรรเทาอุทกภัยช่วงฤดูฝนในบริเวณลุ่มน�้าเพชรบุรีและพื้นที่บริเวณใกล้เคียง สนับสนุนโครงการ ชลประทานเพชรบุรี และสามารถช่วยเหลือด้านการเพาะปลูกในพื้นที่โครงการ จ�านวน ๓๕,๐๐๐ ไร่ และในฤดูแล้ง จ�านวน ๑๐,๐๐๐ ไร่ อนึ่ง ณ ปัจจุบัน (๑๕ มีนาคม ๒๕๔๙) โครงการฯ จะเปิดน�้าลงสู่ล�าห้วยทุกวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ เพื่อช่วยเหลือบรรเทาความ เดือดร้อนให้กับราษฎรที่ประสบปัญหาภัยแล้ง

ครอบครัวพอเพียง : 5


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ

รองเลขาธิการส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สังคมลิขิตโรค

เรื่ อ งที่ ผ มจะหยิ บ ยกมาปุ จ ฉาและวิ สั ช นาต่ อ ไปนี้ อาจจะฟั ง ดู เ ป็ น วิ ช าการไปบ้ า ง แถมผมยั ง ตั้ ง ชื่ อ หั ว เรื่ อ งเสี ย กิ๊บเกว่า “สังคมลิขิตโรค”แต่ทั้งนี้ก็ด้วยแรงจูงใจที่อยากจะเล่า เรื่องใหม่ๆ ดีๆ น่าสนใจให้ท่านผู้อ่านได้เข้าใจว่า ท�าไมคนไทยจึง มีอุบัติการณ์การป่วย การตายโรคต่างๆที่แตกต่างกันมากบ้าง...... น้อยบ้าง ซึ่งแน่นอนคงไม่ได้เป็นเพราะบาปบุญคุณโทษ หรือ พรหมลิขิตแบบที่ชาวบ้านร้านถิ่นชอบคิดกัน พร้อมกันนั้นผม ก็จะไปผูกโยงว่า แล้วการจัดการแก้ปัญหาต่างๆเหล่านี้ ระบบ หลักประกันสุขภาพวางระบบดูแลประชาชนกันอย่างไร.... ปุ จ ฉา : คนไทยทั่ ว ไปในแต่ ล ะต� า บลหรื อ อ� า เภอ จะพบผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้ป่วยเบาหวาน ที่สัดส่วน ประมาณ ๓ : ๒ แต่ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน สัดส่วนกลายเป็น ๑๐ : ๒ วิสัชนา : คนจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีเบาหวานน้อย แต่ มีความดันโลหิตสูงแยะมาก เพราะคนนิยมบริโภคอาหารไทย ใหญ่ซึ่งมีส่วนประกอบของน�้ามันพืช, น�้ามันงา และกรดไขมัน สูงกว่าอาหารปกติทั่วไป ท�าให้มีความเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง มากกว่า.... ปุจฉา : เหตุใดจังหวัดน่าน จึงมีอัตราคนติดยาเสพติด และเชื้อ HIV ต�่าที่สุดใน ๑๒ จังหวัดภาคเหนือ 6 : ครอบครัวพอเพียง

วิสัชนา : คนเมืองน่านยังมีการใช้ชีวิตที่สมถะ, เรียบ ง่ า ย, ยึ ด มั่ น กั บ กรอบขนบธรรมเนี ย มวั ฒ นธรรมและประเพณี สูง ชุมชนยังมีความเข้มแข็งในการดูแลตนเอง ไม่ค่อยยอมรับ สิ่งแปลกปลอมใหม่ เช่น สถานบันเทิงเริงรมย์, ร้านคาราโอเกะ คนมีสุขภาพจิตดี ครอบครัวอบอุ่น ปุจฉา : เหตุใดจังหวัดล�าพูนจึงมีอัตราการฆ่าตัวตายสูง ที่สุดในประเทศไทย วิสัชนา : คงไม่ใช่เป็นเพราะคนล�าพูนใจเสาะ แต่มี ปัจจัยทางสังคมที่เกี่ยวโยงกับวัฒนธรรม, ค่านิยม, การเลี้ยงดู คนในครอบครัว ที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจแก้ปัญหาชีวิต ด้วยการฆ่าตัวตายมากกว่าที่อื่น ปุ จ ฉา : เหตุ ใ ดคนภาคใต้ จึ ง มี สั ด ส่ ว นการใช้ สิ ท ธิ บัตรทองในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(Utilization Rate) ต�่าที่สุด เมื่อเทียบกับภาคอื่นๆ วิสัชนา : คนไทยจ�านวนมาก ยังมีทัศนคติความเชื่อที่ว่า “ของฟรีสู้เสียเงินไม่ได้” คนไทยในภาคใต้มีสถานะทางเศรษฐกิจ ค่อนข้างดี รายได้ต่อหัวประชากรดีที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆ จึงท�าให้มีก�าลังการซื้อบริการสุขภาพด้วยตัวเองดีกว่าคนภาคอื่น ปุจฉา : เราใช้ค่าดัชนีอัตราการเกิดฟันผุ, ฟันหลุด สู ญ เสี ย และอุ ด ซ่ อ ม (DMF) เป็ น ตั ว ชี้ วั ด สถานะสุ ข ภาพทาง


ช่องปาก เปรียบเทียบกันระหว่างจังหวัดต่างๆ ปรากฏว่าขณะนี้ จังหวัดปัตตานีแย่ที่สุดในประเทศไทย วิสัชนา : ปัญหาความมั่นคงในสามจังหวัดชายแดนใต้ ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการของประชาชน หรือแม้แต่การ ท�างานอนามัยโรงเรียนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมไปถึงการ ขาดแคลนทันตบุคลากรในพื้นที่ ข้อนี้เป็นปัจจัยที่ได้รับผลมาจาก ความมั่นคงและการก่อการร้ายในพื้นที่ ทั้ง ๕ เรื่องที่ผมยกตัวอย่างไปนั้น คือ รูปธรรมของ สังคมลิขิต หรือ ปัจจัยทางสังคมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่ง ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Social Determinants of Health ซึ่ง องค์การอนามัยโลกถือว่าเป็นเรื่องที่มีความส�าคัญอย่างยิ่งยวด ซึ่งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการก�าหนดนโยบายก็ดี, การสนับสนุน งบประมาณก็ดี, การขับเคลื่อนระบบและกลไกต่างๆในการแก้ ปั ญ หาสุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชน จะต้ อ งค� า นึ ง ถึ ง และให้ ความส�าคัญ ปัจจัยที่ว่าดังกล่าวมีตั้งแต่วัฒนธรรม, ศาสนา, ระดับ การศึกษา, การว่างงาน, ความเหลื่อมล�้าของรายได้, ปัญหา การเมืองการปกครอง, ความเป็นเมือง – ชนบท, การคมนาคม, การเป็นเมืองท่องเที่ยว, อัตราการเกิดอาชญากรรม, สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ปัญหาด้านสุขภาพหลายเรื่อง ไม่สามารถแก้ไขได้โดย การขยายสร้างโรงพยาบาลเพิ่ม หรือโดยการเพิ่มการผลิตแพทย์, พยาบาล, เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยี เครื่องไม้เครื่องมือใหม่ๆ ด้านการแพทย์ แต่ต้องใช้กลไกทางสังคม ในการแก้ปัญหาที่ “ต้นตอ” เหล่านั้น ปัญหาบางอย่างก็ต้องแก้ โดยใช้มาตรการหลายรูปแบบในการจัดการกับปัญหา ตัวอย่าง เช่น คนไทยอีสานเป็นมะเร็งในตับสูงมาก ก็ต้องแก้โดย -เพิ่มการให้ความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรมการบริโภค ที่ไม่เหมาะสม เช่น การไม่กินปลาดิบ ในเด็กนักเรียนและกลุ่ม เสี่ยงต่างๆ -เพิ่มการเข้าถึงยา PRAZIQUANTEL โดยหน่วยงาน ของกระทรวงสาธารณสุข

-การขยายความร่วมมือจากภาคท้องถิ่น เช่น เทศบาล, อบต.ในการสนับสนุนโครงการรณรงค์เหล่านี้ ในการออกแบบระบบกลไกการสนับสนุนด้านการเงิน ของส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เช่น จะให้เงินค่าหัว จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอนเท่ า ใด, จะสนั บ สนุ น ความอยู ่ ร อดของโรง พยาบาลเล็กๆในพื้นที่ชายขอบอย่างไร, การดูแลประชากรในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนใต้, การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานในบริการ ตติยภูมิ มิได้อาศัยแต่หลักการทางเศรษฐศาสตร์ และสาธารณสุข ศาสตร์เป็นแนวทางแต่เพียงอย่างเดียว แต่ยังให้ความส�าคัญและ ค�านึงถึงปัจจัยทางสังคมต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม, ความเสมอภาค, ลดปัญหาความ เหลื่อมล�้าและความไม่ทัดเทียมที่มีอยู่ในพื้นที่ ประเทศไทยยังมีปัญหาความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึง บริการ และคุณภาพบริการที่ไม่ทัดเทียมกันใน ๗๗ จังหวัดของ ประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาที่รัฐบาลและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องให้ ความส�าคัญในการแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างแท้จริงจัง........

อย่าปล่อยให้ชาวบ้านเจ็บปวย, ล้มตาย โดยเหตุว่า “สังคมลิขิต” อย่างที่ ผ่านๆ มา....

ครอบครัวพอเพียง : 7


ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์, ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด, ปรีชา วัชราภัย,เบญจวรรณ สร่างนิทร นนทิกร กาญจนะจิตรา (เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน) ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์, พุธทรัพย์ มณีศรี, ชมนาด พงศ์พนรัตน์, ดร.เสรี พงศ์พิศ, เกริกเกียรติ์ เอกพจน์, นงลักษณ์ หอตระกูล ดร.ยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฎาวงศ์, ผศ.ดร.ทิพวัลย์ สีจันทร์, ปภพ อารยะศาสตร์, ชัยสิทธิ์ ดอนท้วม, ดวงฤดี รัตนโอฬาร, ชาญยุทธ นนทิวิรุฬห์ นารีรัตน์ ทองประพาฬ, สุดาพร บุญโนทก, ปรีดาวรรณ ทนยิ้ม, เสริมสกุล คล้ายแก้ว, พินิจ ค�ำปู่, วิสุทธิ์ ชินนาพันธ์, วิรวรรณ เหรียญนาค วรรณดี นาคสุขปาน, ผศ.พวงเพชร รัตนรามา, วนิดา โรจจวัฒน์, วิวัธน์ชัย คงล�ำธาร, ผศ.(พิเศษ) ดร.ศิริพงศ์ พฤธิพันธุ์ ไพศาล คัจฉสุวรรณมณี, ดร.แสงโฉม ถนอมสิงห์, สุรศักดิ์ อัตตะสาระ,ประเสริฐ หอมดี, นิตยา ชีวะพฤกษ์, สมหญิง ธาดาธิเบศร์ ชริตว์จาร์ คล่องการยิง, รังสิมา จารุภา, ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ที่ปรึกษา : วริมา โพธิสมบัติ, วัลภา บุรุษพัฒน, ผศ.ดร.ธันวา จิตต์สงวน, ดร.ขนิษฐา สารพิมพา, ฌิชศีล ตันติเวชกุล, จริยา รอดเที่ยง บรรณาธิการ/ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : อริยสิริ พิพัฒน์นรา บรรณาธิการ : ศุภกร ม่วงแพรศรี, อภีม คู่พิทักษ์ กรรมการผู้จัดการ : ภาวัช ครูซ ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการ : ชัชชัย สุขขาวดี, พุฒิพัฒน์ กมลจรัสพงศ์, สุพิชฌาย์ กมลจรัสพงศ์ ฝ่ายการตลาด : พรพรรณ จงนิรักษ์ ศิลปกรรม : เอกรัตน์ คงรอด ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย : ส�ำนักงานกฎหมาย พิทยาเพชรพลอย โรงพิมพ์ : บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้น จ�ำกัด (มหาชน) จัดจ�ำหน่าย : บริษัท เพ็ญบุญ จัดจ�ำหน่าย จ�ำกัด ส�ำนักงาน : นิตยสารครอบครัวพอเพียง ๓๑/๒ ซอยทองหล่อ ๒ แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ : ๐-๒๙๘๓-๗๓๑๒-๓ โทรสาร : ๐-๒๙๘๓-๗๓๑๔ เว็ปไซต์ : www.ariyaplus.com E-mail : ariyaplus@hotmail.com

8 : ครอบครัวพอเพียง


AD ไทยพาณิชย์


“โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�าริส่วนใหญ่จึง เน้นในเรื่องการเกษตร เพราะพระองค์ทรง เห็นว่าการเกษตรเปนหลัก ของประเทศและเปนรากฐาน ของชีวิต”

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ผู้ทรงเปนพลังแห่งแผ่นดิน

แนวพระราชด� า ริ แ ละทฤษฎี ก ารพั ฒ นา อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� า ริ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย หรือ ดิน น�้า ลม ไฟ ส่งผลให้มีการพัฒนาให้อยู่ใน สภาพสมบูรณ์ เพื่อเป็นฐานส�าคัญของชาติบ้านเมือง และประชาชนในการพัฒนาประเทศ โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�าริส่วนใหญ่จึงเน้นในเรื่องการเกษตร เพราะพระองค์ ท รงเห็ น ว่ า การเกษตรเป็ น หลั ก ของ ประเทศและเป็นรากฐานของชีวิต ทรงเคยตรัสไว้ว่า “ถ้าชนบทอยู่ได้ คนในเมืองก็อยู่ได้” โดย พระองค์ ไ ด้ ท รงคิ ด ค้ น ดั ด แปลงปรั บ ปรุ ง และแก้ ไ ข ให้การพัฒนาเป็นงานที่ด�าเนินการไปได้โดยง่าย ไม่ ๑0 : ครอบครัวพอเพียง

ยุ ่ ง ยากซั บ ซ้ อ น ท� า สิ่ ง ที่ ย ากให้ ก ลายเป็ น ง่ า ย และ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศโดย ส่วนรวม ตลอดจนสภาพทางสังคมของชุมชนนั้น นอกจากนั้นประโยคที่เรียบง่ายที่ทรงมีรับสั่ง มาตลอดคือ ขอให้บ้านเมืองของเรา ประชาชนชาว ไทยพอมี พ อกิ น กั น ค� า ว่ า “พอมี พ อกิ น ” เป็ น ค� า ที่ ยิ่งใหญ่ ถ้าประเทศใดไม่พอมีพอกินแล้ว ความสงบสุข ความผาสุกคงจะไม่เกิดขึ้นบนแผ่นดินนั้นอย่างแน่นอน ดังนั้น พระองค์จึงทรงพยายามสร้าง“ความมีกินกับ ความพอกิน” ให้เกิดขึ้นบนแผ่นดินไทย ซึ่งเราเคย กล่าวได้อย่างภาคภูมิใจว่า ไทยเป็น ๑ ใน ๗ ประเทศ ของโลกที่มีอาหารเหลือกิน โดยเฉพาะข้าวซึ่งสามารถ


น�าไปขายเลี้ยงชาวโลกได้ และยามใดที่ประเทศชาติ เกิดวิกฤตขึ้นมา ก็ได้ข้าวที่ช่วยให้เรารอดพ้น และกลับ มีความสุขขึ้นมาได้อีก

โครงการหลากหลาย... มุ่งช่วย พสกนิกรและพัฒนาประเทศ

ส�าหรับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ที่ ท รงคิ ด ค้ น ขึ้ น เพื่ อ ลดความไม่ ส มดุ ล ในสั ง คมไทย ซึ่ ง ส� า นั ก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ (ส�านักงาน กปร.) รับผิดชอบ ปัจจุบันมีมากกว่า ๔,๐๐๐โครงการ กระจาย อยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ น อ ก จ า ก โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พระราชด�าริแล้วยังมีโครงการส่วนพระองค์ ซึ่งเป็นการ เมื่อปี ๒๕๓๑ พระองค์ทรงจัดตั้ง “มูลนิธิ ค้ น คว้ า วิ จั ย ทดลอง เช่ น โครงการส่ ว นพระองค์ ชั ย พั ฒ นา” ขึ้ น โดยทรงด� า รงต� า แหน่ ง องค์ น ายก กิตติมศักดิ์ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี ทรงเป็ น องค์ ป ระธานกรรมการ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา เพื่ อ สนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ ประชาชนในงานพั ฒ นาด้ า นต่ า งๆ โดย เน้ น กิ จ กรรมเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ไ ม่ ซ�้ า ซ้ อ นกั บ แผนงาน โครงการของรั ฐ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว แต่ จ ะช่ ว ยสนั บ สนุ น ส่ ง เสริมโครงการพัฒนาของรัฐที่ถูกจ�ากัดด้วยเงื่อนไขกฎ สวนจิ ต รลดา และเมื่ อ ผลการทดลองเป็ น ที่ ถ ่ อ งแท้ ระเบียบ หรืองบประมาณ จนท�าให้การด�าเนินงานล่าช้า แก่พระราชหฤทัยว่าเป็นทฤษฎีที่ใช้ได้ และเป็นการ ไม่ทันกับสถานการณ์ในการช่วยเหลือประชาชน มูลนิธิ ปฏิบัติที่ก่อให้เกิดผลดี จึงพระราชทานเผยแพร่ความ ชัยพัฒนาจะเข้าไปช่วยเหลือตามความเหมาะสมเพื่อให้ รู้และเทคโนโลยีนั้นๆ ไปสู่เกษตรกรหรือหน่วยงานที่ เกิดความรวดเร็วขึ้น เกี่ยวข้อง

มูลนิธิชัยพัฒนา เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนอย่างทันสถานการณ์

ครอบครัวพอเพียง : ๑๑


ท�างานและเดินทางไปต่างประเทศหลายประเทศมากขึ้น จึงได้ รับประทานอาหารหลาย ๆ ชาติ แต่เมื่อกลับมาที่เมืองไทย อาหารเกือบทุกมื้อก็ยังเป็น อาหารไทย สุขภาพของลุงก็ดีเยี่ยม อย่างไรก็ตาม เมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายของลุงก็ย่อม เสื่อมโทรมไปตามวัย ซึ่งแน่นอน ก็ต้องไปหาหมอแผนปัจจุบัน โรคบางโรคที่ลุงเป็น เช่น โรคเบาหวาน นอกจากกิน ยาแล้ว ต้องอดทนในเรื่องอาหารการกิน รวมทั้งต้องออกก�าลัง กายด้วย เพราะการควบคุมอาหารและการออกก�าลังของลุงไม่ เพียงพอ ดังนั้น เบาหวานที่ลุงเป็นมามากกว่า ๑๕ ปี จึงยังอยู่ กับลุง ไม่ยอมจากไปไหน เจอใครต่อใครซึ่งส่วนใหญ่คือ สว. (หลานคงรู้นะว่า สว ที่ลุงเขียนนี้ หมายถึง สูงวัย) ก็แนะน�าให้ใช้สมุนไพรในการรักษา

เด็กวันวาน....เด็กวันนี้

สมัยที่ลุงเป็นเด็กวันวาน........ลุงเติบโตอยู่ในชนบท อาหารการกินทุกมื้อ ไม่ว่าจะเป็นมือเช้า มื้อกลางวัน และมื้อเย็น จึงเป็นอาหารไทยล้วน ๆ โดยเฉพาะผักและปลานั้น อุดมสมบูรณ์มาก สุขภาพในตอนเด็กของลุง ดีมาก ๆ ไม่ค่อยเจ็บป่วย อะไรกับเขามากนักหรอก ตอนมาเรียนหนังสือในกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ระดับ ชั้นประกาศนียบัตรการศึกษาจนจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี ลุ ง ก็ อ ยู ่ ห อพั ก และในหอพั ก ก็ เ ลี้ ย งอาหารไทยทั้ ง สามมื้อ มีโอกาสได้รับประทานอาหารของชาติอื่นบ้าง ก็อาหาร จีนและอาหารฝรั่งนั่นแหละ แต่ก็นับว่าน้อยมาก หลั ง จากจบปริ ญ ญาโทจากประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า

๑2 : ครอบครัวพอเพียง

เพราะสมุนไพรนั้นใช้ในการรักษาโรคได้หลายต่อหลาย โรค ไม่ว่าจะเป็นเบาหวาน ความดัน ไขมันในเส้นเลือด มะเร็ง หรือแม้กระทั่งปวดหัวตัวร้อน นอกจากนี้ ที่ส�าคัญที่สุดก็คือเมื่อกินสมุนไพรแล้ว ไม่มี ผลข้างเคียงเหมือนกินยาแผนปัจจุบันอีกด้วย เมื่ อ ได้ ศึ ก ษาในเรื่ อ งสมุ น ไพรมากขึ้ น จึ ง รู ้ ส าเหตุ ว่า ทําไมตอนที่ลุงเปนเด็กวันวาน....นั้น จึงมีสุขภาพดีเหลือ เกิน นั่นเปนเพราะลุงได้รับสมุนไพรเปนภูมิคุ้มกันมาตั้งแต่ เด็กโดยลุงไม่รู้ตัว อาหารไทยนั้น อุดมสมบูรณ์ไปด้วยสมุนไพรนานาชนิด เพราะเครื่องแกงส่วนใหญ่ ประกอบไปด้วย พริก ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย หอมและกระเทียม เป็นต้น ล้วนเป็นสมุนไพร ช่วยเสริมสร้างสุขภาพของร่างกาย เราทั้งสิ้น คนไทยสมัยก่อน ฉลาดล�้าลึก และน่าทึ่งในเรื่องการ ท�าอาหาร ได้น�าสมุนไพรต่าง ๆ มาประกอบอาหารหลายชนิด แม้ไม่มีห้องให้ทดลองหรือไม่มีการวิเคราะห์วิจัยใด ๆ เช่นเดียวกับสมัยนี้ แต่ ลุ ง คิ ด ว่ า คนไทยสมั ย ก่ อ น คงใช้ วิ ธี ก ารสั ง เกตว่ า สมุนไพรใดช่วยในเรื่องใด แล้วน�าสมุนไพรนั้น ๆ มาประกอบ อาหารหลายหลากชนิด ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งสิ้น แล้ว ก็บอกเล่าสั่งสอนสืบทอดกันต่อ ๆ มา


ด้วย ไม่ว่าจะเป็นเด็กวันนี้.........ในกรุงเทพมหานครหรือต่าง จังหวัด อาหารที่เรียกกันว่าอาหารจานด่วน (Fast food) หรือ อาหารขยะ (Junk food) ได้เข้ามามีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้น เพราะสะดวก รวดเร็ว และบางคนก็กินให้ทันสมัยกับเขาด้วย อาหารพวกนี้ แน่ น อนว่ า ไม่ ค ่ อ ยมี ส ่ ว นผสมของ สมุ น ไพร ท� า ให้ สุ ข ภาพของเด็ ก วั น นี้ . ....สู ้ สุ ข ภาพของเด็ ก วั น วาน.....ไม่ได้ ดังนั้น ข้อเขียนในวันนี้ นอกจากจะกระตุ้นและรณรงค์ ดีใจที่ทางราชการไทยได้เห็นความส�าคัญของสมุนไพร ให้หลาน ๆ ได้มีโอกาสรับประทานอาหารไทยกันมากขึ้น ซึ่งช่วย ให้ได้รับสมุนไพรไทย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพกันมากขึ้นแล้ว เพราะส่วนราชการหลายแห่งได้ให้ความสนใจในเรื่องนี้ ยังอยากให้เด็กวันนี้ ได้หันมาสนใจ ศึกษาและพัฒนา ในกระทรวงสาธารณสุ ข เอง ก็ ไ ด้ ตั้ ง กรมพั ฒ นาการ การใช้สมุนไพรไทยให้มากขึ้นด้วย แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกขึ้น เข้าไปดูในเว็บไซต์ ที่ http://www.pharmacy.mahiซึ่งมีหน้าที่หลักในการส่งเสริมให้มีการศึกษาและการ รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ dol.ac.th/medplantdatabase/search_herbal.asp หรือที่ http://www.medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/index. ทางเลือกอื่นให้มากขึ้น ซึ่งรวมทั้งสมุนไพรด้วย นอกจากนี้ ยั ง มี ส ถาบั น วิ จั ย สมุ น ไพรไทย กรม asp ของมหาวิทยาลัยมหิดล ก็ได้ เว็บไซต์ดังกล่าวนี้ไม่ใช่เว็บไซต์โฆษณาของบริษัทขาย วิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยที่ลุงรู้จักและใช้ประโยชน์มากก็คือฐาน สมุนไพร แต่เป็นเว็บไซต์ที่ให้ความรู้ในด้านสรรพคุณของสมุนไพร ข้อมูลสมุนไพรไทยของโครงการจัดท�าฐานข้อมูลสมุนไพรไทย รวมทั้งผลการวิเคราะห์วิจัยสมุนไพรไทยที่เป็นประโยชน์เป็น ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ และส�านักงานข้อมูลสมุนไพร คณะ อย่างยิ่ง เข้าไปแล้วหลานจะได้ทราบว่าสมุนไพรไทยมีสรรพคุณ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลที่ พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ให้ ใ ช้ ส มุ น ไพรก็ มี อย่างไร และจะกินสมุนไพรใดเพื่อเสริมสุขภาพของเราเอง หลายแห่ง ที่ขึ้นชื่อที่สุดก็เห็นจะเป็นโรงพยาบาลอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี รวมทั้งโรงพยาบาลหลายต่อหลายแห่งในต่าง ลองมาเริ่มกันใช้สมุนไพรไทยในการเสริมสร้างสุขภาพ จังหวัด แม้ แ ต่ โ รงพยาบาลที่ ไ ม่ ใ หญ่ นั ก เช่ น โรงพยาบาล รวมทั้งใช้รักษาโรคบางชนิดกันเถิด นอกจากจะประหยัดเงินตราของไทย ไม่ให้รั่วไหลไป ท่ า แซะ ในจั ง หวั ด บ้ า นเกิ ด ของลุ ง คื อ จั ง หวั ด ชุ ม พร ก็ ไ ด้ ท� า ต่างประเทศแล้ว สมุนไพรไทยเป็นแค็บซูลขึ้นมาจ�าหน่าย สมุ น ไพรยั ง ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพและรั ก ษาโรคใน ก็ต้องขอชื่นชมไว้ด้วย อย่างไรก็ตาม อยากเห็นหน่วยงานของรัฐทั้งหลายเหล่า ราคาที่ประหยัด รวมทั้งไม่มีผลข้างเคียงต่อร่างกายเราด้วย สมุนไพรไทยอาจช่วยให้ป ๒๕๕๕ เปนปที่หลาน ๆ นี้ ได้ร่วมมือกันพัฒนาต�ารับยาสมุนไพรส�าหรับชาวบ้าน ร่วมกันวิเคราะห์วิจัยการใช้สมุนไพรไทยให้ถูกต้องตาม และท่านผู้อ่านทุกท่าน มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง และเพื่อพร้อมที่จะก้าวไปสู่อนาคตที่มั่นคงสืบไป หลักวิชาการมากขึ้น และจดสิทธิบัตรไว้ให้คนไทยได้ใช้ประโยชน์ต่อไป ก่อนที่ฝรั่งซึ่งขณะนี้ให้ความสนใจสมุนไพรไทยมาก ๆ น�าไปวิเคราะห์วิจัยแล้วจดสิทธิบัตรจนคนไทยต้องซื้อสมุนไพร ไทยมากินในราคาแพง ๆ อีก กลับมาเรื่องอาหารไทยกันต่อ จากสภาวะเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ท�าให้อาหาร การกินของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก อาหารการกินของเด็กวันนี้....ก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไป

ปองกันดีกว่ารักษาอยู่แล้ว

ครอบครัวพอเพียง : ๑3


ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ชีวิตพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เด็กวันวาน...เด็กวันนี้ อ.พุธทรัพย์ มณีศรี ธรรมะติดปีก ว.วชิรเมธี ความเปนคน ความเปนครู xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx Tip Today Play to Game ตัวไกลหัวใจอยู่ใกล้ ดร.ไสว บุญมา พลังเยาวชน พลังของแผ่นดิน ฉัตรินและฉันทวัฒน์ สินธุสาร ปฎิบัติการชุมชนรักษ์น�้า สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้าและการเกษตร กิจกรรม How to Health รศ.ดร.สุรพจน์ วงศ์ใหญ่ คุยกับดาว ดรุณี เจริญพานิช ศูนย์การเรียนรู้ต�าบลวิธีพอเพียง เกษตรพอเพียง ผศ.ดร.ทิพวัลย์ สีจันทร์ ครัวพอเพียง ตื่นเถิดชาวไทย สุรศิลป อมรสุรศิริ รายได้ข้างรั้ว Andrew biggs คิดยังไงกับ...Valentine’s day โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย รอบคอบรู้คิดพิชิตมะเร็ง Social news เที่ยวทั่วไทย สไตล์พอเพียง โฟกัสอาชีพ ๑4 : ครอบครัวพอเพียง

๖ ๑๐ ๑๒

พลังเยาวชน พลังของแผ่นดิน ฉัตรรินและฉันทวัฒน์ สินธุสาร

๒๐ ๒๒ ๒๔

P. ๒๙ กิจกรรม ครอบครัว พอเพียง P. ๓๔

๒๖

คุยกับดาว

๒๙

ยิปโซ-รมิตา มหาพฤกษ์พงศ์ คนที่กตัญูชิวิตจะมีแต่เจริญรุ่งเรือง

๑๖ ๑๘

๓๒ ๓๔ ๓๖ ๓๘ ๔๒ ๕๒ ๕๕ ๕๖ ๖๐ ๖๓ ๖๔ ๖๘ ๗๐ ๗๒ ๗๔

P. ๓๘ ก้าวให้ไกลไปให้ถึง ศูนย์เรียนรู้ต�าบล วิธีพอเพียง P. ๔๒ คิดยังไงกับ... Valentine’s Day โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

P. ๖๔

เที่ยวทั่วไทย สไตร์พอเพียง ทองผาภูมิ กาญจนบุรี

P. ๗๒


ครอบครัวพอเพียง

นิตยสารเพื่อคนไทย รูจริง ทำจริง แกจน

ข้อมูลผู้สั่งซื้อ

ชื่อ .............................................. นามสกุล ........................................................... หน่วยงาน/ โรงเรียน/ สถาบัน/ อื่นๆ ....................................................................... สถานที่อยู่เลขที่ .................................. อาคาร/ หมู่บ้าน .................................. ตรอก/ ซอย ...................................... ถนน .................................................... แขวง/ ต�ำบล ....................................... เขต/ อ�ำเภอ ...................................... จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ....................................... โทรศัพท์ ........................................... โทรสาร ............................................... โทรศัพท์มือถือ ..................................... E-mail .............................................

(กรณี)มีความประสงค์จะสั่งซื้อนิตยสารครอบครัวพอเพียงมอบให้แก่

หน่วยงาน/ โรงเรียน/ สถาบัน/ อื่นๆ (โปรดระบุ)....................................................................... สถานที่จัดส่งนิตยสาร : (กรุณาเขียนตัวบรรจงให้ครบถ้วนชัดเจน) สถานที่อยู่เลขที่ .................................. อาคาร/ หมู่บ้าน .................................. ตรอก/ ซอย ...................................... ถนน .................................................... แขวง/ ต�ำบล ....................................... เขต/ อ�ำเภอ ...................................... จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ....................................... โทรศัพท์ ........................................... โทรสาร ............................................... โทรศัพท์มือถือ ..................................... E-mail ............................................. สั่งซื้อนิตยสารครอบครัวพอเพียง ใบเสร็จสามารถน�ำไปลดหย่อนภาษีได้ ๑๐๐% (ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล) รายปี ๑ ฉบับ/เดือน (รวม ๑๒ ฉบับ ๓๑๒ บาท) ราย ๓ ปี (๙๓๖ บาท) ราย ๕ ปี (๑,๕๖๐ บาท) รายปี ๕ ฉบับ/เดือน (รวม ๖๐ ฉบับ ๑,๕๖๐ บาท) ราย ๓ ปี (๔,๖๘๐ บาท) ราย ๕ ปี (๗,๘๐๐ บาท) รายปี ๑๐ ฉบับ/เดือน (รวม ๑๒๐ ฉบับ ๓,๑๒๐ บาท) ราย ๓ ปี (๙,๓๖๐ บาท) ราย ๕ ปี (๑๕,๖๐๐ บาท) เริ่มตั้งแต่ฉบับเดือน ...............................พ.ศ. ................... ( หากไม่ระบุฉบับเริ่มต้น จะจัดส่งฉบับเดือนถัดไป ) พร้อมได้โอนเงินเข้าบัญชีจ�ำนวนเงิน ............................. บาท ( ............................................................... บาท ) *ราคานี้รวมค่าจัดส่งแล้ว (ค่าจัดส่งไปรษณีย์เล่มละ ๖ บาททั่วประเทศ)

ลงชื่อ ............................................................ ผู้สั่งซื้อ / ผู้มีอ�ำนาจลงนาม ( ................ / ............... / ............... ) ช�ำระเงินโดยโอนเข้าบัญชี ชื่อบัญชี มูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด เพื่อโครงการใสสะอาด พอเพียงเพื่อพ่อ สู่สถาบันการศึกษาและชุมชน ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) สาขา ส�ำนักงาน กพ. รายชื่อทานปัญญา บัญชีออมทรัพย์เลขที่ ๒๐๑-๐-๓๔๒๗๑-๑ คุณธิติกรณ์ จันทร์โชติ กรุณาส่ง FAX ใบสั่งซื้อนิตยสารครอบครัวพอเพียง พร้อมหลักฐานการช�ำระเงินมาที่ มอบทานปัญญาแก่ มูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด โรงเรียนวัดป่าโน่นลัง โทรศัพท์ ๐๒-๙๘๓-๗๓๑๒-๓, ๐๘๕-๐๖๕-๑๕๑๑, ๐๘๗-๘๐๕-๗๑๑๖ โทรสาร ๐๒-๙๘๓-๗๓๑๔ หมายเหตุ : ใบเสร็จ สามารถน�ำไปลดหย่อนภาษีได้ ๑๐๐ % (ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล)


๑6 : ครอบครัวพอเพียง


ใครต่อใครต่างก็ปรารถนาจะพบเจอแต่สงิ่ ดีๆ ทีเ่ ปน็ สิรมิ งคล แห่งชีวติ ค�าว่า “สิริมงคล” หมายถึง สิ่งที่ดีงาม ความสุขความเจริญ ความส�าเร็จในหน้าที่การ งาน และความรุ่งโรจน์โชตนาแห่งยศ ทรัพย์ อ�านาจ เกียรติคุณชื่อเสียง ความ พรั่งพร้อมด้วยบริษัทบริวาร และความมีสุขภาพดี เป็นต้น ในโอกาสพิเศษเช่นนี้ ผู้เขียนขอมอบ “พุทธพร” เพื่อความเป็นสิริมงคล แห่งชีวิตทั้ง ๕ ประการ ดังต่อไปนี้ “คบคนดี เรียนรู้จากคนดี คิดอย่างคนดี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี และเปนคนดี” ๑. คบคนดี

คนดี หมายถึง คนที่คิดดี (คิดด้วยเมตตา) พูดดี (พูด ด้วยเมตตา) ท�าดี (ท�าด้วยเมตตา) หรือคนที่ถึงพร้อมทั้งความรู้ ความดีงาม มีชีวิตสะอาด เป็นวิญูชน ที่สังคมยกย่องสรรเสริญ ว่าเป็นยอดคนที่น่าเอาอย่าง เราคบคนดีในฐานะที่เป็น “ต้นแบบ แห่งความสุข ความส�าเร็จ ความเจริญในชีวิต” เหมือนที่บารัค โอบามา ยึดเอามหาตมะ คานธี, มาติน ลูเธอร์คิงส์ จูเนียร์, อับราฮัม ลินคอร์น เป็นบุคคลต้นแบบแห่งชีวิต ผลก็คือ ท�าให้ ท่านได้รับแรงบันดาลใจและมุ่งมั่นฝันใฝ่อยากจะเป็นนักการเมือง ชั้นน�าและเมื่อท�าตามความฝันก็ประสบความส�าเร็จจริงๆ เพราะ “คบคนเช่นใดก็จะกลายเปนคนเช่นนัน้ คบคนดี ย่อมดีขนึ้ ทันตา คบคนเลว ย่อมตกต�่าลงทันตาเห็น”

๒. เรียนรู้จากคนดี

๔. อยู่ในสถานที่ที่ดี

คนที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ย่อมมีโอกาสประสบความ ส� า เร็ จ มากกว่ า คนที่ อ ยู ่ ใ นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ม่ ดี สิ่ ง แวดล้ อ มใน ที่นี้หมายถึง สภาพที่เอื้อให้ประสบความส�าเร็จในชีวิต เช่น สตีฟ จ๊อบส์ ผู้ก่อตั้งบริษัทแอปเปิล เกิดมาในชุมชนที่มีแต่วิศวกร คอมพิวเตอร์ท�างานกันอยู่มากมายหลายร้อยคน ผลก็คือ เขา กลายเป็นคนที่หลงรักคอมพิวเตอร์ และนั่นก็คือ พื้นฐานส�าคัญ ที่ท�าให้เขาพัฒนาตนเองจนกลายเป็นนวัตกร (Innovator) ที่ มี ชื่ อ เสี ย งที่ สุ ด คนหนึ่ ง ของโลก ที่ ส ามารถสร้ า งนวั ต กรรมที่ เปลี่ยนแปลงโลกไปตลอดกาลอย่างไอโฟน ไอพอด ไอแพด ไอแม็ค เป็นต้น สภาพแวดล้อมที่ดี คือ เหตุปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อความ สุขความส�าเร็จในชีวิตของคนคนหนึ่งอย่างมีนัยส�าคัญ เนื่องเพราะ “สภาพแวดล้อมที่ดี คือ ต้นทุนชั้นดีของความส�าเร็จ” หรือ “คนที่จับปลา ในที่ที่มีปลา ย่อมจับได้ง่ายกว่าและมากกว่า”

การมีคนดีเป็นแบบอย่าง ท�าให้เรารู้ว่า จะก้าวย่างไป ในทิศทางใด เมื่อเราค้นจนพบบุคคลต้นแบบแล้ว สิ่งที่ควรท�าก็ คือ การ “ถอดบทเรียน”จากบุคคลเหล่านั้น เพื่อน�ามาประยุกต์ โลกนี้มีคนดีที่คู่ควรแก่การเจริญรอยตามอยู่เป็นอันมาก ใช้ในการพัฒนาตนเองให้ประสบความส�าเร็จด้วยตนเองบ้าง ตาม แต่ล�าพังการชื่นชม ยกย่องสรรเสริญคนดีเพียงอย่างเดียว โดย แนวทางท่ีว่า “หากเธอศรัทธาในผู้ใด ก็จงซึมซับในคุณธรรม ไม่ลงมือเปลี่ยนแปลงชีวิตของตนให้พัฒนาไปในทางที่ดีงาม ก็ ของเขา” ย่อมจะสูญเปล่า ดังนั้น หากเราค้นพบคนดีที่สามารถยึดเป็นต้น แบบได้แล้ว ก็ควรเรียนรู้จากคนดี คิดอย่างคนดี อยู่ในสภาพ แวดล้อมที่ดี และฝึกตนให้เป็นคนดีด้วยตัวเองให้ได้ คนดีที่เรา การคิดอย่างคนดี หมายถึง การคิดอย่างมีเหตุผล การ ยึดเปนต้นแบบก็เหมือนรายการอาหารที่อยู่ในร้าน หากเรา รู้จักคิดเชิงวิเคราะห์ การมองสิ่งต่างๆ อย่างรอบคอบ รอบด้าน อยากอิ่ม ก็ต้องสั่งอาหารนั้นมากินจนอิ่มด้วยตัวเอง อุปมานี้ ทั่วถึง ถ่องแท้ ด้วยวิธีการแห่งปัญญา ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ ไม่ตัดสิน ฉันใด อุปมัยก็ฉันนั้น การชื่นชมคนดีอย่างเดียวย่อมไม่พอ ต้อง อะไรอย่างหุนหันพลันแล่น แต่รู้จักใช้ปัญญาวิเคราะห์วิจัยวิจารณ์ ฝึกตนให้เป็นคนดีด้วยตัวเองด้วย จึงจะถือว่าประสบความส�าเร็จ อย่างลึกซึ้ง ใครก็ตามคิดดี ก็ย่อมจะมีชีวิตที่ดี เนื่องเพราะ “ชีวิต คบคนดี เรียนรู้จากคนดี คิดอย่างคนดี และเปนคน ของเรา ก็คือ เงาของความคิด คิดดี ชีวิตก็ดี คิดไม่ดี ชีวิตก็แย่” ดี ๕ ประการนี้ คือ สิริมงคลแห่งชีวิต ตลอดปและตลอดไป.

๕. เป็นคนดี

๓. คิดอย่างคนดี

ครอบครัวพอเพียง : ๑7


ู ร ค น  ป เ ความ

น ต น ็ ป เ ม า ว ค

“แม่พิมพ์ของชาติ....”

เมอื่ ข้าพเจา้ กลับมาเปน็ แม่พมิ พ์ของชาติ

ค�าว่า “ครู” ส�าหรับข้าพเจ้า คือ สิ่งที่ข้าพเจ้ารู้สึกมี ความภาคภูมิใจทุกครั้งที่ใช้แทนตนเอง เพราะนั่นหมายถึง การ ที่ข้าพเจ้าได้ อบรม สอนสั่ง ให้สอนลูกศิษย์ให้มีความรู้ความ สามารถและมีคุณธรรม และที่ส�าคัญ คือการได้เป็นแม่พิมพ์ของ ชาติ ซึ่งภาระความรับผิดชอบที่ข้าพเจ้าเต็มใจ ตั้งใจท�าก็จะเพิ่ม ขึ้นด้วย แม้บางครั้งอาจเกิดความท้อแท้และเหนื่อยล้าก็ตาม แต่ ข้าพเจ้าก็ไม่เคยบอกให้ข้าพเจ้าถอยหรือหมดก�าลังใจ ยิ่งนานวัน ข้าพเจ้าก็ยิ่งรักในวิชาชีพครู ทุก ๆวันที่ข้าพเจ้าเดินผ่านลูกศิษย์ พวกเขาจะหยุดเพื่อ ให้ข้าพเจ้าเดินผ่านไปก่อนพร้อมค�าพูดแสดงความเคารพ “ครูกัน ครับ/ ค่ะ สวัสดีค่ะ/ครับ” และหากข้าพเจ้ามีสัมภาระมาด้วย ค�าถามที่ตามมาก็คือ “ให้ผม/หนูช่วยไหม ครับ/ค่ะ” นั่นคือสิ่ง ที่ยืนยันว่า ข้าพเจ้ามีลูกศิษย์ที่แสนน่ารัก ข้าพเจ้าได้มาสอนที่โรงเรียนบ้านห้วยผึ้งใหม่ ที่ตั้งอยู่ที่ ต�าบลแม่โถ แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ส�านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต ๒ ซึ่งห่างจากหมู่บ้านของข้าพเจ้า ประมาณ ๙๐ กิโลเมตร นักเรียนมีทั้งหมดจ�านวน ๒๙๕ คน เปิด สอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับชั้น ม.๖ ร้อยละ ๕๐ ของ นักเรียนเป็นชนเผ่าม้งและอีกร้อยละ ๕๐ เป็นชนเผ่ากะเหรี่ยง ๑8 : ครอบครัวพอเพียง

ข้าพเจ้าได้สอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ที่ข้าพเจ้าได้ ร�่าเรียนมา แต่การเรียนการสอนในโรงเรียนต่างจังหวัดนั้นต้อง ยอมรับในเรื่องความไม่พร้อมทางด้านสื่อและนวัตกรรม รวมถึง การใช้ภาษาไทยเนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาที่สองของนักเรียน การสื่อสารกันระหว่างครูและนักเรียนจึงอาจท�าให้เกิดอุปสรรค ขึ้นบ้าง


ส่วนชนเผ่าม้งจะมีประเพณีอย่างหนึ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดัง คือประเพณีปีใหม่ม้งซึ่งจะจัดในช่วงกลางเดือนธันวาคมของทุกปี กิจกรรมที่ส�าคัญ คือ ก่อนที่จะถึงวันปีใหม่นั้น แต่ละครอบครัวจะ ความสะอาดบ้านเรือนของตนเอง ในหมู่บ้าน มีการจัดการละเล่น ต่าง ๆ แม่บ้านจะเตรียมชุดประจะเผ่าชุดใหม่ให้กับสามีและลูกๆ ทุกคนใส่คนละชุดซึ่งแม่บ้านจะใช้เวลาปักชุดนั้นทั้งปี การละเล่น ดังกล่าว เช่น การเล่นลูกข่างซึ่งจะแข่งขันกัน ใครตีแม่นหรือลูก ข่างหมุนได้นานก็จะได้เป็นฮีโร่ของงาน นอกจากนี้วันนี้จะเป็นวันที่หนุ่มสาวจะเลือกคู่กันโดยใช้ วิธีโยนลูกข่าง โดยหนุ่มๆ สาวๆ จะแต่งกายด้วยชุดสวยงาม ฝ่าย ส� า หรั บ ข้ าพเจ้าแล้วท�าให้นึกย้อนกลับไปเมื่ อ สมั ย ที่ หญิงจะเป็นฝ่ายท�าลูกช่วงซึ่งท�าจากผ้าเป็นลูกกลมๆ และวานให้ ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนที่มีภาษาไทยเป็นภาษาที่สองเช่นเดียวกับ เพื่อนหญิงหรือจะเป็นหญิงที่แต่งงานแล้วเป็นผู้น�าลูกช่วงของตน ลูกศิษย์และเคยเป็นอุปสรรคในเรียนรู้สิ่งต่างๆ ยิ่งท�าให้ข้าพเจ้า ไปมอบให้กับชายหนุ่มที่ตนพึงพอใจ และหญิงสาวที่ท�าหน้าที่เป็น แม่สื่อนี้จะบอกกับชายหนุ่มว่าลูกช่วงนั้นเป็นของหญิงสาวคนใด รู้สึกเห็นใจพวกเขาเป็นอย่างมาก และพยายามสอนให้ลูกศิษย์ว่า “นักเรียนอย่าเพิ่งท้อ เพื่อที่ชายหนุ่มจะได้น�าลูกช่วงนี้ไปโยนหรือขว้างเล่นกับหญิงสาว กับการเรียนรู้สิ่งต่างๆ แม้นักเรียนจะมีภาษาไทยเปนภาษาที่ ผู้ที่เป็นเจ้าของลูกช่วงต่อไป หรือหากผู้ชายหมายตาหญิงสาวคน สอง ครูก็เคยรู้สึกเหมือนนักเรียนที่คิดว่ามันเปนอุปสรรคขวาง ใดไว้ก็จะไปขอโยนลูกช่วงด้วย ถ้าฝ่ายหญิงไม่พอใจก็จะไม่โยน กั้นครูอยู่ แต่ ณ วันนี้ครูมายืนอยู่หน้าชั้นเรียนได้และมาสอน ด้วย ระหว่างที่ชายหนุ่มหญิงสาวโยนลูกช่วงก็จะพูดจาจีบกันใน พวกเราได้นั้นก็เพราะครูไม่เคยยอมแพ้โชคชะตาของตัวเอง เวลานี้ ในส่วนใหญ่แล้วคู่โยนลูกช่วงจะมีการสู่ขอแต่งงานกัน หลังปีใหม่ ลูกศิษย์ของครูก็ต้องไม่ยอมแพ้เช่นกัน” ข้าพเจ้าจึงพยายามสอนให้พวกเขาว่า “วิทยาศาสตร์ นั้นเปนสิ่งที่ใกล้ตัวนักเรียนที่สุด และเปนสิ่งที่เรียนไม่ยากจน เกินความสามารถ ขอเพียงลูกศิษย์ของครูมีความมุ่งมั่น อดทน พยายามและตั้งใจ และครูเชื่อว่าลูกศิษย์ของครูสามารถท�าได้” นี่เป็นสิ่งที่ข้าพเจ้าพยายามบอกลูกศิษย์เสมอ ชุมชมบ้านห้วยผึ้งใหม่มีลักษณะการอยู่ร่วมกันเหมือน ญาติ พี่ น ้ อ ง ส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรม ทั้ ง ชนเผ่ า กะเหรี่ยงและชนเผ่าม้งนั้นจะมีวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่าง ช่วงที่มีเทศกาลปีใหม่ม้งนั้น ทางโรงเรียนมีการหยุด กันแต่อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ชนเผ่ากะเหรี่ยงนั้นมีประเพณีที่ การเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และได้ร่วมงานอย่าง ส�าคัญ คือ พิธีขึ้นปีใหม่ (นี่ซอโค่) เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในช่วง เต็มที่ นับว่าเป็นประเพณีที่สร้างความตื่นตาตื่นใจส�าหรับข้าพเจ้า เดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันส�าคัญวันหนึ่งของชาวกะเหรี่ยง ยิ่งนัก ซึ่งข้าพเจ้าพยายามสอบถามเกี่ยวกับประเพณีดังกล่าวจาก เพราะเหล่าญาติพี่น้องที่ได้แต่งงาน หรือจากบ้านไปท�างานที่อื่น นักเรียน และคนในชุมชนที่มาร่วมงาน จึงท�าให้ทราบขั้นตอนการ จะกลับมาร่วมงานปีใหม่กันอย่างถ้วนหน้า จัดกิจกรรมอย่างคร่าวๆ และยังต้องท�าการศึกษาอีกต่อไป ยิ่งนานวันยิ่งท�าให้ข้าพเจ้าต้องศึกษาหาความรู้ด้าน ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ และภูมิปัญญาของคนในชุมชน ทั้งนี้เพื่อการสอนลูกศิษย์ให้เป็น คนดีมีคุณธรรมจริยธรรม เป็นคนเก่ง เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ดีงามช่วย สร้างและพัฒนาประเทศชาติต่อไป นางสาว กรรณิการ์ ชมพนา ครูวิทยาศาสตร์คืนถิ่นทุนการศึกษา มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จังหวัดแม่ฮ่องสอน โรงเรียนห้วยผึ่งใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

วันนีค้ รูมายืนอยู่หน้าชั้นเรียนได้ และมาสอนพวกเราได้นนั้ ก็เพราะครู ไม่เคยยอมแพ้โชคชะตาของตัวเอง ลูกศิษย์ของครูก็ต้องไม่ยอมแพ้ เช่นกัน

ครอบครัวพอเพียง : ๑๙


20 : ครอบครัวพอเพียง


ครอบครัวพอเพียง : 2๑


Messages ต่างๆ ซึ่งจะมีประโยชน์และจะมีส่วนช่วยช่าง หรือ ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์สาเหตุเสียได้มาก ให้จดบันทึกอาการ ที่เกิดขึ้นให้ละเอียดที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ เพื่อที่ช่างจะได้ซ่อมได้เร็ว และตรงจุด โดยทั่วไปแล้ว ค�ำถามที่ช่างหรือคนที่จะช่วยเหลือคุณ มักจะถามเช่น จอภาพแสดงอาการอย่างไร หรือ Error massage ที่เกิดขึ้นคืออะไร เป็นต้น ถ้าคุณสามารถที่จะตอบค�ำถามเหล่านี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อช่าง และคุณเอง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งถ้าคุณปรึกษากับช่างผ่านทางโทรศัพท์ แล้วก่อนที่จะตัดสินใจ เลือกร้านซ่อมก็ให้ตรวจระยะเวลา ประกันของคอมพิวเตอร์และ บรรดาอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ให้ดี ๔.ส�ำรวจให้ทั่ว ๆ การน�ำเครื่องคอมพิวเตอร์ไปซ่อม กับบริษัทที่คุณซื้อมาก็ไม่ใช้ว่าจะเป็นวิธีที่ดีเสมอไป เพราะบาง

๑๐ เทคนิคการ ซ่อม คอมพิวเตอร์ ด้วยตัวเอง

บ่อยครั้งที่คอมพิวเตอร์มีปัญหา เช่น อาการจอมืด, ซีดีรอมไม่ท�ำงาน หรือฮาร์ดดิสก์เสีย ถึงแม้ว่าตอน ซื้อมาจะมีการ รับประกัน ๒ ถึง ๓ ปี ดังนั้นการซ่อมจึงเป็นเรื่องหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่นี้เรามาดูแนวทางการซ่อมคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง ๑.บันทึกทุกอย่างเก็บไว้ แม้ว่าการใช้คอมพิวเตอร์ จะ ท�ำให้สามารถที่จะทิ้งเอกสารกองโต ออกไปจากโต๊ะท�ำงาน ได้ ก็ตาม แต่ก่อนที่ทิ้งทุกอย่างไป ควรจะท�ำการหาวิธีในการเก็บ ข้อมูลเหล่านั้นไว้ เผื่อในกรณีที่อาจเกิดปัญหา ในอนาคตยอม เสียเวลาสักเล็กน้อยกรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ ให้เรียบร้อย ซึ่ง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์บางราย ก็ให้มีการลงทะเบียนกันแบบออนไลน์ แต่อย่าลืมพิมพ์ส�ำเนาออกมาเก็บรวมไว้กับใบเสร็จรับเงิน เก็บ ใบเสร็ จ รั บ เงิ น และใบรั บ ประกั น ทุ ก อย่ า งไว้ ใ ห้ ดี โดยเฉพาะ อุปกรณ์ที่มีการรับประกันแยกต่างหากออกไปไม่รวมกับ ตัวเครื่อง เช่น โมเด็ม, ซีพียู, เมนบอร์ด, จอ และอื่น ๆ ๒.ท� ำ การบ้ า นก่ อ นเลื อ กซื้ อ ตอนที่ ซื้ อ คอมพิ ว เตอร์ ควรจะต้ อ งนึ ก ถึ ง การซ่ อ มแซมที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต ในการ เลื อ กซื้ อ ก็ ต ้ อ งคิ ด อยู ่ เ สมอว่ า บางร้ า นรั บ ซ่ อ มจะมี ก ารคิ ด ค่ า ตรวจสอบเครื่องด้วย ไม่ว่าเครื่องจะอยู่ในประกันหรือไม่ก็ตาม ก่อนซื้อคงจะต้องท�ำการบ้านกันให้ดีในเรื่องของประกันที่บริษัท มีให้ ไม่ว่าจะในเรื่องประกัน การขยายระยะประกัน หรือว่าค่า ธรรมเนียมต่าง ๆ สิ่งเหล่านี้จะท�ำให้คุณประหยัดทั้งเงินและเวลา ได้ในอนาคต ๓.จดบันทึกอาการเสีย เมื่อคอมพิวเตอร์มีอาการผิด ปกติขึ้น ให้จดบันทึกอาการต่างไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Error 22 : ครอบครัวพอเพียง

ครั้งถ้าศึกษาให้ดี ๆ อาจพบว่า ซ่อมกับบริษัทอาจท�ำให้คุณต้อง เสียทั้งเงินและเวลา มากกว่าที่ควรเป็นก็ได้ วิธีที่น่าจะดีกว่า ก็คือ ลองส�ำรวจร้านอื่น ๆ ดูไม่ว่าจะเป็นร้านเล็กหรือใหญ่ ตรวจสอบ ข้อมูลเรื่องเวลาและราคาในการซ่อม เช่น ค่าตรวจเครื่อง ค่าแรง หรือค่าซ่อมนอกสถานที่ (ในกรณีที่ต้องการให้ช่างมาซ่อมที่บ้าน) เป็นต้น ร้านเล็ก ๆ บางครั้งให้ความส�ำคัญเป็นกันเองกับลูกค้า มากกว่า ร้านใหญ่ ๆ เนื่องจากมีความต้องการอยู่รอดในการ แข่งขันกับร้านใหญ่ ๆ ในขณะเดินส�ำรวจร้านต่าง ๆ อยู่ให้ลอง สังเกตร้านที่ติดโลโก้ยี่ห้อดังเช่น ไอบีเอ็ม , คอมแพค , เป็นต้น ซึ่งมันอาจเป็นไปได้ว่า ร้านนั้น ๆ รับซ่อมเครื่องที่อยู่ในประกัน ของยี่ห้อนั้น ๆ แต่อย่างไรก็ตามร้านที่รับซ่อมคอมพิวเตอร์ส่วน ใหญ่จะรับซ่อม เครื่องทุกยี่ห้ออยู่แล้ว ๕.ค้นหาบริการทางโทรศัพท์ บางกรณีอาจเป็นการไม่ สะดวกที่จะเดินทางไปซ่อมที่ร้านโดยตรง การโทรศัพท์ไปปรึกษา จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เมื่อคุณเริ่มโทรศัพท์หาร้านซ่อม ให้ลอง สังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ที่คุณได้รับทางโทรศัพท์ เช่น ต้องรอสาย นานเท่าไร เต็มใจช่วยเหลือหรือไม่ แค่นี้ก็เป็นการช่วยตัดสินใจได้ ว่า ควรซ่อมกับร้านนั้นหรือไม่ แล้วอย่าลืมจดชื่อรุ่นหรือ Serial Number ของคอมพิวเตอร์ไว้เพื่อความสะดวก หรือจะโทรไปรายการ ๙๔ FM ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๑๔:๐๐-๑๕:๐๐ ที่นี้รับตอบปัญหาทุกเรื่องดีมากเลย

ข้อ ๖-๑๐ ติดตามต่อเล่มต่อไปนะครับ


AD สคร

ครอบครัวพอเพียง : 23


1 1

วิธีเล่น

เติมตัวเลข 1 - 9 ในช่องว่างของตารางโดย

ตัวเลขจะต้องไม่ซ�้ากันทั้งแนวตั้ง แนวนอนรวมทั้งในตาราง ย่อย 3 x 3 และเส้นทแยงมุมที่ตัดผ่านตารางหรือ ตัว X จะต้องเติมตัวเลข 1 - 9 ไม่ให้ซ�้ากันอีกด้วย

7

4

6 9 7

A I U O D H E A Z A C V

P X L U T A E B C A D X

O Z D K G W S E N S S N

24 : ครอบครัวพอเพียง

B R E A D O Q D S F M R

U Y W L A R Y U Q E D I

T G F A O Q X Y R H K C

T H J I B V T D T L R E

E K O M E L E T T L E L

R L C N M G A S Y P I J

J N A L E A Z A U O A N

Q V Q C L Y H B I M P T

1

1

5 3

2 3 7

6 9

วิธีเล่น วงหาค�าศัพท์ที่ก�าหนดให้ และหาความหมายของค�าศัพท์ M T S Y C O F F E E Z G

6

8 4 6

8

7 9

Milk = .......... Bread = .......... Butter = .......... Candy = .......... Omelette = ...... Jam = .......... Honey = .......... Tea = .......... Coffee = .......... Yogurt = .......... Cheese = .......... Rice = ..........

2 8 7 7

2

3


3

1

7 6

6

2

1 3

4

5

8

1

6

4 9

2

3

เนอื่ งจากเกิดความผิดพลาดในโจทย์เกมส์ Sudoku ประจ�าฉบับที่ 48 ทางนิตยสาร Is am are ครอบครัวพอเพยี ง ต้องขออภัยท่านผูร้ ว่ มสนุก ทุก ๆ ท่าน ไว้ ณ ที่นี้และขอขอบคุณ ส�าหรับ จดหมายติชม เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นต่อไป กองบรรณาธิการ

5 8 7

2

9

5 3

เฉลย ฉบับที่ 48 KNICKERS PANTS TROUSERS BIKINI DRESS JACKET SUIT SWEATSHIRT TANKTOP TIE TIGHTS STOCKING VEST BLOUSE SHIRT SKIRT SHOE SANDAL

= กางเกงทรงหลวมๆ = กางเกงชั้นใน = กางเกง = ชุดว่ายน�้าสตรีแบบ 2 ชิ้น = ชุดกระโปรง = เสื้อชั้นนอก = ชุดสูท = เสื้อสเวสเตอร์ = เสื้อกล้าม = เนคไท = ถุงน่อง = ถุงน่อง = เสื้อกั๊ก = เสื้อครึ่งตัวของสตรี = เสื้อเชิ้ต = กระโปรง = รองเท้า = รองเท้าแตะ

ร่วมสนุกตอบปญหาชิงรางวัลคอมพิวเตอร์ตั้งโตะ จ�านวน 5 รางวัล โดยเล่นเกม SUDOKU และ CROSSWORD ให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่งมาที่ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง

31/2 ซอยทองหล่อ 2 ถนนวิภาวดี แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

**หมายเหตุ หมดเขตร่วมสนุกชิงรางวัลประจ�าเดือน กุมภาพันธ์ ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 **พร้อมประกาศรายชื่อผู้โชคดีในนิตยสารเดือนถัดไป ครอบครัวพอเพียง : 25


ดร.ไสว บุญมา (คนไทยในอเมริกา)

สามหญิง

คนมีทุกข์มักอยากให้เวลาผ่านไปไว ๆ ส่วนคนมีสุขมักต้องการให้เวลา ผ่านไปช้า ๆ แต่เวลาไม่ได้ผ่านไปไหน โลกต่างหากที่หมุนรอบตัวเองไป ซึ่งก็อยู่ในอัตราคงที่ เมื่อปีที่เพิ่งผ่านไปประชากรโลกเพิ่มขึ้นเป็น ๗ พั น ล้ า นคนเนื่ อ งจากจ� า นวนเด็ ก เกิ ด ใหม่ ม ากกว่ า จ�านวนผู้ตายซึ่งมีจ�านวนไม่ต�่ากว่า ๕๗ ล้านคน ตัวเลข เหล่านี้คิดโดยประมาณเนื่องจากเราไม่รู้จ�านวนผู้เกิด และผู ้ ต ายที่ ก ระจั ด กระจายอยู ่ แ ทบทุ ก มุ ม โลกอย่ า ง แท้จริง การเกิดและการตายได้รับความสนใจเฉพาะ ในหมู่คนใกล้ชิดเท่านั้นยกเว้นในบางกรณีซึ่งในระหว่าง ที่มีชีวิตอยู่ผู้ตายได้ท�าอะไรเป็นที่ประทับใจของเพื่อน มนุษย์อย่างกว้างขวาง เมื่อปีที่แล้ว ผู้หญิงเสียชีวิตไป นับสิบล้านคน แต่นิตยสารไทม์กล่าวถึงเพียงไม่กี่คน ในจ�านวนนี้ ๓ คนสร้างผลงานและความประทับใจไว้ 26 : ครอบครัวพอเพียง

ให้ศึกษาคนละแนวคือ อะลิซาเบธ เทย์เลอร์, วังการี มาไธ และเอมี่ ไวน์เฮาส์

อะลิซาเบธ เทย์เลอร์

อะลิซาเบธอายุยืนถึง ๗๙ ปีและน่าจะเป็น ที่รู้จักของนักดูภาพยนตร์รุ่นเก่า เธอเป็นลูกสาวของ ชาวอเมริ กั น ซึ่ ง เกิ ด ในขณะที่ พ ่ อ แม่ ไ ปท� า งานอยู ่ ใ น อังกฤษ ความงามของเธอบาดตากว่าดาราส่วนใหญ่ มากนั ก ท� า ให้ ห นุ ่ ม เล็ ก ใหญ่ ห ลงรั ก เธอกั น เป็ น พรวน ด้วยรูปสมบัติเหนือชั้นและความสามารถในการแสดง อะลิซาเบธมีโอกาสเข้าร่วมวงการภาพยนตร์ตั้งแต่ยัง


(ดาราตาหยาดน�้าผึ้งอะลิซาเบธ เทย์เลอร์)

(สิ่งที่อะลิซาเบธแสนโปรดได้แก่เครื่องประดับราคาสูง)

เป็นเด็กและได้รับรางวัลมากมายในชีวิตการแสดงอันยาวนาน นอกจากนั้น เธอมักถูกกล่าวขวัญถึงในด้านการแต่งงาน ๘ ครั้งทั้งกับคนในวงการภาพยนตร์และวงการอื่น หนุ่มเล็กใหญ่ที่ หลงใหลอะลิซาเบธมักหาสิ่งที่เธอแสนโปรดมาประเคนกันอย่างไม่อั้น นั่นคือ เพชรนิลจินดาที่เงินหาซื้อได้ หลังเธอตาย เครื่องเพชรทั้ง หลายถูกน�าออกขายทอดตลาดได้เป็นเงิน ๑๑๘ ดอลลาร์ ตามความปรารถนาของเธอที่สั่งไว้ เงินส่วนใหญ่ถูกน�าไปมอบให้แก่มูลนิธิ เพื่อการกุศลที่เธอก่อตั้งขึ้น มูลนิธินั้นมุ่งเน้นไปที่การค้นคว้าหาทางป้องกันและช่วยเหลือผู้ป่วยด้วยโรคเอดส์ แรงบันดาลใจที่ท�าให้ อะลิซาเบธก่อตั้งมูลนิธินั้นขึ้นมาได้แก่การตายด้วยโรค เอดส์ของดาราชื่อกระฉ่อน ร็อค ฮัดสัน ซึ่งเป็นเพื่อนซี้ ที่เธอรักมากเป็นพิเศษ

วังการี มาไธ

วังการีเสียชีวิตเมื่ออายุ ๗๑ ปีซึ่งนับว่าไม่ สั้นนักหากมองว่าเธอเกิดในกระท่อมดินกลางชนบท ห่างไกลในประเทศเคนยา เธออยู่กับแม่เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากพ่อไปท�างานให้เจ้าของไร่ในต่างถิ่น แม้แม่จะ ไม่เคยไปโรงเรียน แต่ก็พยายามส่งเธอไปเรียนหนังสือ ในโรงเรียนของหมอสอนศาสนาซึ่งอยู่ไกลออกไปหลาย กิโลเมตร เธอเดินไปโรงเรียนทุกวันและกลับมาช่วยแม่ ท�างานทั้งในบ้านและในสวนครัว ผลการเรียนอันเป็น เลิศส่งผลให้เธอได้รับทุนการศึกษาเพื่อไปเรียนทั้งใน อเมริกาและเยอรมนีจนจบดุษฎีบัณฑิต

(วังการี มาไธ) การศึกษาเปิดตาให้วังการีได้เห็นประเทศเคนยาจากหลายแง่มุม เธอมองเห็นความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างความยากจนของคนชนบท การ ตัดไม้ท�าลายป่า การพัฒนาแบบไม่ยั่งยืนและบทบาทของสตรีที่มักถูกจ�ากัด เธอริเริ่มกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อให้สตรีเคนยารวมตัวกันปลูกต้นไม้ เนื่องจากการปลูกต้นไม้ส่งผลให้สตรีมีงานท�า ต้นไม้ปลูกใหม่ก่อให้เกิด ความชุ่มชื้นและเป็นวัตถุดิบส�าหรับฟืนและถ่านอันเป็นส่วนส�าคัญของการ พัฒนาแบบยั่งยืน กระบวนการนี้มีชื่อว่า “ทิวสีเขียว” หรือ Green Belt Movement ซึ่งได้รับความส�าเร็จสูงมาก กระนั้นก็ตาม ความเคลื่อนไหว นั้นได้รับการต่อต้านจากรัฐบาลฉ้อฉลจนเธอถูกท�าร้ายหลายครั้ง แต่เธอ ไม่ยอมแพ้แม้จะเคยถูกทุบตีถึงสลบก็ตาม การต่อสู้ของวังการีในด้านสิทธิ ของสตรีและสิ่งแวดล้อมได้รับการยอมรับทั่วโลกส่งผลให้เธอได้รับรางวัล โนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี ๒๕๔๗

ครอบครัวพอเพียง : 27


(การปลูกปาในเคนยาเริ่มเปลี่ยนเขาหัวโล้นเป็นปาไม้และน�าความชุ่มชื้นที่หายไปกลับคืนมา)

เอมี่ ไวน์เฮาส์

เอมี่เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงอันโด่งดังของอังกฤษผู้ได้รับรางวัลสารพัดอย่างตั้งแต่อายุยังน้อย แต่โลกนี้ไม่มีของเปล่า พรสวรรค์อันแสนหายากจึงมักได้มาพร้อมกับค�าสาป ในกรณีของเอมี่ ค�าสาปได้แก่เธอมักควบคุมอารมณ์ตัวเองไม่ได้และมักท�าร้าย ผู้อื่นเสมอ ซ�้าร้ายในบางครั้งเธอยังท�าร้ายตัวเองอีกด้วย ผลของการควบคุมตัวเองไม่ได้ที่ร้ายแรงที่สุดของเอมี่ได้แก่การดื่มสุราและเสพยาสารพัดอย่างรวมทั้งกัญชา โคเคนและ เฮโรอิน บางครั้งเธอถูกจับขังและบางครั้งต้องหยุดงานเพราะการเสพยาและการดื่มสุราจนเมามาย แต่นั่นยังไม่ร้ายเท่ากับการ ดื่มสุราจนเมาตายเมื่อตอนเธออายุเพียง ๒๗ ปีเท่านั้น

(เอมี่ ไวน์เฮาส์ กับรอยสักที่โดดเด่น)

(กัญชาเป็นหนึง่ ในยาเสพติดที่เอมี่ ไวน์เฮาส์โปรด)

เรื่องของหญิง ๓ คนนี้ยังมีอีกมาก เท่าที่เล่ามาคร่าว ๆ น่าจะพอเดาได้ว่าใครควรได้รับการศึกษาเพื่อน�ามาเป็นตัวอย่างใน ทางดีและใครที่ไม่ควรเดินตาม 28 : ครอบครัวพอเพียง


ด.เด็กช่างคิด ด. เด็กช่างคิด

จิตใส...ใจอาสา...ฝาโลกมืด.. นักเรียนผู้บกพร่องทางสายตาโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย สร้างสุขในโรงพยาบาล แม้จะอยู่ในโลกมืด แต่น้องๆ เหล่านีก้ ็ สามารถสร้างความสุขให้กับทุกคนผ่านทางเสียงเพลง ด้วยการ ร้องเพลงผ่อนคลายความเครียดให้กับผู้ปวย นายฉัตรินและนายฉันทวัฒน์ สินธุสาร สองพี่น้องฝาแฝด สมาชิกของชมรมครอบครัวพอเพียง

ก่อนที่จะมาเป็น “ชมรม จิตใส ใจอาสา ฝ่าโลกมืด” กลุ่มนักเรียนเรียนร่วมผู้พิการทางสายตา สร้างสุขในโรงพยาบาลนั้น ชมรมนี้เดิมชื่อว่า “ชมรม ธารน�้าใจ” ตั้งขึ้นมาตามนโยบายของโรงเรียนที่ครูทุก คนจะต้องจัดกิจกรรมชุมนุมขึน้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพและ คุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนเข้าเป็นสมาชิกของ ชุมนุม สมาชิกในช่วงแรก ๆ จะมีนักเรียนปกติทั่วไป มากกว่านักเรียนพิการทางสายตา วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นขณะนั้ น เพื่ อ ต้ อ งการให้ นั ก เรี ย นปกติ ที่ ส มั ค รเป็ น สมาชิ ก ของชุ ม นุ ม มี น�้ า ใจ

เอื้อเฟือและช่วยเหลือเด็กพิเศษกลุ่มนี้ ซึ่ง เป็นการช่วย เหลือและแบ่งปันน�้าใจต่อกัน รวมทั้งนักเรียนพิการทาง สายตาก็ต้องเรียนรู้ที่จะมีน�้าใจและเอื้อเฟือเกื้อกูลกับ นักเรียนปกติทั่ว ๆ ไปของโรงเรียนด้วย กว่ า น้ อ งๆ จะมาถึ ง วั น นี้ ไ ด้ ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น เพราะการได้รับโอกาสจากผู้ใหญ่ใจดีที่เข้าใจและเห็น ศักยภาพ ท�าให้เวลานี้ เยาวชนกลุ่มนี้ นอกจากจะไม่ถูก มองว่าเป็น “เด็กมีปัญหา” แล้ว ในทางกลับกัน สังคม ยังได้เห็นถึง “ศักยภาพ” จากวันนั้น วันที่ชมรมครอบครัวพอเพียงได้มี

ครอบครัวพอเพียง : 2๙


โอกาสไปจัดกิจกรรม “สร้างสรรค์เยาวชนเป็นพลเมือง เข้มแข็ง ใจอาสา ปีที่ ๓ ที่โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย เราได้รับสมาชิกใหม่ของชมรมครอบครัวพอเพียง ซึ่ง เป็นเด็กพิเศษ (ตาบอด) เป็นสมาชิกของครอบครัวพอ เพียงด้วย และเราได้มีโอกาสซักถามถึงความเป็นมาของ น้องกลุ่มนี้จากอาจารย์ผู้สอนการศึกษาพิเศษ อาจารย์ณสิริ คุ้มพร ผู้สอนการศึกษาพิเศษ โรงเรี ย นสั น ติ ร าษฎร์ วิ ท ยาลั ย เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ขณะนี้ โรงเรียนมีเด็กพิเศษอยู่ทั้งหมด ๑๙ คน เป็นเด็กนักเรียน เรียนร่วม เมื่อว่างจากการเรียน ทุกคนก็จะเข้ามาท�า กิ จ กรรมต่ า งๆ ร่ ว มกั น ในห้ อ งกิ จ กรรมพิ เ ศษที่ ท าง โรงเรียนจัดไว้ให้ กิจกรรมหนึ่งที่เด็กๆ ท�าได้ดี คือ “การ ร้องเพลง” เพราะเด็กๆ กลุ่มนี้มีพื้นเสียงที่ไพเราะและ ชื่นชอบการร้องเพลงอยู่แล้ว ครูจึงเพียงช่วยฝึกฝนและ

30 : ครอบครัวพอเพียง

ให้ค�าแนะน�า รวมถึงดูแลเรื่องบุคลิกภาพบนเวที ส่วน การฝึกซ้อมนั้น เด็กๆ เองมีวินัย ขยันฝึกซ้อมกันทุกๆ เช้าวันพุธก่อนเข้าเรียน หากแต่เช้าวันพุธไหนไม่ว่างก็ จะเลื่อนไปฝึกซ้อมในช่วงเย็นทดแทน ย้อนเล่าถึงจุดเริ่มต้นการร้องเพลงประสาน เสี ย งของเด็ ก กลุ ่ ม นี้ เ ริ่ ม จาก “อาจารย์ จ รรยา ธนะนิมิตร” หัวหน้างานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้พานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการจิตอาสาตาม โรงพยาบาลต่างๆ จากนั้นจึงได้ก่อตั้งชมรม “จิตใส ใจอาสา” ขึ้นเพื่อเป็นจุดรวมพลนักเรียนที่สนใจให้มา ท�ากิจกรรมจิตอาสาในโรงพยาบาลร่วมกัน และเมื่อ เห็นว่าเด็กพิเศษกลุ่มนี้มีพรสวรรค์ในการร้องเพลงอยู่ ในขั้นดีมาก จึงชักชวนให้เข้ามาร่วมกิจกรรมจิตอาสา ในชื่อ “ชมรมจิตใส ใจอาสา ฝ่าโลกมืด” พาน้องๆ ไปร้องเพลงที่สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี หรือโรงพยาบาลเด็กให้ผู้ป่วยเด็กและพ่อแม่ผู้ปกครอง ได้รับฟังระหว่างรอรับการรักษา เป็นการผ่อนคลาย ความตึงเครียดให้กับผู้ป่วยเด็กเล็กและผู้ปกครองได้ เป็นอย่างดี และระหว่างที่น้องๆ ท�ากิจกรรมนั้นเอง ยังเป็นเวลาเดียวกับที่น้องๆ จะได้รู้จักกับการฝึกฝน ตนเอง เพื่อส่งต่อ “ความสุข” แก่ผู้อื่น และเปิดรับ “ความสุข” จากคนรอบข้าง ความไม่เหมือนใคร ไม่ได้ท�าให้เขาท้อแท้ ต่อชีวิตเลย เขาร่าเริงสดใส มีความสุขและเขายังท�า ประโยชน์ให้กับสังคมในลักษณะจิตอาสาสร้างความสุข


ขยันกว่าคนอื่นมากเปน ๒ เท่า” น้องนัทแฝดผู้พี่ และน้องตริน แฝดผู้น้องเกิด ห่างกันเพียง ๕ นาที ขณะที่คุณแม่คลอด น้องทั้งสอง มีอายุครรภ์เพียง ๖ เดือนกว่า ด้วยความรักของทั้งพ่อและแม่ แม้คุณหมอจะบอกว่า น้องต้องให้ออกซิเจน ในตู้อบ เป็นเวลานาน ซึ่งจะส่ง ผลกระทบต่อดวงตาของน้องทั้งสอง พ่อและแม่ก็ได้ เตรี ย มใจไว้ แ ละเลี้ ย งดู น ้ อ งทั้ ง สองด้ ว ยความรั ก และ ความอบอุ ่ น จนถึ ง ปั จ จุ บั น แม้ ว ่ า ในขณะนี้ ภ าระใน ความบันเทิงให้กับผู้คนด้วยการน�าศักยภาพและความ การเลี้ยงดูน้องทั้งสองจะตกเป็นของแม่ผู้เดียวเพราะ สามารถที่มีอยู่ในด้านดนตรีและขับร้องเพลงประสาน พ่อได้ป่วยเป็นอัมพาต แต่น้องทั้งสองก็อดทนและมี ความเพียรพยายาม แม้บ้านที่อาศัยจะอยู่ถึงปากเกร็ด เสียง และเต้นด้วยความมั่นใจและสนุกสนาน เขาไม่ ใ ช่ แ ค่ ผู ้ ร อที่ จ ะรั บ ความช่ ว ยเหลื อ แต่ ทั้ ง คู ่ ก็ นั่ ง รถเมล์ เพื่ อ มาให้ ทั น เข้ า แถวตอนเช้ า เท่านั้น เขาเป็นผู้ให้ความสุขความบันเทิงได้ดีกว่าผู้คน เวลา ๗.๓๐ น. ที่โรงเรียนสันติราษฎร์ทุกวัน “อยากฝากไปถึงเพื่อนๆ ที่พิการทางสายตา อีกมากมาย ที่ไม่หาโอกาสที่จะท�าดีเพื่อสังคม เขายั ง เป็ น ผู ้ ใ ห้ โ อกาสเด็ ก และเยาวชนใน ว่าอย่าท้อถอย พวกเราสองคนขอเปนก�าลังใจให้ แม้ โรงเรียนสันติราษฏร์วิทยาลัยให้มีโอกาสได้ปลูกฝังจิตใจ พวกเราจะมองไม่เห็นแต่ก็สามารถท�าอะไรได้เหมือน ให้อ่อนโยนและมีจิตส�านึกของการเป็นผู้ให้ ผู้เสียสละ คนปรกติ ทั่ ว ไป เช่ น พวกผมสองคนก็ ส ามารถนั่ ง เอื้อเฟือต่อผู้อื่น ด้วยการอ่านหนังสือให้ฟัง..ช่วยพาเดิน รถเมล์มาเรียนได้เหมือนกัน แต่ก่อนที่บ้านมีรถรับส่ง ไปเรียนในที่ต่างๆ ซึ่งต้องขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียน แต่เมื่อขึ้นชั้น ม.๔ ผมสองคนขอคุณพ่อคุณแม่ว่าขอ สันติราษฏร์วิทยาลัย ที่มีนโยบายสนับสนุนให้นักเรียนผู้ มาโรงเรียนเอง เพราะอยากท�าอะไรด้วยตนเองบ้าง” บกพร่องทางสายตาได้เข้ามาเรียนร่วมกับนักเรียนปกติ สองพี่น้องเล่า ไม่ว่าคน “พิเศษ” หรือ “ปกติ” ถ้าทุกคนมี มาโดยตลอด จิตใจของความเป็น “ผู้ให้” แล้วล่ะก็ คนคนนั้นก็จะมี คุณค่าในตัวเอง และจะท�าให้สังคมมีความสุขร่วม กัน ค่ะ “พลังของการให้ ไม่มีวันสิ้นสุด”

“น้องนัท และน้องตริน” นายฉัตรินและนาย ฉันทวัฒน์ สินธุสาร สองพี่น้องฝาแฝด สมาชิกของชมรม ครอบครัวพอเพียง ชั้น ม.๕ เล่าว่า ได้เข้าชมรมจิตใสใจ อาสา ฝ่าโลกมืด ตั้งแต่อยู่ชั้น ม.๑ เพราะอยากช่วยรุ่นพี่ ร้องเพลง เวลาที่ได้ยินเสียงปรบมือจากผู้ชมจะรู้สึกตื่น เต้นมาก ยิ่งเสียงปรบมือดังมากเท่าไรก็ยิ่งตื่นเต้นมาก เท่านั้น เพราะรู้สึกว่าคนมาดูพวกเราเยอะมาก ๑ ปีที่ ได้เข้ามาอยู่ในชมรมนี้มีความสุขมาก แม้ว่าจะเหนื่อย มากเหมือนกัน เพราะต้องแบ่งเวลาเรียน อ่านหนังสือ ท�าการบ้าน และซ้อมร้องเพลง ท�าให้รู้สึกว่า “เราต้อง

ผูใ้ หญ่ใจดีทอี่ ยากจะมีสว่ นร่วมดูแล เยาวชนกลุม่ พิเศษ ของ ‘ชมรมจิต ใส ใจอาสา ฝาโลกมืด’ ก็ขอเชิญ ได้ทโี่ รงเรยี นสันติราษฏร์วทิ ยาลัย พญาไท

ครอบครัวพอเพียง : 3๑


ปฎิบัติการชุมชนรักษ์น�้ำตามแนวพระราชด�ำริ โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้ำและการเกษตร

32 : ครอบครัวพอเพียง


สนับสนุนโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้ำและการเกษตร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โทรศัพท์ : ๐ ๒๖๔๒ ๗๑๓๒ www.haii.or.th ครอบครัวพอเพียง : 33


www.facebook.com/ครอบครัวพอเพียง และ www.ariyaplus.com โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์

โครงการใสสะอาดพอเพียงเพื่อพ่อสู่สถานศึกษาและชุมชน ภายใต้กิจกรรมสร้างสรรค์เยาวชนเป็นพลเมืองเข้มแข็งใจอาสาซึ่ง ด�าเนินการมาเข้าสู่ปีที่ ๓ แล้วยังคงเดินหน้าสร้างผู้น�าเยาวชนด้าน ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งต่ อ ไปอย่ า งเข้ ม แข็ ง ซึ่ ง เห็ น ได้ จ ากแกน น� า สาวสวยจากโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ที่ เ ข้ า ร่ ว ม กิจกรรมกับโครงการมาอย่างต่อเนื่อง และด้วยปรัชญาของโรงเรียน ที่ว่า “ มนุษย์ที่มีคุณภาพ คือ มนุษย์ที่มีคุณธรรมและความรู้” จึง ท�าให้แกนน�าจากโรงเรียนนี้เข้มแข็งและมีใจอาสาไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า โรงเรียนใดๆ

อย่าลืมกด Like ให้เราด้วยนะครับ

ครอบครัวพอเพียง

34 : ครอบครัวพอเพียง

โรงเรียนทวีธาภิเศก ๒

นับเป็นครั้งแรกที่เข้าร่วมโครงการฯกับโรงเรียนทวีธาภิเศก ๒ ในวิสัยทัศน์โรงเรียนว่า “พัฒ เปนไทย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน” นับเป็นโรงเรียนชั้นน�าท เพียงมาใช้ในการสร้างเยาวชนที่จะเติบโตไปเป็นอนาคตของชาติอย่างมั่นคงและยั่งยืน และสร้างแกน มาก


ฒนาสู่มาตรฐานสากลบนพื้นฐานความ ที่น้อมน�าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ นน�าใจอาสาที่มีคุณภาพได้เป็นจ�านวน

โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์

มาถึงโรงเรียน “มีน�้าใจ อัธยาศัยดี” คงต้องยกนิ้วให้กับ โรงเรียนมัธยมวัดมกุฎกษัตริย์ที่เข้าร่วมโครงการต่อเนื่องมาจากปี การศึกษาที่แล้ว ในปีนี้น้องๆได้แสดงให้เห็นถึงทหารผู้กล้าแห่งพระ ราชาที่มีอาสาเข้าร่วมโครงการมากกว่าปีที่แล้วถึงสองเท่า คงบอก ได้ค�าเดียวว่าไม่เสียทีที่เป็นโรงเรียนภายใต้บุญญาบารมีของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔


วิธีการเอาชนะ

คนไทยชอบรสหวานโดยเฉพาะหวานแบบน�้าตาล ความชอบ แบบนี้ไม่จ�ากัดแต่คนไทยเท่านั้น แต่เป็นความชอบของคนทั้งโลก โดย เฉพาะกับคนอเมริกันที่เผชิญกับปัญหาที่บริโภคน�้าตาลมากเกินไป กลาย เป็นอาการของคนติดหวานซึ่งเป็นศัพท์ค�าใหม่คือ ซูการ์โฮลิค (sugarholic) เพิ่มมาอีกค�าหนึ่งนอกเหนือจากศัพท์ที่ฮิตอยู่ก่อนหน้านี้คือ คนติดบุหรี่ (smoker) หรือสิงอมควัน และคนติดแอลกอฮอล์ (alcoholic) คนติดหวานมักจะมีปัญหาสุขภาพตามมามากมายไม่ว่าจะเป็น เด็กหรือผู้ใหญ่ ทั้งนี้เฉพาะน�้าตาลที่บริโภคเข้าไปในรูปแบบต่างๆ เช่น เครื่องดื่ม อาหาร ของขบเคี้ยว ฯลฯ จะท�าให้พลังงานหรือแคลอรีมากเกิน ไป จะก่อให้เกิดปัญหาหลักตามมาคือ ความอ้วนหรือน�้าหนักมากเกินไป และยังมีโรค ต่างๆ เกิดขึ้นตามมามากมาย เช่น เบาหวาน หัวใจ ความดัน สิว ประจ�าเดือนไม่ปกติ ต้อกระจก โรคประสาท มะเร็ง กระดูกพรุน ซึมเศร้า ติดเชื้อง่ายและอ่อน เปลี้ยเพลียแรง บางคนเรียกน�้าตาลว่า เป็น นักฆ่าที่เยือกเย็น เพราะการบริโภคมากเกินไปจะท�าให้ความอยากในการรับ ประทานอาหารลดลงจากปกติ ก่อให้เกิดการพร่องสารอาหารอื่นแทนที่จะ ได้รับอย่างเพียงพอทั่วถึง และมีปัญหาทุพโภชนาการในที่สุด เป็นที่ทราบกันแล้วว่ากระบวนการปรุงอาหารโดยเฉพาะเมื่อผ่าน ความร้อน เช่น การหุงต้ม และกระบวนการอื่นๆ อาจจะท�าลายสารอาหาร

เตือนก่อนสาย

เรื่องกินก็เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิต เพราะฉะนั้นทุกค�าที่กินก็ ต้องกินอย่างมีสติ ไม่อย่างนั้นโรคภัยไข้เจ็บก็จะคุกคามตามมา นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผู้อ�านวยการสถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์ นานาชาติ มี ๑๐ หลุมด�า เกี่ยวกับเรื่องของการกิน ฝากเตือนใจผู้อ่านรักษ์ สุขภาพ ให้ใส่ใจกับพฤติกรรมการกินอาหาร เริ่มจาก “กินเช้าดีแต่...ต้องมีลิมิต” อย่าคิดเน้น แป้ง (Refined carbohydrate) มากไป เช่น ข้าวราดแกงให้เพลาข้าวลงนิด หรือคิดกิน เส้นก็เป็นเกาเหลาก็ยังได้ เพราะแป้งมากจะท�าให้หิวง่ายก่อนเที่ยง แถม เสี่ยงอ้วนชวนโรคมาอีกพะเรอ ต่ อ ด้ ว ยหลุ ม ด� า ที่ ๒ “กิ น แค่ พ ออิ่ ม ” ด้ ว ยเหตุ ว ่ า กระเพาะ เป็นอวัยวะเฉื่อยกว่าจะส่งสัญญาณ อิ่ม ไปสมองต้องใช้ราว ๑๕ นาที มี เทคนิกง่ายคือให้ อิ่มก่อนอิ่มแล้วจะสบายท้องดีที่สุดครับ หลุมถัดไป “ชอบลิ้มก่อนนอน” ขอให้ยามหลับเป็นเวลาพักไส้ ช่วงแรกอาจมีท้องกิ่วนิดๆ แต่ขอให้คิดเถิดครับว่า เพื่อให้สมองได้หลับสนิท แล้วหลั่ง ธาตุนิทรา (Melatonin) กับ ธาตุหนุ่มสาว (Growth hormone) แล้วตื่นมาจะสบายกว่าที่คิด ลองแล้วจะติดใจครับ หลุมด�าที่ ๔ เรียกว่า “อย่าย้อนกระเพาะ” ขอให้เลี่ยงอาหารมัน เพราะเป็นอาหารคิดสั้นส�าหรับโรคกระเพาะและกรดไหลย้อนครับ ส�าหรับ อาหารเผ็ดยังไม่น่ากลัวเท่า เพราะของทอดและมันเป็นอาหารอร่อยสั้น แต่มันอยู่ในกระเพาะได้ยาวนานกว่าอาหารอื่น ขืนกินบ่อยต้องระวังกรด

ความหวาน

๑๐ หลุมด�าเรื่องกิน!!

36 : ครอบครัวพอเพียง


เช่นโปรตีน ไวตามิน เกลือแร่โดยเฉพาะพวก สังกะสี โครเมียม แม็กนีเซียม แคลเซียม และบางครั้งก็ก�าจัดไยอาหารออกไป ไม่ใช่แค่กระบวนการเท่านั้น ที่ท�าให้พร่องสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ในการรับประทานน�้าตาล มากเกินไปจะท�าให้ร่างกายต้องเผาผลาญน�้าตาลทิ้งโดยต้อง ใช้สารอาหาร ต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นโดยดึงมาจากกล้ามเนื้ออันเป็นเหตุให้กล้ามเนื้อ ขาดสารอาหาร ดังนั้นในกระบวนการเผาผลาญเป็นสาเหตุให้เกิดการพร่อง สารอาหารได้ในที่สุด อาหารพวกคาร์โบไฮเดรต เช่น แป้ง ถ้าเราน�าไปปรุงอาหาร หรือผ่านกระบวนการต่างๆจะเป็นการช่วยย่อยอาหารให้เล็กลง ซึ่งบาง ครั้งก็จะท�าลายสารอาหารอื่นที่ปนอยู่ด้วย เช่น โปรตีน ไวตามิน และ เกลือแร่ นอกจากนี้แป้งที่ถูกย่อยจนเล็กลงจะก่อให้เกิดเป็นน�้าตาลได้ ง่ายขึ้น ดังนั้นเมื่อรับประทาน เข้าไปก็ได้น�้าตาลมากเกินไปท�าให้ไม่อยาก รั บ ประทานอาหารชนิ ด อื่ น และก่ อ ให้ เ กิ ด การพร่ อ งสารอาหารอื่ น โดย ปริยาย

ของคนเปลี่ยนไป มีการใช้พลังงานลดลง แต่พฤติกรรม การรับประทานยังคงเหมือนเดิม แถมชอบรับประทาน หวานเป็นพิเศษ หรือมีโอกาสรับประทานคาร์โบไฮเดรต ที่ ย ่ อ ยแล้ ว มากขึ้ น ซึ่ ง มี ส ่ ว นประกอบเป็ น น�้ า ตาลใน ปริมาณมาก ท�าให้พลังงานที่ได้รับเข้ามาจากน�้าตาล มากเกินไป ซึ่งแตกต่างจากโบราณที่มักบริโภคชนิดที่ ไม่ปรุงแต่งหรือย่อยแล้วมากเกินไป ท�าให้มีโอกาสได้ น�้าตาลในปริมาณน้อยกว่า

ท�าไมเราจึงชอบรับประทานน�้าตาลกันจัง ?

สาเหตุที่เราชอบรับประทานน�้าตาลเพราะร่างกายจ�าเป็นต้องใช้ น�้าตาลหรือสารอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรตเพื่อเป็นแหล่งพลังงาน โดยเฉพาะ ส่วนของสมองที่ต้องใช้พลังงานมาก ในขณะที่ลิ้นของคนจะชอบรับรสหวาน ในสมัยโบราณคนเราจ�าเป็นต้องรับประทานคาร์โบไฮเดรตมาก เนื่องจากมีการใช้พลังงานมากโดยเฉพาะพลังกาย แต่ในปัจจุบันพฤติกรรม

ย้อนศรมาหานะเธอ ครึ่งทางกับหลุมด�าที่ ๕ “กินต้องฝก” นึกหิว เมื่อไรให้ดูว่า หิวจริง หรือ หิวหลอก บ่อยครั้งที่เป็นแค่ อยาก คือหิวแบบสับขาหลอกแต่ออกไปหากินจริง คน ไทยชอบกินฉึกฉึก เอ๊ย...จุบจิบ เลยฝากวิธีง่ายไว้ให้ถาม ตัวเองว่า หิวขนาด กินฝรั่งสดได้สักลูกไหม ซึ่งถ้าใช่ก็หิว จริง วิ่งหาอาหารมากระแทกท้องได้ ส�าหรับหลุมด�าที่ ๖ คือ “นึกแต่หวาน” ของ น่าทานชวนติดอันดับหนึ่งคือ ของหวาน ครับ คนไทย เป็น โรคติดหวาน (Carbohydrate addiction) กันมาก มีวิธีสังเกตง่ายว่าเมื่อไรกินข้าวเสร็จแล้วอยากหาเหตุ กินของหวานล้างปากอีกหรือไม่ ถ้าใช่ก็ค่อยๆ เลิกครับ ขณะที่ ห ลุ ม ด� า เรื่ อ งกิ น ที่ ๗ “ทานเน้ น มั น (ดี ) ” ขอให้ เ ลื อ ก ไขมั น ดี ซึ่ ง ไม่ มี พ ระเอกเพี ย ง คนเดียวครับ ต้องจับใช้ให้หลากหลายน�้ามันพืช,สัตว์ ยกเว้นน�้ามันพราย และอย่าใช้น�้ามันแบบแม่ไม่ปลื้ม คือ ยกขวดเท ให้ใช้ช้อนตักใส่กะทะหรือจะใช้แปรงทาก็ได้ หลุมด�าที่ ๘ “กินติดปรุง” อย่ายุ่งกับ พวง เครื่องปรุง ทุกครั้งไป เชฟเจ้าอร่อยเขาถือและมันคือ สุขภาพที่เสียไปทุกช้อนที่เติมน�้าปลา,น�้าตาล,ซีอิ๊วหวาน

หรือซอส เพราะยอดของความอร่อยไม่ใช่รสอุมามิอย่างเดียวแต่เกี่ยวกับรส ธรรมชาติแท้ๆ ด้วยครับ มาถึงหลุมด�าที่ ๙ “มุ่งกินกาก” หากอยากให้สุขภาพดีจน สุดไส้ แถมได้ ล้างพิษ ไปในตัวขอให้ช่วยกิน เส้นใย (ไฟเบอร์) ซึ่งได้แก่กากทั้ง ละลายน�้าได้และไม่ได้ เป็นต้นว่ากินผลไม้ก็ให้กินเปลือกด้วย (แต่ช่วยระวัง ทุเรียนและมังคุด) ให้อย่างน้อยวันหนึ่งได้ผักผลไม้สัก ๕ ทัพพีครับ หลุมด�าสุดท้าย “อยากให้หลากหลาย” อย่าปลงใจกับลูกสาว แม่ครัวเจ้าเดียว ขอให้เทียวสลับอาหารให้หลากหลายเพื่อกระจายความ เสี่ยง ขอให้เลี่ยงกวยเตี๋ยวสามมื้อหรือเช้าข้าวราดแกง กลางวันแกงราด ข้าว หรือจะเอากับข้าวบ้านมาทานสักสัปดาห์ละครั้งก็เกดี

ทราบแล้วลองน�าไปปรับเปลี่ยนนิสัยการกิน อาหารกันเสียไหม แล้วรอดูสขุ ภาพของคุณสิ.

ครอบครัวพอเพียง : 37


ยิปโซ-รมิตา มหาพฤกษ์พงศ์ คนที่กตัญญูรู้คุณคนชีวิตจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง คุยกับดาวฉบับนี้เราขอแนะน�าดาวรุ่งดวงใหม่ที่ก�าลัง มาแรงอีกคนหนึ่ง กับชื่อที่น่ารักๆ ว่า “ยิปโซ” ชื่อจริงของ เธอมีชื่อว่า “รมิตา มหาพฤกษ์พงศ์” ที่ก�าลังมีผลงาน โดดเด่นทั้งหนัง ละคร งานโฆษณา ในเวลานี้ แบบนี้จะ เรียกว่ามาแรงแซงรุ่นพี่ในวงการหลายๆ คนก็ ว ่ า ได้ เชียวนะ จากภาพลั ก ษณ์ ภ ายนอกที่ เห็นๆ กันอยู่หลายๆคนอาจจะมอง ว่าเธออาจจะเป็นสาวต๊องๆ เป็น เด็กเนิร์ด เปิดสะก๊าดไม่เหมือน ใคร....แต่หากใครก็ตามที่ได้ คุ ย กั บ เธอและได้ เ รี ย นรู ้ ความเป็ น ตั ว ตนที่ แ ท้ จริงของสาวยิปโซด้วย ตัวเองแล้ว เชื่อว่าคุณ จะแปลกใจว่ า สาวน้ อ ย คนนี้ มี วิ ธี คิ ด ที่ น ่ า รั ก น่ า เอ็นดูอย่างไม่น่าเชื่อ งั้นเรามา 38 : ครอบครัวพอเพียง

ฟังจากปากของเธอกับเรื่องราวบนเส้นทางมายาที่เธอ โลดแล่นอยู่ในเวลานี้มาให้ฟังกันดีกว่านะคะ “กับ การเริ่ มต้ น เข้า สู ่ วงการบั น เทิ ง ของหนู เลยดีกว่านะคะ คือหนูได้รับการคัดเลือกให้เป็นพิธีกร รายการ สตรอเบอร์รี่ชีสเค้ก ทางช่อง ๓ รายการก่อน เที่ยงวันอาทิตย์ของพี่ตุ๊ก-จันทร์จิรา จูแจ้ง ตรงนั้นคือ บันไดขั้นแรกที่ท�าให้หนูมีโอกาสเข้ามาในวงการบันเทิง อย่างเต็มตัวมาจนถึงทุกวันนี้ จากนั้นหนูก็ได้เข้าสู่วงการแสดงภาพยนตร์ เรื่อง “๓๒ ธันวา” จากนั้นก็มีผลงานอย่างต่อเนื่องซึ่ง ภายในปีเดียวกันมีหนังที่หนูเล่นออกมาถึง ๓ เรื่อง ไม่ ว่าจะเป็น “๓๒ ธันวา” “เราสองสามคน” และ “สุด เขตเสลดเปด” ที่ท�ารายได้ทะลุ ร้อยล้านเลยทีเดียว ซึ่งถ้าใครสังเกตดีๆ จะเห็นว่าหนูเปลี่ยนลุคตลอดเวลา ไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับชีวิตเหมือนกันนะคะ แต่จะเจอ แบบนี้ทุกงานเลยนะคะ อย่ า งตอนที่ ต ้ อ งพลิ ก คาแรคเตอร์ จ ากสาว แอ๊ บ แบ๊ ว ที่ คุ ้ น หน้ า คุ ้ น ตากั น ดี ใ นภาพยนตร์ เ รื่ อ ง


“๓๒ ธันวา” และพิธีกรรายการ “สตรอเบอร์รี่ชีสเค้ก” มารับบทเป็นหญิง สาวสวยใสสายตาสั้นในภาพยนตร์เรื่อง “เราสองสามคน” ก็กลายเป็นเด็ก เนิร์ดไปเลย คนที่มองว่าหนูเออๆ ก็มีนะคะ แต่ก็เป็นการแจ้งเกิดให้คนรู้จัก ยิปโซซึ่งต้องขอบคุณพี่ยอร์ช และพี่เอมี่ที่ท�าให้ยิปโซได้มีโอกาสมาร่วมงาน ในเรื่องนี้ ซึ่งตอนแรกที่อ่านบทก็รู้สึกว่าเอ๊ะ!! เราจะแสดงได้เหรอเพราะบท มันจะแนวๆ น่าหมั่นไส้มาก ที่บอกว่ามันน่าหมั่นไส้มากนั้นเพราะหนูต้องแอ๊บแบ๊วสุดๆ ท�าตัว ให้น่ารักตลอด ตอนแรกก็กลัวคนจะหมั่นไส้เหมือนกันนะคะ แต่พอหนังฉาย และผลตอบรับออกมาในทางบวกท�าให้รายได้แตะไปถึงร้อยล้าน คนดูเข้าใจ ในสิ่งที่หนังน�าเสนอตอนนี้เวลาไปไหนมาไหนใครๆ เขาก็จ�าหนูได้แล้วคะ จากแต่ก่อนหนูจะเป็นเด็กอ้วนๆ หน้าตาไม่ได้มีอนาคตว่าจะได้ มาท�างานในวงการบันเทิง ไม่ว่าจะเป็นเบื้องหน้าหรือว่าเบื้องหลังอย่าง แน่นอนเพราะก่อนนี้หนูจะเป็นเด็กที่วันๆ สบายๆ วิ่งไล่จับกับเพื่อนๆ จนถึงช่วงวัยรุ่นก็ได้มาท�ารายการ สตรอเบอร์รี่ชีสเค้กพอดี แต่หนูเป็น เด็กที่ไม่เคยหวาน ไม่เคยสวยน่ารักมาก่อนก็ได้ลองหวานดูเป็นอยู่กับสต รอเบอร์รี่ชีสเค้ก อย่างนี้แหละที่เขาเรียกว่าน่ารัก คือดูเป็นผู้หญิงสูง สวย หวาน เรียบร้อยเงียบๆ ไม่ค่อยพูดอะไร ในขณะที่เพื่อนๆ คนอื่นวิ่งเล่น กัน เราจะเป็นคนที่ต้องดึงทุกคนให้กลับมาเข้าเรื่องมันก็มีด้านที่เราอยาก จะเป็นผู้หญิงแบบนั้น แต่เราไม่ได้เป็นเสมอไป เหมือนช่วงนั้นเป็นช่วงที่ พยายามปรับหาตัวเองอยู่แล้วดันไปหลุดอยู่ท่ามกลางทุ่งดอกไม้ที่สวยงาม ซึ่งตอนนั้นเราไม่รู้ตัวว่าเราเหนื่อยพอมาได้บทนุ่มในเรื่องนี้หนูรู้สึกขอบคุณ พระเจ้ า มากเพราะว่ า เราได้ มี โ อกาสเล่ น อย่ า งมี ค วามสุ ข ได้ ป ลดปล่ อ ย ตั้งแต่จุดนั้นเป็นต้นมา แต่ละงานมันค่อยๆ ไขตัวเองคืนมาเรื่อยๆ อย่าง

ในเรื่อง ๓๒ ธันวา บทของนุ่น เป็นบทที่เตือนสติพอ เรามีโอกาสได้เล่นแล้วเรารู้สึกมีความสุข รู้สึกสบาย ตัว อย่างประหลาดมันได้พูดความจริงอะไรบางอย่าง กับตัวเองด้วย ตั้งแต่วันนั้นมาเราเริ่มกลับมายอมรับว่าเรา ไม่ ใ ช่ ป ระเภทสวยหวานแล้ ว พอเรามาท� า งานเรื่ อ ง “เราสองสามคน” มี โ อกาสได้ โ รดทริ ป ที่ เ วี ย ดนาม นั่งรถประมาณสี่พันกิโลเมตร มีข้อมูลเข้ามาในตัวเรา มากมายในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมา แต่ก่อนเราดูเป็นคนไม่ ค่อยชอบบู๊ ท�าอะไรไม่ค่อยเป็น ด้วยสถานการณ์ใน การท�างานก็ดึงเรากลับไปเป็นตอนเด็กที่ชอบท�าอะไร แบบนี้มากๆ คือชอบเดินทางไปไหนมาไหน บางทีก็ลุย เอามันดึงเอาความเป็นคนสบายๆกลับมา ท�าให้เรารู้ว่า จริงๆแล้วเราไม่ใช่คนจุกจิก สิ่งที่เข้ามามันได้พัฒนาให้ เรากลับมาเป็นคนเดิมเรื่อยๆ จนมาถึงเรื่อง “สุดเขตเสลดเปด” นี้หน้าโล้น เลยไม่ต้องแต่งหน้าท�าผมก็ไม่ต้องท�าแล้วบุคลิกก็กลาย มาเป็นสบายๆ แบบเต็มตัว กับลุคใหม่ที่ไม่แอ๊บแบ๊วใน “เราสองสามคน” หนูรับบทเป็น “เตอ” เด็กผู้หญิง ที่ส ายตาสั้น มากๆ ถ้ าถอดแว่นก็ จะมองอะไรไม่เห็น แต่มีความมั่นใจในตัวเองระดับหนึ่งบทนี้ค่อนข้างจะ เหมือนยิปโซสมัยเด็กๆ คือเป็นคนชอบไปเที่ยว นิสัย ลุ ย ๆสบายๆ ไม่ เ ป็ น ผู ้ ห ญิ ง จ า แต่ ไ ม่ ไ ด้ แ มนจนกลาย เป็นสาวห้าว

ครอบครัวพอเพียง : 3๙


ด้วยความที่เราท�างานพิธีกรและ แสดงหนั ง ที่ มี ค าแรคเตอร์ แ บบวั ย รุ ่ น เลย ค่ อ นข้ า งติ ด วิ ธี ก ารพู ด แบบวั ย รุ ่ น พู ด แล้ ว จะเหมือนการ์ตูนซะมากกว่าประมาณง๊อง แง๊งๆ นะพอมาแสดงเรื่องนี้เหมือนกันต้อง ล้างทิ้งให้หมด บางครั้งเราก็รู้สึกว่าธรรมดาๆ แต่ผู้ก�ากับฯบอกอย่างประดิษฐ์เสียงเวลานี้ คุณก�าลังแสดงอยู่ ได้พูดจาแบบที่คนปกติ ธรรมดาๆเขาพูดกันตอนนั้นเองค่ะถึงได้รู้สึก ตัวว่าเออ...เรานี่กู่ไม่กลับแล้ว คือไม่ได้สัมผัส คาแรคเตอร์ของคนปกติมาสักพักแล้วเพราะ ผ่านมา ๓-๔ ปีอยู่กับคาแรคเตอร์ที่ต้องใช้ งานมาตลอดเวลาเลยต้องมีการสร้างภาพ ใหม่ดึงตัวเองให้นิ่งขึ้น พูดจาพยายามให้เป็นปกติมนุษย์มากขึ้น สมัยเด็กๆหนูเคยฝันมาตลอดว่า โตขึ้นจะต้องเป็นแอร์โฮสเตส เพราะเป็นคนชอบสนามบินมาก ชอบเวลาดูเวลาเครื่องบินขึ้น-ลง เวลา นั่งเครื่องบินต้องนั่งริมหน้าต่าง จะได้มองเห็นเครื่องบินชัด ดูแล้วจะมี ความสุ ข มากๆ เลย และชอบแอบมองเวลา แอร์ โ ฮสเตสเขาท� า งานถึ ง แม้ ใ ครจะมอง ว่ า แอร์ โ ฮสเตสคื อ คนท� า ความสะอาด คอยเก็บกวาดบนเครื่องบิน ต้องมานั่ง เอาใจดูแลลูกค้าแต่ส�าหรับหนูแล้ว แอร์ โฮสเตสคืออาชีพที่ดูดี และความอดทนก็ ถือเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของอาชีพนี้แต่ ว่าคุณพ่อคุณแม่ไม่สนับสนุนเลย เพราะกลั ว หนู ไ ปท� า ซุ ่ ม ซ่ า ม บนเครื่ อ งบิ น มั น ก็ เ ลย เป็นความฝันที่ต้องฝัน ต่อไป เพราะชีวิตตอน นี้หลังจากบทสาวแว่น จอมเปินจากภาพยนตร์ เรื่อง “เราสองสามคน” ได้ รับฟีดแบ็คบวกเกินความคาดหมายต้น สั ง กั ด ก็ มี ง านภาพยนตร์ เ ตรี ย มไว้ ใ ห้ อย่างต่อเนื่องอีกก็คงอยู่ท�างานตรงนี้ ต่อไป ไม่หนีไปไหนแล้วนะคะ แต่ ขอบอกเลยนะคะว่ายิปโซจะยืน ณ จุดนี้ได้ก�าลังใจที่ส�าคัญที่สนับสนุน ผลั ก ดั น ก็ คื อ ครอบครั ว นั่ น เอง โชคดี ที่ ห นู เ กิ ด มาในครอบครั ว ที่อ บอุ ่น มีพ ่อ มี แ ม่ แ ละพี่ ส าวคื อ 40 : ครอบครัวพอเพียง

พี่ยิปซี-คีรติ มหาพฤกษ์พงศ์ ที่เข้ามาในวงการนี้ก่อน หนูและช่วยดูแลหนูมาเป็นอย่างดี ในเวลาที่พี่ยิปซีเขาสอนหนูเขาจะไม่บอกว่า เราต้องแบบนั้นแบบนี้ แต่ส่วนมากแล้วท�าเป็นตัวอย่าง ให้หนูเห็นมากกว่าซึ่งคุณพ่อคุณแม่จะใช้เหตุผลในการ เลี้ยงลูก เป็นคนยุติธรรมกับลูกรวมถึงผู้อื่นท�าให้ลูกๆ เห็นภาพเหล่านั้นและน�าไปเป็นตัวอย่างโดยจะสอนให้ ใช้ชีวิตในลักษณะที่ไม่เบียดเบียนใครเป็นหลัก คุณพ่อ ท่านจะเป็นคนปรับอยู่ตลอด เวลาท่านเจออะไรแปลกๆ ใหม่ ๆ พร้ อ มๆกั บ เราก็ ส ามารถปรั บ ไปพร้ อ มกั บ เรา ได้หรือในแง่มุมบางอย่างที่เขาเคยคิดว่ามันถูกแต่พอ เอาเข้าจริงๆ มันไม่ถูก ท่านก็ยอมรับและเริ่มต้นกัน ใหม่ ซึ่งหนูว่ามันหายากนะที่คนเป็นพ่อแม่จะยอมรับ แบบนี้ หนูเก็บเอาไปเล่าให้เพื่อนๆฟัง หลายๆ คนก็ บอกว่าน่าอิจฉาเพราะไม่น่าเป็นไปได้ คือส่วนมากเขา มักเจอแบบว่า “พ่อแม่ถูกต้องเสมอ” มากกว่านะคะ หนูก็เลยคิดว่าตัวเองโชคดีมากๆ ที่อยู่ในครอบครัวนี้ ไม่ว่าหนูจะแนวไหน ใสๆ เออๆ เนิร์ดๆ พ่อแม่พี่ก็เข้าใจ


ดีใจสุดๆ เลยกับชีวิตนี้ แต่ไม่ใช่ว่าจะถูกตามใจนะคะ โดนตี ห นั ก ๆ นะโดนมาครบแล้ ว ซึ่ ง โทษมหั น ต์ ที่ สุ ด คุณพ่อตีครั้งแรกและเป็นครั้งเดียวในชีวิตก็คือ โทษฐาน ที่โดดเรียนซึ่งหนูเสียใจมากที่ท�าไปและตอนนั้นคุณพ่อ ก็โมโหมากด้วยกลับบ้านมา ไม่พูดอะไรแต่เดินไปหยิบ ไม้แขวนเสื้อมาฟาดๆ จนหัก ตามมา ด้วยอีกไม้แล้วฟาดๆ จนหักเช่นกัน เรื่องการเรียนนี้ไม่ได้เลย ทั้งคุณพ่อคุณแม่จะให้ความส�าคัญ กับตรงนี้มากและจากวันนั้นมาหนู ก็จดจ�ามาตลอดเข็ดเลยค่ะ ไม่เคย โดดเรี ย นอี ก เลย หนู จ ะให้ ค วาม ส�าคัญกับเรื่องการเรียนเสมอมาจน ทุ ก วั น นี้ เ ลยค่ ะ คื อ พ่ อ แม่ จ ะสอน ว่ า การเรี ย นคื อ สิ่ ง ส� า คั ญ ส� า หรั บ พื้นฐานของการมีชีวิตและมีอนาคต อย่างคุณพ่อท่านจะเป็นคนที่เรียน เก่งมากและขยันเรียนด้วยก็สามารถเปิดร้าน อาหารเวี ย ดนาม (Sweet Basil) ซึ่งเป็นธุรกิจของ ครอบครัวที่เลี้ยงดูพวกเรามาตั้งแต่เกิด แต่เมื่อยิปโซเข้ามาท�างานในวงการบันเทิง คุณพ่อคุณแม่ก็เริ่มเข้าใจเรื่องเวลา ท่านก็เข้มงวดน้อย ลงนิดหน่อยแต่จะเน้นสอนให้เรารู้จักแบ่งเวลาอย่าง เหมาะสม ดังนั้นการท�างานเหมือนเป็นการเปิดโลก

กว้างให้กับหนูและคุณพ่อคุณแม่ไปพร้อมกัน แต่หนูไม่ได้สนับสนุนให้ใคร ออกมาเป็นดาราหรือท�าอะไรก็แล้วแต่โดยไม่สนใจการเรียนนะคะ เพราะ ถึงอย่างไร การเรียนก็ส�าคัญอยู่ เพียงแต่ออกมาท�างานก็รู้สึกว่ามันไม่ใช่ ทุกอย่าง ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ ท่านก็พอจะเข้าใจและไม่ค่อยห่วงเราเหมือน เมื่อก่อน อย่ า งสมมุ ติ เ รี ย นได้ เ กรด ๓.๕ พอมา ท�างาน ท่านไม่ได้หวังให้เราได้ ๓.๕ เหมือนเดิม แต่ ก็ต้องดูแลทั้งเรื่องเรียน เรื่องงานไม่ให้เสียเท่านั้น พอ ส่วนคุณแม่ของหนูท่านจะเป็นห่วงลูกๆ มาก เรียกว่าห่วงไปทุกอย่างที่ห่วงได้เลยค่ะ พอเรามา ท�างานตรงนี้ ท่านก็กลัวว่ายิปโซกับพี่สาวยิปซีจะถูก นั่นบ้าง โดนนี่บ้าง ซึ่งบางครั้งเป็นความกลัวโดยที่เรา เองก็คิดไม่ถึงว่าจะมีขนาดนั้นเป็นไปได้เชียวหรือ แต่ ก็รู้นะคะว่าท่านก็ห่วงเพราะท่านรักเรานั่นเอง หรืออย่างทีเ่ วลาหนูออกไปเทีย่ วกับเพือ่ นๆ คุณแม่หนู ท่านจะเป็นคนชอบติดตามข่าวสารบ้าน เมืองพอมีข่าวไม่ดีอะไรก็จะกังวลว่าจะเกิดกับลูกตัว เองซึ่งท่านจะบอกเส้นทางเลยว่า วันนี้ถ้าจะไปทาง นี้ให้เลี้ยวขวาทางนี้นะ อย่าเลี้ยวทางนั้นนะ บางทีอาจจะมีอันตรายได้หรือ จะให้เลี่ยงม็อบให้เลี่ยงเส้นทางที่เขาประท้วงนะลูก คือคุณแม่ท่านจะมีราย ละเอียดในการเป็นห่วงลูกมากจนบางครั้งหนูกลับรู้สึกเป็นห่วงท่านแทน เพราะท่านกังวลหรือเป็นทุกข์มากจนเกินไปแล้วกลัวท่านจะเครียด ท่าน ดูแลเรามาตลอดจนป่านนี้แล้วอยากให้ท่านสบายๆ ให้ท่านได้พักผ่อนบ้าง เหนื่อยมามากแล้วและถึงแม้ว่าเราจะหาเงินได้เองก็เริ่มทุกข์ในแง่ที่ว่าเรา ห่วงครอบครัวมากขึ้นเพราะการที่เราท�างานมีเงินเราเต็มใจมาหมุนมาใช้ ในครอบครัว ซึ่งหนูคิดว่ามันเป็นหน้าที่ๆเราต้องท�าและอยากท�า อยาก ช่วยแต่บางทีคุณพ่อคุณแม่ก็ไม่ค่อยอยากเอาเงินเราไปใช้ แม้ว่าเราเต็มใจ ซึ่งก็พยายามย�้าอยู่ตลอดเวลาว่าเราโตพอที่จะแบ่งเบาภาระได้แล้วแบ่งมา ให้หนูบ้างเถอะค่ะ หนูยินดีและพร้อมที่จะช่วยจริงๆ จริ ง ๆ แล้ ว ยิ ป โซอยากจะบอกว่ า การเป็ น ครอบครั ว นี้ ไ ม่ ไ ด้ หมายความว่าพ่อแม่ต้องเลี้ยงดูแลลูกเพียงอย่างเดียว แต่ครอบครัวมีไว้ เพื่อดูแลซึ่งกันและกัน พ่อแม่ดูแลลูกๆ ลูกๆ ดูแลพ่อแม่แบบนี้ถึงจะถูก จริงมั๊ยคะ ในเมื่อเราโชคดีที่เราเกิดมามีครอบครัวที่อบอุ่นเราก็ควรรักษา ให้ความอบอุ่นนี้อยู่ อยู่เป็นครอบครัวที่เป็นแบบนี้ตลอดไปจากรุ่นสู่รุ่น หนู หวังของหนูไว้อย่างนี้จริงๆและอยากให้ครอบครัวไทยให้ความส�าคัญในเรื่อง ความรัก ความอบอุ่นและเวลาที่มีให้ต่อกัน ไม่ใช่เลี้ยงลูกด้วยเงินเพียงอย่าง เดียวหรือคิดว่าพ่อแม่มีหน้าที่รับและเรียกร้องทุกสิ่งอันเท่าที่จะเรียกร้อง ได้ ถ้าจะพูดมุมมองเรื่องความเป็นครอบครัวกันซะใหม่แบบนี้หนูว่าสังคม ไทยจะอบอุ่นและรักใคร่กลมเกลียวกันแบบน่ารักๆมากขึ้นอีกเยอะเลยล่ะ ค่ะ เพราะสังคมไทยเราความกตัญูรู้คุณเป็นสิ่งส�าคัญ คนที่กตัญูรู้คุณ คนชีวิตจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรืองค่ะ”

ครอบครัวพอเพียง : 4๑


ÈØÀ¡Ã Á‹Ç§á¾ÃÈÃÕ

ท่ า มกลางกระแสข่ า วสารการเลื อ กตั้ ง ของ ประเทศไทย ที่โด่งดังไปไกลทั่วโลก ด้วยนโยบาย แบบลด แลก แจก แถม ของสารพัดพรรคสารพัดสี แต่ไม่รวู้ า่ ท�าได้หรือไม่นนั้ ยังมีขา่ วชิน้ เล็ก ๆ สอดแทรก เข้ามาให้อมยิ้ม รายงานข่าวจากส�านักข่าวเอเอฟพีว่า “แม่เฒ่า อีโซลินา คัมโปส ชาวบราซิล ขอพิสูจน์ค�าพูดที่ว่า ‘ไม่มีใครแก่เกินเรียน’ เข้าศึกษาอ่านและเขียน ด้วย วัย ๑๐๐ ปี” โดยเนือ้ หาระบุวา่ คัมโปส ตัดสินใจขอเป็นตัวอย่าง แก่คนอื่น ๆ ด้วยการเข้าเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในลอนดรินา เมืองทางใต้ของบราซิล โดยใช้เวลาช่วง ค�่าหาความรู้ให้แก่ตนเอง ทั้งนี้ จากการส�ารวจข้อมูล พบว่าชาวบราซิลกว่า ๑๔ ล้านคน หรือราวร้อยละ ๗.๔ ของประชากรทั้งหมด ไม่รู้หนังสือ… ข่าวนีไ้ ม่ใช่ขา่ วเด่นประเด็นร้อน สามารถพบเห็น ได้บ่อยครั้งในบ้านเรา และถือเป็นข่าวประเด็นเย็น ตามประสาคนข่าวที่แฝงนัยส�าคัญมาถึงผู้เสพสารว่า “การเรียนรู้ไม่มีวันสิ้นสุด...!”

42 : ครอบครัวพอเพียง


ครอบครัวพอเพียง : 43


ประเทศไทยในปัจจุบัน ใช้พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๔ ให้ความหมายของการศึกษาไว้ว่า “เป็นกระบวนการ เรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝก การอบรม การ สื บ สานทางวั ฒ นธรรม การสร้ า งสรรค์ จ รรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อัน เกิ ด จากการจั ด สภาพแวดล้ อ ม สั ง คม การ เรียนรู ้ และปัจจัยเกือ้ หนุนให้บคุ คลเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง ตลอดชีวิต” และมาตรา ๘ กล่าวไว้ว่า “การจัดการศึกษา เป็นการศึกษาตลอดชีวิตส�าหรับประชาชน และให้ สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา” แต่คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ระบบการศึกษา ไทยในปัจจุบันที่มีเพียงสถานศึกษา อย่างโรงเรียน และมหาวิ ท ยาลั ย ไม่ ส ามารถพั ฒ นาคนให้ 44 : ครอบครัวพอเพียง

สอดคล้องกับวิถีชีวิต อาชีพ ประเพณี วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และทรัพยากรชุมชน และอาจส่งผล ไปถึงเยาวชนคนรุ่นใหม่ขาดความสามารถ ทักษะ การด� า รงชี วิ ต และพั ฒ นาตนเองตามวิ ถี ข อง ชุมชน หรือพูดให้เข้าใจง่าย ๆ คือ…ไม่สามารถพึ่งพา ตนเองได้ พี่ แ ดง พรพิ ม ล มะลิ ผ ล หนึ่ ง ในแกนน� า ของต�าบลเคร็ง อ�าเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้พลิกใจทิ้งวิถีคนเมืองมาร่วมสร้างชุมชนพอเพียง แห่งนี้ สะท้อนปัญหาของระบบการศึกษาได้อย่าง น่าสนใจว่า “ตัวเองเรียนเกษตร แต่ไม่เคยท�าเกษตร เรียนมาเพื่อที่จะคุมคนอื่น ถูกสอนว่าขุดดินเองไม่ได้ แต่ขบั รถไถเข้าไปในแปลงได้ ถูกสอนว่าปุย ท�าเองนัน้ ไม่ด ี แต่เรียนว่าต้องซือ้ แบบไหนมาใช้ ถูกสอนให้เป็น เจ้านายมากกว่าเกษตรกร แล้วเราก็เอาความคิดเช่นนี้ ไปบอกชาวบ้านให้เลิกท�าเอง”


ภาคกลาง “ภาคกลางมีหลายต�าบลที่สามารถเป็นศูนย์ เรียนรู้ได้ด้วยจุดเด่นของชุมชนเอง และด้วยลักษณะ เด่นของภาคทีร่ บั รูไ้ ด้เร็ว ปรับตัวได้ดตี ามสถานการณ์ บวกกั บ แนวคิ ด ความพอเพี ย งและการเรี ย นรู ้ ใ น โครงการฯ จึงเกิดการแตกแขนงความรูแ้ ละความคิด จากแหล่งเรียนรู้เดียวกัน นี่คือเสน่ห์ของโครงการฯ ทีจ่ ะท� า ให้ เ กิ ด จุ ด เรี ย นรู้ม ากมาย และด้ ว ยความ เป็ น อิส ระในความคิ ด นี้ จะมี เ พี ย งกรอบทิ ศ ทาง เดินร่วมกัน น�าไปสูก่ ารเกิดศูนย์เรียนรูใ้ นท้ายทีส่ ดุ และ ต� า บลจะรั ก ษาศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ไ ว้ ด ้ ว ยตนเอง” วิ สู ต ร์ ยังพลขันธ์ ที่ปรึกษาโครงการฯ ภาคกลาง

เพราะฉะนั้ น เป้ า หมายของการเดิ น ทาง ตลอด ๔ ปีกว่าที่ผ่านมาของโครงการฯ ในการ ร่วมสร้างจิตส�านึกพัฒนาคน พัฒนาชุมชน ใน ๘๔ ต�าบลทั่วประเทศ ให้เป็น ชุมชนต้นแบบวิถีพอเพียง สามารถขยายผลไปยังชุมชนอื่นต่อไปนั้น ถือเป็น “ทางเดินสายใหม่แห่งการเรียนรูเ้ พือ่ การพึง่ พา ตนเอง” ที่พร้อมเปิดรับผู้ร่วมเดินทางทุกคนในห้วง ยามแห่งความวิกฤต ทั้งความขัดแย้งทางความคิด ที่ เกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่มุ่งสร้าง บรรทัดฐานแห่งเงินตราให้สูงค่าจนหลงลืมความ เป็นมนุษย์ ที่จะต้องรู้จัก หาอยู่ หากิน เพื่อด�ารง ชีวิตเสียก่อน มิใช่การมุ่ง หาใช้ เพื่อให้ได้ทุกสิ่งมา ครอบครอง

ต�าบล จุดเรียนรู้ ท่ามะนาว ๗ จุดเรียนรู้ ๑. พลังงานทดแทน ก๊าซชีวมวล ๒. ไบโอดีเซล ๓. เตาเผาถ่าน ๒๐๐ ลิตร ๔. เตาเผาถ่าน ๒๐๐ ลิตร และการสานเข่งปลาทู ๕. โรงเรียนพลังงานทดแทน ๖. เพาะเห็ด ๗. ผลิตภัณฑ์ครัวเรือน ป่าขะ ๑๐ จุดเรียนรู้ ๑. การบริหารจัดการน�้าโดยชุมชน ๒. ประวัติศาสตร์ชุมชน : โรงช้าง และความเชื่อชุมชน (ผีโรง-ผีมอญ) ๓. เกษตรประณีต ๔. พลังงานทางเลือก ๕. เกษตรอินทรีย์ ๖. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านทุ่งกระโปรง : ผักสมุนไพรพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ สวนไม้ผล ปลอดสารพิษ และผลิตภัณฑ์ ภูมิปัญญาไทย ๗. การขยายพันธุ์มะยงชิด และไม้ดอก ไม้ประดับ ๘. การทอพรมเช็ดเท้า และผลิตกี่ทอด้ายร้อยหลอด ๙. สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน บ้านหนองยาง ๑๐. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้านคลองนางหงษ์

ครอบครัวพอเพียง : 45


ต�ำบลบ้านน�้ำพุ

ต�ำบลแม่ทา ต�ำบลนาบอน

ก่อร่างสร้างต้นแบบ ระฆังยกที่หนึ่งดังขึ้นตั้งแต่ปลายปี ๒๕๕๓ เพื่อ ก�ำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางด�ำเนินงานในการ จัดตัง้ และพัฒนาศูนย์เรียนรูต้ ำ� บลวิถพี อเพียง เพือ่ ให้ เป็นตัวแบบให้กับต�ำบลอื่น ๆ โดยมี ๘ ต�ำบลน�ำร่อง ใน ๔ ภาค ภาคละ ๒ ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลแม่ทา ต�ำบลบ้านน�้ำพุ ต�ำบลนาบอน ต�ำบลไทยสามัคคี ต�ำบลท่ามะนาว ต�ำบลป่าขะ ต�ำบลต้นยวน และ ต�ำบลป่าคลอก โดยมีวตั ถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑. เพือ่ ใช้เป็นสถานทีแ่ ลกเปลีย่ นเรียนรู้ เผยแพร่ แนวคิด และรูปธรรมการพึง่ ตนเองของต�ำบล ภายใต้ กระบวนการท�ำงานของโครงการรักษ์ปา่ สร้างคน ๘๔ ต�ำบล วิถีพอเพียง ๒. เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ แนวคิด ที่ส�ำคัญของต�ำบล ในการด�ำเนินงานตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ๓. เพือ่ เป็นศูนย์กลางการประสานความร่วมมือ กับหน่วยงานภาคีทงั้ ภายในและภายนอกต�ำบล ในการ ด�ำเนินงานแบบมีส่วนร่วมโดยองค์กรชุมชน “ตามเป้ า หมายโครงการฯ ในปี นี้ จ ะถวาย

46 : ครอบครัวพอเพียง

องค์ความรู้การเป็นต�ำบลวิถีพอเพียง และจัดให้มีพิธี เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ซึ่ง ถือเป็นการสิ้นสุดโครงการฯ ที่ด�ำเนินมาตามก�ำหนด ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ แต่ศูนย์เรียนรู้ที่เราจะพัฒนาร่วมกัน นี้ จะเป็นตัวแทนในการขยายผลของการเป็นต�ำบล วิถีพอเพียงต่อไป สิ่งส�ำคัญคือ ชุมชนจะต้องมีการ บริ ห ารจั ด การให้ ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ นั้ น มี ชี วิ ต และยั่ ง ยื น ซึ่งแนวทางพัฒนาในช่วงแรก จะต้องเปิดพื้นที่ให้ ผู้สนใจได้เข้ามาเรียนรู้เรื่องราวของโครงการฯ มาก ขึ้น โดย ๑. ก�ำหนดพื้นที่ที่เรียนรู้ ๒. ก�ำหนดศูนย์ เรียนรู้ และ ๓. ผลิตสือ่ เพือ่ การเรียนรู้ ซึง่ สือ่ จะต้องบอก เรื่องราวกระบวนการขับเคลื่อนงานของโครงการฯ และรูปธรรมการพึง่ ตนเองในการเป็นต�ำบลวิถพี อเพียง รวมทัง้ การปรับปรุงอุปกรณ์ สถานที่ เพือ่ ให้เหมาะสม กั บ การเรี ย นรู ้ จั ด ระบบบริ ห ารจั ด การ อบรม ครัวเรือนอาสา และผูส้ นใจ รวมทัง้ การประชาสัมพันธ์ ในเรือ่ งของหลักสูตรต่าง ๆ” พีน่ ยุ้ กนกพร รอดรุง่ เรือง หัวหน้าหน่วยแผนและบริหาร โครงการฯ กล่าวเสริม ภาพการท�ำงานในช่วงออกสตาร์ท


ภาคเหนือ “โดยบริ บ ทของภาคเหนื อ ตอนบน ใช้ ต� ำ บลแม่ ท าเป็ น แม่ ข ่ า ย โซนเหนื อ ตอนล่ า ง จะเป็ น ต� ำ บลบ้ า นน�้ ำ พุ คิ ด ในเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ พื้นที่ ส่วนการท�ำงานจะใช้จุดเด่นของโครงการฯ ที่ไม่ยึดติดต�ำแหน่งที่เป็นทางการมาใช้ ใครอยาก จะมาท�ำความดีเพื่อท้องถิ่นก็เข้ามา และต่อจากนี้ ไป ต้องค้นหาองค์ความรู้ พัฒนาคนที่จะไปถ่ายทอด พัฒนาสื่อ จัดพื้นที่เรียนรู้ และจัดหลักสูตร นี่คือ ภารกิจของท้องถิ่น โดยชุมชนต้องส�ำรวจตัวเองว่า ถ้ า จะเดิ น ไปตามเป้ า หมายจะต้ อ งท� ำ อะไรบ้ า ง” มงคล พนมมิตร ที่ปรึกษาโครงการฯ ภาคเหนือ

ต�ำบลท่ามะนาว

ต�ำบลไทยสามัคคี

ต�ำบลป่าขะ

ต�ำบลต้นยวน

ต�ำบลป่าคลอก

ต�ำบล จุดเรียนรู้ แม่ทา ๙ ฐานเรียนรู้ ๑. พลังงานทางเลือก ๒. วิสาหกิจชุมชน ๓. เกษตรยั่งยืน พื้นที่สูง พื้นที่ดอน และพื้นที่ลุ่ม ๔. สวัสดิการ/กองทุน ๕. การจัดการทรัพยากร ๖. กลุ่มองค์กรชุมชน ๗. เยาวชน/คนรุ่นใหม่ ๘. การปศุสัตว์ชุมชน วัว และหมูหลุม ๙. การศึกษากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านน�้ำพุ ๔ ศูนย์เรียนรู้ ๑. ศูนย์ประสานงาน : แก๊งหมูหลุม เกษตรพึ่งตนเองระดับครัวเรือน กลุ่มผู้สูงอายุ เยาวชนภูมิปัญญาบายศรี หญ้าแฝก สมุนไพร นวดแผนไทย โฮมสเตย์ เตาเผาถ่าน ๒๐๐ ลิตร ๒. ศูนย์เกษตรอินทรีย์ : การฟืน้ ฟูบำ� รุงรักษา ที่ดินท�ำกิน ก�ำจัดศัตรูพืช โรค และ แมลงดิน น�้ำ ป่า ๓. ศูนย์พันธุ์ข้าวไทย : การเลี้ยงหมูหลุม วิถีการผลิตพึ่งตนเองระดับครัวเรือน ๔. ศูนย์พัฒนาอาชีพเสริม : หม่อนไหม ทอผ้า เย็บผ้า เห็ด ดอกไม้จันทน์ ไม้กวาด จักสาน เปลไม้ไผ่ กระบุง ตะกร้า เสื่อกก น�้ำพริก เข่งปลาทู เสื่อร�ำแพน

ครอบครัวพอเพียง : 47


…ส�าคัญ ของการเปนศูนย์เรียนรู้

ด้วยบริบทและสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกันของ ทั้ง ๘ ต�าบล ที่อาสามาร่วมพัฒนาศูนย์เรียนรู้ต�าบล วิถีพอเพียง จะท�าให้การคัดแยก คัดกรอง แบ่ง และ ก�าหนดจุดเรียนรู้แตกต่างกันไป เช่น ต�าบลต้นยวน ชูจุดเด่นรายหมู่บ้านทั้งต�าบลให้เป็นจุดเรียนรู้ ส่วน ต�าบลป่าคลอก เสนอประเด็นเด่นของชุมชนไทยมุสลิม ในวิถขี องชาวประมงเป็นหลัก และต�าบลป่าขะ

๒ ๑

สื่อการเรียนรู้ หรืออุปกรณ์สาธิต สื่อต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ เรียนการสอน เช่น แผ่นพับสรุปเนื้อหา ความรู้ พร้อมภาพประกอบ นิทรรศการ โมเดลจ�าลอง ภาพสไลด์ หนังสั้น เป็นต้น

วิธีจัดกระบวนการเรียนรู้ เมื่อมีแหล่งความรู้ และข้อมูลองค์ความรู้แล้ว จึงก�าหนดวิธีการน�าความ รูน้ นั้ มาถ่ายทอด อาจเรียกว่า หลักสูตร ประกอบด้วย ต�ารา หรือเอกสาร (จากการเก็บรวบรวมองค์ความรู)้ รวมทั้งก�าหนดรูปแบบการน�าเสนอให้น่าสนใจ โดยผู้ รู้ หรือผู้น�าชุมชน เป็นต้น

ข้ อ มู ล และความรู ้ เราอาจมองเห็ น ห้ ว ย หนอง คลอง บึง คนเฒ่าคนแก่ หรือสิ่งปลูกสร้าง เก่าโบราณในชุมชน แต่สิ่งเหล่านี้ไม่สามารถบอก เรื่องราวได้โดยตรง จึงต้องค้นหาและเก็บรวบรวม ข้อมูล ประวัติความเป็นมา หากเป็นบุคคลก็ต้อง เก็บประวัติ วิชาความรู้คืออะไร ได้มาอย่างไร และมี ประโยชน์อย่างไร

แหล่ ง ความรู ้ หมายถึ ง ที่ ม า หรื อ ตั ว แทน ของความรู ้ ซึ่ ง อาจอยู ่ ใ นตั ว บุ ค คล วั ต ถุ สิ่ ง ของ สถานที่ ประเพณี พิธีกรรม ฯลฯ เปรียบดั่งเชิงอรรถ ที่สามารถอ้างอิงถึงการมีอยู่ขององค์ความรู้ชุมชน และย่อมมีวันเปลี่ยนแปลง เพราะสิ่งก่อสร้างย่อม ผุ พั ง คนเฒ่ า คนแก่ ย ่ อ มล้ ม หายตายจาก ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมถึงพิธีกรรมต่าง ๆ ก็ปรับ ประยุกต์ไปตามสมัย จึงจ�าเป็นต้องมีการเก็บข้อมูล เหล่านี้ไว้

48 : ครอบครัวพอเพียง

ใช้ผลงานการวิจยั น�า้ เป็นตัวชูโรง แล้วสอดแทรกด้วย ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เป็นต้น แต่สงิ่ ทีท่ กุ ต�าบลจะต้องท�า ต้องมี และต้องใช้ เหมือนกันคือ องค์ประกอบ เปรียบเหมือนบันได ๙ ขั้น ที่พี่น้องทั้ง ๘๗ ต�าบล ทัว่ ประเทศจะต้องก้าวให้ผา่ น เพือ่ มุง่ ไปสูก่ ารเป็นศูนย์ เรียนรู้ต�าบลวิถีพอเพียง ประกอบด้วย


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

๗ ๖ ๕

๙ ๘

“ภาคอีสานมีทั้งหมด ๒๒ ต�าบล แต่มีเพียง ๑๑ ต�าบล ที่สามารถถอดองค์ความรู้แล้วน�าไป ใช้ ไ ด้ ส ่ ว นที่เ หลื อ ยั ง เป็ น เพี ย งการสรุ ป บทเรี ย น คณะกรรมการส่งสัญญาณว่าจะท�าต่อเนือ่ ง และถือเป็น พื้นที่ยุทธศาสตร์ คือ มีการวางแผนพัฒนาทักษะ ผูร้ ู้ พัฒนาสือ่ เรียนรู ้ พัฒนาจุดเรียนรู ้ และพยายาม เคลื่อนครัวเรือนอาสาเข้ามาเรียนรู้ “ในขณะทีส่ ว่ นกลางก�าลังท�า E-Book ต�าบลก็นา� ความรูพ้ ฒ ั นาเป็นสือ่ ต่าง ๆ เช่น ป้าย โปสเตอร์ โบรชัวร์ และจัดทดสอบ น�า ๑๑ ต�าบล มาต�าบลไทยสามัคคี เพือ่ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ กั น กระตุ ้ น การพั ฒ นาจุ ด เรี ย น รู ้ ใ ห้ พ ร้ อ ม และน� า ความรู ้ ก ลั บ ไปพั ฒ นาต� า บล ของตัวเอง” วีระ นิจไตรรัตน์ ที่ปรึกษาโครงการฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริบทชุมชน คือการมีส่วนร่วม ของชุมชน ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการ สนับสนุนการด�าเนินการจัดการเรียนรู้ ของชุมชน ถือเป็นดัชนีชี้วัดความส�าเร็จ ของการจัดการเรียนรู้ในชุมชน

ผู้เรียน ผู้สนใจที่ต้องการเรียนรู้ และการเรี ย นรู ้ แ ต่ ล ะครั้ ง ไม่ ค วร มีมากหรือน้อยเกินไป รวมถึงอายุ ของผูเ้ รียนก็ไม่ควรแตกต่างกันมากนัก เพราะอาจเป็นอุปสรรคต่อการจัดการ เรียนรู้

ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ ต้องฝกฝนให้เข้าใจ วิธกี ารจัดกระบวนการเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วม และต้อง ศึกษาให้รจู้ กั ธรรมชาติของผูเ้ รียน เพือ่ น�ามาออกแบบ กระบวนการเรียนรูใ้ ห้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียนมากที่สุด

การประเมินผล ควรมีการวัดผลการเรียนรู้ ทั้งจากผู้เรียนที่ได้ประเมินความรู้ของตนเอง และ ประเมินการสอนของผู้จัดการเรียนรู้ รวมทั้งตัวผู้ จั ด การเรี ย นรู ้ ก็ ค วรประเมิ น ตนเอง เพื่ อ น� า ข้ อ ดี ข้อเสียมาปรับปรุงต่อไป

สถานที่เรียนรู้ ส่วนใหญ่จะใช้แหล่งที่มาของ ความรู ้ และหากชุมชนใดมีผู้รู้และแหล่งความรู้ หลายแห่ง ควรจะแบ่งสถานที่เป็น ๒ ส่วน คือ ศูนย์เรียนรู้ ท�าหน้าทีเ่ หมือนโรงเรียนช่วยบริหารจัดการ และ จุดเรียนรู้ เปรียบเสมือนห้องเรียนชีวติ ทีม่ คี วามรู้ พร้อมจะถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ ซึ่งหมายถึงบ้านของ ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น

ต�าบล จุดเรียนรู้ ไทยสามัคคี ๙ จุดเรียนรู้ ๑. เตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูง ๒. การจัดการที่ดินในกระแสการขายที่ดิน ให้คนนอก ๓. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด ๔. การเพาะเห็ด ๕. การปรับตัวในกระแสการท่องเที่ยว ๖. การพึ่งพาตนเองด้วยการท�าบัญชี ครัวเรือน ๗. กลุ่มเยาวชนมัคคุเทศก์น้อย ๘. เครือข่ายกลุ่มอนุรักษ์ต้นน�้ามูล ๙. กองทุนสวัสดิการและกลุ่มออมทรัพย์ ต้นน�้ามูล นาบอน ๑๒ จุดเรียนรู้ ๑. หมู่บ้านต้นแบบ คนต้นแบบ ๒. วิจัยไทบ้าน งดเหล้าในงานศพ ๓. กลุ่มเยาวชนต�าบลนาบอน ๔. กลุ่มอนุรักษ์ป่าชุมชนต�าบลนาบอน ๕. การเพาะผักหวานป่า ๖. พลังงานชุมชน ๗. เกษตรอินทรีย์ชีวภาพ ๘. สมุนไพร บ้านโนนศรีสวัสดิ์ ๙. ศูนย์เพาะช�าการขยายพันธุ์พืช บ้านทุ่งมน ๑๐. โรงเรียนปศุสัตว์ บ้านนาเจริญ ๑๑. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ด (กองทุนสานใจ) บ้านค�าเมย ๑๒. การผลิตของใช้ในครัวเรือน บ้านนาบอน

ครอบครัวพอเพียง : 4๙


จาก ๘ ต�าบลต้นแบบ “ศูนย์เรียนรู้ “

สู่ ๗๙ ต�าบล

จากจุดเริม่ ต้นโครงการฯ เมือ่ ปี ๒๕๕๐ มาสูก่ าร เริ่มต้นบนทางสายใหม่แห่งการเรียนรู้ ในปี ๒๕๕๔ และถือเป็นก้าวที่สองของการเดินทาง ที่พี่น้องก�าลัง ช่วยกันเขียนหน้าประวัติศาสตร์ทางการศึกษาขึ้นมา อีกหนึ่งหน้า แม้จะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่คงไม่มีครั้งใด จะยิง่ ใหญ่ไปกว่าการทีพ่ นี่ อ้ งทัง้ ๘๗ ต�าบลทัว่ ประเทศ ได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างชุมชนต้นแบบวิถีพอเพียง และพัฒนาสู่การเป็นศูนย์เรียนรู้ เปรียบดั่งโรงเรียน ชุมชนที่พร้อมถ่ายทอดความรู้ มุ่งสร้างสังคมไทยให้ เป็นสุขอย่างยั่งยืน และเมื่อวันนั้นมาถึง… “กอก ๆๆ...” เสียงเคาะประตูดังขึ้น พรอมกับ เสียงชายชราคนหนึ่ง… “ทีน่ คี่ อื ชุมชนตนแบบวิถพี อเพียงใชไหม...?”

50 : ครอบครัวพอเพียง


ภาคใต้ “๒๐ ต�าบลภาคใต้ กระจายตัวตามความหลากหลาย ของภูมินิเวศและวัฒนธรรม จากภูเขาจรดทะเล ความเป็นเครือข่าย ๒๐ ต�าบลของภาคใต้ ที่ได้ พบปะแลกเปลีย่ นกันอย่างต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่ป ี ๒๕๕๒ ก่อ ให้เกิดการเรียนรูแ้ ละเชือ่ มโยงซึง่ กันและกัน ไม่เฉพาะ แกนน�าในต�าบลเท่านั้น ยังรวมถึงครัวเรือนอาสา และคนต้นแบบในแต่ละต�าบลด้วย องค์ความรูท้ ซี่ กุ ตัว อยู่ในชุมชน ต่างสร้างคุณค่าใหม่อย่างต่อเนื่อง บนพืน้ ฐานของการท�างานทีใ่ ห้ความส�าคัญกับการพึง่ ตนเอง ระดับครัวเรือน กระบวนการหมุนเกลียวความรู้ของ ชุมชนได้ผ่านกระบวนการท�างาน การใช้ชีวิตของ ชุมชน ที่ค�านึงถึงคุณค่าแห่งการอยู่ร่วมกัน บนฐาน ของการใช้ทรัพยากรของชุมชน คุณค่าทางศาสนา ทั้งพี่น้องชาวพุทธและพี่น้องมุสลิมต่างประสานและ หยิบยกขึ้นมาเชื่อมโยงกับความรู้ด้านทักษะอาชีพ เพือ่ ส่งต่อคนรุน่ ใหม่อย่างมีความหวังและมีความหมาย” เสรี จุ้ยพริก ที่ปรึกษาโครงการฯ ภาคใต้ ต�าบล ต้นยวน ป่าคลอก

จุดเรียนรู้ ๑๒ จุดเรียนรู้ (แบ่งตามหมู่) หมู่ ๑ ประวัติศาสตร์ต�าบลต้นยวน หมู่ ๒ พลังงานทดแทนต�าบลต้นยวน หมู่ ๓ การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น�้าต�าบลต้นยวน หมู่ ๔ แปลงสาธิตสมุนไพร และพันธุ์ไม้ ท้องถิ่น ต�าบลต้นยวน หมู่ ๕ หมู่บ้านต้นแบบการบริหารจัดการป่า ชุมชน และบ้านพักโฮมสเตย์ / โรงเรียนต้นแบบวิถีพอเพียง และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ ๖ โรงเรียนต้นแบบวิถีพอเพียง และวัฒนธรรมท้องถิ่น หมู่ ๗ โรงเรียนเกษตรผสมผสาน / ศูนย์อ�านวยการ โครงการฯ ต�าบลต้นยวน หมู่ ๘ โรงเรียนชีววิถี / กลุ่มนางไพร หมู่ ๙ วัดต้นแบบส่งเสริมสุขภาพ ต�าบลต้นยวน /เกษตรผสมผสาน ต�าบลต้นยวน หมู่ ๑๐ ครัวเรือนต้นแบบวิถีพอเพียง ต�าบลต้นยวน หมู่ ๑๑ แหล่งอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า ต�าบลต้นยวน หมู่ ๑๒ โรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง และพลังงานทดแทน ๕ จุดเรียนรู้ ตามยุทธศาสตร์ต�าบล ๑. พัฒนาคน องค์กร องค์ความรู้ ด้วยหลักศาสนา ๒. อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ๓. เศรษฐกิจชุมชน วิถีพอเพียง ๔. สุขภาวะชุมชน ๕. สวัสดิการและการจัดการเงินชุมชน

ครอบครัวพอเพียง : 5๑


วิถียุติธรรม

วิกฤตการณ์น�้าท่วมหนนี้มีหลายแง่หลายมุมและหลากหลายอารมณ์ความ รู้สึก สะท้อนออกมาผ่านโลกาภิวัตน์ของสื่อมวลชนมากมาย มีทั้งแง่มุมและความ รูส้ กึ เชงิ บวกและเชงิ ลบแต่แง่มมุ ส�าหรับวิถยี ตุ ธิ รรมก็เปน็ อีกแง่มมุ หนึง่ ทีจ่ ะมองข้าม ไปไม่ได้ ถื อ ว่ า เป็ น ธรรมชาติ ข องสรรพสิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งมี แ ง่ มุ ม ของความ ยุติธรรมแทรกอยู่เสมอ ไม่เว้นแม้แต่เรื่องของภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ ซึ่งต้องมองให้ครอบคลุมทุกเรื่องตั้งแต่การบริหารจัดการน�้าที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติให้ทุกคนได้มีกินมีใช้อย่างเต็มที่ หรือแม้แต่การเตรียมการเพื่อ ป้องกันน�้าท่วม เมื่อมีน�้ามากเกินไปหรือป้องกันการขาดแคลนน�้าเมื่อน�้า ไม่พอกินพอใช้ และสุดท้ายต้องรวมไปถึงการแก้ไขเยียวยาเมื่อเกิดความ เสียหายขึ้น ชาวบ้านธรรมดาๆ ที่ไม่มีความรู้หรือไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง เหล่านี้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายก็ย่อมเป็นธรรมชาติอีกเช่นกันว่าจะ 52 : ครอบครัวพอเพียง

ต้องมองหาวิถียุติธรรมที่ไม่ต้องซับซ้อนหรือมีพิธีรีตอง อะไรมากมายเพราะโดยชีวิตประจ�าวันของเขาก็คือการ ท�ามาหากินโดยปกติและอยู่กับน�้าเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว การพูดถึงวิถียุติธรรมเกี่ยวกับเรื่องน�้าจึงเป็น วิถีที่ควรจะจับต้องได้ง่ายไม่ซับซ้อนโดยมีหลักส�าคัญว่า ชาวบ้านต้องเข้าใจได้ง่ายไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแบ่งปัน น�้า การป้องกันน�้าท่วม หรือน�้าขาดแคลน และรวมไป ถึงวิธีการช่วยเหลือชาวบ้านเมื่อได้รับความเดือดร้อน เสียหาย


มาโดยตลอด ต้องยอมรับเช่นกันว่าการออกแบบกลไกและวิธีการให้หน่วย งานภาครัฐทั้งในระดับหน่วยงานและตัวบุคคลให้ท�างานร่วมกันมีปัญหา อุปสรรคมากและพบว่าวิธีคิดและวิธีท�างานของคนเป็นประเด็นส�าคัญใน เรื่องนี้ ด้วยถูกบ่มเพาะการคิดและการท�างานแบบแยกส่วนมาโดยตลอด ไม่อยากใช้ค�าว่าบูรณาการจนเป็นค�าเฝือไม่รู้ความหมายที่แท้จริงกันไปเสีย แล้ว แต่ย�้าอีกครั้งว่าเป็นวิถียุติธรรมที่ชาวบ้านควรจะได้รับ วิ ถี ยุ ติ ธ รรมส� า หรั บ ชาวบ้ า นโดยทั่ ว ไปที่ ส�าคัญมากเรื่องหนึ่งคือการได้รับข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจน และทั่วถึง สังเกตดูว่า ๒-๓ อาทิตย์ที่ผ่านมาข้อมูลและ ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งน�้ า มี ค วามหลากหลายและทั่ ว ถึงแทบจะตลอดเวลา ๒๔ ชั่วโมง แต่เชื่อเถอะว่าเมื่อ เวลาผ่านไปเรื่องเหล่านี้จะผ่านพ้นไปกับสายน�้าเหลือ เพียงแต่พยากรณ์อากาศและเวลาน�้าขึ้นน�้าลงและเวลา ดวงอาทิตย์ขึ้นและตกเป็นประจ�าวันอีกเหมือนเดิม การมี โ อกาสให้ ช าวบ้ า นได้ รั บ รู ้ เ รื่ อ งราว เกี่ ย วกั บ สถานการณ์ น�้ า ทั้ ง ในระบบชลประทานเพื่ อ การเกษตรหรื อ เพื่ อ การกิ น การใช้ ใ นระดั บ ชาวบ้ า น รวมทั้งสถานการณ์ของน�้าในเขื่อนและอ่างเก็บน�้าอย่าง เป็นระบบและเข้าใจได้อย่างง่ายๆ เป็นสิทธิพื้นๆ ของ ชาวบ้านที่ควรได้รับการเหลียวมองและถือว่าเป็นวิถี ยุติธรรมที่ต้องไม่มองข้าม เมื่อมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารแล้วจะ ส่ ง ผลต่ อ วิ ถี ยุ ติ ธ รรมเรื่ อ งต่ อ ไปคื อ การมี ส ่ ว นร่ ว มใน การบริ ห ารจั ด การด้ ว ยความสามารถและสติ ป ั ญ ญา ของชาวบ้าน เรื่องนี้มีความส�าคัญเช่นกันเพราะการ มีส่วนร่วมน�าไปสู่ความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างรัฐ และชาวบ้านเพราะทุกเรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องน�้าซึ่งเป็น ทรัพยากรธรรมชาติจะโยนให้เป็นหน้าที่ของใครคนใด คนหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้ คงเห็นกันได้ชัดเจน ในช่วงหลังๆ ว่าทุกเรื่องมีความซับซ้อนมากขึ้นต้องร่วม มือร่วมแรงกันจึงจะพากันไปรอด เรื่องการมีส่วนร่วมของชาวบ้านเพื่อให้เกิด วิถียุติธรรมนั้น เห็นว่าจะต้องท�าให้เกิดขึ้นในทุกเรื่อง โดยเฉพาะหนนี้ ค งเป็ น การยื น ยั น อี ก ครั้ ง ว่ า ชาวบ้ า น และภาคเอกชนมีศักยภาพและบทบาทอย่างสูงในการ จัดการและแก้ไขบรรเทาความเดือดร้อนได้ และยังย�้า เตือนอีกด้วยว่าการมีส่วนร่วมเป็นทั้งสิทธิและหน้าที่ ของชาวบ้านในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน การท�างานร่วมกันของภาครัฐเพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหาให้แก่ชาวบ้านยังคงเป็นประเด็นส�าคัญ

น�า้ ท่วมยังมีวนั แห้งเหอื ด แต่วถิ ยี ตุ ธิ รรม ขาดแคลนยากทีจ่ ะเยียวยาและแก้ไขอาจเปน็ แผล เรื้อรังจนกลายเป็นมะเร็งสังคมได้

ครอบครัวพอเพียง : 53


ความกตัญญู

ครอบครัวพอเพียง ขอส่งเสริม “ความกตัญญู” ในสังคมไทย ที่งดงามและเป็นสิ่งที่ส�ำคัญยิ่งของ “ครอบครัว”

สายตรง กรมสงเสริมการสงออก

1169


โดย : แม่เปนสุข

บานาน่าทูโทน

บานาน่าทูโทน เมนูอาหารทานเล่น แถมยังได้ประโยชน์จากกล้วยหอม เปนเมนูของสาวๆ หลายคน อยากลอง รับประทานซักครั้ง บานาน่าทูโทน เปนเมนูที่เมื่อรับประทานแล้วจะรู้สึกนุ่มลิ้น โดยเฉพาะเมื่อรับประทานรวมกับกล้วยหอม ด้วยแล้วรสชาติลงตัว

ส่วนผสม

White Chocolate Mousse Dark Chocolate Mousse กล้วยหอม ไวท์ช็อกโกแลตส�าหรับเคลือบ ราสปเบอร์รี่ส�าหรับตกแต่ง

วิธีท�า

๑ ๑ ๒-๓

สูตร สูตร ลูก

ส่วนผสม Dark Chocolate Mousse/White Chocolate Mousse วิปครีม ๑๓๐ กรัม ดาร์กช็อกโกแลตหั่นชิ้นเล็ก ๒๐๐ กรัม เจลาตินชนิดแผ่น ๓ แผ่น วิปปิงครีม ๓๐๐ กรัม

วิธีท�า

๑. แช่เจลาตินในน�้าเย็นจัดจนนุ่มแล้วพักไว้ ๑. เตรียมพิมพ์สี่เหลี่ยมรองด้วยกระดาษไข ใส่ Dark ๒. น�าวิปครีมต้มพอเดือด จากนัน้ เทใส่ดาร์กช็อกโกแลต Chocolate Mousse ประมาณ ๑/๒ ของพิมพ์ ใส่กล้วยหอม คนพอดาร์กช็อกโกแลตละลาย ใส่เจลาตินผสมพอเข้ากัน ตามด้วย White Chocolate Mousse น�าเข้าแช่ตู้เย็น ๓. ผสมวิปปิงครีมที่ด้วยหัวตีตะกร้อโดยใช้ความเร็ว ๒. น�า Mousse ที่แช่ตู้เย็นจนเช็ดตัวออกจากพิมพ์โดย จุ่มลงในน�้าอุ่นแล้วคว�่าออก ราดด้วยไวท์ช็อกโกแลตตุนจนทั่ว พัก ปานกลางจนขึ้นฟูตั้งยอดอ่อน คนจนส่วนผสมเข้ากันดี พักไว้ ไว้ให้เช็ดตัวตัดเป็นชิ้นตกแต่งด้วยราสปเบอร์รี จัดเสิร์ฟ *หมายเหตุ White Chocolate Mousse ทําเช่นเดียวกันกับ Dark Chocolate Mousse โดยเปลี่ยนจาก ดาร์กช็อกโกแลตเปนไวท์ช็อกโกแลต

ครอบครัวพอเพียง : 55


ปญหาสังคม (การพัฒนา)

ประเทศไทยควรสนั บ สนุ น แผนการที่ จ ะประกอบ การเกษตรและจั ด ตั้ ง เป็ น ศู น ย์ พั ฒ นาอาชี พ ในเบื้ อ งต้ น เป็ น แห่ ง แรกในภาคอีสานเพื่อท�าให้เป็นแหล่งผลิตอาการไปเลี้ยง ประชาคมโลกและผลที่ตามมาจะท�าให้เกษตรกรชาวไร่ชาวนา และประชาชนทั่ ว ไปมี ง านท� า มี ร ายได้ พ อเลี้ ย งตั ว เองและ ครอบครัวในระยะแรก แหล่งน�้าจึงมีความจ�าเป็นส�าหรับใช้เพื่อ การเกษตรกรรม แหล่งน�้าที่จะเอามากักเก็บไว้ใช้คือ “น�้าจาก ล�าน�้าโขง” การพัฒนาแหล่งน�้าจากลุ่มแม่น�้าโขงในช่วงฤดูน�้าหลาก “น�้าล้นฝัง”โดยหาทางให้น�้าไหลมาตามล�าเซ หรือล�าห้วย(คลอง) ที่ แ ยกตั ว มาจากแม่ น�้ า โขง ตั้ ง แต่ ห นองคายลงมาระหว่ า ง อ.โพนพิสัย อ.ท่าอุเทนถ้าล�าห้วย หรือล�าเซ (คลอง) มาสิ้นสุดลง ตรงไหน ก็หาเวณคืนที่ดินขุดเป็นล่องให้น�้าไหลมายังแหล่งกักเก็บ น�้าที่ใดที่หนึ่ง แล้วระบายน�้าที่ไหล่อไปยังหนองหาร ในเขตจังหวัด สกลนคร ติดต่อเชื่อมกับจังหวัดอุดรธานี หนองหาร เป็ น บึ ง น�้ า ขนาดใหญ่ เหมาะที่ จ ะขุ ด ลอกให้ ลึ ก ปรั บ ปรุ ง ให้ เ ป็ น แหล่ ง กั ก เก็ บ น�้ า ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน 56 : ครอบครัวพอเพียง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เขตอีสานตอนบน) และง่ายต่อการ ระบายน�้าจากแม่น�้าจากแม่น�้าโขงในช่วงฤดูน�้าหลาก น�ามาเก็บ ไว้ที่หนองหาร ในช่วงฤดูแล้งก็สามารถจ่ายน�้าไปให้เกษตรกรใช้ ท�าการเกษตรด้านบริเวณใกล้เคียง เช่น จ.อุดรธานี , จ.ขอนแก่น, จ.สกลนคร, จ.นครพนม, แล้วปล่อยให้ไหลมาตามล�าปาวเข้าสู่ จังหวัดกาฬสินธุ์, จ.ร้อยเอ็ดและจ.มหาสารคาม จังหวัดยโสธร หรือที่ชาวบ้านคนเก่าคนแก่เรียกกัน ว่า “เมืองยศ” เป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีบึงขนาดใหญ่ที่เรียกกันว่า “บึงทวน” ซึ่งสามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งกักเก็บน�้า เพื่อน�าไป


ใช้ในการเกษตรได้เป็นอย่างดี บึงทวน สามารถปรับปรุงให้เป็นแหล่งกักเก็บน�้าที่ไหล มาจากล�าห้วยต่างๆ โดยเฉพาะล�าน�้ากล�่าที่ อ.ธุพนม และในเขต จังหวัดมุกดาหาร ที่มีล�าเซแยกมาจากแม่น�้าโขง ไหลมาบรรจบ ที่ล�าห้วยลิงโจนที่อยู่ระหว่าง อ.โพนทอง และอ.เลิงนกทา แล้ว หาทางเวณคืนที่ดินบางแห่ง ท�าเป็นร่องน�้าให้ไหลมาเก็บไว้ที่ บึงทวน หรือช่วงที่น�้าหลากในล�าน�้าชี ก็สามารถผันมาเก็บไว้ที่ บึงทวนได้เช่นกัน จั ง หวั ด อ� า นาจเจริ ญ เป็ น อี ก จั ง หวั ด หนึ่ ง ที่ มี อ ่ า งน�้ า และเซบายที่ไหลไปบรรจบแม่น�้าชีตอนน�้าหลาก น่าจะเวณคืน ที่ดินบางแห่งที่เป็นที่ลุ่มท�าเป็นอ่างกักเก็บน�้าขนาดย่อม เพื่อ จ่ายให้เกษตรกรท�าการเกษตรตั้งแต่สะพานล�าเซบาย ระหว่าง อ.ป่าติ้วและต.น�้าปลีก ตลอดไปจนถึงอ.หัวตะพาน อ.ม่วงสามสิน จ.อุบลราชธานี ส�าหรับในช่วงระหว่างจังหวัดอ�านาจเจริญและจังหวัด ยโสธรให้ท�าเป็นร่องน�้าขนานไปกับถนนอรุณประเสริฐ แล้วปล่อย น�้าจากบึงทวนและอ่างเก็บน�้าขนาดย่อมให้ไหลตามร่องถนน ส่วน ในเขตจังหวัดอ�านาจเจริญเอง ให้ท�าเป็นร่องน�้าขนานไปกับถนน อรุณประเสริฐและบริเวณใกล้เคียง แล้วปล่อยน�้าจากอ่างเก็บน�้า ขนาดย่อม ให้ไหลไปตามร่องถนนใหญ่และถนนซอย ซึ่งจะท�าให้ เกษตรกรมีน�้าใช้ในการเกษตรได้ทั้งปี พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระองค์ได้ทรงวางแนวทางการพัฒนาพื้นที่เกษตรน�้าฝนขุดสระ เก็บน�้ามาทฤษฎีใหม่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เจ้าหน้าที่ ของรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการพัฒนาหัวเมืองและในชนบท น่าจะได้ศึกษาหาแนวทางพัฒนาพื้นที่เกษตรน�้าฝนของพระองค์ เพื่อน�ามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่เกษตรกรในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ส่วนอีสานตอนล่างตั้งแต่จังหวัดอุบลราชธานีลงไป ก็ มีแหล่งน�้าหลายแห่งที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งกักเก็บน�้าเพื่อใช้ ในการประกอบการเกษตรได้ ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วว่า ผู้ปกครอง หัวเมืองใหญ่ๆ ที่มีวิสัยทัศน์ที่ดี ย่อมท�าให้บ้านเมืองและประชาชน เจริ ญ ก้ า วหน้ า ไปด้ ว ยดี ถ้ า คนไหนที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ไ ม่ ดี คั บ แคบ

ประกอบกับลูกสมุนขุนพลอยพยักแนะน�าไปในทางที่ไม่ดี ยิ่งท�าให้ บ้านเมืองเสียหายเท่านั้น ดังนั้น ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดน่าจะเป็น ผู้รับผิดชอบในการพัฒนาคน และกักเก็บน�้าในเขตจังหวัดของ ตนเองให้เจริญก้าวหน้า โดยเฉพาะช่วยยกระดับผู้ด้อยการศึกษา และด�าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งให้เกษตรกรมีน�้าไว้ใช้ประกอบ การเกษตรอย่างพอเพียง ประการส� า คั ญ อยู ่ ที่ ค วามไม่ ก ระตื อ รื อ รื อ ร้ น ของ ผู้บริหารในหน่วยงานนั้นๆ ซึ่งเป็นอุปสรรคอย่างยิ่งต่อการด�าเนิน งาน ทั้งๆ ที่มีมาตรการและโครงการที่ออกมาถูกต้องทั้งหมด แต่มี ปัญหาตรงที่ผู้สั่งการ และผู้ปฏิบัติคือไม่ Acting หรือกระตือรือร้น ผลงานก็เลยไม่คืบหน้า พลอยท�าให้บ้านเมืองและประชาชนพลอย ได้รับผลกระทบไปด้วย กลายเป็นพวก “หนักแผ่นดิน” องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (เอฟ เอ โอ) ได้ท�านายไว้ว่า “ชาวโลกในศตวรรษที่ ๒๑ โลกจะเปลี่ยน จากสังคมชนบทมาเปนสังคมเมือง” ท�าให้แหล่งผลิตทางด้าน การเกษตรลดลง เพราะประชาชนจะแปรสภาพเป็นสังคมเมือง หมด นั่นหมายถึง แหล่งที่ผลิตอาหารมีน้อยลง ปัญหาจึงอยู่ที่ เราจะเอาอาหารที่ไหนมาเลี้ยงดูผู้คนที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ปัจจุบันนี้มี หลายพันล้านคน เฉพาะประเทศจีนและประเทศอินเดียรวมกัน

ครอบครัวพอเพียง : 57


ก็ตก ๒ พันกว่าล้านคนแล้ว ซึ่งขณะนี้มีประชาชนชาวโลกไม่มี อาหารจะกิน และอดอาหารตายกันเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ประเทศไทยเป็นประเทศที่บรรพบุรุษของเราประกอบ เกษตรกรรมเป็นหลัก ไทยจึงควรถือโอกาสนี้เป็นผู้น�าแหล่งผลิต อาหารชของโลก เพื่อผลิตอาหารไปเลี้ยงชาวโลก นอกจากส่ง ไปขายแล้ว ยังสามารถน�าไปแลกเปลี่ยนน�้ามันกับประเทศผู้ผลิต น�้ามันแต่ขาดแคลนอาหาร ฉะนั้น ทุกคนจงมาช่วยกันสร้างงาน ด้านการเกษตรหาแหล่งน�้าเพื่อเพิ่มผลผลิต และหาตลาดในการ ส่งออก งานเร่งด่วนเป็นอันดับแรกของรัฐบาลที่เข้ามาบริหาร ประเทศคือ ออกส�ารวจภาระหนี้สินของเกษตรกรชาวไร่ชาวนา โดยมอบให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา และปัญหาที่ดินท�ากินเป็นผู้รับผิดชอบไปด�าเนินการประสานงาน กับทางอ�าเภอ และ ธกส.อ�าเภอ เพื่อแก้ปัญหาหนี้สินและที่ดิน ท�ากินของเกษตรกร ไม่ใช่หน่วยงานที่ไม่รู้เรื่องเกี่ยวกับเกษตรกร การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรขนาดย่อม โดย อาหารประเภทต่างๆ และเครื่องดื่ม จากน�้าผลไม้แล้วยังเสริม ด้วยอุตสาหกรรมสิ่งทอและสิ่งประดิษฐ์ด้วยมือ เพราะประชาชน ชาวไทยมีความถนัดและสามารถอยูแล้ว นอกจากนั้นยังจะพัฒนา น�าเอาวัสดุเหลือใช้ มาประดิษฐ์เป็นรูปแบบต่างๆ ใช้ในครัวเรือน และอุตสาหกรรมตลอดจนเป็นของขวัญส�าหรับนักท่องเที่ยวชาว

ต่างประเทศ และนักท่องเที่ยวไทย ประเทศไทยเรามีกระทรวงเกษตร มีเจ้าหน้าที่กรม ส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาการเกษตรและ กระทรวงอุตสาหกรรม สามารถที่จะช่วยให้ค�าแนะน�าด้านเทคนิค การผลิต เพื่อเสริมปริมาณและคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานดีขึ้น โดยมีกระทรวงคมนาคมช่วยสนับสนุนในด้านการส่งออก ในขณะเดี ย วกั น ศู น ย์ พั ฒ นาอาชี พ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรผู้ยากจน เมื่อมีความแข็งแกร่งและมีสมาชิกมากขึ้น ก็จะแปรสภาพเป็นสหกรณ์รูปแบบใหม่ทันที โดยมีกรมส่งเสริม สหกรณ์การเกษตรเป็นตัวจักรที่ส�าคัญ ในการช่วยเหลือสนับสนุน 58 : ครอบครัวพอเพียง

ด้านการบริหารจัดการและด้านเทคนิค ซึ่งตัวสหกรณ์รูปแบบใหม่ นี้ จะมีโครงสร้างเป็นแบบสหกรณ์ทั่วไป แต่ผิดกันตรงที่ “เปนทั้ง ผู้ผลิต ผู้ซื้อ ผู้ค้าปลีกย่อยและเปนผู้ส่งออก” ซึ่งมีเกษตรกรและประชาชนทั่วไปเป็นสมาชิก สมาชิก เหล่ า นี้ จ ะเป็ น กลไกในการผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ ป้ อ นสหกรณ์ และตั ว สหกรณ์ เ องจะต้ อ งพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลให้ มี ค วามรู ้ ค วาม สามารถและพร้อมที่จะท�างานได้ทุกระดับ ประเทศไทยก�าลังจะมีเส้นทางผ่านแดนขนสินค้าออก ไปขายยังต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น สิ่งที่จะติดตาม มาในพื้นที่ที่จุดสินค้าผ่านทั้งในภาคอีสานและภาคเหนือ ก็คือ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดย่อมและขนาดใหญ่ ตลอดจนโกดังเก็บ สินค้าและบริษัทห้างร้านที่เพิ่มขึ้น เมื่ อ มี แ หล่ ง งานเกิ ด ขึ้ น ในภาคอี ส านและภาคเหนื อ

“ประเทศไทยเปนประเทศที่ บรรพบุรุษของเราประกอบ เกษตรกรรมเปนหลัก ไทยจึงควร ถือโอกาสนี้เปนผู้น�าแหล่งผลิต อาหารของโลก เพื่อผลิตอาหารไป เลี้ยงชาวโลก”


ประชาชนชาวชนบทที่ลงมาหางานท�าในกรุงเทพฯ และที่อื่นๆ จะ ได้คืนถิ่นกันเสียที คือกลับไปพัฒนาถิ่นก�าเนิดของตนเอง เพราะ กรุงเทพฯ ตั้งแต่เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจและทางการเงิน ท�าให้ คนไม่มีงานท�าจ�านวนเป็นล้าน เศรษฐีต้องกลายเป็นยาจก จาก คนที่มีเงินเป็นร้ายล้านพันล้าน ต้องกลายมาเป็นผู้ยากจน ต้อง มานั่งขายแฮมเบอร์เกอร์ และไก่ย่างส้มต�า คนที่จนอยู่แล้ว ยิ่ง ยากจนลงไปอีก จากข้ อ มู ล ทางเศรษฐกิ จ และจากการรายงานของ สภาพัฒน์ฯ มีข้อสรุปตรงกันว่า “คนไทยเปนจ�านวนมาก ประสบ กับความยากจนมากขึ้น” กรุงเทพฯจึงไม่เหมาะส�าหรับพวกท่าน อีกแล้ว เส้นทางด�าเนินชีวิตใหม่ของพวกท่านคือ กลับไปสร้าง งานในชนบทของพวกท่าน ด้วยการประกอบการเกษตร “ใน หลักเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรกรทฤษฎีใหม่” ตามแนว

พระราชด�าริ ซึ่งทางศูนย์พัฒนาอาชีพ ก�าลังจะไปเปิดด�าเนิน การในภาคอี ส านเป็ น จุ ด แรกที่ จั ง หวั ด อ� า นาจเจริ ญ และจะ ค่อยๆ ขยายต่อไปทุกจังหวัด ตามแผนพัฒนาแหล่งผลิตอาหาร จะมีนักการเมือง ผู้แทนราษฎร หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประเทศ ตลอดจนองค์กรต่างๆ และประชาชนทั่วไป ที่ท�าเพื่อชาติเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมของ ประเทศชาติ และประชาชนเป็นที่ตั้ง มาช่วยกันสร้างงาน และ กระจายงานให้ออกไปตามจังหวัดต่างๆ ที่มีเส้นทางขนส่งสินค้า ผ่านไปยังต่างประเทศตามแผนที่ที่ได้ระบุไว้แล้วนั้น เพราะตาม เส้นทางดังกล่าว จะมีทั้งแรงงานและวัตถุดิบ ที่พร้อมจะป้อนให้ โรงงานได้อย่างไม่ขาดแคลน มนุษย์เป็นผู้ไม่รู้จบ มนุษย์เป็นทั้งผู้สร้างและผู้ท�าลาย ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่อุบัติขึ้นในโลกดังที่กล่าวไว้แล้วนั้น ดังนั้น การที่จะพัฒนาประเทศชาติบ้านเมืองให้เจริญทัดเทียมกับนานา อารยะประเทศทั้งหลายได้ ต้องพัฒนาคนเป็นอันดับแรก ด้วยการ ให้การศึกษาทั้งด้านศิลปะ วัฒนธรรม คุณธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ ฯลฯ การพัฒนาคมจะต้องเริ่มพัฒนาในช่วงที่เด็กก�าลังหัด จ�าพยายามป้อนแต่สิ่งที่ดีๆ ให้ (ไม่ใช่ตามใจกันทุกเรื่องอย่าง

ที่เป็นอยู่) จนถึงเข้าเรียนอนุบาล ต้องพยายามฝึกให้เด็กจ�าในสิ่งที่ ควรจ�า และให้ท�าจนเกิดความเคยชินเป็นนิสัย ตังแต่รักษาความ สะอาด เก็บสิ่งของและขยะที่ตกลงบนพื้น แล้วนะไปเก็บหรือทิ้ง ให้เป็นที่ อบรมให้มีศีลธรรม มีคุณธรรม มีความเมตตากรุณาช่วย เหลือผู้อื่น ไม่ประพฤติตัวเป็นอันธพาลที่เอาชนะคนอื่นด้วยวิธี สกปรก ไม่เอาเปรียบและโกหกหลอกลวงผู้อื่น หัดให้มีระเบียบ วินัย และเคารพผู้อื่น หัดให้มีวิสัยทัศน์มองการณ์ไกลในวันข้าง หน้า เพื่อพัฒนาประเทศชาติ ตนเองและผู้อื่น ต่อไปในวันข้างหน้า เราอาจจะได้นายกรัฐมนตรีที่มี วิสัยทัศน์กว้างไกล รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีใจเป็นธรรม ไม่ ล�าเอียงเข้าข้างตัวเองและพรรคพวก ไม่มองเห็นคนอื่นเป็นศัตรู ไม่หน้าไหว้หลังหลอกไม่ลอยตัวอยู่เหนือปัญหา และต้องเป็นผู้ที่ มีความรับผิดชอบสูง ประเทศไทยอาจจะได้ ค ณะรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ที่ มีปากกับใจตรงกัน ไม่มีนิสัยอันธพาล ไม่เลี้ยงอันธพาลไว้แผ่ อิทธิพลทั่วทิศเวลาจะท�าอะไร ไม่มีนิสัยอันธพาล ไม่เลี้ยงอันธพาล ไว้แผ่อิทธิพลทั่วทิศเวลาจะท�าอะไร จะมีจิตส�านึกที่ดีมาคอยขัด ขวางไว้ จะได้ไม่กล้าท�าอะไรตามใจชอบ ไม่ถืออ�านาจเป็นอมตะ ประกาศส�าคัญ ประเทศไทยอาจจะไม่มีคนขี้โกงอีกต่อ ไปเพราะจะโกงแต่ละครั้ง จิตส�านึกที่เคยถูกอบรมมาอย่างดีตั้งแต่ เด็กจะคอยต่อต้านและเตือนว่า “อย่าโกง อย่าโกง” แต่ให้ช่วย กันจับคนโกงประเทศชาติจะได้ปลอดคนชั่ว หรือถ้าจะมีชั่วปน อยู่บ้าง ก็ให้มีชั่วน้อยลง

ครอบครัวพอเพียง : 5๙


การเพาะเห็ด

รายได้ ข ้ า งรั้ ว อี ก หนึ่ ง ทางที่ ส ามารถเพิ่ ม เม็ ด เงิ น ใน กระเป๋า หรือสร้างฐานะให้มั่นคงระดับเศรษฐีได้เลยทีเดียว งาน วิชาการเกษตรด�ำเนินการศึกษาทดสอบ การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ ชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฮังการี เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดขอนขาว เห็ดยานางิ(เห็ดโคนญี่ปุ่น) เป็นต้น และขยายผลสู่เกษตรกรใน พื้นที่ศูนย์ฯ โดยการน�ำเกษตรกร หรือประชาชนที่สนใจเข้ารับ การฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติและกลับไปเพาะเห็ดในพื้นที่ของตนเอง ระยะแรกเกษตรกร/กลุ่มประชาชน ก่อตั้งกลุ่มเพาะเห็ดเศรษฐกิจ สมาชิก ๔ ราย ด�ำเนินการเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อส่งจ�ำหน่ายตลาด ในท้องถิ่น ปั จ จุ บั น กลุ ่ ม เพาะเห็ ด มี ส มาชิ ก ๑๐ ราย ท� ำ การ เพาะเห็ดยานางิ เนื่องจากให้ผลตอบแทนสูงกว่า มีรายได้เฉลี่ย ประมาณ ๖,๐๐๐ บาท/เดือน นอกจากนี้กลุ่มยังเป็นสถานที่ศึกษา ดูงานและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดแก่เกษตรกรผู้สนใจงานวิชาการ เกษตรศูนย์ฯได้ด�ำเนินโครงการ เพื่อสนับสนุนงานอาหารกลางวัน โดยการให้โรงเรียนในพื้นที่ศูนย์ฯ และนอกพื้นที่ ที่มีความสนใจ น�ำนักเรียนเข้าฝึกปฏิบัติท�ำก้อนเชื้อเห็ดและน�ำก้อนเห็ด ที่ได้กลับ ไปเปิดดอกที่โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวันและยังเป็นการเพิ่ม 60 : ครอบครัวพอเพียง

ทักษะวิชาชีพแก่นักเรียน เห็ด เป็นอาหารที่รู้จักกันมานานว่าเป็น อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงอุดมได้ด้วยโปรตีนเทียบเท่ากับ เนื้อสัตว์เป็นที่นิยมบริโภคในหมู่ชาวมังสวิรัติ และในปัจจุบันเห็ด ชนิดต่างๆ ยังไม่เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ

การเพาะเหด็ ในถุงพลาสติกมีขนั้ ตอนการ เพาะ ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ๑.การเลี้ยงเชื้อในอาหารวุ้น PDA ๒.การเลี้ยงเชื้อในเมล็ดข้าวฟ่าง ๓.การท�ำก้อน


การเพาะเห็ดสูตรอาหาร PDA

๑.มันฝรั่ง (Potato) ๒๐๐ กรัม ๒.น�้าตาลเชิงเดียว (Dextros) ๒๐ กรัม ๓.วุ้น (Agar) ๒๐ กรัม ๔.น�้าสะอาด ๑,๐๐๐ cc

วิธีการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ

• น� า มั น ฝรั่ ง ปอกเปลื อ กล้ า งน�้ า หั่ น เป็ น ชิ้ น ขนาด ๑ ลูกบาศก์เซนติเมตรน�าไปต้มกับน�้า (๑,๐๐๐ cc) • กรองเอาแต่ น�้ า แล้ ว น� า มาผสมกั บ วุ ้ น และน�้ า ตาล เชิงเดียว • บรรจุใส่ขวดประมาณ ๑/๔ ของขวด ปิดจุกส�าลีแล้ว หุ้มด้วยกระดาษ • น�าไปนึ่งในหม้อนึ่งความดัน ๑๕-๑๗ ปอนด์ต่อตาราง นิ้วนาน ๒๕-๓๐ นาที • เมื่อเย็นแล้วน�าขวดมาเอียง ๔๕-๗๐ อาศาเซลเซียส • เลี้ยงเชื้อเห็ดในตู้เลี้ยงเชื้อ

การเตรียมเชื้อเห็ดจากเมล็ดข้าวฟาง

๑.แช่เมล็ดข้าวฟ่างในน�้าประมาณ ๑๐-๑๒ ชั่วโมง ๒.ต้มหรือนึ่งให้สุก ๓.ผึ่งให้แห้ง ๔.บรรจุใส่ขวดแบนประมาณ ๑/๒ ของขวด ปิดจุกส�าลี แล้วหุ้มด้วยกระดาษ ๕.น�าไปนึ่งให้เย็นแล้วน�าไปเลี้ยงเชื้อเห็ด ๖.เลี้ยงเชื้อเห็ดจากเส้นใยที่เจริญในอาหาร PDA

ต่อหน่วยต�่าและจะเป็นการเพิ่มผลตอบเทนให้สูงขึ้น

การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก สูตรอาหารก้อนเชื้อ • ขี้เลื่อย ๑๐๐ กก. • ร�าละเอียด ๕ กก. • ดีเกลือ ๐.๒ กก • ปูนขาว ๑ กก. • น�้าสะอาด ๗๐-๗๕%

ขั้นตอนส�าหรับท�าก้อนเชื้อหลังเตรียม วัสดุ

• ขี้เลื่อยที่ใช้ควรเป็นขี้เลื่อยกลางเก่ากลางใหม่จะดีที่สุด หากเป็นขี้เลื่อยใหม่ควรกองทิ้งไว้ ประมาณ ๑ สัปดาห์ • หลั ง จากเตรี ย มสู ต รอาหารได้ แ ล้ ว ให้ น� า ส่ ว นผสม ทั้งหมดไปคลุกเคล้าให้เข้ากัน วิธีตรวจความชื้นว่าเหมาะสมหรือ ไม่ให้ใช้มือบีบแล้วแบมือออกดูว่าก้อนขี้เลื่อยยังเป็นก้อนอยู่ หาก ระหว่างบีบมีน�้าไหลออกมาแสดงว่าแฉะเกินไปหรือถ้าแบมือแล้ว ก้อนขี้เลื่อยแตกออก แสดงว่าแห้งเกินไป • บรรจุใส่ถุงพลาสติกที่ใช้เพาะเห็ด ซึ่งควรบรรจุให้หมด ภายในวันเดียว ถุงก้อนเชื้อ ควรมีน�้าหนักขนาด ๘ ขีด - ๑กก. เมื่อ อัดก้อนเชื้อแน่นดีแล้วใส่คอขวดพลาสติกอุดด้วยส�าลีและปิดด้วย กระดาษแล้วรัดยางวงให้แน่น

การเพาะเห็ ด นั บ เป็ น การน� า วั ส ดุ ที่ เ หลื อ ใช้ ท างการ เกษตรหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นฟางข้าว ไส้นุ่น ไส้ฝ้าย เปลือกมัน ส�าปะหลัง ทะลายปาล์ม เปลือกถั่วเขียวหรือแม้กระทั่งวัสดุที่มีใน ธรรมชาติ และในท้องถิ่น เช่น หญ้าชนิดต่างๆ เปลือกผลไม้ เพื่อ ใช้ให้เป็นวัสดุเพาะให้เหมาะสมกับท้องถิ่น ที่ส�าคัญ คือ ให้ต้นทุน

ครอบครัวพอเพียง : 6๑


เมื่ อ เส้ น ใยเริ่ ม รวมตั ว กั น ถอดส� า ลี แ ล้ ว น� า ก้ อ นเชื้ อ ไปวางใน โรงเรือนเพื่อให้เกิดดอก รักษาอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ การ ถ่ายเทอากาศตามที่เห็ดต้องการการให้ความชื้นภายในโรงเรือน ไม่ควรให้น�้าขังอยู่ภายในก้อนเชื้อ และไม่ควรให้น�้าถูกดอกเห็ด โดยตรง ถ้าจ�าเป็นควรให้เป็นละออง นอกจากนี้ต้องรักษาความ สะอาดบริเวณที่ปฏิบัติงานและโรงเรือนเพาะเห็ด เพื่อหลีกเลี่ยง การสะสมของเชื้อโรคและแมลง

การเพาะเห็ดให้ประสบความส�าเร็จ • น�าก้อนเชื้อที่ได้ไปนึ่งฆ่าเชื้อทันทีใช้เวลาประมาณ ๓-๔ ชั่วโมง นับจากน�้าเดือดแล้วทิ้งไว้ให้เย็น • น�าหัวเชื้อเห็ดที่เราต้องการจะเพาะที่เลี้ยงไว้ในเมล็ด ข้าวฟ่าง ใช้ประมาณ ๑๐-๒๐ เมล็ดต่อก้อนเขี่ยลงในก้อนเชื้อที่ เย็นดีแล้ว รีบปิดปากถุงด้วยส�าลี หรือกระดาษทันที วัสดุที่ใช้หัว เชื้อควรท�าความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์ก่อนทุกครั้ง • น�าก้อนเชื้อที่ถ่ายเชื้อเห็ดลงเรียบร้อยแล้วไปบ่มไว้ใน โรงบ่อก้อนเชื้อต่อไป

การบ่มก้อนเชื้อ

หลังจากใส่เชี้อเห็ดลงในถุงก้อนเชื้อแล้วให้น�าไปบ่ม ในโรงบ่มเชื้อหรือบริเวณที่มีอุณหภูมิ ประมาณ ๒๙-๓๒ องศา เซลเซียส เพื่อให้เส้นใยเจริญในก้อนเชื้อและต้องหมั่นตรวจดู โรงแมลง มด มอด แมลงสาบ ปลวกหรือไรต่างๆ หากพบให้รีบ น�าก้อนเชื้อออกไปก�าจัดทันที หรืออาจฉีดพ่นด้วยสารสกัดจาก สมุนไพร เช่น ตระไคร้หอม รอบๆ โรงบ่มเพื่อป้องกันไว้ก่อนได้ ระยะเวลาในการบ่มเชื้อก็ขึ้นอยู่กับเห็ดแต่ละชนิด อย่างเห็ดหอม ก็จะใช้ระยะเวลา ๔ เดือน

การปฏิบัติดูแลรักษา

เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เห็ดฮังการี เห็ดภูฐานและเห็ด นางนวล ใช้เวลาเจริญในระยะเส้นใยประมาณ ๑-๑.๕ เดือน

62 : ครอบครัวพอเพียง

ถ้าคนไม่มีประสบการณ์เพาะเห็ดเลย ควรเริ่มต้นจาก การซื้อก้อนเชื้อส�าเร็จที่หยอดเชื้อแล้วไปลองเลี้ยงดูก่อนดูแล รดน�้าให้ออกดอก ถ้าท�าตรงนี้จนมีความช�านาญแล้วเราก็อาจจะ ซื้อก้อนเชื้อส�าเร็จมาเปิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมั่นใจว่าสามารถผลิต ก้อนเชื้อเองได้ โดยจะต้องลงทุนเพิ่ม คือ อุปกรณ์หม้อนึ่งฆ่าเชื้อ และอุปกรณ์เสริมอื่นๆ เช่น วัสดุดิบ ขึ้เลื่อย เกษตรกรผู้ผลิตควร มองถึงคุณภาพเห็ดด้วย ถ้ามองแต่ว่าจะท�าให้ได้วันละ ๑๐๐๒๐๐ กก. ถ้าเราเห็นแต่ปริมาณเราจะไม่ได้ในเรื่องของราคาใน ช่วงที่อากาศเหมือนๆ กัน เห็ดตัวเดียวกันออกดอกเยอะๆ พร้อมๆ กัน ราคาก็จะถูกลงเหมือนสินค้าอื่น ในขณะที่เราเพาะเห็ดนางฟ้า อยู่เราก็อาจจะเพาะเห็ดหอม เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดโคนญี่ปุ่นด้วย หรือ เห็ดอย่างอื่นอีกหลายชนิดที่เราเพาะได้ บางช่วงเห็ดนางฟ้ามีราคา ต�่าแต่เห็ดตัวอื่นยังราคาสูงอยู่ ในการเก็บดอก เราจะเก็บดอกที่ตูมไว้อีกนิดและไม่ รดน�้าก่อนเก็บ ๒ ชั่วโมง เราจะได้เห็ดที่มีคุณภาพและได้ราคา สูง อย่างเห็ดสินค้าตลาดจะไม่เกิน ๒-๓ วัน ถ้าเราเก็บดอกตูม เราจะยืดเวลาไปได้อีก โดยแช่ไว้ในห้องเย็นจะชะลอการขาย ได้


Are you และ Do you ต่างกันอย่างไร สวัสดีครับคุณแอนดรูว์ ผมอยากทราบว่า Are you? และ Do you? ต่างกันอย่างไรครับใน เมื่อใช้เป็น ค�ำถามได้ เหมือนกันแล้วใช้ในกรณีไหนบ้างครับ จาก Sawkiss เคยมี เ พื่ อ นคนหนึ่ ง ที่ ไ ม่ เ ก่ ง ภาษาอั ง กฤษแต่ มี ค วาม พยายามสูง (ซึ่งใคร ๆ ที่เป็นอย่างนี้ต้องเก่งในไม่ช้า) มีอยู่วัน หนึ่งที่เรากินข้าวด้วยกัน พอเริ่มกินแล้วเขาหยุดกิน คิดหนัก และในที่สุดเขาถาม ผมว่า “Are you delicious?” มันผิดแต่มันฟังแล้วน่ารักมาก เขาอยากถามว่า อาหารอร่อยไหม แต่ที่เขาถามคือ คุณเป็นคน ซึ่งกินแล้วอร่อยไหม คนละเรื่องกันเลย … แต่ที่น่าประทับใจมาก คือ Are you delicious? ถึงแม้ว่าไม่ถูกตามความหมาย แต่ถูก ตามหลักไวยากรณ์ครับ ผมไม่อยากท�ำให้คุณปวดหัวเรื่อง grammar แต่ขอ ให้เพียงจ�ำว่า Are you ตามด้วย adjective/noun Do you ตามด้วย verb เช่น Are you Somcheng? (คุณชื่อ ส้มเช้ง ใช่ไหมครับ) Are you happy? (คุณมีความสุขไหมครับ) Do you smoke? (คุณสูบบุหรี่ไหม) ตามหลักสูตรนี้เพื่อนผมควรใช้ว่า Is it delicious? เพราะ delicious คือ adjective ซึ่งอธิบายอาหาร และ it หมายถึง อาหาร ไม่ใช่ผม

Baby ที่รักจ๋า ... สวัสดีค่ะ คุณแอนดรูว์ ดิฉันอยากรบกวนถามคุณ ว่า ค�ำว่า baby ที่ฝรั่งใช้เรียกเวลาคุยกับผู้หญิง มีความหมาย ว่าอย่างไรบ้างคะ ขอบคุณมากค่ะ จาก Diana ที่รักจ๋า … มั้ง การใช้ baby เพื่อเรียกผู้หญิงนั้นบางคน (โดยเฉพาะ ผู้หญิง) ถือว่าไม่ดีครับ เป็นการดูถูกเพศหญิง อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้ว baby หมายถึงเด็กทารก แต่ในเชิงส�ำนวนหมายถึง ผู้หญิง เช่น Baby, you’re so beautiful. (ที่รัก เธอสวยเหลือ เกิน) What can I do for you, baby? (จะให้ผมช่วย เธออย่างไรครับที่รัก) เป็นภาษาน่ารัก ๆ ครับ ใช้กับหญิงที่เป็นแฟนคุณ ก็ได้ แต่ระวังครับ อย่าไปใช้อย่าง ฟุ่มเฟือยเพราะอย่างที่ผม บอกไปแล้วบางคนก็ถือ ยังมีอีกครับ เช่น My darling, honey, my pet, dear, love …

ครอบครัวพอเพียง : 63


Cover Story คิดอย่างไรกับ... Valentine’s Day

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย นางสาวสุภาดา โอวามตระกูล (พิม)

เป็ น วั น พิ เ ศษหนี่ ง วั น ที่ ท� า ให้ ผู ้ ค นมี ค วามกล้ า แสดงออกในเรื่องความรักมากกว่าวันอื่นๆ หนูเชื่อว่าทุกๆ คนมีความรักที่อาจจะแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามความ รักก็เป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นความสุขของมนุษย์

นางสาวชณิสรา ศุภฤกษ์ชัยกุล (ครีม)

วั น แห่ ง ความรั ก ก็ คื อ อี ก หนึ่ ง วั น ที่ มี ค วามส� า คั ญ ส�าหรับคนมีความรัก ซึ่งเป็นวันที่ท�าให้คนหลายคนมีความ สุขได้ไม่ว่าจะมีคู่อยู่ในสถานะใดๆ เพราะว่าอย่างน้อยเราก็ สามารถได้บอกรักและแสดงความรู้สึกที่ดีให้กับคนที่เรารักได้ ไม่ว่าจะเป็นคนที่บ้าน หรือว่าคนใกล้ตัว และที่ส�าคัญการที่เรา จะแสดงออกนั้นทุกอย่างต้องล้วนมาจากความรู้สึกที่จริงใจ

นางสาวปุณณดา บุญสัมพันธ์กิจ (แพนด้า)

เป็นวันวันหนึ่งที่คนที่รักกัน แอบชอบกัน ต้องการ ที่จะบอกหรือแสดงให้คนที่เรารัก คนที่เราชอบได้รู้ว่าเรา รู้สึกอย่างไรต่อเขา

64 : ครอบครัวพอเพียง


นางสาวพลอยลดา ธีระอัมไพกุล (ฝน)

วันแห่งความรัก ก็เป็นเหมือนวันที่ธรรมดาวันหนึ่ง เป็นวันที่ทุกคนจะได้แสดงความรักต่อกัน ไม่ว่าจะเป็นการให้ ดอกไม้แต่ส�าหรับหลายคนก็เป็นวันที่ไม่ธรรมดา เพราะเขา สามารถที่จะแสดงความรักของเขาออกมาได้เต็มที่ และท�าให้ วันนี้เป็นวันที่มีความสุขมากกว่าทุกๆวัน

นางสาวปานนิธิ เสยยงคะ (อิน)

คือวันที่เราแสดงความรักให้แก่คนที่รัก ซึ่งเป็นสิ่ง ที่เราสามารถท�าได้ทุกวัน แต่วันนี้เป็นวันที่จะมีความพิเศษ มากกว่าวันอื่นๆ

นางสาวธัญจิรา แจ้งอรัญญิก (มะนาว)

วันแห่งความรักเป็นวันที่มีประวัติที่สวยงามและอาจ เป็นวันที่สร้างเรื่องราวความทรงจ�าดีๆ ให้แก่คนหลายๆ คนด้วย เช่นกัน แต่ส�าหรับบางคนอาจมองว่าวันนี้เป็นเพียงวันธรรมดา ที่มีความพิเศษมากกว่าวันอื่นๆ เพียงเล็กน้อยและอาจมองข้าม มันไปเช่นกัน

ครอบครัวพอเพียง : 65


นางสาววรรณรดา ชวนานนท์ (ข้าวปุน)

วันวาเลนไทน์นั้นก็เป็นวันที่คนแสดงความรักที่มี ต่อกันด้วยการมอบของขวัญหรือบอกรักด้วยวิธีต่างๆ แต่ ความจริงแล้วก็ไม่ได้มีความพิเศษไปมากกว่าวันอื่นๆเลย

นางสาวศิรดา มหัทธนวงศ์วาน (เอสเต้)

วันวาเลนไทน์หรือเทศกาลแห่งความรัก ถือเป็น โอกาสที่ดีในการแสดงความรักแก่คนที่เรารัก และตอบแทน ความรักให้กับคนที่รักและดูแลเราเสมอมา

นางสาวปวีณา พงศ์ธนาวรานนท์ (พิน)

เทศกาลวันแห่งความรัก หรือวันวาเลนไทน์ เชื่อว่า เป็นวันแห่งความสุขของทุกคนที่มีความรัก นับเป็นช่วงเวลาที่ น่าจดจ�าในรอบปีเลยทีเดียว

66 : ครอบครัวพอเพียง


นาวสาวโยทะกา ภัทโรพงศ์ (โย)

วันวาเลนไทน์หรือวันแห่งความรัก เป็นวันพิเศษ ส�าหรับหลายๆคนที่จะแสดงความรักต่อกัน ไม่ว่าจะเป็นการ ให้ดอกกุหลาบ หรือขนมอร่อยๆมากมาย แต่วันวาเลนไทน์ นั้น จริงๆแล้ว เพียงแค่ให้ความรักที่จริงใจต่อกันก็เพียง พอแล้ว เหมือนค�าที่ว่าความรักท�าให้โลกหมุนไปได้

นางสาวภาสินี เชิดชูเหล่า (ณัฏฐ์)

วันวาเลนไทน์เป็นวันที่เราได้แบ่งปันความรักให้กับ ผู้อื่น ไม่ใช่เพียงแค่ในแบบของคู่รัก แต่เป็นการแบ่งปันความรัก ให้กับครอบครัว เพื่อนๆ และคุณครูของเรา เราไม่จ�าเป็นต้อง ให้สิ่งของใด เพียงแค่ให้ค�าพูดที่ดีและจริงใจซักค�า ก็สามารถ ท�าให้เรามีความสุขได้แล้ว

นางสาวพิชญา ณ ตะกั่วทุ่ง (แพร)

วันวาเลนไทน์ เป็นวันที่ระลึกถึงเซนต์วาเลนไทน์ ในด้านความรักที่บริสุทธิ์ที่เราทุกคนควรเอาเป็นตัวอย่าง มอบ ความรักให้กันและกันในทางที่ถูกต้องและเหมาะสม

ครอบครัวพอเพียง : 67


ฉู่ฉปี่ ลาทับทิม

ปรุงโดยน�าน�้าพริกแดงเผ็ดมาผัดด้วยน�้ามัน ที่ร้อน แล้วเติมกะทิเพียงเล็กน้อย ผัดให้หอมพอได้ น�้าขลุกขลิกปรุงรสด้วยน�้าปลา น�้าตาลปึก เติมกะทิ หรือน�้าอีกเล็กน้อยรอจนเดือด ใส่เนื้อปลาทับทิมผัดให้ สุก โรยหน้าด้วยใบมะกรูดและพริกชี้ฟ้าแดงหั่นฝอย ทั้งองค์ประกอบในน�้าพริกเผ็ด และสารประกอบจาก ใบมะกรูดและพริกต่างก็ช่วยในการลดการเกิดสารก่อ กลายพันธุ์ได้ดังการวิเคราะห์ต่อไปนี้

68 : ครอบครัวพอเพียง


วิเคราะห์ฤทธิ์ต้านมะเร็งของ

ฉู่ฉปี่ ลาทับทิม

พริกไทย มี ส ารที่ ใ ห้ มี ก ลิ่ น ฉุ น รสเผ็ ด ร้ อ น ชื่ อ ไพเพอร์รีน เป็นสาระส�าคัญชนิดหนึ่ง ช่วยกระตุ้นการท�างาน ของระบบท�ารายสารพิษ เพื่อขัดขวางการท�างานของสารก่อ มะเร็งบางชนิดไม่ให้ท�าร้ายหน่วยพันธุกรรมดีเอ็นเอได้ นอกจาก นี้ ยังมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบอีก ด้วย ใบมะกรูด มีเบต้า-แครทีนสูง มีวิตามินซี ป้องกันอนุมูล อิสระได้ดี มีสารคลอโรฟิลล์ที่สามารถดักจับสารก่อมะเร็งได้

ข่า สารพวกฟลาโวนนอยด์ช่วยต้านอนุมูล อิสระ สารสกัดจากพืชตระกูลนี้จับสารก่อมะเร็ง บางชนิด และกระตุ้นการท�างานของระบบท�าลาย สารพิษ

พริก ให้วิตามินซี เบต้า-แคโรทีน และความเผ็ด จากสารแคปไซซีน สารเหล่านี้มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ และช่วยขัดขวางสารก่อมะเร็งไม่ให้ท�าร้ายเซลล์

น�้าพริกแกงเผ็ด มีส่วนประกอบของสมุนไพร และ เครื่องเทศมากมาย ต่างมีคุณสมบัติและมีสารต้านมะเร็งสูง

ตะไคร้ สารสกัดจากตะไคร้ลดการก่อกลายพันธุ์ ยับยั้งการโต ของเนื้องอก และช่วยกระตุ้นการท�างานของระบบท�าลายสารพิษ

เมล็ดผักชีและเมล็ดยี่หร่า ให้น�้ามันหอมระเหยกลิ่นรสเผ็ดร้อน ยับยั้งการเกิดเนื้องอกจากสารก่อมะเร็งพวก พีเอเอชที่กระเพาะอาหาร ได้ และช่วยสนับสนุนระบบท�าลายสารพิษ

ครอบครัวพอเพียง : 6๙


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปดงานพืชสวนโลก

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานพิธีเปิดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ ๒๕๕๔ อย่างเป็นทางการ พร้อมทั้งทอดพระเนตรการแสดงชุด จินตนฤมิต น�้า ดิน ฟ้า พระบารมี และเสด็จฯ ทอดพระเนตรการจัดแสดง นิทรรศการส่วนต่างๆ บริเวณงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ ๒๕๕๔ และทอดพระเนตร การแสดงชุดพิเศษ เป็นการ แสดงประกอบพลุดอกไม้ไฟไพโรเทคนิค ชุด มนต์มหัศจรรย์แห่งราชพฤกษ์ ที่สวยงามและอลังการเป็นเวลากว่า ๗ นาที ณ ลานราชพฤกษ์ การแสดงชุด จินตนฤมิต น�้า ดิน ฟ้า พระบารมี จะประกอบไปด้วย ขบวนกลองหลวงชัยมงคล เบิกเสียงแห่งมิ่งมงคลและปลื้มปิติดังก้อง ไปทั่วโลก การแสดงหนังใหญ่ ขบวนฟ้อนล้านนาโปรยมงคลดอกไม้ ๗ ชนิด แล้วก็ยังมีการแสดงของเทพธิดาราชพฤกษ์ น�าแสดงโดย ชมพู่ อารยา เอฮาร์เก็ต การแสดงบัลเล่ต์ดอกไม้นานาชาติ การแสดงจินตลีลาอุทยานแห่งจินตนาการ และสุดท้ายคือการแสดงเฉลิมฉลองพิธี เปิดและเฉลิมพระเกียรติ ๓ พระบารมีอย่างยิ่งใหญ่ ตอกย�้าถึงวัตถุประสงค์ของการจัดงาน เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

“การใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามเบื้องพระยุคลบาท”

นายสุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา บรรยายเรื่อง “การใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงตาม เบื้องพระยุคลบาท” แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจ�ากรมราชองครักษ์ ด้วยทางกรมราชองครักษ์จัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับคุณธรรม และจริยธรรม ณ ห้องเรียนอเนกประสงค์ กรมราชองครักษ์ สนามเสือป่า

70 : ครอบครัวพอเพียง


โอสถสภา ส่งความอบอุ่น ให้กับเด็กๆ ในโครงการพระ ราชด�าริ ที่จังหวัดเชียงราย

ทูตมองโกเลียบริจาคเงิน

ครอบครัวพอเพียง : 7๑


เรื่อง : หนูมีสุข

ทองผาภูมิ กาญจนบุรี

ม่านหมอกหนาเทือกเขาสูงความงดงามที่สวยดั่งภาพฝน เมื่อยืนอยู่บนเขาสูงจาก จุดชมทิวทัศน์เขาขาด ปล่อยอารมณ์ เหม่อ มองผ่านม่าน หมอกขาว สะอาดบางเบาราวกับปุยนุ่น จะมองเห็นทิวทัศน์ ในประเทศพม่า

มนต์เสน่ห์แห่งขุนเขา…และม่านหมอกร้อยใจของคนไทย และ พม่าไว้ ด้วยกันทองผาภูมิ…ที่ภูผาสูงชันกั้นไทยกับพม่าไว้เพียงม่านหมอกหนาที่งดงาม ที่อ�าเภอทองผาภูมิจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อยืนอยู่บนเขาสูงจากจุดชมทิวทัศน์ เขาขาดปล่อยอารมณ์เหม่อมองผ่านม่านหมอกขาว สะอาดบางเบาราวกับปุย นุ่นจะมองเห็นหมู่บ้านอีต่องหมู่บ้าน หินกองเนินเสาธงทิวทัศน์ในประเทศพม่า และคราใด ที่ท้องฟ้าเปิดธรรมชาติเป็นใจ…ไม่เพียงแต่ทิวทัศน์ของป่าใหญ่และ ขุนเขาในฝังพม่าเท่านั้นที่จะปรากฏอยู่เบื้องหน้าแทบไม่น่าเชื่อว่าท้องทะเล อันดามันไข่มุกเม็ดงามของชาวไทยก็จะยังปรากฏให้เห็นด้วยตาเปล่า เช่นกัน ความงดงามเหล่านี้ไม่ได้สิ้นสุด แค่เฉพาะทิวทัศน์ อันไกลโพ้นเพียง ละสายตาหันมามองธรรมชาติรอบด้านที่อยู่ใกล้ตัวจะสัมผัสได้ถึงละอองเย็นใส จากสายธารของน�้าตกจ๊อก กระดิ่นน�้าตกน่ารักที่ซึ่งสายน�้าไหลผ่านหินผาสูงชัน อีกจุดชมวิวที่อยากให้แวะเที่ยวชม คือ จุดชมทิวทัศน์ กม. ๑๕ ของถนนสาย บ้านไร่-อีต่อง ถนนสายนี้นั่งชมวิวชิดขอบหน้าต่างเห็นทิวทัศน์ของอ่างเก็บน�้า เขื่อนเขาแหลมที่เชื่อมทั้งความงาม และ คุณประโยชน์เอาไว้ด้วยกัน

72 : ครอบครัวพอเพียง


อร่อยประจ�าถิ่น

• ถ้าไปถึงทองผาภูมิขอให้ลองปลาน�้าจืดทุก ชนิดไม่ว่าจะเป็นปลาคัง ปลาบึก ปลายี่สก ปลากราย หรือ ปลากระทิง เพราะตกกันสดๆ จากแม่น�้า และ อ่างเก็บน�้าร้านอาหารในเขื่อนเขาแหลมมีร้านอาหาร อร่อยแนะน�าชื่อครัวชนบท เป็นร้านเก่าแก่ ดั้งเดิม ตั้ง อยู่บนเส้นทางไทรโยค - ทองผาภูมิอยู่ก่อนถึงน�้าตก ผาตาดไปไม่ไกลจะผ่านหมู่บ้านแล้วร้านอยู่ขวามือเชิง สะพาน

รู้ก่อนเดินทาง

• การเดินทางไปน�้าตกจ๊อกกระดิ่นสามารถเดิน เท้าเข้าไปได้อย่างเดียวรถยนต์ไม่สามารถเข้าได้ทั้งฤดูฝน และ ฤดูแล้งและควรเตรียมอุปกรณ์ป้องกันทากให้พร้อม

ครอบครัวพอเพียง : 73


หมวกแกปเพนท์ อีกอาชีพน่าสนใจ ท�าให้มีรายได้เสริม โฟกัสอาชีพ : ครั้งนี้มีข้อมูลอาชีพไอเดียอีก ตามเคย เกี่ยวกับงานศิลปะ ที่สร้างสรรค์ผลงานให้เป็น สินค้าที่มีราคา มีคุณภาพ อีกทั้งมีรายได้เสริมอีกด้วย ซึ่ง นั่นก็คือ “หมวกแกปเพนท์” ของพี่ต่อ-เอกราช เรามา อ่านข้อมูลกันเลยดีกว่า... “ต่อ-เอกราช คุ้มเสนียด” ได้สร้างสร้างสรรค์ ผลงานทางศิ ล ปะ ลงบนหมวกใบเล็ก จนกลายเป็น สินค้าที่ได้รับความนิยมจากลูกค้าทั้งไทยและเทศ ซึ่ง พี่ต่อนั้นเรียนมาด้านศิลปะ ท�างานออกแบบอยู่เบื้อง หลังการท�าหนัง หลังจากนั้นได้สักระยะหนึ่งก็เริ่มที่จะ มองหาช่องทางอาชีพท�าเงินใหม่ ๆ จุดเกิดนั้นคือมีเพื่อนมาชวนไปขายเสื้อเพนท์ จึงตัดสินใจไปลงทุนขายเสื้อเพนท์กับเพื่อน ขายเสื้ออยู่ กับเพื่อนได้ระยะหนึ่งก็เริ่มขยายร้านเปิดเพิ่มอีกหนึ่ง ร้าน แตกไลน์ขายเสื้อสกรีนลายแนวญี่ปุ่น ซึ่งหลังจาก เปิดร้านใหม่ก็เริ่มมองหาสินค้าใหม่ ๆ เข้ามาขายเพิ่ม และซึ่งก็มองว่าหมวกแก๊ปที่มีขายอยู่ในท้อง ตลาดนั้นมีแต่หมวกที่ใช้เย็บปักลาย เป็นส่วนใหญ่ ยัง ไม่มีใครใช้วิธีการเพนท์เลย จึงได้ความคิดเพนท์ลายลง บนหมวกแก๊ปขายเป็นสินค้าใหม่ เพนท์หมวกนั้นเป็นงานท�ามือ ที่ต้องบรรจง ท�าขึ้นมาทีละใบ จึงท�าให้ลูกค้าที่ซื้อ มั่นใจในคุณภาพ ของสินค้าที่มีอยู่แบบเดียวใบเดียวในโลก ไม่เหมือนใคร อย่างแน่นอน นี่ก็เป็นจุดขายส�าคัญ ๆ อีกจุดนึง 74 : ครอบครัวพอเพียง

วัสดุอุปกรณ์หลัก ๆ ก็จะมี

หมวกแก๊ป, สียาง (เป็นสีที่ใช้ในงานสกรีน), น�้ายาผสมสีสกรีน, หลอดใส่สี, ดินสอเขียนผ้า, ลูกบอลพลาสติกประมาณเบอร์ ๔ เป็นต้น การผสมสีนั้นต้องผสมให้พอดี ไม่เหนียวหรือเหลวเกินไป พี่ต่อเอกราช บอกมา “หมวกแกปเพนท์” ของร้านนี้ ลวดลายออกเป็นแนวญี่ปุ่น พวก รูป มังกร หงส์ ฯลฯ เน้นออกแบบดีไซน์ จัดวางรูปภาพที่มีความหลากหลาย ราคาขายอยู่ใบละ ๓๘๐ บาท แต่ถ้าซื้อตั้งแต่ ๑ โหลขึ้นไปก็จะได้เป็นราคา ส่งที่ถูกลงอีก นอกจากนี้ ยังท�าเสื้อสกรีนขายควบคู่ได้อีกด้วย “เพนท์หมวกแกป” เป็นงานที่ลงทุนไม่สูง ไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท และสามารถฝึกหัดท�าได้ส�าหรับมือใหม่ แต่ก็ต้องพอมีพื้นฐานด้านศิลปะ อยู่บ้าง ที่ส�าคัญสามารถน�าไปดัดแปลง ไปเพนท์ลงบนหมวกผ้าทรง อื่น ๆ ได้ด้วย หรือจะเพนท์บนสินค้าต่าง ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าสินค้า ก็ได้ เอกราชกล่าว นี่ก็เป็นอีกหนึ่งอาชีพที่มีความน่าสนใจไม่น้อย ส�าหรับท่าน ๆ ที่รักหรือชื่นชอบในศิลปะ ลองสร้างสรรค์ผลงานดี ๆ แบบนี้ขึ้นมาดู ไม่แน่ นะ ไอเดียที่คุณผลิตมันขึ้นมา อาจจะเข้าตาใครต่อใคร และกลายเป็นราย ได้เสริม หรืออาชีพเสริมให้คุณได้เป็นอย่างดีเลยละ ร้านของ พี่ต่อ-เอกราช ขายอยู่ที่ร้าน carapace ที่ตลาดนัด สวนจตุจักร โครงการที่ ๑๔ ซอย ๖ ห้อง ๐๗๕ และยังสามารถสร้างราย ได้เพิ่มจากการรับออร์เดอร์สั่งท�า หากท่านใดสนใจเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่ : โทร. ๐๘๗ -๙๗๙ -๑๐๗๒


AD ธนาคารแห่ง ประเทศไทย

ครอบครัวพอเพียง : 75



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.