ปีที่ 6 ฉบับที่ 32 ประจำเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

Page 43

การออกแบบบ้านไม่วา่ จะเป็นรูปแบบใด สไตล์ใด หรือออกแบบมาแล้วจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร ผู้เขียนคิดว่าหัวใจส�าคัญอยู่ที่ความรู้สึกเมื่อได้อยู่อาศัย และ “ความสุข” ที่จะได้รับ ดังนั้นรูปแบบบ้านถูกพัฒนา ขึ้นมาจากความต้องการของผู้อยู่อาศัยเป็นหลัก หน้าตา บ้านและพื้นที่ ใช้สอยจะถูกปรับเปลี่ยนไปตามโจทย์จาก เจ้าของบ้านและลักษณะของพื้น ที่ที่แตกต่างกัน หาก เจ้าของบ้านมีความต้องการหลายข้อโจทย์ก็จะยาก ไม่ว่า อย่างไรหากเจ้าของบ้านสามารถถ่ายทอดออกมาให้เห็น ภาพของกิ จ กรรมที่ จ ะเกิ ด ขึ้ นได้ ค รบถ้ ว นก็ จ ะถื อ เป็ น ความโชคดีอย่างยิง่ ของสถาปนิก แต่หากเจ้าของบ้านเป็น คนพูดน้อย ขีอ้ าย ผูอ้ อกแบบก็ตอ้ งพยายามค้นหารูปแบบ ของบ้านที่ใช่และตรงกับการใช้ชวี ติ ของเขาให้ได้ดว้ ยตัวเอง แบบบ้าน AQ-1603 สองชั้นหลังนี้ทีมผู้พัฒนาได้อาศัย โจทย์จากเจ้าของบ้านทีต่ อ้ งการบ้านขนาดเล็ก มีหอ้ งนอน เพียง 3 ห้อง จอดรถได้ 1 คัน พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 150 ตารางเมตร และเหมาะกับที่ดินขนาดไม่เกิน 50 ตารางวา โดยผู้อยู่อาศัยเป็นครอบครัวขนาดเล็ก ไม่มีผู้สูงอายุ มี เพียงลูก ๆ วัยใส 1-2 คน และใช้เวลาส่วนใหญ่ของชีวิต ไปกับการท�างานนอกบ้าน ดังนัน้ เมือ่ มีวนั หยุดพักผ่อนตรง กันครอบครัวก็จะใช้พนื้ ทีช่ นั้ ล่างในการท�ากิจกรรมร่วมกัน เช่น ทานข้าวด้วยกันบ่อยมาก เพราะคุณแม่ชอบท�าครัว คุณพ่อก็จะเสียเวลาส่วนใหญ่ไปกับสวนสวยภายนอกบ้าน

ลูก ๆ พักผ่อน ดูหนัง-ฟังเพลง ทุก ๆ กิจกรรมเกิดขึ้น พร้อม ๆ กันแม้พื้นที่ที่อาจจะไม่ได้กว้างขวางมากนัก พอ เวลาพลบค�า่ ก่อนจะแยกย้ายเข้านอนก็อยากให้มพี นื้ ทีส่ ว่ นกลางเล็ก ๆ ส�าหรับดูหนัง ดูละคร อ่านหนังสือ เล่นเกมส์ หรือแม้แต่พูดคุยกันก่อนเข้านอน เพื่อท�าให้ทุกคนสัมผัส ได้ถึงความอบอุ่นของครอบครัว ทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่า เป็นการออกแบบโดยมองไปที่ “การใช้ชีวิตจริง” พื้นที่ ใช้สอยภายในก็ต้องใช้ได้จริงและใช้ได้ดีด้วย จากประสบการณ์เจ้าของบ้านที่คุ้นเคยกับการใช้ชีวิตใน บ้านสมัยก่อนที่เป็นครึ่งอิฐครึ่งไม้ จะมีความรู้สึกผูกพัน หลงใหลกับสไตล์บา้ นแบบเก่า ชืน่ ชอบบ้านทีม่ หี ลังคาโดย รอบ ดูแลง่าย และให้อารมณ์ร่วมสมัย ทันยุค และให้ ความรู้สึกปลอดภัย นอกจากสัมผัสได้ถึงความน่าอยู่ รับรูไ้ ด้ถงึ ความอบอุน่ เมือ่ เข้าอยูแ่ ล้วเจ้าของบ้านก็ยงั ต้อง สัมผัสได้ถึงความ “อยู่สบาย” อีกด้วย สถาปนิกผูอ้ อกแบบต้องท�าความเข้าใจในวิถชี วี ติ ประจ�าวัน ของแต่ละบ้าน แต่ละครอบครัว เพือ่ น�ามาแปลความหมาย ให้กลายเป็นพื้นที่ใช้สอยที่สามารถใช้งานได้ดี และใช้ได้ งานได้ทุกพื้นที่ ตรงกับโจทย์ที่ได้รับ และตรงกับใจของ เจ้าของบ้านมากทีส่ ดุ เพือ่ จะน�าไปสูง่ านออกแบบทีด่ ี และ บ้านที่ใช้งานได้ดีนั่นเอง ที ม ผู ้ พั ฒ นาแบบได้ เ ริ่ ม ต้ น ปรั บ แบบแก้ ไ ขแบบกั น บน กระดาษ ซึ่งเป็นวิธีการพื้นฐานและดีที่สุดในการเริ่มปล่อย แนวความคิด สถาปนิกปรับแก้แบบหลายครั้งจนกว่าเป็น ที่พอใจ จึงค่อยน�าไปสู่กระบวนการจ�าลองภาพ 3 มิติ ซึ่ง จะท�าให้เจ้าของบ้านเห็นภาพ เข้าใจความต้องการของตัวเอง มากขึ้น และเข้าใจงานออกแบบมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน เพราะเจ้าของบ้านจะไม่เพียงเห็นภาพจ�าลองแบบบ้าน เพียงมุมใดมุมหนึ่งเท่านั้น แต่จะสามารถหมุนรอบทิศเพื่อ ดูบ้านได้ทั้งหลัง สัมผัส รับรู้ในทุกมิติได้ดียิ่งขึ้น และไม่ ต้องลุน้ ว่าสร้างเสร็จแล้วจะสวยตรงใจหรือไม่ แตกต่างกับ สมัยก่อนที่จะเห็นเพียงภาพ 2 มิติในกระดาษจากแบบ ก่อสร้างของสถาปนิกเขียนให้เท่านั้น

july/august 43


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.