The Textile Development And Learning Center Of Southern Thailand_ARCHTHESIS 2018

Page 50

2.9 การออกที่จอดรถ หลักการออกแบบที่จอดรถ (จักรัตน์ วงศ์ถิรวัฒน์, 2549)

เป็นส่วนการทำ�งานของเจ้าหน้าทีบ่ ริการ และส่วนต่างๆในโครงการเพือ่ ให้เกิดความสะดวกสบาย ในการใช้งานสำ�หรับบริการส่วนต่างๆในโครงการเพื่อให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งานสำ�หรับ กลุ่มผู้ใช้ทุกกลุ่มทำ�ให้เกิดการดำ�เนินงานของศูนย์บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้ ระบบการ จัดแบบเป็นห้องโดยเฉพาะ The Individual Room System เป็นรูปแบบที่นิยมมากในยุโรป โดยมีกฎ เกณฑ์การเข้าถึงห้องต่างๆ จะถูกกำ�หนดโดยใช้ทางเดินร่วมเป็นทางเชื่อมระหว่างหน่วยงานต่างๆ ใน ลักษณะนีจ้ ะมีขอ้ ดีอยูท่ กี่ ารทำ�งานทีม่ คี วามเป็นส่วนตัวอยูม่ ากและทำ�งานได้อย่างสบาย แต่ตอ้ งเสียค่า ใช้จา่ ยสูงและเปลืองเนือ้ ทีโ่ ดยใช่เหตุ เพราะอยากเป็นสัดส่วนซึง่ ยากแก่การทราบโดยฉับพลัน การจัดผัง เฟอร์นิเจอร์ส่วนใหญ่จะเรียงเป็นแถว หรือจะเตรียมแบบเรขาคณิต ต้องการเน้นถึงความเป็นระเบียบ นอกจากนี้การจัดแบบแยกห้องเฉพาะอย่างสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะได้แก่ - จัดห้องแบบเดียวสำ�หรับบุคคล (Cellular) ถือเป็นรูปแบบทัว่ ไปของการจัดสำ�นักงานประเภท นี้และพบมากในสำ�นักงานที่มีความลึกไม่มากประกอบด้วย 2 ส่วนสำ�คัญคือ 1. โถงทางเดินร่วมภายใน 2. ห้องทำ�งานเล็กๆหลายห้อง - จัดแบบห้องสำ�หรับการทำ�งานเป็นกลุ่ม ประกอบด้วยการทำ�งานที่เป็นทีมประมาณ 10-15 คนต่อห้อง ลักษณะการจัดสำ�นักงานแบบนี้จะใช้ในระดับผู้อำ�นวยการ แล้วหัวหน้าของสถาบัน

ขนาดทางวิ่งของรถยนต์กรณีจอดรถทำ�มุมมากกว่า 30 องศา

ขนาดทางวิ่งของรถยนต์กรณีจอดรถทำ�มุมน้อยกว่า 30 องศา

สำ�หรับการออกแบบส่วนสำ�นักงานนั้นมีความจำ�เป็นในการคำ�นึงถึงเรื่องต่างๆ ดังนี้ - ความสัมพันธ์ของที่ว่างและรูปแบบการทำ�งานที่สร้างความสะดวกสบายตามความเหมาะสม ของการทำ� - ปริมาณของคุณภาพเฟอร์นิเจอที่ใช้ - ปริมาณชั้นและพื้นที่เก็บของที่เหมาะสมและเพียงพอ - ปริมาณของตำ�แหน่งช่องเปิด ขนาดทางวิ่งของรถยนต์กรณีจอดรถทำ�มุมเกิน 60 องศา ภาพที่ 2.19 : การจัดที่จอดรถแบบต่างๆ ที่มา : https://pantip.com/topic/33240791 ,2559

2-27


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.