Document No : CPG-02-BUD-020
Department : Bangkok Hospital Udon
Document Type : Clinical Practice Guideline ( CPG )
Category : (02) หมวดกิจกรรมบริกำรทำงคลินิก
Subject : แนวทำงกำรผ่ำตัดถุงน้ำดีอย่ำงปลอดภัย(
Revision : 00
Effective Date : 07 Oct 2022
และ มีกำรบำดเจ็บและบอบช้ำของเนื้อเยื่อบริเวณที่ทำ ผ่ำตัด ทำให้ต้องใช้เวลำในกำรรักษำแผลผ่ำตัดนำนขึ้น 3. ปัญหำกำรเกิดกำรบำดเจ็บของอวัยวะข้ำงเคียงที่ไม่ใช่ถุงน้ำดีและท่อทำงเดินน้ำดีนอกตับ
CPG-02.1-BUD-020 Rev.00 (07 Oct 2022) 111 Thong-yai Road, Mak-Khaeng Sub-district, Muang District, Udon Thani, 41000 Tel.(042) 343-111 Fax : (042) 345-061 Center Tel. 1719 • www.bangkokhospital udon.com Page 1 of 6 1. รายละเอยดเกยวกบโรค โรคนิ่วในถุงน้ำดี เป็นโรคทำงศัลยกรรมที่สำคัญ และ พบได้บ่อยในรพ. กรุงเทพอุดร ผู้ป่วยอำจเกิดภำวะแทรกซ้อนได้ง่ำยทั้ง จำกตัวโรคเอง เช่น กำรเกิดภำวะนิ่วตกลงไปอุดตันในท่อทำงเดินน้ำดี ทำให้เกิดภำวะตัวเหลืองตำเหลือง หรือ จำกกำรผ่ำตัดรักษำแล้ว เกิดภำวะแทรกซ้อน และเกิดปัญหำ ดังนี้ 1. ปัญหำกำรเกิดกำรบำดเจ็บของท่อทำงเดินน้ำดีนอกตับในขณะที่ผ่ำตัดโรคนิ่วในถุงน้ำดี โดยแพทย์ที่ยังไม่มีควำมชำนำญ เพียงพอ หรือ กำรมีพังผืดในช่องท้อง ทำให้มีควำมยำกในกำรผ่ำตัด ซึ่งทำให้ต้องมีกำรผ่ำตัดเข้ำไปแก้ไข โดยกำรผ่ำตัดต่อ ท่อทำงเดินน้ำดีนอกตับกับลำไส้เล็กโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชำญในกำรผ่ำตัดทำงเดินน้ำดี ทำให้ต้องมีกำรผ่ำตัดครั้งที่ 2 และ มี ระยะเวลำกำรนอนรพ.นำนขึ้น 2. ปัญหำกำรเกิดแผลผ่ำตัดอักเสบติดเชื้อ จำกกำรผ่ำตัดที่ใช้เวลำนำน
จำกกระบวนกำรทำผ่ำตัด ซึ่งเกิด จำกแพทย์ผ่ำตัดที่ยังไม่มีควำมชำนำญเพียงพอ หรือ กำรมีพังผืดในช่องท้อง ทำให้มีควำมยำกในกำรทำผ่ำตัด ซึ่งทำให้ต้อง มีกำรผ่ำตัดแก้ไขซ่อมแซมอวัยวะที่บำดเจ็บดังกล่ำว นอกเหนือไปจำกกำรผ่ำตัดโรคนิ่วในถุงน้ำดี ทำให้ต้องมีค่ำใช้จ่ำยที่ มำกขึ้น และ มีระยะเวลำของกำรนอนรพ. ที่นำนขึ้น จำกสภำพปัญหำดังกล่ำวข้ำงต้น ทีมPCT ศัลยกรรมของรพ.กรุงเทพอุดร จึงได้มีกำรจัดทำกำรทบทวนทำงวิชำกำรเพื่อ กำหนดแนวทำงมำตรฐำนในกำรรักษำโรคนิ่วในถุงน้ำดีในรพ.กรุงเทพอุดรขึ้น
เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดควำมปลอดภัยจำกกำรผ่ำตัด ตลอดจนเพื่อให้ผู้ป่วยมีระยะเวลำพักฟื้นหลังผ่ำตัดและได้ออกจำกโรงพยำบำล เป็นไป ตำมระยะเวลำที่มีกำรประเมินไว้ช่วงก่อนผ่ำตัด 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับกำรรักษำเป็นไปตำมมำตรฐำนวิชำชีพที่กำหนดไว้ 2.2
ให้เป็นไปตำมมำตรฐำนเดียวกันสำหรับแพทย์ผ่ำตัดทุกท่ำน
เพื่อให้ผู้ป่วยมีควำมปลอดภัยจำกกำรผ่ำตัด และ ไม่มีภำวะแทรกซ้อน 2.3 เพื่อให้ผู้ป่วยมีระยะเวลำพักฟื้นในรพ.หลังผ่ำตัดตำมที่ประเมินไว้ตั้งแต่ก่อนผ่ำตัด
Safe Cholecystectomy Guideline)
Symptomatic Cholecystitis Include both acute and chronic Cholecystitis
Acute Cholecystitis
Acute upper abdominal pain with tenderness under the right costal margin accompanied by fever, laboratory markers of inflammation and scintigraphic or sonologic evidence
Complicated Cholecystitis Refers to emphysematous Cholecystitis, Cholecystitis with perforation and secondary peritonitis, pericholecystic abscess formation and generalized peritonitis
Early Cholecystectomy Cholecystectomy performed within 72 hrs of admission
Delayed Cholecystectomy Initial conservative treatment with antimicrobials followed by cholecystectomy
8-12 weeks later
Standard Open Cholecystectomy
Mini-incision/Mini laparotomy
Cholecystectomy
Laparoscopic Cholecystectomy
Difficult cholecystectomy
Transverse subcostal skin incision greater than 6 cm in length to provide comfortable exposure of the gallbladder
Transverse subcostal skin incision less than or equal to 6 cm in length
Use of 5-10 mm subxiphoid and 5 mm lateral trocars for cholecystectomy
Operative time more than 2 hrs , there are prior abdominal operation that can make adhesion in upper quadrant area of abdomen , Patient receive anticoagulant or antiplatelet medication , Patient who has underlying disease such as Liver cirrhosis , Portal Hypertension , Hepatitis , Pancreatitis , Obstructive jaundice , Patient who has bleeding tendency condition.
CPG-02.1-BUD-020 Rev.00 (07 Oct 2022) 111 Thong-yai Road, Mak-Khaeng Sub-district, Muang District, Udon Thani, 41000 Tel.(042) 343-111 Fax : (042) 345-061 Center Tel. 1719 • www.bangkokhospital udon.com Page 2 of 6 3. กลมเปาหมาย/ผเกยวของ ผู้ป่วยที่มำรับกำรรักษำที่รพ.กรุงเทพอุดรด้วยโรคนิ่วในถุงน้ำดีทุกรำย
นิยาม คาศัพท์(Vocab) ความหมาย
4.
(Definition)
Clinical Practice Guideline for diagnosis and treatment Cholecystitis in Bangkok hospital Udon
6.1 Ultrasound is the most helpful diagnosis test for acute and chronic calculous Cholecystitis
6.2 Routine cholecystectomy is not recommended for asymptomatic gallstone, cholecystectomy may be considered in a selected group of patients
6.3 Recommended surgical approached for acute cholecystitis are open cholecystectomy or laparoscopic cholecystectomy and Laparoscopic cholecystectomy is the recommended surgical approach in the management of chronic cholecystitis
6.4 Patient with acute Cholecystitis should undergo cholecystectomy within 72 hrs
6.5 Empiric antibiotic therapy is recommended for patients with acute or chronic Cholecystitis
6.5.1 Following antibiotics are recommended for therapy in uncomplicated acute or chronic Cholecystitis :
-Cefazolin 1 gm IV every 8 hrs
-Cefuroxime 1.5 grams IV every 8 hrs
-Cefoxitin 2 grams IV every 8 hrs ( If at risk for anaerobic infection )
6.5.2 For patients with allergy to beta-lactam antibiotic :
-Fluoroquinolone 400 mg IV every 12 hrs +/- Metronidazole 500 mg IV every 6 hrs
6.5.3 Following antibiotics are recommended for therapy in complicated acute cholecystitis
- Cefoxitin 2 grams IV every 8 hrs
- Ertapenem 1 gram IV every 24 hrs
CPG-02.1-BUD-020 Rev.00 (07 Oct 2022) 111 Thong-yai Road, Mak-Khaeng Sub-district, Muang District, Udon Thani, 41000 Tel.(042) 343-111 Fax : (042) 345-061 Center Tel. 1719 • www.bangkokhospital udon.com Page 3 of 6 5. การวินิจฉัยและการรักษา โรคนิ่วในถุงน้ำดี จะมีอำกำรนำมำด้วยเรื่อง ปวดท้องด้ำนขวำบน อืดแน่นท้อง ในรำยที่มีกำรอักเสบของถุงน้ำดีร่วมด้วย อำจทำให้ผู้ป่วยมีไข้ กดเจ็บที่ช่องท้องด้ำนขวำบน ผลตรวจเลือดมีเม็ดเลือดขำวขึ้นสูง และ ถ้ำหำกมีภำวะแทรกซ้อน เช่น มีนิ่วหล่น ไปในทำงเดินน้ำดี จะทำให้มีภำวะทำงเดินน้ำดีนอกตับอุดตัน ทำให้มีอำกำร ไข้สูง หนำวสั่น ปวดท้องมำก ตัวเหลืองตำเหลือง ซึ่งเรำ สำมำรถวินิจฉัยขั้นต้นด้วยกำรเจำะเลือด และ ส่งทำ Ultrasound เป็นลำดับแรก เพื่อวินิจฉัยว่ำมีนิ่วในถุงน้ำดี และ มีควำมผิดปกติ ของท่อทำงเดินน้ำดีหรือไม่ และ อำจต้องส่งทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ฉีดสีเข้ำไปดูในทำงเดินน้ำดี ( MRCP ) เพื่อดูรอยโรคในท่อ ทำงเดินน้ำดีต่อไป สำหรับแนวทำงกำรรักษำโรคนิ่วในถุงน้ำดีที่มีอำกำรก็คือ กำรผ่ำตัดรักษำด้วยกำรตัดถุงน้ำดีออก 6. แนวทางการดแลรกษา
ดังนี้
- Ampicillin-Sulbactam 1.5-3 grams IV every 6 hrs ( add Gentamicin 240 mg IV every 24 hrs if with risk for Enterococcus infection )
6.5.4 For patients with allergy to beta-lactam antibiotic :
- Fluoroquinolone 400 mg IV every 12 hrs + Metronidazole 500 mg IV every 6 hrs The duration of therapy may be maintained for 5-7 days for complicated cases
6.6 Patient with acute and chronic Cholecystitis should undergo pre op Lab investigation with Complete blood count, BUN, Cr, Liver function test and Imaging study to make sure that there are no CBD stone, no obstructive jaundice, no clinical active hepatitis or others abdominal inflammation or infection before to do cholecystectomy
6.7 If there are evidence of CBD obstruction, obstructive jaundice, Cholangitis, Pancreatitis the patient should undergo to receive empirical antibiotic treatment until clinical subside down +/- Biliary drainage before to do cholecystectomy (can do in 1 setting time)
6.8 In Condition of Laparoscopic cholecystectomy operation BUD policy recommend to do Laparoscopic cholecystectomy with 2 surgeons and the main surgeon must be expert in the operation more than another one and main surgeon must have no serious complication in 3 years ago
6.9 In all cases that have to do the second operation, attending physician and staff must report directly to PCU surgery director or chief of medical staff organization or hospital director to approve before to do second operation
6.10 Implement Standard CPG Safe Cholecystectomy in Bangkok hospital Udon for all staff PCT Surgery
6.11Monitor, Evaluation and Improvement
CPG-02.1-BUD-020 Rev.00 (07 Oct 2022) 111 Thong-yai Road, Mak-Khaeng Sub-district, Muang District, Udon Thani, 41000 Tel.(042) 343-111 Fax : (042) 345-061 Center Tel. 1719 • www.bangkokhospital udon.com Page 4 of 6
7. การให้คาแนะนา 7.1 ให้มีกำรแจ้งแนวทำง CPG Safe Cholecystectomy ให้กับศัลยแพทย์ทุกท่ำนที่มำปฏิบัติงำนใน รพ.กรุงเทพอุดร , พยำบำลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกำรดูแลรักษำผู้ป่วยทำงศัลยกรรม ตลอดจนเจ้ำหน้ำที่ในระดับต่ำงๆ เพื่อให้ทุกคนมี ควำมเข้ำใจเข้ำใจ และ สำมำรถปฏิบัติตำมแนวทำงที่กำหนดไว้อย่ำงถูกต้อง และ มีประสิทธิภำพ 7.2 ให้คำแนะนำกำรปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่ำตัด ตำมคำแนะนำเรื่องนิ่วในถุงน้ำดี( P/I-2.1-SUR-012) 7.2.1 กำรเตรียมพร้อมด้ำนร่ำงกำยละจิตใจก่อนผ่ำตัด 7.2.2 กำรงดน้ำและอำหำรตำมแนวทำงกำรรักษำของแพทย์ 7.2.3 กำรจัดกำรควำมปวดหลังผ่ำตัด 7.2.4 Early Ambulation 7.2.5 กำรเริ่มรับประทำนอำหำร
รวมถึงปัจจัยสภำพแวดล้อมที่ส่งเสริมกำรดำเนินของโรคและให้ คำแนะนำในกำรปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยและญำติอย่ำงเหมำะสมโดยทีมสหสำขำวิชำชีพ
CPG-02.1-BUD-020 Rev.00 (07 Oct 2022) 111 Thong-yai Road, Mak-Khaeng Sub-district, Muang District, Udon Thani, 41000 Tel.(042) 343-111 Fax : (042) 345-061 Center Tel. 1719 • www.bangkokhospital udon.com Page 5 of 6 7.2.6 ระยะกำรพักตัวในโรงพยำบำล ระยะเวลำที่สำมำรถปฏิบัติตัวได้ตำมปกติ และกำรทำกิจกรรมอื่นๆ หลังผ่ำตัด 7.3 กำรเตรียมตัวจำหน่ำยผู้ป่วยกลับไปดูแลตนเองที่บ้ำน เริ่มตั้งแต่รับผู้ป่วยเข้ำมำนอนโรงพยำบำลในวันแรก โดย ทำกำรประเมินควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับโรคที่เป็น
8. ผังงาน -ไม่มี 9. ชองทางการสอสารและการอบรม 9.1 ประกำศใช้เป็นแนวทำงปฏิบัติของโรงพยำบำลผ่ำนE-document , Email 9.2 Orientation Training Clinical Tracer round 9.3 หัวหน้ำงำนนำสื่อสำรแก่ผู้ใต้บังคับบัญชำกำรเฝ้ำติดตำมและกำรวัดผล 10. การเฝ้าติดตามและการวัดผล 10.1อัตรำกำรเกิดภำวะกำรบำดเจ็บของท่อทำงเดินน้ำดีนอกตับ เท่ำกับ 0 00% 10.2 อัตรำกำรเกิดภำวะแผลผ่ำตัดติดเชื้อ < 5.00 % 10.3อัตรำกำรเกิดภำวะบำดเจ็บต่ออวัยวะข้ำงเคียงอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจำกถุงน้ำดีและท่อทำงเดิน น้ำดีนอกตับ เท่ำกับ 0.00 % 10.4 อัตรำกำรเกิดภำวะแทรกซ้อน และ เหตุกำรณ์ไม่พึงประสงค์ ที่เกิดมำจำกกำรผ่ำตัดโรคนิ่วในถุงน้ำดี เท่ำกับ 0.00% 11. เอกสารคณภาพทเกยวของ รหัสเอกสาร ชอเอกสาร S/P-02.1-BUD-067 ควำมปลอดภัยผู้ป่วยทำงด้ำนศัลยกรรม/กำรผ่ำตัด (Safe Surgery Policy) S/P-02-BUD-007 IPSG4 สร้ำงควำมมั่นใจในกำรผ่ำตัดหัตถกำร (Ensure Safe Surgery Procedure) PI-02-BUD-012 คำแนะนำเรื่องนิ่วในถุงน้ำดี 12. เอกสารอ้างอิง 12.1Brunt
Deziel
LM,
DJ, Telem DA, et al. Safe Cholecystectomy Multi-Society Practice Guideline and State of the Art Consensus Conference on Bile Duct Injury during Cholecystectomy. Sages.org/publications/guidelines/safe-cholecystectomy-multi-society-practice-guideline.
12.2 Hassler KR, Collins JT, Philip K, et al. Laparoscopic Cholecystectomy. [Updated 2021 Apr 21].
In: StatPearls [Internet]. Treasure Island (FL): StatPerals Publishing; 2021 Jan.
12.3 Cholecystectomy: Surgical Removal of the Gallbladder. American College of Surgeons. Surgical patient education. www.facs.org/patienteducation
CPG-02.1-BUD-020 Rev.00 (07 Oct 2022) 111 Thong-yai Road, Mak-Khaeng Sub-district, Muang District, Udon Thani, 41000 Tel.(042) 343-111 Fax : (042) 345-061 Center Tel. 1719 • www.bangkokhospital udon.com Page 6 of 6