ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต

Page 1

1

บทที่ 1 บทนำำ คอมพิวเตอร์ พัฒนามาจากเครื่ องคำานวณในรุ่ นแรก ๆ จนกลายเป็ นเครื่ องจักรคำานวณ และกลาย เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ในที่สุด วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ ยงั มีอีกแง่มุมหนึ่งคือ การพัฒนาจากเครื่ อง เดี่ยว (Stand Alone) มาเป็ นกลุ่มงาน (Workgroup) และขยายขนาดเป็ นเครื อข่ายที่กว้างใหญ่ข้ ึนอย่าง LAN WAN หรื อ Internet ในปัจจุบนั การเชื่อมต่อการทำางานกันเป็ นระบบเครื อข่ายในยุคแรก ๆ เพื่อการใช้อุปกรณ์และทรัพยากรต่าง ๆ ร่ วมกัน เช่น CD-ROM, Printer และอุปกรณ์อื่นซึ่ งมีราคาแพง รวมถึงการใช้งานข้อมูลสารสนเทศ และ หน่วยประมวลผลร่ วมกัน เมื่อเทคโนโลยีพฒั นาก้าวไกลไปอย่างรวดเร็ วและอุปกรณ์ต่าง ๆ ก็มีราคาที่ถูก ลง ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สาำ คัญในการติดต่อสื่ อสารและการจัดการสารสนเทศจำานวน มหึ มา แต่สิ่งหนึ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลงก็คือ การเชื่อมต่อ และการแบ่งปั นใช้ทรัพยากรร่ วมกัน


2

บทที่ 2 ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น ควำมหมำยของระบบเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนำาเครื่ องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อม ต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่ อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่ อง คอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่ วมกัน (Shared Resource) ในเครื อข่ายนั้น ความเป็ นมาของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาจากลักษณะการทำางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่เรี ยก ว่า Mainframe (เมนเฟรม) ที่ทาำ งานแบบรวมศูนย์กลาง ซึ่งค่าใช้จ่ายสูงมาก ประกอบกับมีปริ มาณการใช้ ระบบเพิ่มมากขึ้น ทำาให้ระบบแบบรวมศูนย์กลางไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาให้มีการประมวลผลแบบกระจายขึ้นมาแทนระบบแบบรวม ศูนย์กลาง จึงเป็ นระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขึ้น

ชนิดของระบบปฎิบัตกิ ำรเครือข่ ำย ตระกูล dos ไม่ค่อยดีนกั อาศัยโปรแกรมเสริ มประเภท Shell ดักจับการร้องขอแล้วแบ่งเวลา ระหว่างประมวลผลการทำางานให้ - Ms - Net จัดอยูใ่ นกลุ่ม peer-to-peer resource sharing หรื อการใช้ทรัพยากรอย่างเท่าเทียม อาศัย วิธี ทำางานอยูเ่ ป็ นฉากหลัง (Background Mode ) - Windows for workgrounds ทำาให้เครื อข่ายภายใต้ระบบปฏิบตั ิการ Dos เป็ นคุณสมบัติที่ตอ้ งรวมอยู่ ในระบบปฏิบตั ิการของคอมพิวเตอร์ อย่าง Email เกมส์บนเครื อข่าย ... ตระกูล Unix โครงสร้างออกแบบให้รับงานหลายงานตั้งแต่แรกนับเป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ถอดแบบมา จากเครื่ องระดับ มินิ หรื อ เมนเฟรม เช่น - Vines คล้าย Os บนมินิคอมมากที่สุด แต่มี Unix เป็ นตัวจัดการระดับล่าง ได้แก่ ควบคุมพอร์ ท I/O จัดการระบบดิสค์ เป็ นต้น - Netware มีระบบไฟล์ของตัวเอง แต่ระบบสื่ อสารภายในยังเหมือน Unix ใช้งานโปรเซสเซอร์ ในโหม f ป้ องกัน ( Protect Mode )


3

- WIndows NT Advance Server เร็ วและทรงพลัง ระบบไฟล์ที่มีประสิ ทธิ ภาพสูงมีท้ งั ความสามรถ ใน การเป็ น Server และ Client อยูใ่ นตัวเอง

โทโปโลยีระบบเครือข่ ำย สถาปัตยกรรมการเชื่อมต่อของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีหลายแบบ สามารถเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับการใช้งาน ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทำางานและประหยัดค่าใช้จ่าย รวมทั้งวางแผนระบบ เครื อข่ายในอนาคต โดยส่วนใหญ่คอมพิวเตอร์ภายในองค์กรใหญ่จะติดต่อสื่ อสารผ่านระบบ LAN (Local Area Network) โดยมี backbone เป็ นส่วนประกอบหลัก เป็ นจุดที่จะทำาการสื่ อสารภายในองค์กรผ่าน backbone เทคโนโลยี LAN มีหลายประเภท เช่น Ethernet, Token Ring, FDDI และ Wireless LAN เป็ นต้น แต่นิยม กันมากที่สุดในปัจจุบนั คือ อีเธอร์เน็ต (Ethernet) ซึ่งอีเธอร์ เน็ตเองยังจำาแนกออกได้หลายประเภทย่อย ขึ้น อยูก่ บั ความเร็ ว โทโปโลยี (Topology) และสายสัญญาณที่ใช้ เทคโนโลยี LAN แต่ละประเภทมีท้ งั หัวข้อดีขอ้ เสี ยที่แตกต่างกัน การเลือกใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ ควรให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้งานเครื อข่ายของ องค์กร โทโปโลยีของเครื อข่ายอาจจะมีผลต่อสมรรถนะของเครื อข่ายได้ การเลือกโทโปโลยีอาจมีผลต่อประเภทของอุปกรณ์ที่ใช้ในเครื อข่าย ดังนี้ - สมรรถนะของอุปกรณ์เหล่านั้น - ความสามารถในการขยายของเครื อข่าย - วิธีการดูแลและจัดการเครื อข่าย การรู ้จกั และเข้าใจโทโปโลยีประเภทต่าง ๆ โทโปโลยีแต่ ละประเภทมีดังต่ อไปนี้ โทโปโลยีแบบบัส โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) เป็ นรู ปแบบการเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรี ยกว่า BUS หรื อ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่ งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็ นทางเดินข้อมูลของ ทุกเครื่ องภายในระบบเครื อข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่น ๆ ซึ่งเรี ยกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผูส้ ่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรู ปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไป ด้วยข้อมูลของผูส้ ่ง, ผูร้ ับ และข้อมูลที่จะส่ ง การสื่ อสารภายในสายบัสจะเป็ นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยัง ปลายทั้ง 2 ด้านของบัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัสจะมีเทอร์ มิเนเตอร์ (Terminator) ทำาหน้าที่ลบล้าง สัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้ องกันไม่ให้สญ ั ญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็ นการป้ องกัน การชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยูบ่ นบัสในขณะนั้น


4

สัญญาณข้อมูลจากโหนดผูส้ ่งเมื่อเข้าสู่บสั ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส แต่ละ โหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูวา่ ตำาแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำาแหน่ง ของตนหรื อไม่ ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถา้ ไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สญ ั ญาณข้อมูลนั้น ผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครื อข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู ้สญ ั ญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียง โหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้

ข้ อดี - ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใน การวางสายสัญญาณมาก นัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสี ยค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่ง ถือว่าระบบบัสนี้ เป็ นแบบโท โปโลยีที่ได้รับความนิยม ใช้กนั มากที่สุดมา ตั้งแต่อดีต จนถึงปั จจุบนั - สามารถติดตั้งระบบ ดูแล รักษา และติดตั้งอุปกรณ์ เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ตอ้ งใช้ เทคนิคที่ยงุ่ ยากซับซ้อน มากนัก ข้ อเสี ย - อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ต่อบนสาย สัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ ตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่ง ก็จะทำาให้เครื่ องบางเครื่ อง หรื อทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย - การตรวจหาโหนดเสี ย ทำาได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์ เพียงเครื่ องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่ องคอมพิวเตอร์ จาำ นวนมาก ๆ อาจทำาให้เกิด การคับคัง่ ของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำาให้ระบบช้าลงได้ โทโปโลยีแบบวงแหวน โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เป็ นรู ปแบบที่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในระบบเครื อข่าย


5

ทั้งเครื่ องที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การ( Server) และ เครื่ องที่เป็ นผูข้ อใช้บริ การ(Client) ทุกเครื่ องถูกเชื่อมต่อกันเป็ น วงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกันจะไหลวนอยูใ่ นเครื อข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลาย หรื อเทอร์ มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครื อข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรื อแต่ละเครื่ อง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำาแต่ละเครื่ อง 1 ตัว ซึ่งจะทำาหน้าที่เพิม่ เติมข้อมูลที่จาำ เป็ นต่อการติดต่อสื่ อสารเข้าในส่ วน หัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่ วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็ นข้อมูลของตนหรื อไม่ แต่ถา้ ไม่ใช่กจ็ ะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่ องถัดไป ข้ อดี - ผูส้ ่ งสามารถส่งข้อมูลไปยังผูร้ ับได้หลาย ๆ เครื่ องพร้อม ๆ กัน โดยกำาหนดตำาแหน่งปลายทางเหล่า นั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeater ของแต่ละเครื่ องจะทำาการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมา ให้น้ นั เป็ นตนเองหรื อไม่ - การส่ งผ่านข้อมูลในเครื อข่ายแบบ RING จะเป็ นไปในทิศทางเดียวจากเครื่ องสู่เครื่ อง จึงไม่มีการชน กันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไป - คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่ งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน ข้ อเสี ย - ถ้ามีเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งในเครื อข่ายเสี ยหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่ งผ่านไปยังเครื่ องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำาให้เครื อข่ายทั้งเครื อข่าย หยุดชะงักได้ - ขณะที่ขอ้ มูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่ อง เวลาส่ วนหนึ่งจะสูญเสี ยไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะต้อง ทำาการตรวจสอบตำาแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้น ๆ ทุก ข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง โทโปโลยีแบบดำว โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) เป็ นรู ปแบบที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องที่เชื่อมต่อเข้า ด้วยกันในเครื อข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตวั กลางตัวหนึ่งที่เรี ยกว่า ฮับ (HUB) หรื อสวิตช์ (Switch) หรื อเครื่ อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำาหน้าที่เป็ นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่ องต่าง ๆ ในเครื อ ข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่ อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่ องที่ตอ้ งการส่ งข้อมูลไปยังเครื่ องอื่น ๆ ที่ตอ้ งการ ในเครื อข่าย เครื่ องนั้นก็จะต้องส่ งข้อมูลมายัง HUB หรื อเครื่ องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำาหน้าที่ กระจายข้อมูลนั้นไปในเครื อข่ายต่อไป


6

ข้ อดี - การติดตั้งเครื อข่ายและการดูแลรักษาทำา ได้ง่าย หากมีเครื่ องใดเกิดความเสี ยหาย ก็สามารถตรวจ สอบได้ง่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเครื่ องที่เสี ยหายนั้นออกจากการสื่ อสาร ในเครื อข่ายได้เลย โดย ไม่มีผลกระทบกับระบบเครื อข่าย ข้ อเสี ย - เสี ยค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่ องที่จะใช้เป็ น เครื่ องศูนย์กลาง หรื อตัว HUB เอง และค่าใช้จ่าย ในการติดตั้งสายเคเบิลในเครื่ องอื่น ๆ ทุกเครื่ อง การขยายระบบให้ใหญ่ข้ ึนทำาได้ยาก เพราะการขยาย แต่ละครั้ง จะต้องเกี่ยวเนื่องกับเครื่ องอื่นๆ ทั้งระบบ โทโปโลยีแบบไฮบริด โทโปโลยีแบบ Hybrid เป็ นรู ปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน เพื่อเป็ นการลดข้อเสี ยของรู ปแบบที่กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำามาใช้ กับระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่งการเชื่อมต่อกันของแต่ละรู ปแบบนั้น ต้องใช้ตวั เชื่อม สัญญาญเข้ามาเป็ นตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ Router เป็ นตัวเชื่อมการติดต่อกัน


7

โทโปโลยีแบบเมซ โทโปโลยีแบบเมช (Mesh) เป็ นรู ปแบบที่ถือว่า สามารถป้ องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับ ระบบได้ดีที่สุด เป็ นรู ปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่ อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่ องในระบบ เครื อข่าย คือเครื่ องทุกเครื่ องในระบบเครื อข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่ อง ระบบนี้ยากต่อการ เดินสายและมีราคาแพง จึงไม่ค่อยมีผนู้ ิยม


8

องค์ ประกอบของระบบเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไปผ่านสื่ อที่ เป็ นตัวกลางรับ-ส่งข้อมูลเช่น สายเคเบิล หรื อ ดาวเทียม เป็ นต้น โดยวัตถุประสงค์ของการเชื่อมโยงระบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น การติดต่อสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน การใช้ ทรัพยากรต่าง ๆ ร่ วมกัน การใช้ขอ้ มูลต่าง ๆ ร่ วมกัน เป็ นต้น ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไป โดยแบ่งเป็ นองค์ ประกอบสำาคัญ คือ - คอมพิวเตอร์ อย่ำงน้ อย 2 เครื่อง - เน็ตเวิร์คกำร์ ด หรื อ NIC (Network Interface Card) เป็ นการ์ ดเสี ยบเข้ากับช่องสล๊อตบนเมนบอร์ ดของ คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย - สื่ อกลำงและอุปกรณ์ สำำหรับกำรรับส่ งข้ อมูล เช่น สายสัญญาณ ปั จจุบนั ที่นิยมใช้ได้แก่ สายโคแอ๊กเชีย ล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนำาแสง ส่ วนอุปกรณ์เครื อข่ายได้แก่ สวิตช์ เกตเวย์ ฮับ เราท์เตอร์ - โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์ ใช้สื่อสารกันผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ สามารถสื่ อสารกันได้จาำ เป็ นต้องมีภาษาสื่ อกลางที่ทาำ ให้เข้าใจกัน คือ โปรโตคอลเดียวกัน เช่น TCP/IP, IPX/SPX - ระบบปฏิบัติกำรเครือข่ำย หรือ NOS (Network Operating System) ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่ายที่คอย จัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครื อข่ายของผูใ้ ช้แต่ละคน ควบคุมทรัพยากรต่าง ๆ ของเครื อข่าย ระบบปฏิบตั ิ การที่นิยม ได้แก่ Windows Server 2003, Novell NetWare, Sun Solaris, Linux

ประเภทของระบบเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ 1. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งเป็ นประเภทตามขนาด และรู ปแบบการใช้งานได้ดงั ต่อไปนี้ เครือข่ำยท้ องถิ่น (LAN) เครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) Local Area Network หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในระยะใกล้ภายในสำานักงาน หรื ออาคารเดียวกัน หรื ออาคารที่อยูใ่ กล้กนั โดยใช้ สายสัญญาณ ได้แก่ สายโทรศัพท์ สายโคแอกเชียล หรื อ สายใยแก้วนำาแสงตัวอย่างเช่น เครื อข่ายภายในมหาวิทยาลัย ภายในอาคารหรื อบริ ษทั เดียวกัน ระบบเครื อข่ายท้องถิ่น สามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ การปฏิบตั ิงาน ใน ด้านการใช้ทรัพยากร ของระบบร่ วมกัน หรื อสามารถเชื่อมต่อกับเครื อข่ายอื่นได้ ระบบ LAN ช่วยให้มี การติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการใช้งานอุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ ร่วมกัน และ ใช้ขอ้ มูลร่ วมกันได้อย่างคุม้ ค่า ประเภทเครื อข่าย LAN แบ่งตามลักษณะการทำางาน


9

Peer - to – Peer เครื อข่ายแบบนี้ จะเก็บไฟล์และการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้ แต่ละคน โดยไม่มีคอมพิวเตอร์ส่วนกลางที่ทาำ หน้าที่น้ี แต่ผใู ้ ช้ในเครื อข่ายสามารถเรี ยกใช้ไฟล์จาก คอมพิวเตอร์เครื่ องอื่นได้ ถ้าคอมพิวเตอร์ เครื่ องนั้นทำาการแชร์ ไฟล์เหล่านั้นไว้ เครื อข่ายแบบ Peer-toPeer นี้เหมาะสำาหรับองค์กรขนาดเล็กที่มีคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื่ อง เนื่องจากติดตั้งง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยงุ่ ยากนัก แต่ถา้ คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายมีมากกว่า 10 เครื่ องขึ้นไปควรจะ ใช้เครื อข่ายแบบอื่นดีกว่า ทรัพยากรของเครื อข่าย เช่น เครื่ องพิมพ์ ปกติจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดเครื่ องหนึ่งใน เครื อข่าย เครื่ องที่ไม่มีทรัพยากรเหล่านี้ กส็ ามารถเข้าใช้ทรัพยากรเหล่านี้ ผา่ นเครื อข่ายได้ แต่ โดยทัว่ ไป โปรแกรมใช้งาน เช่น เวิร์ดโปรเซสเซอร์ จะติดตั้งในคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้แต่ละเครื่ องเลย เมื่อคอมพิวเตอร์ในเครื อข่ายถูกร้องขอข้อมูล หรื อเรี ยกใช้ทรัพยากร สมรรถนะในการทำางาน ำ การบริ หารเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นี้ไม่ซบั ซ้อนมากนัก ดังนั้นจึงไม่ ของคอมพิวเตอร์กจ็ ะลดต่าลง จำาเป็ นจะต้องมีการตั้งตำาแหน่งผูบ้ ริ หารเครื อข่ายโดยเฉพาะ เพียงแต่ให้ผใู ้ ช้ในเครื อข่ายศึกษาวิธีการ บริ หารระบบในเครื่ องของตนเองก็เพียงพอแล้ว เรี ยกได้วา่ ต่างคนต่างช่วยกันดูแล ส่ วนด้านความ ปลอดภัย ลักษณะการเก็บไฟล์ในเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer นี้จะใช้หลักการต่างคนต่างเก็บในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ของตนเอง จุดนี้เองทำาให้ผใู้ ช้คนอื่นสามารถเข้าไปดูไฟล์ขอ้ มูลในเครื่ องต่าง ๆ ในเครื อข่าย ได้ไม่ยากนัก ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในเครื อข่ายแบบนี้ จึงค่อนข้างหละหลวมกว่าระบบ รักษาความปลอดภัยที่เก็บไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายของระบบเครื อข่าย Peer - to - Peer จะถูกกว่าเครื อข่ายรู ปแบบอื่น ๆ แต่ ขาดคุณสมบัติการควบคุมระยะไกลและไม่เหมาะในการขยายระบบเพิ่มเติม Client – Server เป็ นรู ปแบบของเครื อข่ายแบบ server-based โดยจะมีคอมพิวเตอร์ หลักเครื่ องหนึ่งเป็ นเซิร์ฟเวอร์ (Server) หรื อแม่ข่าย ซึ่งจะไม่ได้ทาำ หน้าที่ประมวลผลทั้งหมดให้เครื่ องลูกข่าย หรื อไคลเอนต์ (client)เซิร์ฟเวอร์ทาำ หน้าที่เสมือนเป็ นที่เก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk) และประมวลผลบางอย่างให้ กับไคลเอนต์เท่านั้น เช่น ประมวลผลคำาสัง่ ในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ ฐานข้อมูล (database server)เป็ นต้น เครื อข่ายแบบ Client/Server นั้น เซิร์ฟเวอร์ จะต้องทำางานบริ การให้กบั เครื่ องไคลเอนต์ที่ร้องขอ เข้ามา ซึ่งนับว่าเป็ นงานประมวลผลที่หนักพอสมควร ดังนั้นเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ กค็ วรจะเป็ นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่ทรงพลัง เพียงพอในการรองรับงานหนัก ในเครื อข่ายอาจจะมีเซิร์ฟเวอร์ อยูห่ ลายตัวในการ ทำางานเฉพาะด้าน เช่น ไฟล์เซอร์เวอร์ทาำ หน้าที่ในการจัดเก็บ และบริ หารไฟล์ท้ งั หมดที่อยูใ่ นเครื อข่าย


10

พริ นต์เซิร์ฟเวอร์ ทำาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมการพิมพ์ท้ งั หมดในเครื อข่าย ดาต้าเบสเซอร์ เวอร์ จดั เก็บ และบริ หารฐานข้อมูลขององค์กร เป็ นต้น องค์กรที่ใช้เครื อข่ายแบบนี้ มักมีการเก็บโปรแกรมไว้บนเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าไป เรี ยกใช้ได้ทนั ที เช่น เซิร์ฟเวอร์เก็บโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ไว้ เมื่อผูใ้ ช้ตอ้ งการใช้โปรแกรมนี้ ก็ สามารถรันโปรแกรมนี้จากเซิร์ฟเวอร์ได้ เครื อข่ายแบบ Client/Server สามารถรองรับเครื อข่ายตั้งแต่ ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ แต่ที่เหมาะสมจะเป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ และต้องมีเจ้าหน้าที่ในการ บริ หารระบบโดยเฉพาะ ซึ่งทำาหน้าที่จดั การเกี่ยวกับงานพื้นฐานประจำาวัน เช่น การสำารองข้อมูล การ ำ ตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัย และการดูแลระบบให้ทาำ งานได้อย่างสม่าเสมอ เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ส่วนใหญ่จะเปิ ดให้ทาำ งานตลอดเวลา และต้องมีการป้ องกันไม่ให้ใครเข้ามา ปรับเปลี่ยนระบบภายในเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ เพื่อเป็ นการป้ องกันรักษาข้อมูล บริ ษทั ส่ วนใหญ่จึงมักจะเก็บ เซิร์ฟเวอร์ ไว้ในสถานที่เฉพาะแยกต่างหาก และมีการปิ ดล็อคไว้เป็ นอย่างดี เครื อข่ายแบบ Client/Server ยืดหยุน่ ต่อการเพิ่มเติมขยายระบบ การเพิ่มเครื่ องไคลเอนต์ในเครื อ ข่ายไม่จาำ เป็ นต้องใช้เครื่ องสเป็ กสูง ราคาแพง โดยเครื่ องที่มีสมรรถนะสูงนั้นเอาไว้ใช้เป็ นเครื่ อง เซิร์ฟเวอร์ Wireless LAN เป็ นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็ นเครื อข่ายแบบไร้สาย (ไม่จาำ เป็ นต้องเดินสายเคเบิ้ล) เหมาะ สำาหรับการติดตั้งในสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย หรื อในสถานที่ที่ตอ้ งการความสวยงาม เรี ยบร้อย และเป็ นระเบียบ เช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็ นต้น ระบบเครื อข่ายไร้สายหรื อ ไวเลสแลน (Wireless LAN, WLAN) ใช้คลื่นความถี่วิทยุในการเชื่อมต่อหรื อสื่ อสารกัน การเชื่อมต่อแลนไร้สายมีท้ งั แบบเชื่อมต่อระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ดว้ ยกัน และเชื่อมต่อระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ ผา่ นอุปกรณ์ กระจายสัญญาณ (Access Point) มำตรฐำนควำมเร็วของ Wireless LAN ความเร็ วที่ใช้ในการสื่ อสารกันหรื อเชื่อมต่อกัน มีมาตรา ฐานรองรับ เช่น IEEE 802.11a, b และ g ซึ่งแต่ละมาตราฐานจะบอกถึงความเร็ วและคลื่นความถี่ที่ใช้ใน การติดต่อสื่ อสารกัน เช่น สำาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11a มีความเร็ วสูงสุ ดที่ 54 Mbps ที่ความถึ่ยา่ น 5 GHz สำาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11b มีความเร็ วสูงสุ ดที่ 11 Mbps ที่ความถี่ยา่ น 2.4 GHz สำาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11g มีความเร็ วสูงสุ ดที่ 54 Mbps ที่ความถี่ยา่ น 2.4 GHz ในประเทศไทยอนุญาตให้ใช้ช่องคลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz เป็ นคลื่นความถี่เสรี ที่ทุกคนสามารถ ติดตั้งและใช้งานได้ จึงทำาให้ในประเทศไทยจะมีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) ที่จาำ หน่ายเพียง สองมาตราฐานคือ IEEE 802.11b และ g เท่านั้น


11

หลักกำรทำำงำนของ Wireless LAN การทำางานจะมีอุปกรณ์ในการส่งสัญญาณ และกระจายสัญญาณ หรื อที่เราเรี ยกว่า Access Point และมี PC Card ที่เป็ น LAN card สำาหรับในการเชื่อมกับ access point โดยเฉพาะ การทำางานจะใช้ คลื่นวิทยุเป็ นการรับส่งสัญญาณ โดยมีให้เลือกใช้ต้ งั แต่ 2.4 to 2.4897 Ghz และสามารถเลือก config ใน Wireless Lan (ภายในระบบเครื อข่าย Wireless Lan ควรเลือกช่องสัญญาณเดียวกัน) ระยะทำงกำรเชื่อมต่ อของ Wireless LAN ภำยในอำคำร 1. ระยะ 50 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 11 Mbps 2. ระยะ 80 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 5.5 Mbps 3. ระยะ 120 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 2 Mbps 4. ระยะ 150 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 1 Mbps ภำยนอกอำคำร 1. ระยะ 250 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 11 Mbps 2. ระยะ 350 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 5.5 Mbps 3. ระยะ 400 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 2 Mbps 4. ระยะ 500 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 1 Mbps อุปกรณ์ สำำหรับกำรเชื่อมต่ อ Wireless LAN 1. แลนกำร์ ดไร้ สำย (Wireless LAN Card) ทำาหน้าที่ในการ แปลงข้อมูล ดิจิตอล ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้เป็ น คลื่นวิทยุแล้วส่งผ่านสายอากาศให้กระจายออกไป และทำาหน้าที่ในการรับเอาคลื่นวิทยุที่แพร่ กระจาย แปลงเป็ น ข้อมูลดิจิตอล ส่งให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ประมวลผล Wireless LAN ที่ผลิตออกมาจำาหน่าย มี หลายรู ปแบบแบ่งตามลักษณะช่องเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ได้ดงั นี้ - แลนการ์ดแบบ PCI - แลนการ์ดแบบ PCMCIA - แลนการ์ดแบบ USB - แลนการ์ดแบบ Compact Flash (CF) 2. อุปกรณ์ เข้ำใช้ งำนเครือข่ำย (Wireless Access Point) ทำาหน้าที่เสมือน ฮับ เชื่อมเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไร้สายและอุปกรณ์ไวร์ เลสแลนแบบต่าง ๆเข้าด้วยกัน อีกทั้งเป็ นสะพานเชื่อมต่อ เครื่ องไวร์เลสแลนเข้ากับเครื่ องอีเธอร์ เนตทำาให้ระบบทั้งสองสามารถสื่ อสาร กันได้


12

3. สะพำนเชื่อมโยงไร้ สำย (Wireless Bridge) ทำาหน้าที่เป็ นตัวกลางเชื่อมโยงระบบ เครื อข่ายอีเธอร์ เน็ตแลนตั้งแต่สองระบบขึ้นไปเข้าด้วยกัน แทนการใช้สายสัญญาณ ข้อมูลที่สื่อสารระหว่างเครื อข่ายอีเธอร์ เน็ตจะถูกแปลงเป็ นคลื่นวิทยุแล้วถูก แปลงไปยังปลายทาง 4. Wireless Broadband Router ทำาหน้าที่ในการต่อเข้ากับระบบอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงผ่านคู่สายโทรศัพท์ (ADSL) หรื อ เคเบิล ทีวี (UBC) ด้วยเทคโนโลยี Broadband Router ซึ่งมีฟังชันการทำางานเป็ นตัวค้นหาเส้นทาง, NAT (Network Address Translation) , Firewall , VPN ๆลๆ มาผสมผสานเข้ากับ Access Point ทำาให้ผใู ้ ช้งาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ไร้สายสามารถสื่ อสารข้อมูลไปยังระบบอินเทอร์ เน็ต 5. Wireless Print Server อุปกรณ์การแชร์เครื่ องพิมพ์บนระบบเครื อข่าย Wireless LAN 6. Power Over Ethernet Adapter ทำาหน้าที่แยกสาย UTP ที่มีสายทองแดงตีเกลียวอยูข่ า้ งใน 4 คู่โดยสายทองแดงสำาหรับใช้สื่อสาร ข้อมูลใช้เพียง 2 คู่เท่านั้น ส่วนสายทองแดงอีก 2 คู่สามารถใช้อุปกรณ์ตวั นี้นาำ มาใช้เป็ นเส้นทางสำาหรับ ส่ งแรงดันไฟฟ้ าไปให้กบั ตัว Access Point ได้ 7. สำยอำกำศ (Antenna) ทำาหน้าที่เปลี่ยนข้อมูลในรู ปของกระแสไฟฟ้ าที่ส่งออกมาจากภาคส่ งของอุปกรณ์ไวร์ เลสแลนให้ กลายเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าแพร่ กระจายออกไปในอากาศและสายอากาศยังทำาหน้าที่รับเอาคลื่นที่อุปก รณ์ไวร์ เลสแลนเครื่ องอื่น ๆ ส่งออกมาแปลงกลับให้อยูใ่ นรู ปของกระแสไฟฟ้ าส่ งให้ภาครับต่อไป ข้ อดี - ข้ อเสีย Wireless LAN ข้ อดีของระบบ Wireless LAN 1. สะดวกในการเคลื่อนย้าย ติดตั้ง เนื่องจาก WLAN ไม่จาำ เป็ นต้องมีสายเคเบิ้ลต่อพ่วง 2. ง่ายในการติดตั้ง เพราะไม่จาำ เป็ นต้องเดินสายเคเบิ้ล 3. ลดค่าใช้จ่าย เนื่องจากไม่ตอ้ งจำาเป็ นต้องเสี ยค่าบำารุ งรักษา ในระยะยาว 4. สามารถขยายเครื อข่ายได้ไม่จาำ กัด ข้ อเสี ยของระบบ Wireless LAN 1. มีอตั ราการลดทอนสัญญาณสูง นัน่ หมายความว่า “ ส่ งสัญญาณได้ระยะสั้น ” 2. มีสญ ั ญาณรบกวนสูง 3. ต้องแชร์กนั ใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน 4. ยังมี หลายมาตรฐาน ตามผูผ้ ลิต แต่ละราย ทำาให้มีปัญหาในการใช้งานร่ วมกัน


13

5. ราคาแพงกว่าระบบเครื อข่ายแบบมีสาย 6. มีความเร็ วไม่สูงมากนัก เครือข่ ำยระดับเมือง (MAN) ระบบเครื อข่ายในเขตเมือง (Metropolitan Area Network) หมายถึง ระบบเครื อข่ายที่มีขนาดใหญ่ กว่าเครื อข่ายท้องถิ่น แต่อาจเชื่อมต่อกันด้วยระบบการสื่ อสารสำาหรับสาขาหลาย ๆ แห่ งที่อยูภ่ ายในเขต เมืองเดียวกันหรื อหลายเขตเมืองที่อยูใ่ กล้กนั ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร เช่นการให้บริ การทั้งของรัฐ และเอกชน อาจเป็ นบริ การภายใน หน่วยงานหรื อเป็ นบริ การสาธารณะก็ได้ รวมถึงการให้บริ การระบบ โทรทัศน์ทางสาย (Cable television) เช่น บริ ษทั UBC ซึ่งเป็ นระบบที่มีสายเคเบิลเพียงหนึ่งหรื อสองเส้น โดยไม่มีอุปกรณ์สลับช่องสื่ อสาร (switching element) ทำาหน้าที่เก็บกักสัญญาณหรื อปล่อยสัญญาณออก ไปสู่ระบบอื่น มาตรฐานของระบบ MAN คือ IEEE 802.6 หรื อเรี ยกว่า DQDB (Distributed Queue Dual Bus) ตัวอย่างการใช้งานจริ ง เช่น ภายในมหาวิทยาลัยหรื อในสถานศึกษาจะมีระบบแมนเพื่อเชื่อมต่อ ระบบแลนของแต่ละคณะวิชาเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายเดียวกันในวงกว้าง เทคโนโลยีที่ใช้ในเครื อข่าย แมนได้แก่ ATM, FDDI และ SMDS ระบบเครื อข่ายแมนที่จะเกิดในอนาคตอันใกล้ คือระบบที่จะเชื่อม ต่อคอมพิวเตอร์ภายในเมืองเข้าด้วยกันโดยผ่านเทคโนโลยี Wi-Max เครือข่ ำยระยะไกล หรือเครือข่ำยระดับประเทศ (WAN) เครื อข่ายระยะไกล (Wide Area Network) เป็ นระบบที่มีขอบเขตการใช้งานกว้างกว่า ไกลกว่า ระบบแลน ซึ่งอาจกล่าวได้วา่ เป็ นระบบที่ไร้ขอบเขตแล้ว เช่น ระบบการสื่ อสารข้อมูลผ่านดาวเทียมของ สถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ แต่การที่จะเชื่อมต่อเครื อข่ายที่มีระยะห่ างกันมาก ๆ ให้เป็ นเครื อข่ายเดียวกัน ทั้งหมดนั้นจำาเป็ นต้องอาศัยเครื อข่ายสาธารณะ (Public Networks) ที่ให้บริ การการสื่ อสาร โดยเชื่อมต่อ ผ่านโมเด็ม ผ่าน เครื อข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (Public Switching Telephone Network ; PSTN) ซึ่งมีท้ งั ลักษณะต่อโมเด็มแบบที่ตอ้ งมีการติดต่อก่อน (Dial-up) หรื อต่อตายตัวแบบสายเช่า (Lease Line) 2. ใช้ ระดับควำมปลอดภัยของข้อมูลเป็ นเกณฑ์ 2.1 อินเทอร์ เน็ต (Internet) เครื อข่ายสาธารณะ อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทัว่ โลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์ เป็ นล้านๆเครื่ องเชื่อมต่อเข้ากับ ระบบและยังขยายตัวขึ้นเรื่ อย ๆ ทุกปี อินเทอร์ เน็ตมีผใู ้ ช้ทวั่ โลกหลายร้อยล้านคน และผูใ้ ช้เหล่านี้ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็ นอุปสรรค นอกจาก นี้ผใู ้ ช้ยงั สามารถเข้าดูขอ้ มูลต่าง ๆ ที่ถูกตีพิมพ์ในอินเทอร์ เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ


14

เข้าด้วยกันไม่วา่ จะเป็ นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรื อแม้กระทัง่ แหล่งข้อมูล บุคคล องค์กรธุรกิจหลายองค์กรได้ใช้อินเทอร์เน็ตช่วยในการทำาการค้า เช่น การติดต่อซื้อขายผ่าน อินเทอร์ เน็ตหรื ออีคอมเมิร์ช (E-Commerce) ซึ่งเป็ นอีกช่องทางหนึ่งสำาหรับการทำาธุรกิจที่กาำ ลังเป็ นที่ นิยม เนื่องจากมีตน้ ทุนที่ถูกกว่าและมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่ วนข้อเสี ยของอินเทอร์เน็ตคือ ความ ปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์ เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรี ยกว่า “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ใน การสื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้เป็ นผลจากโครงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุด ประสงค์ของโครงการนี้ เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ที่อยูห่ ่ างไกลกัน และภายหลังจึงได้กาำ หนดให้เป็ น โปรโตคอลมาตรฐานในเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ในปั จจุบนั อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็ นเครื อข่ายสาธารณะ ซึ่งไม่มีผใู ้ ดหรื อองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็ นเจ้าของ อย่างแท้จริ ง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตต้องเชื่อมต่อผ่านองค์กรที่เรี ยกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซึ่งจะทำาหน้าที่ให้บริ การในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต นัน่ คือ ข้อมูลทุกอย่างที่ส่งผ่าน เครื อข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสี ยจากจะมีการเข้ารหัสลับซึ่งผูใ้ ช้ตอ้ งทำาเอง 2.2 อินทรำเน็ต (Intranet) หรื อเครื อข่ายส่ วนบุคคล ตรงกันข้ามกับอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายส่ วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต เช่น เว็บ, อีเมล, FTP เป็ นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP สำาหรับการรับส่ งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเทอร์ เน็ต ซึ่งโปรโตคอลนี้ สามารถใช้ได้กบั ฮาร์ดแวร์ หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้ สร้างเครื อข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต แต่เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาำ ให้อินทราเน็ตทำางานได้ อินทราเน็ตเป็ นเครื อข่ายที่องค์กรสร้างขึ้นสำาหรับให้พนักงานขององค์กรใช้เท่านั้น การแชร์ ขอ้ มูลจะอยู่ เฉพาะในอินทราเน็ตเท่านั้น หรื อถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโลกภายนอกหรื ออินเทอร์ เน็ต องค์กรนั้น สามารถที่จะกำาหนดนโยบายได้ ในขณะที่การแชร์ ขอ้ มูลอินเทอร์ เน็ตนั้นยังไม่มีองค์กรใดที่สามารถ ควบคุมการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ต พนักงานบริ ษทั ของบริ ษทั สามารถ ติดต่อสื่ อสารกับโลกภายนอกเพื่อการค้นหาข้อมูลหรื อทำาธุรกิจต่าง ๆ การใช้โปรโตคอล TCP/IP ทำาให้ผู ้ ใช้สามารถเข้าใช้เครื อข่ายจากที่ห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที่บา้ น หรื อในเวลาที่ตอ้ งเดินทาง เพื่อติดต่อธุรกิจ การเชื่อมต่อเข้ากับอินทราเน็ต โดยการใช้โมเด็มและสายโทรศัพท์ ก็เหมือนกับการเชื่อม ต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกันที่เป็ นการเชื่อมต่อเข้ากับเครื อข่ายส่ วนบุคคลแทนที่จะเป็ นเครื อข่าย สาธารณะอย่างเช่นอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อกันได้ระหว่างอินทราเน็ตกับอินเทอร์ เน็ตถือเป็ นประโยชน์ที่ สำาคัญอย่างหนึ่ง ระบบการรักษาความปลอดภัยเป็ นสิ่ งที่แยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายอินทราเน็ตของ องค์กรจะถูกปกป้ องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึ่งอาจจะเป็ นได้ท้ งั ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่ทาำ หน้าที่


15

กรองข้อมูลที่แลกเปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์ เน็ตเมื่อทั้งสองระบบมีการเชื่อมต่อกัน ดัง นั้นองค์กรสามารถกำาหนดนโยบายเพื่อควบคุมการเข้าใช้งานอินทราเน็ตได้ อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผูใ้ ช้ในองค์กรได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บนเว็บ ทำาให้เป็ นที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าวภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบตั ิงานต่าง ๆ เป็ นต้น หรื อแม้กระทัง่ การเข้าถึงฐานข้อมูลขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผูใ้ ช้สามารถ ทำางานร่ วมกันได้ง่าย และมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น 2.3 เอ็กส์ ทรำเน็ต (Extranet) หรื อเครื อข่ายร่ วม เอ็กส์ทราเน็ต (Extranet) เป็ นเครื อข่ายกึ่งอินเทอร์ เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือเครื อข่ายที่ เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่ วนของเครื อข่ายที่เป็ นเจ้าของร่ วมกัน ระหว่างสององค์กรหรื อบริ ษทั การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จาำ กัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่ เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ท้ งั สององค์กรจะต้องตกลงกัน เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะ อนุญาตให้ผใู้ ช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของตัวเองหรื อไม่ เป็ นต้น การสร้างเอ็กส์ ทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล รวมถึงการติดตั้งไฟร์ วอลล์หรื อระหว่าง อินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่ งที่สาำ คัญที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและ การบังคับใช้

อุปกรณ์ ในระบบเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ (Network Equipment) ในการเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พ้ืนฐานนอกจากคอมพิวเตอร์ 2 ตัวขึ้นไป แล้วยังต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ กำร์ ดเน็ตเวิร์ก (Network Card) การ์ดเน็ตเวิร์ก หมายถึง แผงวงจรสำาหรับใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครื อข่าย จะติดตั้ง ไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เป็ นเครื่ องแม่ข่าย และเครื่ องที่เป็ นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ ด คือ แปลงสัญญาณ จากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำาให้คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน ได้ NIC (Network Interface Card) การ์ ดเน็ตเวิร์ก หรื อการ์ ดแลนด์ มีการนำามาใช้งานบนเครื่ อง ไมโครคอมพิวเตอร์ IBM PC นานร่ วม 15 ปี มีหน้าที่ติดต่อสื่ อสารและรับ-ส่ งข้อมูลระหว่างเครื่ อง เมนเฟรม และ เครื่ องไมโคคอมพิวเตอร์ ในอดีตการ์ ดเน็ตเวิร์กจะเป็ นแบบบัส ISA ซึ่งใช้เสี ยบลงไปบน สลอต ISA บนเครื่ องคอมพิวเตอร์และต้องมานัง่ เซตจัม๊ เปอร์ ของ IRQ. Address เพื่อไม่ให้ไปชนกับ อุปกรณ์อื่น ๆ อีกด้วย บัส ISA ซึ่งปัจจุบนั ไม่นิยมใช้งานแล้ว จะเห็นว่าที่ดา้ นหลังมีข้ วั เชื่อมต่อแบบ RJ-4,BNC และ Au ขั้วเชื่อมต่อแบบ RJ-4 จะต้องทำางานร่ วมกับกล่องฮับ ส่ วนขั้วเชื่อมต่อ แบบ BNC ไม่ตอ้ งใช้ฮบั ร่ วม


16

ทำางาน เพราะใช้ T-Connector และ Terminator (ตัวปิ ดหัวท้าย) แทน การ์ ดเน็ตเวิร์กจะมีหลายแบบด้วย กัน ขึ้นอยูก่ บั สลอตบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น ISA, PCI, PCMCIA USB Port หรื อ Compact Flash PCI (Peripheral Component Interconnect) เป็ นระบบบัสที่ได้รับความนิยมสูงมาก ซึ่งได้เข้า มาแทนบัสแบบ ISA PCI บัสมีอตั ราการส่ งผ่านข้อมูลสูงถึง 133 เมกกะไบต์ต่อวินาที นอกจากนี้ยงั สามารถ กำาหนดค่า IRQ,DMA, Memory Address ให้อุปกรณ์และการ์ อินเทอร์ เฟซอัตโนมัติ เมื่อเสี ยบ การ์ ดเน็ตเวิร์ก แบบ PCI ลงไปบนเครื่ องแล้ว ส่ วนมากจะมองเห็นและใช้งานได้ทนั ที PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Association) เป็ นการ์ ดเสี ยบ ขนาดเล็ก เท่ากับบัตรเครดิต เป็ นอุปกรณ์ขยายระบบให้คอมพิวเตอร์ Notebook เช่น การ์ ดหน่วยความจำา แฟกซ์ โมเด็ม การ์ดเน็ตเวิร์ก หรื อ ฮาร์ดดิสก์ขนาดเล็ก USB Port (Universal Serial Bus) เป็ นพอร์ ตเชื่อมต่อแบบใหม่ที่สามารถจะนำาอุปกรณ์เข้ามา เชื่อมต่อได้ จำานวนมากถึง 100 กว่าตัว โมเด็ม (Modem) โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาำ หรับการแปลงสัญญาณ ดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ดา้ นผูส้ ่ ง เพื่อส่ งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อ ถึงคอมพิวเตอร์ดา้ นผูร้ ับ โมเด็มก็จะทำาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็ นดิจิตอลนำาเข้าสู่เครื่ อง คอมพิวเตอร์ เพื่อทำาการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครื อข่ายระยะไกล โดยการใชสาย โทรศัพท์เป็ นสื่ อกลาง เช่น เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ฮับ (Hub) ฮับ (Hub) เป็ นอุปกรณ์สาำ คัญในการเชื่อมโยงสัญญาณของเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ เน็ตเวิร์กเข้าด้วยกัน ปกติจะเป็ นเครื อข่ายแบบ Ethernet 10BaseT รู ปแบบการเชื่อมต่อ หรื อ LAN Topology จะเป็ นแบบ Star การเชื่อมต่อแบบนี้ จะใช้ฮบั เป็ นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ ทุกเครื่ องจะเชื่อม ต่อผ่ายฮับและใช้สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรื อ CAT5 กับหัวต่อแบบ RJ-45 ในการรับ-ส่ ง ข้อมูล ฮับ จะเป็ นเสมือนตัวทวนสัญญาณ (Repeater) และฮับบางรุ่ นยังสามารถตรวจจับข้อมูล (Data Detection) ต่างๆ เช่น Receive Sent Data, Jabbers, Collision Data, Short Frames ฮับ จะอัตราความเร็วในการรับ-ส่ งข้อมูลตั้งแต่ 10 Mbps (Mega Bit per sec.) จนถึง 100 mbps และจะมีจาำ นวนช่องขนาดเล็กตั้งแต่ 4 ช่อง หรื อเรี ยกว่า ฮับ 4 port (8 port, 12 port,16 port และ 24 port) การเลือกใช้การ์ดเน็ตเวิร์กก็ควรเลือกให้เหมาะสมกับความเร็ วของฮับ ถ้าใช้การ์ ดเน็ตเวิร์กที่มีความเร็ ว เพียง 10 Mbps แล้วนำามาเชื่อมต่อกับฮับแบบ 10 Mbps จะทำาให้มีอตั ราความเร็ วเพียง 10 Mbps เท่านั้น (ห ำ ่ 10 Mbps รื อ ใช้การ์ ดเน็ตเวิร์กที่มีความเร็ ว 10 Mbps กับฮับแบบ 10 Mbps ก็จะทำาให้อตั ราความเร็ วต่าที เช่นกัน) ฮับบางรุ่ นจะมีพอร์ต Uplink เอาไว้เชื่อมต่อกับพอร์ ตธรรมดาของฮับตัวอื่นเพื่อขยายช่อง สัญญาณ และยังมีสวิตซ์ในการเลือกความเร็ วระหว่าง 10 หรื อ 100 Mbps บริดจ์ (Bridge)


17

บริดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่การทำางานคล้ายๆ กับตัวทวนสัญญาณ (Repeater) โดยจะ ขยายสัญญาณให้มีระดับความแรงเพื่อส่งต่อไป แต่มีหน้าที่หลักคือเชื่อมต่อเครื อข่ายย่อยเข้าด้วยกัน หรื อ เชื่อมต่อเครื่ อข่ายต่างระบบกัน เช่น ในหน่วยงานมีระบบเครื อข่ายแรกเป็ นแบบ Ethernet และมีระบบ เครื อข่ายที่สองเป็ นแบบ Token-Ring ดังรู ปที่ 2.17 จะเห็นว่าใช้บริ ดจ์เป็ นสะพานในการเชื่อมต่อระหว่าง เครื อข่ายทั้งสอง (บริ ดจ์ จะมีพอร์ตในการเชื่อมต่อจำานวน 2-4 พอร์ ต คือ พอร์ ต A , B, C, D) นอกจากนี้บริ ดจ์ยงั มีความสามารถในการตรวจสอบ Packet หรื อ Frame ที่รับ-ส่ งข้อมูลในระดับ ฮาร์ ดแวร์ เพื่อส่งข้อมูลไปยังอีกฟากหนึ่งของเครื อข่าย โดยที่บริ ดจ์จะเก็บรวบรวมหมายเลข MAC (Media Access Control) Address ของการ์ ดเน็ตเวิร์กที่ติดตั้งในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกันเอาไว้ใน ตารางของบริ ดจ์เรี ยกว่า SAT (Source address Table) เพื่อจะได้ทราบว่าคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องอยู่ เซ็กเมนต์ใดบ้าง สวิตช์ (Switch) สวิตช์ (Swith) เป็ นอุปกรณ์เครื อข่ายที่รวมความสามารถของฮับและบริ ดจ์เข้าไว้ภายใน ตาม ปกติแล้วเครื อข่ายของ Ethernet ไม่สามารถส่ งข้อมูลพร้อมกันหลายเครื่ องได้ จะต้องสลับกันส่ งเนื่องจาก เป็ นการเชื่อมต่ออยูบ่ นโดเมนปะทะ (Collision Domain) กล่าวคือ ถ้าเกิดมีการรับ-ส่ งข้อมูลระหว่าง คอมพิวเตอร์ 2 เครื่ องบนระบบฯก็จะมีการกกระจายข่าวสารออกไปให้ท้ งั เครื อข่ายทราบ และเครื่ องอื่น ไม่สามารถจะรับ-ส่งข้อมูลได้ จนกว่าเครื่ องทั้ง 2 จะรับ-ส่ งข้อมูลกันเสร็ จเรี ยบร้อย แต่สวิตซ์ทาำ ให้ สามารถจะส่งข้อมูลออกไปพร้อม ๆ กันได้หลายเครื่ องด้วยความเร็ วสูงกว่า การทำางานพื้นฐาน ถ้ามีการส่งข้อมูลจากเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งบนเครื อข่าย สวิตซ์จะจัดการส่ งข้อมูลไป ยังเครื่ องนั้นโดยตรง ไม่มีการกกระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่ องเพื่อให้เครื่ องที่มี MAC Address ตรงกันรับ ไปเป็ นการลดปริ มาณข้อมูลทีวิ่งอยูบ่ นเครื อข่ายอีกด้วย เรำเตอร์ (Router) เรำท์ เตอร์ (Router) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบเครื อข่ายหลาย ๆ แบบเข้าด้วยกัน มีความ สามารถในการทำางานสูงกว่าสวิตซ์ ขั้นตอนในการเซตอัพก็ยากกว่า เราท์เตอร์ สามารถเชื่อมต่อเครื อข่าย ที่ใช้สายเคเบิ้ลต่างกัน แต่มีโปรโตคอลเหมือนกันได้ เช่น เครื อข่ายหนึ่งใช้สาย Coaxial แต่อีกเครื อข่ายใช้ สาย UTP เราท์เตอร์มีหน้าที่ในการเชื่อมโยงเครื อข่ายที่อยูห่ ่ างไกลกัน เช่น ระหว่างจังหวัด, ภูมิภาค, ประเทศ หรื อทวีป โดยผ่ายเซอร์วิสของ WAN, ATM, ISDN, X25 ไฟร์ วอลล์ (Firewall) ไฟร์ วอลล์ (Firewall) ความหมายทางด้านการก่อสร้างแล้วหมายถึง กำาแพงที่เอาไว้ป้องกันไฟไม่ ให้ลุกลามไปยังส่วนอื่น ๆ ส่วนทางด้านคอมพิวเตอร์ น้ นั ก็จะมีความหมายคล้าย ๆ กันก็คือ เป็ นระบบที่ เอาไว้ป้องกันอันตรายจากอินเทอร์เน็ตหรื อเน็ตเวิร์กภายนอกนัน่ เอง ไฟร์วอลล์ เป็ นคอมโพเน็นต์หรื อกลุ่มของคอมโพเน็นต์ที่ทาำ หน้าที่ในการควบคุมการเข้าถึง ระหว่างเน็ตเวิร์กภายนอกหรื อเน็ตเวิร์กที่เราคิดว่าไม่ปลอดภัย กับเน็ตเวิร์กภายในหรื อเน็ตเวิร์กที่เรา


18

ต้องการจะป้ องกัน โดยที่คอมโพเน็นต์น้ นั อาจจะเป็ นเราเตอร์ คอมพิวเตอร์ หรื อเน็ตเวิร์ก ประกอบกัน ก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั วิธีการหรื อ Firewall Architecture ที่ใช้ ชนิดของไฟร์ วอลล์ แพ็คเก็จฟิ ลเตอริ่ง (Packet Filtering) Packet Filter คือเราเตอร์ที่ทาำ การหาเส้นทางและส่ งต่อ (route) อย่างมีเงื่อนไข โดยจะพิจารณาจากข้อมูล ส่ วนที่อยูใ่ นเฮดเดอร์ (header) ของแพ็กเก็ตที่ผา่ นเข้ามา เทียบกับกฎ (rules) ที่กาำ หนดไว้และตัดสิ นว่า ควรจะทิ้ง (drop) แพ็กเก็ตนั้นไปหรื อว่าจะยอม (accept) ให้แพ็กเก็ตนั้นผ่านไปได้ ในการพิจารณาเฮดเดอร์ Packet Filter จะตรวจสอบในระดับของอินเทอร์ เน็ตเลเยอร์ (Internet Layer) และทรานสปอร์ตเลเยอร์ (Transport Layer) ในอินเทอร์ เน็ตโมเดล ในอินเทอร์เน็ตเลเยอร์จะมีแอตทริ บิวต์ที่สาำ คัญต่อ Packet Filtering ดังนี้ - ไอพีตน้ ทาง - ไอพีปลายทาง - ชนิดของโปรโตคอล (TCP UDP และ ICMP) ในระดับของทรานสปอร์ตเลเยอร์ มีแอตทริ บิวต์ที่สาำ คัญคือ - พอร์ ตต้นทาง - พอร์ ตปลายทาง - แฟล็ก (Flag ซึ่งจะมีเฉพาะในเฮดเดอร์ ของแพ็กเก็ต TCP) - ชนิดของ ICMP message (ในแพ็กเก็ต ICMP) ข้ อดีของ Packet Filtering 1. ไม่ข้ ึนกับแอพพลิเคชัน 2. มีความเร็ วสูง 3. รองรับการขยายตัวได้ดี ข้ อเสี ยของ Packet Filtering บางโปรโตคอลไม่เหมาะสมกับการใช้ Packet Filtering เช่น FTP, ICQ พร๊ อกซี่เซอร์ วสิ (Proxy Service) Proxy หรื อ Application Gateway เป็ นแอพพลิเคชันโปรแกรมที่ทาำ งานอยูบ่ นไฟร์ วอลล์ที่ต้ งั อยู่ ระหว่างเน็ตเวิร์ก 2 เน็ตเวิร์ก ทำาหน้าที่เพิม่ ความปลอดภัยของระบบเน็ตเวิร์กโดยการควบคุมการเชื่อมต่อ ระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและภายนอก Proxy จะช่วยเพิ่มความปลอดภัยได้มากเนื่องจากมีการตรวจสอบ ข้อมูลถึงในระดับของแอพพลิเคชันเลเยอร์ (Application Layer) เมื่อไคลเอนต์ตอ้ งการใช้เซอร์วิสภายนอก ไคลเอนต์จะทำาการติดต่อไปยัง Proxy ก่อน ไคลเอนต์ จะเจรจา (negotiate) กับ Proxy เพื่อให้ Proxy ติดต่อไปยังเครื่ องปลายทางให้ เมื่อ Proxy ติดต่อไปยัง เครื่ องปลายทางให้แล้วจะมีการเชื่อมต่อ (connection) 2 การเชื่อมต่อ คือ ไคลเอนต์กบั Proxy และ Proxy


19

กับเครื่ องปลายทาง โดยที่ Proxy จะทำาหน้าที่รับข้อมูลและส่ งต่อข้อมูลให้ใน 2 ทิศทาง ทั้งนี้ Proxy จะทำา หน้าที่ในการตัดสิ นใจว่าจะให้มีการเชื่อมต่อกันหรื อไม่ จะส่ งต่อแพ็กเก็ตให้หรื อไม่ ข้ อดีของ Proxy 1. มีความปลอดภัยสูง 2. รู ้จกั ข้อมูลในระดับแอพพลิเคชัน ข้ อเสี ยของ Proxy 1. ประสิ ทธิภาพต่าำ 2. แต่ละบริ การมักจะต้องการโปรเซสของตนเอง 3. สามารถขยายตัวได้ยาก สเตทฟูล อินสเปคชั่น (Stateful Inspection) โดยปกติแล้ว Packet Filtering แบบธรรมดา (ที่เป็ น Stateless แบบที่มีอยูใ่ นเราเตอร์ ทวั่ ไป) จะ ควบคุมการเข้าออกของแพ็กเก็ตโดยพิจารณาข้อมูลจากเฮดเดอร์ ของแต่ละแพ็กเก็ต นำามาเทียบกับกฎที่มี อยู่ ซึ่งกฎที่มีอยูก่ จ็ ะเป็ นกฎที่สร้างจากข้อมูลส่ วนที่อยูใ่ นเฮดเดอร์ เท่านั้น ดังนั้น Packet Filtering แบบ ธรรมดาจึงไม่สามารถทราบได้วา่ แพ็กเก็ตนี้อยูส่ ่ วนใดของการเชื่อมต่อ เป็ นแพ็กเก็ตที่เข้ามาติดต่อใหม่ หรื อเปล่า หรื อว่าเป็ นแพ็กเก็ตที่เป็ นส่วนของการเชื่อมต่อที่เกิดขึ้นแล้ว เป็ นต้น Stateful Inspection เป็ นเทคโนโลยีที่เพิ่มเข้าไปใน Packet Filtering โดยในการพิจารณาว่าจะ ยอมให้แพ็กเก็ตผ่านไปนั้น แทนที่จะดูขอ้ มูลจากเฮดเดอร์ เพียงอย่างเดียว Stateful Inspection จะนำาเอา ส่ วนข้อมูลของแพ็กเก็ต (message content) และข้อมูลที่ได้จากแพ็กเก็ตก่อนหน้านี้ที่ได้ทาำ การบันทึกเอา ไว้ นำามาพิจารณาด้วย จึงทำาให้สามารถระบุได้วา่ แพ็กเก็ตใดเป็ นแพ็กเก็ตที่ติดต่อเข้ามาใหม่ หรื อว่าเป็ น ส่ วนหนึ่งของการเชื่อมต่อที่มีอยูแ่ ล้ว สิ่ งที่ไฟร์ วอลล์ช่วยได้ 1. บังคับใช้นโยบายด้านความปลอดภัย โดยการกำาหนดกฎให้กบั ไฟร์ วอลล์วา่ จะอนุญาตหรื อไม่ให้ใช้ เซอร์ วิสชนิดใด 2. ทำาให้การพิจารณาดูแลและการตัดสิ นใจด้านความปลอดภัยของระบบเป็ นไปได้ง่ายขึ้ น เนื่องจาก การติดต่อทุกชนิดกับเน็ตเวิร์กภายนอกจะต้องผ่านไฟร์วอลล์ การดูแลที่จุดนี้เป็ นการดูแลความปลอดภัย ในระดับของเน็ตเวิร์ก (Network-based Security) 3. บันทึกข้อมูล กิจกรรมต่างๆ ที่ผา่ นเข้าออกเน็ตเวิร์กได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4. ป้ องกันเน็ตเวิร์กบางส่วนจากการเข้าถึงของเน็ตเวิร์กภายนอก เช่นถ้าหากเรามีบางส่ วนที่ตอ้ งการให้ ภายนอกเข้ามาใช้เซอร์วิส (เช่นถ้ามีเว็บเซิร์ฟเวอร์ ) แต่ส่วนที่เหลือไม่ตอ้ งการให้ภายนอกเข้ามากรณี เช่น นี้เราสามารถใช้ไฟร์วอลล์ช่วยได้


20

5. ไฟร์ วอลล์บางชนิด สามารถป้ องกันไวรัสได้ โดยจะทำาการตรวจไฟล์ที่โอนย้ายผ่านทางโปรโตคอล HTTP, FTP และ SMT

สิ่ งทีไ่ ฟร์ วอลล์ช่วยไม่ ได้ 1. อันตรายที่เกิดจากเน็ตเวิร์กภายใน ไม่สามารถป้ องกันได้เนื่องจากอยูภ่ ายในเน็ตเวิร์กเอง ไม่ได้ผา่ น ไฟร์วอลล์เข้ามา 2. อันตรายจากภายนอกที่ไม่ได้ผา่ นเข้ามาทางไฟร์ วอลล์ เช่นการ Dial-up เข้ามายังเน็ตเวิร์กภายใน โดยตรงโดยไม่ได้ผา่ นไฟร์วอลล์ 3. อันตรายจากวิธีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ทุกวันนี้มีการพบช่องโหว่ใหม่ๆ เกิดขึ้นทุกวัน เราไม่สามารถไว้ใจ ไฟร์วอลล์โดยการติดตั้งเพียงครั้งเดียวแล้วก็หวังให้มนั ปลอดภัยตลอดไป เราต้องมีการดูแลรักษาอย่างต่อ ำ เนื่องสม่าเสมอ 4. ไวรัส ถึงแม้จะมีไฟร์วอลล์บางชนิดที่สามารถป้ องกันไวรัสได้ แต่กย็ งั ไม่มีไฟร์ วอลล์ชนิดใดที่ สามารถตรวจสอบไวรัสได้ในทุกๆ โปรโตคอล สำยสั ญญำณ (Cable) ในการเชื่อมต่อแบบต่าง ๆ จะต้องใช้สายเคเบิ้ลเป็ นตัวกลาง (Media) ซึ่งการใช้งานจะขึ้นอยูก่ บั รู ปแบบการเชื่อมต่อ เช่นแบบ Bus จะใช้สายเคเบิ้ล Coaxial, แบบ Star จะใช้สายเคเบิ้ล UTP สายเคเบิ้ลที่ ใช้งานในระบบเน็ตเวิร์กจะมีอยู่ 3 ประเภทคือ สำย Coaxial เป็ นสายเส้นเดียวมีลวดทองแดงเป็ นแกนกลางหุ ม้ ด้วยฉนวนสายยาง โดยจะมีลวด ถักหุ ม้ ฉนวนสายยางอีกชั้น (shield) ป้ องกันสัญญาณรบกวน และมีฉนวนด้ายนอกเป็ นยาง สี ดาำ หุ ม้ อีกชั้น จะมีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ อย่างหนา (thick) อย่างบาง (thin) ส่ วนมากจะใช้งานบนระบบ Ethernet โดยที่ ำ าสายแบบ UTP สาย ปลายสายทั้ง 2 ด้ายจะต้องมีตวั terminator ปิ ดด้วย มีความเร็ วในการส่ งข้อมูลต่ากว่ Coaxial อย่างบาง (thin) มีขอ้ เสี ยคือ ไม่สามารถใช้รับ-ส่ งสัญญาณได้เกิน 185 เมตร อาจต้องใช้ตวั ทวน สัญญาณ (Repeater) ช่วยขยายสัญญาณ สำย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรื อสาย CAT (Category) เป็ นสายเส้นเล็กจำานวน 8 เส้น ตีเกลียวคู่ มีอยู่ 4 คู่ ไม่มีเส้นลวดถัก (shield) เพราะการตีเกลียวคู่เป็ นการลดสัญญาณรบกวนอยูแ่ ล้ว การ ใช้งานจะต้องมีการแค๊มหัว RJ-45 เข้ากับสาย UTP แล้วนำาไปเสี ยบเข้ากับ Hub มีความเร็ วในการรับ-ส่ ง ข้อมูล 10/100Mbps ปัจจุบนั นิยมใช้สาย CAT 5 กันมาก เพราะสนับสนุนการรับ-ส่ งข้อมูลความเร็ วตั้งแต่ 10-100 Mbps สำย STP (Shielded Twisted Pair) เป็ นสายเส้นคู่ตีเกลียวมีอยู่ 2 คู่ มีเส้นลวดถัก (shield) ป้ องกัน สัญญาณรบกวน ใช้งานในการเชื่อมต่อระยะทางไกลๆ ซึ่งสาย UTP ทำาไม่ได้


21

กำรเชื่อมต่ อระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ หากผูใ้ ช้มีความคิดที่จะนำาเอาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลมาต่อเป็ นระบบโดยใช้ขีดความสามารถเดิมที่ มีอยู่ สามารถทำาได้ดว้ ยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้ 1) กำรต่ อเชื่อมผ่ำนช่ องทำง COM1 COM2 และ LPT เป็ นวิธีที่นาำ คอมพิวเตอร์ ที่มีอยูต่ ่อผ่านช่องทาง COM1 หรื อ COM2 เพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างนั้น ในกรณี น้ ีใช้โปรแกรมอรรกประโยชน์ (utility program) บางตัวก็สามารถสำาเนาแฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน หรื อส่ งออกไปยังเครื่ องพิมพ์ร่วมกันได้ รู ปแบบ การต่อระบบโดยอาศัย COM1 COM2 และ LPT การต่อในลักษณะนี้ ใช้ช่องทาง RS232 และมีการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม ปั จจุบนั สามารถทำาการรับส่ ง ข้อมูลถึงกันได้เร็ วถึง 38.4 กิโลบิตต่อวินาที การจัดการระบบง่าย ๆ นี้ไม่จาำ เป็ นต้องลงทุนอะไรมาก แต่ ประโยชน์ที่ไดจะอยูใ่ นวงจำากัด โดยเฉพาะในเรื่ องการโอนย้ายแฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน 2) กำรต่ อเชื่อมเข้ำกับบัฟเฟอร์ เครื่องพิมพ์ การแบ่งกันใช้เครื่ องพิมพ์เป็ นวิธีการใช้ทรัพยากรเครื่ องพิมพ์ ให้เกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้น การใช้เครื่ องพิมพ์ที่มีราคาแพง มีคุณภาพดี เช่น เครื่ องพิมพ์ความเร็ วสูง เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ เครื่ องพิมพ์ที่พิมพ์สีได้ เป็ นต้น การใช้เครื่ องพิมพ์ร่วมกันวิธีหนึ่งก็คือ การต่อเข้ากับ บัฟเฟอร์ ของเครื่ องพิมพ์ ซึ่งเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ส่งมาจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ อง แล้ว จัดการส่ งงานทยอยพิมพ์เรี ยงกันไป เครื่ องพิมพ์ที่ต่อกับบัฟเฟอร์จะต่อผ่านช่องทางขนานเหมือนการต่อทัว่ ไป อย่างไรก็ดี บัฟเฟอร์ ของ เครื่ องพิมพ์บางรุ่ นสามารถต่อกับเครื่ องพิมพ์ได้หลายเครื่ อง 3) กำรเชื่อมต่ อโดยใช้ ระบบสลับสำยข้อมูล เป็ นวิธีการต่อขยายระบบโดยใช้ระบบง่าย ๆ ที่ใช้มือช่วย ระบบสลับสายข้อมูลทำาหน้าที่เหมือนชุมสายโทรศัพท์ระบบเก่า ที่ตอ้ งมีพนักงานรับโทรศัพท์คอยสลับ สายให้ ใช้งานตามความต้องการ เช่น ใช้สายยูทีพี โดยให้หวั ต่อเป็ นแบบ RJ45 การสลับสายจะเชื่อมตัว ระหว่างหัวต่อ RJ45 ที่มารวมกันไว้อยูบ่ นแผงร่ วมกัน ส่ วนของแผงนี้ จะเป็ นเสมือนส่ วนที่รวมสาย เพื่อ การเชื่อมโยงจากต้นทางไปยังปลายทางตามข้อกำาหนดที่ตอ้ งการ ปั จจุบนั มีแผงสลับสายข้อมูลให้ผใู ้ ช้ เลือกใช้ท้ งั อีเธอร์เน็ตแบบเท็นเบสที หรื อแบบอนุกรมผ่านช่องทาง RS232 การใช้ระบบสลับสายข้อมูล เป็ นการเชื่อม เครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบบง่าย ๆ แต่สามารถปรับเปลี่ยนระบบได้อย่างรวดเร็ วและสะดวก ต่อการใช้งาน 4) กำรเชื่อมต่ อผ่ำนระบบผู้ใช้ หลำยคนหลำยช่ องทำง ระบบผูใ้ ช้หลายคนขนาดเล็กที่อยูบ่ นไมโคร คอมพิวเตอร์มีหลายระบบ เช่น ระบบยูนิกซ์ ระบบเอสซีโอ ระบบดังกล่าวสามารถต่อเชื่อมขยายเข้ากับ สถานียอ่ ยได้มาก เป็ นระบบที่ใช้งานร่ วมกันได้ในราคาประหยัด มีซอฟต์แวร์ สนับสนุนอยูม่ ากเช่น ระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีระบบรักษาความปลอดภัย ข้ อเด่ น ของระบบผูใ้ ช้หลายคนในเครื่ องคอมพิวเตอร์ พีซีที่เห็นได้ชดั ได้แก่ ระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์ ซึ่ง เป็ นระบบที่ ให้ผใู้ ช้งานพร้อมกันได้หลายคน หลายงาน มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ประยุกต์และซอฟต์แวร์


22

ระบบสื่ อสารไว้มาก มี ระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี มีการต่อช่องทางเข้าออกไปได้หลายแบบ เช่น แบบเป็ นสถานีปลายทาง RS232 ผ่าน ทางเส้นใยนำาแสง อีกทั้งมีระบบเครื อข่ายท้องถิ่นที่เชื่อมต่อตามมาตรฐานสากล ทำาให้การ ทำางานของระบบประสบผลสำาเร็ จ ตัวกลำงหรือสำยเชื่อมโยง เป็ นส่ วนที่ทำำให้ เกิดกำรเชื่อมต่ อระหว่ ำงอุปกรณ์ ต่ำง ๆ เข้ ำด้ วยกัน ซึ่ง ลักษณะของตัวกลำงต่ ำง ๆ มีดังต่ อไปนี้ 1) สำยคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว (twisted pair) แต่ละคู่สายทองแดงจะถูกพันกันตามมาตรฐานเพื่อ ลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรื อจากภายนอก เนื่องจาก สายคู่บิดเกลียวนี้ ยอมให้สญ ั ญาณไฟฟ้ าความถี่สูงผ่านได้ถึง 10 Hz หรื อ 10 Hz เช่น สายคู่บิดเกลี่ยว 1 คู่ จะสามารถส่งสัญญาณเสี ยงได้ถึง 12 ช่องทาง สำาหรับอัตราการส่ งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยูก่ บั ความหนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ งสัญญาณไฟฟ้ า กำาลังแรงได้ ทำาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่ วนสูง โดยทัว่ ไปแล้วสำาหรับการส่ งข้อมูลแบบดิจทัล สัญญาณที่ส่งเป็ นลักษณะคลื่นสี่ เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้หลายเมกะบิตต่อวินาที ใน ระยะทางได้ไกลหลายกิโลเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าำ หนักเบาง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างคือ สายโทรศัพท์ สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ ก. สำยคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วยฉนวนชั้น นอกที่หนาอีกชั้นดังรู ป เพื่อป้ องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า

ข. สำยคู่บิดเกลียวชนิดไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshielded Twisted Pair :UTP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วย ฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นดังรู ป m าำให้สะดวกในการ โค้งงอแต่สามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอ้ ยกว่าชนิดแรก


23

2) สำยโคแอกเชียล สายโคแอกเชียลเป็ นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับสายทีวีทีมี การใช้งาน กันมาก ไม่วา่ ในระบบเครื อข่ายเฉพาะที่ ในการส่ งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรื อการส่ ง ข้อมูลสัญญาณวีดิทศั น์ สายโคแอกเชียลที่ใช้ทวั่ ไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทลั และ ชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สายโคแอกเชียลจะมีฉนวนหุ ม้ ป้ องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า และสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งที่ทาำ ให้สายแบบนี้ มีช่วงความถี่ที่ สัญญาณไฟฟ้ าสามารถผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่ งข้อมูลด้วยอัตราส่ งสูง

3) เส้ นใยนำำแสง เส้ นใยนำำแสง (fiber optic) เป็ นการใช้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่ งข้อมูล ด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก ปั จจุบนั ถ้าใช้เส้นใยนำาแสงกับระบบอีเธอร์ เน็ตจะ ใช้ได้ดว้ ยความเร็ ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กบั FDDI จะใช้ได้ดว้ ยความเร็ วสูงถึง 100 เมกะบิต เส้นใยนำาแสงมี ลักษณะพิเศษที่ใช้สาำ หรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้กบั การเชื่อมโยงระหว่างอาคาร กับอาคาร ระยะความยาวของเส้นใยนำาแสงแต่ละเส้นใช้ความยาวได้ถึง 2 กิโลเมตร เส้นใยนำาแสงจึงถูก นำาไปใช้เป็ นสายแกนหลัก เส้นใยนำาแสงนี้ จะมีบทบาทมากขึ้น เพราะมีแนวโน้มที่จะให้ความเร็ วที่สูง มาก

ประโยชน์ ของระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์


24

ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื อข่ายจะมีการทำางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ที่เรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) เมื่อเชื่อมโยงหลายกลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยง ระหว่างองค์กรผ่านเครื อข่ายแวน ก็จะได้เครื อข่ายขนาดใหญ่ข้ ึน การประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้มาก ทั้งนี้เพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และสื่ อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้

ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ 1. กำรใช้ อุปกรณ์ ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาำ ให้ผใู ้ ช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่น เครื่ องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็ นต้น ทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตอ้ งซื้ออุปกรณ์ที่ มีราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กบั คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ อง 2. กำรใช้ โปรแกรมและข้อมูลร่ วมกัน (Sharing of program and data) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้ผใู ้ ช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่ วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูล ที่เป็ น ศูนย์กลาง เช่น ที่ฮาร์ดดิสก์ของเครื่ อง File Server ผูใ้ ช้สามารถใช้โปรแกรมร่ วมกัน ได้จากแหล่งเดียวกัน ไม่ตอ้ งเก็บโปรแกรมไว้ในแต่ละเครื่ อง ให้ซาซ้ ้ ำ อนกัน นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ จัด เก็บเป็ นฐานข้อมูล ผูใ้ ช้สามารถใช้สารสนเทศ จากฐานข้อมูลกลาง ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร ์ที่ใช้ งานได้อย่างสะดวกสบาย โดยไม่ตอ้ งเดินทางไปสำาเนาข้อมูลด้วยตนเอง เพราะใช้การเรี ยกใช้ขอ้ มูล ผ่าน ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์นนั่ เอง เครื่ องลูก (Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่ วมกันได้จาก เครื่ องแม่ (Server) หรื อระหว่างเครื่ องลูกกับเครื่ องลูกก็ได้ เป็ นการประหยัดเนื้ อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาำ เป็ นว่าทุกเครื่ องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ ในเครื่ องของตนเอง 3. สำมำรถติดต่ อสื่อสำรระยะไกลได้ (Telecommunication) การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื อ ข่าย ทั้งประเภทเครื อข่าย LAN , MAN และ WAN ทำาให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล ระยะไกลได ้โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทางด้านการติดต่อสื่ อสาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระบบเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต มีการให้บริ การต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ขอ้ มูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การสื บค้นข้อมูล (Serach Engine) เป็ นต้น 4. สำมำรถประยุกต์ ใช้ ในงำนด้ ำนธุรกิจได้ (ฺBusiness Applicability) องค์กรธุรกิจ มีการเชื่อม โยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครื อข่ายของธุรกิจธนาคาร ธุรกิจการบิน ธุรกิจ ประกันภัย ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจหลักทรัพย์ สามารถดำาเนินธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ ว ตอบสนองความ พึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในปัจจุบนั เริ่ มมีการใช้ประโยชน์จากเครื อข่าย Internet เพื่อทำาธุรกิจกันแล้ว เช่น การสัง่ ซื้อสิ นค้า การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร เป็ นต้น


25

5. ควำมประหยัด นับเป็ นการลงทุนที่คุม้ ค่า อย่างเช่นในสำานักงานหนึ่งมีเครื่ องอยู่ 30 เครื่ อง หรื อมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนำาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้เครื่ องพิมพ์อย่างน้อย 5 10 เครื่ อง มาใช้งาน แต่ถา้ มีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรื อ เครื่ องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่ องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่ องสามารถเข้าใช้เครื่ องพิมพ์เครื่ อง ใดก็ได้ ผ่านเครื่ องอื่น ๆ ที่ในระบบเครื อข่ายเดียวกัน 6 ควำมเชื่อถือได้ ของระบบงำน นับเป็ นสิ่ งที่สาำ คัญสำาหรับการดำาเนินธุรกิจ ถ้าทำางานได้เร็ วแต่ ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้นเมื่อนำาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน ทำาระบบงานมีประสิ ทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทำาสำารองข้อมูลไว้ เมื่อ เครื่ องที่ใช้งานเกิดมีปัญหา ก็สามารถนำาข้อมูลที่มีการสำารองมาใช้ได้ อย่างทันที


26

บทที่3 อินเตอร์ เน็ต ควำมหมำยอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ต คือ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเกิดจากระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายย่อย ๆ หลาย ๆ เครื อข่ายรวมตัวกันเป็ นระบบเครื อข่ายขนาดใหญ่ ซึ่งขยายความได้ดงั นี้ คือ การ ที่คอมพิวเตอร์ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไป สามารถติดต่อสื่ อสารซึ่งกันและกันได้โดยผ่านสาย Cable หรื อ สาย โทรศัพท์ ดาวเทียม ฯลฯ การติดต่อนั้นจะเป็ นการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน หรื อใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เช่น ใช้ Printer หรื อ CD-Rom ร่ วมกัน เราเรี ยกพฤติกรรมของคอมพิวเตอร์ ลกั ษณะนี้ วา่ เครื อข่าย (Network) ซึ่งเมื่อมีจาำ นวนคอมพิวเตอร์ในเครื อข่ายมากขึ้น และมีการเชื่อมโยงกันไปทัว่ โลก จนกลาย เป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ เราเรี ยกสิ่ งนี้วา่ อินเทอร์ เน็ต นัน่ เอง การที่คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้น้ นั ว่าไปแล้วก็เปรี ยบเหมือนคนเรา คือต้องมี ภาษาพูดคุยกันโดยเฉพาะคนไทยก็พดู ภาษาไทย คนอังกฤษก็ตอ้ งพูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษได้ถูก กำาหนดเป็ นภาษาสากลในการติดต่อสื่ อสารกันของทุกประเทศทัว่ โลก สำาหรับคอมพิวเตอร์ ในระบบ อินเทอร์ เน็ตนั้น ก็มีภาษาที่ใช้คุยกันเหมือนกัน ซึ่งที่ทาำ ให้คอมพิวเตอร์ สามารถติดต่อสื่ อสารซึ่งกันและ กันได้ พูดคุยกันรู้เรื่ องนัน่ เอง ซึ่งเราเรี ยกว่าภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ วา่ โปรโตคอล (Protocol) เราลองคิดดูวา่ เมื่อคอมพิวเตอร์ ติดต่อสื่ อสารกันนั้น อาจเป็ นคอมพิวเตอร์ จากเมืองไทย ติดต่อ กับคอมพิวเตอร์ที่อเมริ กา ซึ่งต้องมีความแตกต่างกันของชนิดเครื่ องทาง Hardware และระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) ทาง Software แล้วถ้าคิดถึงทัว่ โลกย่อมต้องมีความหลากหลายทาง Hardware และ Software กันมากมาย แต่ทาำ ไมปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ จึงสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ ที่เป็ นอย่างนี้ กเ็ พราะ คอมพิวเตอร์ในระบบอินเทอร์เน็ตนั้น จะมีภาษาสากลใช้สื่อสารกันโดยเฉพาะ คือเรี ยกว่ามี Protocol เฉพาะนัน่ เอง ซึ่งเราเรี ยก Protocol เฉพาะนี้วา่ TCP/IP โดยย่อมาจากคำาว่า Transmission Control Protocol (TCP) Internet Protocol (IP) นัน่ เอง

ประวัตอิ นิ เทอร์ เน็ต ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทำาให้สหรัฐอเมริ กาได้ตระหนักถึง ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ ยงทางการทหาร


27

และความเป็ นไปได้ในการถูกโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรื อนิวเคลียร์ การถูกทำาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่ อสารข้อมูล อาจทำาให้เกิดปั ญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีหลาก หลายมากมายหลายแบบ ทำาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร และโปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความ คิด ในการวิจยั ระบบที่สามารถ เชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างระบบที่แตก ต่างกันได้ ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ได้อย่างไม่ผิดพลาด แม้วา่ คอมพิวเตอร์ บางเครื่ อง หรื อสายรับส่งสัญญาณ เสี ยดายหรื อถูกทำาลาย กระทรวงกลาโหมอเมริ กนั (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทาำ การ ทดลอง ระบบเครื อข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็ น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และต่อได้มาพัฒนาเป็ น INTERNET ในที่สุด การเริ่ มต้นของเครื อข่ายนี้ เริ่ มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จำานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ - มหาวิทยาลัยยูทาห์ - มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา - มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส - สถาบันวิจยั ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ด และขยายต่อไปเรื่ อยๆ เป็ น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็ นหลายล้านแห่ งทัว่ โลกทีเดียว งานหลักของเครื อข่ายนี้ คือ การค้นคว้าและวิจยั ทางทหาร ซึ่งอาศัยมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลเดียวกัน ที่ เรี ยกว่า Network Control Protocol (NCP) ทำาหน้าที่ควบคุมการรับส่ งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาด ในการส่ งข้อมูล และตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องเข้าด้วยกัน และมาตรฐานนี้กม็ ีจุดอ่อนใน การขยายระบบ จนต้องมีการพัฒนามาตรฐานใหม่ พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) อันเป็ นก้าวสำาคัญของอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐานนี้ ทาำ ให้คอมพิวเตอร์ ต่างชนิดกัน สามารถรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้ เปรี ยบเสมือนเป็ นหัวใจของอินเทอร์ เน็ตเลยก็วา่ ได้ จากระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ที่มีอยูใ่ นยุคนั้น ไม่สามารถตอบสนองการสื่ อสารได้ บริ ษทั เบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ ห้องทดลองที่มีชื่อเสี ยงที่สุดแห่ งหนึ่ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's Lab ให้ ทดลองสร้าง ระบบปฏิบตั ิการแห่งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิส ริ สซี และ เคเน็ต ทอมสัน ได้ ออกแบบ และพัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้น และแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว พร้อมๆ กับการแพร่ หลาย ของระบบ Internet เนื่องจากความสามารถ ในการสื่ อสารของ UNIX และมีการนำา TCP/IP มาเป็ นส่ วน หนึ่งของระบบปฏิบตั ิการนี้ ดว้ ย พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาลัยศาสตร์ แห่ งชาติ สหรัฐอเมริ กา (National Science Foundation - NSF) ได้วางระบบเครื อข่ายขึ้นมาอีกระบบหนึ่ง เรี ยกว่า NSFNet ซึ่งประกอบด้วยซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ 5


28

เครื่ องใน 5 รัฐ เชื่อมต่อเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ และมีการใช้มาตรฐาน TCP/IP เป็ นมาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูล ส่ งผลให้การใช้งานเครื อข่ายเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว หลังจากนั้นก็มีเครื อข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNet เป็ นต้น และต่อมาได้ เชื่อมต่อกัน โดยมี NSFNet เป็ นเครื อข่ายหลัก ซึ่งเปรี ยบเสมือนกระดูกสันหลังของเครื อข่าย (Backbone) ในปี พ.ศ. 2530 เครื อข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมา เปลี่ยน ไปใช้บทบาทของ NSFNet แทน และเลิกระบบ ARPANET ในปี พ.ศ. 2534 ในปัจจุบนั Internet เป็ นการต่อโยงทางตรรกะ (Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์ นบั ล้าน ๆ เครื่ อง และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆ เช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรื อ แม้แต่ เครื อข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่น ๆ ภายใต้โปรโตคอล ที่มีชื่อว่า TCP/IP โดยที่ขนาดของเครื อข่าย ครอบคลุมไปทัว่ โลก รวมทั้งประเทศไทย และมีการขยายขอบเขตออก ไป อย่างไม่หยุดยั้ง สำาหรับประเทศไทย เริ่ มเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเทอร์ เน็ตตั้งแต่ปี พ.ศ.2532 โดยมหาวิทยาลัย สงขลานคริ นทร์ต่อเชื่อมโยงเพื่อส่งไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์กบั ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทำาให้ระบบ ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์เชื่อมต่อกับอินเทอร์ เน็ตเป็ นครั้ งแรก และในระยะเวลาเดียวกันนี้ กระทรวง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอกนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ ได้มีโครงการที่จะเชื่อมโยงเครื่ อข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัยขึ้ น เครื่ อข่ายคอมพิวเตอร์ ระหว่าง มหาวิทยาลัยในประเทศไทยก็ค่อย ๆ พัฒนาขึ้น ระบบ Internet เป็ นการนำาเครื อข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อเสมือนกับ ใยแมงมุม หรื อ World Wide Web หรื อเรี ยกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศพั ท์วา่ เครื อข่ายใยพิภพ) ในระบบนี้เรา สามารถเปรี ยบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือ ลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้น Internet เป็ นเครื อข่ายที่รับอิทธิ พลจาก เครื อข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริ กา บริ ษทั ที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การ Internet ก็เป็ นบริ ษทั ที่ทาำ ธุรกิจ ทางโทรศัพท์ เช่น MCI, AT&T, BELL เป็ นต้น และอีกลักษณะหนึ่ง ที่เป็ นความเด่นของระบบ คือลักษณะทางตรรกะ หรื อ LOGICAL CONNECTION ที่เป็ นเสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้

มำตรฐำนกำรสื่ อสำรด้ ำนอินเทอร์ เน็ต โปรโตคอล (Protocol) คือตัวกลาง หรื อภาษากลาง ที่ใช้เป็ นมาตรฐานสำาหรับการสื่ อสาร ใน ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้ติดต่อสื่ อสารเชื่อมโยงกัน ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ นับร้อยล้าน เครื่ องซึ่งแต่ละเครื่ องมีความแตกต่างกัน ทั้งรุ่ นและขนาดของคอมพิวเตอร์ ถ้าขาดโปรโตคอลก็จะไม่ สามารถที่จะติดต่อสื่ อสาร ให้เข้าใจกันได้ เพราะฉะนั้นโปรโตคอล ก็เปรี ยบเหมือนเป็ นล่ามที่ใช้แปล


29

ภาษา ของระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต มาตรฐานนี้เรี ยกว่า TCP/IP การทำางานของ TCP/IP จะแบ่งข้อมูล ที่จะส่ งออกเป็ นส่วนย่อย ๆ เรี ยกว่า แพ็คเก็ต (Packet) แล้วส่ งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต โดยจะกระจายแพ็คเก็ตออกไปหลายเส้นทาง แพ็คเก็ตเหล่านี้ จะไปรวมกันที่ปลายทาง และ ถูกนำามาประกอบรวมกัน เป็ นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง ระบบไอพีแอดเดรส (IP Address) เมื่อเราต้องการสื่ อสารกับคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่น เราจะต้อง ทราบที่อยูข่ องเครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องนั้น คอมพิวเตอร์ ที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP จะมีหมายเลขประจำา เครื่ องที่ไม่ซากั ้ ำ บเครื่ องอื่นในโลก มีชื่อเรี ยกว่า ไอพีแอดเดรส ไอพีแอดเดรสจะมีลกั ษณะเป็ นตัวเลข 4 ชุด ที่มีจุด ( . ) คัน่ เช่น 193.167.15.1 เป็ นต้น ตัวเลขแต่ละชุด จะมีค่าได้ต้ งั แต่ 0-255 คอมพิวเตอร์ ที่มีไอพี แอดเดรสเป็ นของ ตัวเองและใช้เป็ นที่เก็บเว็บเพจ เราเรี ยกว่าเซิร์ฟเวอร์ (Server) หรื อโฮสต์ (Host) ส่ วน องค์กรหรื อผูค้ วบคุมดูแลและจัดสรรหมายเลขไอพีแอดเดรส เราเรี ยกว่า อินเทอร์ นิก (InterNIC) โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม (Domain Name) เป็ นระบบที่นาำ ตัวอักษร ที่จาำ ได้ง่ายเข้ามาแทนไอพีแอดเดรส ที่เป็ นตัวเลข แต่ละโดเมนจะมีชื่อไม่ซากั ้ ำ น และมักจะถูกตั้งให้คล้ายกับชื่อของบริ ษทั หน่วยงาน หรื อองค์กรของผูเ้ ป็ น เจ้าของ เพื่อความสะดวกในการจดจำาชื่อ ควำมหมำยโดเมนเนม โดเมนเนม

ควำมหมำย

Com

กลุ่มองค์การค้า (Commercial)

Edu

กลุ่มการศึกษา (Education)

Gov

กลุ่มองค์กรรัฐบาล (Governmental)

Mil

กลุ่มองค์กรทหาร (Military)

Net

กลุ่มองค์การบริ หาร (Network Service)

Org

กลุ่มองค์กรอื่น ๆ (Organizations)

ควำมหมำยโดเมนทีเ่ ป็ นชื่อย่อของประเทศ


30

โดเมนที่เป็ นชื่อย่อของประเทศ

ควำมหมำย

au

ออสเตรเลีย (Australia)

fr

ฝรั่งเศส (France)

th

ไทย (Thailand)

jp

ญี่ปนุ่ (Japan)

uk

อังกฤษ (United Kingdom)

โดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์ โดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server) ถึงแม้ระบบโดเมนเนม จะทำาให้จดจำาชื่อได้ง่าย แต่การ ทำางานจริ ง ของอินเทอร์เน็ต ก็จาำ เป็ นต้องใช้ไอพีแอดเดรส อย่างเดิม ดังนั้นจึงจำาเป็ นต้องมีระบบ ที่จะ ทำาการแปลงโดเมนเนม ไปเป็ นไอพีแอดเดรส โดยจะต้องจัดการให้คอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึ่ง ทำาหน้าที่ใน การแปลงโดเมนเนม ไปเป็ นไอพีแอดเดรส เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทาำ หน้าที่น้ี จะถูกเรี ยกว่าโดเมนเนม เซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server) หรื อ ดีเอ็นเซิร์ฟเวอร์ (DNS Server) ตำำแหน่ งอ้ำงอิงเว็บเพจ เป็ นตำาแหน่งที่ใช้อา้ งอิงเว็บเพจต่าง ๆ ในอินเทอร์ เน็ตโดยพิมพ์ URL เข้าไปในช่อง Address ของเว็บเบ ราเซอร์ โดย URL ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้คือ www.hotmail.com/data.html www คือ การแสดงว่าขณะนี้ กาำ ลังใช้บริ การ www hotmail คือ โดเมนเนมของเว็บไซต์ที่กาำ ลังใช้งานอยู่ data.html คือ ตำาแหน่งของไฟล์ที่เก็บเว็บเพจหน้านั้นอยู่

รู ปแบบกำรเชื่อมต่ ออินเตอร์ เน็ต กำรเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตแบบใช้ สำย (Wire Internet) 1. กำรเชื่อมต่ ออินเตอร์ เน็ตรำยบุคคล (Individual Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่อ อินเตอร์ เน็ตจากที่บา้ น (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ผูใ้ ช้ ต้องสมัครเป็ นสมาชิกกับ


31

ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์ โทรศัพท์ของผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์ เน็ต รหัสผูใ้ ช้ (User name) และรหัสผ่าน (Password) ผูใ้ ช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้หมุนไปยัง หมายเลขโทรศัพท์ของผูใ้ ห้ บริ การอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเตอร์ เน็ตได้

องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล 1. โทรศัพท์ 2. เครื่ องคอมพิวเตอร์ 3. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์ โทรศัพท์ รหัสผูใ้ ช้และรหัสผ่าน 4. โมเด็ม (Modem) 2. กำรเชื่อมต่ ออินเตอร์ เน็ตแบบองค์ กร (Corporate Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตแบบ องค์กรนี้จะพบได้ทวั่ ไปตามหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครื อข่าย ท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็ นของตัวเอง ซึ่งเครื อข่าย LAN นี้เชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตตลอด เวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วยงานจึงสามารถใช้อินเตอร์ เน็ตได้ตลอดเวลา การ ใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบ LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผูใ้ ช้รายบุคคลที่ยงั ต้อง อาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต


32

กำรเชื่อมต่ ออินเตอร์ เน็ตแบบไร้ สำย (Wireless Internet) 1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่ องโทรศัพท์บา้ นเคลื่อนที่ PCT เป็ นการเชื่อมต่อ อินเทอร์ เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผูใ้ ช้จะต้องมี โมเด็มชนิด PCMCIA ของ PCT ผูใ้ ช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุ งเทพ และปริ มณฑลได้ 2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet) 1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็ นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งาน บนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือปั จจุบนั หลายๆยีห่ อ้ จะสนับสนุน การใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็ วในการรับส่ งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่อง อินเตอร์ เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริ การเป็ นนาทีซ่ ึงยังมีราคาแพง 2. GPRS (General Packet Radio Service) เป็ นเทคโนโลยีที่พฒั นาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสา มารถเชื่อมต่อกับ อินเตอร์ เน็ตด้วยความเร็ วสูง และสามารถส่ งข้อมูลได้ในรู ปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิ ก เสี ยง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่ งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่สนับสนุน GPRS อยูท่ ี่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริ การคิดตามปริ มาณข้อมูลที่รับ-ส่ ง ตามจริ ง ดังนั้นจึงทำาให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่ อสารได้รวดเร็ วขึ้นด้วย 3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับ การสื่ อสารไร้สาย ความเร็ วสูงได้เป็ นอย่างดี โดยสามารถทำาการรับส่ งข้อมูลได้สูงสุ ด 153 Kbps ซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กบั โทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่อ อินเทอร์ เน็ตได้เพียง 56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุนการส่ งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้


33

ด้วย 4. เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยีบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กบั การ สื่ อสารแบบไร้สาย โดยใช้ ้หลักการการส่งคลื่นวิทยุ ที่อยูใ่ นย่านความถี่ระหว่าง 2.4 - 2.4 GHz ในปั จจุบนั นี้ ได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์ ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้สาย บลูธูทเพื่อใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์พอ็ คเก็ตพีซี 3. กำรเชื่อมต่ ออินเตอร์ เน็ตด้ วยโน้ ตบุ๊ก(Note book) และ เครื่องปำล์ ม (Palm) ผ่าน โทรศัพท์มือถือที่สนับสนุนระบบ GPRS โทรศัพท์มือถือที่สนับสนุน GPRS จะทำาหน้าที่ เสมือนเป็ นโมเด็มให้กบั อุปกรณ์ ที่นาำ มาพ่วงต่อ ไม่วา่ จะเป็ น Note Book หรื อ Palm และในปั จจุบนั บริ ษทั ที่ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้มีการผลิต SIM card ที่เป็ น Internet SIM สำาหรับโทรศัพท์มือถือเพื่อให้สามารถติดต่อกับอินเทอร์ เน็ต ได้สะดวกและรวดเร็ วมากขึ้น กำรให้ บริกำรอินเตอร์ เน็ตควำมเร็วสู ง 1. บริกำรอินเตอร์ เน็ตผ่ำน ISDN (Integrated Service Digital Network) เป็ นการเชื่อมต่อสายโทรศัพท์ระบบใหม่ที่รับส่ งสัญญาณเป็ นดิจิทลั ทั้งหมด อุปกรณ์และชุมสาย โทรศัพท์จะเป็ นอุปกรณ์ ที่สนับสนุนระบบของ ISDN โดยเฉพาะ ไม่วา่ จะเป็ นเครื่ องโทรศัพท์ และโมเด็มสำาหรับ ISDN องค์ประกอบของการต่ออินเตอร์เน็ตด้วยระบบโทรศัพท์ ISDN 1. Network Terminal (NT) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ต่อจากชุมสาย ISDN เข้ากับอุปกรณ์ดิจิทลั ของ ISDN โดยเฉพาะ เช่น เครื่ องโทรศัพท์ดิจิทลั เครื่ องแฟกซ์ดิจิทลั 2. Terminal adapter (TA) เป็ นอุปกรณ์แปลงสัญญาณเพื่อใช้ต่อ NT เข้ากับอุปกรณ์ที่ใช้กบั โทรศัพท์บา้ นระบบเดิม และทำาหน้าที่เป็ น ISDN modem ที่ความเร็ ว 64-128 Kbps 3. ISDN card เป็ นการ์ดที่ตอ้ งเสี ยบในแผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์ เพื่อต่อกับ NT โดยตรง ใน กรณี ที่ไม่ใช้ Terminal adapter 4. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ตผ่านคู่สาย ISDN (ISDN ISP) เช่น KSC, Internet Thailand, Lox Info, JI-Net ฯลฯ ซึ่งผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ตเหล่านี้ จะทำาการเช่าคู่สาย ISDN กับองค์การโทรศัพท์ (บริ ษทั ทศท. คอร์ปอเรชัน่ จำากัด มหาชน ) 2. บริกำรอินเตอร์ เน็ตผ่ำนเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) เป็ นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยความเร็ วสูง โดยไม่ใช้สายโทรศัพท์ แต่อาศัยเครื อข่ายของผูใ้ ห้


34

บริ การเคเบิลทีวคี วามเร็ ว ของการใช้เคเบิลโมเด็มในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตจะทำาให้ความเร็ วสูงถึง 2/10 Mbps นั้น คือ ความเร็ วในการอัพโหลด ที่ 2 Mbps และความเร็ วในการ ดาวน์โหลด ที่ 10 Mbps แต่ปัจจุบนั ยังเปิ ดให้บริ การอยูท่ ี่ 64/256 Kbps องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตด้วยเคเบิลโมเด็ม 1. ต้องมีการเดินสายเคเบิลจากผูใ้ ห้บริ การเคเบิล มาถึงบ้าน ซึ่งเป็ นสายโคแอกเชียล (Coaxial ) 2. ตัวแยกสัญญาณ (Splitter) ทำาหน้าที่แยกสัญญาณคอมพิวเตอร์ ผา่ นเคเบิลโมเด็ม 3. Cable modem ทำาหน้าที่แปลงสัญญาณ 4. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ตผ่านเคเบิลโมเด็ม ในปั จจุบนั มีเพียงบริ ษทั เดียว คือ บริ ษทั เอเชีย มัลติมีเดีย ในเครื อเดียวกับบริ ษทั เทเลคอมเอเชีย ผูใ้ ห้บริ การ Asia Net 3. บริกำรอินเตอร์ เน็ตผ่ำนระบบโทรศัพท์ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Loop) ADSL เป็ นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านสายโทรศัพท์แบบเดิม แต่ใช้การส่ งด้วยความถี่สูงกว่า ระบบโทรศัพท์แบบเดิม ชุมสายโทรศัพท์ที่ให้บริ การหมายเลข ADSL จะมีการติดตั้งอุปกรณ์ คือ DSL Access Module เพื่อทำาการแยกสัญญาณความถี่สูง นี้ออกจากระบบโทรศัพท์เดิม และลัดเข้าเชื่อมต่อกับอินเทอร์ เน็ตโดยตรง ส่ วนผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์ เน็ตจะ ต้องมี ADSL Modem ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ความเร็วในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่าน ADSL จะมีความเร็ วที่ 64/128 Kbps (อัพโหลด ที่ 64 Kbps และ ดาวน์โหลด ที่ 128 Kbps) และที่ 128/256 Kbps (อัพโหลด ที่ 128 Kbps และ ดาวน์โหลด ที่ 256 Kbps) ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั การเลือกใช้บริ การ องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตด้วย ADSL 1. ADSL modem ทำาหน้าที่ในการแปลงสัญญาณ 2. Splitter ทำาหน้าที่แยกสัญญาณความถี่สูงของ ADSL จากสัญญาณโทรศัพท์แบบธรรมดา 3. ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ตผ่าน ADSL ประกอบด้วย Asia Net, Loxinfo, KSC, CS Internet, Anet, Samart, JI-Net 4. บริกำรอินเตอร์ เนตผ่ำนดำวเทียม (Satellite Internet) เป็ นบริ การอินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูงอีก ประเภทหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบนั ใช้การส่งผ่านดาวเทียมแบบทางเดียว (One way) คือ จะมีการส่ งสัญญาณ มายังผูใ้ ช้ (download)ด้วยความเร็วสูง ในระดับเมกะบิตต่อวินาทีแต่การส่งสัญญาณกลับไปหรื อการอัพโหลด จะทำาได้โดยผ่านโทรศัพท์แบบ ธรรมดา ซึ่งจะได้ความเร็ วที่ 56 Kbps การใช้บริ การอินเตอร์ เน็ตผ่านดาวเทียมอาจได้รับการรบกวนจาก สภาพอากาศได้ง่าย องค์ประกอบของการเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตด้วยดาวเทียม


35

1. จานดาวเทียมขนาดเล็ก 2. อุปกรณ์รับสัญญาณจากดาวเทียมเพื่อแปลงเข้าสู่คอมพิวเตอร์ 3. โมเด็มธรรมดา พร้อมสายโทรศัพท์ 1 คู่สาย เพื่อส่ งสัญญาณกลับ (Upload) 4. ผูใ้ ห้บริ การอินเตอร์เน็ตผ่านดาวเทียม ในปั จจุบนั มีเพียงรายเดียว คือ CS Internet ในเครื่ อชิน คอร์ ปอเรชัน่

ประเภทกำรเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต การเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้ โดยสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ของสื่ อ งบประมาณและความต้องการ กำรเชื่อมต่ อแบบ Dial UP เป็ นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่เคยได้รับความนิยมในยุคแรก ๆ โดยใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ บุคคล กับสายโทรศัพท์บา้ นที่เป็ นสายตรงต่อเชื่อมเข้ากับโมเด็ม (Modem) ก็สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้แล้ว ผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์เน็ตต้องทำาการติดต่อกับผูใ้ ห้บริ การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่านหมายเลขโทรศัพท์บา้ น โดยผูใ้ ห้บริ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจะกำาหนดชื่อผูใ้ ช้ (Username) และรหัสผ่าน (Password) มาให้เพื่อ เข้าใช้บริ การอินเทอร์เน็ต การขอรับบริ การจากผูใ้ ห้บริ การนอกจากการติดต่อโดยตรงแล้ว ยังมีการจำาหน่ายในรู ปแบบ แพ็กเกจของชัว่ โมงอินเทอร์เน็ต สามารถหาซื้อได้โดยสะดวกและนำามาใช้ได้ทนั ทีกบั โทรศัพท์บา้ นโดย ทัว่ ไป กำรเชื่อมต่ อแบบ ISDN ISDN (Internet Services Digital Network) เป็ นการเชื่อมต่อที่คล้ายกับแบบ Dial Up เพราะต้อง ใช้โทรศัพท์และโมเด็มในการเชื่อมต่อ ต่างกันตรงที่ระบบโทรศัพท์เป็ นระบบความเร็ วสูงที่ใช้เทคโนโลยี ระบบดิจิตอล (Digital) และต้องใช้โมเด็มแบบ ISDN Modem ในการเชื่อมต่อ การขอใช้บริ การต้อง ติดต่อกับผูใ้ ห้บริ การ กำรเชื่อมต่ อแบบ DSL DSL (Digital Subscriber Line) เป็ นเทคโนโลยีการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงโดยใช้สาย โทรศัพท์ธรรมดา ที่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตและพูดผ่านสายโทรศัพท์ปกติได้ในเวลาเดียวกัน การเชื่อม ต่อต้องใช้ DSL Modem ในการเชื่อมต่อ ต้องติดตั้ง Ethernet Adapter Card หรื อ Lan Card ไว้ที่เครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย กำรเชื่อมต่ อแบบ ADSL ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) คือเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูลความเร็ วสูง บน เครื อข่ายสายทองแดง หรื อคู่สายโทรศัพท์นนั่ เอง โดย ADSL เป็ นเทคโนโลยีในตระกูล xDSL ที่มี


36

ลักษณะสำาคัญคืออัตราการเร็ วในการรับข้อมูล (Downstream) และอัตราการเร็ วในการส่ งข้อมูล (Upstream) ไม่เท่ากัน ซึ่งอัตรารับข้อมูลสูงสุ ดที่ 8 เมกะบิตต่อวินาที และอัตราการส่ งข้อมูลสู งสุ ดที่ 1 เมกะบิตต่อวินาที ระดับความเร็ วในการ รับ-ส่ ง ข้อมูลจะขึ้นอยูก่ บั ระยะทาง และคุณภาพของคู่สาย ข้อดี ของ ADSL ก็คือคุณสามารถใช้งานอินเทอร์ เน็ตไปพร้อมๆ กับคุยโทรศัพท์ได้ เพราะได้ใช้เทคนิคการเข้า รหัสสัญญาณ ที่จะแบ่งย่านความที่บนคู่สายทองแดง ออกเป็ น 3 ช่วงคือ ช่วงความถี่โทรศัพท์ (POTS) ช่วงความถี่ของการส่งข้อมูล (Upstream) ช่วงความถี่ในการรับข้อมูล (Downstream) จึงทำาให้สามารถส่ ง ข้อมูล และใช้โทรศัพท์ได้ในเวลาเดียวกัน ด้วยเหตุน้ ี เมื่อคู่สายโทรศัพท์ของเรามีความเร็ วที่เพิ่มขึ้นแล้ว ก็ เท่ากับว่า เราสามารถเข้าใช้งานไปยังผูใ้ ห้บริ การทางด้านอินเทอร์ เน็ตได้รวดเร็ วขึ้ นนัน่ เอง ADSL จัดว่าเป็ นบรอดแบนด์อย่างหนึ่ง แต่เป็ นบรอดแบนด์ในราคาประหยัด ที่มีค่าใช้จ่ายต่าำ และออกแบบมาให้เหมาะสมสำาหรับการใช้งานอินเทอร์ เน็ตจากบ้านที่มีความต้องการในการดาวน์โหลด ข้อมูลมากกว่าการส่งข้อมูลออกจากเครื่ อง ดังนั้นเทคโนโลยี ADSL จึงมีประโยชน์มากสำาหรับผูต้ อ้ งการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็ วสูงที่บา้ น เพราะช่วยให้สายโทรศัพท์มีความสามารถในการรับส่ งข้อมูลที่สูง ขึ้น ช่วยให้ใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ในความเร็ วไม่แตกต่างไปจากที่ทาำ งาน แต่ขอ้ จำากัดของการใช้งาน ADSL ก็คือจำากัดเบอร์ โทรศัพท์เอาไว้ โดยจะต้องใช้งาน ADLS กับ คู่สายโทรศัพท์ที่ได้ร้องขอไปเท่านั้น และการติดตั้งและใช้งาน ADSL ไม่ได้ความเร็ วตามที่เราร้องขอ เสมอไป เนื่องจากมีขอ้ จำากัดในเรื่ องระยะทางเข้ามาเกี่ยวข้อง เพราะยิง่ ห่ างจากชุมสายมากเท่าไหร่ อัตรา ำ ของการรับส่งข้อมูลก็จะต่าลงเท่ านั้น ดังนั้นหากอยูห่ ่ างจากศูนย์กลางของพื้นที่ให้บริ การของชุมสาย อัตราการรับส่งข้อมูลก็จะลดลง ซึ่งทางผูใ้ ห้บริ การส่ วนมากจึงต้องมีการทดสอบก่อนว่าคู่สายโทรศัพท์ ของคุณสามารถรองรับบริ การของ ADSL ได้อย่างเต็มความสามารถหรื อไม่ ? สิ่ งที่ตามมาอีกเรื่ องหนึ่งก็คือบริ การของ ADSL ใช่วา่ จะให้คุณได้บริ การเต็มความสามารถของ แบนด์วิดธ์ที่ขอไป เช่น การใช้งานที่ 128 kbps คุณจะใช้งานได้เต็ม 128 kbps บางช่วงเวลาเท่านั้น เพราะ 128 kbps จะถูกแชร์ให้กบั ผูร้ ้องของบริ การรายอื่น ๆ ที่อยูล่ ะแวกเดียวกันกับคุณ ซึ่งจะทำาให้ตอ้ งแบ่งปั น แบนด์วิดธ์ของการใช้งานออกตามจำานวนของผูใ้ ช้ แต่ในปั จจุบนั ยังคงไม่ได้เป็ นปั ญหามากมายนัก ทั้งนี้ ก็เพราะจำานวนของการใช้งาน ยังคงไม่มากเท่าไหร่ นนั่ เอ. สรุ ปก็คือ หลังจากที่คุณได้ร้องขอบริ การ ADSL ไปแล้ว คุณจะสามารใช้งาน ADSL ได้เฉพาะ กับเบอร์ ที่ขอไปเท่านั้น ไม่สามารถเปลี่ยบนเบอร์ หรื อนำาโมเด็ม ADSL ไปใช้ในที่อื่น ๆ ได้ และแบนด์ วิดธ์ที่ได้กไ็ ม่ใช่วา่ จะได้เต็มตามจำานวนที่ร้องขอบริ การไป เพราะปั จจัยหลาย ๆ ประการ เช่น คุณภาพ ของสายโทรศัพท์ ระยะทางจากชุมสายถึงบ้านคุณ และจำานวนผูแ้ บ่งปั นการใช้งาน ADSL ที่อยูล่ ะแวก เดียวกันนัน่ เอง ซึ่งหากว่ามีการแชร์กนั มาก ๆ ไม่เพียงแค่แบนด์วิดธ์เท่านั้นที่ถูกแบ่งปั นไป การเข้าใช้งาน อาจจะมีปัญหาตามมา เช่น ล็อกอินเข้าไปใช้งาน ADSL ไม่ได้ หรื ออินเทอร์ เน็ตช้ามาก ๆ นัน่ เอง กำรเชื่อมต่ อแบบ Cable


37

การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน Cable เป็ นการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตโดยผ่านสายสื่ อสารเดียวกับ Cable TV จึงทำาให้เราสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตไปพร้อม ๆ กับการดูทีวีได้ โดยต้องจัดหาอุปกรณ์เพิ่ม เติม คือ Cable Modem เพื่อเชื่อมต่อ ต้องติดตั้ง Ethernet Adapter Card หรื อ Lan Card ไว้ที่เครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย กำรเชื่อมต่ อแบบ Satellites การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม (Satellites) เป็ นการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตที่มีค่าใช้จ่ายค่อน ข้างสูง ระบบที่ใช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั เรี ยกว่า Direct Broadcast Satellites หรื อ DBS โดยผูใ้ ช้ตอ้ งจัดหา อุปกรณ์เพิ่มเติม คือ จานดาวเทียมขนาด 18-21 นิ้ว เพื่อทำาหน้าที่เป็ นตัวรับสัญญาณจากดาวเทียม ใช้ Modem เพื่อเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต นิยมเฉพาะในพื้นที่ไม่มีสายสัญญาณหรื อวิธีการที่เครื อข่ายอื่น เข้าไปได้ยาก เช่น พื้นที่ภูมิประเทศสลับซับซ้อน

ข้ อมูลข่ ำวสำรบนเว็บไซต์ 1. เว็บเพจ(Web Page) คือ ข้อมูลที่แสดงบนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เป็ นเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงไปยัง หน้า อื่น ๆ ได้ 2. เว็บไซต์ (Web Site) คือ เว็บเพจทั้งหลายที่มีอยูใ่ นอินเทอร์ เน็ต และบรรจะไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ หนึ่ง ๆ เช่น เว็บไซต์ www.google.com 3. โฮมเพจ (Home Page) คือ เว็บเพจหลักของเว็บไซต์ ภายในโฮมเพจจะมีจะเชื่อมต่อเปิ ดเข้าไปชม เว็บเพจอื่น ๆ ที่อยูภ่ ายในเว็บไซต์น้ ี ได้ 4. โปรแกรมเว็บเบรำเซอร์ (Web Browser) เป็ นโปรแกรมที่ทาำ หน้าที่ ในการเปิ ดเว็บเพจ และสามารถรับ ส่ ง ไฟล์ทางอินเทอร์เน็ต โดยการแปลงภาษา HTML แล้วแสดงผลคำาสัง่ ให้ออกมาเป็ นรู ปภาพเสี ยง และ ข้อมูล ต่าง ๆ ที่มีใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ได้แก่ NCSA Mosaic, Netscape Navigator, Internet Explorer และ Opera โปรแกรมที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ Internet Explorer 5. ภำษำ HTML (Hyper TextMarkup Language) เป็ นภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจ โดยสามารถใส่ จุด เชื่อมโยง (Link) ไปยังเอกสารหน้าอื่น ๆ ซึ่งการเชื่อมโยงนี้ ถูกเรี ยกว่า Hypertext หรื อเอกสาร HTML ซึ่ง เว็บเพจจะใช้รหัส คำาสัง่ สำาหรับควบคุมการแสดงผลข้อความ หรื อรู ปภาพในลักษณะต่าง ๆกันได้ โดยใช้ สิ่ งที่เรี ยกว่า แท็ก (Tag) ซึ่งแท็กจะกำาหนด ให้เบราเซอร์ แปลความหมายของรหัสคำาสัง่ ดังกล่าว เป็ น ข้อมูลของเว็บเพจและคุณสมบัติพ้ืนฐานต่าง ๆ ด้วยนอกจากนี้ยงั ได้มีการนำาเอาโค้ดภาษาโปรแกรมที่ เรี ยกว่าสคริ ปต์ (Script) มาช่วยเพิ่ม ความสามารถ และสี สนั ให้เว็บเพจมากขึ้น 6. WYSIWYG (What-You-See-Is-What-You-Get) โปรแกรมแบบวิสสิ วิกนี้ ใช้สร้างเว็บเพจโดย การนำารู ปภาพ หรื อข้อความมาวางทับบนเว็บเพจ และเมื่อแสดงผลเว็บเพจ จะปรากฎหน้าเอกสารของ เว็บเพจ เหมือนกับขณะที่ ทำาการสร้าง การใช้งานจะใช้งานได้ง่ายกว่า การเขียนด้วยภาษา HTML มาก


38

โปรแกรมที่สามารถตอบสนอง การสร้างเว็บเพจแบบ WYSIWYG มีอยูห่ ลายโปรแกรมให้เลือกใช้เช่น FrontPage, Dreamweaver เป็ นต้น

บริกำรต่ ำง ๆ บนเครือข่ ำยอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ต เป็ นแหล่งที่ใช้ในการเก็บข้อมูลจำานวนมาก ที่เราสามารถค้นคว้า และรับส่ งข้อมูลไป มา ระหว่างกันได้ อินเทอร์เน็ตจึงมีประโยชน์สาำ หรับยุคสังคมและข่าวสาร ในปั จจุบนั อย่างมาก อินเทอร์ เน็ต จะทำาหน้าที่ เหมือนห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ส่ งข้อมูลที่เราต้องการมาให้ถึงบ้าน หรื อที่ทาำ งาน ภายในไม่กี่นาที จากแหล่งข้อมูลทัว่ โลก โดยจัดเป็ นบริ การในรู ปแบบต่าง ๆ ดังนี้ 1. เวิลด์ ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW) คือบริ การค้นหาและแสดงข้อมูลแบบมัลติมีเดีย บน อินเทอร์ เน็ตทุกประเภท ซึ่งข้อมูลและสารสนเทศอาจจัดอยูใ่ นรู ปแบบของข้อความ รู ปภาพ หรื อ เสี ยง ก็ได้ ข้อดีของบริ การประเภทนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหน้าอื่น หรื อเว็บไซด์อื่นได้ง่าย เพราะ ใช้วิธีการของไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) โดยมีการทำางานแบบไคลเอนท์/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) ซึ่งผู ้ ใช้สามารถค้นหาข้อมูล จากเครื่ องที่ให้บริ การซึ่งเรี ยกว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยอาศัยโปรแกรม ที่ใช้ดูขอ้ มูล เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) ซึ่งผลที่ได้จะมีการแสดงเป็ นไฮเปอร์ เท็กซ์ ซึ่งในปั จจุบนั มีการผนวก รู ปภาพ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว และสามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารหรื อข้อมูลอื่น ๆ ได้โดยตรงตัวอย่าง เช่น www.yahoo.com สามารถค้นหาและเชื่อมโยงข้อมูลไปยังเรื่ องราวต่างๆ เช่น การศึกษาการท่องเที่ยว โรงแรมต่าง ๆ การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ เป็ นต้น 2. จดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรื อนิยมเรี ยกกันทัว่ ไปว่า “อีเมล์” (E-mail) เป็ นรู ปแบบ การติดต่อสื่ อสาร ระหว่างกัน และกันบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่มีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด สามารถส่ ง ข้อความ ไปยังสมาชิกที่ติดต่อด้วย โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที และสามารถแนบไฟล์ขอ้ มูลไปพร้อมกับ จดหมายได้อีกด้วย การส่งจดหมายในลักษณะนี้ จะต้องมีที่อยูเ่ หมือนกับการส่ งจดหมายปกติ แต่ที่ของ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เราเรี ยกว่า E-mail Address 3. กำรโอนย้ำยข้อมูล (FTP : File Transfer Protocol) เป็ นรู ปแบบการติดต่อสื่ อสารข้อมูล บนเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต อีกรู ปแบบหนึ่ง ใช้สาำ หรับการโอนย้ายข้อมูลระหว่างผูใ้ ช้โปรแกรม FTP กับ FTP Server การโอนย้ายไฟล์จาก FTP Server มายังเครื่ องของผูใ้ ช้ เรี ยกว่า ดาวน์โหลด (Download) และการโอนย้าย ไฟล์ จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ของผูใ้ ช้ ไปยังไปยัง FTP Server เรี ยกว่า อัพโหลด 4. กำรสื บค้ นข้อมูล (Search Engine) คือ บริ การที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์ เน็ต โดยพิมพ์ ข้อความที่ตอ้ งการสื บค้น เข้าไป โปรแกรมจะทำาการค้นหาข้อมูลที่ตอ้ งการ ให้ภายในเวลาไม่กี่นาที โปรแกรมประเภทนี้ เราเรี ยกว่า Search Engines เพราะฉะนั้นถ้าเราไม่สามารถจำาชื่อเว็บไซด์ บางเว็บได้ ก็


39

สามารถใช้วิธีการสื บค้นข้อมูล ในลักษณะนี้ได้ เว็บไซด์ที่ทาำ หน้าที่เป็ น Search Engines มีอยูเ่ ป็ นจำานวน มาก เช่น google.com , yahoo.com , sanook.com ฯลฯ เป็ นต้น 5. กำรสนทนำกับผู้อนื่ บนอินเทอร์ เน็ต จะคล้ายกับการใช้โทรศัพท์แต่แตกต่างกันที่ เป็ นการสื่ อสาร ผ่าน เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะใช้ไมโครโฟน และลำาโพงที่ต่ออยูก่ บั คอมพิวเตอร์ ในการสนทนา 6. กระดำนข่ำวอิเล็กทรอนิกส์ (News Group or Use Net) เป็ นบริ การกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ สำาหรับ ผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และแสดงความคิดเห็นลงไปบริ เวณกระดานข่าว ได้ มีการแบ่งกลุ่มผูใ้ ช้ออกเป็ นกลุ่ม ๆ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะสนใจเรื่ องราวที่แตกต่างกันไป เช่นการศึกษา การ ท่องเที่ยว การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม การเกษตร และอุตสาหกรรม เป็ นต้น 7. กำรสื่ อสำรด้ วยข้อควำม IRC (Internet Relay Chat) เป็ นการติดต่อสื่ อสารกับผูอ้ ื่น โดยการพิมพ์ ข้อความโต้ตอบกัน ซึ่งจำานวนผูร้ ่ วมสนทนาอาจมีหลายคนในเวลาเดียวกัน ทุกคนจะเห็นข้อความ ที่ แต่ละคนพิมพ์เหมือนกับว่ากำาลังนัง่ สนทนาอยูใ่ นห้องเดียวกัน โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารได้แก่ โปรแกรม mIRC โปรแกรม PIRCH และโปรแกรม Comic Chat นอกจากโปรแกรม IRC แล้ว ในปั จจุบนั นี้ภายในเว็บไซต์ ยังเปิ ดให้บริ การห้องสนทนาผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ได้อีกด้วย

ประโยชน์ ของอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทัว่ ทั้งโลก สามารถนำามาใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้าง ำ าช่องทางอื่น ทำาให้มีการปรับใช้อินเทอร์ เน็ตในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ขวางและต้นทุนต่ากว่ 1. บริกำรไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็ นการส่ งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผา่ นเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต โดยผูส้ ่งจะต้องส่งข้อความไปยังที่อยูข่ องผูร้ ับ ซึ่งเป็ นที่อยูใ่ นรู ปแบบของอีเมล์ เมื่อผูส้ ่ ง เขียนจดหมาย 1 ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยูน่ ้ นั ผูร้ ับจะได้รับจดหมายภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้จะอยูห่ ่ างกัน คนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้ยงั สามารถส่ งแฟ้ มข้อมูลหรื อไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ดว้ ย 2. บริกำรสื่อสำรด้ วยข้อควำม (Chat, IRC-Internet Relay chat) เป็ นการพูดคุยกันระหว่างผู ้ ใช้อินเทอร์เน็ต โดยพิมพ์ขอ้ ความตอบกัน ซึ่งเป็ นวิธีการสื่ อสารที่ไดัรับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การ สนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรี ยบเสมือนเรานัง่ อยูใ่ นห้องสนทนาเดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ขอ้ ความ โต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยูค่ นละซีกโลกก็ตาม 3. บริกำรสื่อสำรด้ วยเสียง ภำพ และกำรประชุมทำงไกลผ่ ำนจอภำพ (VDO Conference)เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่พฒั นามากขึ้นทำาให้กลายเป็ นช่องทางการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพ สามารถส่ งได้ท้ งั เสี ยงในรุ ปแบบโทรศัพท์ หรื อส่ งเฉพาะภาพคู่สนทนา รวมทั้งการจัดประชุมทางไกล ผ่านจอภาพที่ได้รับทั้งภาพและเสี ยง


40

4. กำรขอเข้ำระบบจำกระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) บริ การอินเน็ตรู ปแบบหนึ่งโดยที่เรา สามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่ องหนึ่งที่อยูไ่ กล ๆ ได้ดว้ ยตนเอง โดยให้เครื่ องทั้งสองต่อ อินเทอร์ เน็ตไว้ เราสามารถเรี ยกข้อมูลจากเครื่ องที่ตอ้ งการมายังเครื่ องส่ วนตัวได้ 5. กำรโอนถ่ ำยข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็ นบริ การอีกรู ปแบบหนึ่งของระบบ อินเทอร์ เน็ต เราสามารถค้นหาและเรี ยกข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในเครื่ องของเราได้ ทั้งข้อมูล ประเภทตัวหนังสื อ รู ปภาพและเสี ยง 6. กำรสืบค้ นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) หมายถึง การใช้เครื่ อข่ายอินเทอร์ เน็ต ในการค้นหาข่าวสารที่มีอยูม่ ากมายแล้วช่วยจัดเรี ยงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็ นเมนู ทำาให้เรา หาข็อมูลได้ง่ายหรื อสะดวกมากขึ้น ปัจจุบนั มีเว็บไซต์ที่เป็ น Search Engine จำานวนมากคอยให้บริ การ 7. กำรเผยแพร่ ข้อมูลควำมสำร ผูท้ ี่มีความรู ้ความชำานาญไม่วา่ เรื่ องใด ๆ สามารถเผยแพร่ ความรู ้ ของตนไปยังผูค้ นทัว่ โลกได้โดยง่าย เช่น ถ้ามีความชำานาญในการสอนนวดแผนไทย ก็สามารถนำาข้อมูล การสอนนวดฯ พร้อมกับภาพประกอบไปใส่ ไว้ในคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์ เน็ต เพื่อให้ผคู ้ นที่ สนใจอาหารไทยทัว่ โลกได้รับทราบอย่างง่ายดาย ในทางกลับกันก็สามารถค้นหาข้อมูลได้แทบทุกชนิด จากอินเทอร์เน็ต 8. กำรแลกเปลีย่ นข้อมูลข่ ำวสำรและควำมคิดเห็น (Usenet) ให้บริ การแลกเปลี่ยนข่าวสารและ แสดงความคิดเห็นที่ผใู้ ช้บริ การอินเทอร์เน็ตทัว่ โลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตน โดยมี การจัดการผูใ้ ช้เป็ นกลุ่มข่าวหรื อนิวกรุ๊ ป (Newgroup) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเป็ นหัวข้อต่าง ๆ เช่น เรื่ องหนังสื อ เรื่ องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์ และการเมือง เป็ นต้น ปั จจุบนั มี Usenet มากกว่า 15,000 กลุ่ม นับเป็ นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทัว่ มุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง 9. กำรซื้อขำยสินค้ ำและบริกำร (E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็ นการจับจ่ายซื้ อ สิ นค้าและบริ การ เช่น ขายหนังสื อ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็ นต้น ปั จจุบนั มีบริ ษทั ใช้อินเทอร์ เน็ตใน ำ ่สุดอีก การทำาธุรกิจและให้บริ การลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง นับเป็ นธุรกรรมและการโฆษณาที่มีตน้ ทุนต่าที ด้วย 10. กำรให้ ควำมบันเทิง (Entertain) อินเทอร์ เน็ตมีบริ การด้านความบันเทิงในทุกรู ปแบบต่า งๆ เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็ นต้น เราสามารถเลือกใช้บริ การเพื่อความบันเทิงได้ ตลอด 24 ชัว่ โมงและจากแหล่งต่าง ๆ ทัว่ ทุกมุมโลก 11. บริกำรด้ ำนกำรศึกษำ (E-Learning) และห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ปั จจุบนั การศึกษาได้ขยายโอกาสผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตจำานวนมาก ทั้งการศึกษานอกหลักสูตรและใน หลักสูตร ช่วยให้โอกาสทางการศึกษากระจายไปอย่างทัว่ ถึง นอกจากนี้การศึกษาผ่านอินเทอร์ เน็ตยังเปิ ด โอกาสให้สามารถเลือกสถานศึกษาจากทัว่ ทุกมุมโลก อยูเ่ มืองไทยก็สามารถรับปริ ญญามหาวิทยาลัยต่าง ประเทศได้ดว้ ยการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต


41


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.