รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสตูล

Page 1

รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสตูล ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557)

สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล อาคารศาลากลางจังหวัดสตูล (ชั้น 2) ตําบลพิมาน อําเภอเมือง จังหวัดสตูล โทรศัพท์ : 074-711189-90 โทรสาร : 074-711190


คํานํา สํ า นั ก งานแรงงานจั ง หวั ด สตู ล ได้ จั ด ทํ า รายงานสถานการณ์ แ รงงานไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอข้อมูลแรงงานและเศรษฐกิจ และวิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานของจังหวัดสตูล เพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้านแรงงานของจังหวัดสตูล และเป็นการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้แก่หน่วยงานต่างๆ และประชาชนทั่วไป อันจะทําให้หน่วยงานต่างๆ และผู้สนใจ สามารถนําไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณาวางแผนพัฒนากิจการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ รวมทั้งส่งเสริมระบบข้อมูลแรงงานจังหวัดสตูลให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สํ า นั ก งานแรงงานจั ง หวั ด สตู ล ขอขอบคุ ณ หน่ ว ยงานสั ง กั ด กระทรวงแรงงานในจั ง หวั ด สตู ล ส่ว นราชการต่า งๆ ที ่ใ ห้ก ารสนับ สนุน ข้อ มูล และหวัง เป็น อย่า งยิ ่ง ว่า เอกสารฉบับ นี ้จ ะเป็น ประโยชน์ ต่อหน่วยงาน และประชาชนที่สนใจ และเพื่อให้เอกสารฉบับนี้มีความสมบูรณ์ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ดี ยิ่ง ขึ้น สํา นัก งานแรงงานจัง หวัด สตูล ยิน ดีรับ ฟัง ข้อ คิด เห็น และข้อ เสนอแนะ เพื่อนําไปพิจารณาปรับปรุง รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป

สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล พฤษภาคม 2557


สารบัญ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 1

สภาพทั่วไปจังหวัด ที่ตั้งและอาณาเขต แผนทีจ่ ังหวัดสตูล คําขวัญประจําจังหวัด วิสัยทัศน์จังหวัด ขนาดพื้นที่จังหวัด ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ การแบ่งเขตการปกครอง ผู้สูงอายุในจังหวัด สถานประกอบกิจการในจังหวัด การบริหารราชการ สังคมและวัฒนธรรม

4 4 4 4 4 5 5 5 5 6 7 7 8

สภาพเศรษฐกิจจังหวัด รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดสตูล ดัชนีราคาผู้บริโภค การจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหม่

9 9 11 13

ตัวชี้วัดภาวะแรงงาน อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงาน อัตราการมีงานทํา อัตราการว่างงาน อัตราการเปลี่ยนแปลงของจํานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33) ผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน และผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีเลิกจ้าง อัตราการบรรจุงาน อัตราการจ้างงานแรงงานต่างด้าว อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมาย ความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบการ อัตราการเกิดข้อพิพาทแรงงาน/ข้อขัดแย้งในสถานประกอบการ อัตราแรงงานที่เป็นผู้ประกันตน

14 14 15 17 18 19 20 20 21 21


สารบัญ (ต่อ) หน้า สถานการณ์แรงงานจังหวัดสตูล กําลังแรงงาน การมีงานทํา การว่างงาน การส่งเสริมการมีงานทํา - การจัดหางานภายในประเทศ - ตําแหน่งงานว่าง - แรงงานต่างด้าว - การคาดประมาณกําลังแรงงาน-ผู้สําเร็จการศึกษา - แรงงานไทยในต่างประเทศ - การแนะแนวและการส่งเสริมการมีอาชีพ - การส่งเสริมคนพิการให้มีงานทํา การพัฒนาศักยภาพแรงงาน การคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการ - การตรวจแรงงาน - การประสบอันตราย/เจ็บป่วยจากการทํางาน - การสวัสดิการแรงงาน - การเลิกจ้างแรงงาน การประกันสังคม

22 22 29 29 30 35 36 39 39 39 41 41 41 44 46 46 46

ตารางภาคผนวก

48


สารบัญตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง ตาราง

1 2 3 4 5

การแบ่งเขตการปกครองจังหวัดสตูล แยกตามอําเภอ จํานวนประชากรและความหนาแน่นของประชากร ณ เดือนมีนาคม 2557 จํานวนประชากรในเขตเทศบาล ผูส้ งู อายุในจังหวัด จํานวนสถานประกอบกิจการจังหวัดสตูล แยกตามขนาดสถานประกอบการ และอําเภอ 6 อัตราขยายตัวและโครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล (GPP) 7 ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทของดัชนีและหมวดสินค้า เดือนมีนาคม 2557 8 ประชากรจังหวัดสตูล จําแนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน ไตรมาส 3 ปี 2556 9 การขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนมาตรา 40 จําแนกตามประเภท ประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) 10 แสดงจํานวนตําแหน่งงานว่างและการบรรจุงานจังหวัดสตูล จําแนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 11 กิจกรรมทีด่ ําเนินการเพื่อส่งเสริมการมีงานทําในจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทกิจกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 12 จํานวนผู้พิการจังหวัดสตูล แยกตามอําเภอและประเภทความพิการ วันที่ 31 มีนาคม 2557 13 การรับผู้พิการเข้าทํางานในสถานประกอบการจังหวัดสตูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 14 เปรียบเทียบจํานวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่ผ่านการตรวจในจังหวัดสตูล ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 15 เปรียบเทียบการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการ จําแนกตามขนาด สถานประกอบการ ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 16 เปรียบเทียบการตรวจความปลอดภัยกับการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย ความปลอดภัย ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 17 ผลการตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภท อุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 18 จํานวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมในจังหวัดสตูล ณ เดือนมีนาคม 2557

หน้า 5 6 6 6 7 10 12 23 29 33 39 40 40 42 43 43 44 47


สารบัญแผนภูมิ หน้า แผนภูมิ 1 จํานวนการจดทะเบียนของนิติบุคคลตั้งใหม่จงั หวัดสตูล จําแนกตามหมวดธุรกิจ ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 2 อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงาน ไตรมาส 3 ปี 2556 แผนภูมิ 3 อัตราการจ้างงานใน/นอกภาคเกษตรจังหวัดสตูล แผนภูมิ 4 อัตราการจ้างงานในอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดสตูล แผนภูมิ 5 อัตราการว่างงาน แผนภูมิ 6 อัตราการเปลี่ยนแปลงของจํานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33) ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน กรณีเลิกจ้างจังหวัดสตูล แผนภูมิ 7 อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัครงาน/ตําแหน่งงานว่างในจังหวัดสตูล แผนภูมิ 8 อัตราการจ้างงานแรงงานต่างด้าวในจังหวัดสตูล แผนภูมิ 9 อัตราแรงงานที่เป็นผู้ประกันตนจังหวัดสตูล แผนภูมิ 10 โครงสร้างประชากรจังหวัดสตูล ไตรมาส 3 ปี 2556 แผนภูมิ 11 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตรกรรม 3 อันดับแรก ไตรมาส 3 ปี 2556 แผนภูมิ 12 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 3 ปี 2556 (3 อันดับแรก) แผนภูมิ 13 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ ไตรมาส 3 ปี 2556 แผนภูมิ 14 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามสถานภาพการทํางาน ไตรมาส 3 ปี 2556 แผนภูมิ 15 ผูม้ ีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม นอกภาคเกษตร (3 อันดับแรก) ปี 2555 แผนภูมิ 16 จํานวนผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบในจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ปี 2555 แผนภูมิ 17 จํานวนผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบในจังหวัดสตูล จําแนกตามอายุ ปี 2555 แผนภูมิ 18 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบในจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษา ปี 2555 แผนภูมิ 19 จํานวนแรงงานนอกระบบที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมจังหวัดสตูล (มาตรา 40) แยกตามอําเภอ ระหว่างไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 20 เปรียบเทียบตําแหน่งงานว่าง/การสมัครงาน/การบรรจุงาน ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 21 ตําแหน่งงานว่างในจังหวัดสตูลแยกตามเพศ ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 22 ตําแหน่งงานว่าง/ผู้สมัครงาน/และการบรรจุงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามเพศ ไตรมาส 1 ปี 2557

13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 24 25 25 26 26 27 27 28 28 29 30 30


สารบัญแผนภูมิ (ต่อ) หน้า แผนภูมิ 23 ตําแหน่งงานว่าง/ผู้สมัครงาน/และผู้บรรจุงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษา ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 24 เปรียบเทียบข้อมูลตําแหน่งงานว่าง/ผู้สมัครงาน/การบรรจุงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 25 ตําแหน่งงานว่างแยกตามประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับแรก ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 26 การบรรจุงานจังหวัดสตูล จําแนกตามช่วงอายุ ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 27 แรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทการได้รับอนุญาต คงเหลือ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 แผนภูมิ 28 จํานวนลูกจ้าง/พนักงานปัจจุบันในจังหวัดสตูล ปี พ.ศ. 2556 จําแนกตามระดับฝีมือ แผนภูมิ 29 จํานวนลูกจ้าง/พนักงานปัจจุบันในจังหวัดสตูล ปี พ.ศ. 2556 จําแนกตามระดับการศึกษา แผนภูมิ 30 จํานวนการเข้าออกจากงานของลูกจ้างในจังหวัดสตูล จําแนกตามสาเหตุการออกจากงาน แผนภูมิ 31 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษาทั้งหมดในระดับอาชีวศึกษา จําแนกตามเพศ และสาขาที่จบ ปีการศึกษา 2554 แผนภูมิ 32 ผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานในจังหวัดสตูล จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 33 การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานในจังหวัด จําแนกตามประเภทผลการประสบอันตราย ไตรมาส 1 ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 34 สาเหตุการประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน 3 อันดับแรก ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 35 ผู้ประกันตนในจังหวัดสตูล ทีใ่ ช้บริการกองทุนประกันสังคม จําแนกตามประเภทประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 1 ปี 2557 แผนภูมิ 36 การจ่ายเงินประโยชน์ทดแทนจังหวัดสตูล (เนื่องจากการทํางาน) จําแนกตามประเภทความร้ายแรง ไตรมาส 1 ปี 2557

31 32 33 34 35 36 37 37 38 44 45 45 47 48


บทสรุปสําหรับผู้บริหาร สถานการณ์ดา้ นเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 1 ปี 2557 มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ สภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัด ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ร้อยละ 4.2 ตามการเพิ่มขึ้น ของดัชนีหมวดข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง หมวดไข่และผลิตภัณฑ์นม และหมวดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ หมวดอาหารบริ โภค-ในบ้ าน หมวดอาหารบริ โภค-นอกบ้าน และดัชนี หมวดอื่นๆ ไม่ ใ ช่อาหารและเครื่องดื่ ม ขยายตั วร้ อ ยละ 1.0 จากหมวดเครื่ องนุ่ งห่ ม และรองเท้า หมวดเคหสถาน หมวดการตรวจรั กษาและบริก าร ส่ ว นบุ ค คล หมวดการบั น เทิง การอ่ าน การศึก ษา และหมวดยาสูบ และเครื่ องดื่ ม มี แ อลกอฮอล์ ร้อ ยละ 0.9 สําหรับการจ้างงานในเดือนกุมภาพันธ์ ชะลอตัวร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน สถานการณ์ด้านแรงงาน ไตรมาส 3 ปี 2556 (กรกฏาคม-กัน ยายน 2556) ประชากรและกํ า ลัง แรงงาน จัง หวัด สตูล มีประชากร จํานวน 304,051 คน เป็นผู้อยู่ในกําลังแรงงาน จํานวน 166,155 คน ผู้มีงานทํา 165,417 คน ผู้ว่างงาน 738 คน และไม่มีผู้รอฤดูก าลในไตรมาส 3 (ใช้ข้อมูล ไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูล ล่าสุด จากสํานักงานสถิติจังหวัดสตูล) การมีง านทํ า ไตรมาส 3 ปี 2556 (กรกฏาคม - กัน ยายน 2556) ผู ้ม ีง านทํ า ในจัง หวัด สตูล มีจํ า นวน 165,417 คน หรือ ร้อ ยละ 71 ทํ า งานในภาคเกษตร จํ า นวน 85,527 คน หรือ ร้อ ยละ 51.70 และทํางานนอกภาคเกษตร จํานวน 79,890 คน หรือร้อยละ 48.30 โดยทํางานในสาขาการขายส่ง การขาย ปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ และของใช้ในครัวเรือน มากที่สุด จํานวน 24,934 คน รองลงมา คือสาขาการผลิต จํานวน 10,033 คน คิดเป็นร้อยละ 17.7 และร้อยละ 6.2 ตามลําดับ สําหรับสาขากิจกรรม ทางวิช าชีพ และเทคนิค มีผู้ทํ า งานน้อ ยที่สุด จํ า นวน 70 คน คิด เป็น ร้อ ยละ 0.04 และผู ้มีง านทํา ส่ว นใหญ่ มีก ารศึก ษาระดับ ประถมศึก ษา จํานวน 50,572 คน หรือ ร้อ ยละ 30.6 (ใช้ข้อมูล ไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัดสตูล) การว่างงาน ไตรมาส 3 ปี 2556 (กรกฏาคม-กันยายน 2556) จังหวัดสตูล มีผู้ว่างงานประมาณ 738 คน พบว่าเป็นชาย 480 คน และหญิง 258 คน คิดเป็นร้อยละ 65.0 และ 35.0 ของผู้ว่างงานตามลําดับ) (ใช้ข้อมูล ไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัดสตูล) แรงงานนอกระบบ (จากคํ า นิย ามของสํ า นัก งานสถิต ิแ ห่ง ชาติ แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทําที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทํางานเช่นเดียวกับแรงงานในระบบ) จากข้อมูลปี 2555 มีผู้ทํางานอยู่ในแรงงานนอกระบบจํานวน 101,468 คน หรือร้อยละ 58.39 ของผู้มีงานทํา ทั้งหมด โดยส่วนใหญ่จะทํางานในภาคเกษตร คือ จํานวน 66,199 คน หรือร้อยละ 65.24 นอกภาคเกษตร 35,269 คน หรือ ร้อ ยละ 34.76 อุต สาหกรรมที่ม ีแ รงงานนอกระบบสูง สุด คือ การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ ฯลฯ จํานวน 17,245 คน หรือร้อยละ 48.90 ส่วนอาชีพที่มีการทํางานนอกระบบสูงสุด คือ อาชีพ ผู้ป ฏิบัติง านที่มีฝีมือ ด้า นการเกษตรและประมง จํา นวน 62,401 คน หรือ ร้อ ยละ 61.50 สํา หรับ ด้านการศึกษา แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา จํานวน 27,519 คน หรือร้อยละ 27.12

1


การบริการจัดหางานในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 1 (มกราคม-มีนาคม) ปี 2557 นายจ้าง/สถาน ประกอบการได้แ จ้ง ตํา แหน่ง งานว่า ง จํา นวน 691 อัต รา โดยมีผู้ส มัค รงาน 492 คน มีอัต ราการบรรจุง าน ต่อตําแหน่งงานว่างร้อยละ 60.64 ส่วนตําแหน่งงานว่างตามระดับการศึกษาที่ต้องการสูงสุด คือ ระดับปวช./ ปวส./อนุปริญญา มีความต้องการ จํานวน 400 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 57.89 รองลงมาเป็นระดับมัธยมศึกษา จํา นวน 122 อัต รา คิด เป็น ร้อ ยละ 17.66 และระดับ ปริญ ญาตรี จํา นวน 98 อัต รา คิด เป็น ร้อ ยละ 14.18 สําหรับอาชีพที่มีการบรรจุงานมากที่สุด คือ อาชีพเสมียน เจ้าหน้าที่ จํานวน 117 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 27.92 และอุต สาหกรรมที่มีตํา แหน่ง งานว่า งมากที่สุด คือ กิจ กรรมการบริห ารและบริก ารสนับ สนุน จํา นวน 269 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 38.93 ความต้องการแรงงานในจังหวัดสตูล ปี 2556 สถานประกอบการมีความต้องการลูกจ้างในอาชีพ แรงงานในด้านการผลิตอื่นๆ (แรงงานทั่วไป) มากที่สุด จํานวน 300 อัตรา ส่วนการเข้าออกงาน ลูกจ้างที่ออก จากงาน ปี 2556 มีจํานวน 2,006 คน สาเหตุส่วนใหญ่ของการออกจากงานเพราะลาออก ส่วนลูกจ้างที่เข้างาน ร้อยละ 87.87 เข้างานเนื่องจากแทนคนที่ออกไป แรงงานต่างด้าว ที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทํางานคงเหลือ ข้อมูล ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 มีจํานวน 4,293 คน แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นประเภทพิสูจน์สัญชาติและได้รับ อนุญาตทํางาน จํานวน 2,429 คน คิดเป็นร้อยละ 65.54 รองลงมาคือแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทํางาน ตาม MOU จํานวน 1,114 คน คิดเป็นร้อยละ 30.06 ประเภทชั่วคราว (มาตรา 9) จํานวน 160 คน คิดเป็น ร้อ ยละ 4.32 และประเภทส่งเสริมการลงทุนและกฎหมายอื่นๆ (มาตรา 12) จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อ ยละ 0.08 แรงงานไทยในต่า งประเทศ ในช่ว งไตรมาสที่ 1 ปี 2557 จัง หวัด สตูล มีผู ้แ จ้ง ความประสงค์ ไปทํ า งานต่า งประเทศ จํ า นวน 1 คน โดยเป็น ผู ้จ บการศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรี ขณะที ่ไ ตรมาสก่อ น ไม่มีผู้แจ้งความประสงค์ไปทํางานต่างประเทศแต่อย่างใด การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีการฝึกเตรียมเข้าทํางาน จํานวน 23 คน โดยมีการฝึกใน 2 กลุ่ม อาชีพ คือ 1) กลุ่มช่างเครื่องกล จํานวน 13 คน 2) กลุ่มช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 และ 43.48 ตามลําดับ สําหรับการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน ไตรมาสนี้มีการฝึก จํานวน 564 คน โดยมีการฝึกเพียงกลุ่ม อาชีพเดียว คือกลุ่มธุรกิจและบริการ ส่วนมาตรฐานฝีมือแรงงานมีการทดสอบทั้งสิ้น 190 คน โดยมีการทดสอบ ใน 2 กลุ่ม อาชีพ คือ 1) กลุ่ม ช่า งไฟฟ้า อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ คอมพิว เตอร์ จํา นวน 100 คน ผู้ผ่า นการทดสอบ คิดเป็นร้อยละ 36 2) กลุ่มธุรกิจและบริการ จํานวน 90 คน ผู้ผ่านการทดสอบคิดเป็นร้อยละ 80 การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น 46 แห่ง เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน พบว่ามีสัดส่วนการตรวจเพิ่มขึ้นเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 15 มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จํานวน 1,976 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนคิดเป็นร้อยละ 227.15 ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการ ขนาด 10-19 คน จํานวน 17 แห่ง รองลงมาคือสถานประกอบการขนาด 1-4 คน และ 5-9 คน (มีสัดส่วนการ ตรวจเท่า กัน ) จํา นวนละ 6 แห่ง คิด เป็น ร้อ ยละ 36.96 และ 13.04 ตามลํา ดับ สํา หรับ สถานประกอบการ ที่ตรวจน้อยที่สุด คือสถานประกอบการขนาด 300-499 คน จํานวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 6.52 โดยสถาน ประกอบการที่ตรวจทั้งหมด ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย การตรวจความปลอดภัย ในการทํ า งาน มีก ารตรวจความปลอดภัย ในสถานประกอบการ ทั ้ง สิ ้น 29 แห่ง ลูก จ้า งที ่ผ ่า นการตรวจทั ้ง หมด 1,374 คน โดยสถานประกอบการทั ้ง หมดปฏิบ ัต ิถ ูก ต้อ ง ตามกฎหมายเช่นเดียวกัน

2


การประสบอัน ตรายหรือ เจ็บ ป่ว ยจากการทํา งาน ในช่ว งไตรมาสที่ 1 ปี 2557 จัง หวัด สตูล มีก ารประสบอัน ตรายหรือ เจ็บ ป่ว ยเนื ่อ งจากการทํ า งาน จํ า นวน 25 ราย โดยประเภทของความร้า ยแรง พบว่า ส่ว นใหญ่จ ะหยุด งานเกิน 3 วัน จํ า นวน 16 คน หรือ ร้อ ยละ 64 และหยุด งานไม่เ กิน 3 วัน จํานวน 9 คน หรือร้อยละ 36 การเกิด ข้อ เรีย กร้อ ง/ข้อ พิพ าทแรงงานและข้อ ขัด แย้ง ภายในจัง หวัด จัง หวัด สตูล ไม่มี ข้อร้องเรียน/ข้อพิพาทแรงงานและข้อขัดแย้งใดๆ ภายในจังหวัด แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง และลูกจ้างอยู่ในระดับดีมาก การเลิก จ้า งแรงงาน ไตรมาสนี้มีส ถานประกอบกิจ การในจัง หวัด สตูล หยุด กิจ การชั่ว คราว ไม่ใช่กรณีเลิกจ้าง จํานวน 12 แห่ง ทั้งนี้ ไม่มีลูกจ้างเนื่องจากนายจ้างประกอบกิจการเอง การสวัส ดิก าร สถานประกอบการมีก ารส่ง เสริม ให้บ ริก ารด้า นสวัส ดิก ารแรงงานนอกเหนือ จากที่ก ฎหมายกํ า หนด จํา นวน 15 แห่ง ลูก จ้า งที่เ กี่ย วข้อ ง 1,234 คน เมื ่อ เปรีย บเทีย บกับ ไตรมาสที่แ ล้ว พบว่าไตรมาสนี้มีการส่งเสริมให้บริการฯ ดังกล่าว ลดลงคิดเป็นร้อยละ 21.05 การประกัน สัง คม ข้อ มูล ณ เดือ นมีน าคม 2557 พบว่า จัง หวัด สตูล มีส ถานประกอบการ ที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จํานวน 896 แห่ง ผู้ประกันตนทั้งสิ้น 11,595 คน และมีสถานพยาบาลในสังกัด ประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล จํานวน 1 แห่ง กองทุนประกันสังคม ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2557 มีการใช้เงินกองทุน จํานวน 15,164,988.97 บาท จํานวนผู้ใ ช้บริการมีจํานวน 5,459 คน ประเภทประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนใช้บริการสูงสุด ได้แ ก่ กรณีส งเคราะห์บ ุต ร มีจํ า นวน 4,151 คน หรือ ร้อ ยละ 76.04 ของผู ้ใ ช้บ ริก ารทั ้ง หมด สํ า หรับ ปริม าณ การจ่ายเงินประโยชน์ทดแทน พบว่า การจ่ายเงินกรณีสงเคราะห์บุตรมีการจ่ายเงินสูงสุด ถึง 5,563,544 บาท หรือร้อยละ 36.69 ของเงินประโยชน์ทดแทนที่จ่าย

3


สภาพทั่วไปจังหวัด ที่ตั้งและอาณาเขต จังหวัดสตูล เป็นจังหวัดสุดเขตแดนใต้ของประเทศไทย ด้านฝั่งทะเลอันดามัน ห่างจากกรุงเทพฯ 973 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา อําเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงและอําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเปอร์ลิสและรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันออก ติดต่อกับอําเภอสะเดา จังหวัดสงขลาและรัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย โดยพื้นที่บนบกมีเทือกเขาบรรทัดและเทือกเขาสันกาลาคีรีเป็นเส้นกั้นอาณาเขต ระหว่างจังหวัดสตูล กับจังหวัดอื่น ๆ และประเทศมาเลเซีย

แผนที่จังหวัดสตูล

คําขวัญประจําจังหวัด “สตูล สงบ สะอาด ธรรมชาติบริสุทธิ”์

วิสัยทัศน์จังหวัด (ปี พ.ศ. 2557 - 2560) “เมืองการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชั้นนําของอาเซียน เมืองการเกษตรมาตรฐาน เมืองแห่งความสุข”

4


ขนาดพื้นที่ จังหวัดสตู ลเป็นจังหวั ดอยู่เขตแดนใต้ของประเทศไทยด้านฝั่งทะเลอันดามัน ห่างจากกรุงเทพฯ 973 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 2,807.522 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,754,701 ไร่ (นับรวมพื้นที่ที่เป็น ส่วนของน้ําทะเล) เป็นลําดับที่ 63 ของประเทศ และลําดับที่ 12 ของภาคใต้ มีพ้ืนที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตลอดแนวชายแดนทางบกยาวประมาณ 56 กิโลเมตร ติดฝั่งทะเล อันดามันมีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 144.8 กิโลเมตร

ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกเป็นเนินเขาและภูเขาสูง โดยมีเทือกเขาสําคัญ ๆ คือ ภูเขา สันกาลาคีรี พื้ น ที่ ค่ อ ยๆ ลาดเอี ย งลงสู่ ท ะเลด้ า นตะวั น ตกและทิ ศ ใต้ มี ที่ ร าบแคบๆ ขนานไปกั บ ชายฝั่ ง ทะเลถั ด จากที ่ ร าบลงไปเป็น ป่า ชายเลน น้ํ า เค็ม ขึ ้น ถึง มีป ่า แสมหรือ ป่า โกงกางอยู ่เ ป็น จํ า นวนมาก นอกจากนั้นจัง หวัด สตูล เป็น จัง หวัดที่มีลําน้ําสายสั้นๆ ไหลผ่านซึ่งเกิดจากภูเขาโดยรอบ พื้นที่ทางตอนเหนือ และทิศตะวันออกของจังหวัด ประกอบด้วยภูเขามากมายสลับซับซ้อน โดยมีทิวเขานครศรีธรรมราชแบ่งเขต จัง หวัด สตูล กับ จัง หวัด สงขลา และทิว เขาสัน กาลาคีรีแบ่งเขตประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย นอกจากนั้น ยั ง มี ภู เ ขาน้ อ ยใหญ่ อ ยู่ ก ระจั ด กระจายในตอนล่ า งและชายฝั่ งตะวั นตก ภู เขาที่ สํ าคั ญ ได้ แก่ เขาจี น เขาบารั ง เขาหัวกาหมิง เขาใหญ่ เขาทะนาน เขาควนกาหลง และเขาโต๊ะพญาวัง

ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดสตูล ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดจากอ่าวไทยและลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้จากมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้น มี 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูฝน ช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนธันวาคม ปริมาณฝนเฉลี่ย 2,386.2 มม. ฤดูร้อนมีเพียง 4 เดือน คือ เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน

การแบ่งเขตการปกครอง จังหวัดสตูล แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อําเภอ 36 ตําบล 279 หมู่บ้าน 7 เทศบาล (1 เทศบาลเมือง 6 เทศบาลตําบล) และ 34 อบต. ตาราง 1 การแบ่งเขตการปกครองของจังหวัดสตูล แยกตามอําเภอ อําเภอ 1. อําเภอเมืองสตูล 2. อําเภอควนโดน 3. อําเภอควนกาหลง 4. อําเภอทุ่งหว้า 5. อําเภอละงู 6. อําเภอท่าแพ 7. อําเภอมะนัง รวม

ตําบล

หมู่บ้าน

12 4 3 5 6 4 2 36

70 31 32 35 61 31 19 279

เทศบาล เมือง 1 1

เทศบาลตําบล

อบต.

3 1 1 1 6

10 4 3 5 6 4 2 34

ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดสตูล

5


ตาราง 2 จํานวนประชากรและความหนาแน่นของประชากร ณ เดือนมีนาคม 2557 พื้นที่ จํานวน (ตร.กม.) ครัวเรือน 16,407 เมืองสตูล 881.01 18,402 ละงู 324.00 10,711 ควนกาหลง 396.00 7,910 ท่าแพ 197.25 5,164 ควนโดน 199.03 5,891 ทุ่งหว้า 272.63 5,621 มะนัง 207.77 รวมทั้งจังหวัด 2,477.69 70,106 ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดสตูล อําเภอ

ชาย (คน)

หญิง (คน)

รวม (คน)

ความหนาแน่นของประชากร/ตร. กม.

31,064 32,453 16,969 14,129 9,998 10,179 8,927 123,719

31,876 32,765 16,801 14,162 10,200 9,998 8,524 124,326

62,940 65,218 33,770 28,291 20,198 20,177 17,451 248,045

71.44 201.29 85.28 143.43 101.48 74.01 83.99 100.11

ตาราง 3 จํานวนประชากรในเขตเทศบาล

เทศบาล เทศบาลเมืองสตูล เทศบาลตําบลคลองขุด เทศบาลตําบลทุ่งหว้า เทศบาลตําบลกําแพง เทศบาลตําบลควนโดน เทศบาลตําบลฉลุง เทศบาลตําบลเจ๊ะบิลัง รวม ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดสตูล

พื้นที่ (ตร.กม.)

จํานวน ครัวเรือน

6.80 43.93 2.94 2.60 6.00 1.25 2.70 66.22

9,491 7,967 1,140 2,514 1,751 935 929 24,727

ชาย

ประชากร หญิง

รวม

11,523 9,438 1,608 2,413 2,614 1,150 2,010 30,756

12,173 9,286 1,660 2,624 2,654 1,243 1,997 31,637

23,696 18,724 3,268 5,037 5,268 2,393 4,007 62,393

ผู้สูงอายุในจังหวัด ข้อมูลจากสํานักงานท้องถิ่นจังหวัดสตูล ณ เดือนมีนาคม 2557 พบว่าจังหวัดสตูลมีผู้สูงอายุ (ผู้ ที่ มี อ ายุ ตั้ ง แต่ 60 ปี ขึ้ น ไป) จํ า นวน 30,364 คน โดยในอํ า เภอเมื อ งสตู ล มี ม ากที่ สุ ด จํ า นวน 10,713 คน รองลงมาคืออําเภอละงู จํานวน 7,129 คน คิดเป็นร้อยละ 35.28 และ 23.48 ตามลําดับ ขณะที่อําเภอมะนัง มีจํานวนผู้สูงอายุน้อยที่สุด จํานวน 1,549 คน คิดเป็นร้อยละ 5.10 ตารางที่ 4 จํานวนผูส้ ูงอายุในจังหวัดสตูล ณ เดือนมีนาคม 2557 อําเภอ เมืองสตูล ละงู ควนโดน ท่าแพ ควนกาหลง ทุ่งหว้า มะนัง รวม ที่มา : สํานักงานท้องถิ่นจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป

จํานวน (คน) 10,713 7,129 2,668 2,691 3,281 2,333 1,549 30,364

6


สถานประกอบกิจการในจังหวัด สํา หรับ ในไตรมาส 1 ปี 2557 นี้ จัง หวัด สตูล มีส ถานประกอบการทั้ง สิ้น 1,595 แห่ง เพิ่ม ขึ้น จากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 0.70 เนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ยังคงปรับตัวดีขึ้น ทําให้การลงทุนมีการขยายตัว ต่อ เนื ่อ ง สํ า หรับ ลูก จ้า งมีจํ า นวน 10,519 คน หากพิ จ ารณาตามขนาดของสถานประกอบการพบว่ า สถานประกอบการส่วนใหญ่ในจังหวัด เป็นสถานประกอบการขนาด 1-4 คน จํานวน 1,148 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 71.97) และหากพิ จ ารณาตามที่ ตั้ งของสถานประกอบการแยกตามอํ า เภอพบว่ า สถานประกอบการตั้ ง อยู่ ใ น อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ส ตู ล ยั งค งมี ม าก ที่ สุ ดคิ ด เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 4 8 . 0 9 ข อง ส ถ าน ป ร ะก อบ ก า ร ทั้ งห ม ด (รายละเอียดตามตาราง 5) ตาราง 5 จํานวนสถานประกอบกิจการในจังหวัดสตูล แยกตามขนาดสถานประกอบการและอําเภอ ขนาด สถาน

จํานวน

แยกตามอําเภอ

สถานประกอบกิจการ

เมืองสตูล

ละงู

ท่าแพ

ควนกาหลง

ควนโดน

ทุ่งหว้า

มะนัง

ประกอบการ

และลูกจ้าง

(แห่ง/คน)

(แห่ง/คน)

(แห่ง/คน)

(แห่ง/คน)

(แห่ง/คน)

(แห่ง/คน)

(แห่ง/คน)

1-4

แห่ง 1,148

คน 1,986

502 / 947

385 / 587

56 / 100

47 / 95

30 / 72

110 / 142

18 / 43

5-9

267

1,761

167 / 1,106

44 / 287

12 / 80

19 / 127

9 / 61

11 / 70

5 / 30

10-19

101

1,394

54 / 733

30 / 421

4 / 66

5 / 67

2 / 29

5 / 68

1 / 10

20-49

56

1,631

35 / 1,019

10 / 263

2 / 70

5 / 136

1 / 33

3 / 110

50-99

13

908

5 / 325

1 / 55

1 / 93

5 / 358

1 / 77

-

-

100-299

9

1,542

3 / 446

1 / 262

1 / 206

3 / 488

1 / 140

-

-

300-499

-

-

-

-

-

-

-

-

-

500-999

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,000+

1

1,297

1 / 1,297

-

-

-

-

-

-

รวม

1,595

10,519

76 / 615

84 / 1,271

44 / 412

129 / 390

24 / 83

767 / 5,873 471 / 1,875

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล

การบริหารราชการ จังหวัดสตูล มีรูปแบบการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดิน 3 รูปแบบ คือ 1) การบริ ห ารราชการส่ ว นกลาง ประกอบด้ วยส่ วนราชการสั งกั ดส่ วนกลาง ซึ่ งตั้ งหน่ วยงาน ในพื้นที่จังหวัดจํานวน 50 หน่วยงาน 2) การบริ ห ารราชการส่ ว นภู มิ ภ าค จั ด รู ป แบบการปกครองและการบริ ห ารราชการ ออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับจังหวัดประกอบด้วย ส่วนราชการประจําจังหวัด จํานวน 32 หน่วยงาน ระดับอําเภอประกอบด้วย 7 อําเภอ 36 ตําบล 279 หมู่บา้ น 3) การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 เทศบาลเมือง 6 เทศบาลตําบล และ 34 องค์การบริหารส่วนตําบล

7


สังคมและวัฒนธรรม จังหวัดสตูลมีสถานศึกษาในระบบโรงเรียน จํานวน 221 แห่ง สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 174 แห่ง และสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน 36 แห่ง และสังกัดอื่นๆ 11 แห่ง มีสถานพยาบาลของรัฐ 6 แห่ง จํานวน 366 เตียง มีแพทย์ 67 คน ทันตแพทย์ 30 คน และพยาบาล 658 คน จังหวัดสตูลมีงานประเพณีที่สําคัญได้แก่ งานแข่งว่าวประเพณีจังหวัดสตูล งานประเพณีลอยเรือของชาวเกาะ หลีเป๊ะ พิธีเข้าสุนัต วันฮารีรายอ เป็นต้น

8


สภาพเศรษฐกิจจังหวัด รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดสตูล ประจําเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัด ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ร้อยละ 4.2 ตามการเพิ่มขึ้น ของดั ช นี ห มวดข้ า ว แป้ ง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากแป้ ง หมวดไข่ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากนม และหมวดเครื่ อ งดื่ ม ไม่ มี แอลกอฮอล์ หมวดอาหารบริโภค-ในบ้าน หมวดอาหารบริโภค-นอกบ้าน และดัชนีหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและ เครื่องดื่มฯ ขยายตัวร้อยละ 1.0 จากหมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า หมวดเคหะสถาน หมวดการตรวจรักษาและ บริการส่วนบุคคล หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษา และหมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ร้อยละ 0.9 สําหรับการจ้างงานในเดือนกุมภาพันธ์ ชะลอตัวร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) พบว่า มีสัญญาณปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้า สะท้อนจากดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 หดตัวร้อยละ 11.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยปริมาณยางพาราหดตัวในอัตรา ร้อยละ 9.1 เนื่องจากเข้าสู่ฤดูยางพาราผลัดใบ ทําให้เกษตรกรกรีดยางได้ จํานวนวันลดลง และระดับราคาที่ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยราคายางแผ่นดิบ ชั้น 3 เดือนนี้เฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัม ละ 57.8 บาท ลดลงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 26.2 ในขณะที่ปริมาณผลผลิตกุ้งข้าว ลดลงร้อยละ 45.8 เนื่องจากเกิดปัญหาการระบาดของโรคอีเอ็มเอส (Early mortality syndrome : EMS) หรือ “โรคกุ้งตาย ด่วน” และส่งผลให้ระดับรายได้ของเกษตกรลดลง อีกทั้งต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง ด้านการประมงปริมาณสัตว์น้ํา ลดลง แต่ปริมาณเรือเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนเล็กน้อย ปริมาณสัตว์น้ําที่ได้ต่อเที่ยวน้อยลง ซึ่งไม่มีสินค้าสัตว์น้ํา ส่วน ปริมาณสัตว์น้ําที่บรรทุกมาทางรถยนต์ซึ่งมาจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฏร์ธานี และนครศรีธรรมราช ลดลงเช่นเดียวกัน เนื่องจากอ่าวไทยตอนบนเป็นฤดูกาลปิดอ่าว สําหรับการผลิตภาคอุตสาหกรรมยังคงหด ตัวอย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันปีก่อน แต่ เมื่อพิจารณาจากปริมาณการใช้ไฟฟ้าของภาคอุตสาหกรรม ที่มีอัตราการขยายตัวที่หดตัวลดลงร้อยละ 2.2 สําหรับ เครื่ อ งชี้ ภ าคบริ ก าร โดยดั ช นี ผ ลผลิ ต ภาคบริ ก าร หดตั ว ร้ อ ยละ 2.8 เมื่ อ เที ย บกั บ ช่ ว งเดื อ นเดี ย วกั น ปี ก่ อ น เช่นเดียวกับจํานวนชาวต่างประเทศที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ลดลง ร้อยละ 2.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ปีก่อน เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) พบว่า เริ่มมีสัญญาณขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า สะท้อนได้จาก การบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัว โดยพิจารณาจากดัชนีบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9 เมื่อเทียบ กับช่วงเดือนเดียวกันปีก่อน ด้านการใช้จ่ายภาครัฐขยายตัว โดยดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐขยายตัวร้อยละ 14.9 เมื่อ เทียบกับช่วงเดือนเดียวกันปีก่อน เป็นผลจากการเบิกจ่ายงบประมาณ มีจํานวน 235.8 ล้านบาท สําหรับงบลงทุนมี การเบิกจ่าย จํานวน 158.9 ล้านบาท และด้านการค้าชายแดนขยายตัว โดยดัชนีการค้าชายแดนขยายตัว ร้อยละ 127.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันปีก่อน ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการนําเข้าและการส่งออก โดยมีมูลค่า การนําเข้า จํานวน 12.3 ล้านบาท และมูลค่าการส่งออก จํานวน 5.1 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 327.3 และ 7.7 ตามลําดับ สําหรับปัจจัยด้านการลงทุนภาคเอกชนหดตัว ร้อยละ 97.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันปีก่อน จาก กิจการค้าปลีกขนาดใหญ่ (Modern Tred) ที่ลดลงร้อยละ 10.2 การโรงแรมและภัตตาคารที่ลดลงร้อยละ 34.18 ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด พบว่า รายได้เกษตรกรในเดือนนี้ขยายตัวร้อยละ 4.0 เมื่อเทียบกับช่วง เดือนเดียวกันปีก่อน ซึ่งแม้สินค้าการเกษตรจะมีราคาต่ํากว่าเดือนเดียวกันในปีก่อน แต่ก็เป็นผลจากระดับราคา เฉลี่ยของปาล์มน้ํามันที่ขยายตัวร้อยละ 60.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันในปีก่อน

9


ด้านการเงิน พบว่า สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินมีการหดตัวของสินเชื่อสูงกว่าเงินฝาก โดยสินเชื่อ รวมหดตัวลงร้อยละ 13.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันปีก่อน อันเนื่องมาจากความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อ สินเชื่ออุปโภคบริโภคส่วนบุคคลทั้งสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และสินเชื่อส่วนบุคคล ประกอบกับความต้องการสินเชื่อ ภาคเอกชนหลายธุรกิจลดลง ขณะที่ดัชนีเงินฝากรวมหดตัวลดลง จากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.6 ด้านการคลัง ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 พบว่า ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 มีจํานวน 394.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการ เบิกจ่ายรายจ่ายประจํา จํานวน 235.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 ส่วนรายจ่ายลงทุนเบิกจ่ายได้ จํานวน 158.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 50.4 สําหรับรายได้รวมจัดเก็บได้ลดลงร้อยละ 0.9 เนื่องจากการจัดเก็บรายได้ของ สรรพสามิตพื้นที่สตูล ที่จัดเก็บรายได้ลดลงร้อยละ 31.7 จากค่าปรับน้ํามันที่ลักลอบนําเข้า ด่านศุลกากรจัดเก็บ รายได้ลดลงร้อยละ 23.2 จากอากรขาเข้า เนื่องจากผู้ประกอบการนําเข้าสินค้ามาเสียภาษีลดน้อยลง ในขณะที่ หน่ ว ยงานหลัก คื อ สรรพากรพื้ น ที่ ส ตู ล จั ด เก็ บ รายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 1.6 โดยรายได้สู ง สุ ด มาจากการจั ด เก็ บ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.8 ธนารักษ์พื้นที่สตูลจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นจากการจัดเก็บค่าเช่า อสังหาริมทรัพย์และค่าธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด สําหรับดุลเงินงบประมาณในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ขาดดุล 376.4 ล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อนที่ขาดดุล 303.5 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจําปี มีค่าเท่ากับ 26,299 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2553 เท่ากับ 3,468 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.2 โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per cappital) ในปี 2554 เท่ากับ 88,848 บาท เพิ่มขึ้นจาก 78,190 บาท ในปี 2553 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.6 ตารางที่ 6 อัตราขยายตัวและโครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล (GPP) อัตราขยายตัว (ณ ราคาคงที)่

โครงสร้าง (ณ ราคาประจําปี)

2553

2554

2555

2553

2554

2555

6.4

0.8

4.1

52.8

56.6

51.4

- เกษตรกรรม

2.4

7.6

3.9

35.8

42.1

35.9

- การประมง

15.3

-12.9

4.8

17.1

14.4

15.5

นอกภาคเกษตร

5.3

6.6

0.7

47.2

43.4

48.6

- การทําเหมืองแร่

23.1

30.3

-7.9

0.3

0.4

0.4

- การผลิต

12.4

-11.5

-6.2

10.2

7.2

6.7

- การขนส่ง

16.2

14.0

-3.3

1.8

1.6

1.8

- การไฟฟ้า

9.4

3.7

7.1

1.8

1.5

2.0

- การก่อสร้าง

-4.5

-4.3

-8.9

3.3

2.9

3.8

- การขายส่งฯ

7.9

13.8

-4.5

4.5

4.5

4.7

- โรงแรมและภัตตาคาร

-2.9

-3.3

0.0

1.3

1.3

1.3

- ตัวกลางทางการเงิน

25.1

18.7

17.1

2.5

2.8

3.7

ประเภทอุตสาหกรรม ภาคเกษตร

10


ตารางที่ 6 อัตราขยายตัวและโครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล (GPP) (ต่อ) อัตราขยายตัว (ณ ราคาคงที)่

โครงสร้าง (ณ ราคาประจําปี)

2553

2554

2555

2553

2554

2555

- อสังหาริมทรัพย์

1.4

1.6

1.8

5.3

4.9

5.9

- การบริหารราชการ

6.0

0.8

14.6

7.8

6.8

8.5

- การศึกษา

-5.0

42.1

-20.2

5.1

6.7

5.8

- สุขภาพ

5.5

7.6

42.3

2.3

2.2

3.4

- การให้บริการชุมชน

2.8

13.5

-4.7

0.6

0.6

0.7

- ลูกจ้างในครัวเรือน

64.5

-42.3

-4.7

0.1

0.1

0.1

5.8

3.8

2.3

100.0

100.0

100.0

ประเภทอุตสาหกรรม

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ที่มา : สํานักงานคลังจังหวัดสตูล

ดัชนีราคาผู้บริโภค การประมวลผลดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศ มีจํานวนรายการสินค้าและบริการที่ใช้คํานวณ 450 รายการ สําหรับจังหวัดสตูลมีจํานวนรายการสินค้าและบริการที่ใช้คํานวณ 229 รายการ ครอบคลุมหมวดอาหาร และเครื่องดื่มฯ เครื่องนุ่งห่ม เคหสถาน การตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล พาหนะการขนส่งและการสื่อสาร การบันเทิง การอ่าน การศึกษา และการศาสนาฯลฯ โดยผลการคํานวณดัชนีราคาผู้บริโภค สรุปได้ดังนี้ 1.ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศเดือนมีนาคม 2557 ปี 2554 ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป ของประเทศเท่ากับ 100 และเดือนมีนาคม 2557 เท่ากับ 106.94 เทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สูงขึ้นร้อยละ 0.22 ถ้าเทียบเดือนมีนาคม 2556 สูงขึ้นร้อยละ 2.11 และเทียบเฉลี่ยช่วงระยะ 3 เดือน (มกราคม – มีนาคม) ปี 2556 สูงขึ้นร้อยละ 2.00 อัตราเงินเฟ้อของประเทศเดือนมีนาคม 2557 ปรับตัวสูงขึ้นจากราคาอาหาร แต่แรง กดดันต่อเงินเฟ้อยังไม่สูงมากนักภาวการณ์ใช้จ่ายด้านการบริโภคภาพรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดีมีเสถียรภาพ 2.ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดสตูลเดือนมีนาคม 2557 ปี 2554 ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดสตูล เท่ากับ 100 และเดือนมีนาคม 2557 เท่ากับ 109.1 สําหรับเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เท่ากับ 107.9 3.การเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดสตูลเดือนมีนาคม 2557 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สูงขึ้นร้อยละ 1.1 เมื่อเทียบกับเดือนมีนาคม 2556 สูงขึ้นร้อยละ 3.6 และเฉลี่ยช่วงระยะ 3 เดือน (มกราคม – มีนาคม) ปี 2556 สูงขึ้นร้อยละ 2.8 4.ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดสตูลเดือนมีนาคม 2557 เทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สูงขึ้น ร้อยละ 1.1 (เดือนกุมภาพันธ์ 2557 เทียบกับเดือนมกราคม 2557 ลดลงร้อยละ 0.1) จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวด อาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 2.4 ตามการสูงขึ้นของราคาสินค้าหมวดผักและผลไม้ เนื่องจาก สภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง มีน้ําไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตลดลง สินค้าที่มีราคาสูงขึ้น ได้แก่ กะหล่ําปลี ผักคะน้า ผักชี มะเขือ มะนาว และส้มเขียวหวาน สินค้าหมวดอาหารบริโภค-ในบ้าน และสินค้า หมวดอาหารบริโภค-นอกบ้าน ที่มีราคาสูงขึ้น ได้แก่ กับข้าวสําเร็จรูป ข้าวแกง/ข้าวกล่อง อาหารกลางวัน (ข้าวราดแกง) และอาหารเย็น(อาหารตามสั่ง) ซึ่งปรับสูงขึ้นตามต้นทุนวัตถุดิบ ขณะที่ราคาไข่ไก่ลดลง จากปริมาณ ผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมาก ประกอบกับความต้องการสินค้าลดลงในช่วงปิดภาคเรียน 11


ส่วนดัชนีหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มฯ ร้อยละ 0.1 สูงขึ้นร้อยละ 0.1 ของราคาขายปลีกน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย ราคาก๊าซหุงต้ม และค่าเช่าบ้านที่ปรับตัวสูงขึ้น

จากการสูงขึ้น

5. พิจารณาเทียบกับเดือนมีนาคม 2556 สูงขึ้นร้อยละ 3.6 จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 6.9 โดยดัชนีหมวดข้าว แป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งสูงขึ้นร้อยละ 1.2 หมวด เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ําสูงขึ้นร้อยละ 11.7 หมวดไข่และผลิตภัณฑ์นมสูงขึ้นร้อยละ 5.2 หมวดผักและผลไม้ สูงขึ้นร้อยละ 0.6 หมวดเครื่องประกอบอาหารสูงขึ้นร้อยละ 2.3 หมวดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์สูงขึ้นร้อยละ 1.7 หมวดอาหารบริโภค-ในบ้านสูงขึ้นร้อยละ 9.6 หมวดอาหารบริโภค-นอกบ้านสูงขึ้นร้อยละ 16.3 สําหรับดัชนีหมวด อื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มฯ สูงขึ้นร้อยละ 1.2 จากหมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าร้อยละ 1.0 หมวดเคหสถาน ร้อยละ 1.4 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.6 หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสารร้อย ละ 1.3 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษา และการศาสนาร้อยละ 1.2 หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 0.9 6. พิจารณาดัชนีเฉลี่ยเทียบกับช่วงระยะ 3 เดือน (มกราคม – มีนาคม) ปี 2556 สูงขึ้นร้อยละ 2.8 จากการสูงขึ้นของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ร้อยละ 5.0 โดยดัชนีหมวดข้าว แป้งและ ผลิตภัณฑ์จากแป้งสูงขึ้นร้อยละ 1.4 หมวดเนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ําสูงขึ้นร้อยละ 9.9 หมวดไข่และผลิตภัณฑ์ นมสูงขึ้นร้อยละ 5.5 หมวดเครื่องประกอบอาหารสูงขึ้นร้อยละ 1.5 หมวดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์สูงขึ้นร้อยละ 1.3 หมวดอาหารบริโภค-ในบ้านสูงขึ้นร้อยละ 6.1 หมวดอาหารบริโภค-นอกบ้านสูงขึ้นร้อยละ 12.9 สําหรับดัชนี หมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มฯ สูงขึ้นร้อยละ 1.1 จากหมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้าร้อยละ 1.0 หมวด เคหสถานร้อยละ 1.2 หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคลร้อยละ 0.7 หมวดพาหนะ การขนส่ง และการ สื่อสารร้อยละ 1.1 หมวดการบันเทิง การอ่าน การศึกษา และการศาสนาร้อยละ 1.3 หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมี แอลกอฮอล์ร้อยละ 0.9 ตาราง 7 ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทของดัชนีและหมวดสินค้า เดือนมีนาคม 2557 หมวด ดัชนีราคาผู้บริโภค

มี.ค. 2557 ม.ค.-มี.ค. 2557 109.1

หมวดอาหารและเครื่องดื่ม 111.8 (เช่น ข้าว แป้ง ผลิตภัณฑ์จากแป้ง เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ําเครื่องประกอบอาหาร เป็นต้น) หมวดอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม 107.4 (เช่น เครื่องนุ่งห่มและรองเท้า การตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล พาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร เป็นต้น) ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 106.0 (ได้แก่ กลุ่มอาหารสด และพลังงาน) ที่มา : สํานักงานพาณิชย์จังหวัดสตูล หมายเหตุ : ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน คือ ดัชนีราคาผู้บริโภคชุดทั่วไปที่หักรายการสินค้ากลุ่มอาหารสด และสินค้ากลุ่มพลังงาน

108.3 110.1 107.3 105.2

12


การจดทะเบียนนิตบิ คุ คลตั้งใหม่ ในไตรมาสที ่ 1 ปี 2 5 5 7 จัง ห วัด ส ตูล มีก าร จ ด ท ะ เ บีย น นิต ิบ ุค ค ล ตั ้ง ใ ห ม่ทั ้ง สิ ้น 9 ร า ย เมื่ อเปรี ยบเที ยบจํ า นวนการจดทะเบี ย นตั้ ง ใหม่ กั บ ไตรมาสที่ แ ล้ ว พบว่ า มี สั ด ส่ ว นที่ ล ดลงคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 55 (ไตรมาสที่แล้วมีการจดทะเบียนฯ 20 ราย) ทั้งนี้มีการจดทะเบียนฯ ใน 5 สาขา ซึ่งจดทะเบียนในสาขากิจกรรม ด้านบริการชุมชน สังคม และบริการ ส่วนบุคคลอื่น สูงสุด จํานวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.33 และจดทะเบียน ในสาขาการประมงน้อยที่สุด จํานวน 1 ราย จํานวน 11.11 (รายละเอียดตามแผนภูมิ 1) แผนภูมิ 1 จํานวนการจดทะเบียนของนิติบุคคลตั้งใหม่จังหวัดสตูล จําแนกตามหมวดธุรกิจ ไตรมาส 1 ปี 2557 การประมง 1 ราย 11.11%

กิจกรรมดานบริการชุมชน สังคมฯ 3 ราย 33.33%

การกอสราง 2 ราย 22.22%

การขนสง สถานทีเ่ ก็บสินคาฯ 1 ราย 11.11%

การขายสง การขายปลีกฯ 2 ราย 22.22%

ที่มา : สํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสตูล

เมื่ อ พิ จ ารณาทุ น จดทะเบี ย นของนิ ติ บุ ค คลตั้ ง ใหม่ จํ า นวน 13.5 ล้ า นบาท พบว่ า มี สั ด ส่ ว นที่ ล ดลง จากไตรมาสที่ แ ล้ ว คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 44.67 (ไตรมาสที่ แ ล้ ว รวมเงิ น จดทะเบี ย นทั้ ง สิ้ น 24.4 ล้ า นบาท) โดยประเภทอุ ตสาหกรรมที่ มี การลงทุ นมากที่ สุ ด คื อ สาขาการขายส่ ง การขายปลี ก การซ่ อ มแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ฯ จํานวน 5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 37.04 รองลงมาคือสาขากิจกรรมด้านบริการชุมชน สังคม และการบริการส่วนบุคคลอื่น จํานวน 2.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.52 ส่วนสาขาอื่นๆ มีการลงทุนสาขาละ 2 ล้านบาท จากตัวเลขการจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหม่และเงินลงุทนดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าการลงทุน ในจังหวัดสตูลไตรมาสนี้ค่อนข้างซบเซา อาจเนื่องมาจากสภาพทางเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัว ทั้งนี้เมื่อศึกษาบท วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคใต้ (เว็บไซต์ธนาคารแห่งประเทศไทย) จะเห็นว่าภาวะเศรษฐกิจซบเซา ตามการซบเซาของเศรษฐกิจภาคใต้ เนื่องจากยังมีการผันผวนในสถานการณ์ทางเศณษฐกิจและการเมืองนั่นเอง

13


ดัชนีตัวชี้วัดภาวะแรงงาน ภาวะด้ านแรงงานมี การเคลื่ อนไหวเปลี่ ยนแปลงตลอดเวลา สื บเนื่ องจากปั จจั ยทางเศรษฐกิ จ สั งคม และการเมื อ ง เช่น สถานการณ์ท างการเมือ งสับ สนไร้ท ิศ ทางที ่ช ัด เจน จะส่ง ผลถึง ความเชื ่อ มั ่น ของนัก ธุร กิจ ทั ้ง ในและต่า งประเทศ เกิด การชะลอการลงทุน ชะลอการขยายกิจ การ รวมถึง ชะลอ การจ้า งงาน ในขณะที ่ก ารผลิต คนเพื ่อ เข้า สู ่ต ลาดแรงงานของภาคการศึก ษายัง คงมีอ ย่า งต่อ เนื ่อ ง มิอ าจชะลอตามตามภาวการณ์ด ้า นเศรษฐกิจ จึง ส่ง ผลต่อ การว่า งงาน การทํ า งานต่ํ า ระดับ นอกจากนี้ การเปลี ่ย นแปลงทางเทคโนโลยีก ารผลิต ต้น ทุน การผลิต ฤดูก าล ทั ศนคติ ทั้ งของฝ่ ายนายจ้ าง และผู ้ใ ช้ แรงงานเหล่า นี ้ ล้ว นเป็น ปัจ จัย ที ่นํ า ไปสู ่ก ารเปลี ่ย นแปลงของภาวะด้า นแรงงาน ไม่ว ่า จะเป็น รูป แบบ การจ้า งงาน การเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือแรงงาน มาตรฐานแรงงาน ฯลฯ ดังนั้น การจะทราบความเคลื่อนไหว หรือการเปลี่ยนแปลงของภาวะแรงงานจึ งต้องมี การพิจารณาศึกษาเพื่ อกําหนดตัวชี้วัด พร้ อมทั้งติดตามการ เปลี่ยนแปลง เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ถึงสาเหตุของปัญหา รวมถึงทํานายหรือคาดการณ์อนาคต อันจะเอื้อประโยชน์ ต่อการตัดสินใจในการกําหนดแผนงานที่จ ะต้อ งทํา ให้ส นองตอบต่อ ความต้อ งการของทุก กลุ่ม ทั้ง นายจ้า ง และผู้ใช้แรงงานรวมทั้งองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน สถานการณ์แรงงานจังหวัดสตูล ไตรมาส 1 ปี 2557 ฉบับนี้จะขอนําเสนอตัวชี้วัดภาวะแรงงาน ดังนี้

1. อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงาน (ข้อมูล ณ

ไตรมาส 3 ปี 2556)

อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงาน เป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงสภาพกําลังแรงงานในตลาดแรงงาน ของจังหวัดสตูล เมื่อเทียบกับประชากรวัยแรงงานทั้งหมด โดยคํานวณจากกําลังแรงงานในจังหวัด เมื่อเทียบกับ ประชากรวัยแรงงานทั้งหมด โดยคํานวณจากกําลังแรงงานในจังหวัดสตูล เทียบกับประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในจังหวัดสตูล จะพบว่าในไตรมาส 3 ปี 2556 อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานจังหวัดสตูล มีอัตราร้อยละ 71.3 ชะลอตัวลดลงจากไตรมาส 2 ปี 2556 ที่มีอัตรา 71.5 แผนภูมิ 2 อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานจังหวัดสตูล 77 76.5

76

อัตรา (รอยละ

75

74.1 74

73.5 73

72 71.5 71.3 71 3/2555

4/2555

1/2556

2/2556

3/2556

ไตรมาส/ป

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล (ใช้ข้อมูลไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัด) หมายเหตุ : อัตราการมีส่วนร่วมในกําลังแรงงานในจังหวัด

=

กําลังแรงงานในจังหวัด x 100 ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัด

14


2. อัตราการมีงานทํา (ข้อมูลไตรมาส 3/2556) อัตราการมีงานทําต่อกําลังแรงงานเป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นภาวะการมีงานทําในตลาดแรงงานของ จังหวัดว่ามีสัดส่วนมากน้อยเพียงใด สําหรับอัตราการมีงานทําในภาคเกษตรของจังหวัดสตูล ซึ่งคํานวณจากผู้มีงาน ทําในภาคเกษตรในจังหวัดต่อกําลังแรงงานที่มีงานทําในจังหวัดสตูล ไตรมาส 3 ปี 2556 (กรกฏาคม-กันยายน 2556) พบว่าอัตราการมีงานทําในภาคเกษตรจังหวัด มีอัตราร้อยละ 51.7 โดยเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา พบว่าอัตราการจ้างงาน ในภาคเกษตรจังหวัดขยายตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 2 ปี 2556 ที่มีร้อยละ 49.8 (แผนภูมิ 3) และเมื่ อเปรียบเที ยบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมาพบว่ามีการขยายตัวเพิ่ม ขึ้นเช่นเดียวกัน (ไตรมาส 3 ปี 2555 มีอัตราร้อยละ 50.3) ขณะที่อัตราการจ้างงานนอกภาคเกษตรกลับมีการชะลอตัวลดลงจากไตรมาส ที่แล้วกล่าวคือไตรมาส 2 ปี 2556 มีอัตราการจ้างงานนอกภาคเกษตร ร้อยละ 50.2 ชะลอตัวลงเป็นร้อยละ 48.3 ในไตรมาส 3 ปี 2556 แผนภูมิ 3 อัตราการมีงานทําใน/นอกภาคเกษตรจังหวัดสตูล 52 51.7 51.5 51.1 51

50.5 50.3

50.2

อัตรา

49.9

อัตราการมีงานทําในภาคเกษตรจังหวัด อัตราการมีงานทํานอกภาคเกษตรจังหวัด

50 50.1 49.8

49.7 49.5

49 48.9 48.5 48.3 48 3/55

4/55

1/56

2/56

3/56

ไตรมาส/ป

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล (ใช้ข้อมูลไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัด)

หมายเหตุ : อัตราการมีงานทําใน/นอกภาคเกษตรจังหวัด = ผู้มีงานทําใน/นอกภาคเกษตรจังหวัด x 100 ผู้มีงานทําในจังหวัด

15


เมื ่อ พิจ ารณาอัต ราการมีง านทํ า เฉพาะในส่ว นภาคอุต สาหกรรมการผลิต โดยคํ า นวณจาก จํานวนผู้มีงานทําในภาคอุตสาหกรรมการผลิตเปรียบเทียบกับจํานวนผู้มีงานทําทั้งหมด พบว่าอัตราการจ้างงาน ในภาคการผลิ ต มี อั ต รา 6.1 เพิ่ ม ขึ้ น จากไตรมาส 2 ปี 2556 ที่ มี อั ต ราร้ อ ยละ 5.4 และเมื่ อ เปรี ย บเที ย บ กับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมาพบว่ามีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน (ไตรมาส 3 ปี 2555 มีอัตราร้อยละ 4.1) ทั้งนี้อัตราการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่เพิ่มขึ้นนั้นสอดคล้องกับการประมาณการของสํานักวิจัย เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม โดยอธิ บ ดี ก รมโรงงานอุ ต สาหกรรม ได้ ร ะบุ ว่ า การผลิ ต และการส่ ง ออกในไตรมาสนี้ มีแนวโน้มทรงตัว หลังจากที่ไตรมาสก่อนยังมีภาวะที่ไม่ฟื้นตัว เนื่องจากการชะลอตัวจากการบริโภคภาคเอกชน แผนภูมิ 4 อัตราการจ้างงานในอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดสตูล 6.7

6.1

6.2

6.2

5.7

อัตรา

5.4

5.2 5

4.7

4.2 4.1

3.7 3/55

4/55

1/56

2/56

3/56

ไตรมาส/ป

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล (ใช้ข้อมูลไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัด) หมายเหตุ : อัตราการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัด =

ผู้มีงานทําในภาคอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัด x 100 ผู้มีงานทําในจังหวัด

16


3. อัตราการว่างงาน การศึก ษาอัต ราการว่า งงานในปีที่ผ่า นมาจะพบว่า อัต ราว่า งงานของจัง หวัด สตูล แต่ล ะไตรมาส จะปรับตัวสูงขึ้นและลดลงตามปัจจัยในเรื่องฤดูกาล เนื่องจากจังหวัดสตูลเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ดังนั้นอัตราการ ว่างงานจึงเป็นเครื่องชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยฤดูกาล กล่าวคือแรงงานจะมีการเคลื่อนย้ายสู่นอกภาคการเกษตร ในไตรมาสที่เ ป็น ฤดูฝ น และจะกลับ เข้า สู ่ภ าคเกษตรอีก ครั ้ง เมื่อ ถึง ฤดูก าลเก็บ เกี่ย ว สํา หรับ อัต ราว่า งงาน ในจังหวัดสตูล ไตรมาส 3 ปี 2556 มีอัตราร้อยละ 0.4 ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงจากไตรมาส 2 ปี 2556 และ ไตรมาส 3 ปี 2555 ตามรายละเอียดในแผนภูมิต่อไปนี้ แผนภูมิ 5 อัตราการว่างงานจังหวัดสตูล 0.9

0.8 0.8 0.7

อัตรา(รอยละ)

0.6

0.5 0.5 0.4 0.4

0.4

0.3

0.2

0.1 0.05 0 3/2555

4/2555

1/2556

2/2556

3/2556

ไตรมาส/ป

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล (ใช้ข้อมูลไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติจังหวัด) หมายเหตุ : อัตราการว่างงานในจังหวัด =

จํานวนผู้ไม่มีงานทําในจังหวัด x 100 กําลังแรงงานในจังหวัด

17


4. อัตราการเปลี่ยนแปลงของจํานวนผูป้ ระกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33) ผู้ประกันตนที่ขอรับ ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน และผูป้ ระกันตนที่ขนึ้ ทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีเลิกจ้าง จํานวนผู้ประกันตนมาตรา 33 ของสํานักงานประกันสังคม ไตรมาส 1 ปี 2557 มีจํานวน 11,595 คน อัตราการเปลี่ยนแปลงของจํานวนผู้ประกันตน (มาตรา 33) ขยายตัวร้อยละ -0.72 ลดลงจากไตรมาสก่อนที่ ขยายตัวร้อยละ 1.13 จํานวนผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน 202 คน (ใช้ข้อมูลของสํานักงาน ประกันสังคม) อัตราการเปลี่ยนแปลงของผู้ประกันตนที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานมีการขยายตัวร้อยละ -25.18 ลดลงจากไตรมาสก่ อนที่มีการขยายตัวร้อ ยละ 2.27 สํ าหรับจํานวนผู้ประกันตนที่ ขึ้นทะเบียนขอรั บ ประโยชน์ทดแทนกรณีเลิกจ้าง (ใช้ข้อมูลจากสํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล) อัตราเปลี่ยนแปลงของผู้ประกันตน ที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีเลิกจ้างมีการขยายตัว ร้อยละ -15.56 ชะลอตัวลดลงจากไตรมาสก่อน ที่ขยายตัวร้อยละ -33.33 แผนภูมิ 6 อัตราการเปลี่ยนแปลงของจํานวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33) ผู้ประกันตนที่ขนึ้ ทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน และกรณีเลิกจ้างจังหวัดสตูล 140 125.71 120

100

80

60

40 26.31 20 5.07

4.42 0

0.88 1/56

0.36

5.46

2/56

3/56

1.33 2.27

4/56

-7.18 -20

-0.72 1/57 -15.56 -25.18

-40

-33.33 -44.03

-60 อัตราการเปลีย ่ นแปลงของจํานวนผูป  ระกันตนในระบบประกันสังคม (ม.33) อัตราการเปลีย ่ นแปลงของจํานวนผูป  ระกันตนทีข ่ อรับประโยชนทดแทนกรณีวา งงาน อัตราการเปลีย ่ นแปลงของจํานวนผูป  ระกันตนทีข ่ น ึ้ ทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีเลิกจาง

ที่มา : 1. สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล 2. สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ประมวลข้อมูลโดยสํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล

18


5. อัตราการบรรจุงาน อั ต ราการบรรจุ ง านในแต่ ล ะไตรมาสเป็ น ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การเคลื ่ อ นไหวของ ภาวการณ์ ด ้ า นแรงงาน ซึ ่ง สามารถศึก ษาวิเ คราะห์ก ับ จํ า นวนตํ า แหน่ง งานว่า ง และจํ า นวนผู ้ส มัค รงาน โดยเมื่อ วิเ คราะห์จํา นวนการบรรจุง านที่สํา นัก งานจัด หางานจัง หวัด ดํา เนิน การ เทีย บกับ จํา นวนตํา แหน่ง งานว่า งที ่แ จ้ง ผ่า นสํ า นัก งานจัด หางานจัง หวัด สตูล จะพบว่า อั ต ราการบรรจุง านต่ อ ตํ า แหน่ ง งานว่า ง ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีน าคม 2557) คิ ด เป็น ร้อ ยละ 60.64 โดยมีอัตราลดลงจากไตรมาส 4 ปี 2556 ที่มีร้อยละ 68.06 และเมื่อพิจารณาอัต ราการบรรจุ ง านต่ อ ตํา แหน่ ง งานว่ า งกั บ ไตรมาสเดี ย วกั น ของปี ที่ ผ่ า นมาพบว่ า มี สั ด ส่ ว นที่ ล ดลงจากไตรมาส 1 ปี 2556 ที่ มี ร้ อ ยละ 80.38 (แผนภู มิ 7) เมื่ อ เปรี ย บเที ย บสั ด ส่ ว นของผู้ บ รรจุ ง านกั บ จํา นวนผู้ ส มั ค รที่ มี อั ต ราร้ อ ยละ 85.16 จะพบว่ า มี อั ต ราเพิ่ ม ขึ้ น จากไตรมาส 4 ปี 2556 ที่มีอัตรา 77.85 (ดังแผนภูมิ 7) แผนภูมิ 7 อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัครงาน/ตําแหน่งงานว่างในจังหวัดสตูล 90 87.12

85 85.16 81.69 80 80.38

รอยละ

77.85

อัตราการบรรจุงานตอผูสมัครงาน

75

อัตราการบรรจุงานตอตําแหนงงานวาง

75.19 72.54 70

71.72 68.06

65

60.64 60 1/56

2/56

3/56

4/56

1/57

ไตรมาส/ป

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : 1. อัตราการบรรจุงานต่อผู้สมัครงานจังหวัดสตูล = ผู้ได้รับการบรรจุงานในจังหวัด x 100 ผู้สมัครงานในจังหวัด 2. อัตราการบรรจุงานต่อตําแหน่งงานว่างจังหวัด = ผู้ได้รับการบรรจุงานในจังหวัด x 100 ตําแหน่งงานว่างในจังหวัด

19


6. อัตราการจ้างงานแรงงานต่างด้าว อัตราการจ้างงานแรงงานต่างด้าวต่อจํานวนผู้มีงานทําทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 2.59 หมายถึง ผู้มีงาน ทําทุกๆ 100 คน จะมีการจ้างแรงงานต่างด้าวประมาณ 2-3 คน และเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสก่อนพบว่า ไตรมาสนี้ สั ด ส่ ว นของการจ้ า งงานแรงงานต่ า งด้ า วเพิ่ ม ขึ้ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 4.86 (ไตรมาสก่ อ นมี อั ต รา 2.47) จากตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าตลาดแรงงานในจังหวัดสตูล ยังมีความต้องการจ้างงานแรงงานต่างด้าวเพิ่มขึ้น เนื่องจากแรงงานต่างด้าวมีความอึด ขยัน อดทน และชอบทํางานล่วงเวลา (ทํา OT) บวกกับเหตุผลที่คนไทยเริ่ม มีการศึกษามากขึ้น ไม่มีความอึด ขยัน อดทนเหมือนแรงงานต่างด้าว อีกทั้งค่าใช้จ่ายในการทําให้ถูกกฎหมายถูกลง และการนําเข้าของแรงงานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย MOU ได้ถูกนํามาใช้มากขึ้น ทําให้นายจ้างหันมาหาแรงงาน ต่างด้าวมากขึ้น แผนภูมิ 8 อัตราการจ้างแรงงานต่างด้าวในจังหวัดสตูล 4.5 4.02 4

3.5

รอยละ

3 2.59 2.5 2.47 2

1.5 1.37

1.43

1 1/56

2/56

3/56

4/56

1/57

จํานวน (คน)

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

7. อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฏหมายคุ้มครองแรงงานและกฏหมายความปลอดภัยในการทํางาน ของสถานประกอบการ อัตราการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานสถานประกอบกิจการ เป็นตัวบ่งบอกตัวหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงภาวการณ์ด้านแรงงาน หากนายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎหมายสูงย่อมส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ ของลูกจ้าง ผู้ใช้แรงงาน และส่งผลถึงคุณภาพชีวิตของผู้ใช้แรงงานตามมา ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงอัตราการปฏิบัติ ไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของสถานประกอบการในจังหวัดต่อจํานวนสถานประกอบการที่ผ่าน การตรวจทั้งหมดของจังหวัด พบว่าไม่มีการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานแต่อย่างใด

20


8. อัตราการเกิดข้อพิพาทแรงงาน/ข้อขัดแย้งในสถานประกอบการ การเกิดข้อพิพาทแรงงานและข้อขัดแย้งในสถานประกอบการ เป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง นายจ้างและลูกจ้าง การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเกิดข้อพิพาทแรงงานจะแสดงให้เห็นถึงทิศทางความสัมพันธ์ ระหว่ า งนายจ้ า งและลู ก จ้ า งว่ า มี ทิ ศ ทางหรื อ แนวโน้ ม ไปในทางใด การเกิ ด ข้ อ พิ พ าทแรงงานนั้ น มี ผ ลมาจาก การที่ลูกจ้างได้แจ้งข้อเรียกร้องต่อนายจ้าง และหากไม่สามารถยุติ หรือตกลงกันได้ก็จะเกิดเป็นข้อพิพาทแรงงาน ขึ้น สําหรับจังหวัดสตูลไม่เคยมีข้อพิพาทแรงงาน/ข้อขัดแย้งในสถานประกอบการแต่อย่างใด อาจเนื่องมาจาก สถานประกอบการในจังหวั ดสตู ลกว่าร้อยละ 99 เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก ทําให้นายจ้างดูแลสถาน ประกอบการดูแลลูกจ้างได้อย่างทั่วถึง ส่งผลให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในระดับดีมาก

9. อัตราแรงงานที่เป็นผู้ประกันตน อัตราแรงงานที่เป็นผู้ประกันตนคิดจากจํานวนผู้ประกันตนของกองทุนประกันสังคมตามมาตรา 33,39 และ 40 ต่ อ จํ า นวนผู้ มี ง านทํ า ของสํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ซึ่ ง ไตรมาส 1 ปี 2557 คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 13.59 อัตราเปลี่ยนแปลงชะลอตัวจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ -48.46 และขยายตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 15.56 ทั้งนี้ สํานักงานประกันสังคมได้ขยายความคุ้มครองไปสู่กลุ่มผู้ใช้แรงงานนอกระบบเพื่อจูงใจให้ผู้ใช้ แรงงานเข้ามาอยู่ในระบบประกันสังคมเพี่อนําไปสู่การมีหลักประกันความมั่นคงในชีวิตเพิ่มมากขึ้น จึงทําให้อัตรา แรงงาน ที่เป็นผู้ประกันตนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (แผนภูมิ 9) แผนภูมิ 9 อัตราแรงงานทีเ่ ป็นผูป้ ระกันตนจังหวัดสตูล 30 26.37

25

จํานวน (คน)

20

13.59

12.99

15

11.97

11.76

10

5

0 1/56

2/56

3/56 ไตรมาส/ป

4/56

1/57

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

หมายเหตุ : 1. จํานวนผู้ประกันตนของกองทุนประกันสังคมตามมาตรา 33,39 และ 40 ใข้ข้อมูลจากสํานักงานประกันสังคม จังหวัดสตูล ไตรมาส 1 ปี 2557 2. จํานวนผู้มีงานทําใช้ข้อมูลของสํานักงานสถิติแห่งชาติ ไตรมาส 3 ปี 2556 เป็นข้อมูลล่าสุดจากสํานักงานสถิติ จังหวัดสตูล) 21


สถานการณ์แรงงานจังหวัดสตูล สถานการณ์ แ รงงานจั ง หวั ด สตู ล ไตรมาส 4 ปี 2556 ช่ ว งเดื อ นตุ ล าคม-ธั น วาคม 2556 นําเสนอข้อมูล ในประเด็นต่างๆ ตามลําดับคือ 1) กําลังแรงงาน การมีงานทํา การว่างงาน 2) การส่งเสริมการมีงานทํา 3) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน 4) การคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการ 5) การประกันสังคม

1) กําลังแรงงาน การมีงานทํา การว่างงาน สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล ได้ดําเนินการสํารวจภาวะการทํางานของประชากร โดยในช่วงเดือน กรกฏาคม-กัน ยายน 2556 สรุป รายละเอีย ด ได้ด ัง นี ้ จัง หวัด สตูล มีป ระชากรเฉลี ่ย 304,051คน โดยสัด ส่ว นของประชากรเพศชายมีม ากกว่า เพศหญิง เล็ก น้อ ย กล่า วคือ เพศชาย มีจํา นวน 152,998 คน คิด เป็น ร้อ ยละ 50.32 ขณะที่เ พศหญิง มี 151,053 คน คิด เป็น ร้อ ยละ 49.68 โดยประชากรทั้ง หมดพบว่า เป็น ผู้อ ยู่ใ นวัย ทํา งาน หรือ อายุ 15 ปีขึ้น ไป มีจํา นวน 233,096 คน คิด เป็น ร้อ ยละ 76.7 ขณะที่ผู้มีอ ายุ ต่ํา กว่า 15 ปี มี 70,955 คน คิด เป็น ร้อ ยละ 23.3 (ใช้ข้อ มูล ไตรมาส 3 ปี 2556 เป็น ข้อ มูล ล่า สุด จากสํานักงานสถิติจังหวัด) แผนภูมิ 10 โครงสร้างประชากรจังหวัดสตูล ไตรมาส 3 ปี 2556 ประชากรรวม 304,051 คน

ผูอยูในวัยทํางาน (อายุ 15 ปขึ้นไป) 233,096 คน

ผูไมอยูในวัยทํางาน (อายุต่ํากวา 15 ป) 70,955 คน

ผูไมอยูในกําลังแรงงาน 66,941 คน

ผูอยูในกําลังแรงงาน 166,155 คน

ทํางานบาน 27,561 คน

ผูมีงานทํา 165,417 คน

เรียนหนังสือ 17,282 คน

ผูวางงาน 738 คน ผูรอฤดูกาล - คน

อื่นๆ 22,098 คน

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

22


ในกลุ่มผู้อยู่ในวัยทํางาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จํานวน 233,096 คน พบว่าเป็นผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 166,155 คน โดยจําแนกเป็นผู้มีงานทํา 165,417 คน คิดเป็นร้อยละ 99.6 ของผู้อยู่ในกําลังแรงงานทั้งหมด ขณะที่เป็นผู้ว่างงาน 738 คน หรืออัตราการว่างงาน 0.4 และไม่มีผู้รอฤดูกาลในไตรมาสนี้ เมื่อ เปรีย บเทีย บ การมีง านทํา ระหว่า งเพศในไตรมาสนี้จ ะพบว่า เพศหญิง มีอัต ราส่ว นของการมีง านทํา หรืออัต ราการจ้า งงาน มากกว่า เพศชายเล็ก น้อ ย กล่า วคือ เพศหญิง มีอัต ราร้อ ยละ 99.6 ขณะที่เ พศชายมีร้อ ยละ 99.5 และเมื่อ พิจ ารณาในภาพรวม จะพบว่า อัต ราการมีง านทํา ซึ่ง คํา นวณจากสัด ส่ว นผู้มีง านทํา ต่อ ผู้อ ยู่ใ นกํา ลัง แรงงาน มีอัตราร้อยละ 99.5 นั่นหมายความว่าผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 100 คน จะมีงานทําประมาณ 99 คน ซึ่งอัตราการ จ้างงานในภาพรวมไตรมาสนี้มีสัดส่วนที่เท่ากันกับไตรมาสก่อน (ไตรมาสก่อนมีร้อยละ 99.5) ส่วนอัตราว่างงานซึ่งคํานวณจากผู้ว่างงานต่อผู้อยู่ในกําลังแรงงาน มีอัตรา 0.4 โดยชายจะมีอัตราการ ว่างงานสูงกว่าหญิง กล่าวคือ เพศชายร้อยละ 0.5 ขณะที่เพศหญิง ร้อยละ 0.4 ทั้งนี้อัตราการว่างงาน ในไตรมาสนี้ ลดลงจากไตรมาสที่แล้วที่มีอัตราว่างงานภาพรวม ร้อยละ 0.5 (รายละเอียดตามตาราง 8) ตาราง 8 ประชากรจังหวัดสตูล จําแนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน ไตรมาส 3 ปี 2556 สถานภาพแรงงาน ประชากรรวม ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน - ผู้มีงานทํา - ผู้ว่างงาน - กําลังแรงงานรอฤดูกาล ผู้ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน - ทํางานบ้าน - เรียนหนังสือ - อื่นๆ ประชากรอายุต่ํากว่า 15 ปี อัตราการว่างงาน

รวม 304,051 233,096 166,155 165,417 738 66,941 27,561 17,282 22,098 70,955 0.4

ชาย 152,998 116,362 99,277 98,797 480 17,085 65 7,593 9,427 36,636 0.5

หมายเหตุ : 1. อัตราการจ้างงานต่อกําลังแรงงาน =

ผู้มีงานทํา x 100 ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน

หญิง 151,053 116,734 66,878 66,620 258 49,856 26,496 9,690 12,671 34,319 0.4

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

2. อัตราการว่างงาน = ผู้ว่างงาน x 100 ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน

23


สําหรับผู้มีงานทํา 165,417 คน พบว่าทํางานในภาคเกษตรกรรม 85,527 คน (ร้อยละ 51.70) ของผู้มีง านทํา ทั้ง หมด ซึ่ง มีจํา นวนต่ํา กว่า ไตรมาส 1 ปี 2556 ที่มีร้อ ยละ 51.10 ส่ว นผู้ทํา งานนอกภาค เกษตรกรรม มีจํา นวน 79,890 คน (ร้อ ยละ 48.30 ของผู้มีง านทํา ทั้ง หมด) เพิ่ม ขึ้น จากไตรมาสที่แ ล้ว ที่มีร้อ ยละ 49.79 เมื่อ พิจ ารณากลุ่ม ผู้ทํา งานนอกภาคเกษตรกรรมสูง สุด 3 อัน ดับ แรก ได้แ ก่ 1) สาขา การขายส่ ง การขายปลี ก การซ่ อ มแซมยานยนต์ รถจั กรยานยนต์ ของใช้ ส่ วนบุ คคล และของใช้ ในครั วเรื อน จํานวน 24,934 คน 2) สาขาการผลิต จํานวน 10,032 คน 3) สาขาการโรงแรมและภัตตาคาร จํานวน 8,575 คน คิดเป็นร้อยละ 31.2 12.6 และ 10.7 ของผู้ทํางานนอกภาคเกษตรทั้งหมด ตามลําดับ (แผนภูมิ 11 และตาราง ภาคผนวก 2) สําหรับกิจกรรมทางวิชาชีพและเทคนิค มีผู้ทํางานน้อยที่สุด จํานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 0.1 แผนภูมิ 11 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตรกรรม 3 อันดับแรก ไตรมาส 3 ปี 2556 24,934 25,000

20,000

15,000 10,032 จํานวน (คน)

8,575 10,000

5,000

-

ายสง การข

าย การข

ปลีกฯ

ลิต การผ

มโร ิ กรร กจ

แ งแรม

หาร ละอา

อุตสาหกรรม

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

24


เมื่ อพิ จารณาผู้ มี งานทําตามอาชี พในไตรมาส 3 ปี 2556 (กรกฏาคม-กั นยายน 2556) พบว่ าอาชี พ ที่ มี ผู้ ทํ า งานมากที่ สุ ด 3 อั น ดั บ แรก คื อ 1) ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ฝี มื อ ในด้ า นการเกษตร และการประมง จํานวน 78,227 คน 2) พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด จํานวน 25,672 คน 3) อาชีพขั้น พื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ จํานวน 14,684 คน (รายละเอียดตามแผนภูมิ 12 และตาราง ภาคผนวกที่ 3) คิดเป็นร้อยละ 47.3 15.5 และ 8.9 ตามลําดับ ขณะที่อาชีพคนงานซึ่งมิได้จําแนกไว้ในหมวดอื่น มีผู้มีงานทําน้อยที่สุด จํานวน 119 คน คิดเป็นร้อยละ 0.1 แผนภูมิ 12 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 3 ปี 2556 (3 อันดับแรก) 78,227 80,000

70,000

60,000

50,000

จํานวน (คน) 40,000 25,672 30,000 14,684 20,000

10,000

-

 ือใ ม ี่ ีฝม ิงานท ู ฏิบัต ผป

นดาน

ษตรฯ การเก

านบร พนักง

ิการฯ ขั้น อาชีพ

ๆใ นตาง พื้นฐา

การ นดาน

ขายฯ

อาชีพ

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

หากศึ ก ษาถึ ง ระดั บ การศึ ก ษาของผู้ มี ง านทํ า พบว่ า ผู้ มี ง านทํ า ส่ ว นใหญ่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ประถมศึ ก ษา จํ านวน 50,572 คน (ร้ อยละ 30.6) รองลงมาเป็นผู้ สํ าเร็ จการศึ กษาระดั บมั ธยมศึ กษาตอนปลาย จํานวน 27,828 คน (ร้อยละ 16.8) และผู้ มี ง านทํา ในกลุ่ ม ที่ ไ ม่ ท ราบระดั บ การศึ ก ษามี น้ อ ยที่ สุ ด จํา นวน 119 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 0.1 (รายละเอียดตามแผนภูมิ 13 และตารางภาคผนวกที่ 4) แผนภูมิ 13 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษาทีส่ ําเร็จ ไตรมาส 3 ปี 2556 มหาวิทยาลัย 27,591 คน 16.7%

ไมทราบ 217 คน 0.1%

ไมมีการศึกษา 4,403 คน 2.7%

ต่าํ กวาประถมศึกษา 27,449 คน 16.6%

มัธยมศึกษาตอนปลาย 27,828 คน 16.8%

มัธยมศึกษาตอนตน 27,357 คน 16.5%

ประถมศึกษา 50,572 คน 30.6%

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

25


ในด้ านสถานภาพการทํ างานของผู้ มี งานทํ า พบว่ าส่ วนใหญ่ ทํ างานส่ วนตั ว จํ านวน 67,422 คน (ร้อยละ 40.8) รองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน จํ านวน 44,750 คน (ร้อยละ 27.1) และผู้ มีงานทําที่มีสถานภาพ เป็นนายจ้างมีน้อยที่สุด จํานวน 5,186 คน (ร้อยละ 3.1) แผนภูมิ 14 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามสถานภาพการทํางาน ไตรมาส 3 ปี 2556 67,422 70,000

60,000

44,750

50,000

40,000 จํานวน (คน)

27,982 30,000 20,077 20,000

5,186

10,000

0 าง ยจ นา

งร จา ลูก

ัฐบ

าล

น กช งเอ จา ลูก

ัว นต สว งาน ทํา

รัวเ จิ ค ุรก ยธ ชว

นฯ รือ

สถานภาพการทํางาน

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

สําหรับแรงงานนอกระบบ (จากคํานิยามของสํานักงานสถิติแห่งชาติ แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทําที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง และไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทํางานเช่นเดียวกับแรงงานในระบบ) ข้อมูลล่าสุดปี 2555 จากผลการศึกษาของสํานักงานสถิติจังหวัด พบว่าปัจจุบันผู้มีงานทําอยู่ในแรงงานนอกระบบ มีจํานวน 101,468 คน คิดเป็นร้อยละ 58.39 ของผู้มีงานทําทั้งหมด ทั้งนี้แรงงานนอกระบบเหล่านี้จะทํางาน ในภาคเกษตรเป็นส่วนใหญ่ กล่าวคือมีจํานวน 66,199 คน คิดเป็นร้อยละ 65.24 ขณะที่นอกภาคเกษตรมี 35,269 คน หรื อ ร้ อ ยละ 34.76 ซึ่ ง กลุ่ ม นอกภาคเกษตรนี้ เมื่ อ พิ จ ารณาจํ า แนก ตามประเภทอุ ต สาหกรรม พบว่ า อุตสาหกรรมที่มีจํานวนแรงงานนอกระบบสูงสุด 3 อันดับแรก คือ 1) การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยาน ยนต์ ฯลฯ จํานวน 17,245 คน หรือร้อยละ 48.90 2) ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร จํานวน 5,875 คน หรือ ร้ อ ยละ 16.66 3) การก่ อ สร้ า ง จํ า นวน 4,362 คน หรื อ ร้ อ ยละ 48.90 16.66 และ 12.37 ตามลํ า ดั บ สําหรับประเภทศิลปะ และความบันเทิง มีแรงงานนอกระบบน้อยที่สุด จํานวน 98 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.28 (รายละเอียดปรากฏในตารางภาคผนวกที่ 5) แผนภูมิ 15 ผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตร (3 อันดับแรก) ปี 2555 17,245 18000

16000

14000

12000

10000

8000

5,875 4,362

6000

4000

2000

0 การขายสง การขายปลีกฯ

ที่พก ั แรมและบริการดานอาหาร

การกอสราง

ทีม่ า : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล 26


เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบจําแนกตามอาชีพ พบว่ามีงานทําในอาชีพต่างๆ สูงสุด 3 อันดับ แรก คื อ 1) ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ฝี มื อ ทางด้ า นการเกษตรและประมง จํ า นวน 62,401 คน หรื อ ร้ อ ยละ 61.50 2) พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด จํานวน 20,934 คน หรือร้อยละ 20.63 3) อาชีพขั้นพื้นฐาน ต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ จํานวน 7,652 คน หรือร้อยละ 7.54 4) ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถ ทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง จํานวน 6,919 คน หรือร้อยละ 6.82 หรือร้อยละ 2.25 แผนภูมิ 16 จํานวนผู้มีงานทําที่อยูใ่ นแรงงานนอกระบบในจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ปี 2555 62,401 70000

60000

50000

40000

20,934 30000

20000 7,652 10000

0 ผูป  ฏิบัตงิ านทีม ่ ีฝม  ือในดานการเกษตรฯ

พนักงานบริการฯ

อาชีพขัน ้ พื้นฐานตางๆ

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบ จําแนกตามอายุ พบว่าส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 40-44 ปี จํานวน 12,131 คน (ร้อยละ 11.96) รองลงมาคือผู้มีอายุในช่วง 35-39 ปี จํานวน 12,102 คน (ร้อยละ 11.93) และช่วง อายุ 45-49 ปี มีจํานวน 11,999 คน (ร้อยละ 11.83) ส่วนช่วงอายุ 55-59 ปี มีน้อยที่สุด จํานวน 6,050 คน (ร้อยละ 5.96) แผนภูมิ 17 จํานวนผู้มีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบในจังหวัดสตูล จําแนกตามอายุ ปี 2555 50-54 ป 9,926 9.78%

15-19 ป 6,692 6.60 %

55-59 ป 6,050 5.96%

20-24 ป 11,620 11.45%

45-49 ป 11,999 11.83%

25-29 ป 10,013 9.87%

40-44 ป 12,131 11.96%

35-39 ป 12,102 11.93%

30-34 ป 10,895 10.74%

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล หมายเหตุ : แรงงงานนอกระบบ (Informal Workers) ตามคํานิยามของสํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด หมายถึง แรงงานที่อยู่ในการจ้างงานในภาคเศรษฐกิจที่ไม่เป็นทางการ (Informal sector) ซึ่งมีลักษณะเป็นกิจการขนาดเล็ก ตั้งได้ง่าย มีลักษณะเป็นธุรกิจในครัวเรือน มักใช้วัตถุดิบในประเทศ มีการใช้แรงงานเป็นหลัก และมีการดัดแปลงเทคโนโลยีง่ายๆ มาใช้เป็น แรงงานอิสระที่ทํากิจกรรมเพื่อความอยู่รอด และไม่ได้รับการคุ้มครองทางกฎหมายอย่างเต็มรูปแบบ 27


สํ าหรั บด้า นการศึก ษา พบว่ าแรงงานนอกระบบส่ วนใหญ่ มี ก ารศึก ษาในระดั บ ประถมศึ ก ษา คือมีจํานวน 27,519 คน (ร้อยละ 27.12) รองลงมาคือระดับต่ํากว่าประถมศึกษา จํานวน 23,620 คน (ร้อยละ 23.28) และประเภทไม่มีการศึกษา มีน้อยที่สุด จํานวน 2,620 คน (ร้อยละ 2.58) แผนภูมิ 18 ผูม้ ีงานทําที่อยู่ในแรงงานนอกระบบในจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษา ปี 2555 อุดมศึกษา 7,926 คน 7.81%

ไมมก ี ารศึกษา 2,620 คน 2.58%

ต่าํ กวาประถมศึกษา 23,620 คน 23.28%

มัธยมศึกษาตอนปลาย 19,517 คน 19.23%

มัธยมศึกษาตอนตน 20,266 คน 19.97%

ประถมศึกษา 27,519 คน 27.12%

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

สําหรับจํานวนแรงงานนอกระบบที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมจังหวัดสตูล มาตรา 40 มีจํานวน ทั้งสิ้น 10,885 คน คิดเป็นร้อยละ 10.73 ของจํานวนแรงงานนอกระบบในจังหวัดทั้งหมด โดยที่อําเภอเมืองสตูล มีจํานวนผู้ประกันตนมาตรา 40 มากที่สุด จํานวน 5,237 คน รองลงมาคืออําเภอละงู จํานวน 1,498 คน คิดเป็น ร้อยละ 48.11 และ 13.76 ตามลําดับ ขณะที่อําเภอมะนังมีน้อยที่สุด จํานวน 637 คน คิดเป็นร้อยละ5.85 แผนภูมิ 19 จํานวนแรงงานนอกระบบที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมจังหวัดสตูล (มาตรา 40) แยกตามอําเภอ ระหว่างไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 6000 5,237 4,967

ไตรมาส 4 ป 2556

5000

4000

ไตรมาส 1 ป 2557

3000

2000

1,454

1,453

1,406

1000

635

1,498

758

656

773

619

630

607

637

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

0 เมืองสตูล

ควนกาหลง

ควนโดน

ละงู

ทาแพ

ทุงหวา

มะนัง

ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล

28


ในส่ ว นของการขอรั บ ประโยชน์ ท ดแทนของผู้ ป ระกั น ตนมาตรา 40 ไตรมาส 1 ปี 2557 มีผู้ขอรับประโยชน์ทดแทน จํานวน 89 คน จํานวนเงินที่จ่าย 238,056 บาท โดยขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีเจ็บป่ วยสูงสุด จํานวน 74 ราย รองลงมาขอรับค่ าทําศพ จํานวน 8 ราย และเงินบําเหน็จกรณีชราภาพ จํานวน 7 ราย ตาราง 9 การขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนมาตรา 40 จําแนกตามประเภทประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) ประเภทประโยชน์ทดแทน 1. เงินทดแทนการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย 2. เงินทดแทนการขาดรายได้กรณีทุพพลภาพ 3. ค่าทําศพ 4. เงินบําเหน็จกรณีชราภาพ รวม ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

ผู้ใช้บริการ (คน) 74 8 7 89

จํานวนเงินที่จ่าย (บาท) 71,200 160,000 6,856 238,056

2) การส่งเสริมการมีงานทํา 2.1. การจัดหางานภายในประเทศ

ภารกิจการส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทําเป็นภารกิจหลั กของกระทรวงแรงงาน ซึ่ งดําเนินการโดย สํ านั กงานจั ดหางานจั งหวั ดสตู ล การส่ งเสริ มการมี งานทํ าในรู ปแบบการจั ดหางานมี ทั้ งการหางานในประเทศ และต่ า งประเทศ โดยการจั ด หางานในจั ง หวั ด สตู ล ในช่ ว งไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มี น าคม 2557) มีตําแหน่ งงานว่ างที่ แจ้ งผ่านสํ านักงานจัดหางานจั งหวั ดสตูล 691 อั ตรา ซึ่งมี สั ดส่วนที่ เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่ อน คิดเป็นร้อยละ 37.92 (ไตรมาสก่อนมีตําแหน่งงานว่าง 501 อั ตรา) และเมื่อ เปรีย บเที ย บกั บ เดื อ นเดีย วกัน ของปี ที ่ผ ่ า นมา พบว่ า ตํ า แหน่ ง งานว่า งมีส ัด ส่ว นที่ ล ดลง โดยลดลงร้อ ยละ 5.21 (ไตรมาส 4 ปี 2556 มีตําแหน่งงานว่าง 729 อัตรา) ในส่วนของผู้ลงทะเบียนสมัครงานไตรมาสนี้พบว่ามี 492 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.33 จากไตรมาส ที่แล้ว (ไตรมาสที่แล้วมีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 438 คน) และเมื่อ เปรีย บเทีย บกับ ไตรมาสเดีย วกัน ของปี ที่ผ่านมาพบว่ามีอัตราลดลงคิดเป็นร้อยละ 39.78 (ไตรมาส 1 ปี 2556 มีผู้ สมั ครงาน จํ านวน 817 คน) ขณะที่ผู้ได้รับการบรรจุงานในไตรมาสนี้ (มกราคม-มีน าคม 2557) มีจํานวน 419 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากไตรมาส ที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 22.87 (ไตรมาสที่แล้ว มี 341 คน) ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ไตรมาส 1 ปี 2556) พบว่ามีจํานวนลดลงคิดเป็นร้อยละ 28.50 (ไตรมาส 1 ปี 2556 มี 586 คน) แผนภูมิ 20 เปรียบเทียบตําแหน่งงานว่าง/การสมัครงาน/การบรรจุงาน ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 691

700

ไตรมาส 4 ป 2556

600 501 492 500

438

419

ไตรมาส 1 ป 2557

341

400

300

200

100

0 ตําแหนงงานวาง

ผูลงทะเบียนสมัครงาน

บรรจุงาน

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล 29


2.2 ตําแหน่งงานว่าง สําหรับตําแหน่งงานว่างไตรมาส 1 นี้พบว่าเป็นชาย 211 อัตรา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 30.54 ของตําแหน่งงานว่างทั้งหมด ขณะที่เพศหญิงมี 69 อัตรา (ร้อยละ 9.99) และไม่ระบุเพศ 411 อัตรา ร้อยละ 59.48 จากข้อมูลดังกล่าวทําให้เห็นชัดเจนว่าตําแหน่งงานว่างส่วนใหญ่เกินกว่าครึ่งนายจ้างไม่ได้ระบุเพศแต่อย่างใด แสดงให้เห็ นว่าสถานประกอบการหรือนายจ้างส่ วนใหญ่พร้อมที่จะให้โอกาสในการทํางานอย่างเท่าเทียมกัน หรือเล็งเห็นว่าการทํางานย่อมขึ้นกับความสามารถของตัวบุคคลเป็นหลักสําคัญ และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ ระหว่ า งเพศชายกั บ เพศหญิ ง พบว่ า เพศชายจะมี ตํ า แหน่ ง งงานว่ า งรองรั บ มากกว่ า เพศหญิ ง ค่ อ นข้ า งมากนั้ น อาจเนื่องมาจากลักษณะของงานบางประเภทที่ไม่เหมาะสมกับแรงงานเพศหญิง แผนภูมิ 21 ตําแหน่งงานว่างในจังหวัดสตูลแยกตามเพศ ไตรมาส 1 ปี 2557 ไมระบุเพศ 411 คน 59.48%

ชาย 211 อัตรา 30.54%

หญิง 69 คน 9.99%

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

เมื่ อพิ จารณาถึ งจํ านวนผู้ มาลงทะเบี ยนสมั ครงานในไตรมาสนี้ พบว่ ามี จํ านวนทั้ งสิ้ น 492 คน เป็นชาย 134 คน คิด เป็นร้อ ยละ 27.24 และเป็น หญิง 358 คน คิด เป็น ร้อ ยละ 72.76 และการบรรจุง าน มีผู้ได้รับการบรรจุให้มีงานทําทั้งสิ้น 419 คน โดยสัดส่วนของเพศหญิงจะได้รับการบรรจุงานมากกว่าเพศชาย กล่าวคือผู้บรรจุงานที่เป็นเพศหญิงมีสัดส่วนร้อยละ 69.93 (293 คน) ขณะที่เพศชายมีร้อยละ 30.07 (126 คน) จากข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น จะเห็ น ได้ ว่ า ผู้ ที่ ม าสมั ค รงานได้ รั บ การบรรจุ ง านเพี ย งร้ อ ยละ 85.16 เท่ า นั้ น ขณะที่ผู้สมัครงานอีก 14.84 ยังคงไม่ได้รับการบรรจุงานแต่อย่างใด ทั้งนี้อาจเนื่องจากไม่ผ่านการทดสอบของสถาน ประกอบการ และไม่ผ่านเกณฑ์ที่ทางสถานประกอบการกําหนดไว้ ฉะนั้น จึงต้องมีการพัฒนาศักยภาพของแรงงาน ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพรองรั บ ความต้ อ งการของตลาดแรงงาน และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น สถานศึ ก ษา ต้องให้ความสําคัญกับหลักสูตรวิชาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน เพื่อให้นักศึกษาที่จบออกมา ได้มีงานรองรับ แผนภูมิ 22 ตําแหน่งงานว่าง/ผูส้ มัครงาน/และการบรรจุงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามเพศ ไตรมาส 1 ปี 2557 450

411

400

358

ตําแหนงงานวาง (อัตรา)

350 293 300

250

สมัครงาน (คน)

211

จํานวน (คน) 200 134 126

150

บรรจุงาน (คน)

100

69

50

0 ชาย

หญิง เพศ

ไมระบุเพศ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล 30


สํ า หรั บ ตํ า แหน่ ง งานว่ า งตามระดั บ การศึ ก ษาไตรมาสนี้ พ บว่ า นายจ้ า งและสถานประกอบการ มีความต้องการจ้างงานผู้จบการศึกษาระดับ ปวช./ปวส./อนุปริญญามากที่สุด จํานวน 400 อัตรา รองลงมาได้แก่ ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา จํ า นวน 122 อั ตรา คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 57.89 และ 17.66 ตามลํ า ดั บ และระดั บปริ ญญาโท มีตําแหน่งงานว่างรองรับน้อยที่สุด จํานวน 18 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 2.60 สําหรับผู้สมัครงานไตรมาสนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จํานวน 291 คน รองลงมา เป็นระดับปริญญาตรี จํานวน 90 คน คิดเป็น ร้อยละ 59.15 และ 18.29 ตามลําดับ และระดับปริญญาโท มีผู้สมัครงานน้อยสุดเพียง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.20 หากพิ จ ารณาข้ อ มู ล ตํ า แหน่ ง งานว่ า งเที ย บกั บ ผู้ ล งทะเบี ย นสมั ค รงานเพื่ อ วั ด ความนสมดุ ล ของ ตลาดแรงงานพบว่ายังขาดความสมุดล นั่นคือ ระดับปวช./ปวส./อนุปริญญา ยังคงขาดแคลนผู้จบระดับการศึกษา ระดับ ปวช./ปวส./อนุปริญญามากที่สุด จํานวน 321 อัตรา รองลงมาขาดแคลนระดับประถมศึกษาและต่ํากว่า จํานวน 22 อัตรา ขณะที่ระดับมัธยมศึกษามีผู้สมัครงานมากเกินความต้องการของตลาดแรงงานเกือบเท่าตัว สําหรับการบรรจุงานผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ได้รับการบรรจุงานมากที่สุด จํานวน 139 คน รองลงมาเป็นระดับ ปวช./ปวส./อนุปริญญา จํานวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 33.17 และ 27.45 ตามลําดับ ขณะที่ระดับปริญญาโท มีจํานวนการบรรจุงานน้อยที่สุด จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.24 (แผนภูมิ 23) แผนภูมิ 23 ตําแหน่งงานว่าง/ผูส้ มัครงาน/บรรจุงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษา ไตรมาส 1 ปี 2557 400

400

ตําแหนงงานวาง (อัตรา) 350

291

สมัครงาน (คน)

300

250

บรรจุงาน (คน)

200

139

150

122

115

100 100

90

64

53

50

98 79

31

18 1

1

0 ประถมศึกษาและต่ํากวา

มัธยมศึกษา

ปวช./ปวส./อนุปริญญา

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

ด้านอาชีพพบว่าไตรมาสนี้อาชีพที่มีตําแหน่งงานว่างสูงสุด 3 อันดับแรก คือ 1) อาชีพผู้ปฏิบัติงาน โดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่างๆ จํา นวน 172 อัต รา 2) อาชีพ พนัก งานบริก าร พนัก งานขายในร้า นค้า และตลาด จํา นวน 136 คน 3) อาชีพเสมียน เจ้าหน้าที่ จํานวน 115 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 24.89 19.68 และ 16.64 ตามลํ า ดั บ และอาชี พ ที่ มี ตํ า แหน่ ง งานว่ า งรองรั บ น้ อ ยที่ สุ ด คื อ อาชี พ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านฝี มื อ ด้ า นการเกษตร และประมง (แปรรูปขั้นพื้นฐาน) จํานวน 2 อัตรา หรือร้อยละ 0.29

31


สําหรับอาชีพที่มีผู้สมัครงานสูงสุดคืออาชีพเสมียน เจ้าหน้าที่ จํานวน 232 คน รองลงมาคืออาชีพพนักงาน บริการ พนักงานขายในร้ านค้ าและตลาด จํานวน 159 คน คิดเป็นร้อยละ 47.15 และ 32.32 ตามลําดับ ขณะที่ อาชี พผู้ ปฏิ บั ติ งานฝี มื อด้ านการเกษตรและประมง (แปรรู ปขั้ นพื้ นฐาน) มี ผู้ ส มั ครงานน้ อยที่ สุ ด เพี ยง 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.20 เมื่อเปรียบเทียบจํานวนตําแหน่งงานว่างและจํานวนผู้มาลงทะเบียนสมัครงาน พบว่าอาชีพที่ยังขาดแคลน ผู้สมัครเป็นจํานวนมาก มี 3 อันดับ ได้แก่ 1) อาชีพผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่างๆ 2) อาชีพผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการ ระดับอาวุโส ผู้จัดการ 3) ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ โดยมีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน เพียงร้อยละ 6.97 17.77 และ 17.77 ของตําแหน่งงานว่างที่รองรับทั้งหมด ตามลําดับ ขณะที่อาชีพงานพื้นฐานมีผู้ลงทะเบียนสมัครงาน มากเกินความต้องการของนายจ้างสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 322.22 รองลงมาคืออาชีพเสมียน เจ้าหน้าที่ มีผู้ลงทะเบียน สมัครงานเกินความต้องการของนายจ้างคิดเป็นร้อยละ 201.74 สถิติดังกล่าวข้างต้น อาจเป็นผลมาจากผู้หางานทําใน จังหวัดสตูลส่วนใหญ่ยังขาดทักษะการทํางานในอาชีพข้างต้น ซึ่งอาจมีการจํากัดคุณสมบัติ เช่น วุฒิการศึกษา หรือ ประสบการณ์การทํางานที่ระบุระยะเวลา เป็นต้น การบรรจุงานมีการบรรจุงานในอาชีพเสมียน เจ้าหน้าที่มากที่สุด จํานวน 117 คน รองลงมาคืออาชีพ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จํานวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 27.92 และ 21.96 ตามลําดับ และอาชีพผู้ปฏิบัติงานฝีมือด้านการเกษตรและประมง (แปรรูปขั้นพื้นฐาน) มีผู้ได้รับการบรรจุงานน้อยที่สุด เพียง 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.48 (แผนภูมิ 24 และตารางภาคผนวกที่ 7) แผนภูมิ 24 เปรียบเทียบข้อมูลตําแหน่งงานว่าง/ผู้สมัครงาน/การบรรจุงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557 250

ตําแหนงงานวาง (อัตรา)

232

สมัครงาน (คน)

200 172

จํา นวน (คน)

159 150

บรรจุงาน (คน)

136 115

100

117

29 92

90 8

89

90

16 22 46

45 50

33 27

1

13

21

12 2

2

10

15

8

0 ห ิ กฎ

มา

ยฯ

น ดา

ตา

งๆ

ีพ ัต าช าน ัญญ วิช ัติง ผูบ อบ ฏ ิบ ก ผูป ระ ะ ป  ู ล ผ ิ คแ คน งเ ท า  ช

กี่ย ที่เ

ี่ น ฯ รฯ รฯ าท งๆ  อง ฐา าน ิ กา ตา หน วข ษต พื้น บร ร งง จ า เ ร เก ุรกิจ าน าน นโ า ธ ง ใ ง น ก น ัก ีย าน ชี พ าน ื อใ พน ัติง เสม อา ือ ด ฝม ฏิบ ใช ฝม ผูป าน ดย ง ิ โ ัต าน ฏิบ ัติง ผูป ฏิบ ผูป

อาชีพ

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

32


หากศึ ก ษาตามประเภทอุ ต สาหกรรมพบว่ า ประเภทอุ ต สาหกรรมที่ มี ตํ า แหน่ ง งานว่ า งสู ง สุ ด 5 อันดับแรก ในไตรมาส 1 ปี 2557 คือ 1) กิ จ กรรมการบริ ห ารและบริ ก ารสนั บ สนุ น จํา นวน 269 อั ต รา 2) การผลิ ต จํา นวน 173 อั ต รา 3) การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ จํานวน 148 อัตรา 4) ข้อมู ลข่ าวสารและการสื่อสาร จํ านวน 42 อั ตรา และ 5) กิ จกรรมทางการเงิ นและการประกั นภั ย จํานวน 30 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 38.93 25.04 21.42 6.08 และ 4.34 ตามลําดับ และประเภทอุตสาหกรรม ที่มีตําแหน่งงานว่างรองรับน้อยที่สุด คือ สาขาการก่อสร้าง, สาขาการศึกษา และสาขาลูกจ้างครัวเรือนส่วนบุคคล โดยมีเพียงประเภทอุตสาหกรรมละ 1 อัตราเท่านั้น แผนภูมิ 25 ตําแหน่งงานว่างแยกตามประเภทอุตสาหกรรม 5 อันดับแรก ไตรมาส 1 ปี 2557 269

300

250

173

จํานวน (อัตรา)

200

148

150

100

42

30

50

0 ิหารแ รมบร กิจกร

น ิการส ละบร

ับสนุน

ล การผ

ิต ายส การข

ร ภัย ลีกฯ สื่อสา ระกัน ขายป ะการ การป ง การ ารแล ินและ ขาวส การเง ง า ขอมูล ท รม กิจกร

ประเภทอุตสาหกรรม

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

การบรรจุง านพบว่า อุต สาหกรรมที่มีก ารบรรจุง านสูง สุด คือ สาขาการขายส่ง การขายปลีก การซ่อ มแซมยานยนต์ รถจัก รยานยนต์ จํา นวน 151 อัต รา รองลงมา คือ สาขากิจ กรรมการบริห ารและ บริก ารสนับ สนุน จํา นวน 119 อัต รา คิด เป็น ร้อ ยละ 36.04 และ 28.40 ตามลํา ดับ สํา หรับ อุต สาหกรรม ที่มีก ารบรรจุงานน้อยที่สุด เพีย งประเภทอุต สาหกรรมละ 1 อัตรา ได้แ ก่ 5 สาขา คือสาขากิจ กรรมวิชาชีพ ทางวิทยาศาสตร์ และกิจกรรมทางวิชาการ, สาชาการบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ รวมทั้ง การ ประกัน สัง คมภาคบัง คับ , สาขาการศึก ษา, สาขาศิล ปะ ความบัน เทิง และนัน ทนาการ, สาขาลูก จ้า ง ในครัวเรือนส่วนบุคคล ตาราง 10 แสดงจํานวนตําแหน่งงานว่างและการบรรจุงานจังหวัดสตูลจําแนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 ประเภทอุตสาหกรรม

ตําแหน่งงานว่าง

บรรจุงาน

1. เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง

อัตรา 17

ร้อยละ 2.46

อัตรา 3

ร้อยละ 0.72

2. การผลิต

173

25.04

77

18.38

1

0.14

4

0.95

148

21.42

151

36.04

4

0.58

7

1.67

3. การก่อสร้าง 4. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ 5. ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร

33


ตาราง 10 แสดงจํานวนตําแหน่งงานว่างและการบรรจุงานจังหวัดสตูลจําแนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 (ต่อ) ตําแหน่งงานว่าง

ประเภทอุตสาหกรรม

บรรจุงาน

อัตรา 42

ร้อยละ 6.08

อัตรา 37

ร้อยละ 8.83

7. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย

30

4.34

11

2.63

8. กิจกรรมวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และกิจกรรมทางวิชาการ

0

0.00

1

0.24

269

38.93

119

28.40

10. การบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ

1

0.14

1

0.24

11. การศึกษา

1

0.14

1

0.24

12. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ

0

0.00

1

0.24

13. กิจกรรมการบริการด้านอื่นๆ

4

0.58

5

1.19

14. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล

1

0.14

1

0.24

691

100.00

419

100.00

6. ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร

9. กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน

รวม ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

ช่วงอายุของแรงงานที่ตลาดแรงงานต้องการมากที่สุดในจังหวัดสตูลไตรมาสนี้พบว่าเป็นแรงงาน ในช่วงอายุ 25-29 ปี จํานวน 201 อัตรา รองลงมาคือช่วงอายุ 30-39 ปี จํานวน 187 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 29.09 และ 27.06 ตามลําดับ ขณะที่ช่วงอายุ 15-17 ปี เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานน้อยที่สุด คือมีตําแหน่งงานว่าง เพียง 4 อัตราเท่านั้น และผู้สมัครงานส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 18-24 ปีมากที่สุด จํานวน 304 คน รองลงมาเป็น ผู้สมัครงานในช่วงอายุ 25-29 ปี จํานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 61.79 และ 15.85 ตามลําดับ ขณะเดียวกันผู้อยู่ ในช่วงอายุ 30-39 ปี จากตัวเลขดังกล่าวจะเห็นได้ว่าผู้หางานส่วนใหญ่ในไตรมาสนี้อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 15-24 ปี ขณะที่ตลาดแรงงานต้องการแรงงานในช่วงอายุ 25-39 ปี มากที่สุด ทําให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และ อุปทาน ข้อสังเกตที่สําคัญคือแรงงานช่วงอายุ 15-24 ปี น่าจะอยู่ในวัยกําลังศึกษา นั่นแสดงว่าประชากรในจังหวัด สตูล มีอัตราการศึกษาต่อที่น้อยลง ทําให้ประชากรในวัยเรียนออกมาสู่ภาคอุตสาหกรรมก่อนวัย สําหรับการบรรจุงาน พบว่าแรงงานช่วงอายุ 30-39 ปี ได้รับการบรรจุงานสูงสุด จํานวน 151 คน รองลงมาคือช่วงอายุ 18-24 ปี จํานวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 36.04 และ 27.45 ตามลําดับ และช่วงอายุ 50-59 ปี ได้รับการบรรจุให้เข้าทํางานน้อยที่สุด จํานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 1.91 (ปรากฏตามแผนภูมิ 26 และตาราง ภาคผนวกที่ 9) แผนภูมิ 26 การบรรจุงานจังหวัดสตูล จําแนกตามช่วงอายุ ไตรมาส 1 ปี 2557 40-49 ป 38 คน 9.07%

50-59 ป 8 คน 1.91%

18-24 ป 115 คน 27.45%

30-39 ป 151 คน 36.04%

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

25-29 ป 107 คน 25.54%

34


2.3 แรงงานต่างด้าว จํานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทํางานคงเหลือ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 มีจํานวน 4,293 คน ดังนี้ 2.3.1 แรงงานต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 จังหวัดสตูล มีแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายคงเหลือ ทั้งสิ้น 3,706 คน โดยส่ว นใหญ่เ ป็น ประเภทพิสูจ น์สัญ ชาติ จํา นวน 2,429 คน (ร้อ ยละ 65.54) รองลงมาคือ แรงงานต่า งด้า วนํา เข้า (MOU) จํา นวน 1,114 คน (ร้อ ยละ 30.06) แรงงานต่า งด้า วประเภทชั่ว คราว (มาตรา 9) จํานวน 160 คน (ร้อยละ 4.32) และแรงงานต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน และกฎหมาย อื่นๆ จํานวน 3 คน (ร้อยละ 0.08) แผนภูมิ 27 แรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทการได้รับอนุญาต คงเหลือ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 2,429 2,500

2,000 จํานวน (คน) 1,500 1,114

1,000

500

160

3

0 ประเภ

ททั่วไ

าต นําเข

OU าม M

สัญช พิสูจน

าต ิ

ุนแล รลงท ริมกา สงเส ประเภทแรงงานตางดาว

ื่นๆ ม าย อ ะกฏห

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

หากพิจารณาตามสัญชาติของแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมายประเภทชั่วคราว(ตามมาตรา9) จํานวน 160 คน พบว่ามีแรงงานต่างด้าวสัญชาติจีนมากที่สุด จํานวน 31 คน รองลงมาได้แก่สัญชาติฟิลิปปินส์ จํานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 19.38 และ 13.75 ตามลําดับ ทั้งนี้อาชีพที่แรงงานต่างด้าวดังกล่าวข้างต้นเข้ามา ทํางานมากที่สุด คือ 1) ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ จํานวน 99 คน 2) ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ จํานวน 20 คน 3) อาชีพผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง จํานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 61.88 12.50 และ 8.75 ตามลําดับ ตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในการส่งเสริมการลงทุนจาก ต่างประเทศนั้น เมื่อมีการเข้ามาลงทุนประเทศที่เป็นเจ้าของทุนจะส่งผู้บริหารระดับสูงเข้ามาดูแลกิจการในประเทศ ไทย รวมถึงผู้ประกอบวิชาชีพ (ผู้เชี่ยวชาญ) ช่างเทคนิคเข้ามาควบคุมงานโดยตรง ดังนั้น ภาครัฐจึงควรส่งเสริมให้มี การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ใ ห้ แ ก่ แ รงงานไทย ซึ่ ง จะทํ า ให้ แ รงงานไทยสามารถพั ฒ นาศั ก ยภาพให้ เ ที ย บเท่ า มาตรฐานสากลได้ 35


2.3.2 แรงงานต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมาย สําหรับแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมาย ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 คงเหลือ 587คน ได้แก่ แรงงานต่างด้าวชนกลุ่มน้อย จํานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.19 และคนต่างด้าวตามมติ ครม. 6 สิงหาคม 2556 จํานวน 580 คน คิดเป็นร้อยละ 98.81 (ตารางภาคผนวกที่ 13) 2.4 การคาดประมาณกําลังแรงงาน-ผู้สําเร็จการศึกษา 2.4.1 ผลการสํารวจข้อมูลอุปสงค์แรงงานในเชิงปริมาณ 1) จํานวนลูกจ้าง/พนักงานของสถานประกอบการ จากการสํารวจข้อมูลอุปสงค์และอุปทานเพื่อรองรับการจัดทําแผนพัฒนากําลังคน ระดับจังหวัด ปี 2556 ซึ่งดําเนินการสํารวจสถานประกอบการในจังหวัดสตูล 28 สาขาอุตสาหกรรม จํานวน 274 แห่ง (สถานประกอบการที่มีรายชื่ออยู่ในระบบประกันสังคมจังหวัดสตูล ยกเว้นสถานศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจ) สําหรับจํานวนลูกจ้าง/พนักงานของสถานประกอบการในจังหวัด ในปี 2556 มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 9,202 ราย ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มแรงงานไร้ฝีมือมากที่สุด จํานวน 2,776 ราย (ร้อยละ 33.06) รองลงมาได้แก่กลุ่ม แรงงานฝี มื อ 2,846 ราย (ร้ อ ยละ 30.93) และกลุ่ม แรงงานกึ่ง ฝี มือ 2,424 ราย (ร้ อ ยละ 26.34) ตามลํา ดั บ (แผนภูมิ 28) แผนภูมิ 28 จํานวนลูกจ้าง/พนักงานปัจจุบันในจังหวัดสตูล ปี พ.ศ. 2556 จําแนกตามระดับฝีมือ 1,800

1,600

1,657

1,616 1,507 1,426

1,400

1,189

1,200

ชาย

917 1,000

ชาย หญิง

หญิง

800

600

288

400

314

179 109

200

0 แรงงานไรฝม  ือ

แรงงานกึง่ ฝมือ

แรงงานฝมือ

แรงงานฝมือขัน ้ สูง

ผูเ ชี่ยวชาญ/ผูบ  ริหาร

ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ข้อมูลจากการประมวลผลของระบบฐานข้อมูลแผนพัฒนากําลังคน (PMAN) กระทรวงแรงงาน

เมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่าลูกจ้าง/พนักงานปัจจุบันมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มากที่สุด จํานวน 2,508 ราย (ร้อยละ 22.44) รองลงมาได้แก่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 2,415 ราย (ร้อยละ 21.61) และระดับต่ํากว่ามัธยมศึกษาตอนต้น 2,178 ราย (ร้อยละ 19.49) ตามลําดับ ทั้งนี้กลุ่มผู้ทํางาน ที่ จ บการศึ ก ษาต่ํ า กว่ า มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายลงไป ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น แรงงานไร้ ฝี มื อ และแรงงานกึ่ ง ฝี มื อ ในขณะที่ ก ลุ่ ม ผู้ ทํ า งานที่ จ บการศึ ก ษาระดั บ ปวช. ขึ้ น ไปส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น แรงงานกึ่ ง ฝี มื อ และแรงงานฝี มื อ (แผนภูมิ 28)

36


แผนภูมิ 29 จํานวนลูกจ้าง/พนักงานปัจจุบันในจังหวัดสตูล ปี พ.ศ. 2556 จําแนกตามระดับการศึกษา 3000 2,508 2,415 2500 2,178

2,128

2000

จํานวน (คน) 1500

1,199

1000 609

500

134 3

0 ตรี ปวช. ิญญา อนุปร ปวส/

าย ตน อนตน าตอน อนปล ึ ษาต ศึกษ ึกษาต มศก มัธยม ัธยมศ ามัธย ว ม ก า ํ ่ ต

าตรี ปริญญ

าโท ปริญญ

าเอก ปริญญ

ระดับการศึกษา

ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ข้อมูลจากการประมวลผลของระบบฐานข้อมูลแผนพัฒนากําลังคน (PMAN) กระทรวงแรงงาน

2) การเข้าออกงานของแรงงาน เมื่อพิจารณาการเข้าออกงานของลูกจ้าง/พนักงาน ปี 2556 พบว่ามีแรงงานที่ออกจาก งานรวมทั้งสิ้น 1,754 ราย สาเหตุที่ออกจากงานเพราะลาออกเอง จํานวน 1,574 ราย (ร้อยละ 89.74 ) รองลงมา คือให้ออกเพราะลดตําแหน่งงาน 90 ราย (ร้อยละ 5.13) และการทําผิดและไล่ออก จํานวน 84 ราย (ร้อยละ 4.79) และการออกจากงานโดยเหตุผลอื่น ๆ จํานวน 6 ราย (ร้อยละ 0.34) สําหรับการเข้างานพบว่าเกินกว่าครึ่งเข้างาน เนื่องจากมีตําแหน่งงานใหม่ จํานวน 1,441 คน (ร้อยละ 87.92) แผนภูมิ 30 จํานวนการเข้าออกจากงานของลูกจ้างในจังหวัดสตูล จําแนกตามสาเหตุการออกจากงาน ลดงาน 90 คน 5.13%

ไลออก 84 คน 4.79%

อื่นๆ 6 คน 0.34% ลาออก 1,574 คน 89.74%

ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ข้อมูลจากการประมวลผลของระบบฐานข้อมูลแผนพัฒนากําลังคน (PMAN) กระทรวงแรงงาน

37


3) อาชีพทีข่ าดแคลน อาชี พ ที่ ข าดแคลน จํานวนแรงงานที่ข าดแคลนจะสะท้ อนภาพความต้ อ งการของ ตลาดแรงงานซึ่งอาจจะตึงตัวโดยตรงโดยสภาวะการขาดแคลนดังกล่าวนี้ สะท้อนทั้งการขาดแคลนในเชิงปริมาณ และคุณภาพทําให้ผู้ที่เกี่ยวข้องด้านอุปทานของแรงงานสามารถวางแผนในการจัดหาและในการรักษาบุคลากร ในสาขาที่ขาดแคลนเป็นพิเศษ สําหรับปี 2556 พบว่าขาดแคลนแรงงานในระดับต่ํากว่า ม.3 ระดับม.3 และระดับ ม.6 โดยขาดแคลนในสาขาอาชีพเดียวกัน คือ คนงานในฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา แรงงานในด้านการผลิต แรงงาน ทั่วไป (จํานวน 211 คน 515 คนและ 508 คน) ตามลําดับ รวมจํานวนที่ขาดแคลน 1,234 คน รองลงมาคือ ระดับ ปวช. คือ ช่างซ่อมยานยนต์ ช่างซ่อมจักรยานยนต์ขาดแคลน จํานวน 20 คน 2.4.2 ผลการสํารวจข้อมูลอุปทานแรงงานในเชิงปริมาณ ปี 2556 จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ผู้ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาในปี ก ารศึ ก ษา 2555 จากโรงเรี ย นในระดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 29 แห่ง และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 9 แห่ง พบว่าผู้สําเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาทั้งสิ้น จํานวน 2,834 คน โดยเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 1,780 คน และผู้สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1,052 คน จากข้อมูลดังกล่าวพบว่าผู้สําเร็จการศึกษา ส่วนใหญ่จะเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สํ าหรั บผู้ สํา เร็จ การศึ กษาระดั บ อาชีวศึ กษา จากข้อ มูล ของสถานศึก ษาระดับ ปวช. 4 แห่ ง และระดั บ ปวส./อนุ ป ริ ญ ญา 4 แห่ ง พบว่ า มี ผู้ สํ า เร็ จ การศึ ก ษา ในระดั บ ปวช. จํ า นวน 239 คน ส่วนในระดับ ปวส./อนุ ปริญ ญา มี ผู้ สําเร็จการศึกษาทั้งสิ้ น 401 คน โดยในระดั บ ปวช. สัดส่ วนของผู้สํ าเร็จ การศึกษาจะเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิงซึ่งแตกต่างจากในระดับมัธยมศึกษาที่มีเพศหญิงมากกว่ าเพศชาย ขณะเดียวกันในระดับ ปวส. สัดส่วนของผู้สําเร็จการศึกษาจะเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เมื่อพิจารณาจําแนกตามรายสาขาวิชาที่จบ พบว่า ในระดับ ปวช. สาขาอุตสาหกรรม มีผู้จบการศึกษามากที่สุด คือ 106 คน (ร้อยละ 44.35) รองลงมาได้แก่สาขาวิชาพาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ จํานวน 99 คน (ร้อยละ 41.42) ส่วนระดับ ปวส./อนุปริญญา สาขาที่มีผู้จบการศึกษามากที่สุด ได้แก่ สาขาอื่นๆ 218 คน (ร้อยละ 54.36) รองลงมาคือสาขาอุตสาหกรรม โดยมีผู้จบการศึกษา 85 คน (ร้อยละ 21.20) สําหรับ ระดับอุดมศึกษาไม่มีข้อมูลเนื่องจากไม่มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดสตูล แผนภูมิ 31 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษาทั้งหมดในระดับอาชีวศึกษา จําแนกตามเพศและสาขาที่จบปีการศึกษา 2554 250 218

200

ระดับ ปวช. 150 จํานวน (คน)

106

ระดับ ปวส.

99 85

100

62

50 23

19

17 7

4 0 รกรรม เกษต

รม คหกร

ุ สาห อต

ิ ี่ ว ย ุรกจ  งเท อ ริหารธ การท รม/บ กรรม ิชยกร ุ สาห อต พาณ สาขาวิชา

กรรม

ื่ ๆ อน สาขา

ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล

38


2.5 แรงงานไทยในต่างประเทศ สําหรับในไตรมาส 1 นี้ มีแรงงานไทยที่แจ้งความประสงค์ไปทํางานต่างประเทศ จํานวน 1 คน ซึ่งเป็ นผู้จ บการศึ ก ษาระดั บปริ ญ ญาตรี ขณะที่ไ ตรมาสก่อ นไม่ มี แ รงงานไทยที่ ล งทะเบี ย นแจ้ ง ความประสงค์ ไปทํางานต่างประเทศแต่อย่างใด ในส่วนของการอนุญาตให้ไปทํางานต่างประเทศไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 57) พบว่าแรงงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปทํางานต่างประเทศมีจํานวนทั้งสิ้น 19 คน โดยมีสัดส่วนลดลง จากไตรมาสก่อนคิดเป็นร้อยละ 9.52 ทั้งนี้เมื่อจําแนกตามภูมิภาคที่ไปทํางานพบว่าไปทํางานในภูมิภาคเอเชีย ทั้ง หมด และทํ า งานใน 3 ประเทศ คือ 1) ประเทศมาเลเซีย มากที่ สุ ด จํา นวน 17 คน 2) ประเทศสิ ง คโปร์ จํานวน 1 คน และ 3) ประเทศดูไบ จํานวน 1 คน โดยทั้งหมดเดินทางแบบ Re-Entry (การกลับไปทํางานอีกครั้ง หนึ่ง โดยการต่ออายุสัญญา) 2.6 การแนะแนวและส่งเสริมการมีอาชีพ กิจกรรมที่ดําเนินการอีกด้านหนึ่งของสํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล คือ กิจกรรมที่ดําเนินการ เพื่อส่งเสริมการมีงานทําในจังหวัดสตูล สําหรับไตรมาสนี้มีการจัด 3 กิจกรรม ผู้ได้รับประโยชน์ทั้งสิ้น 2,893 คน โดย กิจกรรมที่มีผู้เข้าร่วมและได้รับประโยชน์สูงสุด คือกิจกรรมแนะแนวอาชีพ มีการจัด 14 ครั้ง ผู้ได้รับประโยชน์ จํานวน 2,709 คน รองลงมาคือกิจกรรมส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ มีการจัด 2 ครั้ง ผู้ได้รับประโยชน์ จํานวน 174 คน และ กิจกรรมส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อผู้สูงอายุ มีการจัดเพียง 1 ครั้ง ผู้ได้รับประโยชน์น้อยสุด คือจํานวน 10 คน (รายละเอียดตามตาราง 11) หากพิจารณาตัวเลขผู้ได้รับประโยชน์จากการจัดกิจกรรมตามตาราง 11 พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมหรือผู้ได้รับ ประโยชน์เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิงได้รับประโยชน์คิดเป็นร้อยละ 66.26 และเพศชายได้รับประโยชน์ ร้อยละ 33.74 ตาราง 11 กิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อส่งเสริมการมีงานทําในจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทกิจกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 ผู้ได้รับประโยชน์ (คน) จํานวนครั้ง กิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อส่งเสริมการมีงานทํา ที่จัดกิจกรรม ชาย หญิง รวม 1. แนะแนวอาชีพ 2. ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ 3. ส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อผู้สูงอายุ รวม

14 2 1 17

928 48 976

1,781 126 10 1,917

2,709 174 10 2,893

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

2.7 การส่งเสริมคนพิการให้มีงานทํา รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ โดยการกําหนดยุทธศาสตร์ และมาตรการ รองรับเพื่อช่วยเหลือคนพิการให้มีอาชีพ มีงานทํา มีรายได้เป็นของตนเอง ไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวและสังคม และภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้กําหนดให้มีการจ้างงานคน พิการในระบบสัดส่วนโดยสถานประกอบการเอกชนที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๑๐๐ คนขึ้นไปต้องรับคนพิการเข้าทํางาน ในอัตราส่วนลูกจ้างทุก ๑๐๐คนต่อคนพิการ ๑ คน หากสถานประกอบการใดไม่ประสงค์จะรับคนพิการ เข้าทํางานจะต้องส่งเงินเข้ากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการแทน ซึ่งเป็นการช่วยเหลือให้คนพิการที่อยู่ในวัย แรงงานและมีศักยภาพได้มีงานทํา มีอาชีพที่มั่นคงและรายได้ที่แน่นอน เพื่อนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 39


สําหรับคนพิการในจังหวัดสตูล ที่ขึ้นทะเบียนไว้ ณ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสตูล มีจํานวนทั้งสิ้น 6,093 คน สัดส่วนเพิ่มขึ้ นจากไตรมาสก่อนคิดเป็นร้ อยละ 0.66 เมื่อพิจารณาจํานวนผู้พิการ แยกตามอําเภอพบว่ามีผู้พิการในอําเภอเมืองมากที่สุด จํานวน 2,076 คน หรือร้อยละ 34.07 ของจํานวนผู้พิการ ทั้งหมด รองลงมาคืออําเภอละงู จํานวน 1,306 คน หรือร้อยละ 21.43 สําหรับอําเภอมะนังมีผู้พิการน้อยที่สุด จํานวน 400 คน หรือร้อยละ 6.56 เมื่อพิจารณาจํานวนคนพิการแยกตามประเภทของคนพิการพบว่าผู้พิการทางการเคลื่อนไหว มี ม ากที่ สุ ด จํ า นวน 2,926 คน หรื อ ร้ อ ยละ 48.02 รองลงมาคื อ คนพิ ก ารทางการได้ ยิ น จํ า นวน 1,097 คน หรือร้อยละ 18 สําหรับผู้พิการทางออทิสติกมีน้อยที่สุด จํานวน 13 คน หรือร้อยละ 0.21 ตารางที่ 12 จํานวนผูพ้ ิการจังหวัดสตูล แยกตามอําเภอและประเภทความพิการ ณ 31 มีนาคม 2557 ประเภทความพิการ อําเภอ

ทางการ มองเห็น

ทางการได้ยิน

ทางการเคลือ่ นไหว

ทางจิตใจ

ทางสติ ปัญญา

ทางการ เรียนรู้

ทาง ออทิสติก

พิการ ซ้ําซ้อน

รวม

เมือง

137

447

977

125

256

4

6

124

2,076

ละงู ควนโดน ท่าแพ ควนกาหลง ทุ่งหว้า มะนัง

116 41 38 48 33 40

204 108 107 102 64 65

611 326 310 262 232 208

83 47 22 20 53 9

188 81 105 102 68 52

1 1 1 1 8 5

3 1 1 2 -

100 32 38 34 23 21

1,306 637 622 571 481 400

รวม

453

1,097

2,926

359

852

21

13

372

6,093

ที่มา : สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสตูล

สํ า หรั บ การรั บ ผู้ พิ ก ารเข้ า ทํ า งานในสถานประกอบการจั ง หวั ด สตู ล จากรายงานการปฏิ บั ติ ตามกฎหมายเรื่องการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ ของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดสตูล ประจําปี 2557 ซึ่งกําหนดให้นายจ้างหรือสถานประกอบการนับจํานวนลูกจ้างที่ไม่ใช่คนพิการ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2555 เพื่อคํานวณคนพิการที่ต้องรับเข้าทํางานในอัตราส่วนลูกจ้างที่มิใช่คนพิการทุกหนึ่งร้อยคนต่อคน พิการหนึ่งคน เศษของหนึ่งร้อยคนถ้าเกินห้าสิบคนต้องรับคนพิการเพิ่มอีกหนึ่งคน ทั้งนี้กรณีนายจ้างหรือเจ้าของ สถานประกอบที่มีสํานักงานสาขาให้นับจํานวนลูกจ้างรวมทุกสาขาเข้ากับสํานักงานใหญ่ของนิติบุคคลด้วย พบว่า อัตราส่วนลูกจ้างที่เป็นคนพิการตามกฎหมายกําหนด คือ 100 : 1 การรับผู้พิการเข้าทํางานในสถานประกอบการ ทั้งสิ้น 27 คน พบว่ามีการรับผู้พิการเข้าทํางานทั้งสิ้น จํานวน 27 คน ทั้งนี้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกําหนด ไว้ 100 % ตารางที่ 13 การรับผู้พิการเข้าทํางานในสถานประกอบการจังหวัดสตูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ลําดับ ที่ 1 2 3 4

ชื่อสถานประกอบการ บริษัทวู๊ดเวอร์คอังสุธน สาขาละงู จํากัด บริษัทผลิตภัณฑ์ปลากระป๋องสยามจํากัด บริษัทสตูลขนส่ง (2513) จํากัด บริษัทโรงเลื่อยอังสุธน จํากัด

จํานวนลูกจ้าง ทั้งหมด ไม่รวมคนพิการ (ราย) 325 1,266 151 166

อัตราส่วนลูกจ้าง ที่เป็นคนพิการ 100:1 (ราย)

รับคนพิการเข้าทํางาน ตามมาตรา 33 (ราย)

3 13 2 2

3 13 2 2 40


ตารางที่ 13 การรับผู้พิการเข้าทํางานในสถานประกอบการจังหวัดสตูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 (ต่อ) จํานวนลูกจ้าง ทั้งหมด ลําดับ ชื่อสถานประกอบการ ที่ ไม่รวมคนพิการ (ราย) 5 บริษัทปาล์มไทยพัฒนา จํากัด 220 6 บริษัทกว๋างเขิ่นรับเบอร์ (สตูล) จํากัด 203 7 บริษัท เค เอส พี พาราวู๊ด จํากัด 128 8 ห้างหุ้นส่วน พลายงาม พาราวู๊ด จํากัด 202 รวม 2,661 ที่มา : สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสตูล

อัตราส่วนลูกจ้าง ที่เป็นคนพิการ 100:1 (ราย)

รับคนพิการเข้าทํางาน ตามมาตรา 33 (ราย)

2 2 1 2 27

2 2 1 2 27

3) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน ในรอบไตรมาส 1 ปี 2557 (เดือนมกราคม-มีนาคม 2557) ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานได้ดําเนินการ ฝึกอบรมพัฒนาผู้ใช้แรงงานในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การฝึกเตรียมเข้าทํางาน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน และการ ทดสอบมาตรฐานฝี มื อ แรงงาน เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพฝี มื อ แรงงานไทยให้ มี ม าตรฐานทั ด เที ย มประเทศต่ า งๆ ขณะเดียวกันเป็นการพัฒนาทักษะให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยภาพรวมของการฝึกต่างๆ ในไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) ดังนี้ การฝึ ก เตรี ย มเข้ า ทํ า งานในรอบไตรมาส 1 ปี 2557 มี จํ า นวนทั้ ง สิ้ น 23 คน โดยมี ก ารฝึ ก ฯ ใน 2 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ 1) ช่างเครื่องกล จํานวน 13 คน 2) ช่างอุตสาหกรรมศิลป์ จํานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 และ 43.48 ตามลําดับ สําหรับการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานในไตรมาส 1 ปี 2557 จํานวนทั้งสิ้น 464 คน อัตราการฝึก เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้วที่มีร้อยละ 27.03 โดยมีการฝึกเพียงกลุ่มอาชีพเดียว คือกลุ่มธุรกิจและบริการ และจาก การติดตามผลหลังการฝึกของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด พบว่าผู้ผ่านการฝึก ได้งานทําทุกคน หรือคิดเป็น ร้อยละ 100 นั่นเอง นอกจากการฝึกอบรมมาตรฐานฝีมือแรงงานในรูปแบบต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัด ยังมีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานให้กับผู้สนใจ โดยในไตรมาส 1 ปี 2557 มีผู้เข้ารับการทดสอบทั้งสิ้น 190 คน โดยมีการทดสอบใน 2 กลุ่มอาชีพ คือ 1) กลุ่มช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ จํานวน 100 คน ผู้ผ่านการทดสอบฯ จํานวน 36 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 36 2) กลุ่มธุรกิจและบริการ จํานวน 90 คน ผู้ผ่านการฝึก จํานวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 80

4) การคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการ 4.1 การตรวจแรงงาน กระทรวงแรงงานนอกจากจะมีภ ารกิจ ด้า นการส่ง เสริม การมีง านทํา การพัฒ นาฝีมือ แรงงานเพื่อยกระดับฝีมือให้เป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน และทัดเทียมมาตรฐานสากลแล้ว อีกภารกิจหนึ่ง ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องภายหลังการส่งเสริมให้คนมีงานทําแล้วคือ ภารกิจด้านการคุ้มครองลูกจ้าง นายจ้างให้ได้รับ ความเป็นธรรมในการจ้างงาน โดยสํานักงานสวัส ดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล หน่วยงานในสังกัด กระทรวงแรงงาน เป็น หน่ว ยงานที่ม ีบ ทบาทในการคุ้มครองผู้ ใช้ แรงงานให้ ได้รั บความเป็นธรรมจากการจ้างงาน ภายใต้ พระราชบั ญญั ติ คุ้ มครองแรงงานเพื่ อไม่ ให้ ถู กเอารั ดเอาเปรี ยบจากนายจ้ า ง โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายสู ง สุ ด คือให้มีคุณภาพชี วิตที่ดีขึ้น ขณะเดียวกันในอีกด้านหนึ่งก็ ต้องผดุ งไว้ซึ่งความยุติธรรมกับฝ่ายนายจ้าง กล่าวคือ ไม่โอนเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง ทั้งนี้มาตรการที่จะช่วยให้ผู้ใช้แรงงานได้รับรายได้แ ละสวัส ดิการที่ เป็นธรรมเพียงพอ 41


ต่อ การดํา รงชีวิ ต รวมถึ ง ได้รั บ การคุ้ม ครองแรงงานให้มีคุณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้น ได้ คื อ การตรวจสถานประกอบการ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้แรงงานได้รับการปฏิบัติและดูแลตามกฎหมาย ขณะเดียวกันจะเป็นมาตรการในการกระตุ้นให้สถาน ประกอบการ เอาใจใส่ดูแลลูกจ้างของตนให้มากขึ้นอีกด้วย สําหรับในไตรมาส 1 ปี 2557 (ช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2557) สํานักงานสวัสดิการและ คุ้ มครองแรงงานจั งหวั ดสตู ล ได้ ดํ าเนิ นการตรวจสถานประกอบการทั้ งสิ้ น 46 แห่ ง เมื่ อเที ยบกั บไตรมาสที่ ผ่ านมา พบว่ ามี อั ตราการตรวจเพิ่ มขึ้ น คิ ดเป็ นร้ อยละ 15 (ไตรมาสก่ อนมี การตรวจสถานประกอบการ จํานวน 46 แห่ง) สําหรับลูกจ้างที่ได้รับการตรวจหรือได้รับการคุ้ม ครอง จํา นวน 1,976 คน จํา แนกเป็น ลูก จ้า งชาย 1,029 คน ลูกจ้างหญิง 947 คน คิดเป็นร้อยละ 52.07 และ 47.93 ของลูกจ้างที่ผ่านการตรวจทั้งหมด ตามลําดับ ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก หากพิจารณาสถานประกอบการที่ตรวจ สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แ ก่ 1) ขนาด 10-19 คน จํา นวน 17 แห่ง 2) ขนาด 1-4 คน และขนาด 5-9 คน (มีสัดส่วนการตรวจเท่ากัน) จํานวนขนาดสถานประกอบการละ 6 แห่ง 3) ขนาด 20-49 คน และขนาด 5099 คน (มีสัดส่วนการตรวจเท่ากัน) จํานวนละ 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36.96 13.04 และ 10.87 ตามลําดับ (ตาราง 14 และตารางภาคผนวกที่ 12) ตาราง 14 เปรียบเทียบจํานวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่ผา่ นการตรวจในจังหวัดสตูล ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 ขนาด สถานประกอบการ 1-4 คน 5-9 คน 10-19 คน 20-49 คน 50-99 คน 100-299 คน 300-499 คน รวม

สถานประกอบการ/ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ ไตรมาส 4 ปี 2556 ไตรมาส 1 ปี 2557 สถานประกอบการ ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ สถาน ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ (แห่ง) (คน) ประกอบการ (คน) (แห่ง) 9 26 6 15 17 132 6 37 3 43 17 231 9 290 5 128 2 113 5 359 4 549 3 657 40 604 46 1,976

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล

ในส่วนผลการตรวจพบว่ าสถานประกอบการในจังหวัดสตู ลปฏิ บั ติถูกต้ องตามกฎหมายทั้ งหมด หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 100 ของจํ า นวนสถานประกอบการที่ ต รวจทั้ ง หมด เช่ น เดี ย วกั บ ไตรมาสก่ อ น ที่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายร้อยละ 100 นั่นเอง ในส่วนของสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน พบว่าไตรมาสนี้ ไม่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานแต่อย่างใด แต่หากสํานักงานสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานจังหวัด ตรวจพบว่าสถานประกอบการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานจะมีการดําเนินการ เพื่ อให้ สถานประกอบการนั้ นปฏิ บั ติ ให้ ถู กต้ องตามกฎหมายแรงงานเพื่ อให้ เกิ ดความเป็ นธรรมแก่ ลู กจ้ าง ได้ แก่ การแนะนํ า ให้ ป ฏิ บั ติ ใ นสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง การออกหนั ง สื อ เชิ ญ พบการออกคํ า สั่ ง ให้ ดํ า เนิ น การเปรี ย บเที ย บปรั บ หรือการส่งเรื่องดําเนินคดี ทั้งนี้จะดําเนินการในลักษณะใดจะพิจารณาตามความรุนแรงของปัญหา 42


สํา หรั บ การตรวจความปลอดภั ย ในการทํ า งาน ซึ ่ ง เป็ น เครื ่ อ งมื อ ในการคุ ้ ม ครองดู แ ล ความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และสภาพแวดล้ อมในการทํ างานของลู กจ้ าง นอกจากนี้ การตรวจความปลอดภั ย ในการทํ างานยั งเป็ นอี กมาตรการหนึ่ งที ่ดํ า เนิน การเพื ่อ กระตุ ้น ส่ง เสริม ให้เ จ้า ของสถานประกอบการ เห็น ความสํา คัญ และตระหนัก ถึง เรื่อ งความปลอดภัย ในการทํา งาน เพราะหากการทํา งานมีค วามปลอดภัย ย่อ มส่ง ผลถึง คุณ ภาพชีวิต ที ่ดีข องผู้ใ ช้แรงงานตามมา เมื่อคนงานมีคุณภาพชี วิตที่ ดีจะทํางานอย่างมี ความสุ ข และจะส่งผลต่อผลผลิตที่เพิ่มสูงขึ้นของสถานประกอบการ อันจะนําไปสู่ผลกําไรตามมานั่นเอง ในไตรมาสที่ 1 ปี 2556 ช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2557 สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจัง หวัด สตูล ได้ดํา เนิน การตรวจความปลอดภัย ในสถานประกอบการทั้ง สิ้น 29 แห่ง ลูกจ้า งที่ผ่า น การตรวจทั้งสิ้น 1,374 คน โดยในไตรมาส 1 นี้ มีการตรวจสถานประกอบการเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 4 ปี 2556 ร้อยละ 16 (ไตรมาส 4 ปี 2556 ตรวจ 25 แห่ ง) ขณะที่ สั ดส่ วนของลู กจ้ างที่ ได้ รั บการดู แลคุ้ มครองด้ านความปลอดภั ย เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 191.72 ตาราง 15 เปรียบเทียบการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการ จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 ไตรมาส 4 ปี 2556 สปก.ที่ผ่านการตรวจ ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ (แห่ง) (คน) 1-4 คน 3 8 5-9 คน 12 97 10-19 คน 1 13 20-49 คน 7 240 50-99 คน 2 113 100-299 คน 1,000 คนขึ้นไป รวม 25 471 ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล ขนาด สปก.

ไตรมาส 1 ปี 2557 สปก.ที่ผ่านการตรวจ ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ (แห่ง) (คน) 4 4 5 5 10 10 1 1 3 3 6 6 29 29

ในส่วนผลการตรวจพบว่าสถานประกอบการในจังหวัดสตูลสามารถปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย ได้ ทุ ก แห่ ง หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 100 ขณะที่ ไ ตรมาสก่ อ นมี ส ถานประกอบการที่ ป ฏิ บั ติ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย ความปลอดภัยคิดเป็นร้อยละ 100 เช่นเดียวกัน แสดงให้เห็นว่าสถานประกอบการได้ให้ความสําคัญในการปรับปรุง ดูแลเรื่องความปลอดภัยของการทํางานได้เป็นอย่างดี เมื่อได้รับคําแนะนําจากเจ้าหน้าที่ ตาราง 16 เปรียบเทียบการตรวจความปลอดภัยกับการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 ขนาด สปก. 1-4 คน 5-9 คน 10-19 คน 20-49 คน 50-99 คน 100-299 คน 1,000 คนขึ้นไป รวม

ไตรมาส 4 ปี 2556 สปก.ที่ผ่านการตรวจ สปก.ที่ปฏิบัติถูกต้อง (แห่ง) (แห่ง) 3 3 12 12 1 1 7 7 2 2 25 25

ไตรมาส 1 ปี 2557 สปก.ที่ผ่านการตรวจ สปก.ที่ปฏิบัติถูกต้อง (แห่ง) (แห่ง) 4 10 5 31 10 141 1 25 3 211 6 956 29 1,374

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล 43


ประเภทอุ ต สาหกรรมที ่ ม ี ก ารตรวจความปลอดภั ย สู ง สุ ด ในไตรมาส 1 ปี 2557 ได้ แ ก่ ธุ ร กิ จ การขายส่ ง การขายปลีก การซ่อ มแซมยานยนต์ รถจัก รยานยนต์ ของใช้ส่ว นบุค คล และของใช้ ในครัว เรือ นมีสัด ส่ว นการตรวจฯ จํา นวน 14 แห่ง รองลงมาคือสาขาการผลิต จํานวน 9 แห่ง 3) สาขาการ โรงแรมและภัตตาคาร จํานวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 48.28 31.03 และ 13.79 ตาราง 17 ผลการตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 สปก.ที่ผ่านการตรวจ

ประเภทอุตสาหกรรม 1. การทําเหมืองแร่และเหมืองหิน 2. การผลิต 3. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ ฯลฯ 4. การโรงแรมและภัตตาคาร 5. การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม รวม ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล

1 9 14 4 1 29

ผลการตรวจ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง 54 888 373 53 6 1,374 -

การดํ า เนิน การของเจ้า หน้า ที ่สํ า หรับ สถานประกอบการที ่ป ฏิบ ัต ิไ ม่ถ ูก ต้อ งตามกฎหมาย ความปลอดภัย จะมี ลั ก ษณะเดี ย วกั บ การตรวจคุ้ ม ครองแรงงานที่ ก ล่ า วมาแล้ ว คื อ หากพบสิ่ ง ที่ พิ จ ารณา แล้ ว เห็ น ว่ า เกิ ด ความไม่ป ลอดภัย จะดําเนินการตามความรุนแรงของปัญหา ได้แก่การให้คําแนะนําในวิธีการปฏิบัติ ที่ถูกต้อง การออกคําสั่งให้ส่งเอกสาร เรียกพบ ปรับปรุง หรือหยุดการใช้เครื่องจักร รวมทั้งการส่งเรื่องดําเนินคดี ทั้ ง นี้ บางแห่ ง อาจมี ก ารดํ า เนิ น คดี ม ากกว่ า 1 เรื่ อ ง สํา หรับ ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มี น าคม 2557) ไม่มีจํานวนสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัย 4.2 การประสบอันตราย/เจ็บป่วยจากการทํางาน สํา หรั บ การประสบอั น ตราย หรื อ เจ็ บ ป่ ว ยเนื่ อ งจากการทํา งานในรอบไตรมาส 1 ปี 2 5 5 7 เดื อ นมกราคม- มี น าคม 2557 พบว่ า การประสบอั น ตรายหรื อ เจ็ บ ป่ ว ยเนื่ อ งจากการทํ า งาน มี ทั้ งสิ้ น 36 ราย เมื่ อเที ยบกั บไตรมาสก่ อนพบว่ ามี สั ดส่ วนเพิ่ มขึ้ นเท่ าตั ว (ไตรมาส 4 ปี 2556 มีการประสบอันตรายฯ จํานวน 18 ราย) โดยสถานประกอบการขนาด 200-499 คน มีลูกจ้างประสบอันตราย มากที่สุด จํานวน 12 ราย รองลงมาคือสถานประกอบการขนาด 1,000 คนขึ้นไป จํานวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.33 และ 16.67 ตามลําดับ ขณะที่สถานประกอบการขนาด 1-4 คน มีการประสบอันตรายฯ น้อยที่สุด จํานวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.78 เมื่อพิจารณาตัวเลขดังกล่าว พบว่าการประสบอันตรายฯ ที่เพิ่มขึ้นนายจ้างและสถาน ประกอบการควรให้ความสําคัญกับความปลอดภัย ในการทํางานให้มากขึ้น แผนภูมิ 32 ผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางานในจังหวัดสตูล จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 1 ปี 2557 12

12

10

8

จํานวน (คน)

6 6

5

5 4

4

3

2

1

0 1-4 คน

10-19 คน

20-49 คน

50-99 คน 100-199 คน ขนาดสถานประกอบการ

200-499 คน

1,000 คนขึ้นไป

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล 44


เมื่อพิจารณาผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน 36 คน ตามประเภทความร้ายแรง พบว่ามีความร้ายแรง 2 ประเภท คือหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จํานวน 19 ราย และหยุดงานเกิน 3 วัน จํานวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 55.56 และ 44.44 ตามลําดับ ซึ่งลูกจ้างสามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายตามจริง แต่ไม่เกิน 35,000 บาท หากเจ็บป่วยรุนแรงสามารถเบิกจ่ายเพิ่มได้ตามความจําเป็นแต่ไม่เกิน 200,000 บาท กรณีที่ลูกจ้างต้องหยุดพักรักษาตัวจะได้รับเงินค่าทดแทน ซึ่งคิดจาก 60% ของค่าจ้างต่อเดือนตามระยะเวลา ที่แพทย์กําหนด โดยจะได้รับเป็นรายเดือนเป็นระยะเวลาไม่เกิน 12 เดือน (ทั้งนี้ต้องหยุดงานติดต่อกันเกิน 3 วัน) ทั้งนี้จะสังเกตได้ว่าการประสบอันตรายในการทํางานของสถานประกอบการในจังหวัดสตูล ไม่มีความร้ายแรงงาน ถึงขั้นตาย สูญหาย หรือสูญเสียอวัยวะแต่อย่างใด แผนภูมิ 33 การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนือ่ งจากการทํางานในจังหวัด จําแนกตามประเภทผล การประสบอันตราย ไตรมาส 1 ไตรมาส 4 ปี 2556 และไตรมาส 1 ปี 2557 19 20

18

หยุดงานเกิน 3 วัน

16

16

14 13

13

หยุดงานไมเกิน 3 วัน

14

12

10

8 4 6

4

2

0 ไตรมาส 1 ป 2556

ไตรมาส 4 ป 2556

ไตรมาส 1 ป 2557

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

สํ า หรั บ สาเหตุ ก ารประสบอั น ตรายเนื่ อ งจากการทํ า งานสู ง สุ ด 3 อั น ดั บ แรกในไตรมาสนี้ ได้ แ ก่ 1) วัตถุหรือสิ่ งของพังทลายหล่นทับ จํ า นวน 10 ราย 2) วัต ถุห รือ สิ่ง ของตัด /บาด/ทิ ่ม แทง จํ านวน 8 ราย และ 3) วัตถุหรือสิ่งของกระแทก/ชน จํานวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.78 22.22 และ 16.67 ตามลําดับ ขณะที่ สาเหตุตกจากที่สูง, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างพังทับ, วัตถุหรือสิ่งของหนีบ/ดึง, ยกหรือเคลื่อนย้ายของหนัก, อุบัติเหตุ จากยานพาหนะ มีการประสบอันตรายน้อยที่สุด จํานวนสาเหตุละ 1 ราย แผนภูมิ 34 สาเหตุการประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน 3 อันดับแรก ไตรมาส 1 ปี 2557 10

10 9

8

8 7 6 6

5

5 4 3 2 2

1

1

1

1

1

1 0 ั บ ั ี่ งู นะ ตา ทง ลม นัก ทบ /ดึง /ช น ทส ังท าห ิ่ แ ม ลื่น เขา ลน นีบ ทก องห งพ จาก งห ลม านพ ด/ท เด็น ยข ายห ระแ อ สรา า ะ ย ตก า  ล ก ร ข  อ บ ก หก ย ง ีก น อ ังท สงิ่ งิ่ ก ุจา ัด/ คม ลื่อ งิ่ ข รือส ิเหต ุหรือ องต องพ ารเ ือส ือเค งิ่ ข งิ่ ข ุ ัต ารห ุหร วัตถ รือส หร อบ ือส ือส งห ยก อาค วัตถ ุหร ุหร อ ถ ถ วัต วัต สงิ่ ข ุหรือ วัตถ

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล 45


4.3 การสวัสดิการแรงงาน กิจกรรมที่ช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ใช้แรงงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนอกเหนือจากการตรวจ สถานประกอบการ เพื่อให้การคุ้มครองให้ผู้ใช้แรงงานตามที่ได้กล่าวมาแล้ว สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดสตูล ยังมีการส่งเสริมการจัดสวัสดิการแรงงานในสถานประกอบการโดยในไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้ดําเนินการส่งเสริมและให้สถานประกอบการ จัดสวัสดิการแก่ลูกจ้างหรือผู้ใช้แรงงาน รวมถึงนายจ้างเจ้าของสถานประกอบการ 1 กิจกรรม คือ กิจกรรมส่งเสริม และให้บริการด้านสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด จํานวน 15 แห่ง ลูกจ้างที่ได้รับประโยชน์ 1,234 คน หากพิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บจํ า นวนครั้ ง ของกิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม พบว่ า มี สั ด ส่ ว นลดลง จากไตรมาส 1 ปี 2556 คิดเป็นร้อยละ 21.05

4.4 การเลิกจ้างแรงงาน o

สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล รายงานสถานการณ์เลิกจ้าง ไตรมาส 1 ปี 2557 พบว่ามี จํา นวน 12 แห่ ง ซึ่ ง เป็ น การหยุด กิ จ การชั่ ว คราวของสถานประกอบการ ไม่ใ ช่ ก รณี เ ลิ ก จ้ า ง และไม่ มี ลูก จ้ า ง เนื่องจากนายจ้างประกอบกิจการเอง

5) การประกันสังคม ภารกิจด้านการประกันสังคมเป็นอีกภารกิจที่กระทรวงฯ โดยสํานักงานประกันสังคมจังหวัด มีหน้าที่ ต้องดู แ ลผู้ ใ ช้แ รงงาน เพื่ อ ให้มี คุณภาพชี วิตที่ ดีขึ้น และมีห ลั ก ประกั นชี วิ ตที่ มั่ น คงเมื่ อ ยามชราอี กด้ วย ข้อมู ล ณ เดือนมีนาคม 2557 พบว่ามีสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมทั้งสิ้น 896 แห่ง ผู้ประกันตนทั้งสิ้น 11,595 คน ส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดต่ํากว่า 10 คน จํานวน 674 แห่ง รองลงคือสถานประกอบการ ขนาด 10-19 คน จํานวน 107 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 75.22 และ 11.94 ตามลําดับ ขณะที่สถานประกอบการขนาด 1,000 คนขึ้นไป มีสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนฯ จํานวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0.11 (รายละเอียดปรากฏ ตามตาราง 18) ตาราง 18 จํานวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคมในจังหวัดสตูล ณ เดือนมีนาคม 2557 ขนาด สปก. < 10 คน 10-19 คน 20-49 คน 50-99 คน 100-199 คน 200-499 คน >= 1,000 คนขึ้นไป รวม ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

สปก. (แห่ง) 674 107 72 27 10 5 1 896

ผปต. (คน) 2,095 1,454 2,180 1,830 1,332 1,471 1,233 11,595

46


ปั จ จุ บั น จั ง หวั ด สตู ล มี ส ถานพยาบาลในสั ง กั ด ประกั น สั ง คมที่ เ ป็ น สถานพยาบาลของรั ฐ บาล จํานวน 1 แห่ง คือโรงพยาบาลเมืองสตูล ในด้านสถานะเงินกองทุนพบว่า ในไตรมาส 1 สถานะของเงินกองทุนประกันสังคม มีเงินเข้ากองทุน จํ า นวน 31,016,167.80 บาท ซึ่ ง มี อั ต ราการใช้ บ ริ ก ารของกองทุ น ประกั น สั ง คม พิ จ ารณาตามประเภท ของประโยชน์ทดแทน 7 กรณี ได้แก่ เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน พบว่ าจํ า นวนครั้ ง ของผู้ ใ ช้ บริ ก ารมีทั้ง สิ้น 5,459 ครั้ ง ลดลงจากไตรมาสก่อ นเล็ กน้ อย คิ ด เป็นร้ อยละ 3.14 (ไตรมาส 4 ปี 2556 มีผู้ใช้บริการทั้งสิ้น 5,636 ครั้ง) สําหรับประเภทประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนใช้บริการสูงสุด 3 อันดับแรก ดังนี้ 1) กรณีสงเคราะห์ บุตร มีผู้ใช้บริการ จํานวน 4,151 ครั้ง 2) กรณีเจ็บป่วย จํานวน 783 ครั้ง 3) กรณีคลอดบุตร จํานวน 251 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 76.04 14.34 และ 4.60 ตามลําดับ ขณะที่ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีตายมีน้อยที่สุด จํานวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.24 แผนภูมิ 35 ผูป้ ระกันตนในจังหวัดสตูล ที่ใช้บริการกองทุนประกันสังคม จําแนกตามประเภทประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 1 ปี 2557 4,500

4,151

4,000

3,500

3,000

2,500

2,000

1,500

1,000

783

251

500

13

14

45

202

เจ็บปวย

คลอดบุตร

ทุพพลภาพ

ตาย

สงเคราะหบุตร

ชราภาพ

วางงาน

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

47


หากพิ จ ารณาตามปริ ม าณการจ่ า ยเงิ น ประเภทประโยชน์ ท ดแทน จะพบว่ า มี ก ารจ่ า ยเงิ น ทั้ ง สิ้ น 15,164,988.97 บาท โดยกรณีคลอดบุตรบุตรมีการจ่ายเงินสูงสุด จํานวน 5,563,544 บาท รองลงมาได้แก่กรณี สงเคราะห์บุตร จํานวน 5,356,400 บาท คิดเป็นร้อยละ 36.69 และ 35.32 ตามลําดับ ขณะที่จ่ายในประเภท ทุพพลภาพน้อยที่สุด จํานวน 108,357 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 แผนภูมิ 36 การจ่ายเงินประโยชน์ทดแทนจังหวัดสตูล (เนื่องจากการทํางาน) จําแนกตามประเภทความร้ายแรง ไตรมาส 1 ปี 2557 6,000,000 5,196,000.00 5,000,000

3,913,791.00 4,000,000

3,000,000

1,822,974.30 1,724,977.15

2,000,000

1,000,000

420,315.00 306,259.00 106,857.00

0 เจ็บปวย

คลอดบุตร

ทุพพลภาพ

ตาย

สงเคราะหบุตร

ชราภาพ

วางงาน

ที่มา : สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสตูล

ส่ ว นสถานะกองทุ น เงิ น ทดแทนในไตรมาส 1 พบว่ า มี เ งิ น เข้ า กองทุ น จํ า นวน 2,303,202 บาท และมีรายจ่ายเป็นเงิน จํานวน 383,320.85 บาท โดยกองทุนจ่ายในกรณีหยุดงานไม่เกิน 3 วันมากที่สุด จํานวน 19 คน รองลงมาจ่ายในกรณีหยุดงานเกิน 3 วัน จํานวน 6 คน และจ่ายกรณีตาย จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 52.78 44.44 และ 2.78 ตามลําดับ ประเภทสถานประกอบการที่ อ ยู่ ใ นข่ า ยของกองทุ น เงิ น ทดแทนมากที่ สุ ด 3 อั น ดั บ แรก คื อ 1) ประเภทการค้ า จํ า นวน 289 แห่ ง 2) ประเภทกิ จ การอื่ น ๆ จํ า นวน 230 แห่ ง 3) การผลิ ต ประกอบ ยานพาหนะ จํานวน 51 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 38.53 30.67 และ 6.80 ตามลําดับ

48


ภาคผนวก


ตาราง 1 จํานวนประชากรจําแนกตามสถานภาพแรงงาน ป 2553- ปจจุบัน หนวย : คน

สถานภาพแรงงาน ประชากรรวม ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป 1. ผูอยูในกําลังแรงงาน 1.1 กําลังแรงงานปจจุบัน 1.1.1 ผูมีงานทํา 1.2.2 ผูวางงาน 1.3 กําลังแรงงานที่รอฤดูกาล 2. ผูไมอยูในกําลังแรงงาน 2.1 ทํางานที่บาน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่นๆ ประชากรอายุต่ํากวา 15 ป ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

คาเฉลี่ย ป 2553 292,300 220,478 166,378 166,356 164,167 2,189 22 54,101 22,635 12,867 18,600 71,822

คาเฉลี่ย ป 2554 295,949 224,561 167,249 167,249 166,047 1,202 57,312 23,337 14,392 19,583 71,388

คาเฉลี่ย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ป 2555 ป 2556 ป 2556 299,707 302,095 303,730 228,556 231,060 232,761 171,073 171,310 166,334 171,064 171,275 166,334 166,047 170,557 165,499 1,137 718 835 19 35 57,483 59,750 66,427 22,640 22,344 26,302 14,201 13,174 16,530 20,642 24,232 23,595 71,151 71,035 70,969

ไตรมาส 3 ป 2556 ชาย หญิง รวม 152,998 151,053 304,051 116,362 116,734 233,096 99,277 66,878 166,155 99,277 66,878 166,155 98,797 66,620 165,417 480 258 738 17,085 49,856 66,941 65 27,496 27,561 7,593 9,690 17,283 9,427 12,671 22,098 36,636 34,319 70,955


ตาราง 2 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ไตรมาส 3 ปี 2556 ประเภทอุตสาหกรรม 1. เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ 2. การทําเหมืองแร่ และเหมืองหิน 3. การผลิต 4. การไฟฟ้า ก๊าช และการประปา 5. การจัดหาน้ํา บําบัดน้ําเสีย 6. การก่อสร้าง 7. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ฯ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 8. การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม 9. โรงแรมและภัตตาคาร 10. ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 11. การเป็นสื่อกลางทางการเงินและประกันภัย 12. กิจการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและกิจกรรมทางธุรกิจ 13. กิจกรรมทางวิชาชีพและเทคนิค 14. การบริหารและสนับสนุน 15. การบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ 16. การศึกษา 17. งานด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 18. ศิลปะความบันเทิง นันทนาการ 19. กิจกรรมด้านบริการชุมชน สังคม และการบริการส่วนบุคคลอื่นๆ 20. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 21. ไม่ทราบ รวม ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

ไตรมาส 3 ปี 2556 หญิง 27,946 4,531 98

ชาย 57,581 5,502 458 276 7,497 12,089

664 12,845 187 6,841 211 283

2,014 1,734 864 235 -

780 6,533 1,146 688 937 278 185 98,797

70 368 3,991 4,044 2,298 196 1,716 212 119 66,620

รวม 85,527 10,032 556 276 8,161 24,934 2,201 8,575 1,075 518 70 1,148 10,524 5,190 2,986 1,133 1,994 212 304 165,417


ตาราง 3 ผู้มีงานทําจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพและเพศ ปี 2553-ปัจจุบัน ประเภทอาชีพ 1. ผู้บัญญัติกฏหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 4. เสมียน 5. พนักงานบริการและพนักงานขายในร้านค้า และตลาด 6. ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง 7. ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 8. ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 9. อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 10. คนงานซึ่งมิได้จําแนกไว้ในหมวดอื่น รวม ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

ค่าเฉลี่ย ปี 2553 4,066 6,516 6,451 4,681 29,179 83,065 9,211 6,241 14,758 164,168

ค่าเฉลี่ย ปี 2554 2,211 8,993 3,620 4,415 31,314 85,249 10,325 5,714 14,206 166,047

ค่าเฉลี่ย ปี 2555 2,866 9,992 4,633 4,572 30,910 79,890 13,431 5,438 18,178 169,910

ไตรมาส 1 ปี 2556 2,025 9,259 3,173 4,314 31,691 81,841 15,274 5,398 17,582 170,557

ไตรมาส 2 ปี 2556 5,003 10,477 6,592 3,725 29,559 75,674 14,435 4,783 15,134 117 165,499

หน่วย : คน ไตรมาส 3 ปี 2556 ชาย หญิง รวม 3,613 3,255 6,868 2,898 6,055 8,953 4,222 3,761 7,983 1,094 2,013 3,107 9,456 16,216 25,672 52,945 25,282 78,227 11,226 3,410 14,636 4,880 288 5,168 8,488 6,196 14,684 119 119 98,822 66,595 165,417


ตาราง 4 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ ปี 2553-ปัจจุบัน หน่วย : คน

ระดับการศึกษา 1. ไม่มีการศึกษา 2. ต่ํากว่าประถมศึกษา 3. ประถมศึกษา 4. มัธยมศึกษาตอนต้น 5. มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา 6. มหาวิทยาลัย - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา 7. อื่นๆ 8. ไม่ทราบ รวม ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

ค่าเฉลี่ย ปี 2553 4,626 35,138 48,000 27,003 27,870 24,100 3,535 235 22,987 11,862 6,908 4,217 49 608 166,281

ค่าเฉลี่ย ปี 2554 5,178 34,908 44,396 28,282 28,173 23,312 4,808 53 25,069 12,927 7,526 4,616 41 166,047

ค่าเฉลี่ย ปี 2555 4,004 34,962 45,837 26,167 29,900 25,298 4,480 122 29,040 15,760 7,986 5,294 169,910

ไตรมาส 1 ปี 2556 4,777 33,500 51,872 26,238 29,173 24,120 5,018 35 24,868 10,638 7,354 6,876 129 170,557

ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ปี 2556 ปี 2556 ชาย หญิง 4,580 2,191 2,212 26,991 16,229 11,220 51,703 32,962 17,610 26,550 16,461 10,896 27,183 18,502 9,326 23,876 15,587 8,908 3,307 2,915 418 28,191 12,269 15,322 13,477 5,370 7,473 8,350 5,786 3,799 6,364 1,113 4,050 79 222 183 34 165,499 98,797 66,620

รวม 4,403 27,449 50,572 27,357 27,828 24,495 3,333 27,591 12,843 9,585 5,163 34 165,417


ตาราง 5 จํานวนผู้มีงานทํา ที่อยู่ในแรงงานนอกระบบจังหวัดสตูล จําแนกตามอุตสาหกรรมและเพศ ปี 2555 ประเภทอุตสาหกรรม รวม ชาย ภาคเกษตร 66,199 40,770 เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ 66,199 40,770 นอกภาคเกษตร 35,269 16,292 การผลิต 3,094 984 การก่อสร้าง 4,362 4,180 การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ฯ 17,245 7,093 ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร การบริหารและสนับสนุน การบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ การศึกษา งานด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ ศิลปะความบันเทิง นันทนาการ กิจกรรมการบริการอื่นๆ รวม

ที่มา : สํานักงานสถิติจังหวัดสตูล

1,450 5,875 318 446 110 160 98 2,111 101,468

1,237 1,453 256 216 873 57,062

หญิง 25,429 25,429 18,977 2,110 182 10,152 213 4,422 62 230 110 160 98 1,238 44,406


ตาราง 6 จํานวนตําแหน่งงานว่าง ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานจังหวัดสตูล จําแนกตามการศึกษา ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) ระดับการศึกษา ตําแหน่งงานว่าง (อัตรา) ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน (คน) บรรจุงาน (คน) ประถมศึกษาและต่ํากว่า 53 31 64 มัธยมศึกษา 122 291 100 ปวช./ปวส./อนุปริญญาตรี 400 79 115 ปริญญาตรี 98 90 139 ปริญญาโท 18 1 1 รวม 691 492 419 ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล


ตาราง 7 จํานวนตําแหน่งงานว่าง ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานจังหวัดสตูล จําแนกตามอาชีพ ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) ประเภทอาชีพ 1. ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส ผู้จัดการ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 3. ช่างเทคนิคและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 4. เสมียน เจ้าหน้าที่ 5. พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด 6. ผู้ปฏิบัติงานฝีมือด้านการเกษตรและประมง (แปรรูปขั้นพื้นฐาน) 7. ผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่างๆ 8. ผู้ปฏิบัติงานในโรงงาน ผู้ควบคุมเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบการ

9. อาชีพงานพื้นฐาน 10. ผู้ฝึกงาน รวม ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

ตําแหน่งงานว่าง (อัตรา) 45 90 27 115 136 2 172 15 89 0 691

ผู้ลงทะเบียน สมัครงาน (คน) 8 16 22 232 159 1 12 13 29 0 492

บรรจุงาน (คน) 33 46 21 117 92 2 10 8 90 0 419


ตารางที่ 8 แสดงจํานวนตําแหน่งงานว่างและการบรรจุงานจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557)

ประเภทอุตสาหกรรม 1. เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 2. การผลิต 3. การก่อสร้าง 4. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ 5. ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 6. ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 7. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 8. กิจกรรมวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์และกิจกรรมทางวิชาการ 9. กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน 10. การบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ

11. การศึกษา 12. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 13. กิจกรรมการบริการด้านอื่นๆ 14. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล รวม ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

ตําแหน่งงานว่าง อัตรา ร้อยละ 17 2.46 173 25.04 1 0.14 148 21.42 4 0.58 42 6.08 30 4.34 0 0.00 269 38.93 1 0.14 1 0.14 0 0.00 4 0.58 1 0.14 691 100.00

บรรจุงาน อัตรา ร้อยละ 3 0.72 77 18.38 4 0.95 151 36.04 7 1.67 37 8.83 11 2.63 1 0.24 119 28.40 1 0.24 1 0.24 1 0.24 5 1.19 1 0.24 419 100.00


ตารางที่ 9 แสดงการบรรจุงานจําแนกตามอายุ ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) ช่วงอายุ 15-17 18-24 25-29 30-39 40-49 50-59 60 ปีขึ้นไป รวม

ตําแหน่งงานว่าง อัตรา ร้อยละ 4 0.58 157 22.72 201 29.09 187 27.06 110 15.92 32 4.63 0 0.00 691 100.00

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

ผู้ลงทะเบียนสมัครงาน อัตรา ร้อยละ 33 6.71 304 61.79 78 15.85 46 9.35 24 4.88 7 1.42 0 0.00 492 100.00

บรรจุงาน อัตรา ร้อยละ 0 0.00 115 27.45 107 25.54 151 36.04 38 9.07 8 1.91 0 0.00 419 100.00


ตาราง 10 จํานวนลูกจ้าง/พนักงานปัจจุบันในจังหวัดสตูล จําแนกตามระดับการศึกษาและระดับฝีมือ ชาย หญิง รวม จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ ระดับฝีมือ แรงงานไร้ฝีมือ 1,616 33.82 1,426 32.24 2,776 33.06 แรงงานกึ่งฝีมือ 1,507 31.53 917 20.73 2,424 26.34 แรงงานฝีมือ 1,189 24.88 1,657 37.46 2,846 30.93 แรงงานฝีมือขั้นสูง 179 3.75 109 2.46 288 3.13 ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้บริหาร 288 6.03 314 7.1 868 6.54 รวม 4,779 100 4,423 100 9,202 100 ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ข้อมูลจากการประมวลผลของระบบฐานข้อมูลแผนพัฒนากําลังคน (PMAN) กระทรวงแรงงาน


ตาราง 11 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษาทั้งหมดในระดับอาชีวศึกษา จําแนกตามเพศและสาขาที่จบ จําแนกตามการศึกษา ปี 2554 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา สาขาวิชา 1. เกษตรกรรม 2. คหกรรม 3. อุตสาหกรรม 4. พณิชยกรรม / บริหารธุรกิจ 5. ศิลปกรรม 6. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 7. อุตสาหกรรมสิ่งทอ 8. ประมง 9. เทคโนโลยีสารสนเทศฯ 10. สาขาอื่นๆ ผลรวม

ชาย 17 100 11 128

ระดับ ปวช. หญิง 6 4 6 88 7 111

รวม 23 4 106 99 7 239

ชาย 9 82 5 8 67 171

ระดับ ปวส. หญิง 10 3 57 9 151 230

ที่มา : สํานักงานแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : ข้อมูลจากการประมวลผลของระบบฐานข้อมูลแผนพัฒนากําลังคน (PMAN) กระทรวงแรงงาน

รวม 19 85 62 17 218 401


ตาราง 12 การตรวจแรงงานในจังหวัดสตูล จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 1 ปี 2557 ผลการตรวจ (แห่ง) การดําเนินการของเจ้าหน้าที่ สถานประกอบการ ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ (คน) ที่ผ่านการตรวจ ออกหนังสือ ออกคําสั่ง เปรียบเทียบ ส่งเรื่อง ชาย หญิง เด็ก รวม ปฏิบัติถูกต้อง ปฏิบัติไม่ถูกต้อง แนะนํา (แห่ง) เชิญพบ ให้ดําเนินการ ปรับ ดําเนินคดี 1-4 คน 6 2 13 15 6 5-9 คน 6 18 19 37 6 10-19 คน 17 97 134 231 17 20-49 คน 5 72 56 128 5 50-99 คน 5 243 116 359 5 100-299 คน 4 269 280 549 4 300-499 คน 3 328 329 657 3 500-999 คน 1,000 คนขึ้นไป รวม 46 1,029 947 1,976 46 ขนาด สปก.

ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล


ตาราง 13 การตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจังหวัดสตูล จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 1 ปี 2557 ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ (คน) ผลการตรวจ (แห่ง) การดําเนินการของเจ้าหน้าที่ ขนาด สถานประกอบการ สถานประกอบการ ที่ผ่านการตรวจ ออกหนังสือ ออกคําสั่ง เปรียบเทียบ ส่งเรื่อง ชาย หญิง เด็ก รวม ปฏิบัติถูกต้อง ปฏิบัติไม่ถูกต้อง แนะนํา (แห่ง) เชิญพบ ให้ปรับปรุง ปรับ ดําเนินคดี 1-4 คน 4 2 8 10 4 5-9 คน 5 14 17 31 5 10-19 คน 10 70 71 141 10 20-49 คน 1 5 20 25 1 50-99 คน 3 151 60 211 3 100-299 คน 6 529 427 956 6 300-499 คน 500-999 คน 1,000 คนขึ้นไป รวม 29 771 603 1,374 29 ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : สถานประกอบกิจการแต่ละแห่งที่ปฏิบัติไม่ถูกต้อง อาจมีการดําเนินการของเจ้าหน้าที่มากกว่า 1 กรณี


ตาราง 14 การตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจังหวัดสตูล จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ไตรมาส 4 ปี 2556 ผลการตรวจ (แห่ง) การดําเนินการของเจ้าหน้าที่ สปก. ลูกจ้าง ประเภทอุตสาหกรรม ปฏิบัติ ออกคําสั่ง ที่ผ่านการตรวจ ที่ผ่านการตรวจ ปฏิบัติ แนะนํา ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง (แห่ง) (คน) ส่งเอกสาร พบ ปรับปรุง หยุดการใช้เครื่องจักร 1. เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ 2. การประมง 1 54 1 3. การทําเหมืองแร่ และเหมืองหิน 9 888 9 4. การผลิต 5. การไฟฟ้า ก๊าช และการประปา 6. การก่อสร้าง 14 373 14 7. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ ฯลฯ 4 53 4 8. โรงแรม และภัตตาคาร 1 6 1 9. การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม 10. การเป็นสื่อกลางทางการเงิน 11. กิจการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าฯ 12. การบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ ฯลฯ 13. การศึกษา 14. งานด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 15. กิจกรรมด้านบริการชุมชน สังคมฯ 16. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 17. องค์การระหว่างประเทศ อื่นๆ และสมาชิก 18. ไม่ทราบ 29 1,374 29 รวม ที่มา : สํานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล หมายเหตุ : สถานประกอบกิจการแต่ละแห่งที่ปฏิบัติไม่ถูกต้อง อาจมีการดําเนินการของเจ้าหน้าที่มากกว่า ๑ กรณี

ส่งเรื่อง ดําเนินคดี


ตาราง 15 การจดทะเบียนของนิติบุคคลตั้งใหม่ตามหมวดธุรกิจจังหวัดสตูล ไตรมาส 1 ปี 2557 (มกราคม-มีนาคม 2557) บริษัทจํากัด ห้างหุ้นส่วนจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด ประเภทอุตสาหกรรม ราย ล้านบาท ราย ล้านบาท ราย ล้านบาท 1. การประมง 1 2 2. การก่อสร้าง 2 2 3. การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลฯ 2 5 4. การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม 1 2 5. กิจกรรมด้านบริการชุมชน สังคม และการบริการส่วนบุคคลอื่นๆ 1 1 2 1.5 รวม 4 8 5 5.5 0 0 ที่มา : สํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสตูล

รายปี 2554 ตาราง 12 การจดทะเบียนของนิติบุคคลตั้งใหม่ตามหมวดธุรกิจจังหวัดสตูล

ปี 2554

ราย 1 2 2 1 3 9

รวม ล้านบาท 2 2 5 2 2.5 13.5


ตารางที่ 16 จํานวนแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย จําแนกตามสัญชาติ ณ เดือนมีนาคม 2557

1. ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ

14

3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง

1 12

1

11

2

1

1 1

1 2

1

7 2

อาร์เจนติน่า ซีเรีย รวม

แคเมอรูน การ์เนียน

ไนจีเรีย

มอร์ริเชียส

แอฟริกาใต้ สวิสฯ อิหร่าน อูกันดา แทนเซเนีย

คองโก

กัมพูชา

พม่า

เอธโอเปีย

แคนาดา

อียิปต์

ปากีสถาน

มาเลเซีย

ฝรั่งเศส

เกาหลีใต้

ออสเตรเลีย

อิตาเลี่ยน

2 7 31 22

2. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ

อเมริกา

สเปน

ฟิลิปปินส์

จีน

อังกฤษ

จอร์แดน

อาชีพ

อินโดนีเซีย

สัญชาติ

1 1

1

2

3

3

20 1 99

2

14

4. เสมียน

1

5. พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 6. ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและประมง

1

3 3

3

1

4

1

9

7. ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง

0

8. ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ

0

9. อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 10. คนงานซึ่งมิได้จําแนกไว้ในหมวดอื่นๆ รวมทั้งหมด

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัดสตูล

2 2

2

3

3

1

11

1

11 19 10 31 22

3 4 12

3

1

1

3

1

4

4

5

1

1

2

1

7 2 1 1

1

1

2

3

3

1

2 160


ที่ปรึกษา นางสาวกมลวรรณ อิ่มสุวรรณ นายอรุณ หมัดเหล็ม นายสัณหพจน์ บางต่าย นางเรณู สังข์ทองจีน นางนิยาดา ทองเลิศ

แรงงานจังหวัดสตูล จัดหางานจังหวัดสตูล ผู้อํานวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดสตูล สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสตูล ประกันสังคมจังหวัดสตูล

คณะผู้จัดทํา นางอมรวรรณ ช่วงเพ็ชจินดา นางศิริพร ดําแก้ว นางสาวนภัสวรรณ ทับหลัง นางประทุมทิพย์ ขู่ซุ่ยหลี นางสาวธัญพร สุวรรณชาตรี

นักวิชาการแรงงานชํานาญการ นักวิชาการแรงงานชํานาญการ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชํานาญงาน พนักงานพิมพ์ ส.3 เจ้าหน้าที่ศูนย์ข้อมูลแรงงาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.