Portfolio Landscape Architecture Pruek Jongpichevorakul

Page 1

PRUEK

LANDSCAPE PORTFOLIO
LANDSCAPE ARCHITECTURE DESIGN
JONGPICHEVORAKUL DESIGN PORTFOLIO 2015 - 2022

LANDSCAPE

CONTENT

CONTENT

ABOUT

WORK EXPERIENCES

PORTFOLIO HOME LANDSCAPE RESORT COMMUNITY VERTICAL PUBLIC SPACE URBAN DESIGN THESIS ZOO HAND DRAWING FREELANCE OFFICE

DESIGN Page 3
LANDSCAPE
Page 4 LANDSCAPE DESIGN RESUME JUNIOR LANDSCAPE ARCHITECT DESIGNER PRUEK JONGPICHEVORAKUL SPLIT OPENMIND “ “ ADAPTIVE INSPIRATION FORWARD INFO
: PRUEK BIRTHDAY : 09 DECEMBER 1996 CONTACT EMAIL : popokc46@gmail.com LINE : pluebo TEL
:
TEL
Anubanranong School Primary education 2000-2008 King’s College Secondary education 2009-2015 Maejo University Faculty of Architecture and Environmental Design Landscape Architecture Major 2015-2020 THAI ENGLISH EDUCATION PROGRAM SKILLS SKETCHUP PROCESS IDEA / CONCEPT CONSTRUCTION PLANTING DESIGN DESIGN DEVELOPMENT LUMION DESIGN SKILLS LANGUAGE WATERCOLER ASEAN @HOIAN,VIETNAM ผมมีความถนัดการใช้งาน Sketchup พอสมควร สามารถใช้ Pugin ประยุกต์ในการทำางานได้หลาก หลาย และยังเรียนรู้และหาแนวทางใหม่ๆเสมอ ผมมีสามารถใช้งาน Lumion พื้นฐาน กระบวนการนำาไอเดียลงสู่กระดาษเพื่อการสื่อสารพอใช้ มี แนวคิดในการออกแบบพื้นฐาน สามารถสื่อสารพูดคุยได้ปกติ สามารถเข้าใจและฟังเป็นคำาได้ แต่ตอบโต้สื่อสารไม่ดีเท่าที่ควร พืนฐานการออกแบบพอใช้ สามารถคิดเป็นกระบวนการซับ ซ้อนเพื่อพัฒนาแบบได้ ความรู้ค่อนข้างพื้นฐานเรื่องการงานก่อสร้างและเขียนแบบ สามารถทำาความเข้าใจโครงพื้นฐานได้ ความรู้เรื่องพืชพรรณพอมีความเข้าใจการจัดฟอร์มพืชพรรณ ในพื้นที่ออกแบบพอใช้ แต่ไม่ได้รู้จักพืชพรรณหลากหลายนัก INTERNSHIP GREEN4REST 3 MONTH KHOK NONG NA MODEL FOR SUSTAINABILITY WORKSHOP TALA DIVERSITY WORKSHOP TALA COMPETTION HONORABLE TALA 2015 2017 2016 2018 2018 AUTOCAD PHOTOSHOP INDESIGN ผมมีสามารถใช้งาน Autocad พื้นฐาน ต้องเรียนรู้ ศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก ผมมีสามารถใช้งาน Autocad พื้นฐาน ต้องเรียนรู้ ศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก ผมมีสามารถใช้งาน Photoshop พื้นฐาน
NICKNAME
1
061-024-3744
2 : 095-561-4922

Works Experiences

INTERNSHIP LANDSCAPE ARCHITECTURE 49

4 MONTH

SHORT TERM JOB

H2O DESIGN STUDIO 5 MONTH

Zoo Design

Designer / Drawing / Presentaion

-Ubon Ratchathani Zoo

-Ezan Safari Zoo

Cafe Gaden Design Design Assistant / Presentaion

-Thirak Cafe

Science Park Design

Design Assistant / Presentaion -Mahasarakham Science Park

Astronomical Park

Design Assistant -National Astronomical Reserch

Residential Park Design

Sunac Wuhan Residential Project -Organize Model / Adjust Model -Re-Design / Re- Detail -Make Perspective

School Planning Design

Kunshan Yufeng Experimental School and Love School -Organize Model / Adjust Model -Re-Design / Re- Detail -Planting Design -Design Development -Make Perspective

SHORT TERM JOB FERN GARDEN 3 MONTH

Master Planning Resort

Designer / Drawing / Presentaion -Boulder Valley Project Malaysia

Concept Garden

-Jurassic Fern Park Texonomy Fern -Categorize All Ferns in Garden

Residential Design

-Organize Model / Adjust Model -Re-Design / Re- Detail -Planting Design -Design Development -Make Perspective

China merchant Qianhai JINXI P2

Saipan Hotel Huizhou Jishan Project

OCT (Phase VI) in Western Bay

FREELANCE

2 MONTHS + 1 YEAR 5 MONTHS

Model Case Study

-Model Contour 1 : 1000 Size 4 x 2 m

Home Landscape Planning /Design

-The Chatra Village ,House Garden, Songkhla -White Rabbit House , Don Mueang,Bangkok School Planning -Montessori School ,Chiang Mai Public/Semi-Public Landscape Planning / Design

-Onsen Zone ,Onsen At Moncham,Chiang Mai -The Chatra Village,Grand Garden, Songkhla

Zoo Landscape Planning

-Tiger kingdom Resort, ChiangMai Wellness Landscape Planning /Desgin -Wellness & Sport Center, Phrae Housing Development /Design -Prapatsorn Village, Prachuap Khiri Khan Agricultural Planning /Design -Agricultural and Local Fishery Lifestyle Learning Project,Chiang Mai Booth Exibition Design

-Thailand Exhibition Projects for Product Development and Career Promotion ,Pathum Thani

DESIGN Page 5
LANDSCAPE
JOB A.L.A.N DESIGN STUDIO UNDER H&A LANDSCAPE
TALA STUDENT DESIGN COMPETTION 2018 HONORABLE MENTION TALA STUDENT DESIGN COMPETTION 2019 3RD PRIZE AWARD 2019 2018 2020 2022 2022 2021 2020 + 2021/2022
OUTSOURCE JOB CREATIVE IN SPACE UNDER INTEGRATED PLANNING AND DESIGN 1 MONTH
7 MONTH

SELECTED WORK

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 7 RESIDENTIAL DESIGN 01 RESORT PLANING DESIGN PROJECT โครงการมีขนาดพื้นที่ 150 ไร่ ตั้งอยู่ที่ ต.แม่หอพระ อ.แม่แตง เชียงใหม่ โดยมีตำาแหน่งใกล้กับ น้ำาตกบัวตองโดย มีลักษณะเป็นที่ลาดชััน 02 HOME LANDSCAPE PROJECT โครงการมีขนาดพื้นที่ 1 ไร่ครึง ตั้งอยู่ที่ จ.เชียงใหม่ โดยเจ้าของโครงการ ต้องการตัว Cafe และ House แยกออก จากกันเพื่อความเป็นส่วนตัว Project IN CLASS Project Type RESORT Made on 2017 / 3RD YEAR STUDENTS Project IN CLASS Project Type RESIDENTIAL Made on 2016 / 2ND YEAR STUDENTS Tools SKETCH UP V-REY 2.0 PHOTOSHOP Tools SKETCH UP V-REY 2.0 PHOTOSHOP 01 02
Page 8 LANDSCAPE DESIGN 03 04 URBAN DESIGN 03 URBAN DESIGN @ NAKHON SAWAN พื้นที่ออกแบบตั้งอยู่ในเมือง นครสวรรค์โดยออกแบบ พื้นที่ เส้นถนนโกสีย์ ให้เป็นเส้นถนน ที่มีความโดดเด่นคงความเป็น เอกลักษณ์ ของเมืองนครสวรรค์ Project IN CLASS Project Type URBAN Made on 2018 / 4 TH YEAR STUDENTS Tools SKETCH UP PHOTOSHOP AUTOCAD
LANDSCAPE DESIGN Page 9 COMPETITION 04 VERTICAL FOODLAND PUBLIC SPACE พื้นที่ออกแบบอยู่ในย่านดินแดงมักกะสันโดยออกแบบปรับปรุงพื้นที่อยู่ อาศัยให้ตอบโจทย์ประเทศไทยในอีก 30 ปี ข้างหน้าโดยเน้นให้ความสามารถใน การพึ่งพาตัวเอง 05 COMMUNITY PLANING DESIGN พื้นที่ออกแบบตั้งอยู่ ที่ หมู่บ้าน แม่ตอนหลวง ตำาบลเทพเสด็จ อำาเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ โดยออกแบบปรับปรุง วางผังหมู่บ้านใหม่เพื่อดึงจุดเด่น และศักยภาพเดิมที่มีให้โดดเด่นขึ้น STUDENTS Project IN CLASS Project Type URBAN / INNOVATION Made on 2019 / 5 TH YEAR STUDENTS Project IN CLASS Project Type COMMUNITY Made on 2017 / 4TH YEAR STUDENTS Tools SKETCH UP LUMION PHOTOSHOP AUTOCAD Tools SKETCH UP PHOTOSHOP AUTOCAD
Page 10 LANDSCAPE DESIGN 06 THESIS NEW KHOADIN ZOO โครงการออกแบบวางฝังภูมิสถาปัตยกรรม สวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ ตั้งอยู่ใน ตำาบลคลองหก อำาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โดยโครงการมีแนวคิดเป็นพื้นที่ในการเรียนรู้ ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พันธุ์สัตว์ ที่ดีสำาหรับเยาวชน ครอบครัว นักท่องเที่ยว และ ประชาชนทั่วไป ที่มีมีความเป็นสากลในระดับนานาชาติ THESIS โดยจากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการวิวัฒนาจะเห็นว่า การวิวัฒนาการจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา พันธ์อยู่ตลอดเวลา แนวคิดในการออกแบบสวนสัตว์ครั้งนี้ต้องการให้สิ่งมีชีวิตทุกสายพันธุ์มาอยู่ร่วมกัน ต่าง ๆที่อยู่บนโลกมารวบรวมไว้ และเนื่องจากการที่ในโลกยุคปัจจุบันมนุษย์มีความ EGO ทำาให้โลกเปลี่ยนไป การความเป็น ECO ที่มนุษย์และสัตว์สามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยไม่แบ่งเผ่าพันธุ์ ดังนี้นจึงสอดแทรกเรื่องราวที่จะให้ผู้เยี่ยมชมเห็นความสำาคัญของสิ่งแวดล้อมผ่านการผจญภัยและเดินทางที่ทำ ฟังค์ชั่น ทำาให้ผู้เยี่ยมชมพบว่าโลกนั่นมีระยะเวลาคงอยู่มามากเพียงใด จึงเป็นการปลูกฝังให้ผู้เยี่ยมชมโครงการมีใจอนุรักษ์ ให้เป็นเหมือนการเดินทางแล้วซึมซับแนวคิดจากโซนๆเป็นจุด ๆแล้วนำาจุดเหล่านั้นมาต่อเป็นเรื่องราว 06 Project IN CLASS FOR THESIS Project Type ZOOLOGICAL PARK Made on 2019 / 5 TH YEAR STUDENTS Tools SKETCH UP LUMION PHOTOSHOP AUTOCAD
LANDSCAPE DESIGN Page 11 07 HAND DRAWING WORKS เป็นผลงานวาดเขียนด้วยมือของผมที่เขียนในช่วง เวลาเรียนและเวลาว่างๆ ทั้งงานที่วาดจากภาพจริง หรืองานที่ดูและวาดตามศิลปินที่ชื่นชอบ จึงนำามาให้ ได้ดูกันครับ 08 OFFICE & FREELANCE WORKS ตลอดช่วงเวลาที่ผมว่างงานผมก็ได้รับงาน Freelance มาทำาเพื่อใช้จ่ายชีวิตในประจำาวันครับ 07 HAND DRAWING / FREELANCE การวิวัฒนาการจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และทุก ๆวินาทีจะมีสิ่งมีชีวิตหรือสายพันธ์บางชนิดได้สูญ โดยใช้แนวคิดการเรียงลำาดับการวิวัฒนาการโดยการนำาสายพันธุ์สัตว์ ให้โลกเปลี่ยนไป โดยมนุษย์อยู่บนห่วงโซ่ที่สูงที่สุด กลับกันโครงการสวนสัตว์ใช้หลัก คัญของสิ่งแวดล้อมผ่านการผจญภัยและเดินทางที่ทำาให้เห็นถึงการวิวัฒนาการของสิ่งต่าง ๆ ร้อยเรียงไปกับ จึงเป็นการปลูกฝังให้ผู้เยี่ยมชมโครงการมีใจอนุรักษ์ หวงแหนสิ่งแวดล้อมรอบ ๆตัว ดังนั้นจึงได้ออกแบบ 07 08

RESORT PLANING DESIGN

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 13 THE NARA RESORT ความท้าทายในการออกแบบครั้งนี้ คือการ ตีโจทย์ให้แตกว่าจะสร้างรีสอร์ท บนพิ้นที่แห่งนี้ได้อย่างไร ผมจึงตั้งใจออกแบบให้ลักษณะของ อาคารที่พักเป็นลักษณะเหมือนที่ได้ inspiration จากรูปทรงของหินน้ำาตกหินปูนมาใช้ในการ Tranformation เพื่อให้ล้อไปกับสภาพแวดล้อม จึงได้สร้าง Space ให้มีความเชื่อมโยงกัน ระหว่าง ธรรมชาติเดิม และ พื้นท่ีใช้งานที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้ที่เข้ามาพักผ่อนหย่อนใจในโครงการ รู้สึกราวกับว่ากำาลังนอนอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ น้ำาตก และดวงดาว ผมตั้งใจอยากทำาให้โครงการนี้มีความสงบแต่ก็น่าค้นหาในเวลาเดียวกัน
Page 14 LANDSCAPE DESIGN RESORT ภาพบรรยากาศโดยรวมของโครงการยาม ค่ำาคืนที่รายล้อมด้วยธรรมชาติ และหมู่ดาว ทำาให้แขกทีี่มาพักสามารถเสพบรรยากาศดีๆ ได้มีความสุข OVERALL PERSPECTIVE
LANDSCAPE DESIGN Page 15 RESORT ภาพบรรยากาศส่วนต้อนรับของโครงการที่ได้แนวคิดมาจาก การ เดินข้ามฟ้า ข้ามทะเล โดยบ่อเป็นบ่อตื้นๆพื้นบ่อเป็นสีดำ ทำให้สะท้อนเงาจากท้องฟ้าและต้นไม้ที่นำทางไปข้างหน้าเพื่อเข้า พักผ่อนในพื้นที่รีสอร์ท WAY TO LOBBY

HOME LANDSCAPE DESIGN

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 17 CAFE HOUSE เป็นโครงการที่เจ้าของโครงการต้องการ คาเฟ่และ บ้านอยู่ร่วมกันโดยที่บ้านยังคงมีความเป็นส่วนตัว ต่อ มาเจ้าของโครงการต้องการสระว่ายน้ำาที่อยู่ท่ามก ล่างสวนสไตล์ ทรอปิคอล โดยมีผู้ใช้ได้แก่ พ่อ แม่ และ ลูกสาววัยทำางาน 2 คน รวมผู้ใชของโครงการนี้มี ทั้งหมด 4 คน BACKGROUND SOLUTIONS TOOLS เเนวทางการออกแบบคือผมผลักบ้านไปไว้ด้านใน สร้างความเป็นส่วนตัวด้วยงาน Landscape โดนการ วางต้นไม้พรางสายตาที่มองมาจากทางคาเฟ่ ต่อมาในเรื่องของสระว่ายน้ำาที่ได้โจทย์มาว่าให้เหมือน ว่ายในธรรมชาติ ผมเลยตีความเป็นการนำาน้ำาว่ายมา ซ้อนบนน้ำาตกแต่งเลยเป็นที่มาของการนำาสระว่ายน้ำามา ซ่อนบน Deck Wood ให้เป็นผืนเดียวกันกับน้ำาตกที่สร้าง บรรยายกาศในการทำากิจกรรมในบ้านและนอกบ้านได้ เป็นอย่างดี SKETCH UP LUMION PHOTOSHOP AUTOCAD HOME LANDSCAPE
Page 18 LANDSCAPE DESIGN HOME LANDSCAPE อย่างที่ได้กล่าวไปข้างต้นว่าต้องการออกแบบให้มุมมอง ของสระน้ำาและน้ำาตกเป็นมุมมองเดียวกัน จึงได้นำาสระว่าย น้ำามาซ่อนไว้ในน้ำาตกอีกที เพื่อให้รู้สึกเหมือนได้ว่ายน้ำาใน ธรรมชาติจริงๆ THE LOST POOL
LANDSCAPE DESIGN Page 19 HOME LANDSCAPE สวน Tropical ที่เข้าผสานกับน้ำาตก ทำาให้พื้นที่ มีบรรยากาศที่ชุ่มชื่นน่าพักผ่อน นอกจากจะทำา หน้าที่ซ่อนสระว่ายน้ำายังทำาหน้าที่สร้างบรรยากาศ ให้กับงานสถาปัตยกรรมของโครงการอีกด้วย TROPICAL WATERFALL

URBAN DESIGN

PORTFOLIO

DESIGN

LANDSCAPE DESIGN Page 21
URBAN

LANDSCAPE DESIGN

URBAN DESIGN

Page 22

URBAN DESIGN

Page 23
LANDSCAPE DESIGN

VERTICAL PUBLIC FARM

PORTFOLIO

VERTICAL PUBLIC FARM

Page 25
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN

VERTICAL PUBLIC FARM

Page 26

VERTICAL PUBLIC FARM

Page 27
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN

VERTICAL PUBLIC FARM

Page 28
DESIGN Page 29
RAIN WINTER
LANDSCAPE
VERTICAL PUBLIC FARM SUMMER

LANDSCAPE DESIGN

VERTICAL PUBLIC FARM

Page 30

LANDSCAPE DESIGN

VERTICAL PUBLIC FARM

Page 31

COMMUNITY PLANING

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 33
ต่อมาจึงได้มีการแก้ไขปัญหาโดย การปลูกกาแฟ เป็นพืชเศรษฐกิจใหม่ของพื้นที่แต่ก็ไม่ สามารถแก้ปัญหาได้เท่าที่ควร ต่อมาเรื่องของพื้นที่เรียนรู้ของชุมชนไม่ได้ถูกส่ง เสริมอย่างมีคุณภาพและเหมาะสม แต่ชุมชนยังคงความเป็น บวร นั่นคือ บ้าน วัด และ โรงเรียนได้อย่างเหนียวแน่น BACKGROUND COMMUNITY PLANING SOLUTIONS เนื่องจากในปัจจุบัน หมู่บ้านไม่ได้พัฒนา อาชีพให้ แตกแขนงแยกย่อยจาดสิ่งที่ทำาจึงคิดแก้ปัญหาด้วย การนำาสิ่งที่มีอยู่เดิมอยู่แล้วของชุมชน มาต่อยอด แตกแขนงสาขาอาชีพที่มีพิ้นฐานอย่างเดียวกันเพื่อให้ คนในชุมชนเข้าถึง ได้ง่ายเพราะจะคิดว่ามันเป็นเรื่องใกล้ตัวเ เมื่อชุมชนทำาเกษตรเป็นหลักจึงคิดทำาพื้นที่กิจกรรม ส่งเสริมอาชีพ-เรียนรู้ของชุมชน อีกทั้งยังพัฒนาภูมิ ทัศน์ในโดดเด่นมากยิ่งขึ้นเพื่อพัฒนาเป็นสถานที่ท่อง เที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม
โครงการออกแบบชุมชนบ้านแม่ตอน เป็นชุมชน ท่องเที่ยวเชีิงเกษตรและวิถีชีวิต หมู่บ้านแม่ตอนเป็น หมู่บ้านที่อยู่ป่าต้นน้ำา แม่ตอนซึ่งเป็นต้นน้ำาสายหนึ่ง ใน ดอนสะเก็ดซึ่งเป็นพื้นที่ป่าดิบเขาที่สมบูรณ์ โดย วิถีชีวิตดั้งเดิมนั้นทำาการเกษตรโดยการเก็บเหมี่ยง มาตั้งแต่สมัยตั้งรกรากแล้วต่อมาเหมี่ยงถูกลดความ นิยม ทำาให้การเก็บเหมี่ยงเป็นอาชีพที่นิยมน้อยลง ไปในหมู่บ้านด้วย
Page 34 LANDSCAPE DESIGN MAETON LUANG COMMUNITY COMMUNITY PLANING ภาพแสดงตำาแหน่งจุดพื้นที่ออกแบบและ พัฒนาเพื่อส่งเสริมฟังค์ชั่นต่างๆ ในชุมชนให้ ครบครันมากขึ้น ( Requirement ได้จากการ สัมภาษณ์ชาวบ้านในชุมชน ) OVERALL DIAGRAM
LANDSCAPE DESIGN Page 35 เมื่อก่อนชาวบ้านทำาเกษตร เชิงเดี่ยวตัวผมจึงได้ทำาการ Reserch ว่า มีพืชตัวไหนที่สามารถปลูกทดแทนเป็น พืชเศรษฐกิจแบบใหม่ได้ดังนั้นผมจึงได้ แนวคิดเป็นการปลูกพืชที่หลากหลาย ตามแผนภาพ PLANTING MODEL COMMUNITY PLANING

LANDSCAPE DESIGN

COMMUNITY PLANING

Page 36
LANDSCAPE DESIGN Page 37 COMMUNITY PLANING MAE TON LUANG CAREER CENTER ศูนย์การเรียนรู้ส่งเสริมอาชีพ นอกจากเป็นพื้นที่เรียนรู้ศึกษางานของคนในชุมชนแล้วยังเป็นพื้นที่ให้คน ภายนอกเข้ามาศึกษาดูงานได้อีกด้วยรวมถึงยังเป็น HUB สำาหรับคนในชุมชนในการมานั่งทำางานร่วมกัน เป็นพื้นที่นันทนาการเพื่อการเรียนรู้ของของเยาวชนในชุมชนซึ่งได้ออกแบบวางผังไว้ใน วัดแม่ตอนหลวงเพื่อแหล่งการเรียนรู้ในรูปแบบของ “บวร” MAE TON LUANG LEARNING PAVILION

LANDSCAPE DESIGN

COMMUNITY PLANING

Page 38
LANDSCAPE DESIGN Page 39 COMMUNITY PLANING MAE TON LUANG PRODUCT STORE WATERFRONT WALKWAY พื้นที่นี้ออกแบบเพื่อเป็นจุดนำาผลผลิตมาสร้างมูลค่าเพิ่มในรูปแบบของ Trend Cafe เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว อีกทั้งยังสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอีกด้วย พื้นที่ทางเดินในการเยี่ยมชมบรรยายกาศหมู่บ้านแม่ตอนหลวง เพื่อที่จะนำาไปยังจุดสนใจต่างๆ ตามไกด์นำาเที่ยวของหมู่บ้าน

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 41 THESIS NEW KHOA DIN ZOO NEW KHOA DIN ZOO สวนสัตว์ดุสิต แต่เดิมเรียก สวนดุสิตหรือ เขาดินวนา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2435 หลังจากที่พระองค์ได้ทอด พระเนตรกิจการสวนพฤกษชาติของต่างประเทศ ต่อ มาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสวนสัตว์แห่งนี้ ถูกเปลี่ยนให้เป็นสวนสาธารณะของประชาชนในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง และในที่สุดจึงถูกจัดตั้งให้เป็นสวนสัตว์ โดยได้เปิดให้บริการใน วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2481 ในปัจจุบันเนื่องจากพื้นที่สวนสัตว์ดุสิตเดิมนั้น เนื่องจากที่เก่านั้นมีพื้นที่คับแคบไม่สามารถขยายออก ไปได้อีกทั้งพื้นที่ไม่เพียงพอกับจำานวนสัตว์และนักท่อง เที่ยว ทางรัฐบาลจึงประกาศให้ปิดกิจการไปในวันที่ 30 กันยายน 2560ในเวลาต่อมา วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา ได้นำาคณะเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรา งกูร เพื่อรับพระราชทานโฉนดที่ดินบริเวณตำาบลรังสิต อำาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานีจำานวน 300 ไร่ โดยทางรัฐบาลได้ส่งมอบให้ องค์การสวนสัตว์ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นผู้จัดการ BACKGROUND SOLUTIONS ออกแบบเพื่อแนวคิดที่จะสอดแทรกเรื่องราวที่จะให้ผู้เยี่ยม ชมเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมผ่านการผจญภัยและเดินทางที่ทำให้ เห็นถึงการวิวัฒนาการของสิ่งต่าง ๆ ร้อยเรียงไปกับฟังค์ชั่น ทำให้ผู้ เยี่ยมชมพบว่าโลกนั่นมีระยะเวลาคงอยู่มามากเพียงใด จึงเป็นการปลูกฝัง ให้ผู้เยี่ยมชมโครงการมีใจอนุรักษ์ หวงแหนสิ่งแวดล้อมรอบ ๆตัว ดังนั้น จึงได้ออกแบบให้เป็นเหมือนการเดินทางแล้วซึมซับแนวคิดจาก โซนๆเป็นจุด ๆแล้วนำจุดเหล่านั้นมาต่อเป็นเรื่องราว

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 42
LANDSCAPE DESIGN
LANDSCAPE DESIGN Page 43 NEW KHOA DIN ZOO THESIS NEW KHOA DIN ZOO การออกแบบพื้นที่ใช้สอยจะเน้นการสร้างเส้นทางที่ เชื่อมกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของ แต่ละโซน โดยในงาน Landscape Design จะเน้นความ ใหญ่โตขององค์ประกอบทางธรรมชาติเพื่อจุสนใจหรือ แรงกระทบให้กับผู้เยี่ยมชม ไม่ว่าจะเป็น สถาปัตยกรรม ต้นไม้ ก้อนหิน และอื่น ๆ โดยทั้งหมดนั้นจะถูกประกอบ ขึ้นในแต่ละโซนให้มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะโซนนั้น ๆ อาทิเช่น ทางเข้าโครงการ อาคารหลัก ที่อยู่เหล่าต่าง ๆในแต่ละทวีป เป็นต้น แนวความคิดในการจัดแสดงสัตว์นั้นนอกจากความ หลากหลายของกิจกรรมแล้วยังมีในเรื่องของความ สัมพันธ์ที่หลากหลายของคนและสัตว์ โดยได้แบ่งออก เป็น 4 รูปดังนี้ 1.ร่วมกัน ได้แก่สัตว์มีความเป็นมิตรสูงที่สามารถ อยู่ร่วมกันกับผู้เยี่ยมชมในสภาพแวดล้อมเดียวกันได้ อย่างอิสระและ สวัสดิภาพ อีกทั้งยังเป็นบรรยากาศ ของโครงการ เช่น กวาง นก กระรอก กระต่าย บาง ชนิด เป็นต้น 2. ใกล้ชิดกัน สัตว์ที่มีความเป็นมิตรแต่ต้องมีผู้ดูเชียว ชาญหรือผู้ดูแลคอยให้คำาแนะนำาอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ ความรู้แก่ผู้เยี่ยมชม เช่น งูไม่มีพิษ ลิง นกนักล่า ม้า ลา เป็นต้น 3. เห็นและยังสัมผัสได้ สัตว์ที่มีพฤติกรรมเฉพาะที่ต้อง ความคุมให้อยู่ในบริเวณที่ถูกกำาหนดไว้ แต่ยังสามารถ จะสัมผัสได้ เช่น งูไม่มีพิษ ม้า วัว อูฐ ช้างเอเชีย เป็นต้น 4. เห็นได้อย่างเดียว จะเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมเฉพาะที่ อาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตจึงต้องมีระยะที่ไม่สมา รถจับต้องกันได้แต่ยังคงสังเกตุสัตว์เหล่านั้นได้ เช่น งู พิษ สิงโต เสือ ลิงใหญ่ แรด หมาป่า เป็นต้น CONCEPT DIAGRAM

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 44

Begin of Ground (จุดเริ่มต้นของผืนดิน) -เดินเท้า/ เดินบนSky Walk (เส้นปะสีแดง/เส้นปะ สีเหลือง)

-Zoo bus (เส้นปะสีส้ม)

-Sky Walk (เส้นปะสีเหลือง)

Begin of Sky (จุดเริ่มต้นของผืนฟ้า)

-Monorail (เส้นทึบสีเขียว)

Begin of Water (จุดเริ่มต้นของผืนน้ำา)

-เดินอุโมงค์อควาเรียม

LANDSCAPE DESIGN Page 45 THESIS NEW KHOA DIN ZOO NEW KHOA DIN ZOO การสัญจรสำาหรับบุคคลทั่วไป การเข้ามาภายใน โครงการจะสิ้นสุดการใช้รถที่จุดจอดรถ โดย สามารถเลือกวิธีการเดินทางได้ 3 รูปแบบ โดยมี แนวคิดจาการวิวัฒนาการของสัตว์ทั้ง 3 รูปแบบ คือ สัตว์น้ำา สัตว์บก และสัตว์ปีก ที่มีเคยบรรพบุรุษ ร่วมกันการเดินจึงได้เริ่มต้นขึ้นจากจุดเดียวกันและ พาทุกคนไปผจญภัยไปด้วยกัน
-Tour
การสัญจรสำาหรับพนักงาน(เส้นทึบสีน้ำาเงิน) โดย พนักงานมาสามารถเข้ามาในส่วนพื้นที่จอดรถใต้ อาคารหรือลานจอดรถของแต่ละส่วนหน้าอาคาร เพื่อเข้าทำางานในส่วนสนับสนุนโครงการ ทางเดินสัตว์ (บริเวณระบายสีของภาพที่) โดยที่ สัตว์สามารถเดินได้อย่างอิสระโดยจะแบ่งตาม ความเชื่องของสัตว์ เช่น กวาง ลามะ เป็นต้น CIRCULATION
(เส้นทึบสีฟ้า)
Boat (เส้นทึบสีฟ้า)

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 46
LANDSCAPE DESIGN Page 47 THESIS NEW KHOA DIN ZOO ZOOTOPIA “ความท้าทายในการออกแบบโครงการนี้ คือการที่ผมต้องตีโจทย์ว่า จะออกแบบสวนสัตว์ในพื้นที่ที่มีบริบทของย่านเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ บวกกับบริบทของพื้นที่ ที่เป็นลักษณะของพื้นที่ชุมชน และอีกทั้งในอดีต พื้นที่แห่งนี้เป็น ทุ่งรังสิต อันเป็นพื้นที่ที่เคยเป็นแห่งอาศัยของ สมัน ที่ สุญพันธุ์จากฝีมือของมนุษย์” ดังนั้นแล้วผมจึงเสนอแนวคิดว่า พื้นที่ในโซน Zootopia นี้จะต้องแสดง ถึงการอยู่ร่วมกันในสภาพแวดล้อมเดียวกันของ มนุษย์ สัตว์ และ ธรรมชาติ ได้และนั้นคือคำาตอบของผม ที่ต้องการจะย้อนคืนซึ่งถิ่นที่อยู่ ของ สัตว์เหล่านั้น โดยอาศัยความร่วมมือกันของ โครงการ และ ชุมชน ส่งเสริมอย่างถ่อยทีถ่อยอาศัยกันโดย สวนสัตว์แห่งนี้จะช่วยในการส่ง เสริมการท่องเที่ยว และเป็นตลาดของเกษตรกรในพื้นที่ อีกทั้งสวนสัตว์
ในการลดค่าใช้จ่าย ให้สวนสัตว์อีกด้วย ยังไม่พอยังช่วยลดโอกาสเสี่ยง ยามเกิดเหตุการณ์ขับขัน เช่น ภัยพิบัติ โรคระบาด หรือ เศรษฐกิจชะลอ ตัวได้อีกด้วย CONCEPT INFO ZONING INFO Zootopia Park เป็นโซนที่ปล่อยให้สัตว์ที่มีความสัมพันธ์ในรูปแบบ ร่วม กัน-ใกล้ชิด สามารถถูกปล่อยในโครงการ และยังมี Underground Parking ซ่อนอยู่ด้านมใต้พื้นที่ เพื่อสร้างความกลมกลืนในกับ Park และ ประหยัดพื้นที่โครงการอีกด้วย Main Building ในอาคารหลักจะมี Facility ต่าง ๆที่บริการและอำานวย ความสะดวกให้กับโครงการโดยจะเชื่อมกับ Terrace Kiosk ที่เป็นหน้า ร้านบริการผู้เยี่ยมชม อีกทั้งภายในยังมี นิทรรศการต่าง ๆมีทั้งถาวร และหมุนเวียน อีกทั้งยังจุดเชื่อมที่จะเริ่มต้นเดินทางไปยังจุดต่าง ๆของ โครงการโดยมี Gate of Beginning เป็นจุด Landmark ทำาหน้าที่นำา สายตาไปสู่สายน้ำาของโครงการ Zoo Bus Plaza ทำาหน้าที่เป็นลานจอดและพักรถที่ให้บริการรับส่งใน โครงการ ในส่วนของ Plaza จะทำาหน้าที่เป็นจุดรองรับคน อีกทั้งยังยัง เป็นลานกิจกรรมของโครงการอีกด้วย Amphitheater Plaza ในส่วนนนี้ทำาหน้าที่เป็นจุดรองรับคนที่จะมีพื้นที่ สำาหรับนั่งชมโชว์ต่าง ๆ และเป็นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจให้กับคนในส่วนนี้
ยังได้รับผลประโยชน์จากผลผลิตที่มีคุณภาพ ราคาย่อมเยาว์ทั้งยังช่วย

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 48
LANDSCAPE DESIGN Page 49 THESIS NEW KHOA DIN ZOO BIGINING ในโซน Beginning เรามีแนวคิดในการ Transform ของ แนวคิดการวิวัฒนาการผ่าน Circulation ที่จะเป็นทั้ง Function และ Story ที่จะนำาผู้คนไปสู่ส่วนต่าง ๆของ โครงการผ่านมุมมองที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา สัตว์ ในปัจจุบันทั้งหมดบนโลกเคยมีบรรพบุรุษร่วมกัน คือสัตว์เซลล์เดียว เป็นการเล่าเรื่องราวว่าทุกอย่างบนโลกเรา ล้วนมีจุดเริ่มต้นเดียวกันในสัตว์เซลล์เดียวเมื่อรวมตัวกันเป็น จำานวนมาก ๆจะเป็นดั่งดวงดาวจึงได้นำามา Transform ให้ เกิดเป็นเส้นทางพิเศษจะเชื่อมไปยัง Aquarium ของโครงการ เพื่อเป็นการสื่อถึงนามธรรมได้ 2 แบบ -สื่อถึงการกำาเนิดโลกใบนี้และโลกใบนี้เป็นเหมือนสิ่งเล็ก ๆใน จักรวาลนี้ -สื่อถึงว่าทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นจากสิ่งเล็ก ๆที่ผ่านระยะเวลา อย่างยาวนานกว่าจะเป็นโลกทุกวันนี้ในเราได้ CONCEPT INFO ZONING INFO Gate of Evolution เป็นส่วนที่เชื่อมกับ Waterfall ที่นำา สายตาไปยังพื้นที่เวิ้งนำาของโครงการ อีกทั้งยังเป็นการ เล่าเรื่องราวสู่การวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงอดีตสู่ ปัจจุบัน Aquarium Trail เป็นส่วนที่เชื่อมต่อกับตัวอาคารโดยจะ เป็นเส้นทางในการศึกษา ปลา และสัตว์น้ำาของโครงการ โดยเชื่อมลิฟต์เพื่อขึ้นมายังเกาะลีเมอร์

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

AUSTRALIA

Page 50
LANDSCAPE DESIGN Page 51 AUSTRALIA THESIS NEW
แนวคิดในการออกแบบโซนนี้ คือการผสมผสานธรรมชาติของออสเตรเลีย ผสาน รวมกับวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่น และมีความตั้งใจออกแบบให้ผู้เข้าชมมองผ่าน วัฒนธรรมดั้งเดิม ของออสเตรเลียโดยเป็นการแอบมองเหล่าสัตว์ เพื่อให้สัตว์รู้สึกถึงความเป็นส่วนตัว ในส่วนของ moat นั้นเราได้ทำาให้ลักษณะของการเป็นคูน้ำาล้อมรอบเพื่อสร้างความ เป็นธรรมชาติการใช้งานในโซนนี้จะจัดให้มีโซนที่สามารถให้เราสามารถใกล้ชิดกับสัตว์ได้เป็นจุดต้อนรับ ก่อนที่เข้าไปสู่ 2 โซน ที่ถูกนำาสายตาด้วย Culture ของ Australia คือ โซนทุ่งหญ้าที่จะมีลักษณะที่มี ความแห้งแล้งเน้นภูมิทัศน์รอบ ๆเป็นหิน ดิน ทราย ใช้พืชพรรณเป็นพวกไม้พุ่ม อาคาเซีย ยูคาลิปตัส พืชผลัดใบโซนป่าเขตร้อน จะมีลักษณะที่ต้องการจะสื่อถึงความชุ่มชื้น เน้นภูมิทัศน์รอบ ๆ เป็นหิน น้ำา พืช นานาพรรณ โดยจะแบ่งโซนนี้เป็น 2 โซน จะมีลักษณะของถ้ำาน้ำาตกและ ลักษณะของป่ายูคาลิปตัส CONCEPT INFO ZONING INFO Meeting Area เป็นโซนที่ปล่อยให้สัตว์ที่มีความสัมพันธ์ในรูปแบบ ร่วมกัน-ใกล้ชิด โดย สามารถให้ผู้เยี่ยมชมเข้าไปในพื้นที่เพื่อทำาความรู้จักและเรียนรู้พฤติกรรมอย่างใกล้ชิด โดยมีผู้ดูแลคอยในความรู้อย่างถูกต้อง Kangaroo Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ สัตว์กลุ่มจิงโจ้โดยมีสภาพแวดล้อมแบบ ทุ่งหญ้าออสเตรเลีย Dingo Dog Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ หมาป่าดิงโก้ โดยมีสภาพแวดล้อมแบบ ป่าทุ่งหญ้า Tasmanian Devil Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ แทสเมเนียนเดวิลโดยมีสภาพ แวดล้อมแบบป่าทุ่งหญ้า
KHOA DIN ZOO

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 52
LANDSCAPE DESIGN Page 53 AFRICA THESIS NEW KHOA DIN ZOO โซนนี้ตั้งใจออกแบบให้เป็นทุ่งหญ้าสะวันนากว้างใหญ่มีสัตว์หลากหลายอยู่ รวมกันโดยไม่จำาเป็นต้องแบ่งพื้นที่อย่างชัดเจนโดยสามารถให้สัตว์เดินไป เดินมาได้อย่างอิสระเพื่อสร้างความใกล้ชิดกันของคนและสัตว์ ผ่านการ สังเกตพฤติกรรมสัตว์เหล่านั้นอย่างใกล้ชิด การผสมผสานธรรมชาติของแอฟริกา กับวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่น ทำาให้โซนนี้มีเอกลักษณ์และภาพจำาที่ชัดเจนทั้งยังเป็นการสอดแทรกความ รู้ในด้านอื่น ๆอีกด้วย CONCEPT INFO ZONING INFO Meeting Plaza เป็นโซนที่จัดแสดงสัตว์โดยมีผู้ดูแลอย่าง ใกล้ชิดในการให้คำาแนะนำาพฤติกรรมของสัตว์ต่าง ๆโดย สัตว์ที่นำามาจัดแสดงจะมีความสัมพันธ์แบบ ร่วมกัน-ใกล้ ชิด อีกทั้งในโซนนี้ยังมี Playground รองรับกิจกรรมกลาง แจ้งได้อีกด้วย Cafe เป็นร้านที่ให้บริการอาหารว่างและเครื่องดื่มโดยจะถูก ส่งเสริมบรรยากาศโดย Meeting Area ที่อยู่ติดกัน Caracal Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ แมวคาราเคิล โดยมีสภาพแวดล้อมแบบป่าทุ่งหญ้าสาวันน่า Hyenas Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ ไฮยีน่าโดยมี สภาพแวดล้อมแบบป่าทุ่งหญ้าสาวันน่า Lion Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ สิงโต โดยมีสภาพ แวดล้อมแบบป่าทุ่งหญ้าสาวันน่า African Leopard Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ เสือ ดาวแอฟริกา โดยมีสภาพแวดล้อมแบบป่าทุ่งหญ้าสาวันน่า Black Rhino Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ แรดดำา โดย มีสภาพแวดล้อมแบบป่าทุ่งหญ้าซาวันน่า Hippopotamus Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ ฮิปโปโปเตมัสและฮิปโปโปเตมัสแคระ โดยมีสภาพแวดล้อม แบบทุ่งหญ้าริมน้ำาแอฟริกา Lemur Island เป็นเกาะที่อยู่อาศัยของ Lemur โดยจัด แสดงในรูปแบบของ Open Space เพราะเนื่องจากลีเมอร์ เป็นสัตว์ที่เป็นมิตรไม่ดุร้าย เช่น ลีเมอร์ไม้ไผ่ ลีเมอร์หนู ลีเม อร์หางแหวน ลีเมอร์น้ำาตาล รัฟฟ์ลีเมอร์ เป็นต้น
Page 54 LANDSCAPE DESIGN Deer Park + Waterfont ระดับใกล้ชิดหรืออยู่ร่วมกันได้ในธรรมชาติ ต่าง ๆได้อย่างใกล้ชิด THESIS NEW KHOA DIN ZOO Hill Dome เป็นเหมือนจุดสูงสุดของทวีปเอเชีย โดยได้จำลองจากภูเขาที่เป็น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์จำนวนมาก เช่น แพนด้า เม่น หมูป่า เป็นต้น
LANDSCAPE DESIGN Page 55 ASIA Waterfont Asia Park เป็นโซนที่ให้อิสระสัตว์ที่มีความเชื่องใน ระดับใกล้ชิดหรืออยู่ร่วมกันได้ในธรรมชาติ โดยผู้ชมสามารถสังเกตพฤติกรรมสัตว์ Predator Of Asia เป็นโซนที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นักล่าของทวีปเอเชีย โดยได้แบ่งกลุ่มนัก ล่าดังนี้ คือ กลุ่มหมี กลุ่มเสือ กลุ่มชะมด และเนื่องด้วยเป็นโซนที่สัตว์ที่มีความดุร้าย จึงได้ออกแบบให้มี การเยี่ยมชมจากให้มีระยะพอสมควรแต่ยังคงสังเกตพฤติกรรมสัตว์ต่าง ๆได้อย่างใกล้ชิด THESIS NEW KHOA DIN ZOO เอเชียเป็นทวีปที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพ แวดล้อม และสิ่งมีชีวิต ดังนั้นจึงมีแนวคิดในการนำา ความหลากหลายเหล่านั้นมานำาเสนอในพื้นที่โครงการ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมได้ความรู้ เข้าใจระบบนิเวศและ ธรรมชาติของทวีปเอเชียมากยิ่งขึ้น โดยแนวคิดนั้นได้แบ่งพื้นที่อยู่อาศัยของสัตว์เอเชียได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ คือ ป่าผลัดใบ เช่น ป่าเต็งรัง ป่า เบญจพรรณ เป็นต้น และป่าไม่ผลัดใบ เช่น ป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา เป็นต้น อีกทั้งได้นำารูปแบบวัฒนธรรมท้องถิ่นของทวีปเอเชีย มาเสริมสร้างบรรยากาศ เพื่อให้ส่งเสริมบรรยากาศ ของการเรียนรู้ที่ดี โดยไม่ทำาให้รู้สึกถึงความแปลกแยก ซึ่งทำาให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างธรรมชาติและน่าตื่นเต้น CONCEPT INFO ZONING INFO Mountain Cliff เป็นโซนที่อยู่อาศัยของสัตว์เท้ากีบที่มี ความสามารถในการปีนป่ายหน้าผาและภูเขาได้ อีกทั้ง ยังเปิดให้สัตว์ต่าง ๆในโซน Waterfont Asia Park เข้า มาทำากิจกรรมเหล่านี้ได้ โดยผู้เยี่ยมชมสามารสังเกต พฤติกรรมได้จาก Cliff Rock มุมต่าง ๆ Meeting Area เป็นโซนที่จัดแสดงสัตว์โดยมีผู้ดูแลอย่าง ใกล้ชิดในการให้คำาแนะนำาพฤติกรรมของสัตว์ต่าง ๆโดย สัตว์ที่นำามาจัดแสดงจะมีความสัมพันธ์แบบ ร่วมกัน-ใกล้ ชิด อีกทั้งในโซนนี้ยังมี Playground รองรับกิจกรรม กลางแจ้งได้อีกด้วย Cave Watching Animals ถ้ำาส่องสัตว์ เป็นการมอง สัตว์แบบลักษณะ Half -Vision อย่างใกล้ชิด เช่น เม่น หวงพวง เม่นใหญ่แผงคอยาว พังพอน เสือดาวเอเชีย แมวป่า เป็นต้น Gibbon Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของสัตว์ประเภท ชะนี เช่น ชะนีที่อาศัยในป่าดิบชื้น เช่น ชะนีมงกุฎ ชะนีมือ ขาว เป็นต้น โดยมีสภาพแวดล้อมแบบป่าดิบชื้นบนเกาะที่ ล้อมรอบด้วยน้ำา

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 56
LANDSCAPE DESIGN Page 57 AMERICA SOUTH AMERICAN HABITAT AMERICAN HABITAT THESIS NEW KHOA DIN ZOO อเมริกาเป็นทวีปที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพแวดล้อม และสิ่งมีชีวิต ดังนั้นจึงมีแนวคิดใน การนำาความหลากหลายเหล่านั้นมานำาเสนอในพื้นที่ โครงการ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมได้ความรู้ เข้าใจระบบนิเวศ และธรรมชาติของทวีปอเมริกามากยิ่งขึ้น โดยแนวคิดนั้นได้แบ่งพื้นที่อยู่อาศัยของสัตว์อเมริกา ได้ 2 โซนใหญ่ๆ คือ โซนอเมริกาเหนือกับโซนอเมริกาใต้ โดยที่อเมริกาเหนือมีภูมิประเทศแบบทุ่งหญ้าและป่าเขต อบอุ่น ส่วนอเมริกาใต้มีภูมิประเทศแบบทุ่งหญ้า ป่าดิบ ชื้น และหมู่เกาะกาลาปากอส อีกทั้งได้นำารูปแบบวัฒนธรรมท้องถิ่นของทวีปอเมริกา และลักษณะภูมิประเทศ มาเสริมสร้างบรรยากาศ เพื่อให้ ส่งเสริมบรรยากาศของ การเรียนรู้ การผจญภัยที่น่า ตื่นต้นโดยไม่ทำาให้รู้สึกถึงความแปลกแยก CONCEPT INFO ZONING INFO Seal Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ แมวน้ำาโดยมีสภาพ แวดล้อมแบบป่าหมู่เกาะกาลาปากอสและมีพื้นที่นั่งชม พฤติกรรม Open Air Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของกิ้งก่า เต่า และสัตว์เลื้อยคลานในกาลาปากอสที่อยู่ร่วมกันได้ โดย ไม่เป็นอันตรายต่อผู้เยี่ยมชมโดยออกแบบให้มีสภาพ แวดล้อมแบบป่าหมู่เกาะกาลาปากอส Blue-Footed Booby Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของ นกบูบี้เท้าฟ้า โดยออกแบบให้มีสภาพแวดล้อมแบบป่า กาลาปากอส Jaguar Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของเสือจากัวจ์ โดย ออกแบบให้มีสภาพแวดล้อมแบบป่าฝนเขตร้อน South American Tapir Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัย ของสมสมเสร็จอเมริกาใต้ โดยออกแบบให้มีสภาพ แวดล้อมแบบป่าฝนเขตร้อน เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของสม สมเสร็จอเมริกาใต้ โดย ออกแบบให้มีสภาพแวดล้อม แบบป่าฝนเขตร้อน เป็นพื้นที่สำหรับสัตว์ทวีปอเมริกา ที่มีความเป็นมิตรสามารถถใกล้ ชิดได้โดยไม่เป็นอันตราย โดย ออกแบบให้มีสภาพแวดล้อมแบบ ทุ่งหญ้าอเมริกาผสมผสานกับ ป่าเขตร้อน
Page 58 LANDSCAPE DESIGN DINOSAUR DIGPARK THESIS NEW KHOA DIN ZOO แนวคิดในโซนต้องการนำเสนอ โลกดึกดำบรรพ์ โดยได้นำ เสนอผ่าน กลุ่มพืชพรรณโบราณ และการออกแบบกิจกรรม ให้กลุ่มผู้ใช้เข้าถึงบรรยากาศโลกไดโนเสาร์ได้ อีกทั้งยังมี Volcano Music Fountain เพื่อนำเสนอภาพลักษณ์ของ พื้นที่โครงการให้ชัดเจนยิ่งขึ้น -โดยกลุ่มพืชพรรณ ที่ใช้ในโซนนี้ เป็นจำพวก ปรง ต้นสน เฟิร์น หญ้าถอดปล้อง หวายทะนอย กนกนารี เป็นต้น เพื่อ สภาพแวดล้อมที่มีความคล้ายคลึงในโลกไดโนเสาร์ -กิจกรรมที่ออกแบบเน้นไปยังผู้ใช้ ประเภท เด็ก 3 - 12 ปี โดยเน้นทักษะในการเรียนรู้ สัมผัส สังเกตุ เช่น การขุดจับคู่ ซากฟอสซิสจำลองกับ Sculpture ไดโนเสาร์ในโครงการ -ในโซนนี้ยังเป็นจุด ชุมนุมของระบบ Transportation พิเศษ ที่ให้บริการในการเข้าชมสัตว์ต่างๆ เช่น ระบบ Monorail และ Tour Boat CONCEPT INFO ZONING INFO Volcano Music Fountain น้ำพุดนตรีที่เป็นจุด Landmark ของพื้นที่ อีกทั้งยังสร้างสีสันและบรรยากาศให้ ในพื้นที่โครงการ Fossil Sandbox เป็นพื้นที่ขุดหาฟอสซิลจำลอง เพื่อจับคู่ กับ Sculture ไดโนเสาร์ในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียน ด้านการสัมผัส การสังเกต Egg Dome เป็นพื้นที่หาไข่ไดโนเสาร์ อีกทั้งยังเป็นจุดรอรถ ราง Monorail เพื่อเชื่อมต่อไปยังจุดต่างๆของโครงการ
LANDSCAPE DESIGN Page 59 REPTOPIA THESIS NEW KHOA DIN ZOO แนวคิดเราต้องการแสดงความเป็นมาเป็นไปของการ วิวัฒนาการของกลุ่มสัตว์เลื้อยคลานที่พัฒนาเป็นก ลุ่มสัตว์บกกลุ่มแรก ๆ และได้มีวิวัฒนาการอย่างมาก จนทำาให้เกิดสิ่งมีชีวิตมากมาย สัตว์เลื้อยคลานพวกแรก ๆ มีวิวัฒนาการไปหลาย ทาง เช่น วิวัฒนาการไปเป็นสัตว์เลื้อยคลานในปัจจุบัน หรือเป็นสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว เช่น ไดโนเสาร์สัตว์เลื้อยคลานบางกลุ่มวิวัฒนาการไปเป็น สัตว์ปีกซึ่งเป็นบรรพบุรุษของนกในปัจจุบัน และสัตว์ เลื้อยคลานบางกลุ่มก็วิวัฒนาการไปเป็นสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม โดยสัตว์เลื้อยคลานเริ่มวิวัฒนาการมาจาก สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำา ดังนั้นในโซนนี้จึงจะสื่อสารให้เห็น ดังที่กล่าวไปข้างต้น CONCEPT INFO ZONING INFO Lizard Zone เป็นพื้นที่อยู่อาศัยสัตว์เลื้อยคลานประเภท กิ้งก่า โดยมีสภาพแวดล้อมตามแต่ละชนิด Snake Zone เป็นพื้นที่อยู่อาศัยสัตว์เลื้อยคลานประเภทงู โดยมีสภาพแวดล้อมตามแต่ละชนิด Turtle Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยสัตว์เลื้อยคลานประเภท เต่า โดยมีสภาพแวดล้อมตามแต่ละชนิด Amphibians Zone เป็นพื้นที่อยู่อาศัยสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำา ขนาดเล็ก พวกกบ โดยมีสภาพแวดล้อมตามแต่ละชนิด Crocodile Zone เป็นพื้นที่อยู่อาศัยสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำา ขนาดใหญ่ พวกจระเข้ โดยมีสภาพแวดล้อมแบบพื้นที่ชุ่มน้ำา

LANDSCAPE DESIGN

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 60
LANDSCAPE DESIGN Page 61 POLAR Salmon Party Cave เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของหมีกริซลี่ โดย จะมีการจัด Event Salmon Party เพื่อเป็นการให้ผู้เยี่ยม ชมได้สังเกตพฤติกรรมในการหาอาหารของหมีกริซลี่ THESIS NEW KHOA DIN ZOO แนวคิด คือ การแสดงระบบนิเวศที่มีอากาศหนาวเย็น โดยจะ แสดงให้เห็นพฤติกรรมสัตว์เหล่านั้น โดยมี Exhibition ต่าง ๆ ในการนำาเสนอ เช่น -หมีกริซลี่ สามารถกินได้ทั้งเนื้อสัตว์และพืช ผักผลไม้เป็น อาหาร เช่น ผลไม้จำาพวกเบอรี่ แต่อาหารหลักของหมีกริซลี่ ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นปลา โดยจะลงไปจับในลำาธารหรือน้ำาตก ขณะที่ปลาว่ายผ่านเช่น ปลาแซลมอน ปลาเทราต์ หรือปลา เบส ที่เป็นพฤติกรรมเด่นของหมีชนิดนี้ ที่จะจับปลาแซลมอน ในช่วงฤดูการวางไข่ของปลาแซลมอนจะเกิดขึ้น
การจำาศีล -Exhibition ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกมนุษย์ที่ ส่งผมต่อถิ่นที่อยู่ของพวกมันเพื่อให้เห็นความสำาคัญในการ ของธรรมชาติ ที่ได้เปลี่ยนแปลงไปในทุก ๆวัน และเพื่อให้ผู้ เยี่ยมชมคำานึงนึกถึง ธรรมชาติว่ามัน “ยิ่งใหญ่กว่าเราเพียง ใด” โดยทั้งหมดทั้งมวลนั้น จึงนำาเสนออกมาในรูปแบบของ Zoo Exhibition นอกจากได้รับชม ได้ความรู้แล้วยังต้องเข้าใจ ธรรมชาติ แล้วร่วมมือกันเปลี่ยนแปลง CONCEPT INFO ZONING INFO Polar Bear Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของหมีขั้วโลก โดย มีสภาพแวดล้อมแบบเขตหนาวที่ต้องการควบคุมอุณหภูมิ ตลอดเวลา Penguin Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยนกเพนกวิน โดยมี สภาพแวดล้อมแบบป่าเขตหนาวที่มีการควบคุมอุณหภูมิ ตลอดเวลา Lovely Animal Habitat เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่มี ความเชื่อง เช่น กระต่ายหิมะ กวางเรนเดียร์ โดยมีสภาพ แวดล้อมแบบป่าเขตหนาวที่มีการควบคุมอุณหภูมิตลอด เวลา
เมื่อพ้นจาก

THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 62
LANDSCAPE DESIGN
LANDSCAPE DESIGN Page 63 BIRD PARK THESIS NEW KHOA DIN ZOO Bird Park ออกแบบภายใต้แนวคิดการแสดงแบบเปิด กว้างขนาดใหญ่ ที่รวบรวมนกนานาสายพันธุ์มาจัดแสดง ในที่เดียวกัน แต่มีความหลากหลายระบบนิเวศ โดยแบ่ง Categoryของนกต่าง ๆ โดยแบ่งได้ดังนี้ 1.นกบินไม่ได้ขนาดใหญ่ จัดแสดงในรูปแบบ Open Space โดยจะมีผู้ดูแลและให้คำาแนะนำาอย่างใกล้ชิด เช่น นกกระจอก เทศ นกอีมู เป็นต้น 2.นกบินไม่ได้ขนาดเล็ก จัดแสดงในรูปแบของ Open Space เช่น นกกีวี่ นกกระทา ไก่ เป็ด เป็นต้น 3.นกนักล่า จัดแสดงในรูปแบบของ Close Space และ Exhibition Show เช่น เหยี่ยว นกอินทรี เป็นต้น 4.นกทั่วไป / นกแสนรู้ เป็นกลุ่มนกที่ไม่กินนกด้วยกัน จะถูก จัดแสดงในรูปแบบของ Open Space สำาหรับนกปกติและ Exhibition Show สำาหรับนกแสนรู้ อาทิเช่น นกแก้วมาคอล นกแก้วสีเทาแอฟริกัน นกขุนทอง เป็นต้น 5.นกน้ำ จัดแสดงในรูปแบบ Open Space เช่น นกฟามิงโก นกเป็ดน้ำ เป็ด แมนดาริน ห่าน เป็นต้น CONCEPT / ZONE INFO

LANDSCAPE DESIGN THESIS NEW KHOA DIN ZOO

Page 64
LANDSCAPE DESIGN Page 65 OVERALL THESIS NEW KHOA DIN ZOO แนวคิดของสวนสัตว์ที่สามารถ เติมเต็มความต้องการพื้นฐาน ของการเรียนรู้ ที่มีความสนุก ตื่นเต้น ตามหาและค้นพบสิ่งใหม่ๆ และสร้างแรงบัน ดาลใจเพื่อที่นำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของจิตสำานึก ในการอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยทั้งหมดที่กล่าวมาอยู่บนพื้นฐานของสวัสดิภาพ ของ สัตว์ชนิดต่างๆ ซึ่งในขณะเดียวกัน ยังเป็นแหล่งเรียนรู้พฤติกรรม และธรรมชาติของสัตว์เพื่อการนั้น จึงได้ ออกแบบวางผังเพื่อ ใช้รองรับกิจกรรมหลัก ต่าง ๆ เช่น คือ กิจกรรมการพักผ่อน นันทนาการ สำาหรับครอบครัว กิจกรรมการผจญภัยเรียนรู้ชีวิต สัตว์ ธรรมชาติและการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน กับ สัตว์แต่ละชนิด โดยผ่านการเดินทางหลากหลายมุมมอง หลากหลายช่วงเวลา เพื่อ เพิ่มความ หลากหลายของกิจกรรมในโครงการ โดยมุ่งหหวังเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่ระดับโลก สัตว์ในส่วนจัดแสดงได้ออกแบบให้เหล่า สัตว์ใกล้ชิดกับผู้เที่ยวชมมากมากที่สุด ในงานภูมิสถาปัตยกรรม ได้ออกแบบให้ผสมผสานกับ สถาปัตยกรรมผ่านการใช้รูปแบบ รูปร่าง และองค์ประกอบทาง ธรรมชาติ โดยสร้างรูปแบบใหม่ให้การเที่ยวชมความหลากหลาย ของ เส้นทางและเวลาของกิจกรรมโดยที่กล่าวมาเราอิสระในทาง เลือกของการเที่ยวชมจาก 3รูปแบบ คือ 1.Begin of Sky การเดินทางโดยใช้ ระบบ Monorail ในการเที่ยว ชมสัตว์ต่าง ๆจาก ฟากฟ้าคอยสังเกตุพฤติกรรมจากยอดไม้ และสามารถเข้าชมได้หลากหลายช่วงเวลาโดยไม่มีปัญหา สภาพ อากาศ เช่น Night Safari หรือ Rain Safari เป็นต้น 2.Begin of Water การเดินทางผ่านเส้นทางน้ำา โดยแบ่งการเดิน ทางออกเป็น 2แบบ คือ การเดินทางผ่านอุโมงค์ Aquarium และ การเดินทางโดยใช้ Tour Boat เพื่อสังเกตพฤติกรรมสัตว์ริมน้า อย่างใกล้ชิด 3.Begin of Ground คือการเดินทางในเส้นทางภาคพื้น โดยแบ่ง เป็น 2 เส้นทาง คือการผจญภัย ด้วยตนเองโดยการเดินเท้า และ การเดินทางโดยใช้ Zoo Bus ในการเดินทางโดยจะมี Keeper คอย ให้ความรู้อธิบายสิ่งต่างๆในโครงการอย่างใกล้ชิด “โลกใบนี้ไม่ใช่บ้านของมนุษย์เพียงอย่างเดียว”โลกได้ถือ กำาเนิดผ่านช่วงเวลาการวิวัฒนาการมาอย่างยาวนาน ผ่าน การเปลี่ยนแปลงมามากมาย มนุษย์นั้น เกิดมาเพียงเสี้ยวเวลา หนึ่ง ของโลกแต่กับทำาลายโลกไปอย่างมากมาย ดังนั้นแล้ว ผู้ ออกแบบจึงหวังอย่างยิ่งว่า งานออกแบบชิ้นจะมี ส่วนสำาคัญ ในการให้แนวทางศึกษาการอยู่ร่วมกับสิ่งมีชีวิตตลอดจนการ อนุรักษ์และขยายพันธุ์พืชและสัตว์ เพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำานึก ที่ดีในการอนุรักษ์สิ่งต่างๆ ให้อยู่ร่วมกันในบ้านหลังนี้ที่เรียกว่า “โลก”ตลอดไป“

HAND DRAWING

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 67 HAND MADE ชื่อผลงาน มังกรหนังสือพิมพ์ ขนาด 2.10 x 1.20 m ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : เอกภาพ ประเภทของงานศิลปะ : ประติมากรรม แนวคิดการออกแบบ : อย่างแรกคือได้โจทย์มาว่า ออกแบบ Presentation Board ในรูปแบบใหม่ ตัวผม เลยคิดว่าอยากได้ตัวอะไรสักอย่างมาดึงดูดความส่งใจ และผู้คนเข้าถึงานตั้งแต่แรกเห็น โดยมองว่ามันต้องไม่ใช่ สัตว์ที่อยู่ในโลกจริงๆเพราะมันจะหมดความน่าสนใจลงไป ผมจึงได้มาเป็นเจ้ามังกร โดยมีแนวคิดว่าจะให้มันพ่นไฟ หรือแสงสว่างลงบนบอร์ดที่มันถืออยู่ สาเหตุที่เลือก มังกรเป็นสัตว์ในจินตนาการไม่มีใครรู้ ว่ามันหน้าตาเป็นแบบไหนผมเลยปั้นมังกรในแบบของผม โดยผมมีแนวคิดว่าในเมื่อไม่มีใครรู้ว่าหน้าตาจริงๆมันเป็น ยังไงการที่เราสร้างมันขึ้นมาใหม่มันจะไม่ใช่สิ่งแปลกที่ คนจะจับผิด เพราะมันไม่มีมังกรโลกแห่งความเป็นจริงให้ เปรียบเทียบได้เลยเป็นที่มากของการเลือกมังกร ในงานนี้ผมใช้วัสดุเป็น กระดาษหนังสือพิมพ์จากห้อง สมุดมาใช้ทำางานเพื่อให้ Project มีค่าจะสิ่งที่ไม่มีค่าแล้ว HAND DRAWING
Page 68 LANDSCAPE DESIGN HAND DRAWING 01 ชื่อผลงาน เรือนธรรมที่ไหนไม่รู้ ขนาด : 42.0 x 29.7 cm (A3) ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : ภาพเสมือน ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม ได้งานในห้องเรียนให้ไปวาดภาพสถานที่ด้วยเส้น ดินสอผมเลยเลือกวาดรูปนี้โดยผมอยากให้ระยะหน้า เด่นขึ้นมาสักนิดนึงเลยลงละเอียดกับต้นไม้แล้วระยะ กลางและหลังก็เป็นการบลงงานหยาบๆเพื่อแยกระยะ 02 ชื่อผลงาน กระดานของน้อง ขนาด 42.0 x 59.4 cm (A2) ปีที่สร้างผลงาน 2016 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักการออกแบบ : เอกภาพ ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม แนวคิดการออกแบบ : มันเป็นประเพณีที่พี่ปี 2 ต้อง ให้กระดานรุ่นน้องเพื่อเป็นของขัวญการเข้ามาเรียนที่ มหาลัยตัวผมมีน้องรหัสที่ตัวใหญ่อ้วนกลมมันทำาให้ผม ตีความเป็นยักษ์ ผมเลยเอาแรงบันดาลใจในส่วนนั้นมา วาดลงกระดานวาดภาพ ขนาดA2ให้กับน้อง
LANDSCAPE DESIGN Page 69 HAND DRAWING 03 ชื่อผลงาน การเมือง ขนาด 42.0 x 59.4 cm (A2) ปีที่สร้างผลงาน 2014 มัธยมศึกษาปีที่6 หลักการออกแบบ : เอกภาพ ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม แนวคิดการออกแบบ : ช่วงนั้นเป็นช่วงที่มีการเมืองที่ เข้มข้นเป็นอย่างมาก ผมเลยวาดภาพนี้ออกมาเพื่อสื่อ ถึงเรื่องการเมืองที่มีการแย่งชิง 04 ชื่อผลงาน เรือนไทยที่ไหนไม่รู้ ขนาด 42.0 x 29.7 cm (A3) ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : ภาพเสมือน ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม แนวคิดการออกแบบ : เน้นระยะหน้าให้เข้มแล้วปล่อย เป็นเส้นในระยะหลังเพื่อให้งานมีจุดเด่นจุดรอง
Page 70 LANDSCAPE DESIGN HAND DRAWING 05 ชื่อผลงาน เมืองเชียงใหม่ ขนาด : 42.0 x 29.7 cm (A3) ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : ภาพเสมือน ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม ที่มางาน : เป็นการวาดตามศิลปินเพื่อฝึกฝีมือ 06 ชื่อผลงาน วัดที่ไหนไม่รู้ ขนาด : 42.0 x 29.7 cm (A3) ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : ภาพเสมือน ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม ที่มางาน : เป็นการวาดตามศิลปินเพื่อฝึกฝีมือ
LANDSCAPE DESIGN Page 71 HAND DRAWING 07 ชื่อผลงาน ศาลสมเด็จพระนเรศวร ขนาด : 42.0 x 29.7 cm (A3) ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : ภาพเสมือน ประเภทของงานศิลปะ : จิตรกรรม ที่มางาน : เป็นการวาดตามศิลปินเพื่อฝึกฝีมือ 08 ชื่อผลงาน วัดในเชียงใหม่ ขนาด : 42.0 x 29.7 cm (A3) ปีที่สร้างผลงาน 2015 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักการออกแบบ : จิตรกรรม ประเภทของงานศิลปะ : ประติมากรรม ที่มางาน :ป็นการวาดตามศิลปินเพื่อฝึกฝีมือ

FREELANCE WORK

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 73 FREELANCE WORK THE CHATRA VILLAGE GARDEN HOUSE Songkhla TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP LUMION AUTOCAD PROCREATE แนวคิดในการออกแบบเป็นสวนโมเดิร์นที่เข้ากับแนวคิดของบ้านเน้นใช้พรรณไม้ไม่หลากหลายและดูแลง่าย ไม่เน้นไม้ดอกเพราะหากอยู่ ทุกวันแล้วจะทำให้เบื่อง่าย และเป็นไม้ล้มลุกที่อายุสั้น เจ้าของบ้านต้องเปลี่ยนบ่อย เน้นพื้นที่ใช้สอยพักผ่อนช่วงเช้าหรือช่วงเย็น ให้มีพื้นที่ ออกมาใช้เวลานอกบ้านบ้าง แต่ก็ยังมีซุ้มที่นั่งพรางแสงแดดหรือกันฝนได้บางส่วน, เสียงน้ำ จากน้ำพุทำให้บ้านมีชีวิตชีวาไม่นิ่งจนเกินไป นักเป็นธรรมชาติ อาจจะมีนกมาเล่นน้ำด้วยในวันที่อากาศดี ทางเดินรอบบ้านใช้เส้นตรงไม่โค้งและใช้วัสดุพื้นผิวที่แข็งแรงมีการออกแบบให้ ลบมุมทำให้สมาชิกในบ้านทุกคนสามารถใช้ได้ ในทุกรุ่นอายุวัยตั้งแต่เด็กถึงคนแก่
Page 74 LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK C31 C32 KEY PLAN KEY PLAN 1.Parking 2.House Entrance 3.Water Feature Cheilocostus speciosus Ophiopogon japonicas (L.f.) Axonopus compressus (Sw.) P.Beauv. Carmona retusa (Vahl) Masam Barringtonia acutangula Diospyros buxifolia Syzygium antisepticum Citharexylum spinosum L. 1.Parking 2.House Entrance 3.Yard 4.Pavilion 5.Yard 3.Terrace 4.Open Lawn 5.Pavilion 3.Water Feature 7.Terrace

FREELANCE WORK

EXAMPLE HOUSE

Page 75
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK

Page 76
MAIN ENTRANCE 1
LANDSCAPE DESIGN Page 77 FREELANCE WORK THE CHATRA VILLAGE GRAND GARDEN Songkhla TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP LUMION AUTOCAD PROCREATE แนวคิดในการออกแบบผมได้รับแรงบันดาลใจจากคลื่นลมทะเล และ ทิวเขาของ จังหวัดสงขลามาใช้ในการออกแบบเส้นสายของพิ้นที่โครงการให้มีความน่าสนใจ โดยเส้น สายเหล่านั้นได้เชื่อมโยงพื้นที่กิจกรรมต่างๆไว้ด้วยกันระหว่างทางถูกโอบล้อมด้วยเนินที่ใช้ พืชพรรณต่างๆเหมือนภูเขา เพื่อทำาให้ผู้ใช้พื้นที่พักผ่อนและกิจกรรมActive ผ่อนคลายเข้า ถึงผู้ใช้ทุกกลุ่มอายุในโครงการ MASTER PLAN KEY PLAN 1.Plaza 2.Meeting Area 1 3.Multipurpose Yard 4.Meeting Area 2 5.Pavilion 6.Open Lawn 7.Sand Pit 8.Exercise Zone 9.Playground 10.Racetrack-Kid 11.Main Entrance 1 12.Main Entrance 2 13.Main Entrance 3

LANDSCAPE DESIGN

FREELANCE WORK

PLAYGROUND & EXCERCISE ZONE

Page 78

FREELANCE WORK

PAVILION AREA

Page 79
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN

FREELANCE WORK

MEETING AREA 1

Page 80

OVERALL

FREELANCE WORK

Page 81
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK

ONSEN POND

Page 82
LANDSCAPE DESIGN Page 83 ONSEN AT MONCHAM ONSEN AREA CHIANG MAI TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP LUMION AUTOCAD PROCREATE พื้นที่ออนเซนพื้นการพักผ่อนที่ตอบโจทย์คนที่ต้องการพักผ่อนท่ามกลางหุบเขาธรรม ขาติโดยที่ทาง Owner มีความชื่นชอบในภาพวาดญี่ปุนมีความต้องการอยากให้ภาพวาดเป็น เหมือนดั่งองค์ประกอบหนึ่งในสวนและส่วนพื้นที่ใช้งาน การออกแบบเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติ ในส่วนของการออกแบบพืชพรรณ นั้นเนื่องจากบริเวณรอบๆ มีพืชพรรณที่มีลักษณะ แบบหลากสีทางผู้ออกแบบจึงได้นำาสภาพโดยรอบมาจัดขยายในพื้นที่ออกแบบเพื่อให้ผู้ใช้งานได้ รับบรรยากาศอย่างเต็มที่ FREELANCE WORK ONSEN ENTRANCE
Page 84
DESIGN
14
LANDSCAPE
FREELANCE WORK
LANDSCAPE DESIGN Page 85 FREELANCE WORK MASTER PLAN KEY PLAN 1.Washing Zone 2.Yard 3.Cold Pond 4.Waterfall 5.Warm Spring 6.Hot Spring 7.Garden 8.Koi Pond 9.Entrance 10.Stone Walkway 11.Foot Bath Onsen 12.Art Screen 13.System Room 14.Pocket Garden 13

LANDSCAPE DESIGN

FREELANCE WORK

Page 86
LANDSCAPE DESIGN Page 87 FREELANCE WORK KUNSHAN YUFENG EXPERIMENTAL SCHOOL AND LOVE SCHOOL KUNSHAN,CHINA TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP ENSCAPE AUTOCAD PROCREATE การออกแบบโครงการนี้ทาง Director ได้ทำาการวางผังไว้แล้วโดยที่ทางผมมาช่วยในการออกแบบ ให้ละเอียดมากยิ่งขึ้น โดยทาง Director ได้วางแนวคิดดังนี้ คือการออกแบบให้โรงเรียนมีการเล่นและ เรียนรู้กับธรรมชาติ โดยใช้แนวคิดนิเวศแห่งการเรียนรู้โดยมีหลักการที่พิสูจน์มาแล้วว่าทั้ง แสงแดด กลิ่น พรรณไม้ วิวทิศทัศน์ ส่งผลดีต่อร่างกาย จิตใจ อีกทั้งยังสร้างแรงบันดาลใจ ทั้งนี้โรงเรียนไม่ได้รับแค่ เพียงนักเรียนปกติ ยังมีในส่วนด็กพิเศษด้วยซึ่งนอกจากธรรมชาติแล้วยังมีการออกแบบเพื่อให้รับรู้การ อยู่ร่วมในสังคมผ่านงาน Landscape อีกด้วย

LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK

Page 88

FREELANCE WORK

Page 89
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK

Page 90
LANDSCAPE DESIGN Page 91 TOOLS SKETCH UP LUMION AUTOCAD แนวคิดการออกแบบบ้าน และสวนโครงการนี้ คือเริ่มต้นจากความต้องการของลูกค้าที่ต้องการ ให้โรงจอดรถสามารถเปลี่ยนเป็นสนามกอล์ฟ สามมิติ ได้ยามที่นำารถไปจอดนอกโรงรถโดยมีสวนอยู่ รอบๆที่ทำาหน้าที่เป็น court กลางบ้าน เป็นตัวสร้างบรรยากาศ อีกทั้งยังเป็นจุดรับรองแขกด้วยประกอบ กับที่ทาง ลูกค้าค่อนข้างชื่นชอบกระต่าย ผมจึงนำา Sculpture กระต่ายมาใช้เป็น gimmick ในการ ออกแบบงานภูมิทัศน์ WHITE RABBIT GARDEN HOUSE DONMUEANG,BANGKOK FREELANCE WORK

LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK

Page 92

FREELANCE WORK

DESIGN Page 93
LANDSCAPE

LANDSCAPE DESIGN

FREELANCE WORK

Page 94
LANDSCAPE DESIGN Page 95 FREELANCE WORK TOOLS SKETCH UP LUMION AUTOCAD PROCREATE PHOTOSHOP ในการออกแบบพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรเราได้คำานึงถึงบริบทเดิมของพื้นที่โดยรักษารูปบ่อเดิมไว้ ให้มากที่สุดแล้วนำามาเป็นจุดเด่นโครงการโดยได้ออกแบบให้พื้นที่มีกิจกรรมที่ทาง Owner กำาหนดให้เชื่อม ต่อกัน ไม่รบกวนซึ่งกันละกัน ทัั้งยังออกแบบเพื่อให้ User ได้รับบรรยากาศของธรรมชาติได้ในทุกๆมุม เช่น การพายเรือตกปลาก็ยังได้รับบรรยากาศของสวนเกษตรรอบๆ ได้และเช่นกันหากกทำากิจกรรมภาค พื้นก็สามารถเห็นกิจกรรมทั่วไปบนน้ำาได้ทำาให้โครงการ ทำาให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันและกัน LOCAL AGRICULTURAL AND FISHERY LEARNING CENTER SANSAI , CHIANG MAI

LANDSCAPE DESIGN

FREELANCE WORK

Page 96

FREELANCE WORK

Page 97
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN FREELANCE WORK

Page 98

FREELANCE WORK

Page 99
LANDSCAPE DESIGN

OFFICE WORK

PORTFOLIO
LANDSCAPE DESIGN Page 101 OFFICE WORK SAIPAN RESORT PACIFIC OCEAN , USA TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP ENSCAPE AUTOCAD PROCREATE ไซปันตั้งอยู่ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างทะเลฟิลิปปินส์กับมหาสมุทรแปซิฟิก ใกล้กับเอเชีย ใกล้กับเส้นศูนย์สูตรและมีสภาพอากาศที่สบายและน่าอยู่ มีแสงแดดส่องถึงและอากาศบริสุทธิ์ตลอดปี. เป็นสวรรค์ ของการท่องเที่ยวและพักผ่อน โดยได้ขอสรุปแนวคิดเป็นเรื่องราวของ ดวงดาว และ อวกาศ ซึ่งแนวคิดนั้นจะสอดแทรกอยู่ใน Detail Design ของโครงการทำาให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนได้ท่องอวกาศ เดินชมหมู่ดาว ไปยังจุดต่างๆของโครงการด้วยความ ประทับใจ และน่าค้นหา
Page 102 LANDSCAPE DESIGN SAIPAN RESORT เนื่องจากแนวคิดของโครงการคือกลุ่ม ดาวและจักรวาลทางผมได้รับโจทย์นี้มา แล้วได้ทำาการคิดว่าทำายังไงให้เด็กที่เข้า มาเล่นสามารถรู้สึกได้ถึงจักรวาลที่อยู่ รอบๆตัว ผมจึงได้ออกแบบยานอวกาศ ที่ใช้ในการล่องลอยไปยังพิ้นที่ต่างๆใน จักรวาล อีกทั้งยังใช้กลุ่มพืชพรรณที่มี ลักษณะใบแฉกๆ อย่างกลุ่มฟิโล เพื่อให้ เด็กๆที่มีจินตนาการได้นึกถึงการผจญ ภัยในอวกาศ -กิจกรรมที่ออกแบบเน้นไปยังผู้ใช้ ประเภท เด็ก 3 - 12 ปี โดยเน้นทักษะใน การเรียนรู้ สัมผัส สังเกตุ เช่น การก ระโดดข้ามหินลอยที่อยู่บน Pavement เป็นต้น CONCEPT INFO ZONING INFO House of Alien เป็นการจำาลองบ้านของเอ เลี่ยนที่สามารถในเด็กๆไปหลบซ่อน Starfall เป็นเหมือนการจำาลองดาวหาง Galaxy Pavement พื้นของสระมีออกแบบ ให้มีลักษณะคล้ายจักรวาลทำาให้ผู้ใช้เข้าถึง บรรยากาศได้ไม่ยาก Spacecraft ยานอวกาศที่จะนำาผู้ใช้งานไป ยังการผจญภัยในอวกาศ OFFICE WORK

LANDSCAPE DESIGN

OFFICE WORK

Page 103

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 104

LANDSCAPE DESIGN

OFFICE WORK

Page 105

MASTER PLAN

HUIZHOU JISHAN PROJECT HUIZHOU,CHINA

Page 106
LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK
LANDSCAPE DESIGN Page 107 OFFICE WORK HUIZHOU JISHAN PROJECT HUIZHOU,CHINA TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP ENSCAPE AUTOCAD PROCREATE โครงการนี้เป็นโครงการประกวดแบบที่ตั้งในเมือง Huizhou ในมณฑลกวางตุ้ง ด้วยเมืองนี้เป็นเมืองท่า ที่ติดกับทะเลจีนใต้ มีธรรมชาติที่สวยงามท้ัง แม่น้ำา ทะเล ภูเขา จึงเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ โดยได้นำา เรื่องราวของฝูงนกที่บินอพยพจากทะเลสู่แผ่นดินใหญ่ ซึ่งมันบินผ่านหุบเขา ผ่านแม่น้ำาลำาธาร ทะเลสาป โดย ขนที่ร่วงหล่นจะนำาทางเชิญชวนเข้าไปยังพื้นที่ต่างๆ

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 108
LANDSCAPE DESIGN Page 109 OFFICE WORK จากแนวคิดที่ได้กล่าวข้างต้น คือ ขนนก ที่ร่วงหล่นระหว่างที่นกบินผ่านไปยัง สถานที่ต่างๆ ดังนั้น ผมที่รับมอบหมาย ให้ออกแบบพื้นที่ Pavilion + Lernning Space ที่มีกลุ่มผู้ใช้งานเป็นกลุ่ม เด็ก + ผู้ปกครอง ผมจึงได้นำาฟอร์มของขน นกมาดัดฟอร์มให้มันเป็น wall ที่นำาไป สู้ Pavilion ของนกที่มี Libery Open Air อยู่เพื่อที่ว่าจะเป็นจุดที่ ผู้ปกครอง สร้างนั่งอ่านหนังสือรอลูกทำากิจกรรม ได้ ซึ่งภายนอก Pavilion โซนที่ใช้เรียน รู้เกี่ยวกับสัมผัสทั้ง 5 รูป รส กิน เสียง และสัมผัส CONCEPT INFO ZONING INFO Feather Pavilion เป็นศาลาที่ได้ Tranform จาก ขนนก มาใช้ในการออกแบบ ยังมีฟังชั่นสำาหรับ เป็น Open Air Library ที่ใช้ในการอ่าน หนังสือทั้งเด็กๆ และ ผู้ปกครอง 5 Senses Garden เป็นเหมือนการจำาลองดาวหาง Ant Playground พื้นของสระมีออกแบบให้มีลักษณะ คล้ายจักรวาลทำาให้ผู้ใช้เข้าถึง บรรยากาศได้ไม่ยาก HUIZHOU JISHAN PROJECT

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 110

OFFICE WORK

Page 111
LANDSCAPE DESIGN

MASTER PLAN

Page 112
LANDSCAPE DESIGN
OFFICE WORK OCT WESTERN AREA CONCEPTUAL ZHAO
LANDSCAPE DESIGN Page 113 OFFICE WORK OCT (PHASE VI) IN WESTERN BAY AREA LANDSCAPE CONCEPTUAL DESIGN ZHAO PING , GUANGXI , CHINA TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP ENSCAPE AUTOCAD PROCREATE

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 114

LANDSCAPE DESIGN

OFFICE WORK

Page 115

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 116

OFFICE WORK

Page 117
LANDSCAPE DESIGN
Page 118 LANDSCAPE DESIGN THIRAK CAFE เจ้าของโครงการต้องการบรรยากาศแบบการจัดแต่งสวนและ น้ำาตกสวย ในบรรยากาศเขียวขจีด้วยต้นมอสเฟรินที่ตกแต่งบน หินและตลอดทางเดิน มีลำาธารและน้ำาตกๆ และฝูงปลาหลากสีสัน แหวกว่ายไปมา แถมมีไอน้ำาพ่นฟุ้งกระจายตลอดทั่วบริเวณ ให้ บรรยากาศชวนฝัน คล้ายเดินเล่นอยู่ในป่า BACKGROUND SOLUTIONS ผมได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ทำา Model Sketchup cและ Presentation โครงการนี้โดยมีพี่ๆ ในออฟฟิศ ให้คำาแนะนำา อย่างใกล้ชิดปัจจุบันโครงการอยู่ระหว่างการก่อสร้าง TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP LUMION AUTOCAD OFFICE WORK

LANDSCAPE DESIGN

OFFICE WORK

Page 119

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 120

OFFICE WORK

Page 121
LANDSCAPE DESIGN

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 122
LANDSCAPE DESIGN Page 123 UBON ZOO สวนสัตว์อุบลราชธานี ชื่อเดิม อุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี ภายใต้การกำากับดูแลขององค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติดงฟ้าห่วน เลขที่ 112 หมู่ 17 ตำาบลขาม ใหญ่ อำาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 1,217 ไร่ ปัจจุบันทางสวนสัตว์ต้องการสร้างขยายในส่วนของโซนลิง จระเข้ และฮิปโปโปเตมัส จึงเป็นที่มาของ Project นี้ ผมได้รับมอบหมายให้ออกแบบโครงการนี้โดยมีพี่ๆ ในออฟฟิศ เจ้าหน้าที่ สวนสัตว์ให้คำาแนะนำา อย่างใกล้ชิดปัจจุบันโครงการอยู่ระหว่างการก่อสร้าง BACKGROUND TOOLS SKETCH UP PHOTOSHOP AUTOCAD OFFICE WORK ลักษณะ Playground ได้แรงบันดาลใจในการ ออกแบบคือ “สามพันโบก”ที่มีความแปลกประหลาด ของภูมประเทศ ก้อนหินประดับตกแต่งในโครงการมีการแต่งแต้ม เรื่องราวประวัติศาสตร์โดยสื่อถึงการวิวัฒนาการของลิง มาสู่คนโดยได้รับแรงบันดาลใจจาก “ผาแต้ม” ในจังหวัด อุบลราชธานี

LANDSCAPE DESIGN OFFICE WORK

Page 124

OFFICE WORK

DESIGN Page 125
LANDSCAPE
061-024-3744 095-561-4922 popokc46@gmail.com 2015-2022 PORTFOLIO PRUEK JONGPICHEVORAKUL

THANK YOU

LANDSCAPE DESIGN Page 127
PORTFOLIO

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.