พรรณไม้ในพุทธประวัติ และไม้มงคล 9 ชนิด

Page 1

พันธุไมในพุทธประวัติ พันธุไมมงคล ๙ ชนิด พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด กรมปาไม

สํานักจัดการปาชุมชน กรมปาไม

สํานักจัดการปาชุมชน กรมปา ไม


คํานํา กรมปาไมโดยสํานักจัดการปาชุมชนไดจัดทําหนังสือรวมพันธุไม ซึ่งประกอบ ดวย พันธุไมในพุทธประวัติ พันธุไมมงคล 9 ชนิด และพันธุไมมงคลพระราชทาน ประจําจังหวัด ทั้งนี้ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันประชาชนชาวไทยมีความสัมพันธ กับศาสนา ปาไม และตนไม อยางใกลชิด อีกทั้งเห็นวาหนังสือรวมพันธุไมฉบับนี้ จะสามารถเปนสื่อการศึกษาหาความรู ตลอดจนเปนแหลงคนควาแกบุคคลที่สนใจ ทั่วไป โดยไดรวบรวมพันธุไมทั้งหมด 93 ชนิด คณะผูจัด ทํ า หวั ง เป น อย า งยิ่ง ว า หนั ง สื อ เล ม นี้จ ะมี สว นในการสร า ง ความตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ด า นการอนุ รั ก ษ แ ละการรั ก ษาไว ซึ่ ง ทรั พ ยากร ทางธรรมชาติ โดยสรางความตระหนักถึงการปลูกตนไมเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหแก เยาวชน และประชาชนตอไปในอนาคต สํานักจัดการปาชุมชน กรมปาไม 2556

คํานํา


สารบัญ

หนา

พันธุไมในพุทธประวัติ

1

พันธุไมมงคล 9 ชนิด

9

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

19

ดัชนีพันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

96

เอกสารอางอิง

98

สารบัญ


พันธุไมในพุทธประวัติ ตนสาละ

สาละเป น ต น ไม ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ในวั น ประสู ติ แ ละปริ นิ พ พาน พระพุทธองคทรงประสูติภายใตตนสาละ ณ อุทยานลุมพินีซึ่งตั้งอยูระหวางกรุงกบิลพัสดุ แควน สักกะ กับกรุงเทวทหะ ในวันเพ็ญเดือน 6 กอนพุทธศักราช 80 ป และทรงปรินิพพานใตตนสาละ ในกรุงกุสินารา ชื่อวิทยาศาสตร : Shorea robusta C.F. Gaertn. ชื่อวงศ : Dipterocarpaceae ชื่ออื่นๆ : Shal, Sakhuwa, Sal Tree, Sal of India ลักษณะ : พบขึ้นเปนกลุม บริเวณที่คอนขางชื้น ลักษณะพืช เปนไมตนขนาดกลางถึง ขนาดใหญ ผลัดใบ ลําตน เปลาตรง เปลือกสีเทาแตกเปนรอง เปนสะเก็ด ใบเดี่ยว ดกหนาทึบ รูป ไขกวาง โคนใบเวาเขา ปลายใบเปนติ่งแหลมสั้นๆ ผิวใบเปนมันขอบใบเปนคลื่น ดอกออกเปนชอ สั้นๆ ตามปลายกิ่งและงามใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอยางละ 5 กลีบ กลีบดอกสีขาวอมเหลือง มีกลิ่นหอม ผลแข็ง มีปก 5 ปก ปกยาว 3 ปก ปกสั้น 2 ปก แตละปกมีเสนตามความยาวของปก 10-15 เสน

พันธุไมในพุทธประวัติ

1


ตนโพศรีมหาโพ

โพศรีมหาโพ (อัสสัตถพฤกษ) เปนตนไมที่พระพุทธเจาทรงประทับภายใตรมเงา ณ ริม ฝงแมนํา เนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม แควนมคธ ในวันเพ็ญเดือน 6 กอนพุทธศักราช 45 ป พระพุทธเจาทรงตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ณ ภายใตรมเงาของตนโพศรีมหาโพแหงนี้ ชื่อวิทยาศาสตร : Ficus religiosa Linn. ชื่อวงศ : MORACEAE ชื่ออื่นๆ : โพ, โพธิ์ สลี ลักษณะ : เปนไมผลัดใบหรือไมผลัดใบ ตนที่ขึ้นเดี่ยวสูงประมาณ 35 เมตร หูใบยาว 0.5-1 ซม. ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปไขกวางหรือรูปหัวใจ ยาว 5-25 ซม. โคนใบตัดหรือรูป หัวใจ แผนใบเกลี้ยงทั้งสองดาน ดอก (figs) ออกเดี่ยวหรือเปนคูตามซอกใบ ฐานดอกทรงกลม เสน ผานศูนยกลาง 1-1.5 ซม. ผลสุกเปลี่ยนเปนสีชมพู มวงหรือดํา มีชองเปดเล็กๆ ดานปลาย เกสร เพศผูเรียงตัวใกลชองเปด กลีบรวมสีแดง รังไขสีนํา ตาลแดง

2

พันธุไมในพุทธประวัติ


ตนอปชาลนิโครธ

อปชาลนิโครธหรือตนไทรทีพ่ ระพุทธเจาทรงประทับนัง่ เสวยวิมตุ ติสขุ ในสัปดาหท่ี 5 ภายหลังทรงตรัสรู พระพุทธองคประทับนั่งภายใตรมเงาของอปชาลนิโครธเปนเวลา 7 วัน ตนอปชาลนิโครธอยูทางทิศตะวันออกของตนศรีมหาโพธิ ชื่อวิทยาศาสตร : Ficus benjamina L. ชื่อวงศ : MORACEAE ชื่ออื่นๆ : ไทร (นครศรีธรรมราช) ไทรกระเบื้อง (ประจวบคีรีขันธ) ลักษณะ : ไมตนสูง 5-10 เมตร ไมผลัดใบ มีรากอากาศหอยยอยสวยงาม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผนใบรูปรีแกมรูปไข กวาง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนสอบ แผนใบคอนขางหนาเปนมัน ดอกออกเปนชอตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรง กลมคลายผลไมมีกลีบดอก ผลกลม เสนผาศูนยกลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง

พันธุไมในพุทธประวัติ

3


ตนมุจจลินทร

มุจจลินทรหรือตนจิก ภายหลังจากพระพุทธเจาทรงตรัสรูแ ลวถึงสัปดาหท่ี 6 ทรงประทับ ภายใตรมเงาของตนไมจิกอันมีชื่อวา มุจจลินทรตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใต ใกล ๆ กับตน โพศรีมหาโพ พระพุทธเจาประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขอยูใตตนมุจจลินทรเปนเวลา 7 วัน โดยมีพญา มุจจลินทรนาคราชมาวางขนดแผพังพานปกปองพระองค จากสายลมและสายฝน ชื่อวิทยาศาสตร : Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. ชื่อวงศ : LECYTHIDACEAE ชื่ออื่นๆ : จิกนา กระโดนทุง กระโดนทุง กระโดนนํา ลักษณะ : ไมยืนตนขนาดกลาง สูง 6 – 8 เมตร ใบ รูปไขกลับ หอกกลับ หรือรูปรี กวาง 3 – 8 ซม. ยาว 6 – 16 ซม. ปลายใบทู โคนใบสอบ ดอก สีชมพูแกมแดง ออกเปนชอหอยลงจาก ปลายกิ่งยาวประมาณ 30 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเปนทอสั้น ๆ รูปสี่เหลี่ยม ปลายแยกเปน 4 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน และติดกับกลีบดอก ผล รูปสี่เหลี่ยม กวาง 1 – 3 ซม. ยาว 2 – 6 ซม. ปลายตัดภายในมีเมล็ดเดียว

4

พันธุไมในพุทธประวัติ


ตนราชยตนะ

ราชยตนะหรือตนไมเกต ภายหลังจากพระพุทธเจาทรงตรัสรูแลวถึง สัปดาหที่ 7 ทรงประทับภายใตรมเงาของตนไมเกตอันมีชื่อวา ราชายตนะ พระพุทธเจาประทับนั่งเสวยสิทุตติ สุขเปนเวลา 7 วัน นับเปนสัปดาหสุดทายแหงการเสวยวิมุตติสุข ชื่อวิทยาศาสตร : Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard ชื่อวงศ : SAPOTACEAE ชื่ออื่นๆ : Milkey Tree ลักษณะ : ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ มีนํา ยางขาว สูง 15-25 ม. ลําตน และกิ่งมัก คดงอ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายกิ่ง รูปไขกลับหรือรูปรีแกมรูปไขกลับ ปลายมนกวาง และ หยักเวา โคนสอบ ขอบเรียบ ดอกเดี่ยวหรือเปนชอกระจุกสั้น ออกตามงามใบ ปลายดอกชี้ลง ดอกสีเหลืองออน กลิ่นหอมเล็กนอย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ เรียงเปน 2 วง วงละ 3 กลีบ กลีบดอกโคน ติดกันเปนหลอดสั้นๆ ปลายแยกเปนแฉกรูปใบหอก 6 แฉก ฐานผลมีกลีบเลี้ยงที่เจริญขึ้นมารอง รับ ผลสุกสีเหลืองหรือเหลืองอมสม เนื้อนุม มี 1-2 เมล็ด เมล็ดแข็ง สีนํา ตาลแดงเปนมัน รูปไข

พันธุไมในพุทธประวัติ

5


มะขามปอม

มะขามปอมเปนตนไมที่เมื่อคราวเสด็จไปเก็บพืชพรรณที่ภูเขาหิมพานตเพื่อแสดงให ชฎิลดาบสเห็นเปนการปราบพยศ ทรงเก็บมะมวง หวา และสมแลว ยังทรงเก็บมะขามปอมมาดวย และเสด็จไปถึงกอนดาบสทั้งหลายจะไปถึง ชื่อวิทยาศาสตร : Phyllanthus emblica L. ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE ชื่ออื่นๆ : กําทวด ลักษณะ : ไมตน สูง 4 -12 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงชิดกันเปนระนาบดูคลายใบประกอบ รูปขอบขนานกวาง 2.5-5 มม. ยาว 8 -12 มม. ดอก สีขาวหรือสีครีม ขนาดเล็กแยกเพศอยูรวม ตน ออกตามงามใบ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ไมมีกลีบดอก ผลกลมขนาด 1.2-2 ซม. เมล็ด มี 6 เมล็ด

6

พันธุไมในพุทธประวัติ


ตนปาริฉัตตก

ปาริฉัตตกคือตนทองหลาง เปนชื่อตนไมประจําสวรรคชั้นที่ 2 คือ ชั้นดาวดึงส อยูใน สวนนันทวัน ของพระอินทรหรือทาวสักกะ ในพรรษาที่ 7 ภายหลังตรัสรู พระพุทธเจาทรงเสด็จ ประทับภายใตรมไมปาริฉัตตก ณ ดาวดึงสเทวโลก ทรงแสดงธรรมโปรดพระพุทธมารดาตลอด สามเดือนพระพุทธมารดาไดทรงบรรลุพระโสดาปตติผล ชื่อวิทยาศาสตร : Erythrina variegata Linn. ชื่อวงศ : LEGUMINOSAE - PAPILIONOIDEAE ชื่ออื่นๆ : ทองบาน, ทางเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางดาง ลักษณะ : เปนไมยืนตนผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งออนมีหนามเรือนยอดเปนพุมกลม โปรง ใบเปนใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 3 ใบ ใบกลางจะโตกวาสองใบดานขาง ออกดอก เปนชอยาวประมาณ 30–40 ซม. รูปดอกถั่ว สีแดงเขม ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-กุมภาพันธ ผลเปนฝกยาว 15–30 ซม.

พันธุไมในพุทธประวัติ

7


ไผสีสุก

ไผสีสุกเปนพระอารามแหงแรกในพระพุทธศาสนา เรียกวา “เวฬุวนาราม” ซึ่งพระเจา พิมพิสารเปนผูส รางถวาย ตอมาพระอรหันต จํานวน 1,250 รูปไดมาเฝาพระพุทธเจาทีพ่ ระอาราม นี้ เมื่อวันเพ็ญเดือนสาม พระองคไดถือเอาวันนี้เปนวันสําคัญเรียกวา “โอวาทปาฏิโมก” ชาวพุทธ ถือวาวันนี้เปนวันสําคัญเรียกวา “วันมาฆบูชา” ชื่อวิทยาศาสตร : Bambusa sp. ชื่อวงศ : GRAMINEAE – BAMBUSOIDEAE ชื่ออื่นๆ : สีสุก วามีบอ ลักษณะ : เปนไมไผประเภทมีหนาม ความยาวลําตนสูง 10 - 18 เมตร เสนผาศูนยกลาง 8 - 12 เซนติเมตร แข็ง ผิวเรียบเปนมัน ขอไมพองออกมา ลํามีรูเล็กเนื้อหนา ใบมีจํานวน 5 - 6 ใบ ที่ปลายกิ่ง ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเปนรูปลิ่มกวาง ๆ หรือตัดตรง แผนใบกวาง 0.8 - 2 ซ.ม. ยาว 10 - 20 ซ.ม. ใตใบมีสีเขียวอมเหลือง เสนลายใบมี 5 - 9 คู กานใบสั้น ขอบใบสากคลีบใบเล็ก มีขน

8

พันธุไมในพุทธประวัติ


พันธุไมมงคล 9 ชนิด ไม ม งคลที ่ ใชใ นพิ ธ ี ว างศิลาฤกษน ี้ มีความเชื ่อ วา ทํ า ให เ กิ ด ความเป น สิ ร ิ มงคล แก เจ าของหรื อ ผู  ป ลูก และมีไ มม งคล 9 ชนิด ที ่ใช ใ นพิ ธี ว างศิ ล าฤกษ ก อ นการก อ สร า ง อาคารบานเรือ น โดยปก ไมม งคลลงบนพื ้ นและลงอัก ขระ ที ่ เรี ย กวา หั ว ใจพระอิ ต ิ ป โ ส ได แ ก อะ สั ง วิ สุ โต ปุ สะ พุ ภะ ลงบนท อ นไม ชนิ ด ละอั ก ขระ พรอ มทั ้ ง ป ด ทองทั ้ ง 9 ท อ น โดยปก วนจากซายไปขวา (ทั ก ษิ ณ าวรรค) ไมมงคลทั ้ ง 9 ไดแก

ราชพฤกษ

ต น ราชพฤกษ เ ป น ต น ไม ที ่ ม ี คุ ณ ค า สู ง และยั ง เป น สั ญ ญาลั ก ษณ ป ระจํ า ชาติ ไทยอี ก ดว ย นอกจากนี ้คนไทยโบราณเชื่ อ อีก วา ใบของต น ราชพฤกษ เป น สิ่ ง ศัก ดิ ์ส ิท ธิ ์ เพราะ ใช ใ บทํ านําพุ ทธมนต สะเดาะเคราะหไ ดผลดี ดั ง นั ้ น จึง ถือ ว า ตน ราชพฤกษ เ ปน ไมม งคลนาม เพื ่ อ เป นสิ ร ิม งคลแกบ  าน และผู อ าศัย ควรปลู ก ตน ราชพฤกษท างทิศ ตะวัน ตก เฉี ย งใต ผู  ป ลูก ควรปลูก ในวันเสาร เพราะโบราณเชื ่ อ ว า การปลูก ไม เ พื ่อ เอาคุณทั่ ว ไปให ปลู กในวั น เสาร ถ าจะใหเปนมงคลยิ่ งขึ้ นผู ป ลู ก ควรเป น ผู  ใหญ ท ี่ ค วรเคารพนั บถื อ และเปน ผู ป ระกอบคุ ณ งามความดี ก็จะเป นสิร ิ ม งคล

พันธุไมมงคล 9 ชนิด

9


ชื่อวิทยาศาสตร : Cassia fistula L. ชื่อวงศ : LEGUMINOSAE ชื่ออื่นๆ : ชัยพฤกษ , คูน , ลมแลง ลักษณะ : ไมตนผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เปนใบประกอบ แบบขนนกปลายคู ใบยอย 3-8 คู รูปไขแกมขอบขนาน กวาง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลืองสด ออกตามซอกใบ เปนชอหอยลง ยาว 20-40 ซม. ดอกยอยจํานวนมาก ขนาดบานกวาง ประมาณ 3 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ผิวดานนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข เกสรเพศผู 10 อัน สั้น 7 อัน ยาว 3 อัน กานเกสรเพศเมีย และรังไขมีขนยาว ผล เปนฝกยาว รูปแทงกลม กวาง 1.5-2 ซม. ยาว 20-60 ซม. ฝกแกไมแตก แตจะหลุดรวงทั้งฝก และหักแตกเปนชิ้น เมล็ด มีเนื้อเหนียวสีดําหุม

10

พันธุไมมงคล 9 ชนิด


ขนุน

ขนุน เปนไมที่คนไทยเชื่อวา หนุนบารมี เงินทอง ใหดีขึ้น รํารวยขึ้น โดยจะมีผูให การเกื้อหนุน คนไทยโบราณใหปลูกไวหลังบาน ดานทิศตะวันตกเฉียงใต ชื่อวิทยาศาสตร : Artocarpus heterophyllus Lam. ชื่อวงศ : MORACEAE ชื่ออื่น ๆ : มะหนุน หมักหมี๊ หมากลาง ลั ก ษณะ : ไม ต น ขนาดใหญ สู ง 15 - 30 เมตร ลํ า ต น และกิ่ ง เมื่ อ มี บ าดแผล จะมี นํายางสีขาวขนคลายนํานมไหล ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ แผนใบรูปรี ขนาดกวาง 5-8 เซนติเมตร ยาว 10 - 15 เซนติเมตร ปลายใบทู ถึงแหลม โคนใบมน ผิวในดานบนสีเขียวเขมเปนมัน เนื้อใบ หนา ผิวใบดานลางจะสากมือ ดอกออกเปนชอแบบชอเชิงสดแยกเพศอยูรวมกัน ดอกเพศผูเรียกวา “สา” มักออกตามปลายกิ่ง ดอกเพศเมียจะออกตามกิ่งใหญและตามลําตนยอดเกสรเพศเมีย เปนหนามแหลม สวนของเนื้อที่รับประทานเจริญมาจากกลีบดอก สวนซังคือกลีบเลี้ยง ผลเปนผล รวมมีขนาดใหญ

พันธุไมมงคล 9 ชนิด

11


ชัยพฤกษ

ชัยพฤกษ เปนไมมงคล คนไทยโบราณเชื่อวา บานใดปลูกตนชัยพฤกษไวประจําบาน จะชวยใหประสพผลสําเร็จในชีวิตเพราะตนชัยพฤกษ เปนตนไมที่เปนสัญญาลักษณ แหงโชคชัย และชัยชนะ ชนะศัตรู ชนะอุปสรรคตางๆ ชื่อวิทยาศาสตร : Cassia javanica L. ชื่อวงศ : LEGUMINOSAE ลักษณะ : ไมตน สูงถึง 15 เมตร ลําตนสีนํา ตาล ทรงพุม ใบกลมคลายรม เมือ่ ตนยังออน มีหนาม ใบประกอบรูปขนนกปลายคู เรียงสลับ มีใบยอย 5 - 15 คู แผนใบรูปไขแกมรูปรี หรือ รูปขอบขนาน ขนาดกวาง 1.5 - 2.5 เซนติเมตร ยาว 2.5 - 5 เซนติเมตร ปลายใบมน โคนใบกลม ผิวใบดานลางมีขนละเอียด ดอก เริ่มบานสีชมพู แลวเปลี่ยนเปนสีแดงเขม ใกลโรยดอกสีขาว ออกเปนชอตามกิ่งยาว 5 - 16 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีแดง หรือแดงปนนําตาล ดอกเสนผาน ศูนยกลาง 3.5 เซนติเมตร ผลเปนฝกกลมสีดํา ยาว 20 - 60 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางประมาณ 1 - 1.5 เซนติเมตร เมื่อแกไมแตกมีเมล็ดจํานวนมาก

12

พันธุไมมงคล 9 ชนิด


ทองหลาง

ทองหลางปลูกไวประจําบาน จะทําใหมีทองมาก มีความรํารวย เพราะทองหลาง เปนไมมงคลนาม คือมีทองมากมายหลากหลาย นอกจากนี้ ทองหลางใบสีทองยังมีความสวยงาม ดุจประกายทองสีเหลือง เรืองรองดูตาดตาและ โบราณยังมีความเชื่ออีกวา ถานําใบทองหลาง ไปใชเปนเครื่องประกอบในพิธีสําคัญทางศาสนาจะทําใหเกิดสิริมงคลยิ่งขึ้น เชน พิธีปลูกบาน พิธีแตงงาน ชื่อวิทยาศาสตร : Erythrina variegata Linn. ชื่อวงศ : LEGUMINOSAE - PAPILIONOIDEAE ชื่ออื่นๆ : ทองบาน, ทางเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางดาง ลักษณะ : เปนไมยืนตนผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งออนมีหนามเรือนยอดเปนพุมกลม โปรง ใบเปนใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 3 ใบ ใบกลางจะโตกวาสองใบดานขาง ออกดอก เปนชอยาวประมาณ 30–40 ซ.ม. รูปดอกถั่ว สีแดงเขม ออกดอกระหวางเดือนมกราคม-กุมภาพันธ ผลเปนฝกยาว 15–30 ซ.ม.

พันธุไมมงคล 9 ชนิด

13


ไผสีสุก

ไผสีสุกปลูกไวประจําบาน ทําใหคนในบานมีความซื่อตรง ความบริสุทธิ์เพราะตนไผ มีการเจริญเติบโตแตกกิ่งกานตรงและเรียบ สวนภายในปลองมีความขาวสะอาด และทําใหเจาของบาน และผูอยูอาศัยเกิดความมั่งมี อยูดีมีสุข เหมือนกับชื่อของตนไผสีสุก ชื่อวิทยาศาสตร : Bambusa sp. ชื่อวงศ : GRAMINEAE – BAMBUSOIDEAE ชื่ออื่นๆ : สีสุก วามีบอ ลักษณะ : เปนไมไผประเภทมีหนาม ความยาวลําตนสูง 10 - 18 เมตร เสนผานศูนยกลาง 8 - 12 เซนติเมตร แข็ง ผิวเรียบเปนมัน ขอไมพองออกมา ลํามีรูเล็กเนื้อหนา ใบมีจํานวน 5 - 6 ใบ ที่ปลายกิ่ง ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเปนรูปลิ่มกวาง ๆ หรือตัดตรง แผนใบกวาง 0.8 - 2 ซ.ม. ยาว 10 - 20 ซ.ม. ใตใบมีสีเขียวอมเหลือง เสนลายใบมี 5 - 9 คู กานใบสั้น ขอบใบสากคลีบใบเล็ก มีขน

14

พันธุไมมงคล 9 ชนิด


ทรงบาดาล

ทรงบาดาลปลู ก ไว ป ระจํ า บ า นจะทํ า ให เ กิ ด ความยิ ่ ง ใหญ กว า งขวาง เพราะ ทรงบาดาล คื อ ผู  เ ป นใหญ แ หงนาคพิภ พในชั้ นบาดาล และยั ง มี ค วามเชื ่ อ ถื อ ว า จะทํ า ให มี ทองมากเพราะดอกทรงบาดาลสามารถออกดอกตลอดป ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร : Cassia surattensis Burm.f. ชื ่ อ วงศ : LEGUMINOSAE ชื ่ อ อื ่น ๆ : ขี้ เหล็ก บาน ขี้ เหล็ ก หวาน สะเกิ้ ง สะโก ง ลักษณะ : ไมพุมหรือตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 7 เมตร ใบ เปนใบประกอบแบบขนนก ออกสลับ ใบย อ ย 5-10 คู  รูป ไขหรือ รู ป ไข แ กมขอบขนาน กวา ง 1-2 ซม. ยาว 2.5-4 ซม. โคนและปลายมน หลังใบเรี ยบ ท อ งใบมีข นประปราย กา นใบสั ้ น ดอก สี เ หลื อ ง ออกเป น ช อ มี 10-15 ดอก ก านดอกรวมขนาด 2.5-5 ซม. ดอกยอ ยขนาด 2.5-3 ซม. กลีบประดั บ รูป ไข ขนาด 4-5 มม. ก านดอกยอ ยขนาด 1-2 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ สี เขี ย วอมเหลื อ ง กลี บ ดอก 5 กลี บ เกสรผู  10 อัน เป นหมัน 3 อั น ผล เป น ฝ ก แบน เรี ย บ กวา ง 1-1.5 ซม. ยาว 7-20 ซม. เมื ่ อ แก จะแตกตามตะเข็ บ มีเมล็ ด 15-25 เมล็ ด ผิ ว มั น เปน เงา กวา ง 4 มม. ยาว 8 มม.

พันธุไมมงคล 9 ชนิด

15


สัก

สักปลูกไวประจําบาน จะทําใหมศี กั ดิศ์ รีเพราะสักหรือศักดิ์ คือการมีศกั ดิศ์ รี มีเกียรติศกั ดิ์ บรรดาศักดิ์ นอกจากนี้ สักหรือ สักกะคือ พระอินทรผูมีอํานาจที่ยิ่งใหญในสวรรค ดังนั้น สัก จึงเปนไมมงคลนาม เพื่อเปนสิริมงคลแกบา นและผูอาศัย ควรปลูกตนสักไวทางทิศเหนือ ชื่อวิทยาศาสตร : Tectona grandis L.f. ชื่อวงศ : LABIATAE ชื่ออื่นๆ : ปายี้ เสบายี้ เปอยี ปฮือ ลักษณะ : ไมตนขนาดใหญ ลําตนตั้งตรงสูงไดถึง 30 เมตร ผลัดใบในฤดูรอน เปลือกเรียบหรือแตกเปนรองตื่นเล็ก ๆ สีเทา โคนตนมักเปนพูตํา ๆ ใบ เปนใบเดียว ตนเล็กจะมีใบ ใหญมาก โคนใบมน ปลายใบแหลม ยาวประมาณ 25-30 ซม. กวางเกือบเทาความยาว เนื้อใบสากคาย สีเขียวเขม ดานหลังใบสีออนกวา ถาขยี้ใบสดจะมีสีแดงชํา และเปลี่ยนเปนสีเขียวคลํา ดอก เปนชอ ใหญหลวม ๆ ตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กสีขาวนวล รวงงายเกสรผู 5 อัน ผล แหง เปนกระเปาะ คอนขางกลม วัดเสนผานศูนยประมาณ 2 ซม.เปลือกแข็งภายในโปรงมีเมล็ด 1-3 เมล็ด

16

พันธุไมมงคล 9 ชนิด


พะยูง

พะยูงปลูกไวประจําบานจะทําใหมีความเจริญความมั่นคงเพราะยูงหรือ พะยูง คือการ ชวยพยูงใหคงอยูใหมั่นคงแข็งแรง นอกจากนี้ยังชวยใหเกิดความสงา เพราะโบราณ ไดเปรียบเทียบ ไววายูงยางสูงกวาโดดเดนเห็นตระการตา ซึ่งคลายกับความสงาของนกยูง และยังมีคนโบราณ บางคนไดกลาวไววา พยูงหรือกระยงก็คือ กระยงคงกระพันไดอีกแงหนึ่ง เชนกัน ชื่อวิทยาศาสตร : Dalbergia cochinchinensis Pierre ชื่อวงศ : LEGUMINOSAE - PAPILIONOIDEAE ชื่ออื่นๆ : กระยง, กระยูง ลักษณะ : เปนไมยืนตนผลัดใบสูง 15–20 เมตร เปลือกสีเทาเรียบ เรือนยอดทรงกลม หรือรูป แกนสีแดงอมมวงถึงสีเลือดหมูแก เปนใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียงสลับ ปลายใบ แหลม โคนใบสอบ หลังใบสีเขียวเขม ทองใบสีจาง ลักษณะคลายใบประดู ดอกขนาดเล็ก สีขาว กลิ่นหอมออน ออกรวมกันเปนชอตามงามใบและตามปลายกิ่ง ผลเปนฝกรูปขอบขนานแบบบาง ตรงบริเวณที่หุมเมล็ด เมล็ดรูปไตสีนํา ตาลเขม

พันธุไมมงคล 9 ชนิด

17


กันเกรา

กันเกราเปนไมมงคล คนไทยโบราณเชื่อวา เปนเครื่องปองกันอันตรายทั้งปวง หรืออีกชื่อ หนึ่งวา ตําเสา ซึ่งเชื่อวาทําใหบานมั่นคง ชื่อวิทยาศาสตร : Fagraea fragrans Roxb. ชื่อวงศ : GENTIANACEAE ชื่ออื่นๆ : ตําเสา ทําเสา มันปลา Anan, Tembesu ลักษณะ : ไมตนขนาดกลางถึงใหญ สูง 8 - 30 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม แผนใบรูปไข รูปขอบขนาน รูปไขกลับ หรือรูปใบหอกกลับ ปลายใบแหลม โคนใบเรียวสอบหรือแหลม ดอกออก เปนชอบริเวณซอกใบใกลปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอยางละ 5 กลีบ กลีบดอก เชื่อมเปนหลอดปลายแยกเปนแฉก สีขาวนวลแลวคอยๆ เปลี่ยนเปนสีเหลือง เกสรเพศผู 5 อัน ติดอยูภายในหลอดกลีบดอกยื่นพนปากหลอดออกมา ผลสด กลม มีหลายเมล็ด เมื่อสุกสีเหลือง สม หรือแดง เมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก

18

พันธุไมมงคล 9 ชนิด


พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด การกําหนดพันธุไ มมงคลพระราชทานประจําจังหวัด สืบเนื่องมาจากคณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2537 เห็นชอบโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชยปที่ 50 เพื่อใหคนในชาติทุกหมูเหลา ไดรวมกันปลูกปาสนองพระราชกระแสของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงหวงใยปญหาปาไมที่ถูกบุกรุกทําลาย และนอมเกลาฯ ถวายเปนราชสักการะเนื่อง ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงครองราชยครบ 50 ป ในป พ.ศ. 2539 รัฐบาลไดจัดใหมีการรณรงคโครงการฯ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2537 ณ ศูนย ประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ในการนี้สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จมาเปน องคประธานในงานดังกลาว และทรงโปรดพระราชทานกลาไมมงคลใหกบั ผูว า ราชการจังหวัด ของแตละจังหวัด เพื่อนําไปปลูกเปนสิริมงคลแกจังหวัด และเปนการรณรงคใหประชาชน ทุกสาขาอาชีพรวมปลูกตนไมในโครงการดังกลาว

“ปายั่งยืน ประชาชนไดรับประโยชน”

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

19


ทุงฟา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดกระบี่ +

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

20

Alstonia macrophylla Wall.ex G. Don APOCYNACEAE กระทุงฟาไห ทุงฟาไก (ชุมพร), ตีนเทียน (สงขลา), ทุงฟา (ภาคใต), พวมพราว (ปตตานี) ไมยืนตนสูง 15–25 เมตร ไมผลัดใบ กิ่งใหญตั้งฉากกับลําตนเปนรอบๆ เรือ นยอดรูปไข เปลือกสีขาวอมเทามีน้ํายางสีขาว ใบเปนใบเดี่ยว รูปหอกกลับ ปลายใบเปนติ่งแหลม ทองใบมีคราบสีขาว หลังใบสีเขียว ออกดอกเปนชอที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว หรือขาวอมเหลืองเชื่อมติดกัน เปนหลอด ออกดอกชวง เดือนพฤศจิกายน - เดือนธันวาคม ผลเปนฝก เรียวยาว ขนาดเล็ก ไมใชทํากระดานพื้น ฝาเครื่องเรือน และเครื่องใชเบาๆ ลักษณะเนื้อไม คลายไมตีนเปด รากใชผสมยาบํารุงรางกาย บํารุงกําหนัด

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


ไทรยอยใบแหลม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดกรุงเทพมหานคร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Golden Fig, Weeping Fig Ficus benjamina L. MORACEAE จาเรย (เขมร), ไทร (นครศรีธรรมราช), ไทรกระเบื้อง (ประจวบคีรีขันธ), ไทรยอยใบแหลม (ตราด, กรุงเทพฯ) ไมยนื ตนสูง 5–10 เมตร มีรากอากาศ ใบเปนใบเดีย่ วเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ดอกขนาดเล็ก มีฐานรองดอก ออกดอก ชวงเดือนกุมภาพันธ ผลเปนทรงกลม เมื่อสุกสีเหลือง ปลูกประดับ ใหรมเงา ผลเปนอาหารของนก

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

21


ขานาง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดกาญจนบุรี

22

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Moulmein Lancewood Homalium tomentosum (Vent.) Benth. FLACOURTIACEAE ขานาง (ภาคกลาง,เชียงใหม,จันทบุร)ี , ขางนาง คะนาง (ภาคกลาง), คานางโคด (ระยอง), ชางเผือกหลวง (เชียงใหม), แซพลู (กะเหรีย่ ง-กาญจนบุร)ี , ปะหงาง (ราชบุร)ี , เปลือย (กาญจนบุร)ี , เปอ ยคะนาง เปอ ยนาง (อุตรดิตถ), เปอ ยคางไห (ลําปาง), ลิงงอ (นครราชสีมา)

ลักษณะทั่วไป

ไมยนื ตนผลัดใบสูง 15–30 เมตร เปลือกตนสีขาวนวล เรือนยอดเปนพุม ทึบ กิ่งออนมีขนสีน้ําตาลนุม ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข ขอบใบหยัก คลายฟนเลือ่ ย ออกดอกเปนชอตามงามใบ และปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองออน ออกดอกชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเล็ก มีฐานดอกขยาย คลายปกติดที่ปลายผล

ประโยชน

เนือ้ ไมสนี าํ้ ตาลอมเหลือง แข็ง เหนียว ใชทาํ เครือ่ งเรือน เสา ดาม เครือ่ งมือ ทางการเกษตร

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะหาด พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดกาฬสินธุ

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Lok Hat Artocarpus lacucha Roxb. MORACEAE กาแย ตาแป ตาแปง (มลายู-นราธิวาส), มะหาด (ภาคใต), มะหาดใบใหญ (ตรัง), หาด (ทัว่ ไป) ไมยนื ตนขนาดใหญ ลําตนตัง้ ตรง ผิวเปลือกนอกขรุขระ แตกเปนรอยสะเก็ดเล็กๆ มียางไหลซึม ใบเปนใบเดีย่ วรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบเวามน ใบออนมีขน ออกดอกเปนชอตามบริเวณงามใบ มีสเี หลือง ออกดอกชวงเดือนกุมภาพันธ ถึงเมษายน รูปทรงผลกลมบุบเบี้ยว เปลือกนอกมีผิวขรุขระ สุกสีเหลือง เสนผานศูนยกลาง 5-10 เซนติเมตร เนื้อไมหยาบ แข็ง เหนียว ทนทานมาก ใชกอสราง ใชทําเครื่องดนตรี เปลือกทําเชือก รากใหสีเหลืองทอง ใชยอมผา แกไข ขับพยาธิ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

23


สีเสียดแกน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดกําแพงเพชร

24

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Catechu Tree, Cutch Tree Acacia catechu (L.f.) Willd. LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE สะเจ (เงี้ยว-แมฮองสอน), สีเสียด (ภาคเหนือ), สีเสียดแกน (ราชบุรี) สีเสียดเหนือ (ภาคกลาง) สีเสียดแกนเหนือ สีเสียดเหลือง (เชียงใหม)

ลักษณะทั่วไป

ไม ย ื นตนขนาดกลางสู ง 10–15 เมตร เรื อ นยอดโปรง ลํา ต น และกิ ่ ง มีหนามแหลมโคงทั่วไป เปลือกสีเทาคล้ําหรืออมน้ําตาลคอนขางขรุขระ ใบเป นใบประกอบขนนกสองชั้ น รู ปไข แกมขอบขนาน โคนใบเบี ้ ย ว มีขนหางๆ ออกดอกเปนชอยาวคลายหางกระรอก ตามงามใบ ขนาดเล็ก สีเหลืองออนหรือขาวอมเหลือง ออกดอกชวงเดือนเมษายน - กรกฎาคม ผลเปนฝกรูปบรรทัดแบน ยาว 5–10 ซ.ม. เมล็ดแบนสีน้ําตาลอมเขียว

ประโยชน

เนื้อไมแข็งเหนียว สีน้ําตาลแดง ไสกบตบแตงยาก ใช ทําสิ่งปลูกสราง ที่ตองรับน้ําหนักมากๆ เชน เสา ตง คาน สะพาน ทําดามเครื่องมือ ทางการเกษตร แกนใหน้ําฝาดใชฟอกหนัง และใหสีน้ําตาลสําหรับยอมผา แห อวน กอนสีเสียดเปนยาสมานอยางแรง แกโรคทองรวง บิด แกไขจับสั่น แกไอ ใชเปนยารักษาเหงือก ลิ้น ฟน รักษาแผลในลําคอ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


กัลปพฤกษ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดขอนแกน

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Pink Cassia, Pink Shower, Wishing Tree Cassia bakeriana Craib LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE กั ล ปพฤกษ (ภาคกลาง, ภาคเหนื อ ), กานล (เขมร-สุ ริ น ทร ) , ชัยพฤกษ (ภาคเหนือ)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนผลัดใบสูง 20 เมตร โคนมีพูพอน เปลือกสีดําแดงแตกเปนรองลึก กิง่ ออนและชอดอกมีขนนุม สีนาํ้ ตาล ใบเปนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ รูปหอกแกมขอบขนาน ออกดอกเปนชอตามกิ่งพรอมใบออน ใบประดับ รูปหอก ดอกเริ่มบานสีชมพู แลวเปลี่ยนเปนสีขาวตามลําดับ ผลเปนฝก ทรงกระบอก ยาว 30-40 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางประมาณ 2-2.5 เซนติเมตร

ประโยชน

เนื้อในฝกเปนยาระบายออนๆ เปนไมมงคล ปลูกเปนไมประดับ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

25


จัน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดจันทบุรี

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

26

Diospyros decandra Lour. EBENACEAE จัน จันอิน จันโอ (ทั่วไป), จันขาว จันลูกหอม (ภาคกลาง) ไมยืนตนสูง 20 เมตร ยอดออนมีขน ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน หรือรูปรี ดอก แยกเพศ เพศผูเปนชอ กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนรูปคนโท สีขาวนวล ดอกเพศเมียเปนดอกเดี่ยว ลักษณะคลายกับดอกเพศผู แตมี ขนาดใหญกวา ผลเปนผลสดมีสองลักษณะคือ ทรงกลมแปนเรียกวาลูกจัน และทรงกลมเรียกวาลูกอิน เมื่อสุกสีเหลือง มีกลิ่นหอม และกลีบเลี้ยง ยังคงติดอยู ปลูกเปนไมประดับ ผลรับประทานได

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


นนทรีปา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดฉะเชิงเทรา

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Copper pod Peltophorum dasyrachis (Miq.) Kurz LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE กวาเซก (เขมร-กาญจนบุรี), คางรุง คางฮุง (พิษณุโลก), จาขาม ชาขม (ลาว), ตาเซก (เขมร-บุรีรัมย), นนทรีปา (ภาคกลาง), ราง (สวย-สุรินทร), ราง อะราง อะลาง (นครราชสีมา), อินทรี (จันทบุรี) ไม ยื น ต น ขนาดกลางสู ง 15–30 เมตร เรื อ นยอดเป น รู ป พุ ม กลมทึ บ เปลือกตนสีเทาหรือสีเทาอมน้ําตาล เปลือกในสีน้ําตาลปนแดง ใบเปน ใบประกอบแบบขนนกสองชัน้ ใบยอยรูปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน ออกเปนคูตรงขามกัน ออกดอกเปนชอหอยลง ตามปลายกิ่งหรืองามใบ สีเหลืองสด กลีบดอกมีลักษณะยน ออกดอกพรอมกับใบออน ชวงเดือน มกราคม - มีนาคม ผลเปนฝกแบนรูปหอกปลายแหลม สีน้ําตาลแดง ใชทําสิ่งกอสราง เครื่องเรือน เปลือกมีรสฝาด แชน้ําใชดองแมงกระพรุน หรือรับประทานเปนยากลอมเสมหะ แกโรคทองรวง เปนยาขับลม

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

27


ประดูปา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดชลบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

28

Bermese Ebony Pterocarpus macrocarpus Kurz LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE จิตอ ก (เงีย้ ว-แมฮอ งสอน), ฉะนอง (เชียงใหม), ดู ดูป า (ภาคเหนือ), ตะเลอ เตอะเลอ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), ประดู ประดูปา (ภาคกลาง) ประดู ประดูเสน (ราชบุรี, สระบุรี) ไมยืนตนผลัดใบขนาดใหญ สูง 15–30 เมตร เปลือกตนสีน้ําตาลดําแตกเปน สะเก็ด เปลือกในมีน้ําเลี้ยงสีแดง เนื้อไมสีขาวอมเหลือง แกนสีน้ําตาล แกมแดง เรือนยอดเปนพุมกลมทึบ ใบเปนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอยรูปไขขอบขนาน ปลายใบเปนติ่ง โคนใบมน ออกดอกเปนชอที่ ซอกใบ รูปดอกถั่ว กลีบดอกสีเหลืองออนกลิ่นหอม ผลรูปโล แผเปนปก แบนๆ ตรงกลางนูน มีขนาดใหญกวาประดูบาน และมีขนปกคลุมทั่วไป เนื้อไมสีแดงอมเหลือง มีลวดลายสวยงาม แข็งแรงทนทาน ใชทําเสา พื้น ตอเรือ เครื่องเรือนสวยงาม เครื่องดนตรี เชน ซอ ลูกและรางระนาดเปยโน เปลือกใหน้ําฝาดใชฟอกหนัง แกนใหสีแดงคล้ําใชยอมผา

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะตูม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดชัยนาท

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Bael Fruit Tree, Bengal Quince, Bilak Aegle marmelos (L.) Correa ex Roxb. RUTACEAE กะทันตาเถร ตุมตัง (ลานชาง), ตูม (ปตตานี), พะโนงค (เขมร), มะตูม (ภาคกลาง,ภาคใต), มะปน (ภาคเหนือ), มะปสา (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน) ไมยืนตนผลัดใบ สูง 5–10 เมตร แตกกิ่งต่ํา ตามลําตนมีหนามยาว เปลือก สีเทา เรือนยอดคอนขางโปรง ใบเปนใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 3 ใบ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ดอกมีขนาดเล็กสีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองออน กลิ่นหอม ออกดอกชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเปนรูปไขแข็ง เนื้อมี สีเหลือง มียางเหนียว เมล็ดรูปรี เนื้อไมละเอียด สีเหลืองออน มีกลิ่นหอมเมื่อยังสด ใชทําเกวียน เพลา เกวียน หวี ยางจากผลดิบผสมสีทากระดาษแทนกาว เปลือกของผลให สีเหลืองใชยอมผา เนื้อในเชื่อมทําของหวาน และใชทําเครื่องดื่ม ชวยยอย อาหาร รักษาโรคเกี่ยวกับกระเพาะ แกทองเสีย ผลสุกเปนยาระบาย

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

29


ขี้เหล็กบาน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดชัยภูมิ

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

30

Thai Copper Pod Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE ขี้เหล็กแกน (ราชบุรี), ขี้เหล็กหลวง (ภาคเหนือ), ขี้เหล็กใหญ (ภาค กลาง), ขี้เหล็กบาน (ลําปาง), ผักจีลี้ (เงี้ยว-แมฮองสอน), มะขี้เหละพะโดะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), ยะหา (มลายู-ปตตานี) ไมยืนตน สูง 8-15 เมตร เปลือกสีเทาอมน้ําตาลแตกตามยาวเปนรอง ใบเปนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอยรูปขอบขนาน ดานลาง มีขนสั้น ออกดอกเปนชอสีเหลืองที่ปลายกิ่ง ฝกแบนสีน้ําตาล รากแกไขบํารุงธาตุ แกโรคเหน็บชา ลําตนและใบเปนยาระบาย แกนิ่ว ขับปสสาวะ แกโรคเบาหวาน ลดความดัน ชวยใหนอนหลับ เปลือกฝก แกเสนเอ็นพิการ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะเดื่อชุมพร พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดชุมพร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Cluster Fig Ficus racemosa L. MORACEAE กูแซ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), เดื่อเกลื้อง (ภาคกลาง,ภาคเหนือ), เดื่อนํ้า (ภาคใต), มะเดื่อ (ลําปาง), มะเดื่อชุมพร มะเดื่ออุทุมพร (ภาคกลาง) ไมยืนตนผลัดใบสูง 5–20 เมตร กิ่งออนมีขนสีน้ําตาลแดงปกคลุมบางๆ ตอมาจะหลุดรวงไป ใบเปนใบเดีย่ วเรียงสลับ แผนใบรูปไขถงึ รูปหอกแกมรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบทูถ งึ กลม ออกดอกขนาดเล็กเปนกระจุก ผลรูปไขกลับ เมื่อสุกสีแดงเขมถึงมวง ปลูกเปนไมประดับกลางแจง รากใชแกพิษ แกรอนใน เปลือกตนมีรสฝาด แกอาการทองเสียที่ไมใชบิด หรืออหิวาตกโรค แกอาเจียน หามเลือด ชําระแผล ผลรับประทานไดมรี สฝาดอมหวาน มีประโยชนตอ คนทีข่ าดเลือด ใบมีฤทธิ์ตานการอักเสบ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

31


กาสะลองคํา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดเชียงราย

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

32

Tree Jasmine Radermachera ignea (Kurz) Steenis BIGNONIACEAE กากี (สุราษฎรธานี), กาสะลองคํา (เชียงราย), แคะเปาะ สําเภาหลามตน (ลําปาง), จางจืด (เชียงใหม), สะเภา ออยชาง (ภาคเหนือ) ไมยืนตนผลัดใบ สูง 6–20 เมตร ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ออก ตรงขามกัน แผนใบยอยรูปรีแกมรูปหอก ปลายใบแหลมเปนติ่ง โคนใบ สอบแหลม ออกดอกเปนกระจุกตามกิ่งและลําตน สีเหลืองอมสมหรือสีสม กลีบดอกเชื่อมกันเปนหลอด ปลายแยกเปนแฉกสั้นๆ 5 แฉก ผลเปนฝก เมื่อแกแตกเปนสองซีกเมล็ดมีปก ปลูกเปนไมประดับ ลําตนผสมสมุนไพร ตําหรับที่ 58 ฝนน้ํากินแกซาง เปลือกตนตมน้ําดื่มแกทองเสีย ใบตําคั้นน้ําทาหรือพอก ใชรักษาแผลสด แผลถลอก หามเลือ ด สารสกัด ดวยแอลกอฮอล มี ฤทธิ ์ ย ั บยั ้ ง เอนไซม HIV-1 reverse transcriptase

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


ทองกวาว พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดเชียงใหม

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kino, Kino tree Butea monosperma (Lam.) Taub. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE กวาว กาว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต), จา จาน (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองตน (ภาคกลาง) ไมยืนตนผลัดใบสูง 8–15 เมตร เปลือกสีเทาคล้ําแตกเปนรองตื้นๆ ใบเปน ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 3 ใบออกสลับกัน ดอกใหญออกเปนชอ ตามกิ่งกานและที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองถึงแดงแสดรูปดอกถั่ว ออกดอก ชวงเดือนธันวาคม-มีนาคม ผลเปนฝกรูปขอบขนานแบน มีเมล็ดที่ปลายฝก เปลือกใชทําเชือกและกระดาษ ยาแกทองรวง ใบตําพอกฝและสิวถอนพิษ ตมกับน้ําแกปวด ทองขึ้น ริดสีดวงทวาร เขายาบํารุงกําลัง ดอกตมดื่ม เปนยาแกปวด ถอนพิษไข ขับปสสาวะ ใหสีเหลืองใชยอมผา เมล็ดใชขับ พยาธิตัวกลม บดใหละเอียดผสมกับน้ํามะนาว ทาแกคันและแสบรอน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

33


ศรีตรัง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดตรัง

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

34

Jacaranda, Green ebony Jacaranda filicifolia (Anderson) D. Don. BIGNONIACEAE แคฝอย (กรุงเทพฯ), ศรีตรัง (ตรัง) ไมยืนตนผลัดใบสูง 5–10 เมตร เรือนยอดโปรง ใบเปนใบประกอบแบบ ขนนก ออกตรงกันขาม ใบยอยเล็ก ออกดอกเปนชอใหญตามกิ่ง ดอกสีมวง กลีบดอก 5 กลีบเชือ่ มกันเปนหลอด เมือ่ บานเสนผาศูนยกลางประมาณ 1 ซ.ม. ออกดอกชวงเดือนมกราคม-มีนาคม ผลเปนฝกแบน เมื่อแกแตกเปน 2 ซีก เมล็ดมีปก ปลูกเปนไมประดับกลางแจง

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


หูกวาง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดตราด

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Bengal Almond, Indian Almond, Sea Almond, Tropical almond, Umbrella tree, Olive-bark tree, Singapore almond Terminalia catappa L. COMBRETACEAE โคน (นราธิวาส), ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง), ตาปง (พิษณุโลก, สตูล), ตาแปห (มลายู-นราธิวาส), หลุมปง (สุราษฎรธานี), หูกวาง (ภาคกลาง) ไมยนื ตนผลัดใบสูง 8–25 เมตร เปลือกเรียบ กิง่ แตกรอบลําตนตามแนวนอน เปนชัน้ ๆ คลายฉัตร ใบเปนใบเดีย่ ว ออกเวียนสลับถีต่ อนปลายกิง่ ใบรูปไขกลับ ปลายใบแหลมเปนติง่ สัน้ ๆ โคนใบสอบแคบ เวา ออกดอกเปนชอตามซอกใบ ขนาดเล็ก สีขาวนวล ออกดอกชวงเดือนกุมภาพันธ-เมษายน ผลเปนรูปไข หรือรูปรีปอมๆ แบนเล็กนอย เมื่อแหงสีดําคล้ํา เปลือกและผลมีรสฝาดมาก ใชแกทองเสีย ฟอกหนังสัตว ทําหมึก เมล็ดในผลรับประทานได ใหน้ํามันคลายน้ํามันอัลมอนต

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

35


แดง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดตาก

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

36

Iron Wood Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch.) I.C. Nielsen LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE กรอม (ชาวบน-นครราชศรีมา), ควาย (กะเหรีย่ ง-เชียงใหม, กาญจนบุร)ี , ไคว เพร (กะเหรีย่ ง-แมฮอ งสอน), จะลาน จาลาน (เงีย้ ว-แมฮอ งสอน), แดง (ทัว่ ไป), ตะกรอม (ชอง-จันทบุร)ี , ปราน (สวย-สุรนิ ทร) ไปรน (ศรีษะเกษ), ผาน (ละวาเชียงใหม), เพย (กะเหรีย่ ง-ตาก), สะกรอม (เขมร-จันทบุร)ี ไมยืนตน สูง 15–30 เมตร เปลือกสีเทาอมแดง เปลือกในสีน้ําตาลแดง และมีน้ําเลี้ยงสีแดงออกมาเมื่อถูกตัดกิ่งกาน และยอดออนมีขนละเอียด สีเหลือง ใบเปนใบประกอบแบบขนนกสองชัน้ เรียงสลับ ประกอบดวย 2 ชอ ใบแตกออกเปน 2 งาม ระหวางงามแขนงมีตุมสีชมพูหรือสีน้ําตาลแดง ใบยอย 4–5 คูรูปไขหรือรูปไขแกมขอบขนาน ดอกเปนชอทรงกลมคลาย ดอกกระถิน สีขาวหรือสีเหลือง หอมออนๆ ออกที่ปลายกิ่งและซอกใบ ผล เปนฝกรูปไต แบน แข็ง เนื้อไมแข็งเหนียวทนทาน ใชกอสรางบานเรือน เกวียน ตอเรือ หมอนรองรางรถไฟ เครื่องมือทางการเกษตร ทําหูก กระสวย คันธนู หนาไม

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


สุพรรณิการ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนครนายก

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Yellow Silk Cotton Tree, Yellow Cotton Cochlospermum religiosum (L.) Alston BIXACEAE ฝายคํา (ภาคเหนือ), สุพรรณิการ (ภาคกลาง) ไมยืนตนผลัดใบ สูง 5–10 เมตร เปลือกตนสีน้ําตาลเทา ใบ เปนใบเดี่ยว รู ป ฝามือ มี 5 แฉก ออกเวี ยนสลั บ ปลายใบแฉกแหลม โคนใบเวา ขอบใบเปนคลื่น ออกดอกเปนชอที่ปลายกิ่งสีเหลือง ผล เปนรูปไขกลับ เมื่อแหงเมล็ดสีน้ําตาล มีปุยสีขาวคลายปุยฝายหุมเมล็ด ปลูกเปนไมประดับ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

37


จันทนหอม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนครปฐม

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

38

Mansonia gagei J.R. Drumm. ex Prain STERCULIACEAE จันทน จันทนชะมด (ประจวบคีรีขันธ), จันทนขาว จันทนพมา จันทนหอม (ภาคกลาง) ไมยืนตนผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดเปนพุมคอนขางโปรง ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผนใบรูปรีแกมขอบขนาน หรือแกมรูปไขกลับ ปลายใบแหลม โคนใบเวาเบีย้ วเล็กนอย ขอบใบเปนคลืน่ หางๆ ออกดอกเปนชอตามปลายกิง่ และตามงามใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกดอกชวงเดือนสิงหาคมถึงเดือน ตุลาคม ผล เปนรูปกระสวย มีปกรูปทรงสามเหลี่ยม ไมทต่ี ายเองจะมีกลิน่ หอม ไสกบตบแตงงาย ใชทาํ หีบใสผา เครือ่ งกลึง เครือ่ งแกะสลัก ทําหวี ทําดอกไมจนั ทน ธูป น้าํ มันหอมระเหยทีไ่ ดจากการกลัน่ ชิน้ ไม ใชปรุงเครือ่ งหอม และเครือ่ งสําอางค เนือ้ ไมและกระพีม้ สี ขี าว แกนสีนาํ้ ตาลเขม มีกลิน่ หอมใชเปนยาบํารุงกําลัง นําแกนบดเปนผง 1 ชอนชา ชงน้าํ ดืม่ เนือ้ ไม เปนยาแกไข แกโลหิตเสีย แกกระหายน้าํ และออนเพลีย

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


กันเกรา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนครพนม

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Anon, Tembusu Fagraea fragrans Roxb. GENTIANACEAE กันเกรา (ภาคกลาง), ตะมะซู ตํามูซู (มลายู-ภาคใต), ตาเตรา (เขมร-ภาคตะวันออก), ตําเสา ทําเสา (ภาคใต), มันปลา (ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ไมยนื ตนสูง 10–15 เมตร ใบเปนใบเดีย่ วเรียงตรงขาม แผนใบรูปรี เนือ้ ใบบาง แตเหนียว ปลายใบแหลมยาว โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หลังใบสีเขียวเขม เปนมัน ทองใบสีจางกวา กานใบยาว มีหใู บระหวางกานใบคลายรูปถวยเล็กๆ ออกดอกเปนชอที่ปลายกิ่งและซอกใบตอนปลายกิ่ง เมือ่ เริม่ บานกลีบดอก สีขาว ตอมาเปลีย่ นเปนสีเหลืองมีกลิน่ หอม ออกดอกระหวางเดือนเมษายนถึง มิถุนายน ผลเปนผลสดทรงกลม มีติ่งแหลมสั้นติดอยูที่ปลาย สีสมอมเหลือง แลวเปลี่ยนเปนสีแดงเมื่อผลแก เนือ้ ไมสเี หลืองออน เสีย้ นตรง เนือ้ ละเอียด เหนียว แข็ง ทนทาน ใชในการ กอสราง แกนมีรสฝาด ใชเขายาบํารุงธาตุแนนหนาอก เปลือกใชบํารุงโลหิต ผิวหนังพุพอง ปลูกเปนไมประดับ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

39


สาธร พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนครราชสีมา

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่ว

ประโยชน

40

Millettia leucantha Kurz var. buteoides (Gagnep.) P.k.Loc LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE กระเจาะ ขะเจาะ (ภาคเหนือ), กระพี้เขาควาย (ประจวบคีรีขันธ), กะเซาะ (ภาคกลาง), ขะแมบ คําแมบ (เชียงใหม), สาธร (ภาคเหนือ) ไมยืนตนผลัดใบ สูง 18–19 เมตร เรือนยอดเปนพุมทึบ คอนขางกลมหรือ ทรงกระบอก ใบเปนใบประกอบเรียงสลับ ใบยอยติดเปนคูต รงกันขาม 3–5 คู ปลายสุดเปนใบเดี่ยว แผนใบยอยรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบและ ยอดออนมีขนยาว ออกดอกเปนชอตามงามใบและปลายกิง่ สีขาว รูปดอกถัว่ สีชมพูออน ออกดอกชวงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผล เปนฝกแบนคลาย ฝกมีด เนื้อไมใชในการกอสราง

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


แซะ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนครศรีธรรมราช

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Millettia atropurpurea (Wall.) Schott LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE กะแซะ (สุราษฎรธานี), ยีนิเกะ (มลายู-นราธิวาส), แซะ (ทั่วไป) ไมยนื ตนสูง 20–30 เมตร เรือนยอดเปนพุม ทึบ ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ใบยอยออกตรงกันขาม มีใบยอยปลายกานอีก 1 ใบ แผนใบรูปขอบขนาน แกมรูปหอก ออกเปนชอตามปลายกิง่ หรืองามใบ รูปดอกถัว่ สีแดงแกมมวงทึบ กลิ่นหอม ออกดอกชวงเดือนมกราคม-เมษายน ผลเปนฝก สีน้ําตาล กลมรี เนือ้ ไมใชในการกอสรางทัว่ ไป แตไมไดรบั ความนิยม เพราะเนือ้ ไมเปนทีช่ อบ ของมอด และแมลง โดยมากมักใชทาํ ฟนและถาน ยอดออนนิยมรับประทาน เปนผักสด

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

41


เสลา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนครสวรรค

ชื่อวิทยาศาสตร

Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn.

วงศ ชื่ออื่น

LYTHRACEAE เกรียบ ตะเกรียบ (ชอง-จันทบุรี), ตะแบกขน (นครราชสีมา), เสลาใบใหญ (สระบุรี),อินทรชิต (ปราจีนบุรี,ทั่วไป) ไมยนื ตนผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดกลมทึบ กิง่ หอยลง ใบ เปนใบเดีย่ ว ออกตรงขามกัน แผนใบรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมเปนติ่งโคงมน ผิวใบมีขนนุมทั้งสองดาน ออกดอกเปนชอที่ปลายกิ่ง สีมวง มวงอมชมพู หรือมวงอมขาว ออกดอกชวงเดือนธันวาคม-มีนาคม ผลกลมรี ผิวแข็ง มีเมล็ดมีปกจํานวนมาก ไมทําเครื่องแกะสลัก ดามเครื่องมือ ทําพื้นรอด ตง คาน ไดดี ปลูกเปน ไมประดับ

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

42

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


นนทรีบาน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนนทบุรี

ชื่อสามัญ

Copper pod, Yellow flame

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex. K. Heyne LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE กระถินปา กระถินแดง (ตราด), นนทรี (ทั่วไป) สารเงิน (แมฮองสอน)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนผลัดใบ สูง 8–15 เมตร เรือนยอดรูปรม ชอดอกและยอดออน มีขนสีน้ําตาลแดง ใบเปนใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้นเรียงสลับ ใบยอย ออกตรงขามกันเปนคู ออกดอกเปนชอขนาดใหญตามงามใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง ออกดอกชวงเดือนมกราคม-มีนาคม ผล เปนฝกแบนรูปหอก โคนและปลายสอบแหลม ใชทาํ สิง่ กอสราง เครือ่ งเรือน เปลือกมีรสฝาด รับประทานเปนยากลอมเสมหะ แกโรคทองรวง เปนยาขับลม

ประโยชน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

43


ตะเคียนชันตาแมว พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนราธิวาส

44

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

Chengal Neobalanocarpus heimii (King) P.S. Ashton DIPTEROCARPACEAE จีงามาส (มลายู-นราธิวาส), ตะเคียนชัน ตะเคียนชันตาแมว (ภาคใต) ไมยืนตนสูง 30–40 เมตร เรือนยอดเปนพุมทึบ ลําตนเปลาตรง เปลือก สีน้ําตาลเขมลอนเปนสะเก็ด มียางชันสีขาว ใบ เปนใบเดี่ยวเรียงสลับ แผนใบรูปหอกหรือรูปดาบ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ออกดอกเปนชอ ตามงามใบและปลายกิ่ง สีขาว กลิ่นหอม ออกดอกชวงเดือนเมษายนถึง มิถุนายน ผลเปนรูปขอบขนานปลายโคง

ประโยชน

เนือ้ ไมทนทานแข็งแรง ใชในการกอสราง ทําเรือสําเภาเดินทะเล เสากระโดงเรือ ชันมีราคาสูง ใชผสมน้าํ มันทาไม และน้าํ มันชักเงาอยางดี

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


กําลังเสือโครง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดนาน

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Birch Betula alnoides Buch.-Ham. ex G.Don BETULACEAE กําลังพญาเสือโครง, กําลังเสือโครง (เชียงใหม) ไมย ื น ตน สู ง 20–35 เมตร เปลือ กสีน ้ําตาลเทามี กลิ่น หอมคล ายการบู ร เวลาแกจะลอกออกเปนชั้นๆ คลายกระดาษ ยอดออน กานใบ และชอดอก มี ข นสี เ หลื อ งหรื อ สี น ้ ํ า ตาลปกคลุ ม หู ใ บเป น รู ปสามเหลี่ยม ใบเป น รูปไข แกมรู ป หอก เนื ้ อ ใบบางคลา ยกระดาษ ดานใตข องใบมีตุม โคนใบป าน เกือบเปนเสนตรง ขอบใบหยักแบบฟนเลื่อยสองชั้นหรือสามชั้น ซี่หยักแหลม ปลายใบเรี ย วแหลม ออกดอกเป น ช อ ยาวแบบหางกระรอกตามง า มใบ ดอกยอยไมมีกาน ออกดอกชวงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ผลมีปก 2 ขาง โปรงบาง เนื้อไมมีสีน้ําตาลออน ไสกบตบแตงงาย ขัดชักเงาไดดี ไมใชทาํ พืน้ เครือ่ งเรือน และใชในการกอสราง เปลือกมีกลิน่ หอมคลายการบูร ใชตม กับน้าํ เปนยา บํารุงธาตุ บํารุงรางกาย เจริญอาหารแกปวดเมือ่ ยตามรางกาย

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

45


กาฬพฤกษ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดบุรีรัมย

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

46

Pink Shower, Horse Cassia Cassia grandis L.f. LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE กัลปพฤกษ (กรุงเทพฯ) ไมยนื ตนผลัดใบสูงประมาณ 20 เมตร โคนมีพพู อน เปลือกสีดาํ แตกเปนรองลึก กิ่งออนหรือชอดอกมีขนสีน้ําตาล ใบ เปนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอย 10–20 คู ใบออนสีแดง แผนใบยอยรูปขอบขนาน หลังใบเปนมัน ทองใบมีขน ดอกเมื่อเริ่มบานจะมีสีแดง แลวเปลี่ยนเปนสีชมพูตามลําดับ ออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม ผลเปนฝกรูปทรงกระบอก ปลูกเปนไมประดับ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


ทองหลางลาย พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดปทุมธานี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Indian Coral Tree, Variegated Tiger’s Claw Erythrina variegata L. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ทองบาน, ทางเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางดาง, ทองหลางลาย (กรุงเทพฯ) ไมยืนตนผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งออนมีหนามเรือนยอดเปนพุมกลมโปรง ใบเปนใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 3 ใบ ใบกลางจะโตกวาสองใบดานขาง ออกดอกเปนชอยาวประมาณ 30–40 ซ.ม. รูปดอกถั่ว สีแดงเขม ออกดอก ระหวางเดือนมกราคม-กุมภาพันธ ผลเปนฝกยาว 15–30 ซ.ม. ปลูกเปนไมประดับ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

47


เกด พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดประจวบคีรีขันธ

48

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

Milkey Tree Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard SAPOTACEAE ครินี ไรนี (ฮินดู), เกด (กลาง) ไมยืนตนขนาดกลาง ไมผลัดใบ เรือนยอดเปนพุมกลม ลําตนและกิ่งกาน มักคดงอ โดยเฉพาะกิ่งมักหักงอเปนขอศอก ใบเปนใบเดี่ยวออกสลับ แผนใบรูปไขกลับ ปลายหยักเวาเล็กนอย โคนใบสอบ เนื้อใบหนาเกลี้ยง หลังใบสีเขียวแกเปนมัน ทองใบสีขาวหรือนวล ออกดอกเปนกระจุกตามงามใบ ดอกขนาดเล็ ก สี เหลื อ ง ออกดอกระหว า งเดื อ นมกราคม-กรกฎาคม ผลรูปกลมรี เมื่อสุกสีเหลืองแสด

ประโยชน

ผลสุกหวานรับประทานได เนือ้ ไมใชเปนสลักแทนตะปู สําหรับติดกระดานกับ โครงเรือ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


โพศรีมหาโพ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดปราจีนบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Sacred Fig Tree, Pipal Tree, Bo-Tree Ficus religiosa L. MORACEAE ปู (เขมร), โพ โพศรีมหาโพ (ภาคกลาง), ยอง (เงี่ยว-แมฮองสอน), สลี (ภาคเหนือ) ไมยืนตนสูง 20–30 เมตร เปลือกตนสีน้ําตาล มียางสีขาว ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปหัวใจ ออกดอกจํานวนมาก ขนาดเล็ก ออกดอกตลอดทั้งป ผลเปนผลสดทรงกลม เมื่อสุกสีมวงดํา เปลือกตนทํายาชง หรือยาตมแกโรคหนองใน ใบและยอดออนแกโรคผิวหนัง ผลเปนยาระบาย

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

49


ตะเคียนทอง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดปตตานี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

50

Iron Wood Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม), แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), จะเคียน (ภาคเหนือ), จูเค โซเก (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะเคียนทอง ตะเคียนใหญ (ภาคกลาง), ไพร (ละวา-เชียงใหม) ไมยืนตนขนาดใหญ ไมผลัดใบ เรือนยอดเปนพุมทึบ กลม หรือรูปเจดีย เปลือกหนาสีน้ําตาลดําแตกเปนสะเก็ด กระพี้สีน้ําตาลออน แกนสีน้ําตาล อมเหลือง ใบเปนใบเดีย่ วรูปไขแกมรูปหอก หรือรูปดาบ เนือ้ ใบคอนขางหนา ปลายใบเรียว โคนใบมนปานและเบีย้ ว หลังใบมีตมุ เกลีย้ ง ปลายโคงแตไมจรดกัน ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ออกเปนชอยาวตามงามใบและปลายกิ่ง กลิ่นหอม ผลรูปไขเกลีย้ ง ปลายมนเปนติ่งคลายหนามแหลม ภายในกลีบรองดอกที่ ขยายตัวออกเปนปกรูปใบพาย ปกยาว 2 ปก ปกสั้น-3 ปก เนื้อไมมีความทนทาน ทนปลวกไดดี ไสกบตบแตงงาย ใชประโยชนไดอยางกวางขวาง ใชทําเครื่องเรือน สะพาน ทําเรือ วงกบ ประตู หนาตาง ชันใชผสมน้ํามันทาไม ทําน้ํามันชักเงา ใชยาเรือ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


หมัน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

Cordia cochinchinensis Pierre BORAGINACEAE หมัน (ประจวบคีรีขันธ) ไมยืนตนสูง 5–15 เมตร เปลือกตนสีเทาคล้ํา ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ นใบรูป ไข ปลายใบทู โคนใบกวา ง ดอกสี ขาว ผลเมื ่ อ เปลื อ กสี ช มพู มีของเหลวภายในเหนียวมากหอหุมเมล็ด

ประโยชน

เปลือกใชทําปอ ใชทําหมันตอกยาแนวเรือ ของเหลวในผลที่หอหุมเมล็ด เหนียวมาก ใชทาํ กาว

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

51


สารภี พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดพะเยา

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

52

Mammea siamensis Kosterm. GUTTIFERAE ทรพี (จันทบุรี), สรอยพี (ภาคใต), สารภี (ทั่วไป), สารภีแนน (เชียงใหม) ไมยืนตนสูง 10–15 เมตร ไมผลัดใบ เรือนยอดเปนพุมทึบ มียางสีขาว ใบเปนใบเดีย่ วเรียงตรงขาม รูปไขกลับแกมขอบขนาน เสนแขนงใบไมชดั เจน แตเสนใบยอยแบบรางแหเห็นชัดทั้งสองขาง ออกดอกเปนกระจุกตามกิ่ง สีขาว กลิน่ หอม รวงงาย มีเกสรเพศผูส เี หลือง ผลรูปกระสวย เมือ่ สุกสีเหลือง ไมทํ าเสา พื้นฝา ดอกปรุ งเป นยาแก ร  อ นใน เข า ยาลม บํ า รุ ง ปอด ผล รสหวาน รับ ประทานได

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


เทพทาโร พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดพังงา

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. LAURACEAE จะไคหอม จะไคตน (ภาคเหนือ), จวงหอม จวง (ภาคใต), พลูตนขาว (เชียงใหม), เทพทาโร (ภาคกลาง, จันทบุรี, สุราษฎรธานี), มือแดกะมางิง (มลายู-ปตตานี) ไมยืนตนสูง 10–30 เมตร เรือนยอดเปนพุมทึบ ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียง ตรงขามกัน แผนใบรูปรีแกมรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบสอบ กานใบเรียวเล็ก ดอกสีขาวหรือเหลืองออน ออกเปนชอเปนกระจุกตามปลายกิง่ ผลทรงกลม มีขนาดเล็ก สีเขียว เนื้อไมมีกลิ่นหอมฉุน ใชในการแกะสลักบางอยาง ทําเตียงนอน ทําตู หีบใสเสื้อผากันมอด และแมลงอื่นๆ และใชเปนยาสมุนไพร เปลือกเปน ยาบํารุงรางกายอยางดี โดยเฉพาะหญิงสาวรุน ตมกินแกเสียดทอง ทองขึ้นทองเฟอ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

53


พะยอม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดพัทลุง

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

54

White Meranti Shorea roxburghii G. Don DIPTEROCARPACEAE กะยอม (เชียงใหม), ขะยอม (ลาว), ขะยอมดง พะยอมดง (ภาคเหนือ), แคน (ลาว), เชียง เซี่ยว (กะเหรี่ยง-เชียงใหม), พะยอม (ภาคกลาง), พะยอมทอง (สุราษฎรธานี, ปราจีนบุรี), ยางหยวก (นาน) ไมยนื ตนขนาดใหญ ลําตนสูง 15–30 เมตร และมีเนือ้ ไมแข็ง สีเหลืองออน แกมสีเขียว ใบเปนใบเดีย่ ว สีเขียว แผนใบรูปมนรี เรียงสลับ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ทองใบเปนเสนแขนงใบนูนมองเห็นชัด ออกดอก เปนชอขนาดใหญ สีเหลืองออนและมีกลิ่นหอม ออกดอกชวงเดือน ธันวาคม-กุมภาพันธ ผลเปนรูปรี กลีบเลี้ยงเจริญไปเปนปก ปกยาว 3 ปก ปกสั้น 2 ปก เนื้อไมลักษณะคลายตะเคียนทอง ใชในการกอสราง ทําเครื่องเรือน เปลือกมีรสฝาด ใชเปนยาสมานลําไส ดอกผสมยาแกไข และยาหอมแกลม บํารุงหัวใจ ชันใชผสมน้ํามันทาไม ยาเรือ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


บุนนาค พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดพิจิตร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Iron Wood, Indian Rose Chestnut Mesua ferrea L. GUTTIFERAE กากอ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), กํ้ากอ (เงี้ยว-แมฮองสอน), บุนนาค (ทั่วไป), ปะนาคอ (มลายู-ปตตานี, สารภีดอย (เชียงใหม) ไม ย ื น ต น ขนาดกลางถึ ง ขนาดใหญ ส ู ง 15–25 เมตร ลํ า ต น เปลาตรง เปลือกเรียบสีน้ําตาลปนเทา เรือนยอดเปนพุมทึบรูปเจดียต่ํา ใบเดี่ยว สีเขียว รูปไข ยาวเรียวแคบ ขอบใบเรียบ ทองใบสีขาวนวลอมเทาเปนมัน คลายใบมะปราง ดอกเปนดอกเดี่ยว ออกเปนกระจุกสีขาวนวล กลีบดอก มี 5 กลีบและมีกลิ่นหอม เกสรเพศผูเปนฝอยสีเหลืองจํานวนมาก ผลเปน รูปไข เปลือกแข็ง รากแกลมในลําไส เปลือกใชกระจายหนอง กระพี้แกเสมหะในลําคอ เนื้อไมเปนยาแกลักปดลักเปด ใชทําหมอนรองรางรถไฟ กอสราง ตอเรือ ทําพานทาย และรางปน ดามรม ใชพอกแผลสด ดอกบํารุงโลหิต ระงับ กลิ่นตัว ใชผสมสีเพื่ อ ให ต ิด ทน น้ํ า มั น ที ่ ก ลั่ น จากเมล็ ด ใช จุ ด ตะเกี ย ง และทําเครื่องสําอาง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

55


ปบ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดพิษณุโลก

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

56

Cork Tree Millingtonia hortensis L.f.. BIGNONIACEAE กาซะลอง กาดสะลอง (ภาคเหนือ), เต็กตองโพ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ปบ (ภาคกลาง) ไมยืนตนสูง 5–25 เมตร เปลือกขรุขระสีเทา ตามกิ่งมีชองอากาศเปนจุดๆ ใบเปนใบประกอบแบบขนนก รูปไขแกมรูปหอกปลายใบแหลม ขอบใบ หยักเวาหรือหยักกลมๆ เรียบ โคนใบกลม มีตอมขนอยูตรงมุมระหวาง เสนกลางใบและเสนใบ ออกดอกเปนชอขนาดใหญตง้ั ตรง กลีบดอกเชือ่ มติดกัน เปนทอเล็กๆ ปลายแยกออกเปน 5 กลีบ ขนาดไมเทากัน เกสรเพศผูม ี 4 อัน ยาว 2 อัน สัน้ 2 อัน ติดอยูบ นกลีบใกลปลายทีแ่ ยกออก ผลเปนฝก เมล็ดมีปก เนื้ อ ไมส ีเหลือ งออ น ใชท ําเครื่อ งเรื อ น เครื ่ อ งประดั บบ า น รากทํ า ยา บํารุงปอด รักษาวัณโรค เปลือกทําจุกกอกขนาดเล็ก ดอกสูบแกหืด

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


หวา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดเพชรบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

Jambolan Plum, Java Plum, Black Plum Syzygium cumini (L.) Skeels MYRTACEAE หาขี้แพะ (เชียงราย) ไมยื นต นสู ง 10–25 เมตร ใบเป น ใบเดี ่ ย วออกตรงข า ม แผ น ใบรู ปรี หรือรูปไขกลับ ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอกสีขาว ออกเปนชอตามงามใบ เกสรยาวเปนพู ผลเปนผลสดรูปรี เมื่อสุกสีมวงดํา

ประโยชน

เปลือกตน ตมน้าํ แกบดิ อมแกปากเปอ ย เนือ้ ไมใชทาํ สิง่ ปลูกสรางทีอ่ ยูใ นรม ผลดิบแกทอ งเสีย ผลสุกรับประทานได ใชทาํ เครือ่ งดืม่ เมล็ดลดน้าํ ตาลในเลือด แกทองเสีย ถอนพิษจากเมล็ดแสลงใจ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

57


มะขาม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดเพชรบูรณ

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

58

Tamarind, Indian Date Tamarindus indica L. LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE มะขามไทย ตะลูบ (นครราชสีมา), มองโคลง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), มอด เล สามอเกล (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), มะขาม (ทั่วไป), หมากแกง (ละวาแมฮองสอน), อําเปยล (เขมร-สุรินทร) ไมยนื ตนขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ ใบเปนใบประกอบ ออกเปนคู เรียงกัน ตามกานใบ ปลายใบและโคนใบมน ออกดอกเปนชอเล็กๆ อยูตามบริเวณ ปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝกกลมเล็กยาว เรียกวา “มะขามขี้แมว” ชนิดฝกใหญแบนเรียกวา “มะขามกระดาน” เมล็ดเปนรูปคอนขางกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ําตาลเขม เปลือกตมกับน้ํา หรือน้ําปูนใส แกทองเดิน เนื้อไมใชทําเขียง ใบตมน้ําดื่ม ชวยยอย และขับปสสาวะ ใบ ดอก และฝก ใชเปนยาระบายออนๆ แกไอ ขับเสมหะ เมล็ดคั่ว ใชเนื้อในขับพยาธิไสเดือน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


ยมหิน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดแพร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Almond-wood, Chickrassy, Chittagong-wood Chukrasia tabularis A.Juss. MELIACEAE โคโยง (กะเหรีย่ ง-เชียงใหม), ชากะเดา (ใต), ยมขาว (เหนือ), ยมหิน มะเฟองตน สะเดาชาง สะเดาหิน (กลาง), ริ้งบาง รี (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), เสียดคาย (สุราษฎรธานี) ไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบ เรือนยอดเปนพุมรูปกรวย เปลือกสีนาํ้ ตาลคล้าํ ใบเปนใบประกอบออกเยือ้ งกันเล็กนอย แผนใบรูปดาบ ทองใบมีขนนุม หลังใบเกลี้ยง ออกดอกขนาดเล็ก สีเขียวแกมเหลือง ออกเปนชอตามปลายกิ่ง ออกดอกชวงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ ผลเล็ก กลมรี แข็ง สีน้ําตาลอมมวง เนือ้ ไมสนี าํ้ ตาลอมเหลือง เปนมัน เนือ้ ละเอียด ไสกบตบแตงงาย ชักเงาไดดี ใชในการกอสรางบานเรือน ทําเสา ขื่อ รอด ตง กระดาน ทําเครื่องเรือน ดามเครื่องมือ และไมอัด

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

59


ประดูบาน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดภูเก็ต

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

60

Burmese Rosewood Pterocarpus indicus Willd. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ดูบาน (ภาคเหนือ), ประดูบาน ประดูลาย (ภาคกลาง), สะโน (มลายูนราธิวาส), ประดูไทย (ภาคกลาง), ประดูกิ่งออน (ทั่วไป) ไมย ื นตนขนาดใหญ สู ง 25 เมตร เปลือ กต น สี น ้ ํ า ตาลเข มหรื อ ดํ า คล้ํ า มีสะเก็ดแตกเปนรองตื้นๆ ใบเปนใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย แผนใบ รูปรี โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ออกดอกเปนชอขนาดใหญ รูปดอกถั่ว สีเหลือง ออกดอกชวงเดือนมีนาคม-เมษายน ผล เปนรูปโล มีครีบเปนแผนกลม ตรงกลางนูน เนือ้ ไมใชทาํ สิง่ กอสราง เปลือกให้นาํ้ ฝาดสําหรับฟอกหนัง และให สีนาํ้ ตาล สําหรับยอมผา แกนใหสีแดงคล้ํา

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


พฤกษ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดมหาสารคาม

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Siris, Kokko, Indian Walnut Albizia lebbeck (L.) Benth. LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE กามปู พฤกษ (ภาคกลาง), กะซึก (พิจติ ร), กาแซ กาไพ แกระ (สุราษฎรธานี), กานฮุง (ชัยภูมิ), กรีด (กระบี่), จาขาม (ภาคเหนือ), จามจุรี ซึก (กรุงเทพฯ), ตุด ถอนนา (เลย), พญากะบุก (อรัญประเทศ), มะขามโคก มะรุมปา ชุงรุง (นครราชสีมา), กระพี้เขาควาย (เพชรบุรี) ไมยนื ตนขนาดกลางถึงใหญ สูง 20–30 เมตร ผลัดใบ สีเทาแก แตกเปนรองยาว เปลื อ กในสี แ ดงเลื อ ดนก กระพี ้ ส ี ข าวแยกจากแก น กิ ่ ง อ อ นเกลี ้ ย ง หรือมีขนละเอียดประปราย ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ใบยอยรูปรี ปลายใบมน โคนใบกลมหรือเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ทองใบมีขนละเอียด ออกดอกสีขาวเปนชอกลมตามงามใบใกลปลายกิ่ง กลิ่นหอม ออกดอก ชวงเดือนมีนาคม-เมษายน ผลเปนฝกรูปบรรทัด แบนและบาง สีเทาอมเหลือง หรือสีฟางขาว ผิวเกลี้ยงเปนมัน เมล็ดรูปไข เนือ้ ไมใชทาํ สิง่ กอสราง เปลือกใหนาํ้ ฝาดสําหรับฟอกหนัง และให สีนาํ้ ตาล สําหรับยอมผา แกนใหสีแดงคล้ํา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

61


ชางนาว พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดมุกดาหาร

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Ochna integerrima (Lour.) Merr. OCHNACEAE กระแจะ (ระนอง), กําลังชางสาร (กลาง), ขมิน้ พระตน (จันทบุร)ี , ควุ (กะเหรี่ยงนครสวรรค), แงง (บุรีรัมย), ชางนาว ตานนกกรด (นครราชสีมา), ชาง โนม (ตราด), ชางโหม (ระยอง), ตาชีบาง (กะเหรี่ยง-เชียงใหม), ตาลเหลือง (เหนือ), ฝน (ราชบุรี), โวโร (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนผลัดใบสูง 3–8 เมตร ตามปลายกิ่งมีกาบหุมตาแข็งและแหลม ใบเปนใบเดีย่ วออกสลับ แผนใบรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับ ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักถี่ ออกดอกเปนชอสั้นตามกิ่ง มีสีเหลือง ออกดอก ชวงเดือนมกราคม-พฤษภาคม ผล ทรงกลม เมื่อสุกสีดํา รากใชขบั พยาธิ แกนาํ้ เหลืองเสีย ปลูกเปนไมประดับ

ประโยชน

62

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


กระพี้จั่น พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดแมฮองสอน

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Millettia brandisiana Kurz LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE จั่น ปจั่น (ทั่วไป), ปจั่น (ภาคเหนือ), กระพี้จั่น (ภาคกลาง) ไมยนื ตนผลัดใบ สูง 8–20 เมตร เปลือกสีเทา ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ออกเวียนสลับ มีใบยอย แผนใบรูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบทู โคนใบมน หรือสอบเบี้ยวเล็กนอย ขอบเรียบ หลังใบสีเขียวเขม ทองใบสีจางกวา ใบแกเกลี้ยง มีขนประปรายตามเสนกลางใบดานลาง ดอกรูปดอกถั่ว สีขาวปนมวง ออกดอกเปนชอตามงามใบ ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม ถึ งพฤษภาคม ผลเปนฝ ก แบน โคนแคบกว า ปลาย เปลื อ กเกลี ้ ย งหนา คลายแผนหนัง ขอบเปนสัน เมล็ดสีน้ําตาลดํา ไมทาํ เยือ่ กระดาษ ดามเครือ่ งมือ ของเลนเด็ก ทําดอกไมประดิษฐ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

63


โสกเหลือง (ศรียะลา) พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดยะลา

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ

Yellow Saraca Saraca thaipingensis Cantley ex Prain LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE

ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

โสกเหลือง (กรุงเทพฯ), อโศกเหลือง อโศกใหญ (ภาคใต) ไมยืนตนสูง 5–15 เมตร ใบเปนใบประกอบแบบขนนก แผนใบรูปไข หรือ รูปหอกแกมขอบขนาน ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบสอบ ออกดอก เปนชอตามปลายกิ่งและลําตน สีเหลือง กลิ่นหอม ออกดอกชวงเดือน มกราคม-เมษายน ผล เปนฝกแบน ดอกสวยงาม ปลูกเปนไมประดับ

ประโยชน

64

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


กระบาก พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดยโสธร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Mesawa Anisoptera costata Korth. DIPTEROCARPACEAE กระบาก ตะบาก (ลําปาง), กระบากขาว กระบากแดง (ชลบุร,ี ชุมพร, ระนอง), กระบากโคก (ตรัง), กระบากชอ กระบากดาง บาก กระบากดํา (ชุมพร), ชอวาตาผอ (กะเหรีย่ ง-กาญจนบุร)ี , ประดิก (เขมร-สุรนิ ทร), พนอง (จันทบุร,ี ตราด), หมีดังวา (กะเหรี่ยง-ลําปาง)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนขนาดกลางถึงใหญ สูง 30–40 เมตร ลําตนเปลาตรง เรือนยอด เปนพุมกลม เปลือกในสีเหลืองออนเรียงซอนกันเปนชั้นๆ ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ แผนใบรูปขอบขนาน หลังใบมีขนสีเหลือง ปลายใบทูถึงแหลม โคนใบมน ทองใบมีขน ดอกสีขาวปนเหลืองออน ขนาดเล็ก ออกดอก ชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ผลเปนผลแหงทรงกลม ผิวเรียบ มีปก ยาว 2 ปก เนื้อไมสีน้ําตาลปนเหลือง เนื้อหยาบ ใชทําไมแบบ ลังใสของ ชันใชผสม น้ํามันทาไม น้ํามันชักเงา ยาแนวไมและเรือ

ประโยชน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

65


กระบก พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดรอยเอ็ด

66

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ

Kayu Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. IRVINGIACEAE

ชื่ออื่น

กระบก กะบก จะบก ตระบก (เหนือ), จําเมาะ (เขมร), ชะอัง (ซอง-ตราด), บก หมากบก (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), มะมืน่ มืน่ (เหนือ), มะลืน่ หมักลืน่ (สุโขทัย, นครราชสีมา), หลักกาย (สวย-สุรินทร)

ลักษณะทั่วไป

ไมยนื ตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 10–30 เมตร ผลัดใบ เปลือกสีเทา ออนปนน้ําตาลคอนขางเรียบ เรือนยอดเปนพุมแนนทึบ ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับ แผนใบรูปมนแกมขอบขนานถึงรูปหอก ผิวใบเกลี้ยง โคนใบมน ปลายใบทูถึงแหลม ดอกขนาดเล็ก สีขาวปนเขียวออน ออกดอกชวงเดือน มกราคม-มีนาคม ผลทรงกลมรี เมือ่ สุกสีเหลืองอมเขียว เมล็ดแข็ง เนือ้ ในมีรสมัน

ประโยชน

เนื ้ อ ไม ใช เ ผาถ า น ไดถ านดีใ หความร อ นสู ง เนื้อไมเสี้ยนตรงแข็งมาก ไมทนในที่แจง ใชทําเครื่องมือกสิกรรม เมื่ออาบน้ํายาโดยถูกตองแลว ใชในการกอสรางที่ตองการความแข็งแรงได เนื้อในเมล็ดใชรบั ประทานได น้ํามันที่ไดจากเมล็ด ใชทําอาหาร สบู เทียนไข ผลสุกเปนอาหารพวก เกง กวาง และนก

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


อบเชย พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดระนอง

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Cinnamon Tree Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet LAURACEAE ขนุนมะแวง เชียกใหญ (ตรัง), จวงดง บริแวง (ระนอง), ฝนแสนหา (นครศรีธรรมราช), สมุลแวง พะแว โมง หอม ระแวง (ชลบุร)ี , มหาปราบ (ตราด), มหาปราบตัวผู (จันทบุรี), แลงแวง (ปตตานี), อบเชย (กรุงเทพฯ, อุตรดิตถ) ไมยนื ตนสูง 15–20 เมตร เรือนยอดเปนพุม กลมรูปเจดียต าํ่ ทึบ เปลือกเรียบ สีเทาแกหรือเทาปนน้ําตาล ใบเปนใบเดี่ยว รูปขอบขนาน เนื้อใบหนา แข็ง และกรอบ มีเสนแขนงจากโคนใบ 3 เสน ออกดอกเปนชอตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองออนหรือเขียวออน ออกดอกชวงเดือนมิถุนายนถึง ตุลาคม ผลขนาดเล็ก รูปไขกลับ ผลมีเมล็ดเดียว เนือ้ ไมมกี ลิน่ หอมคลายการบูร เนือ้ หยาบแข็งคอนขางเหนียว ใชในการแกะสลัก ทําหีบใสของที่ปองกันแมลง เครื่องเรือน ไมบุผนังที่สวยงาม รากและใบ ตมใหหญิงทีค่ ลอดใหม รับประทานรักษาไข เปลือกมีรสหวานหอมใชเขายานัตถุ แกปวดศีรษะ เขายาบํารุงกําลัง แกจกุ แนนลงทอง บํารุงดวงจิต ใชปรุงเครือ่ งแกง เปนเครื่องเทศ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

67


สารภีทะเล พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดระยอง

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Alexandrian Laurel. Calophyllum inophyllum L. GUTTIFERAE กระทิง กากะทิง (ภาคกลาง), ทิง (กระบี่), เนาวกาน (นาน), สารภีทะเล (ประจวบคีรีขันธ), สารภีแนน (ภาคเหนือ)

ลักษณะทั่วไป

ไมยนื ตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสงู 20–25 เมตร ใบเปนใบเดีย่ ว ไมผลัดใบ เรือนยอดเปนพุมกลม สีเขียวเขม กิ่งออนเกลี้ยง ยอดออนเรียวเล็ก ปลายทู เปลือ กเรียบสีเทาออนหรือน้ําตาลปนเหลื อ ง เปลือ กในสี ช มพู เ นื ้ อ ไม สี น ้ํ าตาลปนแดง ออกดอกเปนชอสั้นที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง มีดอกยอย กลีบดอกสีขาว เกสรเพศผูส เี หลือง มีกลิน่ หอม ออกดอกชวงเดือนตุลาคมถึง ธันวาคม ผลเปนผลสดทรงกลม ปลายผลเปนติ่งแหลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง ไมใชก อ สราง ดอกปรุงเปนยาหอม บํ า รุ ง หั ว ใจ น้ ํ า มั น สกัด จากเมล็ ด ใชทาแกปวดขอ ทําเครื่องสําอาง ปลูกเปนไมประดับ

ประโยชน

68

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


โมกมัน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดราชบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Ivory, Darabela Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. var. tomentosa (Roxb.) Roem.& Schult. APOCYNACEAE มักมัน (สุราษฎรธานี), มูกนอย มูกมัน (นาน), โมกนอย โมกมัน (ทั่วไป), เสทือ แนแก (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), โมกมันเหลือง (สระบุรี) ไมยืนตนผลัดใบขนาดใหญ สูง 20 เมตร เปลือกของลําตนเปนสีน้ําตาล หรือสีเทาออนและมียางขาว ใบเปนใบเดี่ยว ออกเปนคูตรงขามกัน แผนใบ รูปรีปอ ม หรือเปนรูปไข ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ เนือ้ ใบบาง ออกดอกเปนชอตามปลายกิง่ กลีบรองดอกและโคนกลีบ เชือ่ มติดกันเปนรูปทอ ปลายกลีบแยกออกจากกันเปน 5 กลีบ ดอกแรกบานจะมีสีขาวอมเหลือง ขางนอกเปนสีเขียวออน ผลเปนฝกรูปทรงกระบอก ผิวฝกขรุขระ ฝกแกเต็มที่ จะแตกออกเปนรอง เมล็ดเปนรูปยาว เนือ้ ไมสขี าวนวลถึงขาวออน เสีย้ นตรง เนือ้ ละเอียดมาก เหนียว ใชทาํ เครือ่ งกลึง เครือ่ งเลนสําหรับเด็ก เครือ่ งเขียน ตะเกียบ ไมบผุ นังหอง เปลือกใชรกั ษาโรคไต ทําใหเจริญอาหาร รักษาธาตุใหปกติ ทําประจําเดือนสตรีปกติ แกพษิ สัตวกดั ตอย ฆาเชื้อรํามะนาด ดอกเปนยาระบาย พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

69


พิกุล พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดลพบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Bullet wood Mimusops elengi L. SAPOTACEAE กุน (ภาคใต), แกว (ภาคเหนือ), ซางดง (ลําปาง), พิกุลปา (สตูล), พิกุลเขา พิกุลเถื่อน (นครศรีธรรมราช), พิกุล (ทั่วไป)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูง 10–25 เมตร แผกิ่งกานสาขาออกเปน พุมกวางตรงสวนยอดของลําตน ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไขหรือรูปรี ปลายใบแหลม หลังใบสีเขียวเขมเปนมันเลื่อม ขอบใบเปนคลื่น ดอกเปน ดอกเดี่ยว ออกเปนกระจุกทีซ่ อกใบ กลีบดอกสีขาวนวล กลีบรองดอกสีนาํ้ ตาล มีขนนุม กลิ่นหอม ออกดอกตลอดป ผลเปนผลสด รูปไข เมื่อสุกสีแดงอมสม เนื ้อ ไมใชใ นการกอ สราง ทําโครงเรือเดินทะเล เครื ่อ งมือการเกษตร เปลือกคั้นเอาน้ํากลั้วปาก ใชรักษาไข ปวดหัวเจ็บคอ รักษาเหงือกและฟน ดอกแหงใชรักษาไข ปวดหัว เจ็บคอ เมล็ดตําใหละเอียดทําเปนยาเม็ด สําหรับสวนเวลาทองผูก ผลสุกรับประทานได ปลูกเปนไมประดับและไมใหรม

ประโยชน

70

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


ขะจาว พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดลําปาง

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Indian elm Holoptelea integrifolia Planch. ULMACEAE กระเจา กระเชา (ภาคกลาง), กระเจาะ ขะเจา (ภาคใต), กระเชา (กาญจนบุร)ี , กะเซาะ (ราชบุร)ี , กาซาว (เพชรบุร)ี , ขะจาวแดง ฮังคาว (ภาคเหนือ), ตะสีแ่ ค (กะเหรีย่ ง-แมฮอ งสอน), พูคาว (นครพนม), มหาเหนียว (นครราชสีมา), ฮางคาว (อุดรธานี, เชียงราย, ชัยภูมิ), ขะจาว (ทั่วไป) ไมยืนตนสูง 25 เมตร ผลัดใบ ลําตนเปลาตรงเปลือกสีน้ําตาลปนเทา มีตอม ระบายอากาศเปนจุดกลมเล็ก ๆ สีขาวมองเห็นไดงาย เรือนยอดเปนพุมรูป ไขกวางคอนขางทึบ ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ แผนใบรูปรีปอม โคนใบมน หรือปาน ปลายใบเรียวแหลม กานใบมีขน ออกดอกเปนกระจุกตามงามใบ ดอกขนาดเล็ก แยกเพศเปนดอกเพศผูและดอกเพศเมีย ออกดอกชวงเดือน ธันวาคม-มกราคม ผลเปนรูปโลแบน มีปกบางลอมรอบ มีกานเกสรเพศเมีย 2 อันติดอยูสวนบนสุด บริเวณปกมีลายเสนออกเปนรัศมีโดยรอบ ไม ใช ทําสิ่งกอ สราง ที ่อ ยูในรม ทํ า เครื่องมือการเกษตร พานทายป น เปลือกทํายารักษาเรื้อนของสุนัข กันตัวไร และเปนยาแกปวดตามขอ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

71


จามจุรี พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดลําพูน

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Rain Tree, East Indian Walnut, Monkey Pod Samanea saman (Jacq.) Merr. LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE กามกราม กามกุง กามปู จามจุรี (ภาคกลาง), ฉําฉา ลัง สารสา สําสา (ภาคเหนือ), ตุดตู (ตาก), เสคุ เสดู (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน)

ลักษณะทั่วไป

ไมยนื ตนขนาดใหญสงู 10–20 เมตร เปลือกตนสีดําเปนเกล็ดโตแข็งสีเขียวเขม ใบเปนใบประกอบแบบขนนกคลายใบแคบ ปลายใบมน แกนกลางใบประกอบ และกานใบประกอบแยกแขนงตรงขามกัน บนแขนงมีใบยอยรูปไขหรือรูปรี หรือคลายรูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปยกปูน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ หลังใบเกลีย้ ง ออกดอกรวมเปนกระจุก สีชมพูออน โคนดอกสีขาว ออกตามงามใบ ใกลปลายกิ่ง วงนอกชอดอกมีขนาดเล็กกวาดอกวงใน ดอกวงนอกมีกานสั้น ดอกวงในไมมกี า น สวนบนมีขนหนาแนน ปลายหลอดกลีบดอกแยกเปน 5 แฉก ออกดอกชวงเดือนสิงหาคม-กุมภาพันธ ผลเปนฝกแบนยาว ฝกออนสีเขียว ฝกแกสีน้ําตาล เนื้อในนิ่มสีดํา รสหวาน เมล็ดสีน้ําตาลเขม ต นใช เลี ้ ยงครั่ ง ไมใชทํ าเครื ่ อ งเรือ น บุ ผ นั ง แกะสลั ก

ประโยชน

72

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


สนสามใบ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดเลย

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Kesiya pine, Khasiya pine Pinus kesiya Royle ex Gordon PINACEAE เกีย๊ ะเปลือกแดง (ภาคเหนือ), เกีย๊ ะเปลือกบาง (เชียงใหม), จวง (ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), เชี้ยงบั้ง (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), แปก (เงี้ยวแมฮองสอน-เพชรบูรณ), สนเขา สนสามใบ (ภาคกลาง) ไมยืนตนสูง 10–30 เมตร ลําต น เปลาตรง เรือ นยอดเป น พุ  มกลม เปลือกสีน้ําตาลอมชมพูออนลอนเปนสะเก็ด มียางสีเหลืองซึมออกมา ตามรอยแตก ใบเปนใบเดี่ยว ติดกันเปนกลุมละ 3 ใบ ออกเปนกระจุก เวียนสลับถี่ตามปลายกิ่ง ออกดอกเปนชอ แยกเพศ ชอดอกเพศผูสีเหลือง ติ ด กันเป นกลุ ม ใกลป ลายกิ ่ ง ออกดอกช ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน-มี น าคม ผลออกรวมกันเปนกลุมเรียกวา Cone (โคน) รูปไข สีน้ําตาล มีเมล็ด จํานวนมาก ไมใชในการกอสราง ทําเยื่อกระดาษ ยางกลั่นเปนน้ํามัน และชันน้ํามัน ใชผสมยาถูนวด แกปวดเมื่อย ทําน้ํามันชักเงา ชันใชผสมยารักษาโรค

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

73


ลําดวน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดศรีสะเกษ

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Devil Tree, White Cheese wood Melodorum fruticosum Lour. ANNONACEAE ลําดวน (ภาคกลาง), หอมนวล (ภาคเหนือ)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนขนาดกลางสูง 3–8 เมตร ลําตนเรียบ ใบเปนใบเดี่ยว แผนใบยาวรี โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเปนคลืน่ เล็กนอย หลังใบเปนมันสีเขียวเขม ท องใบสี อ อนกวา ดอกเปน ดอกเดี่ ย ว ออกตามง า มใบและส ว นยอด สี เหลื อง กลิ่ น หอม กลีบ ดอกและกลี บรองดอกคล า ยกัน ดอกหนึ่ ง มีอยู  6 กลีบ แบงเปน 2 ชั้นชั้นละ 3 กลีบ กลีบแตละกลีบชั้นในจะมี ขนาดเล็กกวาและโคงกวา ปลายกลีบแหลม ออกดอกชวงเดือนตุลาคม ผลสีเขียวออน ยาว ปลายมน โคนผลแหลม ผิวเรียบเกลี้ยง ปลู ก เปน ไมป ระดับ

ประโยชน

74

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


อินทนิลนํ้า พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสกลนคร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Queen’s Flower, Queen’s Crape Myrtle, Pride of India Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. LYTHRACEAE ฉวงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี),ตะแบกดํา (กรุงเทพฯ),บางอ บะซา (มลายูยะลา, นราธิวาส), บาเอ บาเย (ปตตานี), อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลนํ้า (ภาคกลาง, ภาคใต)

ลักษณะทั่วไป

ไม ย ื น ต น สู ง 10–15 เมตร ลํ าต น เปลาตรง เรื อ นยอดเป น พุ  ม กลม เปลือกนอกสีเทา ใบเปนใบเดีย่ ว รูปรีหรือรูปไขแกมขอบขนาน ปลายใบมน ดอกยอยขนาดใหญ กลีบดอกสีชมพู สีมวงแกมชมพู หรือสีมวง ออกดอก ชวงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ผลเปนผลแหง มีขนาดใหญ ไมใชทําเสา เครื่องมือการเกษตร ใบแกเบาหวาน ลดความดัน

ประโยชน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

75


สะเดาเทียม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสงขลา

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

76

Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs MELIACEAE ตนเทียม ไมเทียม สะเดาชาง สะเดาเทียม สะเดาใบใหญ (ภาคใต) ไมยนื ตนสูงตรงไมมกี ง่ิ ขนาดใหญ เมือ่ อายุนอ ยเปลือกตนเรียบ เมือ่ อายุมาก เปลื อ กจะแตกเปนแผ น ล อ นสี เ ทาปนดํ า เรื อ นยอดเป น พุ  ม กลมทึ บ ใบเปนใบประกอบ ขอบใบหยักคลายฟนเลื่อย ใบเบี้ยวไมไดสัดสวน ปลายใบแหลมเปนติ่ง ฐานใบเบี้ยวไมเทากัน เนื้อใบหนา เกลี้ยง สีเขียว เปนมัน ออกดอกเปนชอตามงามใบหรือปลายกิ่ง ดอกบานสีขาว ออกดอก ชวงเดือนมีนาคม ผลทรงกลมรี ผลแกสีเขียว เมื่อสุกจะเปนสีเหลือง เปนไมโตเร็ว เนื้อไมคุณภาพดี ปลวกและมอดไมคอยทําลาย สามารถ นํามาใชประโยชนไดเกือบทุกสวน เนื้อไมใชทําเครื่องเรือน เครื่องแกะสลัก ดอกออนใชรับประทานได เมล็ ด นํ า มาสกั ด สารทํ า ยาฆ า แมลง เปลือก ตมทํายาแกบิด หรือทองรวง

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


กระซิก พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสตูล

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Black-wood Dalbergia parviflora Roxb. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ครี้ สรี้ (สุราษฏรธานี) ซิก (ภาคใต) ไมยืนตน บางครั้งรอเลื้อย ลําตนมีหนาม เปลือกสีเทา เรือนยอดมีลักษณะ ไมแนนอน ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ใบยอยเรียงสลับกันบนกานใบ ดอกขนาดเล็ก กลิ่นหอม ออกเปนชอตามปลายกิ่งหรืองามใบใกลยอด ออกดอกชวงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ผลเปนฝกแบน ขอบฝกบางคลายมีด เมล็ดรูปไตเรียงติดตามยาวของฝก ฝกแกจะไมแตกแยกจากกัน เนื้อไมใชทําเครื่องเรือน เครื่องกลึง แกะสลัก เครื่องดนตรี ลักษณะคลาย ไมชิงชัน น้ํามันจากเนื้อไมใชรักษาแผลเรื้อรัง เนื้อไมใชเปนยาแกไข แกนและรากมีกลิ่นหอมใชทําธูป

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

77


โพทะเล พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสมุทรปราการ

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

78

Portia Tree, Cork Tree, Tulip Tree, Rosewood of Seychelles, Coast Cotton Tree, Yellow Mallow Tree Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa MALVACEAE บากู (มลายู-นราธิวาส, ปตตานี), ปอกะหมัดไพร (ราชบุรี), ปอมัดไซ (เพชรบุรี), โพทะเล (ภาคกลาง) ไมยืนตนขนาดกลางสูง 10–15 เมตร เปลือกสีน้ําตาลออนอมชมพู ขรุขระ ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ แผนใบรูปหัวใจ ดอกสีเหลืองขนาดใหญ ออกตาม งามใบ ออกดอกชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ผลโตขนาด 4 ซ.ม. ผิวแข็ง เมล็ดเล็กยาวคลายเสนไหม เนื้อไมเหนียวแข็งทนทาน ไสกบไดงาย ขัดชักเงาไดดี ใชทําเครื่องเรือน กระดานพื้น ดามเครื่องมือ พาย แจว เปลือกตอกหมันเรือ ทําเชือก และสายเบ็ด

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


จิกทะเล พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสมุทรสงคราม

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Barringtonia asiatica (L.) Kurz LECYTHIDACEAE จิกเล (ทั่วไป), โคนเล (ภาคใต), อามุง (มลายู-นราธิวาส) ไมย ื นตนขนาดกลาง มีล ําต นสูง 10 เมตร แผ ก ิ่ ง ก า นสาขาไปทั ่ ว ต น กิ่งมีขนาดใหญ มีรอยแผลอยูทั่วไป เปนรอยแผลที่เกิดจากใบที่รวงหลน เปลือกตนมีสีน้ําตาลหรือสีเทา ใบเปนใบเดี่ยว สีเขียวเขมสลับกันไป ตามขอ ตน ผิวใบเกลี้ยงเปนมั น ขอบใบเรี ย บ ออกดอกเป น ช อ สั ้ น ๆ อยูตามปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว เกสรสีชมพูอยูตรงกลาง ออกดอกชวง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ผลขนาดใหญ โคนเปนสี่เหลี่ยมปาน ปลายสอบ ทรงพุมใบเปนมันสวยงาม ดอกมีกลิ่นหอม ใหรมเงา ปลูกประดับในพื้นที่ กวาง ทนนํ้าทวม เปลือกและเนื้อของผลใชเบื่อปลา ในเมล็ดและลําตนมี สารซาโปนิน ใชทํายาเบื่อปลาและยานอนหลับ เปนยาเสพติด และชวยให นอนหลับ ผล เปลือก ใบ บรรเทาอาการปวดศีรษะ เมล็ดขับพยาธิ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

79


สัตบรรณ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสมุทรสาคร

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

80

White Cheesewood Alstonia scholaris (L.) R. Br. APOCYNACEAE กะโนะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), จะบัน (เขมร-ปราจีนบุรี), ชบา ตีนเปด พญาสัตบรรณ (ภาคกลาง), ตีนเปดขาว (ยะลา), บะซา ปูแล ปูลา (มลายูปตตานี), ยางขาว (ลําปาง), สัตตบรรณ (ภาคกลาง, เขมร-จันทบุรี) หัสบัน (กาญจนบุรี) ไม ย ืนต นขนาดใหญ ลํ า ต นเปนพู พอน เปลื อ กสี เ ทาดํ า มี ย างสี ข าว ใบเดี่ยวออกเปนวงรอบๆขอ แผนใบเปนรูปไขกลับ ปลายใบมนเวาเล็กนอย เสนใบถี่ขนานกัน ออกดอกเปนกระจุกชอใหญสีขาวที่ปลายกิ่ง กานชอดอก ออกซ อ นกันเหมื อ นฉัต รประมาณ 2–3 ชั ้ น กลิ่นหอม ผลเปนฝกยาว เหมือนถั่วฝกยาว เมื่อแกจัดจะแตกเปน 2 ซีก มีเมล็ดจํานวนมาก ลักษณะ เมล็ดเปนรูปขนานแบนๆ เนื้อไมสีขาวอมเหลืองออน เนื้อหยาบออนแตเหนียว ตบแตงงาย ทําหีบ ใสของ ลูกทุนอวน เปลือกใชรักษาโรคบิด แกหวัด หลอดลมอักเสบ เปนยาสมานลําไส ใบใชพอกดับพิษตางๆ ยางทํายารักษาแผลเนาเปอย

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะขามปอม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสระแกว

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Malccea Tree Phyllanthus emblica L. EUPHORBIACEAE กันโตด (เขมร-จันทบุร)ี , กําทวด (ราชบุร)ี , มะขามปอม (ทัว่ ไป), มัง่ ลู สันยาสา (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน) ไมยืนตนสูง 8–12 เมตร เปลือกตนสีน้ําตาลปนเทา ผิวคอนขางเรียบ เรือนยอดรูปรม ใบเปนใบประกอบแบบขนนกรูปขอบขนานติดเปนคู ขนาดเล็ก เรียงสลับ ออกดอกรวมกันเปนกระจุกตามงามใบ ดอกขนาดเล็กมาก สีเหลืองนวล ออกดอกชวงเดือนมกราคม-เมษายน ผลเปนผลสดทรงกลม อุม น้าํ สีเขียวออน คอนขางใส เนือ้ ไมใชทาํ เสาอาคารบานเรือน ทําเครือ่ งมือทางการเกษตร ทําฟน เผาถาน เปลือกและใบใหสีน้ําตาลแกมเหลือง ใชยอมผา ผลมีรสเปรี้ยวๆหวานๆ อมฝาด รับประทานแกกระหายน้ํา ใชเปนยาขับพยาธิ แกไอ หรือคั้นเอาน้ํา จากผล ใชหยอดตา รักษาเยื่อตาอักเสบ เปนอาหารของสัตวปา

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

81


ตะแบก พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสระบุรี

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

82

Lagerstroemia floribunda Jack LYTHRACEAE กระแบก (สงขลา), ตราแบกปรี้ (เขมร), ตะแบกไข (ราชบุร,ี ตราด), ตะแบกนา ตะแบก (ภาคกลาง, นครราชสีมา), บางอตะมะกอ (มลายู-ยะลา, ปตตานี), บางอยะมู (มลายู-นราธิวาส), เปอยนา (ลําปาง), เปอยหางคาง (แพร) ไมยืนตนผลัดใบสูง 15–30 เมตร เปลือกเรียบสีเทาอมขาว แตกลอน เปนหลุมตืน้ ใบเปนใบเดีย่ ว ออกตรงขามกัน แผนใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ปลายใบเปนติ่งแหลม โคนใบสอบ ดอกสีมวงอมชมพู ออกรวมกันเปนชอ ตามปลายกิ่ง ออกดอกชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ผลรูปรี เมล็ดมีปก เนือ้ ไมละเอียดแข็ง ใจกลางมักเปนโพรง ใชทาํ สิง่ ปลูกสรางทีร่ บั น้าํ หนัก และ เครือ่ งมือการเกษตร และนิยมปลูกเปนไมประดับ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะกลํ่าตน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสิงหบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Red Sandalwood Tree, Coralwood Tree Adenanthera pavonina L. LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE มะกล่ําตน มะกล่ําตาชาง (ทั่วไป), มะแคก หมากแคก (เงี้ยว-แมฮองสอน), มะแดง มะหัวแดง มะโหดแดง (ภาคเหนือ), บนซี (สตูล), ไพเงินกล่ํา (นครศรีธรรมราช), ไพ (มลายู-ภาคใต), มะกล่ําตาไก (ภาคเหนือ) ไมยนื ตนผลัดใบขนาดกลางสูงประมาณ 5–20 เมตร เรือนยอดเปนพุม กลม ยอดออนมีขนนิ่มสีน้ําตาลปนเทา ใบเปนใบประกอบ ออกดอกเปนชอ กลมยาว สีเหลือง มีกานดอกสั้น กลิ่นหอมเย็น ออกดอกชวงเดือนมีนาคม ถึงพฤษภาคม ผลเปนฝกแบน บิดงอคลายฝกมะขามเทศ เมล็ดสีแดงแบนกลม เนือ้ ไมไสกบ ตบแตงคอนขางยาก ใชในการกอสรางเกวียน ใบตมรับประทาน แกปวดขอ แกทอ งรวง และบิด เมล็ดบดเปนผงดับพิษ รักษาแผลทีเ่ กิดจาก หนอง และฝ ใบและเมล็ดแกรดิ สีดวงทวารหนัก

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

83


มะคาโมง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสุโขทัย

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

84

Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE เขง เบง (เขมร-สุรินทร), บิง (ชอง-จันทบุรี), ปน (ชาวบน-นครราชสีมา), มะคาโมง มะคาใหญ (ภาคกลาง), มะคาหลวง มะคาหัวคํา (ภาคเหนือ) ไมยืนตนขนาดใหญสูง 30 เมตร แตกกิ่งต่ํา เรือนยอดเปนพุมแผกวาง เปลือกสีน้ําตาลออนหรือชมพูอมน้ําตาล กิ่งออนมีขนคลุมบางๆ ใบเปน ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ รูปไขแกมขอบขนาน กานใบสัน้ ปลายใบมน เวาตื้นๆตรงกลาง ฐานใบมนหรือตัด ออกดอกเปนชอที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง สีเขียว 4 กลีบ กลีบดอกสีชมพู 1 กลีบ ออกดอกเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม ผลเปนฝกแบน เปลือกแข็งและหนา เนื้อไมน้ําตาลอมเหลืองออน แข็ง เหนียว ทนทาน ขัดและชักเงาไดดี ใชทํา เสา รอด ตง พื้นไมเครื่องบน ตอเรือ เครื่องกลึง พานทายปน ทํากลองโทน รํามะนา เปลือกทําน้าํ ฝาดสําหรับฟอกหนัง เมล็ดออน เนือ้ ในรับประทานได

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะเกลือ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสุพรรณบุรี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Ebony Tree Diospyros mollis Griff. EBENACEAE ผีเผา (เงี้ยว-ภาคเหนือ), มะเกลื้อ (ทั่วไป), มักเกลือ หมักเกลือ มะเกลือ (ตราด), มะเกีย มะเกือ (พายัพ-ภาคเหนือ), เกลือ (ภาคใต) ไมยืนตนขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ เปลือกเปนรอยแตก กิ่งออนมีขนนุม ประปราย ใบขนาดเล็ก รูปไขหรือรูปรี ปลายสอบแคบเขาหากัน สวนโคนใบ กลมมน เนือ้ ใบบางเกลีย้ ง ทองใบเห็นเสนใบชัด ออกดอกเปนชอตามงามใบ ดอกเพศผูและเพศเมียอยูตางตนกัน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเปนรูปถวย ผลเปนผลสดทรงกลม ผลออนมีเปลือกสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเปนสีดํา เนื้อไม กระพี้ ออกสีขาว ทิ้งไวนานออกสีดํา แกนสีดํา มีน้ําหนักมากที่สุด ในบรรดาไมทข่ี น้ึ อยูใ นประเทศไทย แข็งแรงทนทานมาก ใชทาํ เครือ่ งเรือน เครื่องใชอยางดี เครื่องดนตรี ผลใหสีดําสําหรับยอมผา ยอมไหม รากฝน ผสมน้ําซาวขาวดื่มแกอาเจียน และหนามืดเปนลม เปลือกใชเปนยากันบูด ผลดิบขับพยาธิตวั ตืด และพยาธิปากขอ ใชผลสดเทาอายุ แตไมเกิน 25 ผล โคลกแลวคัน้ เอาน้าํ ผสมน้าํ นม 1 ถวยชา กรองเอาน้าํ ดืม่ กอนอาหาร พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

85


เคี่ยม พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสุราษฎรธานี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

86

Resak tembaga Cotylelobium melanoxylon (Hook.f) Pierre DIPTEROCARPACEAE เคี่ยม (ทั่วไป), เคี่ยมขาว เคี่ยมดํา เคี่ยมแดง (ภาคใต) ไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญสูง 20–40 เมตร เรือนยอดเปนพุมทึบ ทรงเจดียต่ําๆ ลําตนตรง เปลือกเรียบสีน้ําตาลเขม มีรอยดางสีเทาและ เหลืองสลับ มีตอมระบายอากาศกระจายทั่วไป ตามยอดออนและชอดอก มีขนสีน้ําตาลปกคลุม ใบเดีย่ วเรียงสลับ รูปไข เนือ้ ใบหนา ปลายใบสอบเรียว โคนใบมน หลังใบเรียบมัน ทองใบมีขนสีนาํ้ ตาลปนเหลืองเปนกระจุก ดอกสีขาว ออกเปนชอยาวตามปลายกิ่งและงามใบ กลิ่นหอมออนๆ ออกดอกชวง เดือนกรกฎาคม-ตุลาคม ผลแหงทรงกลม มีขนนุม ปกขาว ยาว 2 ปก สัน้ 3 ปก เนือ้ ไมละเอียด แข็ง เหนียว หนัก ทนทานมาก ใชในน้าํ ทนทานดี ใชทาํ เรือ สะพาน งานกอสรางทีต่ อ งการความแข็งแรงมากๆ เปลือกใชเปนยาลางแผล หามเลือด แผลสด ชันเปนยาสมานแผล แกทองรวง ใชผสมน้ํายาทาไม และน้ํามันชักเงา

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


มะคาแต พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดสุรินทร

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Sindora siamensis Teijsm. & Miq. LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE กรอกอส (เขมร-พระตะบอง), กอเกาะ, กาเกาะ (เขมร-สุรินทร) กอกกอ (ชาวบน-นครราชสีมา), แต (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), มะคาแต (ทั่วไป), มะคาหนาม (ภาคกลาง, ภาคเหนือ), มะคาหยุม (ภาคเหนือ) ไมยืนตนผลัดใบสูง 10–25 เมตร เปลือกสีเทาคล้ําแตกเปนสะเก็ดเล็กๆ เรือนยอดแผรูปเจดียต่ํา ใบเปนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอย เรียงตรงขามกัน แผนใบรูปรี ปลายใบและโคนใบมน ผิวใบดานลางมีขนสั้น ดอกขนาดเล็ก สีเหลือง ออกรวมกันเปนชอตามปลายกิ่ง ผลเปนฝกรูปโล ผิวฝกมีหนามแหลมแข็งแตกเมื่อแหง เนือ้ ไมคอ นขางหยาบ แข็งแรง ทนทาน ทนมอดปลวกไดดี แตไสกบตบแตงยาก ใชกอ สรางและเครือ่ งมือการเกษตร ไถ คราด และสวนประกอบของเกวียน ฝก และเปลือก ใหนาํ้ ฝาดสําหรับฟอกหนัง

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

87


ชิงชัน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดหนองคาย

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

88

Rosewood Dalbergia oliveri Gamble ex Prain LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ชิงชัน ประดูชิงชัน (ภาคกลาง), ดูสะแดน (เหนือ) ไมยืนตนผลัดใบสูง 15–25 เมตร เปลือกสีน้ําตาลอมเทาลอนเปนแวน ใบเปนใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอยเรียงสลับ แผนใบรูปรี แกมรูปไข โคนใบและปลายใบมน ทองใบสีจางกวาหลังใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาวแกมมวง ผลเปนฝกแบน รูปหอก หัวทายแหลม เนือ้ ไมแข็ง เหนียว มีความทนทานมาก ใชทาํ เครือ่ งเรือน สวนประกอบเกวียน พานทายปน เครือ่ งดนตรี เชน ขลุย ซอ จระเข ลูกระนาด กลองโทน รํามะนา กรับ ขาฆองวง

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


พะยูง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดหนองบัวลําภู

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Siamese Rosewood Dalbergia cochinchinensis Pierre LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE กระยง กระยูง (เขมร-สุรินทร), ขะยูง (อุบลราชธานี), แดงจีน (ปราจีนบุรี), ประดูตม (จันทบุรี), ประดูลาย (ชลบุรี), ประดูเสน (ตราด), พะยูง (ทั่วไป), พะยูงไหม (สระบุรี)

ลักษณะทั่วไป

ไมยืนตนผลัดใบสูง 15–20 เมตร เปลือกสีเทาเรียบ เรือนยอดทรงกลม หรือรูปไข เนื้อไมสีน้ําตาลออน แกนสีแดงอมมวงถึงสีเลือดหมูแก มีริ้วดํา ใบเปนใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียงสลับ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ หลังใบสีเขียวเขม ทองใบสีจาง ลักษณะคลายใบประดู ดอกขนาดเล็ก สีขาว กลิ่นหอมออน ออกรวมกันเปนชอตามงามใบและตามปลายกิ่ง ออกดอกชวงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ผลเปนฝกรูปขอบขนานแบบบาง บริเวณที่หุมเมล็ด เมล็ดรูปไตสีนํา้ ตาลเขม เนื้อไมสีแดงอมมวง ถึงแดงเลือดหมูแก เนื้อละเอียด แข็งแรงทน ขัดและ ชักเงาไดดี ใชทําเครื่องเรือน เกวียน เครื่องกลึง แกะสลัก ทําเครื่องดนตรี เชน ซอ ขลุย ลูกระนาด

ประโยชน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

89


มะพลับ พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดอางทอง

90

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. var.siamensis (Hochr.) Phengklai EBENACEAE ตะโกสวน (เพชรบุรี), มะพลับ (ภาคกลาง) ไมยืนตนสูง 8–15 เมตร ลําตนเปลาตรง เปลือกสีเทาปนดํา เปลือกชั้นใน สี น ้ ําตาลปนแดง เรือนยอดรูปทรงกลมทึ บ ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอกขนาดเล็ก สีขาวหรือเหลืองออน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ-พฤษภาคม ผลเปนผลสดคอนขางกลม

ประโยชน

เนือ้ ไมใชทาํ เครือ่ งมือทางการเกษตร เครือ่ งกลึงและแกะสลัก เปลือกใหนาํ้ ฝาด สําหรับฟอกหนัง ผลดิบใหสนี าํ้ ตาลใชยอ มผา แหและอวน ผลแกรบั ประทานได เปลือกตมรับประทานแกบดิ แกทอ งรวง เปนยาสมานแผลและหามเลือด

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


รัง พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดอุดรธานี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ

Burmese sal, Ingyin Shorea siamensis Miq. DIPTEROCARPACEAE

ชื่ออื่น

เปา เปาดอกแดง (ภาคเหนือ), รัง (ภาคกลาง), เรียง เรียงพนม (เขมร-สุรนิ ทร), ลักปาว (ละวา-เชียงใหม), แลบอง เหลทอ เหลบอง (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), ฮัง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

ลักษณะทั่วไป

ไมยนื ตนผลัดใบสูง 15–20 เมตร เปลือกตนสีเทา แตกเปนรองตามความยาว ลําตน ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ แผนใบรูปไข ปลายใบมน โคนใบหยักเวา ดอกสีเหลืองออกเปนชอ กลิ่นหอมออน ออกดอกเดือนมีนาคมถึงเมษายน ผลรูปกระสวย มีปกยาว 3 ปก ปกสั้น 2 ปก เนื้อไมคอนขางแข็ง ใชกอสรางสวนที่ตองการความแข็งแรง และทําเครือ่ งมือ การเกษตร

ประโยชน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

91


สัก พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดอุตรดิตถ

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

92

Teak Tectona grandis L.f. LABIATAE เคาะเยียโอ (ละวา-เชียงใหม), ปายี้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), บีอี ปฮือ เป อยี (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน), สัก (ทั่วไป), เสบายี้ (กะเหรี่ยง-กําแพงเพชร) ไมยืนตนขนาดใหญสูงถึง 50 เมตร โตเร็ว ผลัดใบในฤดูรอน สวนที่ยังออน มีขน เปลือกเรียบหรือแตกเปนรองเล็กๆ สีเทา ใบเปนใบเดีย่ วมีขนาดใหญมาก เรียงตรงขาม รูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน เนื้อใบสากคาย สีเขียวเขม ทองใบสีออนกวา มีตอมเล็กๆ สีแดง ดอกเปนชอใหญ ออกที่ปลาย กิ่งและซอกใบบริเวณปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาวเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้น ออกดอกเดือนมิถุนายน-ตุลาคม ผลเปนผลสดคอนขางกลม มีขนละเอียด หนาแนน กลีบเลี้ยงขยายตัวหุมผลไวดานใน เนือ้ ไมลายสวยงาม แข็งแรงทนทาน เลือ่ ยผา ไสกบ ตบแตง และชักเงาไดงา ย และดีมาก ใชในการกอสรางเครือ่ งเรือน ปลวก มอด ไมชอบทําลาย เพราะมี สารพวกเตคโตคริโนน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


สะเดา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดอุทัยธานี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

Neem Tree Azadirachta indica Juss. var. siamensis Valeton MELIACEAE กะเดา (ภาคใต), จะตัง (สวย), สะเดา (ภาคกลาง), สะเลียม (ภาคเหนือ), สะเดาบาน (ทั่วไป) ไมยนื ตนผลัดใบสูง 20 เมตร เปลือกสีเทาอมน้าํ ตาล เรือนยอดเปนพุม กลมทึบ ใบเปนใบประกอบแบบขนนก ออกสลับ ใบยอยเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว ขอบใบจักไมเปนระเบียบ ดอกสีขาวนวล ออกเปนชอใหญตามปลายกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู 10 อัน โคนกานดอกติดกันเปนหลอด ออกดอกเดือนธันวาคม-มกราคม ผลเปนผลสดกลมรี ผิวบาง มีเนื้อฉ่ําน้ํา ผลแกสีเหลือง เนือ้ ไมใชในการกอสรางบานเรือน เปลือกของรากเปนยาแกไข ทําใหอาเจียน ใบออนและดอกกินไดแทนผัก เปนยาบํารุงธาตุ ผลใชเปนยาถายพยาธิ ใชทํายากําจัดศัตรูพืช และเปนยาฆาเชื้อ

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

93


ยางนา พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดอุบลราชธานี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

ลักษณะทั่วไป

ประโยชน

94

Yang Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don DIPTEROCARPACEAE กาตีล (เขมร-ปราจีนบุร)ี , ขะยาง (ชาวบน-นครราชสีมา), เคาะ (กะเหรีย่ งเชียงใหม), จะเตียล (เขมร), ชันนา ยางตัง (ชุมพร), ทองหลัก (ละวา), ยาง ยางขาว ยางแมนาํ ยางหยวก ยางนา (ทัว่ ไป), ยางกุง (ลาว), ยางควาย (หนองคาย), ยางเนิน (จันทบุร)ี , ราลอย (สวยสุรนิ ทร), ลอยด (โซ-นครพนม) ไมยืนตนขนาดใหญสูงถึง 40 เมตร ไมผลัดใบ ลําตนเปลาตรง เปลือก เรียบหนา สีเทา โคนตนมีพูพอน เรือนยอดเปนพุมกลม ใบเปนใบเดี่ยว รูปไขแกมรูปหอกกวาง ปลายใบสอบเรียว เนือ้ ใบหนา ดอกสีชมพู ออกเปน ชอสั้นๆ สีน้ําตาล กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนกลีบประสานเหลื่อมกัน ปลายกลีบบิดเวียนตามกันแบบกังหัน เกสรเพศผูม ี 25 อัน รังไขมี 3 ชอง ออกดอกระหวางเดือนมีนาคม-เดือนพฤษภาคม ผลเปนผลแหงทรงกลม มีครีบตามยาว 5 ครีบ ปกยาว 2 ปก ไมใชในการกอสรางอาคารบานเรือน เมื่ออาบนํ้ายาถูกตองจะทนทานขึ้น นํ้ามันใชทาไมยาแนวเรือ ใชเดินเครื่องยนตแทนนํ้ามันขี้โล ทํานํ้ามันใสแผล แกโรคเรื้อน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


ตะเคียนหิน พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัดอํานาจเจริญ

ชื่อวิทยาศาสตร วงศ ชื่ออื่น

Hopea ferrea Laness. DIPTEROCARPACEAE ตะเคียนทราย (ตราด, ตรัง), ตะเคียนหิน (ภาคใต), ตะเคียนหนู (นครราชสีมา), เหลาเตา (สุราษฎรธานี, นครศรีธรรมราช)

ลักษณะทั่วไป

ไมยนื ตนผลัดใบ สูง 15–30 เมตร เปลือกสีนาํ้ ตาลแกแตกเปนสะเก็ด เรือนยอด เปนพุม กลมหรือรูปกรวยแหลม กิง่ ออนมีขนประปราย ใบเดีย่ วเรียงสลับ รูปไข ปลายเปนติง่ ทู โคนมน ดอกเล็ก สีขาวหรือขาวปนเหลืองออน ออกเปนชอสัน้ ๆ ตามงามใบและปลายกิง่ ออกดอกระหวางเดือนกันยายน-ธันวาคม ใชทาํ เครือ่ งเรือน ตอเรือชุด ทนทานและแข็งแรงมากในกลางแจง ดอกใชเขายา เปนเกสรรอยแปด ตมน้าํ จากเปลือกใชลา งแผล ผสมกับเกลืออมปองกันฟนผุ เนือ้ ไมใชเปนสวนประกอบ ทํายารักษาโรคเลือดลมไมปกติ แกกระษัย

ประโยชน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

95


ดัชนีพันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด พันธุไมมงคล พระราชทาน

96

จังหวัด

หนา

พันธุไมมงคล พระราชทาน

จังหวัด

หนา

ทุงฟา

กระบี่

20

สาธร

นครราชสีมา

40

ไทรยอยใบแหลม

กรุงเทพมหานคร

21

แซะ

นครศรีธรรมราช

41

ขานาง

กาญจนบุรี

22

เสลา

นครสวรรค

42

มะหาด

กาฬสินธุ

23

นนทรีบาน

นนทบุรี

43

สีเสียดแกน

กําแพงเพชร

24

ตะเคียนชันตาแมว นราธิวาส

44

กัลปพฤกษ

ขอนแกน

25

กําลังเสือโครง

นาน

45

จัน

จันทบุรี

26

กาฬพฤกษ

บุรีรัมย

46

นนทรีปา

ฉะเชิงเทรา

27

ทองหลางลาย

ปทุมธานี

47

ประดูปา

ชลบุรี

28

เกด

ประจวบคีรีขันธ

48

มะตูม

ชัยนาท

29

โพศรีมหาโพ

ปราจีนบุรี

49

ขี้เหล็กบาน

ชัยภูมิ

30

ตะเคียนทอง

ปตตานี

50

มะเดื่อชุมพร

ชุมพร

31

หมัน

พระนครศรีอยุธยา

51

กาสะลองคํา

เชียงราย

32

สารภี

พะเยา

52

ทองกวาว

เชียงใหม

33

เทพทาโร

พังงา

53

ศรีตรัง

ตรัง

34

พะยอม

พัทลุง

54

หูกวาง

ตราด

35

บุนนาค

พิจิตร

55

แดง

ตาก

36

ปบ

พิษณุโลก

56

สุพรรณิการ

นครนายก

37

หวา

เพชรบุรี

57

จันทนหอม

นครปฐม

38

มะขาม

เพชรบูรณ

58

กันเกรา

นครพนม

39

ยมหิน

แพร

59

ดัชนีพันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด


พันธุไมมงคล พระราชทาน

จังหวัด

พันธุไมมงคล พระราชทาน

หนา

จังหวัด

หนา

ประดูบาน

ภูเก็ต

60

โพทะเล

สมุทรปราการ

78

พฤกษ

มหาสารคาม

61

จิกทะเล

สมุทรสงคราม

79

ชางนาว

มุกดาหาร

62

สัตบรรณ

สมุทรสาคร

80

กระพี้จั่น

แมฮองสอน

63

มะขามปอม

สระแกว

81

โสกเหลือง (ศรียะลา) ยะลา

64

ตะแบก

สระบุรี

82

กระบาก

ยโสธร

65

มะกล่ําตน

สิงหบุรี

83

กระบก

รอยเอ็ด

66

มะคาโมง

สุโขทัย

84

อบเชย

ระนอง

67

มะเกลือ

สุพรรณบุรี

85

สารภีทะเล

ระยอง

68

เคี่ยม

สุราษฏรธานี

86

โมกมัน

ราชบุรี

69

มะคาแต

สุรินทร

87

พิกุล

ลพบุรี

70

ชิงชัน

หนองคาย

88

ขะจาว

ลําปาง

71

พะยูง

หนองบัวลําภู

89

จามจุรี

ลําพูน

72

มะพลับ

อางทอง

90

สนสามใบ

เลย

73

รัง

อุดรธานี

91

ลําดวน

ศรีสะเกษ

74

สัก

อุตรดิตถ

92

อินทนิลน้ํา

สกลนคร

75

สะเดา

อุทัยธานี

93

สะเดาเทียม

สงขลา

76

ยางนา

อุบลราชธานี

94

กระซิก

สตูล

77

ตะเคียนหิน

อํานาจเจริญ

95

ดัชนีพันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด

97


เอกสารอางอิง กรมปาไม. 2552. พรรณไมในพุทธประวัติ. สํานักจัดการปาชุมชน กรมปาไม, กรุงเทพฯ. กรมปาไม. ม.ป.ป.ตนไมในพุทธประวัติ. สํานักสงเสริมการปลูกปา กรมปาไม. ชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, กรุงเทพฯ. กรมปาไม. ม.ป.ป. พันธุไมมงคลพระราชทาน 76 จังหวัด. สํานักจัดการปาชุมชนกรมปาไม, กรุงเทพฯ. นิรนาม. ม.ป.ป. ตนไมมงคล 9 ชนิด ของไทยเรา. แหลงที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/472336 วันที่ 25 มีนาคม 2556 นิรนาม. ม.ป.ป. ฐานขอมูลพันธุไม องคการสวนพฤกษศาสตร. แหลงที่มา : http://www.qsbg.org/Database/BOTANIC_Book%20full%20 option/Search_page.asp วันที่ 25 มีนาคม 2556 นิรนาม. ม.ป.ป. The Plant List : A working list of all plant species. แหลงที่มา : www.theplantlist.org วันที่ 4 เมษายน 2556

98

เอกสารอางอิง


คณะผูจัดทํา จัดทําโดย สํานักจัดการปาชุมชน กรมปาไม พิมพ จํานวน 4,500 เลม สําหรับเผยแพร หามจําหนาย ที่ปรึกษา 1. นายบุญชอบ สุทธมนัสวงษ อธิบดีกรมปาไม 2. นายเริงชัย ประยูรเวศ รองอธิบดีกรมปาไม 3. นายประยุทธ หลอสุวรรณศิริ รองอธิบดีกรมปาไม 4. นายประลอง ดํารงคไทย ผูอํานวยการสํานักจัดการปาชุมชน 5. นางนันทนา บุณยานันต รักษาการในตําแหนงผูเชี่ยวชาญ เฉพาะดานจัดการปาชุมชน บรรณาธิการ 1. นายประลอง ดํารงคไทย ผูอํานวยการสํานักจัดการปาชุมชน เรียบเรียง 1. นายสัมพันธ มีสิทธิ์ 2. นางสาวบุษกร ประดิษฐเขียน

นักวิชาการปาไมชํานาญการ นักวิชาการปาไม

คณะผูจัดทํา

99


บันทึก

100

บันทึก


บันทึก

บันทึก

101


บันทึก

102

บันทึก


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.