บทที่ 3 พระสั งฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต และพระสั งฆราชลาโน ค.ศ. 1674 - 1679 เริ่มต้ นความสั มพันธ์ ระหว่ าง ประเทศฝรั่งเศสกับกรุ งสยามและงานแพร่ ธรรม การปกครองทั่วไปของคณะมิสซังต่ างประเทศ และของมิสซังกรุงสยาม
ok k gรับปรุ งการ n ระหว่างที่อยูใ่ นกรุ งสยามครั้งที่สองก็เช่นเดียวกับในครั้งที่หนึ่ง พระสังฆราชปัลลือ เอาใจใส่ ป a B จัดระเบียบทัว่ ไปของคณะมิสซังต่างประเทศให้ดียงิ่ ขึ้นไป ท่านได้เขียน "คําแนะนําการปกครองสามเณราลั ยกรุ ง f o สยาม"1 ซึ่งขณะนั้นเป็ นงานก่อตั้งชิ้นเอกของคณะ ในภาคตะวันออกไกล e ร่ วมกับพระสังฆราชลังแบรต์และ s e พระสังฆราชลาโน c io ญญาข้อตกลง ซึ่งทําเป็ น 13 ข้อ ข้อที่ วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1674 ประมุขมิสซังทั้งสามได้d ลงนามในสั h c สําคัญๆ มีใจความว่า : "พระสังฆราชองค์ ใดผ่ านมาในกรุ งสยาม ก็ให้ มีอาํ นาจเด็ดขาดที่จะดําเนินงานในกิจการ r A ทุกอย่ างที่เกี่ยวกับเรื่ องทางธรรมและทางโลกของทั ้งสามมิสซัง เหรั ญญิกใหญ่ จะต้ องเอาใจใส่ ดูแลวิทยาลัย จัดส่ ง s eไปยังมิสซังต่างๆ และให้ จัดส่ งเงินไปช่ วย" v i ธรรมทูตที่ประมุขมิสซังกรุ งสยามกําหนดให้ hทว่ั ไปเหล่านี้ ทําให้กรุงสยามเป็ นศูนย์ปกครองคณะมิสซังต่างประเทศในภาค c r มาตราการอันมีคุณประโยชน์ A l ตะวันออกไกลยิง่ กว่cาในเวลาที a ่ผา่ นมาแล้ว เพราะฉะนั้นในช่วงเวลานี้ จึงมีการคิดจะขอตั้งสังฆมณฑล (êvêchê) i ขึ้นที่กรุ งศรีtอo ยุธrยา คือเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1675 ได้ส่งบันทึกช่วยจําถึงกรุ งโรม กล่าวถึงความเหมาะสมที่จะ is ้น และแต่งตั้งพระสังฆราชปัลลือให้เป็ นผูป้ กครองสังฆมณฑลดังกล่าว2 แต่เรื่ องนี้ไม่เป็ นผลสําเร็จ ตั้งสัH งฆมณฑลขึ
ฝ่ ายพระสังฆราชลาโนผูไ้ ด้รับมอบหมายให้ปกครองมิสซังกรุ งสยามนั้น ถึงแม้จะมีอาํ นาจสู งกว่า เพราะ ฐานะและหนังสื อความตกลง ลงวันที่ 14 เมษายน ทําให้ท่านมีอาํ นาจ เช่นนั้น แต่ท่านก็มิได้ใช้อาํ นาจดังกล่าวทั้งใน กิจการมิสซังของท่านเองและในกิจการของคณะมิสซังต่างประเทศท่านยังคงถือพระสังฆราชลังแบรต์ เป็ นบังคับ บัญชา ลดตัวลงและขอคําปรึ กษาหารื อในกิจการทุกอย่าง ท่านปฏิบตั ิเช่นนี้ได้โดยง่ายเพราะเป็ นคนอ่อนโยนและ ถ่อมตัว และในขณะเดียวกันก็ถือเป็ นการแสดงความคารวะอันพึงมีอย่างแท้จริ งต่อพระสังฆราชลังแบรต์ผมู้ ี ความอาวุโสและความสามารถทั้งได้ทาํ งานรับใช้มาแล้วอย่างโชกโชน ดังนั้นแม้วา่ พระสังฆราชลังแบรต์ จะได้ เดินทางไปประเทศโคชินจีนในปี ค.ศ. 1676 และแม้วา่ ท่านอาพาธ ต้องนอนทรมานทนความเจ็บปวดนับเป็ น เดือนๆ แต่ตอ้ งถือว่าท่านเป็ นผูม้ ีอาํ นาจสู งสุ ดในมิสซังกรุ งสยาม จนกระทัง่ ถึงแก่มรณภาพในปี ค.ศ. 1679
1เราได้พิมพ์คาํ แนะนําสิ บข้อแรก และบอกชื่อของคําแนะนําอื่นๆ ในหนังสื อเอกสารประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับคณะมิสซังต่างประเทศ. 2เอกสารของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 202 หน้า 47