Dhamma talk1

Page 1

บทธรรมนําทาง พระเวทคู



คณะผูจัดทํา ดรุณี สิมธาราแกว ปยนุช ประโยชนกุลนันท รุงนภา ศักดิ์ตระกูล จันทนา ถวิลไทย นายแพทยนพพร ศรีทิพโพธิ์ ผกาวดี วงศสายเชื้อ ชนาธิป-ไพโรจน อรุณสุรัตน สังเวียน เหลาเขตกิจ พรพิมล เสถียรพัฒนกูล สุดาพร บัวบุตร วันดี พันธมิตร ณัฐวรรธน ศิริสุวรรณ ปญญา ศิริสุวรรณ บริษัท ป.ประโยชน จํากัด พิมพพิชชา อัสสานุรักษ นิมิตร พิทยรัตนเสถียร ภาพประกอบและรูปเลม พิมพครั้งที่ 1 พิมพที่

พูนศักดิ-์ สุชาดา ประถมบุตร พิเชษฐ-เกษสุดา โพธิบุญ อภิชาต ประถมบุตรและครอบครัว ภาสกร-ชลธิชา-ณิชา ประถมบุตร อรนุช ขวัญชื้นและครอบครัว อิสรา วรรณสวาทและครอบครัว ณาฐยา เนตรรัตน นฤมล พิทยรัตนเสถียร ประทวน เวชประสิทธิ์ สมศิริ หาญสุโพธิพันธ พงษศักดิ์ บุญธํารง อัจฉราวรรณ สีมันตร ชัชวาล ติรชุลี ประอรนุช-พิชญา-พชร พันธุวาณิชย อุษา ธีรพงส พนา ภมรสูต PA Prathom Pook Pookpoon พฤศจิกายน 2556 จํานวน 4,000 เลม หจก. เอส.ออฟเซ็ทกราฟฟคดีไซน


คํานํา บทธรรมเหลานี้คัดเลือกมาจากการบรรยายธรรม ของพระอาจารยแม็คที่ธุดงคไปทั่วประเทศ เนนการ ปฏิบัติถือสันโดษ โดยบทความสวนใหญ◌่จะเปนแนว พัฒนาจิตนํามาจากพระวินัยของพระพุทธเจา ผูจัดทําพยายามรวบรวมบทธรรมะที่พระอาจารย เนนอยูเสมอโดยเฉพาะเรื่อง “มองตน พนทุกข” มาจัดทํา เปนรูปเลมเผยแพร หนังสือเลมนี้หวังแตเพียงใหขอคิด ใหความเขาใจ ใหรูจักการมีสติรูทัน ปญญารูแจง และอุเบกขาละวาง ขณะเดียวกันก็ไดเรียนรูขอธรรมะตางๆเพิ่มขึ้น เพื่อเขาใจ และนําไปคิดพิจารณาใชกับตนเองในชีวิตได หากทานตองการสนทนาหรือฟงธรรมะยอนหลัง สามารถเขาไปฟงไดที่ http://facebook.com/DhammaTalkMonday คณะผูจัดทํา


สารบัญ หนา มองตน พนทุกข

ปญญาโลก ปญญาธรรม

โลกสุขกาม ธรรมสุขวาง

โลกสมมุติ

๑๑

ธรรมคือธรรมชาติ

๑๓

อยูอยางไรใหสงบเปนสุข

๑๕

ภพภูมิของมนุษย

๑๗

หนทางนักบวช

๑๙

สิ่งที่ควรรู

๒๑

ความเปนมนุษยที่สมบูรณ

๒๕

ความไมประมาท

๓๓



มองตน พนทุกข ในการปฏิบัติธรรมนั้นสิ่งสําคัญคือ การมีสติอยูกับตนทุกเมื่อ พูดงายๆก็คือการพิจารณาดูกายใจของตนใหมากที่สุด อยาสงจิตออก นอกสอดสายเสาะแสวงหาเรื่องของคนอื่น อันเปนเหตุใหหลงลืม ขาดสติในอารมณภาวนา ทําใหจิตเศราหมองวุนวายสับสนเกิดโทษ เปนทุกข ในที่สุดการเพงโทษโจทยกับผูอื่นนั้นไมมีประโยชนอะไรเลย ทําไมจะตองเสียเวลากับเรื่องเหลานี้ จงหันมามองดูกายดูจิตของตน ใหมากจะดีกวา โดยพิจารณาวา "อยาใสใจในการงานที่ผูอื่◌่นทําแลว และยังไมไดทํา จงสนใจในการงานของตนวาไดทําแลวหรือยังไมไดทํา" ใหพิจารณาเชนนี้เสมอๆ จะชวยใหการปฏิบัติธรรมไดผลเร็วขึ้น เพราะวาโดยธรรมชาติแลวคนเราสวนมากชอบหาเรื่องที่ไมดีของคนอื่น เพงโทษคนอื่นมากกวาตนเองวา ดี ไมดี ผิด ถูก ฯลฯ


บางครั้งก็เปนเหตุใหทะเลาะวิวาทกัน แมเปนเรื่องเล็กๆนอยๆก็กลายเปน เรื่องใหญโตขึ้นมาได มีผลกระทบตามมามากมาย อันนี้สําคัญมากจงระวัง ใหหันมามองพิจารณาดูกายดูใจของตนใหมากๆ มีสติอยูกับตัวเสมอ ในที่สุดก็จะพบกับสันติสุข อันเกิดจาก การมองตน พิจารณาตน นั่นเอง

สุข ทุกข เดี๋ยวเดียวจางหาย ความตายไมนานมาถึง เศราโศกรํ่าไรรําพึง เขาถึงหมูสัตวทุกวัน ๖


ปญญาโลก ปญญาธรรม ปญญาคือความรอบรู สิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี้มีแตมนุษยเทานั้นที่มีปญญา สามารถพัฒนาใหเกิดความเจริญได ไมวาจะเปนดานวัตถุหรือดานจิตใจ การพัฒนา แบงเปน 2 ประเภทคือ การพัฒนากายและการพัฒนาใจ การพัฒนากายภายนอกเนนวัตถุเปน การพัฒนาทางโลก เบื้องตนไดแกการพัฒนาเครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค อาหาร หรือปจจัย ๔ ซึ่งจําเปนตอการดํารงชีวิต ตลอดถึงการศึกษาพัฒนาดานเทคโนโลยี และวิทยาศาสตรพลังงานตางๆ การศึกษาเรียนรูมากมายหลายสาขาอาชีพเพื่อการทํา มาหาเลี้ยงชีพ การศึกษาซึ่งเปนปญญาทางโลกนั้น เปนการศึกษาที่มองออกไปจากตน เนนการศึกษาสิ่งอื่นอยางอื่นเพื่อตอบสนองความตองการของตน อันไดแก ลาภ ยศ สรรเสริญ สุขและกามคุณ เปนการแสวงหาที่เปนทุกข ตกอยูใต อํานาจของความโลภ โกรธ หลง เมื่อพลัดพรากจากไปก็เปนทุกข เพราะหลงยึดติด ยึดมั่นในโลกนั่นเอง


ปญญาทางธรรมนั้นเปนการศึกษาเพื่อพัฒนาจิตใหพนทุกข กําจัดกิเลส มีอวิชชา ตัณหา อุปาทาน โลภ โกรธ หลง ทั้งหลายเหล◌่านี้เพื่อชําระจิตใหสะอาดบริสุทธิ์ ดับความเรารอน กระวนกระวายใจ ไมเบียดเบียนกัน พูดใหเขาใจงายๆ ก็คือ ปญญาทางธรรมสอนใหสละ ละ ปลอยวาง จากอัตตา กามคุณ อันเปนเหตุใหทุกขนั่นเอง การพัฒนาจิตอยูในหลักของศีล สมาธิ ปญญา ทําใหผูที่พัฒนาจิตสามารถ บรรลุมรรคผลไดสูงขึ้นตามลําดับที่เรียกวา อริยบุคคล ๘ นั่นเอง

เมื่อสมหวังในกิเลสก็เปนสุข ที่เปนทุกขเพราะไมไดดั่งใจหวัง สุขและทุกข เวทนา อนิจจัง ๘

หากไมหวัง ก็จะไดในนิพพาน


โลกสุขกาม ธรรมสุขวาง ทุกชีวิตที่เกิดมาบนโลกนี้ตางก็ตองการความสุขดวยกันทั้งนั้น แตกตาง กันที่◌ิวิธีการแสวงหา และตองการความสุขกันแบบไหนตามกําลัง สติปญญาและ ภพภูมิของตน ในที่นี้จะขอกลาวถึงความสุขของชาวโลกทั่วไปที่เรียกวาโลกียสุข ซึ่งเปน ความสุขที่ เกิดจากกามคุณ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ซึ่งเปนความสุขที่ไม เที่ยงแทแปรเปลี่ยนไป มีผลคือทุกขตามมา เพราะกามนี้มีทุกขมากมีสุขนอย เมื่อสัตวทั้งหลายไดเสพกาม ก็เกิดความหลงติดยินดีพอใจหลงเพลิดเพลินในรสของกามนั้น จึงไดแสวงหา เกิดการแยงชิงเบียดเบียนกัน ในที่สุดทําใหไดรับความเดือดรอนเปนทุกข ตกอยูในอํานาจของโลภ โกรธ หลง เพราะไมรู ไมเขาใจในเรื่องของเหตุ และผลวาโลกียสุข มีคุณและโทษอยางไรนั่นเอง


สวนของธรรมนั้นเปนสุขที่เปนเรื่องของความสุขภายในจิตเปนสําคัญ อันเกิดจาก การปฏิบัติรักษาศีล สมาธิ ปญญา เพื่อลดละกิเลสเครื่องเศราหมอง มีตัณหา อุปาทาน เปนตน ดวยการสํารวมระวังพิจารณาหาเหตุผลของความทุกข ในหลักของอริยสัจ ๔ พระไตรลักษณ ทําใหจิตสะอาด สงบ สวางตามกําลังสติปญญาของตน และตามภูมิจิต ภูมิธรรม ของแตละคน เชน โสดาบัน สกทาคา อนาคา อรหันต เปนความสุขที่เที่ยงแทไมแปรเปลี่ยน เพราะเปนอารมณ ของจิตในการภาวนา จะเกิดขึ้นทุกครั้งที่บําเพ็ญทุกขณะจิตเมื่อเรานอมระลึกถึงซึ่งอยูในหลักของ สติปฏฐาน ๔ นั่นเอง

ใบไมแหงตาย ลวงหลน ชีวิตของคน เชนกัน ทุกสิ่งตางลวน แปรผัน ๑๐

คืนวันสัตวโลก เกิดตาย


โลกสมมุติ ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นมาบนโลกนี้ลวนแลวแตสมมุติเรียกขานกันเพื่อประโยชนใน การสื่อสารและดํารงอยู ในสังคมมีการจัดระบบการเมืองการปกครองเพื่อใหเกิด ความสงบสุขในการอยูรวมกัน จึงมีการสมมุติแตงตั้งยศ ตําแหนง เพื่อทําหนาที่และ บทบาทที่แตกตางกันไป แตเมื่อเราหลงสมมุติเพราะไมเขาใจสภาพความเปนจริง ของสมมุตินั้น ก็เปนเหตุใหยึดติด เที่ยวแสวงหา อยากไดมาเพื่อตนในเรื่องของสมมุติตางๆ ก็เปนเหตุใหเกิดการเบียดเบียนแยงชิง ในที่สุดก็เดือดรอนวุนวายเปนทุกขตามมา ฉนั้นจงพิจารณาในเรื่องของโลกธรรม 8 ประการ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสุข มีทุกข มีสรรเสริญ ก็มีนินทา เมื่อเขาใจและยอมรับในความเปนจริงเหลานี้ก็จะมีความสุข เปนความเขาใจเรื่องสมมุติที่ถูกตอง เปนแงคิดในการดําเนินชี◌ิวิตที่สําคัญ ในเมื่อเราเขาใจยอมรับ ปลอยวางไดระดับหนึ่ง ก็จะชวยใหเราอยูอยางมีความสุข ไมเดือดรอนกระวนกระวายใจ ที่เราเดือดรอนวุนวายอยูทุกวันนี้ก็เพราะเราหลงยึดติดใน สมมุติวาเรามีเราเปนนั่น เปนนี่ ตัวกูของกู เมื่อพลัดพรากจากไปก็ผิดหวังเปนทุกข บางคนถึงกับฆาตัวตาย อันนี้ก็เพราะไมเขาใจในสภาพความเปนจริงเปนไปของโลก เนื่องจากไมรูแจงในสัจธรรมนั่นเอง

๑๑


มรณสติ เมฆหมอกหลอกตาใหหลง งวยงงหมอกที่สีขาว เปรียบเปนเชนดั่งกับเรา ที่เฝายึดมั่นอัตตา

๑๒


ธรรมคือธรรมชาติ "พระพุทธเจาทั้งหลายตรัสรูธรรมชาติของธรรมชาติทั้งหลาย" เมื่อเรามาพิจารณาแยกแยะดูวาธรรมชาตินั้นคืออะไร เราจะมี ความเขาใจแจมแจงทันทีในธรรมนี้ ธรรมชาติคือสภาพที่มีอยู เปนอยูอยางนั้น ไมมีใครเปลี่ยนแปลงได ในที่นี้จะขอแบงออก เปน 2 อยางคือ ธรรมชาติภายนอกและธรรมชาติภายใน ธรรมชาติภายนอกก็คือรูปกายของเรานี้ แยกออกเปนธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ เปนรูปธรรมจับตองได มีความแก เจ็บ ตาย แตกสลายในที่สุดตามหลักของพระไตรลักษณคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั่นเอง

๑๓


สวนธรรมชาติภายในไดแก ความรูสึกนึกคิดตางๆ ไมสามารถมองเห็นไดแตรูสึกได มีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เรียกวานาม จิต นามนี้ก็ตกอยูในสภาพ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่อรูป-นามรวมกันเรียกวาขันธ ๕ อาศัยกันเกิดขึ้นนักปฏิบัติทั้งหลายควรจะ ภาวนาพิจารณาขันธเปนอารมณหยั่งลงสูพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เพื่อละปลอยวาง ถอนความยึดมั่นถือม◌ันในอัตตาตัวตนเสีย มองใหเห็นเปนสุญญตา คือความวางเปลา ในที่สุดก็จะพบความสงบ สะอาด สวาง ในดวงจิต วิมุตติญาณหยั่งรู วาวิมุตติก็จะเกิดขึ้น จะไดพบเห็นนิพพานในปจจุบันวันนี้แนนอน

๑๔


อยูอยางไรใหสงบเปนสุข จงเปนผูมีสติรูเทาทันในการทํา พูด คิด มีปญญารูแจงแทงตลอดในสภาพ ธรรมทั้งหลาย มีอุเบกขาวางเฉยตออารมณ ไมหวั่นไหว ไมมีอคติ ทําจิตใหนิ่งเปนกลาง ดูอยูรูอยูสักแตวารูเห็นวาเปนเชนนั้นเทานั้นเอง มีสติรูทันหมายถึง สติปฏฐาน กาย เวทนา จิต ธรรม มีปญญารูแจงคือรูถึงสภาพความเปนจริงของ สังขารวาไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา มีอุเบกขาวางเฉย มีใจเปนกลางไมยินดียินรายกับสิ่งใด เมื่อใดจิตใจ ของเรามีสติปญญาอุเบกขาอยูทุกเมื่อก็จะเปนสุข สงบ สันติทุกทิวาราตรีแนนอน

มีสติรูทัน นั้นคือรู คอยเฝาดู อารมณจิต คิดปญหา เห็นรูแจง แทงตลอด ยอดปญญา อุเบกขา ละปลอยวาง ทางนิพพาน

๑๕


สติปฏฐาน ๔ : กาย รางกายมนุษยเนาเหม็น คนโงก็เห็นวาหอม จึงหลงชื่นชมดมดอม วาหอมวางามขําจริง

๑๖


ภพภูมิของมนุษย การเกิดตายหมุนเวียนในวัฏฏะสงสารนั้นจะตองไปตามภพภูมิตางๆตามผลกรรม ของตนที่ทําไวแลวไปชดใชรับวิบากกรรมนั้น มีทุกคติ สุขคติ เปนจุดหมาย ภพภูมิ มีทั้งหมด ๓๑ ภูมิ มีนรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน เรียกวาอบายภูมิ ๔ สวรรค ๖ รูปพรหม ๑๖ อรูปพรหม ๔ และมนุษย ๑ รวมเปน ๓๑ ภูมิ ในที่นี้จะกลาวถึงภพภูมิของมนุษยวาเปนศูนยกลางของภูมิทั้งหลาย เพราะวา นรกมีทุกขอยางเดียวไมมีสุข สวรรคมีแตสุขไมมีทุกข โลกมนุษยของเรามีทั้งสองอยาง ดวยเหตุนี้พระพุทธเจาทั้งหลายจึงไดมาตรัสรูในโลกมนุษยเพื่อละสุขละทุกขนั่นเอง เพราะสุขและทุกขนี้เองมนุษยจึงสรางกรรมตางๆนาๆเนื่องจากอยากไดสุขอยากหนีทุกข มนุษยจึงประกอบกรรมมากมายและหลงผิดเพราะไมรูจักทางพนทุกขและจะไดสุขอยาง ไร จึงเปนเหตุใหเวียนวายตายเกิตไมรูจบสิ้น ไปตกนรกบาง ขึ้นสวรรคบาง ตามวิบากกรรมที่ทําไว

๑๗


สติปฏฐาน ๔ : เวทนา เมื่อสมหวังในกิเลสก็เปนสุข ที่เปนทุกขเพราะไมไดดั่งใจหวัง สุขและทุกข เวทนา อนิจจัง หากไมหวัง ก็จะไดในนิพพาน

๑๘


หนทางนักบวช การออกบวชในพระพุทธศาสนานั้นเปนการออกบวชเพื่อละกิเลส ดับทุกข ชําระใจใหบริสุทธิ์สะอาด จุดมุงหมายคือพระนิพพานเปนแดนสงบสุขไมมีทุกขใดๆเลย มีหลักหรือแนวทางการปฏิบัติไปสูจุดหมายคือนิพพานนั้นไดแก มรรคแปดหรือรวม เรียกยอๆวา ศีล สมาธิ ปญญา นั่นเอง พระพุทธศาสนาจัดลําดับความสําคัญหรือการเขาถึงธรรมของพระพุทธศาสนา นั้น เปรียบเชนดั่งบุรุษหาแกนไมแตไมรูจักแกนไม ไปหลงกิ่งและใบ สะเก็ดไม เปลือก กะพี้วาเปนแกน เชนเดียวกันผูออกบวชที่มาหลง ลาภ สักการะ ศีลเครงครัด สมาธิ ลึกลํ้า ปญญารูกวางขวาง แตเขาไมถึงวิมุตติ คือความหลุด คือดับเชื้อแหงกิเลสทั้งสิ้น หมดไปจากจิตใจ เปนเหตุใหหลงยึดติดอยูเพียงนั้นเพราะไมรูจักแกนไม

๑๙


ถาหากผูใดก็ตามเมื่อออกบวชแลวแสวงหาลาภสักการะชื่อเสียง อันไมใชทางพน ทุกข ก็แสดงวาผิดจุดประสงคของการบวชในพระพุทธศาสนา นอกเสียจากลาภสักการะ เกิดขึ้นโดยธรรม คือผูมีศรัทธานํามาถวายดวยเพราะศรัทธาเลื่อมใสอันเกิดจากการ ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ แตก็ไมหลงไปตามลาภสักการะนั้น มีจํานวนไมนอยที่เสียคนเพราะ ลาภสักการะเพราะขาดสติ ประมาท มัวเมาลืมตัว อันเนื่องมาจากคุณธรรมยังไมสูงพอ หมายถึงภูมิจิตภูมิธรรมยังไมสามารถจะเอาชนะกิเลสไดนั่นเอง

๒๐


สิ่งที่ควรรู สิ่งที่ควรรูไวมีอยู 4 หัวขอ ขอแรกคือการเขาใจธรรมชาติ ขอที่สองคือรูจัก โลกสมมุติ ขอที่สามคือยอมรับกฎแหงกรรม ขอที่สี่คือกําหนดรูทุกข ขอแรกการเขาใจธรรมชาติเปนสิ่งที่อยูในชีวิตประจําวันของเราเอง แตวา มนุษยสวนมากจะมองขาม จะมองแตงสิ่งภายนอก การเขาใจธรรมชาติคือ ธรรมชาติของมนุษยที่เกิดมามีความแก ความเจ็บ ความตาย มีความพลัดพราก เปนธรรมดาเปนเรื่องปกติของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี้ ธรรมชาติของกายมีธาตุ ๔ ขันธ ๕ ธรรมชาติของจิตก็คือแปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลารวดเร็วมาก จิตที่วิ่งไหลไป ตามอารมณตํ่า คือกิเลสตัณหาจะทําใหเราเปนทุกขใจ ในเมื่อเราเขาใจธรรมมันก็จะ มีความสุข เราจะปลง ปลอยและวางได อันนี้สําคัญมาก สวนมากแลวเราจะไมเขาใจตัวนี้ จะหลงลืม เวลามีปญหา หรือหมกมุนอยูกับอะไรสักอยางนึงก็จะลืมสิ่งเหลานี้ ก็เลยบอกใหเขาใจธรรมชาติเพื่อใหเรา ปลงได นึกถึงความตายบางก็ดี ในชีวิตวันวันหนึ่งนึกถึงตรงนี้ก็จะมีความสุขได

๒๑


ขอที่สองรูจักโลกสมมุติ เพราะวามนุษยนี้อยูดวยการสมมุติวามีสิ่งนั้นเปนสิ่งนี้ มนุษยก็เลยยื้อแยงแขงขัน สมมุติสิ่งนั้นสิ่งนี้มีคาตางๆมากมาย แตมันก็มีความจําเปน ในการอยูรวมกันในสังคม อันนั้นเปนสมมุติสัจจะ แตอีกมุมหนึ่งมันเปนปรมรรถสัจจะ คือมองในสัจธรรมความเปนจริงแลวมันไมมีอะไร เปนของชั่วคราว อาศัยชั่วคราว แคทําตามหนาที่บทบาทที่สมมุติกันไป เชนเปนบิดา มารดา เปนเจาหนาที่ตางๆ แตสิ่งนี้ก็ไมเที่ยงแทแนนอนอะไร ไมอยูกับเราตลอดไป ขอที่สามคือยอมรับกฎแหงกรรม คือชีวิตมนุษยมีกรรมเปนตัวหลอเลี้ยง เปนตัว กําหนดอยูแลว ถาเราเขาใจตรงนี้เราจะไมเปนทุกข ไมไปโทษอะไรมากมาย เพราะกรรม ตางๆเกิดจากการกระทําของเรา กระทําทางกาย วาจาและใจ แตวาการกระทํานั้น มีหยาบ ละเอียด มีโทษมีคุณมากนอยตางกัน ผลก็เลยตางกัน ฉนั้นเวลาเกิดอะไรขึ้น ในชีวิต คนสวนใหญชอบไปมองภายนอก มองคนอื่นวาเกิดจากคนโนนคนนี้ จริงๆแลว กรรมเปนตัวบันดาลใหเกิดขึ้นเราตองรับผลของกรรมวิบาก กรรมแบงเปน 1.กรรมในอดีตใหผลในปจจุบัน 2.กรรมในปจจุบันใหผลในปจจุบัน 3.กรรมในปจจุบันในผลในอนาคต

๒๒


อันนี้คือหลักของกรรม กรรมจําแนกสัตว สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม เพื่อใหมี หลักคิดในเรื่องของกฎแหงกรรมเพราะมนุษยเกิดมานี้มีกรรมเปนตัวนํามา แตมีความ แตกตางกันในหลายๆดานขึ้นอยูกับการกระทํานั่นเอง ขอที่สี่คือกําหนดรูทุกข ถาชีวิตนี้หรือรูปนี้กายนี้ ขันธ ๕ นี้มันเปนทุกขเพราะวา มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มีแกมีเจ็บมีตาย มันก็เปนธรรมชาติอยางหนึ่ง ถาเรา กําหนดรูอยูบอยๆแลวเราจะเขาใจและกําหนดรูทุกขในจิตอีกทีหนึ่ง อันนี้ทุกขทางกาย ทุกขในจิตก็ คือตัณหาอุปาทาน หาหลักธรรมหาอุบายตางๆเพื่อมาแกทุกขตรงนี้ เมื่อเรากําหนดรูทุกขบอยๆมันก็แกได มันหาเหตุไดดวยสติดวยปญญา คือการรักษาศีล เจริญสมาธิ เจริญ ปญญาตามลําดับ ทั้งสี่ขอนี้ควรระลึกพิจารณาอยูบอยๆทําใหผูนั้นเปนพระอริยะบุคคลได และจะไดรับ ความสุขเปนไปตามกําลังสติปญญาที่พิจารณาใครครวญดูอยูตลอดเวลา ฉนั้นขอฝาก ใหระลึกนึกถึงอยูอยางนอยวันละครั้งก็ยังดี หรือเวลามีปญหาใหนึกถึงสี่ขอนี้ จะชวย บรรเทาทุกขได ซึ่งทั้งสี่ขอนี้เปนหลักใหญในธรรมะของพระพุทธเจา สําหรับที่จะขยาย ไปอีก รวมถึงไตรลักษณ อริยะสัจ ๔ ก็ขอฝากไว

๒๓


สติปฏฐาน ๔ : จิต กระจกใสมีไวสองกาย เติมแตงสิ่งใดก็รู กระจกธรรมมีไวสองดู ใหรูวาจิตคิดชั่วดี

๒๔


ความเปนมนุษยที่สมบูรณ ความเปนมนุษยที่สมบูรณ บางคนอาจจะหมายถึงรางกายที่เกิดมาแลวไมพิการ อันนี้ก็ใช แตไมทั้งหมด ความเปนมนุษยที่สมบูรณนั้นตองรวมถึงผูที่มีจิตใจดีงาม ตั้งอยู ในศีลธรรม ในความถูกตอง คือมีธรรมะอยูในใจเปนผูมีจิตประเสริฐหรือสมบูรณ การที่จะเปนมนุษย ที่สมบูรณไดนั้น พระพุทธองคทานตรัสเอาไวอยู 3 หลักใหญๆคือ 1.ตองเปนผูรูจักใหทาน การใหทานก็แบงเปนหลากหลายระดับ เริ่มตนเราก็ให ทานจากของงายๆกอนเชนเราทําบุญใสบาตร บริจาคทานชวยเหลือสงเคราะหผูยากไร แมแตสัตวเดรัจฉานหรืออะไรที่มันงายๆเชน การใหวัตถุสิ่งของ อันนี้เขาเรียกวาการใหทาน ระดับกลางขึ้นมาก็ใหของที่มีคาขึ้นมาเชน ทรัพยสินเงินทองที่มีคาในการบริจาคชวยเหลือ สละออกไป ระดับตอไปก็คือการบริจาคเสียสละแมกระทั่งชีวิต อันนี้นอกจากพระโพธิสัตวแลว ก็คงมีคนอื่นทําไดยาก การบริจาคเลือดเนื้อก็มีประโยชน เปนการใหชีวิตคนอื่นได อันนี้คือการใหทานซี่งมีหลากหลายแลวแตวาเราจะทําตรงไหน

๒๕


แลวอีกทานอันหนึ่งเปนทานที่ประเสริฐก็คือการใหอภัยทาน และการใหธรรมะเปนทาน รวมถึงการใหวิชาการความรูแกผูที่ดอยโอกาสก็เปนธรรมทานเปนวิทยาทานเปนกุศลอยาง หนึ่ง เหลานี้เปนทานที่มีคาเพราะทานที่ทําใหเกิดปญญา เพราะคนเขาสามารถจะไปตอ ยอดไดเพิ่มพูนขึ้นไปอีก ทําไมถึงบอกวาธรรมะเปนทานมีคา เพราะวาธรรมะทําใหเปลี่ยนจิตใจคนได จากคนที่หยาบ คนที่โง คนที่ไมรูจักอะไรเลยในบาปบุญคุณโทษผิดชอบก็ดีนี้ พอไดศึกษา ธรรมะเปลี่ยนจิตใจเขาเปนอริยะบุคคลได เปลี่ยนแปลงจิตใจคนอื่นได ตัวเองได อันนี้เปนทานอันยิ่งใหญ อันที่ 2 ก็คือการรักษาศีล พระพุทธเจาบอกใหรักษาศีล ความหมายของศีลคือความ เปนปกติหรือการไมเบียดเบียนกันนั่นเอง คืออยูดวยกันอยางสงบสันติจะมีความสุข ตางคนตางชวยเหลือกันในหลักของทาน และก็มีศีลคือไมเบียดเบียนกันอีก สังคมใดที่ มีผูมีศีลเยอะๆสังคมนั้นจะสงบรมเย็นนาอยู เปนสังคมที่มีแตความรักความเมตตา มีแตความหวังดีตอกัน สังเกตจากการที่เราไปวัดที่เขาจัดกิจกรรมทางศาสนาบอยๆ

๒๖


หรือวัดปาอะไรก็แลวแต คนที่ไปวัดจะมีจิตใจดีเปนคนชวยเหลือ เปนคนคอยดูแลตางๆ คนที่มาวัดนี่จะเปนอยางนั้น ก็มีหลายสํานักที่เขาฝกบุคลากรไวอยางดี คนที่เขาไปนั้น ก็จะไดรับความสบายใจเห็นแลวก็อบอุน อันนั้นคือสังคมผูมีศีล คือไมมีภัย รูสึกปลอดภัย เดินไปไหนไมตองระวังอะไรมากมาย ไมตองคิดอะไรมาก มีแตความสบายใจ เมื่อมนุษยรู◌ัจักใหทานและรักษาศีลแลวก็ตองมีปญญาดวย ใชไหม ปญญาหมายถึง ความรอบรู ในทางพระพุทธศาสนาใหความหมายปญญาวาคือความรอบรูในกองสังขาร อันนี้ในทางธรรมนะ ความรอบรูในกองสังขารหมายถึงวาเขาใจในสภาพการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ของทุกสิ่งทุกอยางในโลกนี้ แมแตตัวเราเองก็ประกอบดวยธาตุ ๔ ขันธ ๕ คืออยูในหลักของอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือปญญาตรงนี้ ใหเขาใจตรงนี้ในชีวิต เมื่อเรามีปญญาเขาใจรอบรูในสังขารในชีวิตของเราแลวมันก็จะไมทําใหเราเปนทุกขมาก เปาหมายก็คือไมทําใหเราเปนทุกขมาก คือรูจักปลง จากปลอย จากวาง คลายความยึด มั่นถือมั่น คลายความอยาก ละโมบโลภมาก คลายความโลภโกรธหลงลงไปไดเยอะ คือเราตองศึกษาธรรมของพระพุทธองค ดวยสติปญญาคือใชปญญาศึกษาหลักธรรม คําสอนของพระพุทธเจาใหมากๆแลวก็นํามาปฎิบัติภาวนาคือกําหนดเอาไวในใจ

๒๗


ศึกษาคําสอนพระพุทธองคเพื่อหาทางพนทุกขคือนอกจากเราใหทานรักษาศีลซึ่งเปน พื้นฐานของจิตอยูแลว เราก็พัฒนาใหจิตเกิดการรูแจง เมื่อมนุษยรูหลักธรรมคําสอนรูจัก ปลอยจักวาง อันนี้เปนเรื่องของความทุกขที่ตองเอาออกจากจิตใจตนเองใหไดมากที่สุด เพราะวามนุษยโดยทั่วไปแลวจะอยูภายใตอํานาจของกิเลส ตัณหา คือจะทําตามอํานาจ ของกิเลสตัณหาความอยาก ความโลภ โกรธ หลง จะเปนไปตามอารมณตรงนี้มาก เมื่อเรามีปญญาเขาใจในหลักธรรมคําสอนเชนหลักอริยสัจ ๔ หรือไตรลักษณ หรือหลักพรหม วิหาร ๔ มันจะมาชวยควบคุมจิตใจขอเราใหดีขึ้น สะอาดขึ้น สงบขึ้น เมื่อมนุษย มีจิตใจดี สะอาดขึ้น สงบขึ้น เราก็จะไดรับความสุขจากการใชปญญา คือทาน ศีล มันก็ไดความสุข ในระดับหนึ่ง ในระดับสังคม แตวาความทุกขเราไมหมด แตถาเราเจริญปญญา เจริญวิปสสนาความทุกขมันจะหมดไปจากจิตใจเราได คือการใหทานรักษาศีลมันก็เปนพื้นฐาน แตวามันไมไดละกิเลส มันก็เปนการอยูรวมกันในสังคมอีกแบบหนึ่ง เปนสิ่งที่มนุษยจําเปนตอง มีแตวาปญญานี้สําคัญทําใหเราพนทุกข เราไมเปนทุกข เราจะอยูอยางไรก็ได ยืนเดินนั่งนอนเราก็มีความสุข เพราะเราปลงได เราไมยึดมากถือมั่น ในตัวเองมาก ไมยึดมั่นถือมั่นในรูป ในกามคุณ ๕ ไมยึดมั่นถือมั่นในธาตุขันธในวัตถุ

๒๘


สิ่งของทั้งหลาย เมื่อเราเขาใจหลักปญญาคือหลักไตรลักษณ หลักอริยะสัจ ๔ นี้ คือทําให เราคลายทุกขหายจากทุกขไดตามกําลังสติปญญา อันนี้คือศีส สมาธิ ปญญา ในทางพุทธศาสนานั้นเนนที่ตัววิปสสนาตัวปญญาเปนหลัก เพราะวาตัวปญญา ตัววิปสสนานี้ทําใหมนุษยมีจิตใจที่สูงขึ้นสมบูรณขึ้น ปลอยวางไมหลงตัวเองไมลืมตัว ผลก็คือทําใหตัวเองมีความสุข ถาใครเขาถึงตัวปญญาตัววิปสสนา หรืออยางนอยก็ใหเขา ใจในหลักธรรมคําสอน ไมสามารถจะละกิเลสไดหมดทุกอยาง แตวามันก็ตองเบาบาง ผอนคลายลงไปได บางครั้งเรามีความทุกขความเครียดมากๆ แตเราไมมีทางออก เพราะเราไมรูจักธรรมะเมื่อเรามีปญญาเขาใจในธรรมะในคําสอนของพระพุทธเจา ในบางเรื่องบางหัวขอ อาจจะไปชวยแบงเบาความทุกขความเครียดในจิตใจเราได อันนี้คือประโยชนของธรรมะของการเจริญปญญาดานวิปสสนา เมื่อมนุษยทุกคนรูจักปลอย จักวาง จักปลง ความทุกขก็จะนอย โทษก็จะนอย เรื่องบางเรื่องอยางชาวโลกทั่วไป มีทะเลาะเบาะแวงไมพอใจก็จะเอาเรื่องเอาราวกันจนถึงที่สุดถึงฆากันตายเลยก็มี เพราะอะไร เพราะวาไมเขาใจหลักธรรมคําสอนของพระพุทธองค พระพุทธองคใหทาน ใหอภัยทาน ใหธรรมะเปนทานและรักษาศีล แลวก็ใหปลอยใหวางใหปลงกับชีวิตบาง

๒๙


ประมาณนี้ มันทําใหมีความสุข เมื่อทุกคนรูจักปลอยรูจักวางรูจักปลงแลว การเบียดเบียน การละเมิดศีลตางๆก็จะไมมี ก็จะทําใหเราเปนสุขได ความเปนมนุษยที่สมบูรณคือมนุษยที่มีทาน ศีล ภาวนา อยูในชีวิตประจําวันตลอด เวลา คือหัดทําใหสมํ่าเสมอ คือมีตรงนี้อยู ก็สรุปงายๆวาการใหทานคือการใหจากของ งายๆจนถึงของที่มีคาสูงๆหรือใหธรรมะเปนทาน ใหอภัยทานดวยแลวก็ใหรักษาศึล คือการไมเบียดเบียนผูอื่นและไมเบียดเบียนตนเองใหไดรับความทุกขความเดือดรอน เรียกวาศีล สวนภาวนาคือการปลง การปลอยการวางจิตไมยึดมั่นถือมั่น ไมอยาก ไมโลภมาก รูจักปลอยจักปลงกับชีวิต เขาใจธรรมชาติของชีวิตวาเกิดมาตองมีความแก ความเจ็บ ความตาย คืออยูในหลักไตรลักษณนั่นแหละ นึกถึงหลักไตรลักษณบอยๆ แลวก็จะมีความสุข เขาเรียกวาอารมณภาวนา ขอฝากใหเอาสามขอนี้ไปคิดพิจารณาดูแลวก็บําเพ็ญทําใหสมํ่าเสมอตามโอกาส ตามที่เหมาะสมที่มันจะเกิดขึ้นได

๓๐


สติปฏฐาน ๔ : ธรรม ธรรมชาติของใจไหลลงตํ่า ไหลไปตามอํานาจของตัณหา หลงยึดมั่นขันธ ๕ วาอัตตา อวิชชาพาใหใจไหลลง ๓๑


มรณสติ สุดทายก็ตายหนอสัตว ผูดมัดนั้นคือตัณหา โงหลงนั้นคืออวิชชา เหตุพาวายเวียนเกิดตาย

๓๒


ความไมประมาท พระพุทธเจาไดทรงแสดงธรรมเอาไวในกาล เบื้องตน ทามกลางและที่สุด ในเบื้อนตนทานทรงแสดงอริยะสัจ ๔ เอาไวคือทานตรัสรูดวยอริยะสัจ ๔ ในทามกลางก็คือ ธรรมะ คุณธรรมตางๆที่เปนไปเพื่อการปฏิบัติใหหลุดพนมีหลากหลายและในที่สุด ก็คือความไมประมาท ซึ่งพระพุทธเจาทานฝากเปนธรรมะขอสุดทายและมีความสําคัญที่สุด ทําไมถึงวาอยางนั้น พระพุทธเจาทรงตรัสวา ความประมาทคือหนทางของความตาย คําวาตายในที่◌ีนี้แบงเปนความตายจากความดีความงามทั้งหลาย ตายจากสิ่งที่เปน ประโยชนทั้งหลาย เปนความประมาทมัวเมาในทรัพยในสมบัติทั้งหลาย ในอายุ ในวัยตัวเอง ยังคิดวาไมแก มีทรัพยสินเงินทอง ไมเดือนรอน อยูอยางไรก็ได ทํานองนี้ คือไมอยากจะทํา อะไรที่เปนความดี ไมอยากจะทําอะไรที่มันเปนประโยชนที่พึ่งไดในภายภาคหนา อันนี้เรียกความประมาท

๓๓


สวนความไมประมาทพระพุทธเจาตรัสไววาเปนทางแหงความเจริญ คือทางไมตาย ทําไมพระพุทธเจาจึงตรัสวาความประมาทเปนทางแหงความตาย เพราะวามนุษยเรานั้น ไมสามารถจะรูไดลวงหนามีอยู ๕ ประการ คือ ๑. ความเจ็บไขไดปวย ๒.อายุ ๓.ความตาย ๔.สถานที่ตาย ๕.คติภพที่จะไป ๑ ความเจ็บไขไดปวยนั้นเรารูลวงหนาไมไดวาจะเจ็บไขไดปวยเมื่อไหร เมื่อเปน แลวเราถึงจะหาหมอหายามารักษา อันนี้คือปุถุชนจะรูตรงนี้ไมได แตพระอริยะบุคคลทานจะรู ๒ อายุ พระอริยะบุคคลชั้นสูงทานจะกําหนดไดวาทานจะอายุกี่ป จะมรณะภาพ วันไหนเมื่อไหรทานรูได แตปุถุชนจะรูตรงนี้ไมได ก็เลยมีความประมาท ๓ ความตาย พระอริยะบุคคลทานรูวาทานจะตายเมื่อไหร ทานกําหนดได ๔ สถานที่ตายทานก็รูอีก ๕ คติภพที่จะไปทานก็รู ฉนั้น ๕ อยางนี้ปุถุชนธรรมดารูลวงหนาไมได ทานเลยไมใหประมาท ใหรีบทําความดี

๓๔


ทําในสิ่งที่ดีที่เปนประโยชน คือเปนบุญเปนกุศล แลวชีวิตคนนี่มันไมเที่ยง พระพุทธเจา ตรัสวาสังขารไมเที่ยง จงยังความไมประมาทใหเกิดขึ้น อันนี้คือคําสอนที่เปนสุดยอดของ คําสอนคือความไมประมาท ในเมื่อบุคคลทั่วไปมีความประมาทในการดําเนินชี◌ิวิตแลว ก็เรียกวาเดินทางไปสูความตาย ตายจากความดีงามทั้งหลาย แมจะกิจการงานทางโลกก็ตาม ถาหากวาประกอบกิจการงานดวยความประมาทก็อาจจะผิดพลาดได เกิดความ เสียหายได อันนี้ก็ใชไดทั้งทางโลกและทางธรรม คําวาประมาท และความไมประมาท มีคุณอยางไร และมีโทษอยางไร อันนี้ก็ใหพิจารณาดู ตรึกตรองดู แลวก็จะรูจะเห็นสิ่งเหลานี้วาเปนอยางไร มันเปนธรรมะที่สั้นๆ แตมันมีความหมาย ลึกซึ้งมาก มีผลกับชีวิตของมนุษย เปนอยางมาก ลองตั้งจิตตั้งใจตรึกตรองและพิจารณาดู แลวนําไปใชใหเกิดประโยชนมากที่สุดวาเราจะเดินทางไหน ประมาทหรือไมประมาท สิ่งเหลานี้จะไมไดรูดวยคําพูด ทุกสิ่งทุกอยางตองรูดวยการปฏิบัติใหเขาถึง ในเมื่อเรามีชีวิต อยู◌่และเกิดเปนมนุษยมีโอกาสทําความดีปฏิบัติธรรมก็จงอยาประมาท

๓๕


สติปฏฐาน ๔ : กาย รางกายมนุษยสุดเนา จะเอาแนนอนไมได คนโงนั้นไมเขาใจ จึงหลงงมงายบาจริง

๓๖


สติปฏฐาน ๔ : จิต จิตคิดฟุงซานหันเห เกเรแนแทใจเอย คิดนูนคิดนี่ไมมีเลย ที่จะอยูเฉยเมยใหสบาย

๓๗


วันเกิดพระอริยสงฆสายวัดปา มกราคม

หลวงปูแฟบ สุภัทโท (๑) หลวงปูบุดดา ถาวโร (๕) หลวงปูสุทัศน โกสโล (๖) หลวงปูวิริยังค สิรินธโร (๗) หลวงปูเหรียญ วรลาโภ (๘) หลวงปูคําพอง ขันติโก (๑๓) หลวงปูประสาร สุมโน (๑๖) หลวงปูแวน ธนปาโล (๑๘) หลวงปูมั่น ภูริทัตโต (๒๐) หลวงปูสิงห ขันตยาคโม (๒๗) ทานพอลี ธมมธโธ (๓๑)

เมษายน หลวงปูทา จารุธัมโม (๑) หลวงพอสนอง กตปุญโญ (๕) หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย (๗) หลวงปูกินรี จันทิโย (๘) หลวงปูจันทรแรม เขมสิริ (๑๗) หลวงปูจูม พันธุโล (๒๔) หลวงปูเทสก เทสรังสี (๒๖) หลวงปูบุญพิน กตปุญโญ (๒๗) พระ อินทรถวาย สันตัสสโก(๒๗) หลวงปูทอง จันทสิริ (๒๘)

๓๘

กุมภาพันธ เจาคุณนรรัตนราชมานิต (๕) หลวงพอพุธ ฐานิโย (๘) หลวงปูจันทา ถาวโร (๑๐) หลวงปูหลุย จันทสาโร (๑๑) หลวงปูชอบ ฐานสโม (๑๒) หลวงปูหลา เขมปตโต (๑๔) หลวงปูแหวน สุจิณโณ (๑๖) หลวงปูบุญฤทธิ์ ปณฑิโต (๑๗) หลวงปูบุญเพ็ง กัปโป (๒๑) หลวงปูหลวง กตปุญโญ (๒๗)

พฤษภาคม หลวงปูศรี มหาวิโร (๓) หลวงปูทอน ญาณธโร (๓) พระอาจารยอุนหลา ฐิตธัมโม (๓) หลวงตาพวง สุขินทริโย (๖) หลวงพอปญญานันทภิกขุ (๑๑) หลวงพอทูล ขิปปปญโญ (๒๐) หลวงพอพุทธทาสภิกขุ (๒๗) หลวงปูอวาน เขมโก (๒๗)

มีนาคม หลวงปูคูณ สุเมโธ (๑) พระอาจารยคําแพง อัตตสันโต (๓) หลวงปูอุทัย สิรินธโร (๑๒) พระอุบาลีคุณูปมาจารย (๒๐) หลวงปูม(ี เกลา) ประมุตโต (๒๖)

มิถุนายน พระอาจารยสรวง สิริปุญโญ (๕) หลวงปูเจี๊ยะ จุนโท (๖) หลวงปูจันทรโสม กิตติกาโร (๑๒) หลวงพอชา สุภัทโท (๑๗) หลวงพอวิชัย เขมิโย (๒๕)


วันเกิดพระอริยสงฆสายวัดปา กรกฎาคม หลวงปูแบน ธนากโร (๒) หลวงพอทองพูน ปุญญกาโม (๖) หลวงตาสมหมาย อัตตมโน (๗) หลวงปูฤาษีลิงดํา (๘) หลวงปูออนสา สุขกาโร (๑๐) หลวงปูจวน กุลเชฎโฐ (๑๐) พระอาจารยสิงหทอง ธัมมวโร (๑๒)

ตุลาคม

หลวงปูลี ฐิตธัมโม (๒) หลวงปูดุลย อตุโล (๔) หลวงปูทองใบ ปภสัสโร (๖) หลวงปูเพียร วิริโย (๗) หลวงปูจันทรศรี จนททีโป (๑๐) พระอาจารยฟก สันติธัมโม (๑๑) หลวงปูมหาเจิม ปญญาพโล (๑๒) หลวงปูมหาบุญมี สิริธโร (๑๔) พระอาจารยปญญาวัฒโท (๑๙) หลวงปูบุญเพ็ง เขมาภิรโต (๒๐) พระอาจารยสาคร ธัมมาวุโธ (๒๐)

สิงหาคม

หลวงปูคําฟอง เขมจาโร (๒) หลวงปูตื้อ อจลธัมโม (๓) พระพอไพบูลย สุมังคโล (๓) หลวงปูอํ่า ธมมกาโม (๔) หลวงตาแตงออน กัลปยาณธัมโม (๘) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปนโน (๑๒) หลวงปูสาย เขมธัมโม (๑๒) พระอาจารยวัน อุตตโม (๑๓) หลวงปูฝน อาจาโร (๒๐) หลวงปูสุวัจน สุวโจ (๒๙) พระสุพรหมยานเถร (๓๐)

พฤศจิกายน หลวงปูเสาร กันตสีโล (๒) แมชีแกว เสียงลํ้า (๕) พระอาจารยเลี่ยม ฐิตธัมโม (๕) หลวงปูกงมา จิรปุญโญ (๖) หลวงปูถิร ฐิตธัมโม (๘) หลวงปูคําบอ ฐิตปญโญ (๑๑) หลวงปูเปลี่ยน ปญญาปทีโป (๑๖) หลวงปูสิม พทธาจาโร (๒๖)

กันยายน หลวงปูบุญจันทร กมโล (๑๕) หลวงปูออนศรี ฐานวโร (๑๖) หลวงปูเนย สมจิตโต (๑๗) หลวงปูแปลง สุนทโร (๒๐) หลวงปูสังข สังกิจโจ (๒๔)

ธันวาคม หลวงปูขาน ฐานวโร (๒) หลวงปูวิไลย เขมิโย (๒) หลวงปูหลอด ปโมทิโต (๙) พระพอบุญทัน ปุญญทัตโต (๒๐) หลวงปูผาน ปญญาปทีโป (๒๑) หลวงปูมหาเนียม สุวโจ (๒๔) หลวงปูขาว อนาลโย (๒๘)

๓๙


บันทึก

๔๐


BANG-BOON


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.